บทที่ 12 การบัญชีสำหรับสาขาและการจัดทำงบการเงินรวม

Page 1

⌫  ⌫ 

     

สาขา (Branch) หมายถึงหนวยธุรกิจซึ่งตั้งอยูในระยะทางที่ หางจากสํานักงานใหญ (Home office)

สาขาและแผนก การดําเนินงานที่มีความเปนอิสระ (Autonomy) มากกวา สาขา การบัญชีสําหรับแผนกหรือสวนงานที่ไมไดแยกออกเปน บริษัทยอย (Subsidiary company) จะเหมือนกับการบัญชี สําหรับสาขา


2

ระบบบัญชีสําหรับสาขา บางกรณี สาขาไมตองจัดทําบัญชีครบทั้งหมด สาขาเพียงแต รวบรวมขอมูล สงเอกสารใหสํานักงานใหญตามกําหนดเวลาที่ตก ลงกันไว บางกรณี สํานักงานใหญอาจกําหนดใหสาขาจัดทําบัญชีครบ ทั้งหมด สํานักงานใหญจะเปนผูกําหนดงวดบัญชี นโยบายการ บัญชี รูปแบบของงบการเงิน จํานวนและประเภทของบัญชีที่สาขา จะตองทํา ตลอดจนระบบการควบคุมภายใน

บั ญ ชี แ ยกประเภทระหว า งกั น (Reciprocal Ledger Account) ในสมุดบัญชีของสาขาจะมีบัญชีแยกประเภทเรียกวา บัญชี สํานักงานใหญ (Home Office Account) เพื่อลงรายการที่เกิดขึ้น ระหวางสาขากับสํานักงานใหญ ดานสมุดบัญชีของสํ านักงานใหญ จะมีบัญชีแยกประเภท บัญชีหนึ่งเพื่อลงรายการที่เกิดขึ้นกับสาขา เรียกวา บัญชีเงินลงทุน ในสาขา (Investment in Branch Account) บัญชีสํ านักงานใหญจะมียอดดุลคงเหลือตามปกติทางดาน เครดิต สวนบัญชีเงินลงทุนในสาขาจะมียอดดุลคงเหลือตามปกติ ทางดานเดบิต


3

คาใชจายที่จายแทนกัน ผูจายเงินแทนจะตองแจงใหผูรับผิดชอบทราบและบันทึก การโอนคาใชจายกันนี้ในสมุดบัญชี

ทางเลือกในการสงสินคาใหกับสาขา สินคาที่สํานักงานใหญสงไปใหสาขาขาย สํานักงานใหญอาจ แจงราคาสินคาในราคา ตอไปนี้ ราคาทุนของสํานักงานใหญ (Home office cost) ราคาทุนบวกสวนเพิ่ม (Percentage above home office cost) ราคาขายปลีกของสาขา (Branch’s retail selling price)

งบการเงินเฉพาะสําหรับสาขาและสํานักงานใหญ การจัดทํางบการเงินเฉพาะของสํานักงานใหญและงบการเงิน เฉพาะของสาขาก็เพื่อวัตถุประสงคสํ าหรับการใชภายในกิจการ เทานั้น

งบการเงินรวมสําหรับสํานักงานใหญและสาขา แสดงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการใน ภาพรวม (Single entity)


4

ตั ว อย า งการบั น ทึ ก รายการสํ าหรั บ การดํ าเนิ น งานของ สาขา สมมติวาบริษัท ก จํากัด สงสินคาใหแกสาขาหนองคาย โดยแจงในราคาทุนของสํานักงานใหญ สาขาหนองคายบั น ทึ ก บั ญ ชี แ ละจั ด ทํ างบการเงิ น อย า ง สมบูรณ ทั้งสํานักงานใหญและสาขาใชระบบสินคาแบบ ตอเนื่อง สํานักงานใหญเปนผูจดบันทึกอุปกรณที่สาขาใช รายการและเหตุการณระหวางปแรก (25+5) ของการ ดําเนินงานสําหรับสาขาหนองคายสรุปไดดังนี้ 1. สํานักงานใหญสงเงินสดใหสาขาหนองคาย 4,000 บาท 2. สํานักงานใหญสงสินคาราคาทุน 240,000 บาทใหแก สาขา 3. สาขาซื้ออุปกรณราคาทุน 2,000 บาท โดยสํานักงานใหญ เปนผูจดบันทึก (สํ านักงานใหญเปนผูจัดซื้อสินทรัพย ถาวรอื่นๆ ใหแกสาขา) 4. สาขาขายสินคาเปนเงินเชื่อ 320,000 บาท ตนทุนสินคา ของสาขาเทากับ 180,000 บาท 5. สาขาเก็บเงินจากลูกหนี้การคา 248,000 บาท 6. สาขาจายคาใชจายดําเนินงาน 80,000 บาท


5

7. สาขาสงเงินสดใหสํานักงานใหญ 150,000 บาท 8. สํานักงานใหญแจงคาใชจายดําเนินงานของสาขาที่เกิดขึ้น ที่สํานักงานใหญจํานวน 12,000 บาท ไปยังสาขา สํานักงานใหญและสาขาหนองคายจดบันทึกรายการขางตน ในสมุดรายวันทั่วไป ดังนี้ รายการที่ 1

สมุดบัญชีของสํานักงานใหญ

สมุดบัญชีของสาขาหนองคาย

เงินลงทุนในสาขา 4,000 เงินสด 4,000 เงินสด 4,000 สํานักงานใหญ สงเงินสดใหสาขา รับเงินสดจากสํานักงานใหญ เงินลงทุนในสาขา 240,000 สินคาคงเหลือ 240,000 สินคาคงเหลือ 240,000 สํานักงานใหญ

2

สงสินคาใหสาขา 3

อุปกรณ-สาขา 2,000 เงินลงทุนในสาขา บันทึกอุปกรณของสาขา ไมบันทึก

4

5

6

7

8

4,000

240,000

รับสินคาจากสํานักงานใหญ

สํานักงานใหญ 2,000 2,000 เงินสด 2,000 ซื้ออุปกรณเปนเงินสด ลูกหนี้ 320,000 ขาย 320,000 ตนทุนสินคาขาย 180,000 สินคาคงเหลือ 180,000 ขายสินคาเปนเงินเชื่อพรอมบันทึกตนทุนสินคาขาย ไมบันทึก เงินสด 248,000 ลูกหนี้ 248,000 เก็บเงินจากลูกหนี้ ไมบันทึก คาใชจายดําเนินงาน 80,000 เงินสด 80,000 จายคาใชจายดําเนินงาน เงินสด 150,000 สํานักงานใหญ 150,000 เงินลงทุนในสาขา 150,000 เงินสด 150,000 รับเงินสดจากสาขา สงเงินสดใหสาขา เงินลงทุนในสาขา 12,000 คาใชจายดําเนินงาน 12,000 คาใชจายดําเนินงาน 12,000 สํานักงานใหญ 12,000 แจงคาใชจายดําเนินงานของสาขา บันทึกคาใชจายดําเนินงานที่สํานักงานใหญแจงมา


6

หากสาขาซื้อสินคาจากภายนอกดวย สาขาตองแยกบัญชีสิน คาที่ซื้อจากภายนอกออกจากสินคาที่ซื้อจากสํานักงานใหญ วันที่ 25+5

เงินลงทุนในสาขาหนองคาย รายการ เดบิต สงเงินสดใหสาขา 4,000 สงสินคาไปยังสาขาในราคาทุน 240,000 สาขาซื้ออุปกรณและสงไปบันทึกบัญชีที่สํานักงานใหญ รับเงินสดจากสาขา แจงคาใชจายดําเนินงานแกสาขา 12,000

เครดิต

2,000 150,000

คงเหลือ 4,000 dr. 244,000 dr. 242,000 dr. 92,000 dr. 104,000 dr.

ในสมุดบัญชีของสาขาหนองคาย บัญชีสํานักงานใหญมียอด คงเหลือทางดานเครดิต 104,000 บาท (กอนปดบัญชีและโอน กําไรสุทธิ 48,000 บาทไปยังบัญชีสํานักงานใหญ) ซึ่งมีราย ละเอียดดังนี้ สํานักงานใหญ วันที่ 25+5

รายการ รับเงินสดจากสํานักงานใหญ รับสินคาจากสํานักงานใหญ ซื้ออุปกรณ สงเงินสดใหสํานักงานใหญ สํานักงานใหญแจงคาใชจายในการดําเนินงาน

เดบิต

เครดิต 4,000 240,000

2,000 150,000 12,000

คงเหลือ 4,000 cr. 244,000 cr. 242,000 cr. 92,000 cr. 104,000 cr.

ขัน้ ตอนในการจัดทํากระดาษทําการ 1. นํางบทดลองหลังปรับปรุงของสํานักงานใหญและสาขา ทุกแหงมาแสดงในกระดาษทําการ โดยแยกประเภทแสดงในรูป แบบของงบการเงิน อันไดแก งบกําไรขาดทุน งบกําไรสะสมและ งบดุล 2. จัดทํารายการปรับปรุงและตัดบัญชี โดยมีลําดับดังนี้


7

2.1 สังเกตดูวา บัญชีสํานักงานใหญในงบทดลองของ สาขากับบัญชีเงินลงทุนในสาขาในงบทดลองของสํานักงานใหญมี ยอดดุลคงเหลือเทากันหรือไม หากไมตรงกันแสดงวาการบันทึก รายการของสํานักงานใหญหรือสาขายังไมถูกตอง จะตองจัดทํา การรายการปรับปรุงเสียกอน 2.2 ตัด บั ญชี ร ะหว างกั นออก เพื่อ แสดงให เห็นวา สํานักงานใหญและสาขาเปนหนวยงานเดียวกัน รายการระหวาง กันจะไมมีผลกระทบตองบการเงินรวม รายการระหวางกัน ไดแก บัญชีเงินลงทุนในสาขาและบัญชีสํานักงานใหญ บัญชีสินคาสงไป สาขาและบัญชีสินคารับจากสํานักงานใหญ เปนตน หลังจากตัด บัญชีระหวางกันออกไปแลว บัญชีระหวางกันจะไมปรากฏยอดใน งบการเงินรวม 2.3 ตัดรายการกํ าไรระหวางกันที่สํ านักงานใหญคิด จากสาขา ซึ่งจะมีผลกระทบตอกําไรบริษัท และอาจทําใหสิน ทรัพยของบริษัทมีราคาไมถูกตอง 3. รวมยอดบัญชีเดียวกันแสดงไวในชองงบการเงินรวม


8

บริษัท ก จํากัด กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวมของสํานักงานใหญและสาขาหนองคาย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+5 (ระบบสินคาตอเนื่อง: วิธีราคาทุน) สํานักงานใหญ

สาขาหนองคาย

รายการ เดบิต

เครดิต

เดบิต

เครดิต

รายการปรับปรุง และตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบการเงินรวม เดบิต

เครดิต

งบกําไรขาดทุน ขาย ตนทุนสินคาขาย คาใชจายดําเนินงาน

กําไรสุทธิ

1,600,000 940,000 360,000 300,000 1,600,000 1,600,000

180,000 92,000 48,000 320,000

320,000

1,920,000

320,000

1,120,000 452,000 348,000 1,920,000 1,920,000

48,000

280,000 348,000

งบกําไรสะสม กําไรสะสมตนงวด

กําไรสุทธิ เงินปนผลจาย

280,000 300,000

160,000 468,000 628,000

160,000

กําไรสะสมปลายงวด

งบดุล เงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในสาขา อุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม

เจาหนี้การคา สํานักงานใหญ หุนสามัญ

100,000 156,000 180,000 104,000 600,000

20,000 72,000 60,000

628,000

120,000 228,000 240,000 (1) 104,000

600,000 40,000 80,000

40,000 80,000 104,000

(1)104,000

600,000

600,000

1,300,000 1,300,000

468,000 1,188,000 1,188,000

มูลคาหุนละ 40 บาท

กําไรสะสม 152,000

152,000 104,000

104,000


9

บริษัท ก จํากัด งบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+5 หนวย : บาท

ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน คาใชจายในการดําเนินงาน กําไรสุทธิ กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน

1,920,000 1,120,000 800,000 452,000 348,000 23.20

บริษัท ก จํากัด งบกําไรสะสม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+5 หนวย : บาท

กําไรสะสม 1 มกราคม บวก กําไรสุทธิ หัก เงินปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธันวาคม

280,000 348,000 628,000 160,000 468,000


10

บริษัท ก จํากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+5 หนวย : บาท

สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ อุปกรณ หัก คาเสื่อมราคาสะสม รวมสินทรัพย

120,000 228,000 240,000 600,000 40,000

588,000

560,000 1,148,000

หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้การคา สวนของผูถือหุน หุนสามัญ มูลคาหุนละ 40 บาท จดทะเบียนและออกจําหนาย 15,000 หุน กําไรสะสม รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

80,000

600,000 468,000

1,068,000 1,148,000


11

รายการปรับปรุงและปดบัญชีของสํานักงานใหญและราย การปดบัญชีของสาขา สํานักงานใหญและสาขาจะบันทึกรายการปดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+5 ดังนี้ รายการที่

สมุดบัญชีของสํานักงานใหญ

9

ไมบันทึก

10

11

สมุดบัญชีของสาขาหนองคาย ขาย

320,000

ตนทุนสินคาขาย คาใชจายดําเนินงาน กําไรขาดทุน ปดบัญชีรายไดและคาใชจาย เงินลงทุนในสาขา 48,000 กําไรขาดทุน 48,000 กําไรสุทธิของสาขา 48,000 สํานักงานใหญ รับโอนกําไรสุทธิของสาขาย โอนกําไรสุทธิใหแกสํานักงานใหญ กําไรสุทธิของสาขา 48,000 กําไรขาดทุน 48,000 ปดกําไรสุทธิของสาขาเขาบัญชีกําไรขาดทุน

180,000 92,000 48,000

48,000

การสงสินคาไปสาขาในราคาสูงกวาทุน สมมติวาบริษัท ก แจงราคาสินคาที่สงไปยังสาขาหนองคายดวย ราคาที่มีสวนเพิ่ม (Markup) 50% สูงกวาราคาทุน หรือ 33 1/3% ของราคาในใบกํากับสินคา รายการที่ 2

สมุดบัญชีของสํานักงานใหญ เงินลงทุนในสาขา 360,000 สินคาคงเหลือ สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา สงสินคาไปสาขา

สมุดบัญชีของสาขาหนองคาย

สินคาคงเหลือ 360,000 240,000 สํานักงานใหญ รับสินคาจากสํานักงานใหญ 120,000

360,000


12 เงินลงทุนในสาขา วันที่ 25+5

รายการ สงเงินสดใหสาขา สงสินคาไปยังสาขาในราคาบวกสวนเพิ่ม 50% หรือ 33 1/3% ของราคาในใบกํากับสินคา สาขาซื้ออุปกรณ สงไปบันทึกบัญชีที่สํานักงานใหญ รับเงินสดจากสาขา แจงคาใชจายในการดําเนินงานแกสาขา

เดบิต 4,000

เครดิต

360,000 2,000 150,000 12,000

คงเหลือ 4,000 dr. 364,000 dr. 362,000 dr. 212,000 dr. 224,000 dr.

สํานักงานใหญ วันที่ 25+5

รายการ รับเงินสดจากสํานักงานใหญ รับสินคาจากสํานักงานใหญ ซื้ออุปกรณ สงเงินสดใหสํานักงานใหญ สํานักงานใหญแจงคาใชจายในการดําเนินงาน

เดบิต

เครดิต 4,000 360,000

2,000 150,000 12,000

คงเหลือ 4,000 cr. 364,000 cr. 362,000 cr. 212,000 cr. 224,000 cr.

กระดาษทํ าการเมื่อสํ านักงานใหญสงสินคาในราคาที่สูง กวาทุน บริษัท ก จํากัด การหมุนเวียนของสินคาสําหรับสาขาหนองคาย ระหวางป 25+5 ราคาตาม ราคาทุนของ ใบกํากับสินคา สํานักงานใหญ

สินคาคงเหลือตนงวด บวก: สินคาที่สงมาจากสํานักงานใหญ สินคาที่มีเพื่อขาย หัก: สินคาคงเหลือปลายงวด ตนทุนสินคาขาย

-0360,000 360,000 90,000 270,000

-0240,000 240,000 60,000 180,000

(บาท) สวนเพิ่ม (50% ของ ราคาทุน หรือ 33 1/3% ของราคาตามใบกํากับ สินคา) -0120,000 120,000 30,000 90,000


13

บริษัท ก จํากัด กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวมของสํานักงานใหญและสาขาหนองคาย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+5 (ระบบสินคาแบบตอเนื่อง: วิธีราคาทุนบวกสวนเพิ่ม) สํานักงานใหญ

สาขาหนองคาย

รายการ เดบิต

เครดิต

เดบิต

เครดิต

รายการปรับปรุง และตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบการเงินรวม เดบิต

เครดิต

งบกําไรขาดทุน ขาย ตนทุนสินคาขาย คาใชจายดําเนินงาน

กําไร (ขาดทุน) สุทธิ

1,600,000 940,000 360,000

320,000

1,920,000 (1) 90,000

270,000 92,000 (2) 90,000

300,000 1,600,000 1,600,000

362,000

42,000 362,000

1,120,000 452,000 348,000 1,920,000 1,920,000

งบกําไรสะสม กําไรสะสมตนงวด

กําไรสุทธิ เงินปนผลจาย

280,000 300,000

42,000

160,000 468,000 628,000

160,000

กําไรสะสมปลายงวด

งบดุล เงินสด ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในสาขา สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา อุปกรณ

100,000 156,000 180,000 224,000

20,000 72,000 90,000

(1) 30,000

120,000 228,000 240,000

(1)20,000

600,000

600,000 40,000 80,000

เจาหนี้การคา สํานักงานใหญ

40,000 80,000 224,000

(3)224,000

600,000

หุนสามัญ

628,000

(3) 224,000

120,000

คาเสื่อมราคาสะสม

280,000 348,000

(2) 90,000

600,000

มูลคาหุนละ 40 บาท

468,000

กําไรสะสม 1,420,000

1,420,000

224,000

224,000

434,000

434,000

1,188,000

1,188,000


14

(1) ลดสินคาคงเหลือปลายงวดและตนทุนสินคาขายของสาขาใหแสดงตามราคาทุน พรอมกับตัดบัญชีสวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา (2) เพิ่มกําไรของสํานักงานใหญดวยสวนเพิ่มในราคาสินคา (3) ตัดบัญชีเงินลงทุนในสาขาและบัญชีสํานักงานใหญ

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการ สามารถแสดงใน รูปของการบันทึกรายการในสมุดรายวันได ดังนี้ (1)

(2)

(3)

สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา 120,000 ตนทุนสินคาขาย 90,000 สินคาคงเหลือ 30,000 ปรับปรุงสินคาคงเหลือปลายงวดและตนทุนสินคาขายของสาขาให แสดงตามราคาทุน พรอมกับตัดบัญชีสวนเพิ่มในราคาสินคาสงไป สาขา กําไรสุทธิ (งบกําไรขาดทุน) 90,000 กําไรสุทธิ (งบกําไรสะสม) 90,000 เพิม่ กําไรของสํานักงานใหญดวยสวนเพิ่มในราคาสินคาที่สาขาขาย ออกไปแลว สํานักงานใหญ 224,000 เงินลงทุนในสาขา 224,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนในสาขาและบัญชีสํานักงานใหญ


15

รายการปรับปรุงและปดบัญชีของสํานักงานใหญและราย การปดบัญชีของสาขา ณ วันสิ้นงวด 31 ธันวาคม 25+5 สํานักงานใหญจะบันทึกราย การปรับปรุงและปดบัญชี ดังนี้ สํานักงานใหญบันทึกรายการปรับปรุงและปดบัญชี กําไรขาดทุนของสาขา 42,000 เงินลงทุนในสาขาหนองคาย 42,000 บันทึกขาดทุนสุทธิของสาขา สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา 90,000 กําไรขั้นตนที่เกิดขึ้นแลว 90,000 ลดสวนเพิม่ ในราคาสินคาดวยสวนเกินจากราคาทุนของสินคาคงเหลือ ปลายงวด กําไรขั้นตนที่เกิดขึ้นแลว 90,000 กําไรขาดทุนของสาขา กําไรสุทธิ ปดขาดทุนสุทธิของสาขาและรับรูกําไรขั้นตนเขาบัญชีกําไรสุทธิ

42,000 48,000

หลังจากผานรายการจากสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภท บัญชีแยกประเภทของสํานักงานใหญ ณ วันสิ้นงวดมียอดคงเหลือ ดังนี้


16

วันที่ 25+5

วันที่ 25+5

เงินลงทุนในสาขาหนองคาย รายการ เดบิต สงเงินสดใหสาขา 4,000 สงสินคาไปยังสาขาในราคาทุนบวกสวนเพิ่ม 50% หรือ 33 1/3% ของราคาตามใบกํากับสินคา 360,000 สาขาซื้ออุปกรณ สงไปบันทึกบัญชีที่สํานักงานใหญ รับเงินสดจากสาขา แจงคาใชจายในการดําเนินงานแกสาขา 12,000 ขาดทุนสุทธิสําหรับป 25+5

สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา รายการ เดบิต กําไรในราคาสินคาที่สงไปสาขาระหวางป 25+5 (50% ของราคาทุน) รับรูกําไรในสินคาที่สาขาขายระหวางป 25+5 90,000

วันที่ 25+5

กําไรขั้นตนที่เกิดขึ้นแลว รายการ เดบิต รับรูกําไรในสินคาที่สาขาขายระหวางป 25+5 ปดบัญชี 90,000

วันที่ 25+5

กําไรขาดทุนของสาขา รายการ เดบิต ขาดทุนสุทธิสําหรับป 25+5 ที่สาขารายงาน 42,000 ปดบัญชี

เครดิต

คงเหลือ 4,000 dr.

42,000

364,000 dr. 362,000 dr. 212,000 dr. 224,000 dr. 182,000 dr.

เครดิต

คงเหลือ

2,000 150,000

120,000

120,000 dr. 30,000 dr.

เครดิต 90,000

คงเหลือ 90,000 cr. -0-

เครดิต

คงเหลือ 42,000 dr. -0-

42,000

รายการปดบัญชีของสาขาหนองคายสําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+5 มีดังนี้ สาขาหนองคายบันทึกรายการปดบัญชี (ระบบสินคาแบบตอเนื่อง)

ขาย กําไรขาดทุน ตนทุนสินคาขาย คาใชจายดําเนินงาน ปดบัญชีรายไดและคาใชจาย

320,000 42,000 270,000 92,000


17 สํานักงานใหญ กําไรขาดทุน ปดขาดทุนสุทธิเขาบัญชีสํานักงานใหญ

42,000 42,000

หลังจากสาขาปดบัญชี บัญชีสํานักงานใหญจะมียอดคงเหลือดาน เครดิต 182,000 สํานักงานใหญ วันที่ 25+5

รายการ รับเงินสดจากสํานักงานใหญ รับสินคาจากสํานักงานใหญ ซื้ออุปกรณ สงเงินสดใหสํานักงานใหญ สํานักงานใหญแจงคาใชจายดําเนินงาน ขาดทุนสําหรับป 25+5

เดบิต

เครดิต 4,000 360,000

2,000 150,000 12,000 42,000

คงเหลือ 4,000 cr. 364,000 cr. 362,000 cr. 212,000 cr. 224,000 cr. 182,000 cr.

สินคาคงเหลือตนงวดที่มียอดคงเหลือสูงกวาราคาทุน ระบบสินคาแบบตอเนื่อง ระบบสินคาแบบสิ้นงวด การบันทึกการสงสินคาใหสาขาและการขายตามระบบสินคาแบบ สิน้ งวด ระหวางป 25+6 มีดังนี้ สมุดบัญชีของสํานักงานใหญ

สมุดบัญชีของสาขาหนองคาย

เงินลงทุนในสาขา 480,000 สินคารับจากสาขา 480,000 สินคาสงไปสาขา 320,000 สํานักงานใหญ สวนเพิ่มในราคาสินคารับสินคาจากสํานักงานใหญ สงไปสาขา 160,000 สงสินคาใหสาขา ไมบันทึก เงินสด (ลูกหนี้) 600,000 ขาย ขายสินคา

480,000

600,000


18

บริษัท ก จํากัด การหมุนเวียนของสินคาสําหรับสาขาหนองคาย ระหวางป 25+6 ราคาตาม ราคาทุนของ ใบกํากับสินคา สํานักงานใหญ สินคาคงเหลือตนงวด (จากหนา 12-12) บวก: สินคารับจากสํานักงานใหญ สินคาที่มีเพื่อขาย หัก: สินคาคงเหลือปลายงวด ตนทุนสินคาขาย

90,000 360,000 570,000 120,000 450,000

60,000 320,000 380,000 80,000 300,000

สวนเพิ่ม (50% ของราคา ทุน หรือ 33 1/3% ของ ราคาตามใบกํากับสินคา) 30,000 160,000 190,000 40,000 150,000

รายการปรับปรุงและรายการปดบัญชี ณ วันสิ้นงวดแสดงอยูใน บัญชีแยกประเภท 4 บัญชีของสํานักงานใหญ ดังนี้ วันที่ 25+6

วันที่ 25+6

เงินลงทุนในสาขาหนองคาย เดบิต

รายการ ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 25+5 สงสินคาไปยังสาขาในราคาบวกสวนเพิ่ม 50% หรือ 33 1/3% ของราคาตามใบกํากับสินคา รับเงินสดจากสาขา แจงคาใชจายในการดําเนินงานแกสาขา กําไรสุทธิสําหรับป 25+6 ที่สาขารายงาน

เครดิต

480,000 452,000 18,000 40,000

สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา รายการ เดบิต ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 25+5 กํ าไรในราคาสิน คาที่สงไปสาขาระหวางป 25+6 (50% ของราคาทุน) รับรูกําไรในสินคาที่สาขาขายระหวางป 25+6 150,000

คงเหลือ 182,000 dr. 662,000 dr. 210,000 dr. 228,000 dr. 268,000 dr.

เครดิต

คงเหลือ 30,000 cr.

160,000

190,000 cr. 40,000 cr.


19

วันที่ 25+6

กําไรขั้นตนที่เกิดขึ้นแลว รายการ เดบิต รับรูกําไรในสินคาที่สาขาขายระหวางป 25+6 ปดบัญชี 150,000

เครดิต 150,000

คงเหลือ 150,000 cr. -0-

วันที่ 25+6

กําไรขาดทุนของสาขา รายการ เดบิต กําไรสุทธิสําหรับป 25+6 ที่สาขารายงาน ปดบัญชี 40,000

เครดิต 40,000

คงเหลือ 40,000 cr. -0-

บัญชีสํานักงานใหญในสมุดบัญชีของสาขาแสดงกิจกรรมและราย การปดบัญชีสําหรับป 25+6 ดังนี้ สํานักงานใหญ วันที่ 25+6

รายการ ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 25+5 รับสินคาจากสํานักงานใหญ สงเงินสดใหสํานักงานใหญ สํานักงานใหญแจงคาใชจายดําเนินงานแกสาขา กําไรสุทธิสําหรับป 25+6

เดบิต

เครดิต 480,000

452,000 18,000 40,000

คงเหลือ 182,000 cr. 662,000 cr. 210,000 cr. 228,000 cr. 268,000 cr.

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการ สามารถแสดงใน รูปของการบันทึกรายการในสมุดรายวันได ดังนี้ (1)

สินคาสงไปสาขา 320,000 สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา 160,000 สินคารับจากสํานักงานใหญ 480,000 ตัดบัญชีระหวางกันสําหรับสินคาสงไปสาขาและสินคารับจากสํานักงานใหญ

(2)

สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา 30,000 สินคาคงเหลือ 31 ธค. 25+5 (งบกําไรขาดทุน) ปรับปรุงสินคาคงเหลือตนงวดของสาขาใหแสดงตามราคาทุน

30,000


20

(3)

(4)

(5)

สินคาคงเหลือ 31 ธค. 25+6 (งบกําไรขาดทุน) สินคาคงเหลือ 31 ธค. 25+6 (งบดุล) ลดสินคาปลายงวดของสาขาใหแสดงตามราคาทุน

40,000 40,000

กําไรสุทธิ (งบกําไรขาดทุน) 150,000 กําไรสุทธิ (งบกําไรสะสม) เพิ่มกําไรของสํานักงานใหญดวยสวนเพิ่มในราคาสินคาที่สาขาขาย

150,000

สํานักงานใหญ เงินลงทุนในสาขา ตัดบัญชีระหวางกัน

228,000

228,000


21

บริษัท ก จํากัด กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวมของสํานักงานใหญและสาขาหนองคาย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+6 (ระบบสินคาแบบสิ้นงวด: วิธีราคาทุนบวกสวนเพิ่ม) สํานักงานใหญ

สาขา

รายการ เดบิต

เครดิต

เดบิต

เครดิต

รายการปรับปรุง และตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบการเงินรวม เดบิต

เครดิต

งบกําไรขาดทุน ขาย สินคา 31ธค. 25+5

ซื้อ สินคาสงไปสาขา สินคารับจาก สนญ

2,000,000 180,000 1,600,000

กําไรสุทธิ

2,600,000 (2) 30,000

90,000

(1) 480,000

480,000 280,000 480,000 340,000 2,600,000 2,600,000

240,000 1,600,000

(1)320,000

320,000

สินคา 31 ธค.25+6 คาใชจายดําเนินงาน

600,000

120,000 110,000 40,000 720,000

(3) 40,000

360,000

(4)150,000

590,000 530,000 2,960,000 2,960,000

720,000

งบกําไรสะสม กําไรสะสมตนงวด

กําไรสุทธิ เงินปนผลจาย

468,000

340,000

40,000

240,000

240,000 758,000 998,000

กําไรสะสมปลายงวด

งบดุล เงินสด ลูกหนี้การคา สินคา 31ธค. 25+6 สวนเพิ่มในราคาสินคาสงไปสาขา เงินลงทุนในสาขา อุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม

เจาหนี้การคา สํานักงานใหญ หุนสามัญ

468,000 530,000

(4) 150,000

120,000 256,000 280,000

36,000 112,000 120,000

(3) 40,000

998,000

156,000 368,000 360,000

(1)160,000 (2) 30,000

190,000

(5) 228,000

228,000 632,000

632,000 60,000 98,000

60,000 98,000 228,000

(5)228,000

600,000

600,000

1,756,000 1,756,000

758,000 1,516,000 1,516,000

มูลคาหุนละ 40 บาท

กําไรสะสม 268,000

268,000 928,000

928,000


22

(1) ตัดบัญชีระหวางกันสําหรับสินคาสงไปสาขาและสินคารับจากสํานักงานใหญ (2) ลดสินคาตนงวดของสาขาใหแสดงตามราคาทุน (3) ลดสินคาปลายงวดของสาขาใหแสดงตามราคาทุน (4) เพิ่มกําไรของสํานักงานใหญดวยกําไรในสินคาที่สาขาขายไป (5) ตัดบัญชีเงินลงทุนในสาขาและบัญชีสํานักงานใหญ

การกระทบยอดบัญชีระหวางกัน สมมติวาบัญชีเงินลงทุนในสาขาชลบุรีและบัญชีสํานักงานใหญ ณ วันสิน้ ป ของบริษัท ข จํากัด แสดงรายละเอียดดังนี้ วันที่ 25+5 พย. 30 ธค. 10 27 29

วันที่ 25+5 พย. 30 ธค. 7 28 30

เงินลงทุนในสาขาชลบุรี (ในสมุดบัญชีของสํานักงานใหญ) รายการ เดบิต เครดิต ยอดคงเหลือ รับเงินสดจากสาขา เงินสดที่เก็บไดจากลูกหนี้ของสาขา สงสินคาใหสาขา

ยอดคงเหลือ สงเงินสดใหสํานักงานใหญ ซื้ออุปกรณ สํานักงานใหญเก็บเงินจากลูกหนี้ของสาขา

20,000 1,000

62,500 dr. 42,500 dr. 41,500 dr. 49,500 dr.

เครดิต

คงเหลือ

8,000

สํานักงานใหญ (ในสมุดบัญชีของสาขาชลบุรี) รายการ เดบิต

คงเหลือ

62,500 cr. 42,500 cr.

20,000 3,000 2,000

41,500 cr.

จากการเปรียบเทียบรายการระหวางกันของทั้งสองบัญชีพบขอแตก ตาง 4 ประการ ดังนี้


23

1. สํานักงานใหญเดบิตบัญชีเงินลงทุนในสาขาชลบุรี 8,000 บาท แตสาขายังไมไดจดบันทึกในบัญชีสํานักงานใหญ สินคาระหวางทาง 8,000 สํานักงานใหญ 8,000 บันทึกสินคาระหวางทางที่สํานักงานใหญสงใหสาขา

2. สํานักงานใหญเครดิตบัญชีเงินลงทุนในสาขาชลบุรี 1,000 บาท แตสาขายังไมไดจดบันทึกในบัญชีสํานักงานใหญ สํานักงานใหญ 1,000 ลูกหนี้การคา บันทึกสํานักงานใหญเก็บเงินแทนลูกหนี้ของสาขา

1,000

3. สาขาเดบิตบัญชีสํานักงานใหญ 3,000 บาท แตสํานักงานใหญ ยังไมไดจดบันทึกในบัญชีเงินลงทุนในสาขา อุปกรณของสาขาชลบุรี เงินลงทุนในสาขาชลบุรี บันทึกอุปกรณที่สาขาเปนผูจัดซื้อ

3,000 3,000

4. สาขาเครดิตบัญชีสํานักงานใหญ 2,000 บาท แตสํานักงานใหญ ยังไมไดจดบันทึกในบัญชีเงินลงทุนในสาขา เงินลงทุนในสาขาชลบุรี 2,000 ลูกหนี้การคา 2,000 บันทึกสาขาเก็บเงินแทนลูกหนี้ของสํานักงานใหญ


24

บริษัท ข จํากัด งบกระทบยอดบัญชีสํานักงานใหญและบัญชีสาขาชลบุรี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+5

ยอดดุลตามสมุดบัญชีกอนรายการปรับปรุง บวก (1) สํานักงานใหญสงสินคาระหวางใหสาขา (4) สาขาเก็บเงินแทนลูกหนี้ของสํานักงานใหญ หัก (2) สํานักงานใหญเก็บเงินแทนลูกหนี้ของสาขา (3) สาขาซื้ออุปกรณ ยอดดุลที่ถูกตอง

บัญชีสํานักงานใหญ (สมุดบัญชีสาขา) 41,500 cr.

หนวย : บาท บัญชีเงินลงทุนในสาขา (สมุดบัญชีสํานักงานใหญ) 49,500 dr.

8,000 2,000 (1,000) 48,500 cr.

(3,000) 48,500 dr.

รายการระหวางสาขา หากสํ านักงานใหญมีสาขาหลายแหง สํ านักงานใหญอาจมี นโยบายใหสาขาสามารถถายโอนสินคาหรือสินทรัพยระหวาง กัน เพือ่ ใหการดําเนินงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สาขาจะไมมี บัญชีระหวางกันกับสาขาอื่น แตจะบันทึกผานบัญชีสํานักงาน ใหญ หากสํานักงานใหญเปนผูสั่งใหมีการโอนสินคา คาขนสงที่เพิ่ม ขึ้น (Excess freight costs) ควรถือเปนคาใชจายของสํานักงาน ใหญในงวดที่คาใชจายนั้นเกิดขึ้น


25

ตัวอยาง สมมติวาสํานักงานใหญสงสินคาราคาทุน 12,000 บาทใหแก สาขา ง และจายคาขนสงเปนเงิน 800 บาท ตอมาสํานักงานใหญสั่งใหสาขา ง โอนสินคาใหกับสาขา จ สาขา ง จายคาขนสงสินคา 600 บาท แตถาหากสํานักงานใหญสงสินคาใหกับสาขา จ โดยตรง คาขนสง จะเทากับ 1,000 บาท รายการบันทึกบัญชีที่เกี่ยวของมีดังนี้ (สมมติใช ระบบสินคาแบบตอเนื่อง) ในสมุดบัญชีของสํานักงานใหญ เงินลงทุนในสาขา ง 12,800 สินคาคงเหลือ เงินสด บันทึกการสงสินคาใหสาขา ง และจายคาขนสงเปนเงินสด

12,000 800

เงินลงทุนในสาขา จ 13,000 คาขนสงสวนเกิน-โอนระหวางสาขา 400 เงินลงทุนในสาขา ง 13,400 บันทึกการโอนสินคาใหแกสาขา จ ตามคําสั่งของสํานักงานใหญ คาขนสง ระหวางสาขา 600 บาท ที่สาขาเปนผูจายทําใหคาขนสงเกินกวาคาขนสงทาง ตรง 400 บาท (800+600-1,000)

ในสมุดบัญชีของสาขา ง คาขนสงเขา (หรือสินคาคงเหลือ) 800 สินคาคงเหลือ 12,000 สํานักงานใหญ 12,800 บันทึกสินคาที่รับจากสํานักงานใหญ และคาขนสงที่สํานักงานใหญจายแทนให


26

สํานักงานใหญ 13,400 สินคาคงเหลือ 12,000 คาขนสงเขา (หรือสินคาคงเหลือ) 800 เงินสด 600 บันทึกการโอนสินคาใหแกสาขา จ ตามคําสั่งของสํานักงานใหญและจายคาขน สง 600 บาท

ในสมุดบัญชีของสาขา จ สินคาคงเหลือ 12,000 คาขนสงเขา (หรือสินคาคงเหลือ) 1,000 สํานักงานใหญ 13,000 บันทึกสินคาที่สาขา ง โอนมาใหตามคําสั่งของสํานักงานใหญและบันทึกคาขน สงปกติหากสํานักงานใหญโอนสินคามาให

บัญชีคาขนสงสวนเกิน ถือวาเปนคาใชจายในการบริหาร เนื่อง จากการจัดการสินคาผิดพลาด คาขนสงดังกลาวจึงเกิดขึ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.