บทที่ 9 การลงทุนทางอ้อมและการถือหุ้นระหว่างบริษัทในกลุ่มกิจการ

Page 1

⌫   

โครงสรางของบริษัทในกลุมกิจการ รูปแบบโครงสรางมี 3 รูปแบบ คือ การลงทุนทางตรง การลงทุนทางออม การถือหุนระหวางกัน


2

1. การลงทุนทางตรง (Direct Holdings) หมายถึง การลงทุน โดยตรงในหุนสามัญของบริษัทที่ขายหุน ซึ่งบริษัทที่ลงทุนอาจซื้อ หุนของบริษัทเดียว หรือหลาย ๆ บริษัทในเวลาเดียวกันก็ได รูป แบบของการลงทุนทางตรงไดแก

ก. บริษัทยอยแหงเดียว (Single subsidiary)

ข. บริษัทยอยหลายแหง (Multiple subsidiary)

บริษัทใหญ

บริษัทใหญ

80%

บริษัทยอย ก

80%

บริษัทยอย ก

70%

บริษัทยอย ข

90%

บริษัทยอย ค


3

2. การลงทุนทางออม (Indirect Holdings) หมายถึงการลงทุน ในลักษณะที่บริษัทที่ลงทุนสามารถเขาไปควบคุมหรือมีอิทธิพล ตอการตัดสินใจ และการดําเนินงานของบริษัทที่ไมไดถูกลงทุน โดยตรงผานทางบริษัทที่ตนซื้อหุน รูปแบบของการลงทุนทางออม

ก. บริษัทยอยถือหุนในบริษัทอื่น (Father-son-grandson)

ข. บริษัทใหญและบริษัทยอยถือหุนในบริษัทอื่น (Connecting affiliates)

บริษัทใหญ 80%

บริษัทใหญ

80%

20%

บริษัทยอย ก บริษัทยอย ก 70% บริษัทยอย ข

บริษัทยอย ข 40%


4

3. การถือหุนระหวางกัน (Mutual Holdings) หมายถึงการถือ หุนในลักษณะที่บริษัทใหญและบริษัทยอยตางถือหุนซึ่งกันและ กัน รูปแบบของการถือหุนระหวางกัน

ก. บริษัทยอยถือหุนบริษัทใหญ (Parent mutually owned)

ข. บริษัทยอยถือหุนระหวางกัน (Connecting affiliated mutually owned) บริษัทใหญ

บริษัทใหญ

80% 80%

20%

10% 40%

บริษัทยอย ก

บริษัทยอย ก

บริษัทยอย ข 20%


5

การลงทุนทางออม – บริษัทยอยลงทุนซื้อหุนในบริษัทอื่น ตัวอยางที่ 9-1 สมมติวาบริษัท ก ซื้อหุน 80% ของบริษัท ข เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25+1 และบริษัท ข ซื้อหุน 70% ของ บริษัท ค เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25+2 การลงทุนของบริษัท ก และบริษัท ข ทําในราคาตามบัญชี ความสัมพันธของบริษัททั้งสาม แสดงเปนรูปภาพไดดังนี้ บริษัท ก

80%

1 มค. 25+1 บริษัท ข

70%

1 มค. 25+2

บริษัท ค

งบทดลองของทั้งสามบริษัท ณ วันที่ 1 มกราคม 25+2 ทัน ทีหลังจากบริษัท ข ซื้อหุน 70% ของบริษัท ค แลวมีดังนี้ สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข (80%) เงินลงทุนในบริษัท ค (70%)

บริษัท ก 400,000 200,000 600,000

บริษัท ข 195,000 105,000 300,000

บริษัท ค 190,000 190,000


6

หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

บริษัท ก 100,000 400,000 100,000 600,000

บริษัท ข 50,000 200,000 50,000 300,000

บริษัท ค 40,000 100,000 50,000 190,000

กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระของแตละบริษัท (ไมรวม รายไดจากบริษัทยอย) และเงินปนผลจาย สําหรับป 25+2 มีดังนี้ กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระ เงินปนผลจาย

บริษัท ก 100,000 60,000

บริษัท ข 50,000 30,000

บริษัท ค 40,000 20,000

วิธีสวนไดเสีย การบันทึกรายไดจากการลงทุนสําหรับป 25+2 ตามวิธีสวน ไดเสีย บริษัท ข จะตองบันทึกรายไดจากการลงทุนในบริษัท ค กอนที่บริษัท ก จะบันทึกรายไดจากการลงทุนในบริษัท ข สําหรับ ป 25+2 บริษัท ข จะบันทึกการลงทุนในบริษัท ค ดังนี้ สมุดบัญชีของบริษัท ข เงินสด

14,000

เงินลงทุนในบริษัท ค บันทึกเงินปนผลรับจากบริษัท ค (20,000 × 70%) เงินลงทุนในบริษัท ค 28,000 รายไดจากบริษัท ค บันทึกสวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ค (40,000 × 70%)

14,000

28,000


7

บริษัท ก จะบันทึกผลจากการลงทุนในบริษัท ข สําหรับป 25+2 ดังนี้ สมุดบัญชีของบริษัท ก เงินสด

24,000

เงินลงทุนในบริษัท ข บันทึกเงินปนผลรับจากบริษัท ข (30,000 × 80%) เงินลงทุนในบริษัท ข 62,400 รายไดจากบริษัท ข บันทึกสวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข (78,000 × 80%)

24,000

62,400

การคํานวณกําไรสุทธิรวม กําไรสุทธิของบริษัท ก และกําไรสุทธิรวม สามารถแยกคํานวณได ตางหากดังนี้ กําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระของบ. ก 100,000 บาท สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข 40,000 (50,000 × 80%) สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ค 22,400 (40,000 × 80% × 70%) กําไรสุทธิรวมของบริษัท ก และกําไรสุทธิรวม 162,400 การคํ านวณกํ าไรสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท ใหญ แ ละกํ าไรสุ ท ธิ ร วมอาจ คํานวณไดอีกรูปแบบหนึ่ง ดังนี้


8

ผลรวมของกําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระ : บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค หัก : สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ ของบ. ค ทางตรง (40,000 × 30%) ของบ. ค ทางออม (40,000 × 20% × 70%) ของบ. ข ทางตรง (50,000 × 20%) กําไรสุทธิของบริษัท ก และกําไรสุทธิรวม

100,000 50,000 40,000 190,000 12,000 5,600 10,000

27,600 162,400

การคํานวณยังมีอีกวิธีหนึ่งคือ กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระ จัดสรรกําไรของบริษัท ค ใหบริษัท ข (40,000 × 70%) จัดสรรกําไรของบริษัท ข ใหบริษัท ก (78,000 × 80%) กําไรสุทธิรวม กําไรสุทธิของผูถือหุนสวนนอย

บริษัท ก 100,000

บริษัท ข 50,000

บริษัท ค 40,000

-

+ 28,000

-28,000

+ 62,400 162,400

- 62,400

-

15,600

12,000


9

กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม – วิธีสวนไดเสีย ตารางที่ 9-1 วิธีสวนไดเสีย บริษัทยอยถือหุนบริษัทอื่น บริษัท ก และบริษัทยอย สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+2 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รายไดจากบริษัท ค รวมรายได คาใชจาย (รวมตนทุนสินคาขาย) กําไรสุทธิ M.I. บริษัท ข (78,000×0.2) บริษัท ค (40,000×0.3) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค

บริษัท บริษัท ข (80%) ค (70%)

200,000 140,000 62,400 28,000 262,400 168,000 100,000 162,400

162,400

90,000 78,000

78,000

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

100,000

440,000 (3) 62,400 (1) 28,000

100,000

440,000

60,000 40,000

250,000 190,000 (5) 15,600

(15,600)

(2) 12,000

(12,000)

40,000

162,400

100,000

162,400

งบรวม

100,000 50,000

(4) 50,000

78,000

50,000 (2) 50,000 40,000

162,400

(60,000)

(60,000) (3) 24,000

(30,000)

(20,000)

(1) 14,000 (5) 12,000

กําไรสะสม 31 ธค.

202,400

98,000

70,000

202,400


10

(ตอ) บริษัท ก

งบดุล สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข

461,600 238,400

บริษัท ค (70%)

231,000 200,000

700,000 97,600

892,600

350,000 200,000 52,000

892,600 179,600

30,000

400,000

400,000 200,000 100,000

202,400

งบรวม

(3) 38,400 (4)200,000 (1) 14,000 (2)105,000

98,000

(4)200,000 (2)100,000

70,000

202,400 (2) 45,000 (5) 6,000 (4) 50,000 (5) 9,600

M.I. บริษัท ข 1 มค. รวมสวนของผูถือหุน สวนนอย 31 ธค. รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

119,000

เงินลงทุนในบริษัท ค รวมสินทรัพย หนี้สิน หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค กําไรสะสม M.I. บริษัท ค 1 มค.

บริษัท ข (80%)

110,600 700,000

350,000 200,000

892,600

(1) ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ค ใหแสดงยอด ณ วันตนป โดยกลับบัญชี รายไดจากบริษัท ค และเงินปนผลจาย (2) ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ค (3) ปรับปรุงเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอด ณ วันตนป โดยกลับบัญชีรายได จากบริษัท ข และเงินปนผลจาย (4) ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข (5) บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัทยอยและเงินปนผล


11

รายการที่ (5) สามารถแสดงในรูปของสมุดรายวันทั่วไปไดดังนี้ สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ – บริษัท ข 15,600 สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ – บริษัท ค 12,000 เงินปนผล 12,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย – บริษัท ข 9,600 สวนของผูถือหุนสวนนอย – บริษัท ค 6,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัทยอยและเงินปนผล

การลงทุนทางออม – บริษัทใหญและบริษัทยอยลงทุนซื้อหุน ในบริษัทอื่น ตัวอยางที่ 9-2 บริษัท ก มีสวนไดเสีย 70% ในบริษัท ข และ 60% ในบริษัท ค นอกจากนี้แลว บริษัท ข ก็ยังมีสวนไดเสีย 20% ในบริษัท ค อีกดวย ความสัมพันธของบริษัท ก และบริษัทยอยสามารถแสดง เปนภาพไดดังนี้ บริษัท ก

70%

60% 1 มค. 25+5

1 มค. 25+4 20%

บริษัท ข

บริษัท ค 1 มค. 25+1


12

ขอมูลเกี่ยวกับการลงทุนของบริษัท ก และบริษัท ข สรุปไดดังนี้

ราคาทุน หัก: ราคาตามบัญชี ของสวนไดเสีย คาความนิยม

เงินลงทุนของ บริษัท ก ใน บริษัท ข (70%) ซื้อเมื่อ 1 มค. 25+5 178,000

เงินลงทุนของ บริษัท ก ใน บริษัท ค (60%) ซื้อเมื่อ 1 มค. 25+4 100,000

168,000 10,000

90,000 10,000

เงินลงทุนของ บริษัท ข ใน บริษัท ค (20%) ซื้อเมื่อ 1 มค. 25+1 20,000 20,000 -0-

ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุน ณ 31 ธันวาคม 25+5 ราคาทุน บวก : สวนไดเสียของกําไรกอน ป 25+6 หลังจากหักเงินปนผล หัก : คาความนิยมตัดบัญชี 10% ตอป ยอดคงเหลือ 31 ธันวาคม 25+5

178,000

100,000

20,000

7,000 1,000 184,000

18,000 2,000 116,000

16,000 36,000

ตารางแสดงการคํานวณกําไรสุทธิรวมและกําไรสุทธิของผูถือหุน สวนนอย สําหรับบริษัทในกลุมกิจการทั้งสามแหง ในป 25+6 มีดังนี้ บริษัท ก 70,000 -10,000

กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระ หัก : กําไรที่ยังไมไดเกิดขึ้น กํ าไรจากการดําเนินงานโดยอิสระ ที่เกิดขึ้นแลว 60,000 จัดสรรกําไรของบริษัท ค ใหบริษัท ข 20% ใหบริษัท ก 60% +12,000 จัดสรรกําไรของบริษัท ข ใหบริษัท ก 70% +23,800

บริษัท ข 35,000 -5,000

บริษัท ค 20,000 -

30,000

20,000

+4,000 -

-4,000 -12,000

-23,800

-


13

หัก :คาความนิยมตัดบัญชี จากการลงทุนในบริษัท ข จากการลงทุนในบริษัท ค กําไรสุทธิของบริษัท ก และ กําไรสุทธิรวม กําไรสุทธิของผูถือหุนสวนนอย

บริษัท ก

บริษัท ข

บริษัท ค

-1,000 -1,000

-

-

10,200

4,000

93,800

วิธีสวนไดเสีย กอนการจัดสรรกําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระของบริษัท ข และบริษัท ค ใหกับบริษัท ก จะตองหักกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นออก เสียกอน บริษัท ข จะบันทึกบัญชีสํ าหรับการลงทุนในบริษัท ค ระหวางป 25+6 ดังนี้ เงินสด 2,000 เงินลงทุนในบริษัท ค 2,000 บันทึกการรับเงินปนผลจากบริษัท ค (10,000 × 20%) เงินลงทุนในบริษัท ค 4,000 รายไดจากบริษัท ค 4,000 บันทึกสวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ค (20,000 × 20%)

บริษัท ก จะบันทึกบัญชีสําหรับการลงทุนในระหวางป 25+6 ดัง นี้


14

การลงทุนในบริษัท ค เงินสด 6,000 เงินลงทุนในบริษัท ค 6,000 บันทึกการรับเงินปนผลจากบริษัท ค (10,000 × 60%) เงินลงทุนในบริษัท ค 11,000 รายไดจากบริษัท ค 11,000 บันทึกรายไดจากบริษัท ค ซึ่งคํานวณไดดังนี้ 60% ของกําไรสุทธิ 20,000 บาท ในงบกําไรขาดทุนของบ. ค 12,000 1,000 หัก : คาความนิยมตัดบัญชี (10,000 × 10%) 11,000

การลงทุนในบริษัท ข เงินสด 14,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 14,000 บันทึกการรับเงินปนผลจากบริษัท ข (20,000 × 70%) เงินลงทุนในบริษัท ข 12,800 รายไดจากบริษัท ข 12,800 บันทึกรายไดจากบริษัท ข ซึ่งคํานวณไดดังนี้ 70% ของกําไรสุทธิ 39,000 บาท ในงบกําไรขาดทุนของบ. ข 27,300 หัก : 70% ของกําไรในสินคาคงเหลือ 5,000 บาท 3,500 หัก : 100% ของกําไรจากการขายที่ดิน 10,000 1,000 หัก : คาความนิยมตัดบัญชี (10,000 × 10%) 12,800


15

ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนของบ. ก ณ 31 ธค. 25+6 มีดังนี้

ยอดคงเหลือ 31 ธค. 25+5 บวก รายไดจากการลงทุน หัก เงินปนผลรับ ยอดคงเหลือ 31 ธค. 25+6

เงินลงทุนในบริษัท ข 70% 184,000 12,800 14,000 182,800

เงินลงทุนในบริษัท ค 60% 116,000 11,000 6,000 121,000

ตารางที่ 9-2 วิธสี ว นไดเสีย บริษัทใหญและบริษัทยอยถือหุนในบริษัทอื่น บริษทั ก และบริษัทยอย กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+6 งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รายไดจากบริษัท ค กําไรจากการขายที่ดิน รวมรายได ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น

บริษัท ก

บริษัท ข

บริษัท ค

200,000

150,000

100,000

12,800 11,000

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 15,000

435,000

(8) 12,800 4,000

(4) 15,000

10,000

(3) 10,000

233,800

154,000

100,000

435,000

100,000

80,000

50,000

(2) 5,000

40,000

35,000

30,000

(7) 1,000 (11) 1,000

รวมคาใชจาย กําไรสุทธิ M.I. บริษัท ข

งบรวม

(1) 15,000

220,000

107,000

140,000

115,000

80,000

327,000

93,800

39,000

20,000

108,000

(39,000 – 5,000)×0.3

(10) 10,200

(10,200)

บริษัท ค (20,000×0.2) กําไรสุทธิ

(6) 4,000

(4,000)

93,800

39,000

20,000

93,800


16 งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค

220,000

220,000 50,000

(9) 50,000 80,000

93,800

39,000

(5) 80,000

20,000

93,800

(40,000)

(40,000) (20,000)

(8) 14,000 (10,000)

(4) 8,000 (6) 2,000 (10) 6,000

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล สินทรัพยอื่น สินคาคงเหลือ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ (สุทธิ) เงินลงทุนในบริษัท ข 70% เงินลงทุนในบริษัท ค 60%

273,800

69,000

90,000

273,800

46,200

22,000

85,000

153,200

50,000

40,000

15,000

(2) 5,000

100,000

400,000

200,000

100,000

(3) 10,000

690,000

182,800

(8) 1,200 (9) 184,000

121,000

(4) 5,000

(5) 116,000 38,000

เงินลงทุนในบริษัท ค 20%

(4) 2,000

(5) 36,000 (5) 8,000

คาความนิยม

(7) 1,000

(9) 9,000 (11) 1,000

รวมสินทรัพย หนี้สิน หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค กําไรสะสม

15,000

800,000

300,000

200,000

958,200

126,200

31,000

10,000

167,200

400,000

400,000 (9)200,000

200,000 100,000 273,800

69,000

90,000

(5)100,000

273,800


17 M.I. บริษัท ค 1 มค. บริษัท ข 1 มค.

(5) 36,000 (6) 2,000 (9) 75,000 (10) 4,200

รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

800,000

300,000

200,000

117,200 958,200

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการ มีดังนี้ (1)

ขาย

15,000

ตนทุนสินคาขาย ตัดรายการซื้อขายระหวางบริษัท (2)

ตนทุนสินคาขาย 5,000 สินคาคงเหลือ ตัดกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวดที่ยังไมเกิดขึ้น

15,000

5,000

(3)

กําไรจากการขายที่ดิน 10,000 ทีด่ นิ อาคาร อุปกรณ (สุทธิ) 10,000 ตัดกําไรจากการขายที่ดินระหวางกันที่ยังไมเกิดขึ้น

(4)

รายไดจากบริษัท ค 15,000 เงินปนผล (บริษัท ค) 8,000 เงินลงทุนในบริษัท ค (60%) 5,000 เงินลงทุนในบริษัท ค (20%) 2,000 ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ค ใหแสดงยอดตนป


18

(5)

กําไรสะสม 1 มค. – บริษัท ค หุนสามัญ – บริษัท ค คาความนิยม เงินลงทุนในบริษัท ค (60%) เงินลงทุนในบริษัท ค (20%) M.I. – บริษัท ค ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ค

80,000 100,000 8,000 116,000 36,000 36,000

(6)

M.I.ในกําไรสุทธิ – บริษัท ค 4,000 เงินปนผล 2,000 M.I.– บริษัท ค 2,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและเงินปนผล

(7)

คาใชจายอื่น 1,000 คาความนิยม 1,000 บันทึกคาความนิยมตัดบัญชีจากการลงทุนของบ. ก ในบ. ค สําหรับป 25+6

(8)

รายไดจากบริษัท ข 12,800 เงินลงทุนในบริษัท ข 1,200 เงินปนผล (บริษัท ข) 14,000 ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอดตนป


19

(9)

(10)

(11)

กําไรสะสม 1 มค. – บริษัท ข 50,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 200,000 คาความนิยม 9,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 184,000 M.I. – บริษัท ข 75,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข M.I. ในกําไรสุทธิ – บริษัท ข 10,200 เงินปนผล 6,000 M.I. – บริษัท ข 4,200 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและเงินปนผล คาใชจายอื่น 1,000 คาความนิยม 1,000 บันทึกคาความนิยมตัดบัญชีจากการลงทุนของบริษัท ก ใน บริษัท ข สําหรับป 25+6

สวนของผูถือหุนสวนนอย ณ 31 ธันวาคม 25+6 สามารถคํานวณไดดังนี้ สวนของผูถือหุนสวนนอย ราคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิ ณ 31 ธค. 25+6 บ. ข (269,000 × 30%) บ. ค (190,000 × 20%) หัก กําไรในสินคาคงเหลือของ บ. ข (5,000 × 30%) สวนของผูถือหุนสวนนอย

บริษัท ข 30%

บริษัท ค 20%

รวม

80,700

38,000

80,700 38,000

1,500 79,200

38,000

1,500 117,200


20

การถือหุนระหวางกัน – บริษัทยอยถือหุนบริษัทใหญ วิธีการบัญชีที่นิยมใชมีอยู 2 วิธีคือ 1. วิธีหุนซื้อคืน (Treasury Stock Method) 2. วิธีจัดสรร (Allocation Method หรือ Conventional Method) วิธีหุนซื้อคืน (Treasury Stock Method) ตัวอยางที่ 9-3 งบทดลอง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+5 กอนที่ บริษัททั้งสองจะบันทึกรายไดจากการลงทุน มีดังนี้ บริษัท ก

บริษัท ข

480,000 270,000 70,000 820,000

260,000 70,000 50,000 380,000

500,000 200,000 120,000 820,000 50,000

200,000 100,000 80,000 380,000 30,000

เดบิต สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข (90%) เงินลงทุนในบริษัท ก (10%) คาใชจาย (รวมตนทุนสินคาขาย) เครดิต หุนสามัญ มูลคา @ 10 บาท กําไรสะสม ขาย กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระ


21

กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม – ปที่ซื้อหุน ถาใชวิธีหุนซื้อคืน บริษัท ข จะบันทึกการลงทุนดวยวิธีราคา ทุนและไมมีรายไดจากการลงทุน บัญชีเงินลงทุนของบริษัท ข ใน บริษัท ก ไมไดตัดกับบัญชีสวนของผูถือหุนของบริษัท ก แตจะ โอนไปบัญชีหุนซื้อคืนและนํ าไปหักออกจากสวนของผูถือหุนใน งบดุลรวม ตารางที่ 9-3 วิธีหุนซื้อคืน ปที่ซื้อหุน กระดาษทําการสําหรับงบดุลรวมบริษทั ก และบริษัทยอย ข สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+5 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม คาใชจาย (รวมตนทุนสินคาขาย) กําไรสุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอย (30,000×0.1) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา กําไรสะสม 31 ธค.

บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบรวม

120,000 27,000 147,000

80,000

200,000

80,000

200,000

70,000 77,000

50,000 30,000

120,000 80,000

(1) 27,000

(4) 3,000 77,000

30,000

200,000 77,000 277,000

(3,000) 77,000

200,000 100,000 (2)100,000 30,000 130,000

77,000 277,000


22 งบดุล สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข 90% เงินลงทุนในบริษัท ก 10% รวมสินทรัพย หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสม

480,000 297,000

777,000

260,000

(1) (2) (3) (4)

(1) 27,000 (2)270,000 (3) 70,000

70,000 330,000

740,000

500,000 277,000

500,000 200,000 (2)200,000 130,000

277,000

(3) 70,000

(70,000)

หุนซื้อคืน สวนของผูถือหุนสวนนอย หนี้สินและสวนของผูถือหุน

740,000

(2) 30,000 (4) 3,000 777,000

330,000

ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอดตนป ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ก บันทึกกําไรของผูถือหุนสวนนอยและเงินปนผล

33,000 740,000


23

กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม – ปถัดมา ระหวางป 25+6 กําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระและ เงินปนผลของบริษัท ก และบริษัท ข มีดังนี้ กําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระ เงินปนผลจาย

บริษัท ก 60,000 30,000

บริษัท ข 40,000 20,000

ตามวิธีหุนซื้อคืน บริษัท ข จะบันทึกเงินปนผลรับจากบริษัท ก 3,000 บาท (30,000×10%) และรายงานกําไรสุทธิสําหรับป 25+6 ตามวิธีราคาทุน 43,000 บาท บริษัท ก จะบันทึกการลงทุนในบริษัท ข ตามวิธีสวนไดเสียใน สมุดบัญชี ดังนี้ เงินสด 18,000 เงินทุนในบริษัท ข 18,000 บันทึกการรับเงินปนผลจากบริษัท ข (20,000 × 90%) เงินลงทุนในบริษัท ข 38,700 รายไดจากบริษัท ข 38,700 บันทึกสวนไดเสียในกําไรสุทธิของบ. ข (43,000× 90%)


24

รายไดจากบริษัท ข 3,000 เงินปนผล 3,000 ตัดบัญชีเงินปนผลที่จายใหบริษัท ข (30,000 ×10%) และปรับปรุง รายไดจากบริษัท ข ดวยเงินปนผลของบริษัท ก ที่รวมอยูในรายได จากบริษัท ข

ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ที่ปรากฏใน กระดาษทําการ สําหรับป 25+6 คํานวณไดดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข (90%) 297,000 บาท 38,700 บวก : 90%ของกําไรสุทธิของบริษัท ข หัก : 90% ของเงินปนผลรับจากบริษัท ข 18,000 เงินลงทุนในบริษัท ข (90%) 31 ธันวาคม 25+6 317,700 ตารางที่ 9-4 วิธีหุนซื้อคืน ปถัดจากปที่ซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบดุลรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+6 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข เงินปนผลรับ รวม คาใชจาย (รวมตนทุนสินคาขาย) กําไรสุทธิ

บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

140,000 100,000 (1) 35,700 35,700 3,000 (1) 3,000 175,700 103,000 80,000 95,700

60,000 43,000

งบรวม

240,000

240,000 140,000 100,000


25 สวนของผูถือหุนสวนนอย (43,000×0.1) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข

(4)

95,700

4,300

(4,300) 95,700

43,000

277,000

277,000

130,000 (2) 130,000 95,700 43,000

95,700

(27,000)

(27,000) (1) 18,000 (4) 2,000

(20,000)

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข 90%

345,700 153,000

345,700

528,000 283,000 317,700

811,000

เงินลงทุนในบริษัท ก 10% รวมสินทรัพย หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสม หุนซื้อคืน สวนของผูถือหุนสวนนอย

70,000 845,700 353,000

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

(1) 20,700 (2) 297,000 (3) 70,000

811,000

500,000

500,000

200,000 (2) 200,000 345,700 153,000

345,700 (70,000)

(3) 70,000 (2) 33,000 (4) 2,300

845,700 353,000

35,300 811,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการ สําหรับปสิ้น สุด 31 ธันวาคม 25+6 มีดังนี้


26

(1)

(2)

(3)

(4)

รายไดจากบริษัท ข 35,700 เงินปนผลรับ 3,000 เงินปนผล (บริษัท ข) 18,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 20,700 ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอดตนป โดยการตัด บัญชีรายไดจาก บริษทั ข เงินปนผลรับจากบริษัท ก และบัญชีเงิน ปนผลจายของบริษัท ข กําไรสะสม 1 มค. – บริษัท ข หุนสามัญ – บริษัท ข เงินลงทุนในบริษัท ข ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข

117,000 180,000

หุนซื้อคืน เงินลงทุนในบริษัท ก ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ก

70,000

297,000

M.I. - กําไรสุทธิ 4,300 เงินปนผล สวนของผูถือหุนสวนนอย บันทึกกําไรของผูถือหุนสวนนอยและเงินปนผล

70,000

2,000 2,300


27

วิธจี ัดสรร (Allocation Method) หุนของบริษัทใหญที่บริษัทยอยถืออยูจะอนุมานวาถูกไถถอน (Constructively retired) และสวนไดเสียของบริษัทยอยในหุน สามัญและกําไรสะสมของบริษัทใหญจะตองถูกหักออกจากงบการ เงินรวม จากขอมูลเดิมในตัวอยางที่แลว เมื่อบริษัท ข ซื้อหุน 10% ของบริษัท ก ตามวิธีจัดสรรจะอนุมานวาเปนการไถถอนหุนสามัญ 10% ของบริษัท ก งบดุลรวม ณ วันซื้อหุนของบริษัท ก และบริษัทยอยจะแสดงหุนสามัญ และกําไรสะสมของบริษัท ก เพียง 90% เทาที่ถืออยูโดยบุคคล ภายนอกกิจการรวม ดังนี้

หุนสามัญ กําไรสะสม รวมสวนของผูถือหุน

1 มกราคม 25+5 บริษัท ก บริษัท ข 500,000 450,000 200,000 180,000 700,000 630,000

บริษัท ก จะบันทึกบัญชีสําหรับการลงทุนในบริษัท ข ตามวิธี สวนไดเสียดังนี้


28

1 มกราคม 25+5 เงินทุนในบริษัท ข (90%) 270,000 เงินสด 270,000 บันทึกการซื้อสวนไดเสีย 90% ของบริษัท ข ในราคาตามบัญชี 1 มกราคม 25+5 หุน สามัญ (มูลคาหุนละ 10 บาท) 50,000 กําไรสะสม 20,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 70,000 บันทึกการไถถอนหุนสามัญที่ออกจําหนายแลว 10% ของบริษัท ก อันเปนผลมาจากการซื้อหุนของบริษัท ข

การจัดสรรกําไรระหวางบริษัท วิธีทางคณิตศาสตรเขามาชวยในการคํานวณกําไรสุทธิของบริษัท ใหญและบริษัทยอย ดังตอไปนี้ สมมติให ก = กําไรของบริษัท ก ในแงของงบการเงินรวม (รวมกําไรระหวางบริษัทแลว) ข = กําไรของบริษัท ข ในแงของงบการเงินรวม (รวมกําไรระหวางบริษัทแลว) ดังนั้น ก = กําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระของบริษัท ก + 90% (ข) ข = กําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระของบริษัท ข + 10% (ก) ก = 50,000 + .9ข (1) ข = 30,000 + .1ก (2) แทนคา ข ลงไปในสมการที่ (1) ก = 50,000 + .9 (30,000 + .1ก) ก = 50,000 + 27,000 + .09ก ก = 84,615 บาท ข = 30,000 + (84,615 × .1) ข = 38,462 บาท


29

การบัญชีสําหรับกําไรระหวางบริษัทตามวิธีสวนไดเสีย บริษัท ก จะบันทึกรายไดจากการลงทุน สําหรับป 25+5 ตามวิธี สวนไดเสียดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข 26,154 รายไดจากบริษัท ข 26,154 บันทึกสวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข

กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม – วิธีสวนไดเสีย ตารางที่ 9-5 บริษัทยอยซื้อหุนบริษัทใหญ วิธีจัดสรร ปที่ซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบดุลรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+5 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวมรายได คาใชจาย (รวมตนทุนสินคาขาย) กําไรสุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอย (38,462×0.1) กําไรสุทธิ

บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบรวม

120,000 26,154 146,154

80,000

200,000

80,000

200,000

70,000 76,154

50,000 30,000

120,000 80,000

(2) 26,154

(4) 3,845

76,154

30,000

(3,846) 76,154


30 งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข 90% เงินลงทุนในบริษัท ก 10% รวมสินทรัพย หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสม สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

(1) (2) (3) (4)

180,000 76,154 256,154

180,000 100,000 30,000 130,000

480,000 226,154

260,000

706,154

330,000

(3) 100,000

76,154 256,154 740,000

(1) 70,000 (2) 26,154 (3)270,000 (1) 70,000 70,000

740,000

450,000 256,154

450,000 200,000 (3)200,000 130,000

256,154 (3) 30,000 (4) 3,846

706,154

330,000

33,846 740,000

ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ก ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอดตนป ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข บันทึกกําไรของผูถือหุนสวนนอย

กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม – ปถัดมา การคํานวณกําไรของบริษัท ก และบริษัท ข โดยใชวิธีทาง คณิตศาสตร สําหรับวิธีจัดสรร ในป 25+6 จะมีดังนี้


31

= กําไรของบริษัท ก ในแงของงบการเงินรวม (รวมกําไร ระหวางบริษัทแลว) ข = กําไรของบริษัท ข ในแงของงบการเงินรวม (รวมกําไร ระหวางบริษัทแลว) สมการพื้นฐาน : ก = 60,000 + .9ข (1) ข = 40,000 + .1ก (2) แทนคา สมการที่ (2) ลงในสมการที่ (1) ก = 60,000 + .9 (40,000 + .1ก) .91ก = 96,000 ก = 105,495 บาท ข = 40,000 + .1 (105,495) ข = 50,549 บาท

การคํ านวณกํ าไรสุทธิ ร วมและกํ าไรสุทธิของผูถือหุนสวน นอย มีดังนี้ กําไรสุทธิของบริษัท ก (และกําไรสุทธิรวม) = 105,495 × 90% สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ = 50,549 × 10% ผลรวมกําไรสุทธิจากการดําเนินงานโดยอิสระ ของบริษัท ก และบริษัท ข

94,945

บาท

5,055 100,000

บริษัท ก จะบันทึกบัญชีสําหรับการลงทุนในบริษัท ข ดังนี้


32

เงินสด 18,000 เงินลงทุนในบริษัท ข บันทึกการรับเงินปนผลจากบริษัท ข ( 20,000 × 90%)

18,000

เงินลงทุนในบริษัท ข 34,945 รายไดจากบริษัท ข 34,945 บันทึกรายไดจากการลงทุนในบริษัท ข ซึ่งเทากับกําไรสุทธิของ บริษัท ก 94,945 บาท หักดวยกําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระ 60,000 บาท หรือ 90% ของกําไรบริษัท ข ในแงของงบการเงินรวม 50,549×.90) หัก ดวย 10% ของกําไรบริษัท ก ในแงของงบการเงินรวม (105,495 ×.10) เงินลงทุนในบริษัท ข 3,000 เงินปนผลจาย 3,000 ตัดเงินปนผลที่บริษัท ก จายใหบริษัท ข โดยนําไปปรับปรุงบัญชีเงินลงทุน ในบริษัท ข

ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+6 ตามวิธีสวนไดเสีย คํานวณไดดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข ณ 31 ธันวาคม 25+5 บวก : รายไดจากบริษัท ข บวก : เงินปนผลที่จายใหบริษัท ข หัก : เงินปนผลรับจากบริษัท ข เงินลงทุนในบริษัท ข ณ 31 ธันวาคม 25+6

226,154 34,945 3,000 18,000 246,099

บาท


33

ตารางที่ 9-6 วิธีจัดสรร ปถัดจากปที่ซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบดุลรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+6 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข เงินปนผลรับ รวมรายได คาใชจาย (รวมตนทุนสินคาขาย) กําไรสุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอย (50,549×0.1) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข

บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

140,000 100,000 34,945 (2) 34,945 3,000 (2) 3,000 174,945 103,000 80,000 94,945

240,000

240,000

60,000 43,000

140,000 100,000 (4) 5,055

94,945

งบรวม

(5,055) 94,945

43,000

256,154

256,154

130,000 94,945 43,000

(3) 130,000

94,945

(27,000)

(27,000) (20,000)

(2) 18,000 (4)

2,000

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล สินทรัพยอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข 90%

324,099 153,000

324,099

528,000 283,000 246,099

811,000

เงินลงทุนในบริษัท ก 10% รวมสินทรัพย

70,000 774,099 353,000

(1) 70,000 (2) 19,945 (3)296,154 (1) 70,000

811,000


34 หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสม สวนของผูถือหุนสวนนอย รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

450,000

450,000

200,000 324,099 153,000

(3) 200,000

324,099 (3) 33,846 (4) 3,055

774,099 353,000

36,901 811,000

(1) ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ก (2) ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอดตนป โดยการตัดบัญชี รายไดจากบริษัท ข บัญชีเงินปนผลรับและบัญชีเงินปนผลจาย (3) ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข (4) บันทึกกําไรของผูถือหุนสวนนอยและเงินปนผล

การแปลงเปนวิธีสวนไดเสียในสมุดบัญชีของแตละบริษัท หากบริษัทใหญไมไดใชวิธีสวนไดเสีย การแกไขกําไรสะสมรวม และสวนของผูถือหุนสวนนอยทําไดดังนี้ กําไรสุทธิแตละบริษัท – ป 25+5 กําไรสุทธิแตละบริษัท – ป 25+6 หัก: เงินปนผลที่ประกาศจาย บวก: งปผ.รับจากบริษัทที่เกี่ยวของกัน สินทรัพยสุทธิเพิ่มขึ้น

บริษัท ก 50,000 +60,000 -30,000 +18,000 98,000

บริษัท ข 30,000 +40,000 -20,000 +3,000 53,000

บริษัท ค 80,000 +100,000 -50,000 +21,000 151,000


35

การคํานวณสําหรับบริษัท ก และบริษัท ข ทําไดดังนี้ ก = สินทรัพยสุทธิของบริษัท ก ที่เพิ่มขึ้นจากงบการเงินรวมนับตั้งแตบริษัท ข ซื้อหุน ข = สินทรัพยสุทธิของบริษัท ข ที่เพิ่มขึ้นจากงบการเงินรวมนับตั้งแตบริษัท ก ซื้อหุน สมการพื้นฐาน : ก = 98,000 + .9ข (1) ข = 53,000 + .1ก (2) แทนคา สมการที่ (2) ลงในสมการที่ (1) ก = 98,000 + .9(53,000 + .1ก) .91ก = 145,700 ก = 160,110 บาท ข = 53,000 + (.1 × 160,110) ข = 69,011 บาท

ตัวเลขที่คํานวณไดจะนําไปใชในการจัดสรรสินทรัพยสุทธิที่ เพิ่มขึ้น 151,000 บาท ไปยังกําไรสะสมรวมและสวนของผูถือ หุนสวนนอย ดังนี้ กําไรสะสมของบริษัท ก เพิ่มขึ้น (หรือกําไรสะสมรวมเพิ่มขึ้น)= 160,110 × 90% กําไรสะสมของผูถือหุนสวนนอยเพิ่มขึ้น = 69,011 × 10% สินทรัพยสุทธิรวมเพิ่มขึ้น

144,099 บาท 6,901 151,000


36

การถือหุนระหวางกัน – บริษทั ยอยถือหุนระหวางกัน ตัวอยางที่ 9-4 โครงสรางของบริษัทในกลุมกิจการตามรูปขางลางนี้ ประกอบดวย บริษัท ก บริษัท ข และบริษัท ค บริษัท ก มีสวนไดเสีย 80% ในบริษัท ข โดยตรง บริษัท ข มีสวนไดเสีย 70% ในบริษัท ค และบริษัท ค ก็มีสวนไดเสีย 10% ในบริษัท ข ผูถือหุนสวนนอยมีสวน ไดเสียในบริษัท ข 10% และในบริษัท ค 30% บริษัท ก

80%

บริษัท ข

10%

70%

บริษัท ค

การลงทุนซื้อหุนของบริษัท ก บริษัท ข และบริษัท ค มีดังนี้ : 1. บริษัท ก ซื้อสวนไดเสีย 80% ในบริษัท ข เมื่อวันที่ 2 มกราคม 25+5 เปนเงิน 260,000 บาท เมื่อสวนของผูถือหุนของ บริษัท ข ประกอบดวย หุนสามัญ 200,000 บาท และกําไรสะสม 100,000 บาท (คาความนิยม 20,000 บาท) 2. บริษัท ข ซื้อสวนไดเสีย 70% ในบริษัท ค เปนเงิน 115,000 บาท เมื่อวันที่ 3 มกราคม 25+6 เมื่อสวนของผูถือหุนของบริษัท ค


37

ประกอบดวย หุนสามัญ 100,000 บาท กําไรสะสม 50,000 บาท (คาความนิยม 10,000 บาท) 3. บริษัท ค ซื้อสวนไดเสีย 10 % ในบริษัท ข เปนเงิน 40,000 บาท เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 25+6 เมื่อสวนของผูถือหุนของบริษัท ข ประกอบดวยหุนสามัญ 200,000 บาท และกําไรสะสม 200,000 บาท (ไมมีคาความนิยม)

การบัญชีกอนการถือหุนระหวางกัน สมมติวาสินทรัพยสุทธิจากการลงทุนขางตนไดถูกบันทึกใน ราคาเทากับมูลคายุติธรรม ณ วันซื้อหุนพอดี สวนเกินของราคา ทุนที่สูงกวาราคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิที่ซื้อจึงถือเปนคา ความนิยมซึ่งจะตัดบัญชีภายในเวลา 10 ป งบทดลองหลังปด บัญชีของบริษัททั้งสาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+6 มีดังนี้ เงินสด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น โรงงานและอุปกรณ (สุทธิ) เงินลงทุนในบริษัท ข (80%) เงินลงทุนในบริษัท ค (70%) เงินลงทุนในบริษัท ข (10%)

บริษัท ก 64,000 200,000 500,000 336,000 1,100,000

บริษัท ข 40,000 85,000 240,000 135,000 500,000

บริษัท ค 20,000 80,000 110,000 40,000 250,000


38

ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+6 336,000 บาท คํานวณไดดังนี้ ราคาทุน 260,000 บาท บวก : 80% ของกําไรสุทธิบริษัท ข 40,000 บาท หักดวยเงินปนผล – ป 25+5 32,000 80% ของกําไรสุทธิของบริษัท ข 60,000 บาท หักดวยเงินปนผล – ป 25+6 48,000 หัก : คาความนิยมตัดบัญชี [260,000 –(300,000 × 80%)] × 10 % 2,000 ป 25+5 ป 25+6 2,000 336,000 ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ค 135,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+6 คํานวณไดจาก เงินลงทุนในบริษัท ค ณ 3 ธันวาคม 25+6 - ราคาทุน 115,000 บวก : 70% ของกําไรสุทธิบริษัท ค 30,000 บาท หักดวย เงินปนผล – ป 25+6 21,000 หัก : คาความนิยมตัดบัญชี [115,000 – (150,000 × 70%)] × 10 % 1,000 ป 25+6 135,000

บาท


39

การบัญชีเมื่อบริษัทยอยถือหุนระหวางกัน ระหวางป 25+7 บริษัททั้งสามมีกําไรจากการดําเนินงานโดย อิสระ และประกาศจายเงินปนผลดังนี้ กําไรจากการ ดําเนินงานโดย อิสระ 112,000 51,000 40,000 203,000

บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค

ประกาศจาย เงินปนผล 50,000 30,000 20,000 100,000

การจัดสรรกําไรสุทธิ การคํานวณการจัดสรรกําไรสุทธิสําหรับบริษัทในกลุมกิจการ ดังนี้ ก ข ค

ก ข ค

= กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระของบริษัท ก + = กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระของบริษัท ข + = กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระของบริษัท ค +

= = =

.8ข .7ค .1ข

-

คาความนิยมตัดบัญชี คาความนิยมตัดบัญชี คาความนิยมตัดบัญชี

112,000 + .8ข - 2,000 51,000 + .7ค - 1,000 40,000 + .1ข

แกสมการหาคา ข ข .93 ข ข ค ค ก ก

= = = = = = =

51,000 + .7 (40,000 + .1ข) – 1,000=78,000 + .07ข 78,000 83,871 บาท 40,000 + 8,387 48,387 บาท 112,000 + .8(83,871) – 2,000 177,097 บาท

2,000 1,000 0


40

กําไรสุทธิรวมสามารถจัดสรรไดดังนี้ : กําไรสุทธิรวม (เทากับกําไรสุทธิของบริษัท ก) สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัท ข (83,871 × 10%) สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัท ค (48,387 × 30%) กําไรจากการดําเนินงานโดยอิสระรวมหักดวยคาความ นิยมตัดบัญชี

177,097

บาท

8,387 14,516 200,000

การคํานวณยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุน ตารางแสดงการสรุปยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+7 มีดังนี้

ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุน ณ 31 ธันวาคม 25+6 บวก : รายไดจากการลงทุน บริษัท ก (83,871 × .8) – 2,000 บริษัท ข (48,387 × .7) – 1,000 หัก : เงินปนผลรับ บริษัท ก (30,000 × .8) บริษัท ข (20,000 × .7) ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุน ณ 31 ธันวาคม 25+7

บริษัท ก (วิธีสวน ไดเสีย)

บริษัท ข (วิธีสวน ไดเสีย)

บริษัท ค (วิธีราคาทุน)

336,000

135,000

40,000

65,097 -

32,871

-

(24,000) -

(14,000)

-

377,097

153,871

40,000


41

กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม – วิธีสวนไดเสีย ตารางที่ 9-7 วิธีสวนไดเสีย บริษัทยอยถือหุนระหวางกัน บริษัท ก และบริษัทยอย กระดาษทําการสําหรับงบดุลรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+7 บริษัท ก

บริษัท ข

บริษัท ค

412,000 65,097

161,000

100,000

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบรวม

งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข 80% รายไดจากบริษัท ค 70% เงินปนผลรับ (10%) รวมรายได ตนทุนสินคาขาย คาใชจาย รวมคาใชจาย กําไรสุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอย บ. ข (83,871×0.1) บ. ค (48,387×0.3) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข

(2) 32,871

32,871 477,097 220,000 80,000 300,000 177,097

673,000 (3) 65,097

193,871 70,000 40,000 110,000 83,871

3,000 103,000 40,000 20,000 60,000 43,000

(1) 3,000

673,000 330,000 143,000 473,000 200,000

(8) 3,000

(6) 8,387

(8,387) (14,516) 177,097

(7) 14,516

177,097

83,871

43,000

400,000

177,097

400,000 200,000

(5)200,000

83,871

80,000 (4) 80,000 43,000

177,097

(50,000)

(50,000) (1) 3,000

(30,000)

(3) 24,000

บริษัท ค กําไรสะสม 31 ธค.

527,097 253,871

(20,000) 103,000

(2) 14,000

527,097


42 งบดุล เงินสด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น โรงงานและอุปกรณ -สุทธิ เงินลงทุนในบริษัท ข 80%

60,000 250,000 550,000 377,097

30,000 80,000 300,000

43,000 70,000 130,000

133,000 400,000 980,000 (3) 41,097 (5)336,000

เงินลงทุนในบริษัท ค 70%

(2) 18,871

153,871

(4)135,000

เงินลงทุนในบริษัท ข 10% คาความนิยม – บริษัท ก คาความนิยม – บริษัท ข รวมสินทรัพย 1,237,097 210,000 หนี้สิน หุนสามัญ 500,000 บริษัท ก บริษัท ข บริษัท ค 527,097 กําไรสะสม สวนของผูถือหุนสวนนอย บริษัท ค - 1 มค.

1,237,097

(5) 16,000

(8) 2,000

(4) 9,000

(8) 1,000

14,000 8,000

563,871

283,000

1,535,000

110,000

80,000

400,000 500,000

200,000

(5) 200,000 100,000 (4) 100,000

253,871

103,000

527,097

(4)54,000 (7) 8,516 (5)40,000 (6) 5,387

บริษัท ข – 1 มค. รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

(5) 40,000

40,000

563,871

107,903 1,535,000

283,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการ มีดังนี้ (1) เงินปนผลรับ (10%) เงินปนผล – บริษัท ข

3,000

(2) รายไดจากบริษัท ค (70%) เงินปนผล – บริษัท ค เงินลงทุนในบริษัท ค

32,871

3,000

14,000 18,871


43

(3) รายไดจากบริษัท ข (80%) เงินปนผล – บริษัท ข เงินลงทุนในบริษัท ข (80%)

65,097 24,000 41,097

รายการที่ (1), (2) และ (3) เปนการตัดบัญชีรายไดจากการลง ทุน (รวมทั้งเงินปนผลรับของบริษัท ค) และเงินปนผลจายระหวาง บริษทั พรอมทั้งปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนใหแสดงยอด ณ วันตนป (4) กําไรสะสมตนป – บริษัท ค หุนสามัญ – บริษัท ค คาความนิยม – บริษัท ข เงินลงทุนในบริษัท ค (70%) M.I. – บริษัท ค 1 มค.

80,000 100,000 9,000

(5) กําไรสะสมตนป – บริษัท ข หุนสามัญ – บริษัท ข คาความนิยม – บริษัท ก เงินลงทุนในบริษัท ข (80%) เงินลงทุนในบริษัท ข (10%) M.I. – บริษัท ข 1 มค.

200,000 200,000 16,000

(6) M.I. ในกําไรสุทธิ – บริษัท ข เงินปนผล – บริษัท ข (10%) M.I. – บริษัท ข

8,387

135,000 54,000

336,000 40,000 40,000

3,000 5,387


44

(7) M.I. ในกําไรสุทธิ – บริษัท ค เงินปนผล – บริษัท ค (30%) M.I. – บริษัท ค (8) คาใชจาย คาความนิยม – บริษัท ก คาความนิยม – บริษัท ข บันทึกคาความนิยมตัดบัญชี

14,516 6,000 8,516 3,000 2,000 1,000


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.