บทที่ 4 เทคนิคและแนวทางปฏิบัติสำหรับการจัดทำงบการเงินรวม

Page 1

⌫   

มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 (ปรับปรุง 2550) กําหนดให บริษัทใหญแสดงเงินลงทุนในบริษัทยอยในงบการเงินเฉพาะกิจ การดวยวิธีราคาทุน ดังนั้นกระบวนการจัดทํ ากระดาษทํ าการสํ าหรับงบการเงิน รวมที่จะอธิบายในบทนี้จะแยกออกเปนสองกรณีคือ กรณีแรก บริษัทใหญใชวิธีสวนไดเสียในการบันทึกการลง ทุนในบริษัทยอยซึ่งบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอยจะปรากฎอยูใน งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย กรณีที่สอง บริษัทใหญใชวิธีราคาทุนในการบันทึกเงินลง ทุนในบริษัทยอย ซึ่งบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอยจะ ปรากฏอยู ในงบการเงินเฉพาะกิจการตามวิธีราคาทุน


2

แมวากระบวนการจัดทํางบการเงินรวมจะแตกตางกันตามวิธี การบัญชีที่บริษัทใหญเลือกใช แตทายที่สุดแลว ยอดคงเหลือของ บัญชีตางๆ ในงบการเงินรวมจะเทากัน

การจัดทํางบการเงินรวมตามวิธีสวนไดเสีย ขั้นตอนในการทํางบการเงินรวม เมื่อบริษัทใหญใชวิธีสวนได เสียในการบันทึกเงินลงทุน สรุปไดดังนี้ 1. ปรับปรุงขอผิดพลาดและรายการที่ไมไดบันทึกบัญชีในงบ การเงินของบริษัทใหญและบริษัทยอย 2. ปรับปรุงเพื่อตัดรายการกําไรและขาดทุนระหวางบริษัท 3. ปรับปรุงยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอยให แสดงยอด ณ วันตนปที่ทํางบการเงินรวม โดยการตัด บัญชีรายไดจากบริษัทยอยและบัญชีเงินปนผลของบริษัท ยอย (ตามเปอรเซ็นตสวนไดเสียที่ซื้อ) 4. ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอยกับบัญชีที่แสดงสวนของ เจาของในบริษัทยอยและรับรูสวนของผูถือหุนสวนนอย (ถามี)


3

5. กระจายผลตางระหวางราคาทุนและราคาตามบัญชีใหกับ สินทรัพยและหนี้สินตาง ๆ ของบริษัทยอยที่มีราคาตาม บัญชีไมเทากับมูลคายุติธรรม 6. ตัดจํ าหนายผลตางที่กระจายใหกับสินทรัพยและหนี้สิน ตามขอ 5. 7. ตัดรายการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นระหวางบริษัท (ลูกหนี้และเจา หนี้ระหวางกัน รายไดและคาใชจายระหวางกัน)

วิธสี วนไดเสีย - ปที่ซื้อหุน ตัวอยางที่ 4-1 กําไรสุทธิ เงินปนผล

25+3 50,000 บาท 30,000 บาท

25+4 60,000 บาท 30,000 บาท

บัญชีรายไดจากบริษัท ข และบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข มียอดคง เหลือดังนี้ รายไดจากบริษัท ข 25+3 1 มค.

25+4 31 ธค.

สิทธิบัตรตัดจําหนาย กําไรขาดทุน

สิทธิบัตรตัดจําหนาย กําไรขาดทุน

25+3 3,000 31 ธค. 37,000 40,000 25+4 3,000 31 ธค. 45,000 48,000

กําไรจากบริษัท ข

40,000 40,000

กําไรจากบริษัท ข

48,000 48,000


4

เงินลงทุนในบริษัท ข 25+3 1 มค. 31 ธค. 25+4 1 มค. 31 มค. 25+5 1 มค.

ยอดยกมา รายไดจากบริษัท ข

25+3 174,000 31 ธค. 37,000 25+4 187,000 31 ธค. 45,000

ยอดยกมา

208,000

ยอดเริ่มแรก รายไดจากบริษัท ข

เงินปนผลรับ

24,000

เงินปนผลรับ

24,000

ตารางที่ 4-1 วิธีสวนไดเสีย - ปที่ซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+3 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข คาใชจาย สวนของผูถือหุนสวนนอย (50,000×20%) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม บริษัท ก บริษัท ข บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธค.

500,000 37,000 (400,000)

137,000

(หนวย:บาท) บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

130,000 (80,000)

630,000 (1) 37,000 (4) 3,000

(483,000)

(2) 10,000

(10,000)

50,000

137,000

10,000 137,000 (60,000) 87,000

งบรวม

10,000 60,000 50,000 (30,000) 80,000

(3) 60,000 137,000 (1) 24,000 (2) 6,000

(60,000) 87,000


5 (ตอ) งบดุล เงินสด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข อาคารและอุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม สิทธิบัตร รวมสินทรัพย หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

บริษัท ก

บริษัท ข

80,000 180,000 187,000

20,000 100,000

600,000 (100,000)

200,000 (60,000)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบรวม

100,000 280,000 (1) 13,000 (3) 174,000

(3) 30,000 947,000

260,000

160,000 750,000 87,000 947,000

60,000 120,000 80,000 260,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. (180,000 × 20%) สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(4)

3,000

800,000 (160,000) 27,000 1,047,000 220,000 700,000 87,000

(3) 120,000

(3) 36,000 (2) 4,000

40,000 1,047,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในรูปของการบันทึกรายการใน สมุดรายวันไดดังนี้ (1) รายไดจากบริษัท ข 37,000 เงินปนผล 24,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 13,000 ปรับปรุงยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนใหแสดงยอด ณ วันตนปที่ ทํางบ โดยการตัดบัญชีรายไดจากบริษัทยอยและเงินปนผลจาย (2) สวนของผูถือหุนสวนนอย - กําไรสุทธิ 10,000 เงินปนผล – บริษัท ข 6,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 4,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและเงินปนผลของบ.ยอย


6

(3) กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 60,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 120,000 สิทธิบัตร 30,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 174,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 36,000 ตัดบัญชีทตี่ รงกันระหวางสวนของผูถือหุนกับบัญชีเงินลงทุน พรอม กับบันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอย ณ วันตนป และบันทึกสิทธิบัตรที่ ยังไมตัดจําหนาย (4) คาใชจาย 3,000 สิทธิบัตร 3,000 บันทึกการตัดจําหนายสิทธิบัตร

วิธสี ว นไดเสีย - ถัดจากปที่ซื้อหุน บัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข มียอดคงเหลือ 208,000 บาท ซึ่งคํานวณไดดังนี้ เงินลงทุนเริ่มแรก 1 มกราคม 25+3 รายไดจากบริษัท ข ป 25+3 เงินปนผลจากบริษัท ข ป 25+3 เงินลงทุนในบริษัท ข 31 ธันวาคม 25+3 รายไดจากบริษัท ข ป 25+4 เงินปนผลจากบริษัท ข ป 25+4 เงินลงทุนในบริษัท ข 31 ธันวาคม 25+4

174,000 บาท 37,000 (24,000) 187,000 45,000 (24,000) 208,000


7

ตารางที่ 4-2 วิธีสวนไดเสีย – ถัดจากปที่ซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข คาใชจาย สวนของผูถือหุนสวนนอย (60,000×20%) กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย

600,000 45,000 (488,000)

(หนวย:บาท) บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

150,000 (90,000)

157,000

60,000

87,000 157,000 (90,000)

80,000 60,000 (30,000)

งบรวม

750,000 (1) 45,000 (4) 3,000

(581,000)

(2) 12,000

(12,000) 157,000

(3) 80,000

87,000 157,000 (1) 24,000 (2) 6,000

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ตั๋วเงินรับ – บริษัท ข สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข

154,000

110,000

(90,000) 154,000

92,000 20,000 194,000 208,000

40,000

132,000

อาคารและอุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม สิทธิบัตร รวมสินทรัพย ตั๋วเงินจาย – บริษัท ก หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

600,000 (120,000)

(5) 20,000 140,000

334,000 (1) 21,000 (2) 187,000

200,000 (80,000) (3) 27,000

994,000

300,000

140,000 700,000 154,000 994,000

20,000 50,000 120,000 110,000 300,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. (200,000 × 20%) สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(4)

3,000

800,000 (200,000) 24,000 994,000

(5) 20,000 190,000 700,000 154,000 994,000

(3) 120,000

(3) 40,000 (2)

6,000

46,000 994,000


8

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในรูปของการบันทึกรายการในสมุด รายวันไดดังนี้ (1) รายไดจากบริษัท ข 45,000 เงินปนผล 24,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 21,000 ปรับปรุงยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนใหแสดงยอด ณ วันตนปที่ ทํางบ โดยการตัดบัญชีรายไดจากบริษัทยอยและเงินปนผลจาย (2) สวนของผูถือหุนสวนนอย-กําไรสุทธิ 12,000 เงินปนผล – บริษัท ข 6,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 6,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและเงินปนผลของ บริษัทยอย (3) กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 80,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 120,000 สิทธิบัตร 27,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 187,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 40,000 ตัดบัญชีทตี่ รงกันระหวางสวนของผูถือหุนกับบัญชีเงินลงทุน พรอม กับบันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอย ณ วันตนป และบันทึกสิทธิบัตร ที่ยังไมตัดจําหนาย (4) คาใชจาย 3,000 สิทธิบัตร 3,000 บันทึกการตัดจําหนายสิทธิบัตร


9

(5) ตัว๋ เงินจาย – บริษัท ก ตัว๋ เงินรับ – บริษัท ข ตัดจําหนายลูกหนี้ เจาหนี้ระหวางกัน

20,000 20,000

การจัดทํางบการเงินรวมตามวิธีราคาทุน เมื่ อ บริ ษั ท ใหญ ใ ช วิ ธี ร าคาทุ น ในการบั น ทึ ก เงิ น ลงทุ น ใน บริษัทยอย บริษัทใหญจะรับรูรายไดจากการประกาศจายเงินปน ผลของบริษัทยอยเทานั้น (บัญชีเงินปนผลรับ) บัญชีเงินลงทุนจะมียอดคงเหลือเทากับราคาทุนเดิมยกเวน เมื่อเงินปนผลลดกํ าไรสะสมของบริษัทยอยลงจนมียอดตํ่ ากวา กําไรสะสม ณ วันที่บริษัทใหญซื้อหุน ขอแตกตางระหวางวิธีราคาทุนและวิธีสวนไดเสียจะปรากฎ อยูที่ยอดคงเหลือของบัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอย (สินทรัพย) และบัญชีกําไรสะสม (สวนของทุน) ของบริษัทใหญ การจัดทํางบการเงินรวมตามวิธีราคาทุน สามารถทําได 2 วิธี คือ 1. แปลงเปนวิธีสวนไดเสีย (Conversion to equity method) ราย การแรกในกระดาษทําการจะแปลงเปนวิธีสวนไดเสีย รายการ หลั ง จากนี้ จ ะเหมื อ นกั บ รายการปรั บ ปรุ ง และตั ด บั ญ ชี ใ น กระดาษทําการตามวิธีสวนไดเสีย


10

2. วิธีธรรมเนียมปฏิบัติ (Traditional method) รายการแรก จะปรับเพิ่ม (เดบิต) บัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอย ดวยสวนไดเสียของบริษัทใหญในกําไรสะสมของบริษัทยอยที่ เพิ่มขึ้นหลังจากวันซื้อหุน และเครดิตกํ าไรสะสมของบริษัท ใหญ เพื่อปรับปรุงยอดคงเหลือของกํ าไรสะสมตนงวดของ บริษัทใหญใหเทากับกําไรสะสมรวมตนงวด รายการตอมา จะตัดบัญชีเงินปนผลรับกับบัญชีเงินปนผลจาย รายการที่สาม จะตัดบัญชีเงินลงทุนกับยอดคงเหลือของบัญชีที่ แสดงสวนของทุนพรอมทั้งบันทึกสิทธิบัตรและสวนไดเสียของ ผูถือหุนสวนนอย (Patents and noncontrolling interest)

วิธรี าคาทุน – Conversion to equity method – ปที่ซื้อหุน ตารางที่ C4-1 วิธีราคาทุน – ปที่ซื้อหุน (Conversion to method) บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+3 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย เงินปนผลรับ รายไดจากบริษัท ข คาใชจาย สวนของผูถือหุนสวนนอย

500,000 24,000 (400,000)

(หนวย:บาท) บริษัท ข (80%) 130,000

(80,000)

(50,000×20%)

กําไรสุทธิ

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

630,000 (1) 24,000 (2) 37,000 (5) 3,000 (3) 10,000

124,000

50,000

งบรวม

(1) 37,000 (483,000) (10,000) 137,000


11 (ตอ)

บริษัท ก

งบกําไรสะสม กําไรสะสม บริษัท ก บริษัท ข บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข อาคารและอุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม สิทธิบัตร รวมสินทรัพย หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

บริษัท ข (80%)

10,000 124,000 (60,000)

งบรวม

10,000 60,000 50,000 (30,000)

(4)

60,000 137,000 (2) 24,000 (3) 6,000

74,000

80,000

(60,000) 87,000

80,000 180,000 174,000

20,000 100,000

100,000 280,000

600,000 (100,000)

200,000 (60,000)

(1) 13,000

934,000 260,000 160,000 60,000 700,000 120,000 74,000 80,000 934,000 260,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. (180,000 × 20%)

สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(4) 30,000

(2) 13,000 (4) 174,000

(5)

3,000

(4) 120,000

800,000 (160,000) 27,000 1,047,000 220,000 700,000 87,000

(4) 36,000 (3)

4,000

40,000 1,047,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทํ าการสํ าหรับงบ การเงินรวม ปที่ 1 หลังวันซื้อหุน มีดังนี้ (1) เงินปนผลรับ เงินลงทุนในบริษัท ข รายไดจากบริษัท ข

24,000 13,000 37,000

ปรับปรุงบัญชีรายไดและเงินลงทุนตามวิธีราคาทุนใหเปนวิธีสวนไดเสีย


12

(2) รายไดจากบริษัท ข เงินปนผลจาย เงินลงทุนในบริษัท ข

37,000 24,000 13,000

ตัดบัญชีรายไดจากบริษัท ข และเงินปนผลจายของบริษัท ข และปรับ บัญชีเงินลงทุนใหมียอดคงเหลือ ณ วันตนป (3) สวนของผูถือหุนสวนนอย-กําไรสุทธิ 10,000 เงินปนผลจาย 6,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 4,000 บันทึกสวนไดเสียของผูถือหุนสวนนอยในกําไรและเงินปนผล (4) กําไรสะสม-บริษัท ข 60,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 120,000 สิทธิบัตร 30,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 174,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 36,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนกับสวนของผูถือหุน พรอมกับบันทึกสวนของผูถือหุน สวนนอย ณ วันตนปและบัญชีสิทธิบัตร (5) คาใชจาย 3,000 สิทธิบัตร 3,000 บันทึกการตัดจําหนายสิทธิบัตร


13

วิธรี าคาทุน–Conversion to equity – ถัดจากปที่ซื้อหุน (1) เงินปนผลรับ 24,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 34,000 รายไดจากบริษัท ข 45,000 กําไรสะสม-บริษัท ก 13,000 ปรับปรุงบัญชีรายไดและเงินลงทุนตามวิธีราคาทุนใหเปนวิธีสวนไดเสีย

การคํานวณรายการที่ตองปรับปรุง มีดังนี้ ผลกระทบปกอน 80% ของกําไรที่ยังไมจัดสรร* ของบริษัท ข ในป 25+3 สิทธิบัตรตัดจําหนาย ในป 25+3 ผลกระทบปนี้ จัดประเภทเงินปนผล รับใหมโดยนําไปลด เงินลงทุน (30,000x80%) สวนไดเสียในกําไรของ บริษัท ข ในป 25+4 (60,000x80%) สิทธิบัตรตัดจําหนาย ในป 25+4 รายการปรับปรุงของ ป 25+4 ในกระดาษทําการ เพื่อแปลงวิธีราคาทุน เปนวิธีสวนไดเสีย

กําไรสะสม 31 ธค. 25+3

เงินลงทุนใน บริษัท ข

16,000

16,000

(3,000)

(3,000)

รายไดจาก บริษัท ข

(24,000)

13,000

เงินปนผลรับ

(24,000)

48,000

48,000

(3,000)

(3,000)

34,000

45,000

(24,000)

* (กําไรสะสม ณ 31 ธค. 25+3 80,000 บาท – กําไรสะสม ณ 1 มค. 25+3 60,000 บาท) x 80%


14

ตารางที่ C4-2 วิธีราคาทุน–ถัดจากปที่ซื้อหุน (Conversion to equity) บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย เงินปนผลรับ รายไดจากบริษัท ข คาใชจาย สวนของผูถือหุนสวนนอย

(หนวย:บาท) บริษัท ข

600,000 24,000

150,000

(488,000)

(90,000)

(60,000×20%)

กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม – บริษัท ก กําไรสะสม – บริษัท ข บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

750,000 (1) 24,000 (2) 45,000 (5) 3,000

(1) 45,000 (581,000)

(3) 12,000 136,000 74,000 136,000 (90,000)

(12,000) 157,000

60,000 (1) 13,000 80,000 60,000 (30,000)

งบรวม

87,000

(4) 80,000 157,000 (2) 24,000 (3) 6,000

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ตั๋วเงินรับ – บริษัท ข สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข

120,000

110,000

(90,000) 154,000

92,000 20,000 194,000 174,000

40,000

132,000

อาคารและอุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม สิทธิบัตร รวมสินทรัพย ตั๋วเงินจาย – บริษัท ก หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

600,000 (120,000)

(6) 20,000 140,000

334,000 (1) 34,000

200,000 (80,000) (4) 27,000

960,000 140,000 700,000 120,000 960,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. (200,000 × 20%) สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(2) 21,000 (4) 187,000

300,000 20,000 50,000 120,000 110,000 300,000

(5)

3,000

800,000 (200,000) 24,000 1,090,000

(6) 20,000 190,000 700,000 154,000

(4) 120,000

(4) 40,000 (3) 6,000

46,000 1,090,000


15

วิธรี าคาทุน – Traditional method – ปที่ซื้อหุน ตามวิ ธี ร าคาทุ น เงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ย อ ยมี ย อดเท า เดิ ม 174,000 บาท ตลอดป 25+3 และป 25+4 บริษัทใหญจะบันทึกการรับ 80% ของเงินปนผลจากบริษัท ยอย ในป 25+3 และป 25+4 ดังนี้ เงินสด 24,000 เงินปนผลรับ 24,000 บันทึกการรับ 80% ของเงินปนผลจาย 30,000 บาทจากบริษัท ข

งบการเงินรวมที่ปรากฏในตารางที่ T4-1 จะเหมือนกับ ตารางที่ 4-1 และตารางที่ C4-1 แตรายการปรับปรุงและตัด บัญชีในกระดาษทําการจะแตกตางกัน ตารางที่ T4-1 วิธีราคาทุน – ปที่ซื้อหุน (Traditional method) บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+3 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย เงินปนผลรับ คาใชจาย สวนของผูถือหุนสวนนอย

500,000 24,000 (400,000)

(หนวย:บาท) บริษัท ข (80%) 130,000 (80,000)

(50,000×20%)

กําไรสุทธิ

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

630,000 (1) 24,000 (4) 3,000 (3) 10,000

124,000

50,000

งบรวม

(483,000) (10,000) 137,000


16 (ตอ) งบกําไรสะสม กําไรสะสม บริษัท ก บริษัท ข บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข อาคารและอุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม สิทธิบัตร รวมสินทรัพย หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

บริษัท ก

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

บริษัท ข (80%)

10,000 124,000 (60,000)

งบรวม

10,000 60,000 50,000 (30,000)

(2)

60,000 137,000 (1) 24,000 (3) 6,000

74,000

80,000

(60,000) 87,000

80,000 180,000 174,000 600,000 (100,000)

20,000 100,000

100,000 280,000

934,000 160,000 700,000 74,000 934,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. (180,000 × 20%)

(2) 174,000 200,000 (60,000) (2) 30,000 260,000 60,000 120,000 80,000 260,000

(4)

3,000

(2) 120,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(2) 36,000 (3) 4,000

800,000 (160,000) 27,000 1,047,000 220,000 700,000 87,000

40,000 1,047,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทํ าการสํ าหรับงบ การเงินรวมปแรกที่ซื้อหุน แสดงในรูปของการบันทึกรายการใน สมุดรายวันไดดังนี้ (1) เงินปนผลรับ เงินปนผลจาย ตัดรายการเงินปนผลรับและเงินปนผลจาย

24,000 24,000


17

(2) กําไรสะสม – บริษัท ข 60,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 120,000 สิทธิบัตร 30,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 174,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย – 1 มค. 36,000 ตัดบัญชีทตี่ รงกันระหวางเงินลงทุนและสวนของผูถือหุน บันทึกสวน ของผูถ อื หุนสวนนอยตนงวด และสิทธิบัตรที่ยังไมตัดจําหนาย (3) สวนของผูถือหุนสวนนอย –กําไรสุทธิ 10,000 เงินปนผลจาย 6,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย– 31 ธค. 4,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและตัดเงินปนผลของ บริษัทยอย (4) คาใชจาย 3,000 สิทธิบัตร 3,000 บันทึกการตัดจําหนายสิทธิบัตร

วิธรี าคาทุน – Traditional method – ถัดจากปที่ซื้อหุน ตารางที่ T4-2 แสดงขั้นตอนจัดทํากระดาษทําการสําหรับ งบการเงินรวมในปที่สองถัดจากปที่ซื้อหุน เมื่อบริษัทใหญใชวิธี ราคาทุ น โดยใช แ นวทางธรรมเนี ย มปฏิ บั ติ งบการเงิ น รวมที่ ปรากฏในตารางที่ T4-2 จะเหมือนกับตารางที่ 4-2 และตารางที่ C4-2 แตรายการปรับปรุงและตัดบัญชีจะแตกตางกัน


18

ตารางที่ T4-2 วิธีราคาทุน–ถัดจากปที่ซื้อหุน (Traditional method) บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย เงินปนผลรับ คาใชจาย สวนของผูถือหุนสวนนอย

600,000 24,000 (488,000)

(หนวย:บาท)

150,000 (90,000)

(60,000×20%)

กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม – บริษัท ก กําไรสะสม – บริษัท ข บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ตั๋วเงินรับ – บริษัท ข สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินลงทุนในบริษัท ข อาคารและอุปกรณ คาเสื่อมราคาสะสม สิทธิบัตร รวมสินทรัพย ตั๋วเงินจาย – บริษัท ก หนี้สิน หุนสามัญ กําไรสะสม

136,000

80,000 60,000 (30,000)

120,000

110,000

92,000 20,000 194,000 174,000 600,000 (120,000)

40,000

(2) (5)

24,000 3,000

(3)

12,000

(5) 3,000 (4) 80,000

140,000 700,000 120,000 960,000

(581,000) (12,000) 157,000 (1) 16,000

87,000 157,000

(2) 24,000 (3) 6,000

(90,000) 154,000 132,000

(6) 20,000 140,000

334,000 (1) 16,000

(4) 190,000

200,000 (80,000) (4) 30,000

960,000

งบรวม 750,000

60,000

74,000 136,000 (90,000)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

บริษัท ข

300,000 20,000 50,000 120,000 110,000 300,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. (200,000 × 20%) สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(5)

6,000

800,000 (200,000) 24,000 1,090,000

(6) 20,000 190,000 700,000 154,000

(4) 120,000

(4) 40,000 (3) 6,000

46,000 1,090,000


19

การแสดงรายการในรูปของสมุดรายวัน มีดังนี้ (1) เงินลงทุนในบริษัท ข 16,000 กําไรสะสมตนป-บริษัท ก 16,000 ปรับปรุงเงินลงทุนดวยสวนไดเสียในกําไรสะสมของบริษัท ข ที่เพิ่ม ขึน้ จากวันซื้อหุน (1 มค. 25+3) จนถึงตนปที่ทํางบ (1 มค. 25+4) [80%(80,000-60,000)] (2) เงินปนผลรับ 24,000 เงินปนผลจาย 24,000 ตัดรายการเงินปนผลรับและเงินปนผลจาย (3) สวนของผูถือหุนสวนนอย –กําไรสุทธิ 12,000 เงินปนผลจาย 6,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย – 31 ธค. 6,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและตัดเงินปนผลของ บริษัทยอย (4) กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 80,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 120,000 สิทธิบัตร 30,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 190,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย – 1 มค. 40,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนกับสวนของผูถือหุน พรอมกับบันทึกสวนของผูถือ หุน สวนนอย ณ วันตนงวด และบันทึกบัญชีสิทธิบัตรดวยราคาทุน เดิม


20

(5) กําไรสะสมตนป-บริษัท ก 3,000 คาใชจาย 3,000 สิทธิบัตร 6,000 ตัดจําหนายสิทธิบัตรของปนี้และปรับปรุงกําไรสะสมตนปสําหรับ สิทธิบัตรตัดจําหนายของปกอน (6) ตัว๋ เงินจาย-บริษัท ก 20,000 ตั๋วเงินรับ-บริษัท ข 20,000 ตัดจําหนายตั๋วเงินจายและตั๋วเงินรับ ระหวางกัน

การตรวจสอบหาขอผิดพลาด ขอผิดพลาดโดยสวนใหญที่เกิดขึ้นจากการทํางบการเงินรวม คือยอดรวมไมสมดุล ใหตรวจสอบแตละรายการเพื่อใหแนใจวา ทุกรายการไดนําไปคํานวณรวมแลว รายการที่มักจะถูกละเลยไม นํามาแสดงในงบการเงินรวมคือสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไร สุทธิ (Minority interest expense) ทั้งในงบกําไรขาดทุนรวมและ ในงบดุลรวม เนื่องจากทั้งสองรายการไมปรากฏในงบการเงินของ แตละบริษัท


21

การกระจายสวนเกินฯ ไปยังสินทรัพยสุทธิที่ระบุได กิจการจะกระจายสวนเกินของเงินลงทุนที่สูงกวาราคาตาม บั ญ ชี ไ ปยั ง บั ญ ชี สิ ท ธิ บั ต รที่ ไ ม เ คยรั บ รู  แ ละบั น ทึ ก มาก อ นหรื อ กระจายไปยังคาความนิยม ตัวอยางที่ 4-2 บริษัท ก ซื้อสวนไดเสีย 90% ในบริษัท ข เมื่อ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 เปนเงินสด730,000 บาท ในขณะนั้น สวนของผูถือหุนของบริษัท ข ประกอบดวยหุนสามัญ 400,000 บาท กําไรสะสม 100,000 บาท สินทรัพยของบริษัท ข มีราคา ทุนและมูลคายุติธรรม แตกตางกันดังนี้ (บาท) สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ

มูลคายุติธรรม

ราคาตามบัญชี

120,000 120,000 360,000 140,000 740,000

100,000 60,000 200,000 180,000 540,000

มูลคาตํ่าไป (มูลคาสูงไป) 20,000 60,000 160,000 (40,000) 200,000

การกระจายสวนเกินระหวางราคาทุนที่สูงกวาราคาตามบัญชี ของสวนไดเสียที่ซื้อ แสดงอยูในตารางดังนี้


22 มูลคาตํ่าไป (มูลคาสูงไป) สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคาร – สุทธิ อุปกรณ – สุทธิ คาความนิยม

20,000 60,000 160,000 (40,000)

สวนไดเสีย ที่ซื้อ ×

90% 90 90 90

สวนเกินฯ ที่ กระจายให =

18,000 54,000 144,000 (36,000) 100,000 280,000

ระยะเวลาที่ตัด จําหนาย ขายป 25+4 ไมมี 36 ป 9 ป ไมมี

งบการเงินรวม – ณ วันที่ซื้อหุน ตารางที่ 4-3 แสดงกระดาษทําการสําหรับงบดุลรวมของ บริษัท ก และบริษัท ข ทันทีหลังจากการรวมธุรกิจเสร็จสิ้นลงเมื่อ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 ตารางที่ 4-3 งบการเงินรวม ณ วันซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบดุลรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+3 บริษัท ก สินทรัพย เงินสด ลูกหนี้ สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคาร – สุทธิ อุปกรณ – สุทธิ เงินลงทุนในบริษัท ข คาความนิยม สวนเกินฯ ที่ยังไมตัด จําหนาย รวมสินทรัพย

40,000 180,000 160,000

120,000 400,000 270,000 730,000

(หนวย:บาท) บริษัท ข (90%) 10,000 50,000 100,000 60,000 200,000 180,000

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

(2) 18,000 (2) 54,000 (2) 144,000 (2) 36,000 (1) 730,000 (2) 100,000 (1) 280,000

1,900,000

600,000

งบดุลรวม 50,000 230,000 278,000 234,000 744,000 414,000 100,000

(2) 280,000 2,050,000


23 (ตอ)

หนี้สินและสวนของผูถือหุน เจาหนี้ หุนสามัญ – บริษัท ก กําไรสะสม – บริษัท ก หุนสามัญ – บริษัท ข กําไรสะสม – บริษัท ข สวนของผูถือหุนสวนนอย

บริษัท ก 260,000 1,400,000 240,000

บริษัท ข (90%)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

100,000

400,000 100,000

360,000 1,400,000 240,000 (1) 400,000 (1) 100,000 (1) 50,000

1,900,000

600,000

งบดุลรวม

50,000 2,050,000

(1) ตัดบัญชีเงินลงทุน กับสวนของผูถือหุนบริษัท ข พรอมกับบันทึกสวนเกินฯ และสวน ของผูถือหุนสวนนอย (2) กระจายสวนเกินฯ ใหกับบัญชีที่เกี่ยวของ

งบการเงินรวม – หลังวันซื้อหุน บริษัท ก บันทึกรายการที่เกี่ยวกับการลงทุนในบริษัท ข ระหวางป 25+4 ดังนี้ 1 กค. 25+4

เงินสด 18,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 18,000 บันทึกเงินปนผลรับจากบริษัท ข 31 ธค. 25+4 เงินลงทุนในบริษัท ข 90,000 รายไดจากบริษัท ข 90,000 บันทึกรายไดจากการลงทุนในบริษัท ข


24

การคํานวณรายไดจากการลงทุนในบริษัท ข : สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข (120,000×90%) การตัดจําหนายสวนเกินฯ ที่กระจายให: สินคาคงเหลือ (18,000 × 100%) อาคาร (144,000 ÷ 36 ป) อุปกรณ (36,000 ÷ 9 ป) รายไดจากบริษัท ข ป 25+4

108,000 บาท (18,000) (4,000) 4,000 90,000

รายการปรับปรุงในกระดาษทําการมีดังนี้ (1) เงินปนผลคางรับ 18,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 18,000 ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในมียอดที่ถูกตองเนื่องจากไมไดบันทึกเงิน ปนผลคางรับ (2) เงินสด 40,000 ตัว๋ เงินรับ – บริษัท ข 90,000 บันทึกการรับชําระเงินจากบริษัท ข สําหรับตั๋วเงินที่บริษัท ก ใหกู


25

ตารางที่ 4-4 สวนไดเสีย 90% - ถัดจากปที่ซื้อหุน บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4

บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข ตนทุนสินคาขาย คาใชจายในการดําเนินงาน สวนของผูถือหุนสวนนอย (120,000 × 10%)

กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม บริษัท ก บริษัท ข บวก: กําไรสุทธิ หัก: เงินปนผลจาย

1,800,000

(หนวย:บาท)

บริษัท ข (90%)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

600,000

2,400,000

90,000

(3) 90,000

(1,200,000)

(300,000) (6) 18,000

(380,000)

(180,000) (7) 4,000

(8) 4,000

(4) 12,000 310,000

120,000

240,000

240,000 100,000

310,000

120,000

(200,000)

(40,000)

350,000

180,000

16,000

30,000

152,000

50,000

(5) 100,000

310,000 (3) 36,000 4,000

(2) 40,000

40,000

(200,000) 350,000 86,000 202,000

(2) 40,000

180,000

120,000

120,000

60,000

(6) 54,000

380,000

220,000

(6) 144,000

(7)

300,000

240,000

(8)

(6) 36,000

802,000

(1,518,000) (560,000) (12,000) 310,000

(4)

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ลูกหนี้ - สุทธิ ตัว๋ เงินรับ – บริษัท ข สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคาร - สุทธิ อุปกรณ - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัท ข

งบรวม

4,000

4,000

(1) 18,000 (3) 54,000 (5) 730,000

300,000 234,000 740,000 508,000


26 (ตอ)

บริษัท ก

บริษัท ข (90%)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 18,000

เงินปนผลคางรับ คาความนิยม สวนเกินฯ ไมตัดจําหนาย

เจาหนี้ เงินปนผลคางจาย หุนสามัญ กําไรสะสม สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค.

(9) 18,000

(6) 100,000 (5) 280,000 1,990,000

720,000

240,000

120,000 20,000

(9) 18,000

1,400,000

400,000

(5) 400,000

350,000

180,000

1,990,000

720,000

งบรวม

100,000 (6) 280,000

2,170,000 360,000 2,000 1,400,000 350,000 (5) 50,000 (4) 8,000

58,000 2,170,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในรูปของการบันทึกรายการใน สมุดรายวันปที่ 2 หลังวันซื้อหุน ไดดังนี้ (3) รายไดจากบริษัท ข 90,000 เงินปนผล 36,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 54,000 ตัดจําหนายรายไดและเงินปนผลของบริษัท ข พรอมกับปรับปรุงบัญชี เงินลงทุนใหมียอดตนงวด (4) สวนของผูถือหุนสวนนอย - กําไรสุทธิ 12,000 เงินปนผล – บริษัท ข 4,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 8,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิและเงินปนผลของบ.ยอย


27

(5) กําไรสะสม – บริษัท ข 100,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 400,000 สวนเกินฯ ที่ยังไมตัดจําหนาย 280,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 730,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย – 1 มค. 50,000 ตัดบัญชีทตี่ รงกันระหวางเงินลงทุนและสวนของผูถือหุน (6) ตนทุนสินคาขาย 18,000 ที่ดิน 54,000 อาคาร – สุทธิ 144,000 คาความนิยม 100,000 อุปกรณ – สุทธิ 36,000 สวนเกินฯ ที่ยังไมตัดจําหนาย 280,000 กระจายสวนเกินฯ ใหกับสินทรัพยที่ระบุไดและคาความนิยม (7) คาใชจายในการดําเนินงาน 4,000 อาคาร – สุทธิ 4,000 ปรับปรุงคาเสื่อมราคาซึ่งเปนผลมาจากการกระจายสวนเกินฯ ไปเพิ่ม ราคาอาคาร (8) อุปกรณ - สุทธิ 4,000 คาใชจายในการดําเนินงาน 4,000 ปรับปรุงคาเสื่อมราคาซึ่งเปนผลมาจากการกระจายสวนเกินฯ ไปลด ราคาอุปกรณ

หลังจากการตัดจําหนายสวนเกินฯ ในป 25+4 แลวสวนเกิน ฯ ที่กระจายใหบัญชีสินทรัพยที่เกี่ยวของตาง ๆ จะมียอดคงเหลือ ดังนี้


28

(หนวย: บาท) สินคาคงเหลือ ที่ดิน อาคาร - สุทธิ อุปกรณ – สุทธิ คาความนิยม

สวนเกินฯ ที่ยังไม ตัดจําหนาย 31 ธค. 25+3 18,000 54,000 144,000 (36,000) 100,000 280,000

ตัดจําหนาย ป 25+4

(9) เงินปนผลคางจาย เงินปนผลคางรับ ตัดบัญชีลูกหนี้และเจาหนี้ระหวางกัน

18,000 4,000 (4,000) 18,000

สวนเกินฯ ที่ยังไม ตัดจําหนาย 31 ธค. 25+4 54,000 140,000 (32,000) 100,000 262,000

18,000 18,000

งบกระแสเงินสดรวม การจัดทํางบกระแสเงินสดรวม (Consolidated statements of cash flows) เหมือนกับการจัดทํางบกระแสเงินสดของบริษัท โดยทั่วไป ยกเวนมีขอแตกตางบางประการดังนี้ 1. มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 25 (มกราคม 2550) เรื่องงบ กระแสเงิ น สดกํ าหนดให มี ก ารเป ด เผยกระแสเงิ น สดจากการ ดําเนินงาน (Operating activities) ในแตละงวดบัญชีดวยวิธีทาง ตรง (Direct method) หรือทางออม (Indirect activities) ตาม วิธีทางออม การคํานวณจะเริ่มจากกําไรสุทธิในงวดบัญชีบวกกลับ (หัก) ดวยรายการในงบกําไรขาดทุนที่ไมไดจาย (รับ) เปนเงิน


29

สด เชน คาเสื่อมราคา และรายการตัดบัญชีตางๆ สําหรับงบ กระแสเงินสดรวมจะมีรายการบวกกลับเพิ่มเติมคือ กําไรสุทธิของ ผูถือหุนสวนนอย (หรือหักขาดทุนสุทธิของผูถือหุนสวนนอย) เนื่องจากไมเกี่ยวของกับการจาย (หรือรับ) เงินสด 2. เนื่องจากกําไรสุทธิของผูถือหุนสวนนอย (ขาดทุนสุทธิ ของผูถือหุนสวนนอย) จะนําไปบวกกับ (หักจาก) กําไรสุทธิรวม ในการคํานวณกระแสเงินสดจากการดําเนินงาน ดังนั้นเงินปนผล ที่บริษัทยอยจายใหกับผูถือหุนสวนนอย ก็จะนําไปรวมกับเงินปน ผลที่บริษัทยอยจายใหกับบริษัทใหญ ในการคํานวณกระแสเงิน สดจากการจัดหาเงิน (Financing activities) 3. เมื่อบริษัทใหญซื้อหุนเพิ่มเติมจากบริษัทยอย อาจไมถือเปน เงิ น สดจ า ยในส ว นของกระแสเงิ น สดจากกิ จ กรรมลงทุ น (Investing activities) เชน ในกรณีที่บริษัทใหญซื้อหุนโดยตรง จากบริ ษั ท ย อ ย การลงทุ น จะถื อ เป น เพี ย งการโอนเงิ น สด ระหวางบริษัท ซึ่งจะไมมีผลกระทบตอยอดเงินสดคงเหลือของ กิจการรวมแตอยางใด แตถาบริษัทใหญซื้อหุนจากตลาดหลัก ทรัพย การลงทุนจะถือเปนเงินสดจายในกิจกรรมลงทุน


30

ตัวอยางที่ 4-3 บริษทั ก และบริษัทยอย ข งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4 ขาย รายไดจากบริษัทยอย รวมรายได หัก: คาใชจาย ตนทุนสินคาขาย คาเสื่อมราคา สิทธิบัตรตัดจําหนาย เงินเดือนและคาจาง คาใชจายดําเนินงานอื่นๆ ดอกเบี้ยจาย ขาดทุนจากการขายที่ดิน กําไรขาดทุนรวม หัก: สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ กําไรสุทธิรวม กําไรสะสมรวม 1 มกราคม 25+4 หัก: เงินสดปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธันวาคม 25+4

(หนวย: บาท)

750,000 15,000 765,000 300,000 120,000 10,000 54,000 47,000 24,000 10,000 (565,000) 200,000 (50,000) 150,000 600,000 (80,000) 670,000


31

บริษทั ก และบริษัทยอย ข งบดุลเปรียบเทียบ 31 ธันวาคม

เงินสด ลูกหนี้ –สุทธิ สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัทยอย ที่ดิน อาคาร - สุทธิ อุปกรณ - สุทธิ สิทธิบัตร เจาหนี้ เงินปนผลคางจาย ตั๋วเงินจาย ครบกําหนด 25+6 หุนสามัญ สวนเกินมูลคาหุน กําไรสะสม สวนของผูถือหุนสวนนอย –20%

25+4

25+3

(หนวย: บาท) การเปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น (ลดลง)

255,000 375,000 250,000 100,000 80,000 200,000 800,000 90,000 2,150,000 250,000 20,000 300,000 500,000 300,000 670,000 110,000 2,150,000

180,000 270,000 205,000 95,000 100,000 220,000 600,000 100,000 1,770,000 270,000 20,000 500,000 300,000 600,000 80,000 1,770,000

75,000 105,000 45,000 5,000 (20,000) (20,000) 200,000 (10,000) 380,000 (20,000) 300,000 70,000 30,000 380,000

ขอมูลเพิ่มเติม 1. ระหวางป 25+4 บริษัท ข ขายที่ดินราคาทุน 20,000 บาทให กับบุคคลภายนอกเปนเงินสด 10,000 บาท 2. บริษัทออกตั๋วเงินจาย 300,000 บาท อายุ 2 ป เมื่อวันที่ 8 มกราคม 25+4 เพื่อซื้ออุปกรณชิ้นใหม


32

3. บริ ษั ท ก ตั ด จํ าหน า ยสิ ท ธิ บั ต รที่ เ กิ ด จากการรวมธุ ร กิ จ 10,000 บาทตอป 4. บริษัท ก ไดรับเงินปนผล 10,000 บาทจากการลงทุนใน บริษัทยอย 5. การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยถาวรที่ไมไดอธิบายขางตนถือวา เกิดจากการคํานวณคาเสื่อมราคา

งบกระแสเงินสดรวม - วิธีทางออม ตารางที่ 4-5 งบกระแสเงินสดรวม - วิธีทางออม บริษัท ก และบริษัทยอย ข งบกระแสเงินสดรวม สําหรับป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน : กําไรสุทธิรวม ปรับปรุงรายการเพื่อแปลงกําไรสุทธิใหเปนเงินสด สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ กําไรที่ไมไดจัดสรร - สวนของผูถือหุนบริษัทยอย ขาดทุนจากการขายที่ดิน คาเสื่อมราคาอุปกรณ คาเสื่อมราคาอาคาร สิทธิบัตรตัดจําหนาย ลูกหนี้เพิ่มขึ้น สินคาคงเหลือเพิ่มขึ้น เจาหนี้ลดลง กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน

(หนวย: บาท) 150,000 50,000 (5,000) 10,000 100,000 20,000 10,000 (105,000) (45,000) (20,000)

15,000 165,000


33

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน : เงินสดที่ไดจากขายที่ดิน 10,000 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน 10,000 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน : จายเงินสดปนผล - ผูถือหุนสวนใหญ (80,000) จายเงินสดปนผล - ผูถือหุนสวนนอย (20,000) กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน (100,000) เงินสดในป 25+4 เพิ่มขึ้น 75,000 เงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม 25+4 180,000 เงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+4 255,000 รายการกิจกรรมการลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินที่ไมเกี่ยวกับเงินสด: ซือ้ อุปกรณเปนเงิน 300,000 บาท โดยการออกตั๋วเงินจายอายุ 2 ป

งบกระแสเงินสดรวม - วิธีทางตรง ตารางที่ 4-6 งบกระแสเงินสดรวม - วิธีทางตรง บริษัท ก และบริษัทยอย ข งบกระแสเงินสดรวม สําหรับป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+4 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน : เงินสดรับจากลูกคา เงินปนผลรับจากการลงทุนในบริษัทยอย หัก: เงินสดจายใหผูขาย เงินสดจายใหลูกจาง จายคาใชจายในการดําเนินงานอื่น ๆ เงินสดจายสําหรับดอกเบี้ย กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน : เงินสดที่ไดจากขายที่ดิน

(หนวย: บาท)

645,000 10,000 365,000 54,000 47,000 24,000

10,000

(490,000) 165,000


34

กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน : จายเงินสดปนผล - ผูถือหุนสวนใหญ จายเงินสดปนผล - ผูถือหุนสวนนอย กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดในป 25+4 เพิ่มขึ้น เงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม 25+4 เงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+4

10,000 (80,000) (20,000) (100,000) 75,000 180,000 255,000

รายการกิจกรรมการลงทุนและกิจกรรมจัดหาเงินที่ไมเกี่ยวกับเงินสด: ซื้ออุปกรณเปนเงิน 300,000 บาท โดยการออกตั๋วเงินจายอายุ 2 ป กระทบยอดกําไรสุทธิรวมกับกระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิรวม 150,000 ปรับปรุงเพื่อกระทบยอดกําไรสุทธิใหเปนเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ 50,000 กําไรที่ไมไดจัดสรร-สวนของผูถือหุน บริษัทยอย (5,000) ขาดทุนจากการขายที่ดิน 10,000 คาเสื่อมราคาอุปกรณ 100,000 คาเสื่อมราคาอาคาร 20,000 สิทธิบัตรตัดจําหนาย 10,000 ลูกหนี้เพิ่มขึ้น (105,000) สินคาคงเหลือเพิ่มขึ้น (45,000) เจาหนี้ลดลง (20,000) 15,000 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 165,000


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.