บทที่ 5 กำไรระหว่างบริษัทในสินค้าคงเหลือ

Page 1

⌫  

รายการสินคาคงเหลือระหวางบริษัท การขายสินคาระหวางบริษัทในเครือ สินคาคงเหลือแบบสิ้นงวด (Periodic inventory system) สิ น ค า คงเหลื อ แบบต อ เนื่ อ ง (Perpetual inventory system)

การตัดรายการซื้อและขายระหวางบริษัท รายการขายและซื้อที่เกิดขึ้นระหวางบริษัทในเครือจะตองถูก ตัดออกไปในการจัดทํางบการเงินรวม เพื่อรายงานยอดขายและ ซื้อ (หรือตนทุนสินคาขาย) สําหรับยอดที่ซื้อมาและขายใหกับ บุคคลภายนอกเทานั้น


2

ระบบสินคาคงเหลือแบบสิ้นงวด รายการตัดบัญชีใน กระดาษทํ าการสํ าหรั บ การซื้ อ ขายระหว า งกั น จะเดบิ ต บัญชีขายและเครดิตบัญชีซื้อ ระบบสินคาคงเหลือแบบตอเนื่อง รายการตัดบัญชีใน กระดาษทําการ จะเดบิตบัญชีขายและเครดิตบัญชีตนทุน สินคาขาย ตัวอยางที่ 5-1 การบันทึกรายการเกี่ยวกับสินคาในสมุดรายวัน ของบริษัท ก และบริษัท ข มีดังนี้ บริษัท ก

บริษัท ข

สินคาคงเหลือ 20,000 เจาหนี้ 20,000 บันทึกการซื้อสินคาจากบุคคลภายนอก

สินคาคงเหลือ 24,000 เจาหนี้-บริษัท ก บันทึกการซื้อสินคาจากบริษัท ก

ลูกหนี้-บริษัท ข 24,000 ขาย บันทึกการขายสินคาใหกับบริษัท ข

ลูกหนี้

ตนทุนสินคาขาย 20,000 สินคาคงเหลือ บันทึกตนทุนสินคาที่ขายใหบริษัท ข

24,000

20,000

24,000

30,000

ขาย บันทึกการขายสินคาใหบุคคลภายนอก ตนทุนสินคาขาย 24,000 สินคาคงเหลือ บันทึกตนทุนสินคาที่ขายใหลูกคา

30,000

24,000

สิ้นป 25+1 ยอดขายรวมและตนทุนสินคาขายรวมของทั้ง สองบริษัทจะสูงไป 24,000 บาท ยอดที่สูงไปนี้จะตองตัดออก จากกระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม ดังนี้


3

ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน

บริษัท ก

บริษัท ข 100%

24,000 20,000 4,000

30,000 24,000 6,000

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 24,000 (1)

24,000

งบรวม 30,000 20,000 10,000

การตัดกําไรทีย่ งั ไมเกิดขึ้นในสินคาคงเหลือปลายงวด กําไรจากการขายระหวางบริษัทในเครือทั้งหมด ถือเปนกําไร ของกิจการรวมในงวดที่ขายสินคาใหกับหนวยงานภายนอก แตถา สินคายังไมไดขายออกไป กําไรหรือขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการขาย ระหวางบริษัทจะยังไมมีการรับรู และจะตองตัดผลกําไรหรือขาด ทุนนี้ออกไปในการจัดทํางบการเงินรวม ตัวอยางที่ 5-2 ระหวางป 25+2 บริษัท ก ขายสินคาที่มีราคา ทุน 30,000 บาท ใหกับบริษัท ข ในราคา 36,000 บาท และ บริษัท ข ขายสินคาราคาทุน 30,000 บาท ใหกับลูกคาในราคา 37,500 บาท การบันทึกรายการเกี่ยวกับสินคาคงเหลือ ระหวาง ป 25+2 ในสมุดบัญชีของบริษัท ก และบริษัท ข มีดังนี้


4

สมุดบัญชีของบริษัท ก สินคาคงเหลือ 30,000 เจาหนี้ บันทึกการซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ ลูกหนี้-บริษัท ข 36,000 ขาย บันทึกการขายสินคาใหกับบริษัท ข

สมุดบัญชีของบริษัท ข 30,000

สินคาคงเหลือ 36,000 เจาหนี้-บริษัท ก บันทึกการซื้อสินคาจากบริษัท ก ลูกหนี้

36,000

ตนทุนสินคาขาย 30,000 สินคาคงเหลือ 30,000 บันทึกตนทุนสินคาที่ขายใหบริษัท ข

36,000

37,500

ขาย บันทึกการขายสินคาใหกับลูกคา

37,500

ตนทุนสินคาขาย 30,000 สินคาคงเหลือ บันทึกตนทุนสินคาที่ขายใหลูกคา

30,000

สินคาคงเหลือระหวางบริษัททั้งสองสามารถวิเคราะหไดดังนี้ งบกําไรขาดทุนรวม รายการระหวางบริษัท ตนทุนสินคา กําไรขั้นตน ขายของบริษัท ของบริษัท ก ก

ราคาโอน

กําไรขั้นตน ของบริษัท ข

ราคาขายของ บริษัท ข

สิ น ค า ที่ โ อนมาและ ขายในป 25+2 สินคาป 25+2

25,000 5,000

5,000 1,000

30,000 6,000

7,500 -

37,500 -

รวม

30,000

6,000

36,000

7,500

37,500

รายการปรับปรุงในกระดาษทําการ ในแงของกิจการรวมราย การที่เกิดขึ้นระหวางบริษัทสําหรับสินคาราคาทุน 30,000 บาท ถูกพิจารณาดังนี้ • ถือวาถูกโอนระหวางบริษัทซึ่งสินคา 25,000 บาท (5/6) ถูกขายใหกับหนวยงานภายนอกไปในราคา 37,500 บาท


5

• สินคาอีก 5,000 บาท (1/6) เหลืออยูเปนสินคาคงเหลือ ปลายป • กิจการรวมจะรับรูกําไรขั้นตน 12,500 บาท รายการตัดบัญชีในกระดาษทําการจะมีดังนี้ บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน

36,000 30,000 6,000

งบดุล สินคาคงเหลือ

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

บริษัท ข 37,500 30,000 7,500

(1) 36,000 (2) 1,000 (1) 36,000

6,000

(2)

1,000

งบรวม 37,500 25,000 12,500

5,000

การตัดรายการซื้อและขายระหวางบริษัทซึ่งแสดงในรูปของ สมุดรายวันไดัดังนี้ (1) ขาย

36,000 ตนทุนสินคาขาย

(2) ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ

36,000 1,000 1,000

วิธีสวนไดเสีย ในวันที่ 31 ธันวาคม 25+2 บริษัท ก จะลดรายไดจาก บริษทั ข ลงดวยกําไรที่ยังไมรับรูในสินคาคงเหลือปลายงวด 1,000 บาท และลดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ลง 1,000 บาท


6

การรับรูก าไรที ํ ย่ งั ไมเกิดขึ้นในสินคาคงเหลือตนงวด กําไรในสินคาคงเหลือปลายงวดจะถือวาเปนกําไรของกิจการ รวมก็ตอเมื่อสินคาไดขายใหกับหนวยงานภายนอก ตัวอยางที่ 5-3 ระหวางป 25+3 บริษัท ก ขายสินคาที่มีราคาทุน 40,000 บาท ใหกับบริษัท ข ในราคา 48,000 บาท และบริษัท ข ก็ไดขาย 75% ของสินคาดังกลาวไปในราคา 45,000 บาท นอกจากนี้บริษัท ข ก็ยังไดขายสินคาคงเหลือตนงวดที่มีราคาโอน 6,000 บาท ใหกับลูกคาในราคา 7,500 บาท การบันทึกในสมุด รายวันเกี่ยวกับการโอนสินคาระหวางบริษัท มีดังนี้ บริษัท ก

บริษัท ข

สินคาคงเหลือ 40,000 เจาหนี้ บันทึกการซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ

สินคาคงเหลือ 48,000 เจาหนี้-บริษัท ก บันทึกการซื้อสินคาจากบริษัท ก

ลูกหนี้-บริษัท ข 48,000 ขาย บันทึกการขายสินคาใหกับบริษัท ข

40,000

ลูกหนี้ 48,000

ตนทุนสินคาขาย 40,000 สินคาคงเหลือ 40,000 บันทึกตนทุนสินคาที่ขายใหบริษัท ข

48,000

52,500

ขาย 52,500 บันทึกการขายสินคา 45,000 บาท และ 7,500 บาท ใหกับลูกคา ตนทุนสินคาขาย 42,000 สินคาคงเหลือ 42,000 บันทึกตนทุนสินคาขาย (48,000 บาท×75%) และ 6,000 บาท จากสินคาคงเหลือตนงวด


7

รายละเอียดของสินคาคงเหลือระหวางบริษัททั้งสองสามารถ วิเคราะหไดดังนี้ งบกําไรขาดทุนรวม รายการระหวางบริษัท

สินคาที่โอนมาในป 25+2 และขายในป 25+3 สินคาที่โอนมาและขาย ในป 25+3 สินคาคงเหลือป 25+3 รวม

ตนทุนสินคาขาย ของบริษัท ก

กําไรขั้นตน ของบริษัท ก

ราคาโอน

กําไรขั้นตน ของบริษัท ข

ราคาขายของบริษัท ข

5,000

1,000

6,000

1,500

7,500

30,000

6,000

36,000

9,000

45,000

10,000 45,000

2,000 9,000

12,000 54,000

10,500

52,500

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

งบรวม

รายการตัดบัญชีในการดาษทําการ จะมีดังนี้ บริษัท ก บริษัท ข งบกําไรขาดทุน ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน งบดุล สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบ. ข

48,000 52,500 (1) 48,000 40,000 42,000 (3) 2,000 (1) 36,000 (2) 1,000 8,000 10,500

12,000 ×××

(3) 2,000 (2)

1,000

52,500 35,000 17,500

10,000


8

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการ แสดงในรูป ของสมุดรายวันไดดังนี้ (1) ขาย

48,000

ตนทุนสินคาขาย ตัดรายการซื้อและขายระหวางบริษัท

48,000

(2) เงินลงทุนในบริษัท ข ตนทุนสินคาที่ขาย รับรูกําไรในสินคาคงเหลือตนงวด

1,000

(3) ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ ตัดกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด

2,000

1,000

2,000

การขายสินคาแบบ Downstream และ Upstream การขายสินคาระหวางบริษัทในเครือในลักษณะที่บริษัทใหญ ขายสินคาใหกับบริษัทยอย จะเรียกวา Downstream Sale สวน การขายสินคาในลักษณะที่บริษัทยอยขายสินคาใหบริษัทใหญ จะ เรียกวา Upstream Sale และถาหากบริษัทยอยขายสินคาใหกับ บริษัทยอยดวยกันเอง จะเรียกการขายลักษณะนี้วา Horizontal Sale


9

ผลกระทบของการขายสินคาแบบ Downstream และ Upstream ทีม่ ตี อ การคํานวณกําไรสุทธิ ตัวอยางที่ 5-4 สมมติวาบริษัท ก มีสวนไดเสีย 80% ในบริษัท ข กําไรสุทธิของบริษัท ก และ บริษัท ข สําหรับป 25+5 มีดังนี้ ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน คาใชจาย กําไรสุทธิของบริษัท ก กําไรสุทธิของบริษัท ข

บริษัท ก บริษัท ข 600,000 300,000 300,000 180,000 300,000 120,000 100,000 70,000 200,000 50,000

การคํานวณกําไรของผูถือหุนสวนนอย ถาบริษัท ก เปนผูขาย สินคาในบริษัท ข (Downstream) กํ าไรในสินคาคงเหลือ 20,000 บาท นี้จะปรากฏอยูในบัญชีขายและตนทุนสินคาขาย ของบริษัท ก สวนกําไรสุทธิของบริษัท ข 50,000 บาท จะถือวา เปนกําไรที่เกิดขึ้นแลว M.I. ในกําไรสุทธิ =กําไรสุทธิของบริษัท ข 50,000 บาท×20% = 10,000


10

ถาบริษัท ข เปนผูขายสินคาใหบริษัท ก (Upstream) M.I. ในกําไรสุทธิ = (กําไรสุทธิของบริษัท ข 50,000 บาท – กําไรในสินคา คงเหลือ 20,000 บาท) × 20% = 6,000 บาท

หากการขายสินคาเปนแบบ Upstream และบริษัทใหญมีสิน คาที่ซื้อจากบริษัทยอยคงเหลืออยูทั้งตนงวดและปลายงวด การ คํานวณสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ จะเปนดังนี้ M.I. ในกําไรสุทธิ = (กําไรสุทธิของบริษัทยอย - กําไรในสินคาปลายงวด + กําไรในสินคาตนงวด) × อัตราสวนไดเสียของ M.I.

การคํานวณกําไรสุทธิรวม บริษัท ก และบริษัทยอย ข งบกําไรขาดทุนรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+5 ขาย (900,000 – 100,000) ตนทุนขาย (480,000 + 20,000 – 100,000) กําไรขั้นตน คาใชจาย (100,000 + 70,000) กําไรสุทธิที่เกิดขึ้นแลว หัก : สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ กําไรสุทธิรวม

หนวย:บาท Downstream 800,000 400,000 400,000 170,000 230,000 10,000 220,000

Upstream 800,000 400,000 400,000 170,000 230,000 6,000 224,000


11

ถาเปนการขายแบบ Upstream จะนําเฉพาะสวนของบริษัท ใหญเทานั้นไปหักออกจากรายไดจากการลงทุนในบริษัทยอย ซึ่ง แสดงการคํานวณไดดังนี้ (หนวย:บาท) กําไรสุทธิของบริษัท ก บวก : รายไดจากบริษัท ข Downstream สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข หักดวย กําไรในสินคา (50,000 × 80%) – 20,000 Upstream สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข (50,000 – 20,000) × 80% กําไรสุทธิของบริษัท ก (กําไรสุทธิรวม)

Downstream 200,000

Upstream 200,000

20,000

24,000 224,000

220,000

กําไรในสินคาคงเหลือเมื่อบริษัทใหญขายสินคาใหบริษัท ยอย (Downstream Sales) ถาบริษัทใหญใชวิธีสวนไดเสียในการบันทึกบัญชีโดย เดบิต บัญชีรายไดจากบริษัทยอย xx เครดิต บัญชีเงินลงทุนในบริษัทยอย งบการเงินรวม เดบิต

ตนทุนสินคาขาย

เครดิต สินคาคงเหลือ

xx xx xx


12

การเลื่อนการรับรูกํ าไรระหวางบริษัทในงวดที่มีการขาย ระหวางกัน ตัวอยางที่ 5-5 สมมติวาบริษัท ก เปนเจาของ 90% ในหุนที่มี สิทธิออกเสียงของบริษัท ข งบกําไรขาดทุนของบริษัททั้งสอง สําหรับป 25+7 มีดังนี้ (หนวย:บาท) ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน คาใชจาย กําไรจากการดําเนินงาน รายไดจากบริษัท ข กําไรสุทธิ

บริษัท ก 100,000 60,000 40,000 15,000 25,000 9,000 34,000

บริษัท ข 50,000 35,000 15,000 5,000 10,000 10,000

บริษัท ก จะบันทึกรายไดจากบริษัทยอยและเลื่อนการรับรู กําไรที่อยูในสินคาคงเหลือของบริษัท ข ดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข รายไดจากบริษัท ข บันทึกผลกําไรจากบริษัทยอย

9,000 9,000

รายไดจากบริษัท ข 2,500 เงินลงทุนในบริษัท ข 2,500 บันทึกการตัดกําไรในสินคาคงเหลือที่ขายใหบริษัท ข


13

บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการ (บางสวน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+7 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น รวม กําไรสุทธิ M.I. (10,000×10%) กําไรสุทธิ งบดุล สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัท ข

บริษัท ข 90%

100,000 6,500 106,500 60,000 15,000 75,000 31,500

50,000 50,000 35,000 5,000 40,000 10,000

31,500

10,000 7,500

×××

หนวย:บาท

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 15,000 (3) 6,500 (2)

2,500

งบรวม 135,000

(1) 15,000

(2) 2,500 (3) 6,500

135,000 82,500 20,000 102,500 32,500 (1,000) 31,500 5,000

(1) ตัดบัญชีซื้อขายระหวางบริษัท (2) ตัดกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด (3) ตัดบัญชีรายไดจากบริษัท ข และปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนใน บริษทั ข ใหแสดงยอด ณ วันที่ 1 มกราคม 25+7

การรับรูก าไรระหว ํ างบริษัทจากการขายสินคาใหภายนอก บริษัท ข ขายสินคาที่ซื้อจากบริษัท ก ในระหวางป 25+7 ออกไปทั้งหมดในป 25+8 และไมมีรายการคาระหวางบริษัท ก และบริษัท ข เกิดขึ้นในป 25+8


14

งบกําไรขาดทุนสําหรับป 25+8 กอนกําไรในสินคาคงเหลือตน งวดของบริษัท ข จํานวน 2,500 บาท มีดังนี้ (หนวย:บาท) บริษัท ก 120,000 80,000 40,000 20,000 20,000 13,500 33,500

ขาย ตนทุนสินคาขาย กําไรขั้นตน คาใชจาย กําไรจากการดําเนินงาน รายไดจากบริษัท ข กําไรสุทธิ

บริษัท ข 60,000 40,000 20,000 5,000 15,000 15,000

บริษัท ข จะตองมีการปรับปรุงดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข รายไดจากบริษัท ข บันทึกผลกําไรจากบริษัทยอย

13,500 13,500

เงินลงทุนในบริษัท ข 2,500 รายไดจากบริษัท ข 2,500 บันทึกกําไรที่เกิดขึ้นแลวจากการขายใหบริษัท ข ในป 25+7

ผลของการบันทึกรายการนี้จะทําใหรายไดจากบริษัท ข เพิ่ม ขึ้นจาก 13,500 บาท เปน 16,000 บาท และกําไรสุทธิของ บริษัท ก จะเพิ่มขึ้นจาก 33,500 บาท เปน 36,000 บาท


15

บริษัท ก และบริษัท ข กระดาษทําการ (บางสวน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+8 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น รวม กําไรสุทธิ M.I. (15,000×10%) กําไรสุทธิ งบดุล สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัท ข

120,000 16,000 136,000 80,000 20,000 100,000 36,000

36,000

×××

บริษัท ข

หนวย:บาท

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

60,000

งบรวม 180,000

(2) 16,000

60,000 40,000 5,000 45,000 15,000

(1)

2,500

180,000 117,500 25,000 142,500 37,500 (1,500) 36,000

15,000

(1)

2,500

(2) 16,000

(1) บันทึกกํ าไรในสินคาคงเหลือตนงวดโดยการปรับปรุง ตนทุนสินคาขายใหแสดงตามราคาทุน และปรับปรุงบัญชี เงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอดตรงกับสวนของเจา ของในบริษัทยอย ณ วันตนป (2) ตัดบัญชีรายไดจากบริษัท ข และปรับปรุงบัญชีเงินลง ทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอด ณ วันที่ 1 มกราคม 25+8


16

กําไรในสินคาคงเหลือเมื่อบริษัทยอยขายสินคาใหบริษัท ใหญ (Upstream Sales) เมื่อบริษัทยอยขายสินคาใหกับบริษัทใหญจะทําใหยอดขาย ตนทุนสินคาขาย และกําไรขั้นตนของบริษัทยอยเพิ่มขึ้น แตจะไม มีผลกระทบตอกําไรจากการดําเนินงานของบริษัทใหญจนกวาสิน คาจะนําออกขายใหกับหนวยงานภายนอก

การเลื่อนการรับรูกํ าไรระหวางบริษัทในงวดที่มีการขาย ระหวางกัน ตัวอยางที่ 5-6 บริษัท ก จะบันทึกรายการในสมุดรายวัน ดังนี้ กรณีที่ 1

กรณีที่ 2

ถาบริษัท ก มีสวนไดเสียในบริษัท ข 100% ถาบริษัท ก มีสวนไดเสียในบริษัท ข 75% เงินลงทุนในบริษัท ข 50,000 รายไดจากบริษัท ข 50,000 บันทึกสวนไดเสีย 100% ในกําไรสุทธิ 50,000 บาท ของบริษัท ข

เงินลงทุนในบริษัท ข 37,500 รายไดจากบริษัท ข 37,500 บันทึกสวนไดเสีย 75% ในกําไรสุทธิ 50,000 บาท ของ บริษัท ข

รายไดจากบริษัท ข 5,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 5,000 ตัด 100% ของกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด ที่ยังไมเกิดขึ้น

รายไดจากบริษัท ข 3,750 เงินลงทุนในบริษัท ข 3,750 ตัด 75% ของกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวดที่ยังไมเกิด ขึ้น

หรืออาจเลือกบันทึกรวมเปนรายการเดียวโดยเด บิตเงินลงทุนในบริษัท ข และเครดิตรายไดจาก บริษัท ข เทากับ 45,000 บาท ก็ได [(50,000 – 5,000)×100%]

หรืออาจเลือกบันทึกรายการเดียวโดยเดบิตเงินลงทุนใน บริษัท ข และเครดิตรายไดจากบริษัท ข เทากับ 33,750 บาท ก็ได [(50,000 – 5,000) × 75%]


17

บริษทั ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการ (บางสวน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+7 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น รวม กําไรสุทธิ M.I. (50,000-5,000) ×25% กําไรสุทธิ งบดุล สินคาคงเหลือ เงินลงทุนในบริษัท ข

250,000 33,750 283,750 100,000 50,000 150,000 133,750

133,750 10,000 ×××

บริษัท ข 75% 150,000 150,000 80,000 20,000 100,000 50,000

(หนวย:บาท) ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 20,000 (3) 33,750 (2) 5,000

งบรวม 380,000

(1) 20,000

380,000 165,000 70,000 235,000 145,000

(11,250) 133,750

50,000 (2) 5,000 (3) 33,750

5,000

(1) ตัดรายการซื้อขายระหวางบริษัท (2) ตัดกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด โดยการปรับปรุง ตนทุนสินคาขายและสินคาคงเหลือใหแสดงตามราคาทุน (3) ตัดบัญชีรายไดจากบริษัท ข และปรับปรุงบัญชีเงินลง ทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอด ณ วันตนงวด


18

การรับรูก าไรระหว ํ างบริษัทจากการขายสินคาใหภายนอก ผลของกํ าไรในสินคาคงเหลือตนงวดที่มีตอกํ าไรสุทธิของ บริษัทใหญ และกําไรสุทธิรวมจะตรงกันขามกับผลของกําไรในสิน คาคงเหลือปลายงวด สมมติวาในปตอมา ป 25+8 ไมมีรายการคาเกิดขึ้นระหวาง บริษัททั้งสอง บริษัท ข รายงานกําไรสุทธิในป 25+8 60,000 บาท บริษัท ก จะบันทึกสวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข ตามวิธีสวนไดเสีย ดังนี้ เงินลงทุนในบริษัท ข 45,000 รายไดจากบริษัท ข 45,000 บันทึกสวนไดเสีย 75% ในกําไรสุทธิของบริษัท ข 60,000 บาท เงินลงทุนในบริษัท ข 3,750 รายไดจากบริษัท ข 3,750 บันทึกกําไรในสินคาคงเหลือตนงวด 75% ของ 5,000 บาท


19

บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการ (บางสวน) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+8 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น รวม กําไรสุทธิ M.I. (50,000+5,000)× 25% กําไรสุทธิ งบดุล เงินลงทุนในบริษัท ข กําไรสะสมตนงวด บริษัท ข

275,000 48,750 323,750 120,000 60,000 180,000 143,750

143,750 ×××

(หนวย:บาท)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

บริษัท ข 75% 160,000

งบรวม 435,000

(2) 48,750

160,000 85,000 15,000 100,000 60,000

(1) 5,000

435,000 200,000 75,000 275,000 160,000

(16,250) 143,750

60,000 (1)

3,750

××× (1)

1,250

(2) 48,750

(1) บันทึกกํ าไรในสินคาคงเหลือตนงวดพรอมทั้งลดสวน ไดเสียของผูถือหุนสวนนอย (2) ตัดบัญชีรายไดจากบริษัท ข และปรับปรุงบัญชีเงินลง ทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอด ณ วันที่ 1 มกราคม 25+8


20

ตัวอยางกระดาษทํ าการ–กํ าไรระหวางบริษัทเมื่อบริษัท ใหญขายสินคาใหบริษัทยอย (Downstream Sales) ตัวอยางที่ 5-7 บริษัท ก ซื้อสวนไดเสีย 90% ในบริษัท ข โดย จายชําระเปนเงินสด 945,000 บาท เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 25+1 ณ วันนี้สินทรัพยสุทธิของบริษัท ข ประกอบดวย หุน สามัญ 1,000,000 บาท และกําไรสะสม 50,000 บาท ราคาทุน ของเงินลงทุนในบริษัท ข เทากับราคาตามบัญชี และมูลคายุติ ธรรมของสวนไดเสียที่ซื้อ (1,050,000 บาท × 90%) ขายสินคาใหกับบริษัท ข ในป 25+5 (ราคาทุน 150,000 บาท) กําไรในสินคาคงเหลือของบริษัท ข ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+4 กําไรในสินคาคงเหลือของบริษัท ข ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+5 บัญชีเจาหนี้ – บริษัท ก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+5

200,000 บาท 20,000 25,000 100,000

วิธสี วนไดเสีย บริษัท ก บันทึกรายการในสมุดรายวันสําหรับการลงทุนใน บริษัท ข ตามวิธีสวนไดเสีย ดังนี้


21

เงินสด 90,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 90,000 บันทึกเงินปนผลรับจากบริษัท ข (10,000 × 90%) เงินลงทุนในบริษัท ข 265,000 รายไดจากบริษัท ข 265,000 รายไดจากบริษัท ข ซึ่งคํานวณไดดังนี้ สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข (300,000 × 90%) 270,000 บวก กําไรในสินคาคงเหลือตนป (31 ธันวาคม 25+4) 20,000 หัก กําไรในสินคาคงเหลือปลายป (31 ธันวาคม 25+5) (25,000) 265,000

ตารางที่ 5-1 วิธีสวนไดเสีย สวนไดเสีย 90% Downstream บริษัท ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+5 (หนวย: บาท) บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น รวม กําไรสุทธิ M.I. กําไรสุทธิ

10,000,000 265,000 10,265,000 5,500,000 3,500,000 9,000,000 1,265,000

บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

3,000,000 (1) 200,000 (4) 265,000 3,000,000 2,000,000 (3) 25,000 700,000 2,700,000 300,000 (5) 30,000

1,265,000

300,000

งบรวม

12,800,000 12,800,000 (1) 200,000 (2) 20,000

7,305,000 4,200,00 11,505,000 1,295,000 (30,000) 1,265,000


22

(ตอ) งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ลูกหนี้ สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น โรงงานและอุปกรณ เงินลงทุนในบริษัท ข รวมสินทรัพย เจาหนี้ หนี้สินอื่น หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสมยกมา M.I. 1 มค. 31 ธค. รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

* 300,000 × 0.1

บริษัท ก

บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี งบรวม เดบิต

เครดิต

1,940,000 1,265,000

1,940,000 450,000 (6) 450,000 300,000

1,265,000

(500,000)

(500,000) (100,000)

2,705,000

(4) (5)

90,000 10,000

650,000

2,705,000

300,000 50,000 700,000 200,000 (7) 100,000 900,000 450,000 (3) 25,000 640,000 100,000 8,000,000 1,200,000 1,460,000 (2) 20,000 (4) 175,000 (6) 1,305,000 12,000,000 2,000,000 800,000 495,000

150,000 (7) 100,000 200,000

8,000,000

12,415,000 850,000 695,000 8,000,000

1,000,000 (6)1,000,000 2,705,000 650,000

2,705,000 (6) 145,000 (5) 20,000

12,000,000 2,000,000

350,000 800,000 1,325,000 740,000 9,200,000

165,000 12,415,000


23

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการในรูปของรายวัน (1)

ขาย

200,000

ตนทุนสินคาขาย ตัดรายการซื้อขายระหวางกัน (2)

(3)

200,000

เงินลงทุนในบริษัท ข ตนทุนสินคาขาย ปรับปรุงสินคาคงเหลือตนงวด

20,000

ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ ตัดกําไรในสินคาปลายงวด

25,000

20,000

25,000

(4)

รายไดจากบริษัท ข 265,000 เงินปนผลจาย 90,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 175,000 ปรับปรุงเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอด ณ วันตนป โดยการตัดบัญชี รายไดจากบริษัท ข และเงินปนผลจาย

(5)

สวนของผูถือหุนสวนนอย-กําไรสุทธิ 30,000 เงินปนผล-บริษัท ข 10,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค. 20,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัทยอยและเงินปนผล


24

(6)

หุนสามัญ – บริษัท ข 1,000,000 กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 450,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 1,305,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 145,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข และสวนของผูถือหุนของบริษัทยอยและ บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอย ณ วันตนงวด

(7)

เจาหนี้ ลูกหนี้ ตัดบัญชีเจาหนี้และบัญชีลูกหนี้ระหวางกัน

100,000 100,000

วิธรี าคาทุน ถาบริษัท ก ใชวิธีราคาทุนในการบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ข งบกําไรขาดทุนป 25+5 แสดงบัญชีเงินปนผลรับ 90,000 บาท บัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข คงเหลือ 945,000 บาทเทากับจํานวน เงินที่บริษัท ก จายลงทุนซื้อหุน

การแปลงเปนวิธี Equity (Conversion to equity method) ตารางที่ C5-1 แสดงการคํานวณเพื่อแปลงจากวิธีราคาทุน ใหเปนวิธีสวนไดเสีย ตัวเลขที่ไดจะนําไปใชปรับปรุงในกระดาษ ทําการ ซึ่งแสดงในรูปของสมุดรายวันทั่วไป ดังนี้


25

(1) เงินปนผลรับ 90,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 515,000 กําไรสะสม-บริษัท ก 340,000 รายไดจากบริษัท ข 265,000 ตัดบัญชีเงินปนผลรับ บันทึกรายไดจากบริษัท ข ปรับปรุงเงินลงทุนให เปนวิธีสวนไดเสียและแปลงกําไรสะสมของบริษัท ก ใหเทากับกําไรสะสม รวมตนป

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการที่เหลือ จะ เหมือนกับรายการในตารางที่ 5-1 ตามวิธีสวนไดเสีย ตารางที่ C5-1 แสดงการแปลงวิธีราคาทุนเปนวิธีสวนไดเสีย (Conversion method) ของบริษัท ก และบริษัทยอย ข ผลกระทบปกอน 90% ของกําไรที่ยังไมจัดสรรของบริษัท ข จากวันที่ 1 กค. 25+1 ถึงวันที่ 31 ธค. 25+4 (450,000-50,000) x90% กําไรที่ยังไมเกิดขึ้น ในสินคา 31 ธค. 25+4 ผลกระทบปนี้ จัดประเภทเงินปนผลรับใหมโดยนําไปลด เงินลงทุน (100,000x90%) สวนไดเสียในกําไรของ ป 25+5 (300,000x90%) กําไรในสินคา ณ วันที่ 31 ธค. 25+4 ของบริษัท ข กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นในสินคา ณ วันที่ 31 ธค.25+5 ของบริษัท ข รายการปรับปรุงในกระดาษทําการ เพื่อแปลงวิธีราคาทุนเปนวิธีสวนไดเสีย

กําไรสะสม 31 ธค. 25+4

เงินลงทุนใน บริษัท ข

360,000

360,000

(20,000)

(20,000)

รายไดจาก บริษัท ข

(90,000)

340,000

(90,000)

270,000

270,000

20,000

20,000

(25,000) 515,000

เงินปนผลรับ

(25,000) 265,000

(90,000)


26

วิธธี รรมเนียมปฏิบัติ (Traditional method) เมื่ อ บริ ษั ท ใหญ ใ ช วิ ธี ร าคาทุ น ในการบั น ทึ ก การลงทุ น ใน บริษัทยอย การปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการสําหรับงบ การเงินรวมโดยใชวิธีธรรมเนียมปฏิบัติไมจําเปนตองแปลงเปนวิธี สวนไดเสีย รายการปรับปรุงและตัดบัญชีแสดงอยูในกระดาษทํา การตามตารางที่ T5-1 ตารางที่ T5-1 วิธรี าคาทุน สวนไดเสีย 90% Downstream (Traditional method) บริษทั ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+5 หนวย: บาท บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย เงินปนผลรับ ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น สวนของผูถือหุนสวนนอย

บริษัท ข (90%)

10,000,000 3,000,000 90,000 (5,500,000) (2,000,000) (3,500,000)

กําไรสะสม 31 ธค.

(1) 200,000 (4) 90,000 (3) 25,000

(5) 1,090,000

1,090,000

(1) 200,000 (2) 20,000

30,000

450,000 300,000

(2) 20,000 (7) 450,000

(6) 360,000

1,940,000 1,265,000

(500,000)

(500,000) (100,000)

2,190,000

(7,305,000) (4,200,000) (30,000) 1,265,000

300,000

1,600,000

งบรวม 12,800,000

(700,000)

(300,000x10%)

กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย บริษัท ก บริษัท ข

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

650,000

(4) (5)

90,000 10,000 2,705,000


27

(ตอ)

บริษัท ก

งบดุล เงินสด ลูกหนี้ สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น โรงงานและอุปกรณ เงินลงทุนในบริษัท ข รวมสินทรัพย เจาหนี้ หนี้สินอื่น หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสมยกมา สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 31 ธค. รวมหนี้สินและสวนของ ผูถือหุน

300,000 700,000 900,000 640,000 8,000,000 945,000 11,485,000 800,000 495,000

บริษัท ข (90%)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

50,000 200,000 450,000 100,000 1,200,000

(8) 100,000 (3) 25,000

(6) 360,000 2,000,000 150,000 200,000

12,415,000 850,000 695,000

(8) 100,000

8,000,000 1,000,000 650,000

(7) 1,000,000 2,705,000 (7) 145,000 (5) 20,000

11,485,000

350,000 800,000 1,325,000 740,000 9,200,000

(7) 1,305,000

8,000,000 2,190,000

งบรวม

2,000,000

165,000 12,415,000

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการแสดงในรูป ของการบันทึกรายการในสมุดรายวันไดดังนี้ (1)

ขาย

200,000

ตนทุนสินคาขาย ตัดรายการซื้อขายระหวางกัน

200,000

(2)

กําไรสะสมตนป-บริษัท ก 20,000 ตนทุนสินคาขาย 20,000 ปรับปรุงสินคาคงเหลือตนงวดและกําไรสะสมตนงวดของบริษัท ก สําหรับ กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นในสินคาตนงวด

(3)

ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ ตัดกําไรในสินคาปลายงวด

25,000 25,000


28

(4)

เงินปนผลรับ เงินปนผลจาย ตัดเงินปนผลรับกับ 90% ของเงินปนผลจาย บริษัท ข

90,000 90,000

(5)

สวนของผูถือหุนสวนนอย-กําไรสุทธิ 30,000 เงินปนผลจาย 10,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค. 20,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัทยอยและเงินปนผล

(6)

เงินลงทุนในบริษัท ข 360,000 กําไรสะสมตนป – บริษัท ก 360,000 ปรับเพิ่มกําไรสะสมตนปของบริษัท ก ดวยสวนไดเสียในกําไรสะสมของ บริษัท ข ที่เพิ่มขึ้นจากวันซื้อหุนถึงตนปที่ทํางบ

(7)

หุนสามัญ – บริษัท ข 1,000,000 กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 450,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 1,305,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 145,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนกับยอดคงเหลือของบัญชีทุน

(8)

เจาหนี้ ลูกหนี้ ตัดบัญชีเจาหนี้และบัญชีลูกหนี้ระหวางกัน

100,000 100,000


29

ตัวอยางกระดาษทํ าการ–กํ าไรระหวางบริษัทเมื่อบริษัท ยอยขายสินคาใหบริษัทใหญ (Upstream Sales) ตัวอยางที่ 5-8 บริษัท ก ซื้อสวนไดเสีย 80% ในบริษัท ข เปน เงิน 480,000 บาท เมื่อวันที่ 2 มกราคม 25+6 สวนของผูถือ หุนของบริษัท ข ณ วันนี้ ประกอบดวย หุนสามัญ 500,000 บาท และกําไรสะสม 100,000 บาท ราคาทุนของเงินลงทุนเทากับ ราคาตามบัญชีและมูลคายุติธรรมของสินทรัพยสุทธิของบริษัท ข ขอมูลทางการคาระหวางบริษัททั้งสอง สําหรับป 25+7 มีดัง นี้ ขายสินคาใหกับบริษัท ก – 25+7 กําไรในสินคาคงเหลือของบริษัท ก ณ 31 ธันวาคม 25+6 กําไรในสินคาคงเหลือของบริษัท ก ณ 31 ธันวาคม 25+7 บัญชีลกู หนี้และเจาหนี้ระหวางบริษัท ณ 31 ธันวาคม 25+7

300,000 บาท 40,000 30,000 50,000


30

วิธีสวนไดเสีย บริษัท ก บันทึกรายการในสมุดรายวันสําหรับการลงทุนใน บริษัท ข ดังนี้ เงินสด 40,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 40,000 บันทึกเงินปนผลรับจากบริษัท ข (50,000 × 80%) เงินลงทุนในบริษัท ข 88,000 รายไดจากบริษัท ข 88,000 บันทึกรายไดจากบริษัท ข ซึ่งคํานวณไดดังนี้ 80,000 สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข (100,000 × 80%) บวก 80% ของกําไรในสินคาตนป 25+6 40,000 บาท 32,000 หัก 80% ของกําไรในสินคาปลายป 25+7 30,000 บาท (24,000) 88,000

ตารางที่ 5-2 วิธีสวนไดเสีย สวนไดเสีย 80% Upstream บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย รายไดจากบริษัท ข รวม ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น รวม กําไรสุทธิ สวนของผูถือหุนสวนนอย กําไรสุทธิ

3,000,000 88,000 3,088,000 2,000,000 588,000 2,588,000 500,000

บริษัท ข 1,500,000 1,500,000 1,000,000

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 300,000 (4) 88,000 (3) 30,000

400,000 1,400,000 100,000 100,000

4,200,00 4,200,000

(5) 22,000

500,000

งบรวม

(1) 300,000 (2) 40,000

2,690,000 988,000 3,678,000 522,000 (22,000) 500,000


31 (ตอ)

ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต

บริษัท ก

บริษัท ข

1,000,000 500,000 (400,000)

250,000 100,000 (50,000)

กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ลูกหนี้ สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น โรงงานและอุปกรณ เงินลงทุนในบริษัท ข

1,100,000

300,000

1,100,000

200,000 700,000 1,100,000 384,000 2,000,000 616,000

50,000 100,000 200,000 150,000 500,000

250,000 750,000 1,270,000 534,000 2,500,000

รวมสินทรัพย เจาหนี้ หนี้สินอื่น หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสมยกมา M.I. 1 มค. 31 ธค. รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

5,000,000 500,000 400,000

1,000,000 150,000 50,000

งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย

(6) 250,000 (4) 40,000 (5) 10,000

(7) (3)

(2) 32,000

50,000 30,000

5,304,000 600,000 450,000

(7) 50,000

3,000,000 500,000 300,000

(6) 500,000

1,100,000 (2)

5,000,000

1,000,000 500,000 (400,000)

(4) 48,000 (6) 600,000

3,000,000 1,100,000

งบรวม

8,000

(6) 150,000 (5) 12,000

1,000,000

154,000 5,304,000

* M.I. = (100,000 + 40,000 - 30,000) × 0.2 = 22,000 บาท รายการปรับปรุงและตัดบัญชีแสดงในรูปของการบันทึกรายการในสมุด รายวันไดดังนี้ (1) ขาย ตนทุนสินคาขาย ตัดรายการซื้อขายระหวางกัน

300,000 300,000


32

(2) เงินลงทุนในบริษัท ข 32,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 8,000 ตนทุนสินคาขาย 40,000 บันทึกกําไรในสินคาคงเหลือตนงวดโดยปรับปรุงตนทุนสินคาขาย และกระจายกําไร 80% ใหกับบริษัทใหญและ 20% ใหกับผูถือหุน สวนนอย (3) ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ ตัดกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด

30,000 30,000

(4) รายไดจากบริษัท ข 88,000 เงินปนผลจาย 40,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 48,000 ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข ใหแสดงยอด ณ วันตนป โดยการ ตัดบัญชีรายไดจากบริษัท ข และเงินปนผลจายของบริษัท ข (5) สวนของผูถือหุนสวนนอย-กําไรสุทธิ 22,000 เงินปนผล-บริษัท ข 10,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค. 12,000 บันทึกสวนของ M.I. ในกําไรสุทธิของบริษัทยอยและเงินปนผล


33

(6) กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 250,000 หุนสามัญ – บริษัท ข 500,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 600,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 150,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข และสวนของผูถือหุนของบริษัทยอย และบันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอย ณ วันตนงวด (7) เจาหนี้ ลูกหนี้ ตัดบัญชีเจาหนี้และบัญชีลูกหนี้ระหวางกัน

50,000 50,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย บริษทั ก จะตองปรับปรุงกําไรสุทธิของ บริษทั ข สําหรับกําไรที่ยังไมเกิดขึ้น กอนคูณดวยเปอรเซ็นตสวนได เสียของผูถือหุนสวนนอย ดังนี้ กําไรสุทธิของบริษัท ข บวก: กําไรของสินคาป 25+6 ที่รับรูในป 25+7 หัก: กําไรที่ยังไมเกิดขึ้น ณ วันที่ 31 ธค. 25+7 กําไรสุทธิของบริษัท ข ที่เกิดขึ้นแลว สวนไดเสียของผูถือหุนสวนนอย สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ

100,000 บาท 40,000 (30,000) 110,000 20% 22,000

วิธีราคาทุน ถาบริษัท ก ใชวิธีราคาทุนในการบันทึกการลงทุนในบริษัท ข สําหรับป 25+6 และ 25+7 บัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข จะมียอดคง เหลือ 480,000 บาท ซึ่งเทากับตนทุนของเงินลงทุน ณ วันซื้อหุน


34

การแปลงเปนวิธีสวนไดเสีย (Conversion to equity method) ตารางที่ C5-2 แสดงการคํานวณเพื่อแปลงจากวิธีราคาทุนให เปนวิธีสวนไดเสีย ตัวเลขที่คํานวณไดจะนําไปใชในกระดาษทําการ ซึ่ง แสดงในรูปของสมุดรายวันทั่วไป ดังนี้ (1) เงินปนผลรับ 40,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 136,000 กําไรสะสม-บริษัท ก 88,000 รายไดจากบริษัท ข 88,000 ตัดบัญชีเงินปนผลรับ บันทึกรายไดจากบริษัท ข ปรับปรุงเงินลงทุน ใหเปนวิธีสวนไดเสียและแปลงกําไรสะสมของบริษัท ก ใหเทากับ กําไรสะสมรวมตนป

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการที่เหลือ จะเหมือน กับรายการในตารางที่ 5-2ตามวิธีสวนไดเสีย ตารางที่ C5-2 แสดงการแปลงวิ ธี ร าคาทุ น เป น วิ ธี ส  ว นได เ สี ย (Conversion to equity method) ของบริษัท ก และบริษัทยอย ข ผลกระทบปกอน 80% ของกําไรที่ยังไมจัด สรรของบริษัท ข จากวันที่ 2 มค. 25+6 ถึงวันที่ 31 ธค. 25+6 (250,000-100,000) x80% 80% ของกําไรที่ยังไมเกิดขึ้นใน สินคา ณ วันที่ 31 ธค. 25+6 ของบริษัท ก (40,000x80%)

กําไรสะสม 31 ธค. 25+6

เงินลงทุนใน บริษัท ข

120,000

120,000

(32,000)

(32,000)

รายไดจาก บริษัท ข

เงินปนผลรับ


35

(ตอ)

กําไรสะสม 31 ธค. 25+6 ผลกระทบปนี้ จัดประเภทเงินปนผลรับ ใหมโดยนําไปลดเงินลงทุน (50,000x80%) สวนไดเสียในกําไรของบริษัท ข ในป 25+7 (100,000x80%) 80% ของกําไรในสินคา ณ วันที่ 31 ธค. 25+6 ของ บริษัท ก (40,000x80%) 80% ของกําไรที่ยังไม เกิดขึ้นในสินคา ณ วันที่ 31 ธค. 25+7 ของบริษัท ก (30,000x80%) รายการปรับปรุงของ ป 25+7 ในกระดาษทําการ เพื่อแปลงวิธีราคาทุนเปน วิธีสวนไดเสีย

เงินลงทุนใน บริษัท ข

รายไดจาก บริษัท ข

(40,000)

88,000

เงินปนผลรับ

(40,000)

80,000

80,000

32,000

32,000

(24,000)

(24,000)

136,000

88,000

(40,000)

วิธีธรรมเนียมปฏิบัติ (Traditional method) เมื่อบริษัทใหญใชวิธีราคาทุนในการบันทึกการลงทุนในบริษัท ยอย รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในกระดาษทําการสําหรับงบการเงิน รวมโดยใชวิธีธรรมเนียมปฏิบัติไมจําเปนตองแปลงเปนวิธีสวนไดเสีย รายละเอียดของการจัดทํ างบการเงินรวมแสดงอยูในกระดาษทํ าการ ตามตารางที่ T5-2


36

ตารางที่ T5-2 วิธีราคาทุน 80% Upstream (Traditional method) บริษทั ก และบริษัทยอย ข กระดาษทําการสําหรับงบการเงินรวม สําหรับปสิ้นสุด 31 ธันวาคม 25+7 บริษัท ก งบกําไรขาดทุน ขาย เงินปนผลรับ ตนทุนสินคาขาย คาใชจายอื่น สวนของผูถือหุนสวนนอย* กําไรสุทธิ งบกําไรสะสม กําไรสะสม 1 มค. บริษัท ก บริษัท ข กําไรสุทธิยกมา เงินปนผลจาย กําไรสะสม 31 ธค. งบดุล เงินสด ลูกหนี้ สินคาคงเหลือ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น โรงงานและอุปกรณ เงินลงทุนในบริษัท ข รวมสินทรัพย เจาหนี้ หนี้สินอื่น หุนสามัญ บริษัท ก บริษัท ข กําไรสะสมยกมา

บริษัท ข (80%)

3,000,000 40,000 (2,000,000)

1,500,000 (1,000,000)

(588,000)

(400,000)

หนวย: บาท ปรับปรุงและตัดบัญชี เดบิต เครดิต (1) 300,000 (4) 40,000 (3) 30,000

4,200,000 (1) 300,000 (2) 40,000

(5) 22,000 452,000

100,000

912,000

(2) 320,000 (7) 250,000

งบรวม

(6) 120,000

(2,690,000) (988,000) (22,000) 500,000

1,000,000

452,000 (400,000)

250,000 100,000 (50,000)

964,000

300,000

(400,000) 1,100,000

200,000 700,000 1,100,000 384,000 2,000,000 480,000 4,864,000 500,000 400,000

50,000 100,000 200,000 150,000 500,000

250,000 750,000 1,270,000 534,000 2,500,000

500,000 (4) 40,000 (5) 10,000

(8) (3)

(6) 120,000 1,000,000 150,000 50,000

50,000 30,000

(7) 600,000 5,304,000 600,000 450,000

(8) 50,000

3,000,000 964,000

3,000,000 500,000 300,000

(7) 500,000 1,100,000

สวนของผูถือหุนสวนนอย

1 มค. 31 ธค. รวมหนี้สินและสวน ของผูถือหุน

(2)

4,864,000

1,000,000

8,000

(7) 150,000 (5) 12,000

154,000 5,304,000


37

* M.I. = (100,000 + 40,000 - 30,000) × 0.2 = 22,000 บาท

รายการปรับปรุงและตัดบัญชีในตารางที่ T5-2 สามารถแสดงใน รูปของการบันทึกรายการในสมุดรายวันไดดังนี้ (1)

ขาย

300,000

ตนทุนสินคาขาย ตัดรายการซื้อขายระหวางกัน

300,000

(2)

กําไรสะสมตนป-บริษัท ก 32,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 8,000 ตนทุนสินคาขาย 40,000 บันทึกกําไรในสินคาคงเหลือตนงวดโดยปรับปรุงตนทุนสินคาขาย และกระจายกําไร 80% ใหกับบริษัทใหญและ 20% ใหกับผูถือหุน สวนนอย

(3)

ตนทุนสินคาขาย สินคาคงเหลือ ตัดกําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด

30,000

เงินปนผลรับ เงินปนผลจาย ตัดบัญชีเงินปนผลรับกับเงินปนผลจาย

40,000

(4)

30,000

40,000


38

(5)

(6)

สวนของผูถือหุนสวนนอย-กําไรสุทธิ 22,000 เงินปนผลจาย 10,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 31 ธค. 12,000 บันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิของบริษัทยอยและเงิน ปนผล เงินลงทุนในบริษัท ข 120,000 กําไรสะสมตนป – บริษัท ก 120,000 ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนดวยสวนไดเสียในกําไรสะสมของบริษัท ข ที่ เพิม่ ขึน้ จากวันซื้อหุนจนถึงตนปที่จัดทํางบ 80% (250,000100,000)

(7)

กําไรสะสมตนป – บริษัท ข 250,000 หุนสามัญ- บริษัท ข 500,000 เงินลงทุนในบริษัท ข 600,000 สวนของผูถือหุนสวนนอย 1 มค. 150,000 ตัดบัญชีเงินลงทุนในบริษัท ข กับสวนของผูถือหุนของบริษัทยอย และบันทึกสวนของผูถือหุนสวนนอย ณ วันตนงวด

(8)

เจาหนี้ ลูกหนี้ ตัดบัญชีเจาหนี้และบัญชีลูกหนี้ระหวางกัน

50,000 50,000


39

ตัวอยางสรุปกําไรในสินคาคงเหลือ ตัวอยางที่ 5-9 ขอมูลของบริษัท ก และบริษัทยอย ข โดย สมมติวา 1. กําไรสุทธิของบริษัท ก จากการดําเนินงานโดยอิสระเทากับ 100,000 บาท 2. บริษัท ข (ซึ่งบริษัท ก มีสวนไดเสียอยู 90 %) มีกําไรสุทธิตาม งบกําไรขาดทุน 50,000 บาท 3. กําไรในสินคาคงเหลือตนงวดเทากับ 5,000 บาท 4. กําไรในสินคาคงเหลือปลายงวดเทากับ 10,000 บาท Downstream Upstream บริษัท ก บริษัท ข ขายสินคาใหบ. ข ขายสินคาใหบ. ก กําไรสุทธิของบริษัท ก - วิธีสวนไดเสีย กํ าไรสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท ก จากการดํ าเนิ น งาน โดยอิสระ สวนไดเสียในกําไรสุทธิของบริษัท ข (50,000 × 90%) บวก : กําไรในสินคาคงเหลือตนงวด (5,000 × 100%) (5,000 × 90%) หัก : กําไรในสินคาคงเหลือปลายงวด (10,000 × 100%) (10,000 × 90%) กําไรสุทธิของบริษัท ก

100,000

100,000

45,000

45,000

5,000 4,500 (10,000) 140,000

(9,000) 140,500


40

Downstream Upstream บริษัท ก บริษัท ข ขายสินคาใหบ. ข ขายสินคาใหบ. ก กําไรสุทธิรวม กําไรสุทธิของบริษัท ก จากการดําเนินงานโดยอิสระ บวกดวยกําไรสุทธิของบริษัท ข (100,000 + 50,000) 150,000 ปรับปรุงดวยกําไรในสินคาคงเหลือ 5,000 สินคาคงเหลือตนงวด (5,000 ×100%) (10,000) สินคาคงเหลือปลายงวด (10,000 × 100%) รวมกําไรสุทธิที่เกิดขึ้นแลว 145,000 หัก : สวนของผูถือหุนสวนนอยในกําไรสุทธิ (5,000) (50,000 × 10%) (50,000 + 5,000 – 10,000) ×10% กําไรสุทธิรวม 140,000

150,000 5,000 (10,000) 145,000

(4,500) 140,500


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.