02สไลด์ประกอบการสอน_กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์_

Page 1

กระบวนการพิมพ ์ ขัน ้ ตอนกอนการพิ ม พ ่ ์ (Pre Press)

ขัน ้ ตอนการพิมพ ์ (Press)

ขัน ้ ตอนหลังการพิมพ ์ (Post Press)


ขัน ้ ตอน กอนการพิ มพ ์ ่

(Pre Press)

การแปลงขอมู ิ อล ้ ลดิจต (Digitization)

การตรวจสอบไฟลข ์ อมู ้ ล (Preflight) การจัดวางหน้าสํ าหรับทําแมพิ ่ มพ ์

(Imposition)

การทําปรู๊ฟดิจต ิ อล (Digital Proofing) การทําฟิ ลมแยกสี ์

(Process Film Making)

การทําแมพิ ่ มพ ์

(Plate Making)

การทําปรู๊ฟแทน/ปรู ่ ๊ ฟแมพิ ่ มพ ์ (Plate Proofing)


ขัน ้ ตอน การพิมพ ์ (Press)

การเตรียมพิมพ ์

(Print Preparation)

การพิมพ ์ (Printing)


ขัน ้ ตอน หลังการพิมพ ์ (Post Press)

การตกแตงผิ ้ งาน ่ วชิน (Surface Decoration)

การขึน ้ รูป การทํารูปเลม ่

(Forming)

(Book Making)

การบรรจุหบ ี หอ ่

(Packing)


การวางแผน งานออกแบบ สงิ่ พิมพ์

รับงาน

การออกแบบ และ จัดทําแบบร่างสงิ่ พิมพ์

การจัดเตรียม ต ้นฉบับสงิ่ พิมพ์

การจัดทําไฟล์และ ตัวอย่างต ้นฉบับ สงิ่ พิมพ์

การจําหน่าย เผยแพร่

การตรวจสอบ และ ควบคุมคุณภาพ ต ้นฉบับก่อนพิมพ์

การบรรจุหบ ี ห่อ (Packing)

ข ้อมูลดิจต ิ อลทีผ ่ า่ นการตรวจสอบ

การทํารูปเล่ม (Book Making)

การขึน ้ รูป

การจัดวางหน ้าต ้นฉบับ สงิ่ พิมพ์

การจัดวางหน ้าสําหรับ ทําแม่พม ิ พ์ (Imposition)

(Forming)

การตกแต่ง ิ้ งาน ผิวชน

การทําปรู๊ฟดิจต ิ อล (Digital Proofing)

(Surface Decoration)

การพิมพ์ (Printing)

การเตรียมพิมพ์

(Print Preparation)

การทําปรู๊ฟแท่น/ ปรู๊ฟแม่พม ิ พ์ (Plate Proofing)

การทําแม่พม ิ พ์ (Plate Making)

การทําฟิ ลม ์ แยกส ี

(Process Film Making)


กระบวนการพิมพ์

ขัน้ ตอนก่ อนการพิมพ์ (Pre Press)


1. การวางแผนงานออกแบบสิ่ งพิมพ ์ 1.1 การกําหนดแนวคิดและคุณลักษณะสิ่ งพิมพ ์ 1.2 การกําหนดขอบเขตเนื้อหา และส่วนประกอบตางๆ ของสิ่ งพิมพ
์ ่ 1.3 การวางแผนงาน และกําหนดหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบ


ปัจจัยทีต ่ องคํ า นึ ง ถึ ง ้

• ประเภทและลักษณะเนื้อหาของสิ่ งพิมพ ์ • วัตถุประสงคในการจั ด ทํ า ์ • กลุมเป าหมาย ่ ้ • ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์ • ประเภทและคุณลักษณะของ กระดาษพิมพ ์


ปัจจัยทีต ่ องคํ า นึ ง ถึ ง ้

• ขัน้ ตอนการออกแบบและจัดหน้าสิ่ งพิมพ ์ • ขัน้ ตอนการผลิตสิ่ งพิมพ ์ • ความสามารถและขอจํ า กั ด ในการทํ า งาน ้ ของเครือ ่ งพิมพ ์

• หลักการออกแบบและการจัดวาง องคประกอบในสิ ่ ง พิ ม พ ์ ์


ชนิดของกระดาษทีใ่ ช้ในงานพิมพ ์ 1. กระดาษปรู๊ฟ 2. กระดาษปอนด ์ 3. กระดาษอารต ์ 4. กระดาษเหนียว 5. กระดาษการด ์ 6. กระดาษกลอง ่ 7. กระดาษแข็ง 8. กระดาษแฟนซี 9. กระดาษถนอมสายตา 10.กระดาษกันปลอม 11.กระดาษรีไซเคิล 12.กระดาษสติกเกอร ์


ขนาดมาตรฐานของกระดาษสํ าหรับงานพิมพ ์ ขนาด 31 x 43 นิ้ว ขนาด 35 x 43 นิ้ว

สิ่ งพิมพบรรจุ ภณ ั ฑ์ ์

ขนาด 28 x 40 นิ้ว ขนาด 25 x 36 นิ้ว

สิ่ งพิมพทั ์ ว่ ไป หนังสื อ

ขนาด 24 x 35 นิ้ว

ขนาด 31 x 43 นิ้ว ดวย ้


เทคนิคการพิมพแบบพิ เศษ ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

เคลือบวานิช เคลือบ UV เคลือบ PVC เงา เคลือบ PVC ดาน ้ เคลือบเงาเฉพาะจุด (Spot UV) ปั๊มไดคัต (Die cutting) ปั๊มนูน (Embossing) ปั๊มลึก (Debossing) ปั๊มฟอยลเงิ ์ น ( Foil/Hot stamping)


ประเภทและลักษณะเนื้อหาของสิ่ งพิมพ ์ การออกแบบต้องสั มพันธและสอดคล อง ้ ์ กับเนื้อหาทีน ่ ําเสนอ

• หนังสื อเลม่ • นิตยสารและวารสาร • หนังสื อพิมพ ์ • สิ่ งพิมพรู์ ปแบบอืน่ ๆ • จุลสาร

โปสเตอร ์ แผนพั ว ่ บ แผนปลิ ่


วัตถุประสงคในการจั ด ทํ า ์

• วัตถุประสงคมั์ กขึน้ อยูกั่ บนโยบายของผูจั้ ดพิมพ ์ และความตองการของเจ ้ ้าของงาน

• เพือ่ ให้ความรู้ • เพือ่ แจ้งขาวสาร ่ • เพือ่ ความบันเทิง • เพือ่ ผลทางการคา้ ฯลฯ


กลุมเป าหมาย ่ ้

• สิ่ งพิมพแต กลุมเป ่ างกั น ่ ่ ้ าหมายทีต ่ ์ ละประเภทมี • อายุ • อาชีพ • เพศ

• การออกแบบต้องคํานึงถึงจิตวิทยาในการรับรู้ สารของกลุมเป ่ ้ าหมาย

• ตําราเรียนระดับประถมศึ กษา / อุดมศึ กษา • นิตยสารสํ าหรับผูหญิ ง / ผูชาย ้ ้ • วารสารวิชาการ / บันเทิง


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• ตองคํ านึงถึงเพือ ่ ให้สอดคลองกั บ ้ ้ ขนาดของกระดาษมาตรฐาน

• เพือ่ ความประหยัดโดยให้เหลือเศษ จากการตัดเจียนน้อยทีส ่ ุด

• กระดาษเป็ นปัจจัยหลักในการ กําหนดราคาและคุณภาพของ สิ่ งพิมพ ์


แบบฟอร์ มโจทย์ ของการออกแบบ (Design brief) ชือ ่ และชนิดของสิ่ งพิมพ ์

นโยบาย / ลักษณะเนื้อหา หรือสรุปเนื้อหา / สถานการณทางการตลาดและคู แข ์ ่ ง่

ปัญหา

กลุมเป ่ ้ าหมาย วัตถุประสงค ์ ความคิดรวบยอด

เหตุผลสนับสนุ นความคิดรวบยอด

บุคลิกภาพของสื่ อสิ่ งพิมพ ์


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• ประเภทของกระดาษมาตรฐาน • กระดาษแผน่

นิยมใช้กับงานพิมพที ่ จ ี าํ นวน ์ ม ไมเกิ ่ ชุด มี 2 ขนาด คือ ่ นหลายหมืน

• •

43” X 31” (กระดาษหน้ายก) 33.11” X 46.81” (กระดาษชุด A)

• กระดาษมวน ่ จ ี าํ นวนหลายๆ ้ ใช้กับงานพิมพที ์ ม หมืน ่ ชุดขึน ้ ไปวัดจากหน้ากวางของกระดาษ ้ มีหลายขนาด

35”, 31”, 24”


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• ยกพิมพ ์

กระดาษทีผ ่ านการพิ ม พ และการ ่ ์ พับมาแลว โดยกระดาษที ใ ่ ช ใน ้ ้ การพิมพมี ข นาดความกว างและ ้ ์ ความยาวเป็นครึง่ หนึ่งของดาน ้ กว้างและดานยาวกระดาษขนาด ้ มาตรฐาน 43 X 31” คือมีขนาด เทากั บ 15.5 X 21.5” ่


ยกพิมพ ์

15.5” 21.5” เท่ ากับหนึ่งหน้ า หนังสือพิมพ์

43”

31”


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• หน้ายก

จํานวนหน้าทัง้ หมดทีไ่ ดจากการ ้ พับกระดาษขนาด 15.5 X 21.5”

• พับ

1 ครัง้ ไดสิ ้ ่ งพิมพจํ ์ านวน 4 หน้า เรียกวา่ สิ่ งพิมพขนาดสี ่ หน้ายก ์ (ขนาด 10 1/4 X 15”)


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• หน้ายก • พับ

2 ครัง้ ไดสิ ้ ่ งพิมพจํ ์ านวน 8 หน้า เรียกวา่ สิ่ งพิมพขนาดแปดหน ายก ้ ์ (ขนาด 7 1/2 X 10 1/4”) ประมาณขนาด A4

• พับ

3 ครัง้ ไดสิ ้ ่ งพิมพจํ ์ านวน 16 หน้า เรียกวา่ สิ่ งพิมพขนาดสิ บหกหน้ายก ์ (ขนาด 5 X 71/2 ”) ขนาด Pocket book


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์ ็ ็ • สิ่ งพิมพที์ ไ่ มได เย บ เล มและมี ล ก ั ษณะเป น ่ ้ ่ แผนพิ ่ มพขนาดใหญ ่ เช่น โปสเตอร ์ ์ ไมนิ ่ ยมเรียกเป็นหน้ายก แตเรี ่ ยกตาม ขนาดของกระดาษทีใ่ ช้พิมพ ์ เช่น โปสเตอรขนาดตั ดสอง หรือขนาดตัดสี่ ์


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• ขนาดตัด • ขนาดตัดหนึ่ง •

คือ สิ่ งพิมพที ้ ์ ไ่ ดจากการ พิมพบนกระดาษมาตรฐาน 31 x 43” ์ ขนาดตัดสอง คือ สิ่ งพิมพที ้ ์ ไ่ ดจากการ พิมพบนกระดาษที ม ่ ข ี นาดเป็ นครึง่ หนึ่ง ์ ของขนาดมาตรฐาน 31 x 43” คือ มีขนาด 21.5 x 31”


ขนาดตัด

ก. 31”

ย. 31” ��ก. 21.5”

ขนาดตัดสอง

ย. 43” ขนาดตัดหนึ่ง ขนาด��ย. 21.5” ตัดสี่ ��ก. 15.5”


ขนาดตัด

31” ขนาดตัดสอง

ขนาดตัดหนึ่ง

43” ขนาดตัดสี่ (ยกพิมพ)์


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• กระดาษชุด

ไดแก ้ ่ A0- A10

A (31.1” X 46.81”)

• กระดาษสํ าเร็จ • •

A1 (23 1/2 x 33 1/4”) นิยมใช้พิมพกระดาษปิ ดผนัง ์ กระดาษสํ าเร็จ A2 (16 1/2 x 23 1/4”) ใช้พิมพโปสเตอร แผ ่ ่ ์ ์ นใหญ กระดาษสํ าเร็จ A3 (11 3/4 x 16 1/2”) ใช้พิมพโปสเตอร แผ ก ่ ์ ์ นเล็


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• กระดาษสํ าเร็จ •

A4 (8 1/4 x 11 3/4”) ใช้พิมพหนั ่ นิตยสาร ์ งสื อเลม วารสาร สิ่ งพิมพทั ์ ว่ ไป กระดาษสํ าเร็จ A5 (5 1/2 x 8 1/4”) ใช้เรียกขนาดหนังสื อฉบับกระเป๋า (Pocket book)

• กระดาษสํ าเร็จ

A6 (4 1/4 x 5 1/2”) ใช้เรียกขนาดกราดอวยพร ์


ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่ งพิมพ ์

• กระดาษสํ าเร็จ

A7 (2 3/4 x 4 1/4”) ใช้เรียกขนาดสมุด บันทึก สมุดฉี ก นามบัตร และการดขนาดต างๆ ่ ์

• กระดาษสํ าเร็จ • กระดาษสํ าเร็จ • กระดาษสํ าเร็จ

• ขนาด

A8 ( 2 x 2 3/4”) A9 (1 1/2 x 2”) A10 (1 x 1 1/2”)

A1 จะมีขนาดเป็ นสองเทาของ A2 และ ่ A2 จะเป็ น 2 เทาของ A3 ไลไปตามลํ าดับ ่ ่


A0

A1

ขนาดกระดาษ ชุด A

A2

A4

A3 A5

A6 A7


ประเภทและคุณลักษณะของ กระดาษพิมพ ์

• • •

มีผลตอราคา ่

การเลือกใช้หมึกพิมพ ์ การมองเห็นภาพ/สี


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• เกรน(Grain) แนวการจัดเรียงตัว

ของเส้นใยทีใ่ ช้ในการทํากระดาษ

• การพับตามแนวเกรนจะเรียบกวาการพั บ ่ แนวขวางเกรน

• กระดาษในแนวขวางเกรนจะแข็งกวาใน ่ แนวตามเกรน

• ให้แนว

MD ขนานกับแนวสั นเลม ่ เพือ ่ ให้เปิ ดงาย ่


เกรน (Grain)


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• นํ้าหนักมาตรฐาน

(Basis weight) คือนํ้าหนักเป็นกรัมตอตารางเมตร ่ ของกระดาษ เช่น 70 กรัม/ ตารางเมตร หมายความวา่ กระดาษ 1 ตารางเมตรหนัก 70 กรัม


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• ชนิดของกระดาษ

จําแนกตามผิวหน้า

• กระดาษเคลือบผิว • กระดาษไมเคลื อ บผิ ว ่


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• กระดาษเคลือบผิว • กระดาษทีไ่ ดรั้ บการเพิม่ คุณสมบัตดิ าน ้

ความขาวสวาง ความเรี ย บ ความทึ บ แสง ่ ราคาแพง นิยมใช้จัดทําสิ่ งพิมพที ่ องการ ้ ์ ต คุณภาพ ความประณีต สวยงาม ราคาแพง นิตยสารตาง ๆ ่

• กระดาษอารต์


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• กระดาษไมเคลื อ บผิ ว ่

• มีคุณสมบัตนิ ้อยกวากระดาษเคลื อบผิวดานสี ่ ้

ความขาวสวาง ความคงทน ่ ความเรียบ แตถู ่ กกวา่ ใช้จัดพิมพสิ์ ่ งพิมพที ์ ่ ไมต ่ ้องการคุณภาพสูงนัก ไมจํ ่ าเป็ นต้องเก็บนาน และสามารถจําหน่าย ในราคาถูก เช่นหนังสื อพิมพ ์ หนังสื อราคาถูก อืน ่ ๆ

• กระดาษปรู๊ฟ

กระดาษปอนด ์ กระดาษโรเนียว


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• กระดาษแตละประเภทมี ค ุ ณ สมบั ต ใ ิ น ่ การดูดซึมหมึกตางกั น ่

• มีผลตอความคมชั ดของภาพ ่

• ผิวหน้าของกระดาษและลักษณะการ แห้งตัวของหมึกพิมพบนกระดาษมี ์ ็นภาพสี และการ ผลตอการมองเห ่ ็ กําหนดเปอรเซ น ต การใช สี ้ ์ ์


ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ์

• กระดาษเคลือบผิวดูดซึมหมึกไดน้ ้อย •

กวา่ หมึกแห้งช้า แตให ่ ้ความคมชัด ของเม็ดสกรีนทีป ่ รากฏบนกระดาษ ทําให้ภาพทีป ่ รากฏมีความคมชัดดวย ้ เม็ดสกรีน คือ จุดทีป ่ รากฏบนภาพ พิมพ ์ ใช้ในการแยกนํ้าหนักของ ภาพตนฉบั บ (tone) ให้ปรากฏเป็น ้ จุดขนาดตาง ๆ กั น ่


2. การออกแบบ และจัดทําแบบรางสิ ่ ่ งพิมพ ์ 2.1 การออกแบบ และจัดทําแบบรางสิ ่ ่ งพิมพ
์ 2.2 การนําเสนอแบบรางสิ ่ ่ งพิมพ
์ 2.3 การประเมินและคัดเลือกแบบรางสิ ่ ่ งพิมพ ์


ขัน ้ ตอนการออกแบบและจัดหน้าสิ่ งพิมพ ์

• การกําหนดรูปแบบและขนาด • การทํารางหยาบ (Rough layout) ่ • การทําแบบรางสมบู ร ณ หรื อ แบบ ่ ์ รางละเอี ยด (Comprehensive layout) ่

• การทําแบบจําลองของสิ่ งพิมพสํ์ าเร็จ หรือ ดัมมี่ (Dummy)


Thumbnail Sketches


การทํารางหยาบ (Rough layout) ่

• เป็ นการแปลงรูปแบบความคิดจากขอแรกสู ้ ่ รูปแบบ ทีม ่ องเห็ นได้

• มักทําขนาดเล็กวาของจริ งแตได ่ ่ สั ้ ดส่วนทัง้ รูปราง ่ และขนาด

• อาจทําหลายขนาดเผือ่ เลือก • เลือกทําเฉพาะส่วนประกอบทีส่ ํ าคัญ •

เช่น

หน้าปก หน้าทีข ่ น ึ้ บทใหม่ ควรมีการกําหนดตําแหน่งตัวอักษรและ ภาพประกอบโดยใช้ตัวอักษรสมมติ (Blind text)


Rough Layout


การทําแบบรางสมบู รณ ์ หรือแบบรางละเอี ยด ่ ่ (Comprehensive layout)

• เป็ นการทํารางหยาบให ้ ่ ้สมบูรณขึ ์ น • มักทําเป็ นขนาดเทาของจริ ง และใช้วัสดุทจ ี่ ะใช้ ่ ในงานจริง

• มีการกําหนดลักษณะ

ขนาด และแบบตัวพิมพ ์ (typeface)และภาพประกอบ

• มีการกําหนดช่วงบรรทัดหรือช่องวางระหว าง ่ ่ บรรทัด

• มีการกําหนดรายละเอียดและเทคนิคพิเศษอืน่ เช่น การกําหนดสี


Comprehensive Layout


การทําดัมมี่ (Dummy)

• เป็นการทํารูปแบบจําลองของ

สิ่ งพิมพสํ์ าเร็จเพือ ่ ใช้ควบคุมการ พับและการจัดหน้า

• นิยมทําในขนาดยอส วน ่ ่ • ควรทําแบบละเอียดเพือ่ ให้

ผู้ปฏิบต ั งิ านและ ผู้ออกแบบสื่ อความหมายตรงกัน


การทําดัมมี่ (Dummy)

• จํานวน

ขนาด และรูปแบบของคอลัมน์ ในแตละหน ่ ้า

• ตําแหน่งการจัดวางขอความและภาพประกอบ ้ • การจัดวางตัวอักษร • การเน้นหัวเรือ่ ง การจัดวางยอหน ่ ้า • ลักษณะการพับ • การเก็บเลม่ / การเขาเล ้ ม ่ • รายละเอียดอืน่ ๆ ทีจ่ าํ เป็ นตอการจั ดทําสิ่ งพิมพ ์ ่


Dummy


3. การจัดเตรียมตนฉบั บสิ่ งพิมพ ์ ้ 3.1 การจัดเตรียมตนฉบั บขอความ
 ้ ้ 3.2 การจัดเตรียมตนฉบั บภาพ / กราฟิ ก ้


4. การจัดวางหน้าตนฉบั บสิ่ งพิมพ ์ ้ 4.1 การกําหนดโครงสรางและส ้ ่ วนประกอบตางๆ
 ่ ในหน้าสิ่ งพิมพ ์ 4.2 การจัดองคประกอบในหน ้ าสิ่ งพิมพ ์ ์


5. การจัดทําไฟลและตั วอยางต ่ ้นฉบับสิ่ งพิมพ ์ ์ 5.1 การจัดทําไฟลต บสิ่ งพิมพ ์ 
 ้ ์ นฉบั 5.2 การจัดทําตัวอยางต นฉบั บสิ่ งพิมพ ์ ่ ้


6. การตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพตนฉบั บกอนพิ มพ ์ ้ ่ 6.1 การนําเสนองานตนฉบั บสิ่ งพิมพ ์ ้ 6.2 การตรวจสอบ และควบคุมคุณภาพตนฉบั บ
 ้ สิ่ งพิมพ ์ 6.3 การส่งงานให้โรงพิมพ ์ และตรวจบรู๊ฟจาก
 โรงพิมพ ์


ขอมู ้ ล ดิจต ิ อล

เตรี ยมไฟล์ สาํ หรั บส่ งพิมพ์


การตรวจสอบไฟลข ้ ล (Preflight) ์ อมู


การจัดวางหน้าสํ าหรับทําแมพิ ่ มพ ์

(Imposition)


การทําปรู๊ฟดิจต ิ อล (Digital Proofing)


การทําฟิ ลมแยกสี ์

(Process Film Making)


การทําแมพิ ่ มพ ์ (Plate Making)


การทําปรู๊ฟแทน/ปรู ่ ๊ ฟแมพิ ่ มพ ์ (Plate Proofing)


ขัน้ ตอนการพิมพ์ (Press)


การเตรี ยมพิมพ์


ชนิดของกระดาษทีใ่ ช้ในงานพิมพ ์ 1. กระดาษปรู๊ฟ 2. กระดาษปอนด ์ 3. กระดาษอารต ์ 4. กระดาษเหนียว 5. กระดาษการด ์ 6. กระดาษกลอง ่ 7. กระดาษแข็ง 8. กระดาษแฟนซี 9. กระดาษถนอมสายตา 10.กระดาษกันปลอม 11.กระดาษรีไซเคิล 12.กระดาษสติกเกอร ์


ขนาดมาตรฐานของกระดาษสํ าหรับงานพิมพ ์ ขนาด 31 x 43 นิ้ว ขนาด 35 x 43 นิ้ว

สิ่ งพิมพบรรจุ ภณ ั ฑ์ ์

ขนาด 28 x 40 นิ้ว ขนาด 25 x 36 นิ้ว ขนาด 24 x 35 นิ้ว

สิ่ งพิมพทั ์ ว่ ไป หนังสื อ รวมถึง ขนาด 31 x 43 นิ้ว ดวย ้


การพิมพ์

ไดแก ้ ตอนการ ้ ่ ขัน ถายทอดภาพและข อความ ่ ้ จากแมพิ สดุพม ิ พ์ ่ มพลงบนวั ์ โดยใช้เครือ ่ งพิมพ ์


ระบบของการพิมพ์ ที่ผ้ ูประกอบการโรงพิมพ์ นิยมทํา ในปั จจุบนั


การพิมพ์ ออฟเซ็ท (Offset Printing) เป็ นการพิมพ์พนื ้ ราบ (Planographic Printing) ที่ใช้

หลักการนํา้ กับนํา้ มันไม่ รวมตัวกัน ในขัน้ แรกจะผ่ านลูกกลิง้ นํา้ เพื่อสร้ างเยื่อนํา้ ไปเกาะอยู่บนบริเวณ ไร้ ภาพของแผ่ นแม่ พมิ พ์ หลังจากนัน้ จะผ่ านลูกกลิง้ หมึกเพื่อรั บรั บหมึก หมึกจะไม่ เกาะนํา้ แต่ จะไป เกาะบริเวณที่เป็ นภาพ ภาพหมึกบนแม่ พมิ พ์ จะถูกถ่ ายลงบนผ้ ายางที่ไปกดทับแม่ พมิ พ์ แล้ วจึงถูกถ่ าย ลงบนกระดาษพิมพ์ อีกทีโดยกระดาษพิมพ์ จะไปกดทับผ้ ายาง การพิมพ์ ออฟเซ็ท ในปั จจุบันมีความทันสมัยมาก เครื่องพิมพ์ ออฟเซ็ท (Offset Press) สามารถผลิตงาน พิมพ์ ท่ มี ีคุณภาพสูงจนถึงสูงมาก เครื่องพิมพ์ ออฟเซ็ทมีหลายขนาด อีกทัง้ มีเครื่องพิมพ์ ที่พมิ พ์ เที่ยว ละ 1 สี 2 สี 4 สี 5 สี หรื อมากกว่ านัน ้ ตัวอย่ างงานพิมพ์ ออฟเซ็ท (Offset Pressworks) ที่พบบ่ อยมักเป็ นงานพิมพ์ บนกระดาษ เช่ น พิมพ์ แผ่ นพับ ใบปลิว หนังสือ วารสาร นิตยสาร โบรชัวร์ แคตตาล็อก บรรจุภณ ั ฑ์ กระดาษ งานพิมพ์ ใช้ ในสํานักงาน ฯลฯ โมแม่พิมพ์ โมยาง

โมกดพิมพ์


การพิมพ์ เลตเตอร์ เพรสส์ (Letterpress Printing) เป็ นการพิมพ์พนื ้ นูนที่ใช้ แม่ พมิ พ์

ทําจากโลหะผสมหรื อพอลิเมอร์ อย่ างหนากัดผิวจนเหลือส่ วนที่เป็ นภาพนูนสําหรั บรั บหมึกพิมพ์ แล้ ว ถ่ ายทอดลงบนวัสดุท่ ใี ช้ พมิ พ์ โดยใช้ วิธีกดทับ ในยุคก่ อนมีการใช้ ตัวอักษรโลหะ เป็ นตัวๆ มาจัดเรี ยงเป็ นข้ อความที่ต้องการ แล้ วใช้ เป็ นแม่ พมิ พ์ การพิมพ์ เลตเตอร์ เพรสส์ มีมานาน เก่ าแก่ มาก ในปั จจุบันมีการพิมพ์ ประเภทนีเ้ หลืออยู่น้อย เนื่องจากการทําแม่ พมิ พ์ ลาํ บาก และภาพพิมพ์ ท่ ไี ด้ ไม่ ค่อยสวยงาม ตัวอย่ างงานพิมพ์ ประเภทนีค้ ือ นามบัตร แบบฟอร์ ม ฉลาก กล่ อง ป้ายและงานพิมพ์ อ่ ืน ๆ ที่ไม่ ต้องการความละเอียดมาก


การพิมพ์ (ซิลค์ )สกรี น (Silkscreen Printing) เป็ นการพิมพ์พนื ้ ฉลุท่ใี ช้ หลักการพิมพ์โดย

ให้ หมึกซึมทะลุผ่านผ้ าที่ขึงตึงไว้ และให้ ทะลุผ่านเฉพาะบริเวณที่เป็ นภาพ สามารถพิมพ์ งาน สอดสีได้ ความละเอียดของภาพพิมพ์ ขนึ ้ อยู่กับความถี่ของเส้ นใยผ้ า สามารถพิมพ์ ลงบนวัสดุได้ หลากหลากชนิด ทัง้ กระดาษ ผ้ า ไม้ พลาสติก และพิมพ์ บนวัสดุท่ มี ีผิวโค้ งได้ ตัวอย่ างงานพิมพ์ ประเภทนีค้ ือ นามบัตร บรรจุภณ ั ฑ์ ต่างๆ ป้ายกระดาษ/พลาสติก/โลหะ ป้ายโฆษณา เสือ้ ผืนผ้ า ถุงพลาสติก ขวด จานชาม ชิน้ ส่ วนอุปกรณ์ ต่างๆ


การพิมพ์ ดจิ ติ อล (Digital Printing) เป็ นการพิมพ์ท่ใี ช้ เครื่องพิมพ์หรือพริน้ เตอร์ ต่อพ่วง

กับเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถสั่งพิมพ์ ได้ โดยตรงจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ หรือพริน้ เตอร์ ท่ ใี ช้ คือ เครื่องพิมพ์ องิ ้ ค์ เจ็ทขนาดเล็กและใหญ่ เครื่องพิมพ์ เลเซอร์ ความเร็วปกติจนถึง ความเร็วสูง เครื่องพิมพ์ ดจิ ติ อลใช้ หมึกประจุไฟฟ้า ตัวอย่ างงานพิมพ์ ประเภทนีค้ ือ งานพิมพ์ ท่ มี ี ปริมาณไม่ มาก เช่ น นามบัตร แผ่ นพับ ใบปลิว หนังสือ งานพิมพ์ ท่ มี ีการเปลี่ยนภาพหรื อ ข้ อความบ่ อยๆ เช่ น ไดเร็คเมล์ งานพิมพ์ ป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ (ใช้ เครื่องอิง้ ค์ เจ็ทขนาดใหญ่ )


การพิมพ์ เฟล็กโซกราฟี

(Flexography) เป็ นการพิมพ์ พนื ้ นูนที่ใช้ แผ่ นพอลิเมอร์

ที่มีความยืดหยุ่นที่ดีเป็ นแม่ พมิ พ์ โดยกัดส่ วนที่ไม่ รับหมึกเว้ าลึกลงไป การพิมพ์ ในระบบนี ้ ใช้ หลักการคล้ ายกับการพิมพ์ แบบเลตเตอร์ เพรส คือใช้ การกดทับ แต่ หมึกที่ใช้ จะเหลวกว่ าและใช้ ลูกกลิง้ ที่ทาํ ขึน้ เป็ นพิเศษทําหน้ าที่จ่ายหมึกในปริมาณที่สมํ่าเสมอให้ กับแม่ พมิ พ์ การพิมพ์ ประเภทนีไ้ ด้ รับการพัฒนาจนสามารถพิมพ์ ภาพสอดสีได้ แม้ คุณภาพงานพิมพ์ จะยังเทียบเท่ าการพิมพ์ แบบออฟเซ็ทไม่ ได้ แต่ กม็ ีใช้ ในสิ่งพิมพ์ หลายๆ ประเภท งานพิมพ์ ประเภท นีค้ ือ กล่ องลูกฟูก กล่ องกระดาษแข็ง ฉลาก ป้าย กล่ องกระดาษ กระดาษชําระ ถุง และซองพลาสติก และงานพิมพ์ สอดสี


การพิมพ์ กราวัวร์ (Gravure) เป็ นการพิมพ์พนื ้ ลึกที่ใช้ แม่ พมิ พ์ท่เี ป็ นร่ องลึกสําหรับ

บริเวณที่เป็ นภาพเพื่อเก็บหมึกแล้ วไว้ ปล่ อยลงบนผิวของชิน้ งานพิมพ์ คุณภาพของงานพิมพ์ ประเภทนีอ้ ยู่ในเกณฑ์ ท่ ดี ี แม่ พมิ พ์ แบบนีม้ ักเป็ นลูกกลิง้ ทรงกระบอก ทําด้ วยโลหะ ใช้ วิธีกัดผิวทรงกระบอกเป็ นหลุมตามบริเวณที่เป็ นภาพ จึงทํายากและใช้ เวลา อีกทัง้ มี ค่ าใช้ จ่ายสูง จึงเหมาะกับงานยาวๆ งานพิมพ์ ประเภทนีค้ ือ งานพิมพ์ ประเภทซองพลาสติกใส่ อาหารและขนม และงานพิมพ์ บนพลาสติกต่ างๆ งานพิมพ์ ในต่ างประเทศบางแห่ งมีการพิมพ์ แมกกาซีน หนังสือพิมพ์ และงานพิมพ์ บนกระดาษที่มีปริมาณพิมพ์ สูง


การพิมพ์ ประเภทอื่นๆ เช่ น การพิมพ์ โรเนียว หรือ การพิมพ์ สเตนซิล เป็ น

การพิมพ์ พนื ้ ฉลุซ่ งึ ใช้ กระดาษไขเป็ นแม่ พมิ พ์ ให้ หมึกตรงบริเวณที่เป็ นภาพ สามารถซึมทะลุมายังแผ่ นกระดาษที่ต้องการพิมพ์ การพิมพ์ แพด เป็ นการพิมพ์ พนื ้ ลึกซึ่งใช้ ยางนิ่มรับหมึกที่เป็ นภาพจากแม่ พมิ พ์ แล้ วกดทับบนชิน้ งานซึ่งมีพนื ้ ผิว รูปทรงต่ างๆ

โรเนียว ดิจติ อล

stencil wall

การพิมพ์ แพด


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ไดแก ้ ่ •

ขัน ้ ตอนการถายทอดภาพและ ่ ข้อความจากแมพิ สดุพม ิ พโดยใช ่ มพลงบนวั ้ ์ ์ เครือ ่ งพิมพ ์ ระบบการพิมพที ั มี 4 ์ ใ่ ช้ในปัจจุบน ระบบ คือ

• ระบบการพิมพพื์ น้ นูน • ระบบการพิมพพื์ น้ ราบ • ระบบการพิมพพื์ น้ ลึก • ระบบการพิมพซิ์ ลคสกรี น ์

(พืน ้ ฉลุลายผา) ้


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพพื์ น้ นูน (Relief Printing) ระบบการพิมพที ่ มพิ ่ ะใช้ ่ มพมี ์ แ ์ ส่วนทีจ พิมพเป็ ้ มาจากพืน ้ ์ นภาพนูนสูงขึน แมพิ ่ ูนสูงขึน ้ มาเมือ ่ ไดรั ่ มพ ์ ส่วนทีน ้ บ หมึกแลวจะสามารถพิ พมลงบนกระดาษ ้ ์ ไดโดยตรง มี 2 ระบบ ้

• ระบบเลตเตอรเพรส (Letterpress) ์ • ระบบเฟลกโซกราฟฟี (Flexography)


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบเลตเตอรเพรส ์

(Letterpress)

• แมพิ่ มพจะหล อขึ ้ ดวยโลหะผสม ่ น ้ ์ •

(alloy) การเรียงพิมพจั ์ ดทําโดยการนําตัวอักษร มาเรียงกันทีละตัวจนไดข ้ อความตาม ้ ต้องการ แลวนํ ้ าไปใช้พิมพบน ์ เครือ ่ งพิมพได ้ ์ โดยตรง เมือ ่ คลึงหมึกลงไป หมึกจะสั มผัสเฉพาะ ส่วนทีส ่ งู ขึน ้ มาเทานั ่ กดกระดาษที่ ่ ้น เมือ จะใช้พิมพลงไป หมึกจะติดกับ ์ กระดาษพิมพ ์ เกิดเป็ นภาพพิมพโดยตรง ์


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบเลตเตอรเพรส ์

(Letterpress)

• เครือ่ งพิมพชนิ (Platen ่ ์ ดแทนพลาเทน press)

• เครือ่ งพิมพชนิ ่ ์ ดแทนนอน cylinder press)

• เครือ่ งพิมพชนิ ์ ดโรตารี letter press)

( Flat-bed

(Web-fed rotary


Letterpress


A Cylinder Letterpress A Rotary Letterpress


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบเฟลกโซกราฟฟี (Flexography) • แมพิ่ มพเป็์ นแผนยางม วนติ ดโดยรอบ ่ ้

กับโมแมพิ ่ มพ ์ หมึกทีใ่ ช้เป็ นชนิดใส ไมเหนี ยวขน ่ ้ นํ้าหนักเบา สะดวกใน การทํางาน พิมพได ้ านวนมากโดย ์ จํ ไมต ย ่ นแมพิ ่ องเปลี ้ ่ มพ ์ ใช้ไดกั ้ บวัสดุ พิมพเกื ์ อบทุกชนิด


Flexography


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพพื์ น้ นูน (Relief Printing) • • • • •

เหมาะกับงานพิมพจํ ์ านวนน้อย

ใช้พิมพงานได ทุ ณภาพสูง ้ กประเภททีไ่ มต ่ องการคุ ้ ์ มาก

แก้ไขขอผิ ้ ดพลาดในการเรียงพิมพได ่ ์ ง้ าย ถ้าต้องพิมพจํ ย ่ นตัวพิมพโลหะบ อย ้ ่ ์ านวนมากตองเปลี ์ ไมสามารถให ่ ้รายละเอียดไดมาก ้ การพิมพสอดสี ทาํ ไดยากและไม สวยเท าระบบ ้ ่ ่ ์ ออฟเซต


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพพื์ น้ ราบ (Planographic Printing)

ระบบการพิมพที ั ษณะ ่ มพมี ์ ใ่ ช้แมพิ ์ ลก เป็นพืน ้ ผิวราบ คือ ส่วนทีเ่ ป็นภาพ และไมใช ยวกัน ่ ่ ภาพจะอยูในระนาบเดี ่ โดยทัว่ ไปนิยมเรียกวา่ ระบบการพิมพ ์ ออฟเซต (Offset)


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพพื์ น้ ราบ Printing)

(Planographic

• หลักการสรางแม พิ ้ ่ มพ ์

1. ใช้โลหะทําแมพิ ่ ามารถรับนํ้าไดดี ่ มพที ้ ์ ส

2. สารทีเ่ ป็ นตัวรับภาพต้องรับหมึกไดดี ้ รับ นํ้าไดยาก ้ 3. เคลือบผิวส่วนทีไ่ มใช ่ ้า เพือ ่ ่ ภาพดวยนํ ้ ไมให ่ ้หมึกสามารถจับติดได้


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพออฟเซต ์

(Offset)

เป็ นการพิมพที ่ ้องมีการถายทอดภาพจาก ่ ์ ต แมพิ ่ ่อหุ้มรอบ ่ มพ ์ ไปสู่ผ้ายางแบลงเก็ต ทีห โมยาง ( Blanket cylinder) กอน จากนั้นจะ ่ ถายทอดภาพลงบนกระดาษโดยแรงกดของโม ่ พิมพ ์ (Impression cylinder) ไมใช พิ ่ ่ การพิมพโดยตรงจากแม ่ มพสู ์ ์ ่ กระดาษ เหมือนระบบเลตเตอรเพรส ์


Offset Printing


งานพิมพ ์ (Press Work)

• สิ่ งพิมพที์ ค่ วรพิมพด์ วยระบบการพิ มพออฟเซต ้ ์ • งานพิมพที์ ม่ จี าํ นวนมาก (3000 แผนขึ ้ ไป) ่ น • มีภาพประกอบมาก เนื่องจากสามารถวางภาพ

ตามการออกแบบไดสะดวกกว า่ ภาพมีคุณภาพดี ้

• ตองพิ มพภาพสี ่ สี หรือตองพิ มพหลาย ๆ สี ้ ้ ์ ์ • มีการจัดทําอารตเวอร คที ่ งยากและต ุ่ องการ ้ ์ ์ ย ความประณีตสูง

• งานทีต่ องการคุ ณภาพและความรวดเร็ว ้


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพพื์ น้ ลึก Printing)

(Intaglio

ระบบการพิมพที ่ มพิ ่ ม พส ์ แ ์ ่ วนที่ เป็นภาพ เป็นรองลึ ก ลงไปจาก ่ พืน ้ ผิวของแมพิ ่ มพ ์ เช่น

• ระบบการพิมพกราเวี ยร ์ ์ printing)

(Gravure


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพกราเวี ยร ์ (Gravure printing) ์ แมพิ ่ มพทํ ้ ์ าดวยโลหะทองแดงทรงกระบอก (cylinder) ส่วนทีเ่ ป็ นภาพทีต ่ องการพิ มพจะถู กกัด ้ ์ โดยนํ้ากรดให้เป็ นบอ ่ หรือเซลลเล็ ์ ก ๆ จํานวนมาก ส่วนทีไ่ มใช จะไมถู ่ ่ ภาพ ่ กกัด ลึกลงไป แมพิ างหมึ กทีเ่ ป็ น ่ มพจะแช ่ อยูในอ ่ ่ ์ หมึกเหลวคลายนํ ้า เซลลที ้ ์ เ่ ป็ นส่วนของภาพจะ รับหมึกไว้ และจะมีแผนปาดหมึ ก (doctor blade) ่ ทําหน้าที่ ปาดหมึกส่วนเกินออกจากบริเวณ ทีไ่ มใช ่ ่ ภาพ


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพกราเวี ยร ์ (Gravure printing) ์

การพิมพ ์ การถายทอดหมึ กจะกระทํา ่ โดยตรงลงไปบนวัสดุทใี่ ช้พิมพ ์ โดย ใช้โมพิมพกดวั สดุทใี่ ช้พิมพให ์ ์ ้แนบกับ โมแมพิ ่ มพ ์ วัสดุทใี่ ช้พิมพจะป ่ ์ ้ อนอยาง ตอเนื ่องในลักษณะเป็ นมวน ความเร็ว ่ ้ ในการพิมพประมาณ 20000-30000 ์ รอบตอชั ่ โมง ใช้ไดกั ่ ว ้ บวัสดุการพิมพ ์ หลายชนิด


Gravure printing


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพกราเวี ยร ์ (Gravure printing) ์ • คุณภาพในการพิมพสู์ งทัง้ ตัวอักษรและ รูปภาพ

• เหมาะสํ าหรับงานพิมพจํ์ านวนมาก ๆ • คาใช าแมพิ างสู ง ่ ้จายในการทํ ่ ่ มพค ่ ้ ์ อนข • นิยมใช้พิมพบรรจุ ภณ ั ฑ์ ์ • ระบบทีใ่ ช้พิมพธนบั ตรคืออินทาลโย ์

(Intaglio) ซึง่ ใช้หมึกเหนียวกวาระบบกรา ่ เวียรมาก ์


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพซิ์ ลคสกรี น ์

(พืน ้ ฉลุลาย ผ้า) (Silk Screen or Screen Printing) ระบบการพิมพที ่ มพิ นสกรี น ่ มพทํ ้ ่ ์ แ ์ าดวยแผ ทีท ่ าํ จากเส้นใยละเอียด เส้นใยทีใ่ ช้อาจ ทําดวยสารพวกไนลอน (nylon) ดาครอน ้ (dacron) หรือ เส้นใยเหล็กกลาเล็ ้ ก ๆ ซึง่ ขึงตึงอยูบนกรอบ ่ สี่ เหลีย ่ ม แผนสกรี นจะถูกฉาบดวย ่ ้ สารไวแสง


งานพิมพ ์ (Press Work)

• ระบบการพิมพซิ์ ลคสกรี น ์ • การทําแมพิ่ มพ ์

1. ถายต ่ กแตงเรี วลงบนฟิ ลม ่ ้นฉบับทีต ่ ยบรอยแล ้ ้ ์

2. อัดฟิ ลมลงบนแผ นสกรี นทีฉ ่ าบดวยสารไวแสง ่ ้ ์ 3. ฉายแสงอัลตราไวโอเล็ ตความเขมสู ้ ้ ง

4. ลางแผ นสกรี น ส่วนทีเ่ ป็ นภาพจะเป็ นรูสกรีน ้ ่ โปรง่


งานพิมพ ์ (Press Work) • ระบบการพิมพซิ์ ลคสกรี น ์

การพิมพ ์ ใส่หมึกลงบนดานบนของแผ นสกรี น ้ ่ แลวใช กไปตลอดแผนสกรี น ้ ้แทงยางปาดหมึ ่ ่ หมึก จะไหลทะลุผานรู สกรีนลงไปติดบนวัสดุท ี่ ่ จะใช้พิมพ ์ ทีว่ างไวด าง ้ านล ้ ่

พิมพได อกหมึกพิมพให ้ บวัสดุทุกชนิดแตต ่ องเลื ้ ์ กั ์ ้ถูก กับวัสดุ

ใช้พิมพงานจํ านวนไมมาก เช่น โปสเตอร ์ เสื้ อยืด ่ ์ ฯลฯ


Screen Printing


ขัน้ ตอนหลังการพิมพ์ (Post Press)


เทคนิคการพิมพแบบพิ เศษ ์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

เคลือบวานิช เคลือบ UV เคลือบ PVC เงา เคลือบ PVC ดาน ้ เคลือบเงาเฉพาะจุด (Spot UV) ปั๊มไดคัต (Die cutting) ปั๊มนูน (Embossing) ปั๊มลึก (Debossing) ปั๊มฟอยลเงิ ์ น ( Foil/Hot stamping)


การเคลือบและตกแต่งผิว


การไดคัต


การเข้ ารูปเล่ม


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธไี สสันทากาว (Perfect bookbinding) • วีธกี าร 1. ไสสั นเพือ ่ ให้เกิดความขรุขระของสั นหนังสื อ และเพือ ่ เพิม ่ พืน ้ ผิวในการรับกาว 2. ทากาวในปริมาณทีเ่ หมาะสม 3. นําไปประกบกับปกหนังสื อโดยใช้แรงอัดเขา้ ช่วย


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธไี สสันทากาว (Perfect bookbinding) • ลักษณะเดน่

• สันหนังสื อเรียบสวย • เหมาะกับรูปเลมหนั งสื อทีไ่ มหนาหรื อบาง ่ ่ เกินไป (1.5”)

• เหมาะสํ าหรับการเก็บเลมแบบเรี ยงยกพิมพ ์ ่ ตามลําดับเริม ่ จากหน้าแรกไปหน้าสุดทาย ้


ไสสั นทากาว (Perfect bookbinding)


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธกี ารเย็บลวด (Stitching) • เป็ นวิธที งี่ ายและประหยั ดทีส ่ ุด ่ • เหมาะกับหนังสื อขนาดบางทีม่ จี าํ นวน หน้าไมมากนั ก (ไมเกิ ่ ่ น 1 “ หรือ 1 ยกพิมพ)์ : จุลสาร โบรชัวร ์ คาตาล็อก วารสารทัว่ ไป


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธกี ารเย็บลวด (Stitching) มี 2 วิธี

• การเย็บแบบมุงหลังคาหรือเย็บอก ( Saddle Stitching)

• การเย็บสัน (Stabbing) เหมาะกับ สิ่ งพิมพขนาด 0.55-1.55” ์


การเย็บแบบมุงหลังคา ( Saddle Stitching)


การเย็บสั น (Stabbing) การเย็บสันด้ านเดียว

การเย็บสัน สองด้ าน


เครือ ่ งเย็บหัวเดียวและเครือ ่ งเย็บ หลายหัว


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธใี ส่เกลียวลวด (Spiral wire binding)

• เป็ นการทําเลมด ทส ี่ ั นเป็ น ่ วยการเจาะรู ้

แนวกอนด วยขนาดและความถี ท ่ ี่ ่ ้ เหมาะสม แลวจึ ้ งใส่เกลียวลวดให้พอ หลวมทีจ ่ ะสามารถเปิ ดหน้าหนังสื อได้ อยางคล องตั ว ่ ่


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธใี ส่เกลียวลวด (Spiral wire binding) • เหมาะกับสิ่ งพิมพที์ ใ่ ช้กระดาษหนา ๆ เช่น เอกสารประกอบการ ฝึ กอบรม สมุดรายงาน สมุด แบบฝึ กหัดสํ าหรับเด็กในโรงเรียน


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธเี ย็บกี่ • ออกแบบมาสํ าหรับหนังสื อทีต่ องการความ ้

แข็งแรงทนทานสูง ซึง่ แตละยกจะถู กนํามา ่ เย็บเรียงซ้อนกันตามลําดับ มักเข้าเลมด ่ วย ้ ปกกระดาษแข็ง สั นเป็ นกระดาษแข็ง เคลือ ่ นไหวหลวม ๆ ไดด กการคลาย ้ วยหลั ้ ้ บานพับประตู สั นหนังสื อจะไมเกิ ่ ดรอยยน ่ ระหวางใช ่ ้งาน


วิธเี ย็บกี่


งานทําสํ าเร็จ (Finish or After Press Work)

• วิธเี ย็บกี่ • เทคนิคการเย็บ

ใช้ดายในลอน/ฝ าย ้ ้

1. แบบสมิธ (Smyth Sewing)

2. แบบเย็บกีด ่ านข าง (Side Sewing) หรือ ้ ้ แบบแมคเคน (Mc. Cain) หรือ แบบซิงเกอร ์ (Singer) 3. แบบเย็บกีม ่ ุงหลังคา (Saddle Sewing) 4. แบบเย็บกีล ่ ก ู ผสม (Oversewing)


วิธเี ย็บกี่ 1

3

2 1. เย็บกีแ ่ บบสมิธ 2. เย็บกีด ่ านข าง ้ ้ 3. เย็บกีม ่ ุง หลังคา


เครือ ่ งเย็บกีอ ่ ต ั โนมัตต ิ อพ วงกั บ ่ ่ สายพานลําเลียง















Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.