หน่วยการเรียนรู้ที่ 2_A122 จัดทำแบบร่างสิ่งพิมพ์

Page 1

หน่วยที่ 2 การออกแบบและจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์

หน่วยการเรียนรู้ที่ เรื่อง

2

การออกแบบ และจัดทำ�แบบร่างสิง่ พิมพ์

1


2

ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบสิ่งพิมพ์

ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ 1 : A121 ออกแบบ และจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์ เกณฑ์การปฏิบัติงาน

3.2 สร้างแบบร่างสิ่งพิมพ์ (เลย์เอาต์) และ/หรือดัมมี่สำ�หรับสิ่งพิมพ์ที่เป็นรูปเล่มได้อย่างเหมาะสม

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม

3.2.1 สามารถอธิบายความหมาย ความสำ�คัญและประเภทของแบบร่างสิ่งพิมพ์ / ดัมมี่ได้ 3.2.2 สามารถอธิบายขั้นตอนการจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์ / ดัมมี่ได้ 3.2.2 สามารถอธิบายวิธีการการจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์ / ดัมมี่ได้ 3.2.3 สามารถจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์ /ดัมมี่ได้

ความรู้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์

- แบบร่างหยาบย่อขนาด (Thumbnail layout) - แบบร่างหยาบ(Rough layout) - แบบร่างละเอียด/แบบร่างสมบูรณ์ (Comprehensive layout) - แบบโครงร่างของสิ่งพิมพ์ประเภทเล่ม (Dummy) ใช้ในกรณีสิ่งพิมพ์เป็นรูปเล่ม

- ความรู้จากหน่วยสมรรถนะที่ 1

ความรู้ที่จำ�เป็นก่อนการเรียนรู้

การประเมินผลก่อนเรียน และหลังเรียน

- ประเมินจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิก์ ารเรียนรู้ และผลงานรายบุคคลตามใบงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายและการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียน

- เรียนรู้จากใบเนื้อหา ทำ�แบบฝึกหัดในบทเรียน และจากใบงานแต่ละหน่วยการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียน


หน่วยที่ 2 การออกแบบและจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์

3

แบบร่างสิ่งพิมพ์ / ดัมมี่ - แบบร่างที่ดีควรมีการออกแบบตามโจทย์ความต้องการของเจ้าของงาน เพื่อให้ได้ข้อสรุปในเรื่องรูปแบบของสิ่งพิมพ์ ลักษณะการนำ�ไปใช้งาน งบ ประมาณที่ใช้ เวลาสำ�หรับการผลิต และกระบวนการผลิตที่สามารถรองรับงานดังกล่าว จากนั้นกำ�หนดลักษณะจำ�เพาะของงานให้เป็นรูปธรรมขึ้นมา ได้แก่ รูปทรงสำ�เร็จ ขนาด วัสดุที่ใช้พิมพ์ สี การจัดวางเนื้อหา ระบบการพิมพ์ วิธี การขึ้นรูปทรง แบบร่างสิ่งพิมพ์หรือเลย์เอ้าท์ (Layout) คือการจัดวางภาพ ตัวอักษรตลอดจนสิ่งประกอบอื่น ๆ เพื่อประกอบกันเป็นหน้าแต่ละหน้าของงานพิมพ์ อย่างคร่าว ๆ เพื่อเป็นแนวในการจัดทำ�ต้นฉบับงานพิมพ์ ใช้ทดสอบปฏิกิริยาต่อการดึงดูดและการนำ�สายตาของผู้ดูต่อสิ่งพิมพ์ที่จะเตรียมจัดทำ�ขึ้น ไม่มีกฎตายตัวในการจัดทำ�เลย์เอ้าท์ สิ่งที่ควรคำ�นึงถึงคือ เลย์เอ้าท์ที่ดีจะช่วยให้ผู้ดูผ่านสายตาไปบนงานพิมพ์ได้อย่างง่ายดาย มีความน่าสนใจ น่า ติดตาม แต่ถ้าเป็นไปในทางตรงข้ามคือผู้ดูต้องประสบกับความยากลำ�บากในการดูงานพิมพ์นั้น ก็อาจลงท้ายด้วยการเลิกดูไปเลย ในการทำ�เลย์เอ้ าท์นั้น ควรจัดลำ�ดับความสำ�คัญของสิ่งที่จะนำ�เสนอ ควรทำ�ให้สิ่งที่จะนำ�เสนอมีความชัดเจนและเรียงตามลำ�ดับความสำ�คัญ

การจัดทำ�เลย์เอาต์

เลย์เอาต์มีหลายรูปแบบ ตั้งแต่เป็นการร่างแบบเพื่อถ่ายทอดความคิดอย่างคร่าวๆ ไปจนถึงขั้นที่เป็นแบบร่างที่ค่อนข้างมีรายละเอียดคล้ายสิ่งพิมพ์ ที่พิมพ์เสร็จจริง ซึ่งเลย์เอาต์ในแต่ละรูปแบบนี้จัดทำ�ขึ้นด้วยวัตถุประสงค์และประโยชน์ที่แตกต่างกัน โดยมีลำ�ดับขั้นตั้งแต่การจัดทำ� เลย์เอาต์ย่อ ขนาด หรือร่างหยาบย่อขนาด (Thumbnail layout) ตามมาด้วย เลย์เอาต์หยาบ หรือแบบร่างหยาบ(Rough layout) ซึ่งมีรายละเอียดเพิ่มมาก ขึ้น และสุดท้ายคือ เลย์เอาต์ละเอียด หรือแบบร่างละเอียด/แบบร่างสมบูรณ์ (Comprehensive layout) ซึ่งมีรายละเอียดเกือบคล้ายผลงานที่ สมบูรณ์ ในบางครั้งอาจมีการทำ� ดัมมี่ (Dummy) คือแบบโครงร่างของสิ่งพิมพ์ประเภทเล่ม ใช้ในกรณีสิ่งพิมพ์เป็นรูปเล่ม อย่างไรก็ตาม ลำ�ดับขั้นตอนในการจัดทำ�เลย์เอาต์นี้ไม่ได้เป็นกฏตายตัวว่าจะต้องปฏิบัติให้ครบถ้วนทุกขั้นตอนในทุกกรณี ความจำ�เป็นในการจัด ทำ�เลย์เอาต์ว่าจะต้องจัดทำ�ในรูปแบบของขั้นตอนใดบ้างนั้นขึ้นอยู่กับผู้ที่ทำ�งานร่วมกัน ได้แก่ นักออกแบบและบรรณาธิการ ผู้บริหารหรือผู้เป็น เจ้าของสิ่งพิมพ์ว่าจะต้องการเลย์เอาต์ที่สมบูรณ์เพียงใด ทุกฝ่ายจึงจะเข้าใจได้ถึงรูปร่างหน้าตาของสิ่งพิมพ์นั้นว่าจะออกมาเป็นอย่างไรเมื่อเสร็จ สมบูรณ์สำ�หรับรายละเอียดของเลย์เอาต์ในขั้นตอนต่างๆ มีดังนี้ 1) เลย์เอาต์ย่อขนาด หรือร่างหยาบย่อขนาด (Thumbnail layout) เป็นรูปแบบหรือขั้นตอนแรกของการจัดทำ�เลย์ฌอาต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดองค์ประกอบเพื่อให้ได้ทางเลือกมากที่สุด โดยเลย์เอาต์ขนาดเล็กนี้จะมีลักษณะเป็นการร่างด้วยดินสอ หรือปากกา อย่างคร่าวๆ ในขนาดประมาณ 1 : 8 หรือ 1 : 4 ของขนาดสิ่งพิมพ์จริง เพื่อประโยชน์ในการศึกษาความหลากหลายในการปรับเปลี่ยนขนาดและ ตำ�แหน่งขององค์ประกอบ รวมทั้งใช้ในการพิจารณาด้วยว่าควรจะนำ�องค์ประกอบนั้นมาใช้หรือไม่ เมื่อได้เลย์เอาต์ย่อขนาดเป็นแบบร่างจำ�นวนมากเท่าที่เวลาจะอำ�นวยแล้ว ก็จะมาพิจารณาคัดเลือกแนวทางที่เห็นว่าสอดคล้องกับโจทย์ของการ ออกแบบที่ได้เขียนไว้ 2) เลย์เอาต์หยาบ หรือร่างหยาบ (Rough layout) เป็นพัฒนาการขั้นต่อไปของการจัดทำ�เลย์เอาต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปขนาด ตำ�แหน่งและ สัดส่วนขององค์ประกอบต่างๆ ในเลย์เอาต์วา่ มีความสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กันและกัน และต่อพืน้ ทีห่ น้ากระดาษอย่างไร โดยเลย์เอาต์หยาบนีจ้ ะมีลกั ษณะ เป็นการร่างด้วยดินสอหรือปากกาและอาจจะมีการลงสี หรือเอาภาพมาตัดปะลงไปบนเลย์เอาต์อย่างหยาบๆ ในขนาดประมาณครึง่ หนึง่ หรือเท่ากับ ขนาดของสิง่ พิมพ์จริง เลย์เอาต์หยาบนีม้ ปี ระโยชน์ในการนำ�เสนอความคิดให้ฝา่ ยต่างๆ ทีท่ �ำ งานร่วมกันได้ให้ความเห็น และในบางกรณีอาจรวมไป ถึงผู้บริหารหรือผู้เป็นเจ้าของสิ่งพิมพ์ด้วย เป็นการแปลงรูปแบบความคิดจากข้อแรกสู่รูปแบบที่มองเห็นได้ นิยมทำ�เป็นขนาดเล็กกว่าของจริง แต่ได้สัดส่วนทั้งรูปร่างและขนาด การทำ�แบบ ร่างหยาบอาจทำ�หลายชิ้น และหลายแบบเพื่อให้เจ้าของงานเลือก โดยเลือกทำ�เฉพาะหน้าสำ�คัญ เช่น หน้าปก และหน้าที่ขึ้นบทใหม่ หรือเรื่องใหม่ นอกจากนี้ ควรมีการกำ�หนดตำ�แหน่งตัวอักษร และภาพประกอบ ในการกำ�หนดตำ�แหน่งตัวอักษรนิยมใช้ตัวอักษรสมมติ (blind text) เช่น ตัว ก


4

ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบสิ่งพิมพ์

หรือ NO แทนส่วนที่เป็นข้อความทั้งหมด ภาพเลย์เอาต์ย่อขนาด หรือร่างหยาบย่อขนาด ใช้โดยนักออกแบบเองเพื่อระดมหาความคิดที่เป็ฯไปได้ในการออกแบบ ภาพเลย์เอาต์หยาบ หรือร่างหยาบ ใช้เพื่อให้บุคลากรในองค์กรร่วมกันเลือกความคิดที่เหมาะสมเพื่อนำ�เสนอผู้มีอำ�นสจในการตัดสินใจ เลย์เอาต์ละเอียด หรือแบบร่างละเอียด/แบบร่างสมบูรณ์ (Comprehensive layout) เป็นพัฒนาการขั้นสุดท้ายของการจัดทำ�เลย์เอาต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำ�หนดขนาด ตำ�แหน่งและสัดส่วนที่แน่นอนขององค์ประกอบต่างๆ ใน เลย์เอาต์ โดยเลย์เอาต์สมบูรณ์นี้จะมีลักษณะเป็นการวาดหรือเป็นการพิมพ์แบบจากคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงสิ่งพิมพ์จริงมากที่สุด ส่วน ประกอบทีเ่ ป็นข้อความขนาดใหญ่ควรจะเป็นข้อความจริงทีพ่ มิ พ์ดว้ ยแบบตัวอักษรและขนาดตัวอักษรทีจ่ ะใช้จริง มักจะจัดทำ�ในขนาดเท่ากับขนาด ของสิ่งพิมพ์จริง เพื่อประโยชน์ในการนำ�เสนอความคิดให้ผู้บริหารหรือผู้เป็นเจ้าของสิ่งพิมพ์ที่ไม่คุ้นเคยกับการดูเลย์เอาต์หยาบสามารถดูได้เข้าใจ ภาพเลย์เอาต์สมบูรณ์ ใช้เพื่อนำ�เสนอลูกค้าหรือผู้ที่มีอำ�นาจตัดสินใจ ดัมมี่ เป็นแบบจำ�ลองที่เกือบเหมือนจริงของสิ่งพิมพ์ที่มีหลายๆ หน้า เช่น หนังสือ นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ การทำ�ดัมมี่นี้อาจจะทำ�ในขนาดที่ เท่ากับสิ่งพิมพ์นั้นๆ หรือในขนาดที่เล็กกว่าของจริงก็ได้ ขึ้นอยู่กับขนาดของสิ่งพิมพ์ เช่น ดัมมี่ของหนังสือพ็อกเก็ตบุ๊คอาจจะทำ�เท่ากับขนาดของ หนังสือ แต่ดัมมี่ของหนังสือภาพขนาดใหญ่อาจจะทำ�เพียงเศษหนึ่งส่วนสี่เท่า หรือเล็กกว่านั้นก็ได้ การจัดทำ�ดัมมี่นี้จะช่วยในการดำ�เนินการได้ใน หลายๆ ส่วน กล่าวคือ จะช่วยให้ได้ทราบถึงเนื้อที่ของส่วนต่างๆ เช่น ส่วนที่เป็นโฆษณา และส่วนที่เหลือเป็นเนื้อเรื่อง นอกจากนี้ยังช่วยให้เห็นภาพ รวมของสิง่ พิมพ์นนั้ ว่าเมือ่ นำ�หน้าต่างๆ มาเรียงกันตามลำ�ดับแล้ว มีความต่อเนือ่ งดังทีไ่ ด้ตงั้ ใจไว้หรือไม่ การทำ�ดัมมีย่ งั ช่วยป้องกันการผิดพลาดต่างๆ ในขั้นการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียงหน้า ภาพดัมมี่ใช้กับสิ่งพิมพ์ที่มีหลายๆ หน้ารวมกัน เป็นรูปเล่ม เป็นเลย์เอาต์ที่ใช้เพื่อนำ�เสนอลูกค้า หรือผู้ที่มีอำ�นสจตัดสินใจ และเพื่อให้ผู้พิมพ์ใช้เป็น ตัวอย่างในการจัดเรียงหน้า เลย์เอาต์ที่ได้รับเลือกในขั้นสุดท้าย จะเป็นต้นแบบในการนำ�ไปทำ�อาร์ตเวิร์ก ซึ่งจะนำ�ไปใช้ในการพิมพ์ อาร์ตเวิร์กเป็นต้นแบบที่มีรายละเอียดถูก ต้องครบถ้วนตามที่จะปรากฏจริงในสิ่งพิมพ์ ++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++ การทำ� LAY OUT โดยทั่วไปจะใช้คำ�ว่าเลย์เอาต์ (Lay Out) เพื่อสื่อความหมายในการออกแบบทางการพิมพ์ได้ 2 นัย โดยนัยแรกหมายถึง แบบร่างที่นักออกแบบจะ สร้างขึ้นตามแนวคิดทางการออกแบบที่เกิดในจินตนาการให้ออกมาเป็นรูปธรรม เพื่อนำ�เสนอลูกค้าพิจารณาและตกลงยอมรับก่อนที่จะใช้เป็นต้น แบบในการจัดทำ�อาร์ตเวิร์กต่อไป ขั้นตอนของการจัดทำ�เลย์เอาต์นี้ก็อาจเรียกว่า การเลย์เอาต์ได้ จึงเป็นความหมายอีกนัยหนึ่งของเลย์เอาต์ ขั้นจัดทำ�เลย์เอาต์ขนาดจิ๋ว ขั้นจัดทำ�เลย์เอาต์ขนาดจิ๋วหรือที่เรียกว่า ธัมเนลสเก็ตซ์ (Thumnail Sketch) เป็นขั้นของการร่างแนวความคิดเบื้องต้น จากข้อมูลต่างๆที่ได้ จากการศึกษาข้อมูล โดยร่างส่วนประกอบต่างๆที่จะปรากฏบนปกเอกสารการร่างนี้เป็นดินสอคร่าวๆที่ยังไม่ลง รายละเอียดมากนัก เพือ่ แสดงตำ�แหน่งของชือ่ เอกสารการสอน ภาพประกอบ และข้อความอืน่ ๆ การร่างเลย์เอาต์ขนาดจิว๋ นีอ้ าจจะร่างบ นกระดาษ ขนาดใดก็ได้ โดยมากจะร่างในขนาดที่เล็กกว่างานพิมพ์จริงมาก เพียงแต่ยังคงสัดส่วนที่ถูกต้องไว้ ประโยชน์ของการจัดทำ�เลย์เอาต์ขนาดจิว๋ ก็คอื การถ่ายทอดความคิดแรกออกมาได้ทนั ที รวดเร็ว และประหยัด สามารถทดลอง ร่างมาหลายๆแบบ เป็นการร่างคร่าวๆที่ทำ�ได้เร็ว นักออกแบบจึงมีอิสระในการออกแบบ เมื่อเกิดความคิดใหม่ๆขณะร่างแบบก็สามารถ ร่างแบบเลย์เอาต์ใหม่ได้ทันที


หน่วยที่ 2 การออกแบบและจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์

5

ขั้นจัดทำ�เลย์เอาต์หยาบ เมื่อได้เลย์เอาต์ขนาดจิ๋วมาหลายๆแบบ นักออกแบบก็พิจารณาเลือกบางแบบที่เห็นว่าเหมาะสมมาปรับปรุงให้มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นเป็น เลย์ เอาต์หยาบโดยจะมีขนาดที่ใหญ่ขึ้น หรืออาจมีขนาดเท่ากับงานพิมพ์จริง ชื่อเอกสารการสอนก็จะร่างเป็นแบบตัวอักษรชัดเจนขึ้น รายละเอียดของ ภาพประกอบมีมากขึ้น ตำ�แหน่งของการจัดวางส่วนประกอบต่างๆๆจะชัดเจนแน่นอนมากขึ้น การร่างบนเลย์เอาต์หยาบอาจใช้ดินสอที่มีใส้ เกรดต่างๆเพื่อแสดงน้ำ�หนักสีของส่วนประกอบต่างๆจะชัดเจน แน่นอนมากขึ้น การร่างบนเลย์เอาต์หยาบอาจใช้ดินสอที่มีใส้เกรดต่างๆเพื่อแสดง น้ำ�หนักสีของส่วนประกอบ เช่นไส้เกรด HB สำ�หรับเส้นบาง ซึ่งต้องการน้ำ�หนักสีอ่อน ไส้เกรด 2B สำ�หรับเส้นเข้มหนาซึ่งต้องการน้ำ�หนักสีเข้ม มากขึ้น และอาจมีการใช้ปากกาสีเพิ่มเติม รายละเอียดส่วนที่เป็นสีได้ การจัดทำ�เลย์เอาต์หยาบจะเป็นการร่างเพื่อให้เห็นลักษณะที่จะนำ�ไปใช้งาน ต่อไปมากกว่าจะเป็น การทดลองออกแบบ ขั้นจัดทำ�เลย์เอาต์สมบูรณ์ ขั้นจัดทำ�เลย์เอาต์สมบูรณ์ เป็นขั้นของการทำ�เลย์เอาต์หยาบซึ่งพิจารณาแล้วว่าเหมาะสมที่สุดมาปรับปรุงให้มีความชัดเจน มีรายละเอียดที่ สมบูรณ์มากขึ้น จนมีลักษณะใกล้เคียงกับผลงานพิมพ์สำ�เร็จมากที่สุดเพื่อใช้นำ�เสนอผู้ว่าจ้างหรือลูกค้า ส่วนที่เป็น ตัวอักษรของข้อความต่างๆก็จะ มีการวาดหรือเรียงพิมพ์ในแบบและขนาดตัวอักษรเหมือนกับอักษรที่จะปรากฏ บนสิ่งพิมพ์สำ�เร็จ สำ�หรับภาพประกอบต่างๆก็จะมีการวาดและ ระบายสีให้มีลักษณะเหมือนจริง ถ้ามีภาพจริงอยู่แล้วก็อาจจะสำ�เนาภาพนั้นติดบน เลย์เอาต์ การจัดวางส่วนประกอบต่างๆก็จะจัดลงในตำ�แหน่งจริง มีการลงสีต่างๆที่ต้องการให้พิมพ์จริงบน สิ่งพิมพ์ ขนาดเลย์เอาต์ ์ก็จะ เป็นขนาดเท่ากับสิ่งพิมพ์จริง การจัดทำ�เลย์เอาต์เป็นกระบวนการทางศิลปะที่มีความซับซ้อน นักออกแบบผู้จัดทำ�เลย์เอาต์แต่ละคนอาจจะมีเทคนิคเฉพาะของตนเอง เช่นบาง คนอาจจะทำ�งานตามขั้นตอนครบทุกขั้นตอน แต่บางคนอาจจะสร้างตำ�แหน่งของภาพและตัวอักษรในความคิด แล้วลงมือจัดทำ�เลย์เอาต์สำ�หรับ สิ่งพิมพ์จึงไม่จำ�เป็นต้องจัดทำ�ตามขั้นตอนดังกล่าวตามลำ�ดับก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นกับสถานการณ์ของการออกแบบ เทคนิคการทำ�งานของนักออกแบบ วัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้าง ค่าใช้จ่ายในการจัดทำ�สมัยนิยม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ ดัมมี่ (Dummy) ความหมายของคำ�ว่า “ ดัมมี่” ในการจัดทำ�สิ่งพิมพ์” ดัมมี่” มีความหมายเป็น 2 นัย คือนัยหนึ่ง “ ดัมมี่” มีความหมายเช่นเดียวกับคำ� “ เลย์เอาต์” คือเป็นต้นแบบการ จัด วางหน้าสิ่งพิมพ์ แต่คำ�ว่า “ ดัมมี่” มักนิยมใช้กับสิ่งพิมพ์จำ�พวกหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร ส่วนค่าว่า “เลย์เอาต์” มักนิยมใช้กับสิ่งพิมพ์ จำ�พวกหนังสือเล่ม และสิ่งพิมพ์อื่นๆ ที่มิใช่หนังสือพิมพ์กับ นิตยสาร-วารสาร ข. นัยที่สอง “ดัมมี่” หมายถึง “ แบบจำ�ลองสิ่งพิมพ์” ที่แสดงรายละเอียด ขององค์ประกอบต่างๆองค์ประกอบสำ�คัญของหน้าการลำ�ดับ เนื้อหา ลักษณะการพับ การเก็บเล่มและแสดงรายละเอียดอื่นๆเพื่อให้เป็นต้นแบบในการจัดทำ�สิ่งพิมพ์นั้นๆ เพื่อให้ผทู้ ี่เกี่ยวข้องกับการผลิตสิง่ พิมพ์ในทุกขั้นตอน สามารถเข้าใจถูกต้องตรงกันและเป็นไปตามแบบทีผ่ ู้ออกแบบสิ่งพิมพ์ตอ้ งการ ผูอ้ อกแบบ ควรจะได้จดั ทำ�ดัมมี่ เพือ่ แสดงลักษณะจำ�ลองของสิง่ พิมพ์ทอี่ อกแบบไว้แล้วนัน้ ทัง้ เล่ม โดยอาจจะทำ�แบบย่อส่วน หรือขนาดเท่าของจริงก็ได้ แต่ตอ้ ง ให้มีรายละเอียดสมบูรณ์เพื่อที่จะให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าใจได้ถูกต้องและสามารถปฏิบัติงานไปได้อย่างราบรื่น ข้อแนะนำ�ในการทำ�เลย์เอ้าท์ 1. ศึกษาภาพรวมของงาน สิง่ พิมพ์ทกี่ ำ�ลังจัดทำ�ขึน้ อาจเป็นส่วนหนึง่ ของงานทัง้ หมด เช่นแผ่นพับโฆษณาสินค้าชิน้ หนึง่ อาจเป็นส่วนหนึง่ ของสือ่ การ โฆษณาอื่น ๆ อาทิเช่น สื่อทีวี หนังสือพิมพ์ วิทยุ ฯลฯ ดังนั้นการออกแบบสิ่งพิมพ์จึงควรดูภาพรวมของงานทั้งหมด เพื่อให้ชิ้นงานพิมพ์ออกมาสอด คล้อง เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับสื่ออื่น ๆ รวมทั้งให้คำ�นึงถึงภาพลักษณ์ และวัตถุประสงค์ของการจัดทำ� 2. จัดหมวดหมู่ของเนื้อหา สิ่งพิมพ์ที่เป็นเล่ม เช่น หนังสือ โบรชัวร์ แคตตาล็อก จำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องทำ�การแบ่งหมวดหมู่ของเนื้อหา แยกเป็น


6

ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบสิ่งพิมพ์

บท ๆ แต่ละบทจัดส่วนต่าง ๆ ของเนื้อหา ภาพประกอบ ให้เป็นหมวดหมู่เป็นกลุ่มเป็นก้อน คำ�นวณจำ�นวนหน้าสำ�หรับแต่ละบท รวมจำ�นวนหน้า ทั้งหมดประกอบกันเป็นเล่ม สำ�หรับงานพิมพ์ที่เป็นชิ้น เช่น แผ่นพับ ใบปลิว โปสเตอร์ ก็ต้องจัดกลุ่มเนื้อหา ภาพประกอบ ให้เป็นหมวดหมู่เป็นก ลุ่มเป็นก้อนเช่นกัน 3. สร้างโครงแบบหรือกริด (Grid) หนึ่งในวิธีการออกแบบสิ่งพิมพ์ที่นิยมใช้กัน คือใช้กริดช่วยในการออกแบบ เริ่มจากการจัดทำ�โครงแบบซึ่ง ประกอบด้วยเส้นในแนวตั้งและแนวนอนเป็นผังสำ�หรับวางเนื้อหา ภาพประกอบและองค์ประกอบอื่น ๆ ของแบบ (รายละเอียดของกริดจะกล่าว ในหัวเรื่องถัดไป) 4. ลงรายละเอียดแต่ละหน้า เมื่อได้โครงแบบ ก็สามารถทำ�การออกแบบแต่ละหน้า - จัดทำ�จุดสนใจหลักให้โดดเด่นโดยขยายขนาดให้ใหญ่ ใช้ภาพประกอบที่น่าสนใจ รำ�ลึกเสมอว่าจะต้องให้ผู้ดูเห็นเป็นสิ่งแรกเมื่อมองมาที่สิ่งพิมพ์ หน้านั้น ส่วนสิ่งที่ไม่สำ�คัญหรือรายละเอียดให้มีขนาดเล็ก - ตำ�แหน่งที่เป็นจุดสนใจจุดแรกของหน้าจะอยู่ด้านบนซ้าย จึงเป็นที่ๆเหมาะสมในการวางส่วนสำ�คัญหลักของข้อมูล - เลือกใช้สีในการเน้นข้อความที่สำ�คัญ ทดสอบการใช้สีสด ๆ บนพื้นดำ� สีคู่ สีตรงข้าม ฯลฯ - พิจารณาในการตัดขอบ (Crop) ภาพประกอบให้ภาพนั้นดูน่าสนใจขึ้น ดูดีขึ้น - ใช้เส้นในรูปแบบต่าง ๆ ตลอดจนใส่กรอบให้กับภาพเท่าที่จำ�เป็น การใช้เส้นสายมากจะทำ�ให้ดูรกและรบกวนสายตา ควรมีแนวคิดให้ใช้เส้นสาย และกรอบภาพให้น้อยที่สุดแต่สามารถทำ�ให้งานออกมาดูดี - การดำ�เนินจัดทำ�แบบแต่ละหน้าสำ�หรับงานประเภทหนังสือ นิตยสาร โบรชัวร์ แคตตาล็อก ควรมีการวางแผนให้สอดรับกันทั้งเล่ม อาจมีความ แตกต่างบ้างเพื่อความไม่จำ�เจ แต่ไม่ควรมีความต่างกันอย่างสิ้นเชิง และให้วางรูปแบบเป็นหน้าคู่ที่ติดกันแทนที่จะคิดเป็นหน้าเดี่ยว ๆ - ควรมีความรู้ความเข้าใจในข้อจำ�กัดต่าง ๆ ของการพิมพ์เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่อาจเกิดขึ้น (ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ ข้อคิดในการออกแบบสิ่งพิมพ์) ทักษะในการจัดทำ�เลย์เอ้าท์สามารถฝึกฝนได้ โดยศึกษาจากผลงานที่มีชื่อเสียง เช่น หนังสือรวบรวมผลงานการออกแบบ (โดยส่วนใหญ่เป็น หนังสือที่จัดทำ�จากต่างประเทศ) นิตยสารต่าง ๆ ที่มีจำ�หน่ายตามแผงหนังสือซึ่งก็มีนิตยสารหลาย ๆ หัวก็มีการจัดแบบได้ดีโดยเฉพาะหน้าโฆษณา นอกจากนี้ยังสามารถค้นคว้าหรือดูตัวอย่างจากเวปต่าง ๆ ผ่านทางอินเตอร์เน็ต

ขั้นตอนการจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์ / ดัมมี่ การจัดเลย์เอ้าท์โดยใช้กริด กริด (Grid) กริด (Grid) คือตารางของเส้น (โดยส่วนใหญ่เส้นเหล่านีจ้ ะไม่ปรากฏให้เห็นในชิน้ งานพิมพ์จริง) ทีจ่ ดั อย่างเป็นแบบแผนใช้เพือ่ เป็นโครงในการกำ�หนด ตำ�แหน่ง ขอบเขตบริเวณสำ�หรับบรรจุภาพ เนื้อหา ช่องว่างเปล่าและส่วนประกอบต่าง ๆ ในการจัดรูปแบบแต่ละหน้าของงานพิมพ์ การสร้างกริด เป็นพืน้ ฐานของสือ่ สิง่ พิมพ์แทบทุกรูปแบบเพือ่ จัดรูปร่างของเนือ้ หาให้อยูใ่ นสัดส่วนทีส่ วยงาม แม้วา่ จะมีผกู้ ล่าวว่าการใช้กริดทำ�ให้จ�ำ กัดความอิสระ ในการออกแบบ แต่การใช้กริดเป็นการวางโครงแบบหลวม ๆ เป็นเครือ่ งมือในการทำ�งานโดยเฉพาะงานออกแบบเป็นชุดเป็นเล่มทีต่ อ้ งการความต่อ เนื่อง ความเป็นเอกภาพ ผู้ใช้สามารถพลิกแพลงแบบได้ตลอดเวลา ไม่มีกฎบังคับให้องค์ประกอบต่าง ๆ อยู่แต่เพียงภายในกรอบที่จัดไว้ แต่ให้ดูผล งานสุดท้ายเป็นหลัก การใช้กริดไม่ใช่สิ่งใหม่ นักออกแบบและศิลปินได้ใช้โครงสร้างกริดกันมานานนับศตวรรษแล้ว


หน่วยที่ 2 การออกแบบและจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์

7

ช่องต่าง ๆ ของกริดในหน้าออกแบบ

มาร์จิ้น/ช่องว่างรอบขอบกระดาษ (margins) มาร์จิ้นคือช่องว่างที่อยู่ระหว่างขอบของพื้นที่ทำ�งานซึ่งมีตัวอักษรหรือภาพปรากฏอยู่กับขอบของ กระดาษทัง้ สีด่ า้ น ความกว้างจากขอบกระดาษของช่องว่างนีไ้ ม่จ�ำ เป็นต้องเท่ากันทัง้ สิด่ า้ นแต่ควรเป็นแบบแผนเดียวกันทุก ๆ หน้าในเล่มเพือ่ ความต่อ เนือ่ ง มาร์จนิ้ เป็นจุดพักสายตา แต่สามารถใช้เป็นทีใ่ ส่เลขหน้า หัวเรือ่ ง คำ�อธิบายต่าง ๆ หรือบทความขยายสัน้ ๆ และอาจใช้เป็นทีด่ งึ ดูดความสนใจ โมดูล/หน่วยกริด (Module/Grid Units) โมดูลคือช่องทีเ่ กิดจากการแบ่งหน้าออกแบบด้วยเส้นกริดตามแนวตัง้ และแนวนอนออกเป็นส่วน ๆ สำ�หรับ กำ�หนดใช้เป็นพื้นที่ใส่ตัวอักษรหรือภาพ การแบ่งส่วนระหว่างโมดูลจะมีการเว้นช่องว่างไว้ไม่ให้โมดูลติดชิดกัน อนึ่งการใช้พื้นที่ในการวางตัวอักษร หรือภาพไม่จำ�เป็นต้องถูกจำ�กัดอยู่ภายในแต่ละโมดูล แต่สามารถกินพื้นที่หลาย ๆ โมดูล อาล์ลีย์/ช่องว่างระหว่างโมดูล (Alleys) อาล์ลีย์คือช่องว่างระหว่างโมดูลที่ติดกัน ช่องว่างดังกล่าวอาจทอดยาวเป็นแนวตั้ง หรือแนวนอน หรืออาจ เป็นทั้งแนวตั้งและแนวนอนก็ได้ ช่องว่างนี้มีผู้เรียกอีกชื่อว่า “กัตเตอร์ (Gutter)” อาล์ลีย์แต่ละแนวอาจมีความกว้างที่ต่างกันในหน้าหนึ่ง ๆ ก็ได้ แล้วแต่ผู้ออกแบบ อาล์ลีย์/ช่องว่างระหว่างโมดูล (Alleys) อาล์ลีย์คือช่องว่างระหว่างโมดูลที่ติดกัน ช่องว่างดังกล่าวอาจทอดยาวเป็นแนวตั้ง หรือแนวนอน หรืออาจ เป็นทั้งแนวตั้งและแนวนอนก็ได้ ช่องว่างนี้มีผู้เรียกอีกชื่อว่า “กัตเตอร์ (Gutter)” อาล์ลีย์แต่ละแนวอาจมีความกว้างที่ต่างกันในหน้าหนึ่ง ๆ ก็ได้ แล้วแต่ผู้ออกแบบ กัตเตอร์/ช่องว่างระหว่างหน้าตามแนวพับ (Gutters) กัตเตอร์ คือช่องว่างระหว่างโมดูลของหน้าสองหน้าที่ต่อกันโดยมีแนวพับอยู่ตรงกลาง ในการ


8

ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบสิ่งพิมพ์

ออกแบบหน้าหนังสือ ให้ระวังอย่าให้ความกว้างของกัตเตอร์แคบเกินไปจนทำ�ให้ข้อความตามแนวสันหนังสือขาดหายหรืออ่านลำ�บาก คอลัมน์/แถวในแนวตั้ง (Columns) คอลัมน์คือโมดูลที่ต่อ ๆ กันในแนวตั้ง ซึ่งช่องว่างระหว่างคอลัมน์ก็คืออาล์ลีย์/กัตเตอร์นั่นเอง ในหน้าออกแบบ หนึ่งหน้าสามารถแบ่งคอลัมน์ได้กี่แถวก็ได้ และความกว้างของแต่ละคอลัมน์ก็ไม่จำ�เป็นต้องเท่ากันแล้วแต่ผู้ออกแบบ คอลัมน์/แถวในแนวตั้ง (Columns) คอลัมน์คือโมดูลที่ต่อ ๆ กันในแนวตั้ง ซึ่งช่องว่างระหว่างคอลัมน์ก็คืออาล์ลีย์/กัตเตอร์นั่นเอง ในหน้าออกแบบ หนึ่งหน้าสามารถแบ่งคอลัมน์ได้กี่แถวก็ได้ และความกว้างของแต่ละคอลัมน์ก็ไม่จำ�เป็นต้องเท่ากันแล้วแต่ผู้ออกแบบ โรว์/แถวในแนวนอน (Rows) โรว์คือโมดูลที่ต่อ ๆ กันในแนวนอนซึ่งต่างจากคอลัมน์ที่ต่อกันในแนวตั้ง และถูกแบ่งแยกจากกันด้วยอาล์ลีย์/กัตเตอร์ เช่นกัน สเปเชียวโซน/พื้นที่ครอบคลุม (Spatial Zones) สเปเชียวโซนคือกลุ่มของโมดูลที่ต่อติดกันทั้งแนวตั้งและแนวนอนทำ�ให้เกิดพื้นที่ที่ใหญ่ขึ้น ถูกนำ� ไปใช้ในการแสดงข้อมูลโดยใส่เป็นข้อความตัวอักษร หรือภาพก็ได้ โฟลว์ไลน์/แฮงไลน์/เส้นขวาง (Flowlines/Hanglines) โฟลว์ไลน์คือเส้นแบ่งในแนวนอน ใช้เหนี่ยวนำ�สายตาจากส่วนหนึ่งไปอีกส่วนหนึ่ง หรือเป็น ตัวคั่นเมื่อจบเรื่องราว/ภาพหนึ่งและกำ�ลังขึ้นต้นเรื่องราว/ภาพอีกชุดหนึ่ง มาร์คเกอร์/ตัวชีต้ �ำ แหน่ง (Markers) มาร์คเกอร์คอื เครือ่ งหมายทีก่ �ำ หนดตำ�แหน่งบริเวณไว้ส�ำ หรับใส่ขอ้ ความสัน้ ๆ ทีร่ ะบุหมวดหมู่ หัวเรือ่ งทีเ่ ปลีย่ น ไปเรื่อย ๆ มักมีตำ�แหน่งเดียวในแต่ละหน้า ระบบกริด (Grid System) ระบบกริด คือรูปแบบของกริดที่ใช้เป็นแม่แบบในการจัดทำ�จัดเลย์เอ้าท์โดยสามารถตกแต่งดัดแปลงเพิ่มเติมจนได้แบบหลาย ๆ แบบที่ดูแตกต่าง กันแต่ยังคงเคล้าโครงของกริดต้นแบบไว้ได้ ซึ่งยังผลให้แบบต่าง ๆ ที่ได้มีความเป็นเอกภาพ มีความเกี่ยวเนื่องกัน มีความสอดคล้องกัน มีความ เหมือนในบางประการ สิง่ พิมพ์ประเภท โบรชัวร์ นิตยสาร รายงานประจำ�ปี หนังสือ มักจะมีแบบจัดหน้าแต่ละหน้าทีด่ มู คี วามคล้ายกัน เช่น มีจ�ำ นวนคอลัมน์เท่ากัน หัวเรือ่ ง ภาพประกอบ ตำ�แหน่งเลขหน้า แบบเดียวกันหรือคล้ายกัน ด้วยการสร้างระบบกริดทำ�ให้สะดวกสำ�หรับผู้ออกแบบในการจัดหน้าต่าง ๆ ในเล่มได้ รวดเร็วขึ้น อนึ่งการออกแบบระบบกริดที่สามารถใช้พลิกแพลงเป็นแบบต่าง ๆ ได้เป็นศิลปะอันหนึ่ง ระบบกริดที่ดีทำ�ให้งานออกมาดูดีมีรูปแบบที่ หลากหลาย ในขณะเดียวกันระบบกริดที่ไม่ดีหรือซับซ้อนเกินไปทำ�ให้ใช้ยากและจำ�กัดการเสนอรูปแบบที่ต่างออกไป ทำ�ให้รูสึกขาดความอิสระได้ รูปแบบต่าง ๆ ของกริด (Grid types) รูปแบบพื้นฐานของกริดมีอยู่ 4 ประเภท รูปแบบพื้นฐานทั้งสี่แบบนี้สามารถนำ�ไปพัฒนาสร้างแบบทั้งที่เรียบง่ายจนถึงแบบที่พลิกแพลงซับซ้อนขึ้น

1. เมนูสคริปต์กริด (Manuscript Grid) เป็นกริดที่มีโครงสร้างเรียบง่ายเป็นบล็อกใหญ่บล็อกเดียวหรือคอลัมน์เดียว มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า บล็อกกริด (Block Grid) โดยทั่วไป รูปแบบกริดประเภทนี้ใช้กับสิ่งพิมพ์ที่มีแต่เนื้อหาเป็นหลัก เช่น หนังสือนวนิยาย ตำ�รา จดหมายข่าว ฯลฯ แต่ก็สามารถนำ� ภาพมาวางประกอบ แม้จะเป็นรูปแบบที่เรียบง่ายแต่ก็สามารถปรับแต่งเลย์เอ้าท์ให้ดูน่าสนใจได้ และไม่จำ�แจเมื่อเปิดหน้าต่อหน้า


หน่วยที่ 2 การออกแบบและจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์

9

2. คอลัมน์กริด (Column Grid) เป็นรูปแบบกริดที่มีคอลัมน์มากกว่าหนึ่งคอลัมน์ในหนึ่งหน้าของแบบ มักมีความสูงเกือบสุดขอบของชิ้นงาน ความ กว้างของแต่ละคอลัมน์ไม่จำ�เป็นต้องเท่ากัน กริดในรูปแบบนี้มักถูกนำ�ไปใช้ใน นิตยสาร แคตตาล็อก โบรชัวร์ การวางภาพในรูปแบบกริดประเภท นี้อาจจะจัดวางให้มีความกว้างเท่ากับหนึ่งคอลัมน์หรือมากกว่าก็ได้

3. โมดูลาร์กริด (Modular Grid) เป็นรูปแบบกริดที่ประกอบด้วยโมดูลหลาย ๆ โมดูลซึ่งเกิดจากการตีเส้นตามแนวตั้งและแนวนอน หรือกล่าวอีก นัยหนึง่ คือรูปแบบทีเ่ กิดจากการแบ่งคอลัมน์ในคอลัมน์กริดตามแนวนอนทำ�ให้เกิดเป็นโมดูลย่อย โมดูลาร์กริดเป็นรูปแบบทีส่ ามารถนำ�ไปจัดเลย์เอ้ าท์ได้หลากหลาย สามารถประสมประสานภาพกับข้อความเป็นชุด ๆ จัดแบ่งเรื่องราวหลาย ๆ เรื่องมาอยู่ในหน้าเดียวกัน จัดภาพประกอบพร้อม คำ�บรรยายหลาย ๆ ชุดในหนี่งหน้า เหมาะสำ�หรับสิ่งพิมพ์ที่ต้องการรูปแบบที่ปรับเปลี่ยนง่ายเมื่อมีการจัดทำ�เป็นประจำ�อย่างต่อเนื่องอย่างเช่น หนังสือพิมพ์ และยังเหมาะกับงานพิมพ์ประเภทแคตตาล็อกสินค้าหรือบริการ แผ่นพิมพ์โฆษณาทีต่ อ้ งแสดงรายการสินค้าเป็นจำ�นวนมาก เนือ่ งจาก โมดูลาร์กริดเป็นรูปแบบที่ประกอบด้วยโมดูลย่อย ๆ มีความอิสระในการปรับแต่งเลย์เอ้าท์ได้สูง จึงมีการนำ�มาใช้ในการออกแบบหน้าโบรชัวร์ แคต ตาล็อก นิตยสารและหนังสือประเภทต่าง ๆ ด้วยเช่นกัน

4. ไฮราซิคัลกริด (Hierarchical Grid) เป็นรูปแบบกริดที่มีโครงสร้างซับซ้อน ประกอบด้วยโมดูลได้ทั้งที่มีขนาดเท่ากันหรือแตกต่างกันมาจัดวาง ในหน้าเดียวกัน และอาจมีการเกยกันของโมดูลบางชิ้น ไฮราซิคัลกริดเป็นรูปแบบที่ยากต่อการใช้งานในการที่จะทำ�ให้เลย์เอ้าท์ที่ออกมาดูดีและ ลงตัว มักใช้ต่อเมื่อไม่สามารถใช้กริดรูปแบบอื่น ส่วนหนึ่งที่เลือกใช้เนื่องจากขององค์ประกอบต่าง ๆ ของเลย์เอ้าท์มีความแตกต่างค่อนข้างมาก เช่น อัตราส่วนของด้านกว้างกับด้านยาวของภาพประกอบแต่ละภาพมีความแตกต่างกันมาก ข้อแนะนำ�ในการจัดทำ�รูปแบบไฮราซิคัลกริดวิธีหนึ่ง คือ นำ�องค์ประกอบต่าง ๆ ของแบบทั้งหมด เช่น ภาพประกอบ เนื้อหา หัวเรื่อง ฯลฯ มากองไว้ พิจารณาภาพรวม ค่อย ๆ ทดลองจัดวางโดยขยับ ปรับขนาดแต่ละองค์ประกอบจนดูแล้วลงตัว พอมีแนวเป็นหลักในการสร้างกริดใช้รว่ มกันทัง้ ชุด/เล่มของงานพิมพ์ แล้วจึงลงมือทำ�งาน รูปแบบกริด ประเภทนี้มีใช้ในการออกแบบหน้าหนังสือ โปสเตอร์ และฉลากผลิตภัณฑ์ เป็นต้น


10 ชุดการเรียนรู้ เรื่อง การออกแบบสิ่งพิมพ์

ข้อแนะนำ�ในการออกแบบด้วยกริด - ก่อนเลือกรูปแบบของกริด ให้ศึกษาว่างานที่จะทำ�ส่วนใหญ่หนักไปทางเนื้อหา หรือภาพ มีหัวเรื่องและหมวดหมู่กี่ชั้นตลอดจนมีตาราง กฏเกณฑ์ อะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง ดูบทความต่าง ๆ ว่าเป็นบทความยาว ๆ หรือสั้น ๆ หรือเป็นแบบผสม ภาพประกอบสามารถแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ และจัดสัดส่วน ให้เท่า ๆ กันได้หรือไม่ มีภาพที่มีกรอบเป็นรูปทรงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่รูปทรงสี่เหลี่ยมไหม - รูปแบบกริดที่มีโมดูลมากจะทำ�ให้การเสนอแบบได้หลากหลาย แต่หากมีการแบ่งซอยโมดูลมากจนเกินไป จะทำ�ให้ขาดความเป็นเอกภาพในการ จัดทำ�เลย์เอ้าท์สำ�หรับงานที่เป็นเล่มหรือเป็นชุด - งานที่มีเนื้อหามากและมีภาพประกอบน้อยควรใช้เมนูสคริปต์กริดหรือคอลัมน์กริดที่มีคอลัมน์ 1 – 3 แถว งานที่มีภาพประกอบมากขึ้นมักจะใช้ คอลัมน์กริด ส่วนงานที่มีภาพประกอบมากขึ้นไปอีก จะใช้โมดูลาร์กริด - คอลัมน์กริดที่มีจำ�นวน 1 ถึง 3 แถวจะพบเห็นได้บ่อย ๆ เหมาะกับงานที่มีเนื้อหามาก ๆ คอลัมน์กริดที่มีจำ�นวนตั้งแต่ 4 แถวขึ้นไปเหมาะกับงาน ที่มีการผสมผสานระหว่างเนื้อหา ภาพประกอบ และงานที่มีบทความทั้งสั้นและยาวคละกัน - คอลัมน์กริดที่มีจำ�นวนแถวเป็นเลขคู่มักจะทำ�ให้เลย์เอ้าท์ของหน้าต่าง ๆ ดูจำ�แจโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมัวยึดติดที่จะจัดวางให้ข้อความและภาพ ให้กินพื้นที่เสมอกับแนวขอบของคอลัมน์ - ให้ระลึกเสมอว่ารูปแบบกริดควรจัดให้เข้ากับองค์ประกอบต่าง ๆ ของแบบ มากกว่าที่จะบังคับให้องค์ประกอบต่าง ๆ ของแบบให้เข้ากับรูปแบบ ของกริด อนึ่งการออกแบบโดยวิธีการใช้กริดก็ไม่ใช่เป็นสูตรสำ�เร็จสำ�หรับการออกแบบได้ทุก ๆ กรณี - การวางภาพประกอบไม่จำ�เป็นต้องจำ�กัดอยู่ภายใน 1 โมดูล ควรทดลองวาง 2 – 3 โมดูล หรือ 2 ½ โมดูล แล้วปล่อยส่วนที่เหลือให้ว่างเปล่า - ในการวางเลย์เอ้าท์แต่ละหน้า ส่วนที่เป็นอัลลีย์ กัตเตอร์ หรือมาร์จิ้นไม่จำ�เป็นต้องเป็นช่องว่างเปล่าเสมอไป สามารถขยายภาพประกอบให้ล้นมา ในบริเวณเหล่านี้ได้ ในขณะเดียวกันส่วนที่เป็นโมดูลหรือคอลัมน์บางช่องก็อาจจัดเป็นพื้นที่ว่างเปล่าก็ได้ - สามารถใช้รปู แบบกริดมากกว่าหนึง่ รูปแบบในหนึง่ งาน เช่น เลือกใช้รปู แบบกริดสำ�หรับบทความยาวรูปแบบหนึง่ และบทความสัน้ อีกรูปแบบหนึง่ หน้าแทรกใช้รูปแบบกริดที่ต่างจากรูปแบบที่ใช้ในหน้าปกติอื่น - สำ�หรับรูปแบบกริดที่มีเพียง 1 – 2 คอลัมน์ ให้ทดลองแบ่งคอลัมน์แต่ละคอลัมน์ออกเป็น 2 คอลัมน์ย่อย แล้วนำ�ไปใช้เลย์เอ้าท์ในบางหน้าบาง โอกาส จะทำ�ให้งานที่ออกมาดูไม่จำ�เจ มีข้อน่าสังเกตในการร่างแบบ 3 ประการคือ 1. เนื้อหาสาระที่สำ�คัญคืออะไร 2. สิ่งที่ควรเน้นอยู่ตรงไหน 3. รูปแบบการจัดมีลักษณะอย่างไร การร่างแบบหยาบนี้ควรทำ�ขึ้นหลายๆ แบบ เมื่อได้ร่างแบบใดแบบหนึ่งเป็นหลักแล้วพยายามหา ที่แตกต่างออกไปอีกหลายแบบเพื่อเลือกภาพที่พอใจมากที่สุด การลงมือร่างแบบให้เขียนขึ้นมาหลายแบบ เปลี่ยนแปลงแก้ไขไปจนกว่าจะได้แบบที่พอใจ การแก้ใขเปลี่ยนแปลงแบบร่างงานพิมพ์มีสิ่งที่ต้องพิจารณาดังนี้ คือ 1. รูปร่างตัวพิมพ์


หน่วยที่ 2 การออกแบบและจัดทำ�แบบร่างสิ่งพิมพ์

2. ขนาดตัวพิมพ์ 3. ช่องไฟระหว่างตัวอักษร 4. ช่องไฟระหว่างคำ� 5. ช่องไฟระหว่างบรรทัด 6. การวางตำ�แหน่งข้อความ 7. การจัดบรรทัด 8. การจัดลำ�ดับความสำ�คัญของสาระ 9. ความสอดคล้องกลมกลืนกับเนื้อหา การร่างงานเท่าแบบจริง การออกแบบต้องเริ่มต้นจากองค์ประกอบของการออกแบบสิ่งพิมพ์ ผู้ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์จะต้องทราบว่าควรใส่สิ่งใดลง ไปในเนื้อหาที่บนกระดาษจนมองเห็นรูปร่างเมื่องานเสร็จเรียบร้อย ซึ่งเป็นการนำ�เอาองค์ประกอบของ งานออกแบบมาใช้ในการออกแบบเพื่อให้งานออกแบบมาสมบูรณ์สวยงาม ใช้เป็นสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งองค์ประกอบที่ต้องคำ�นึงถึงมีดังนี้ต่อไปนี้ คือ 1. วัสดุที่ใช้พิมพ์ 2. แบบและขนาดตัวพิมพ์ 3. วิธีการผลิต 4. การจัดช่องไฟ 5. การจัดแนวตัวพิมพ์ 6. ความกว้างของตัวพิมพ์ที่เหมาะสมกับแถว บรรทัดหรือคอลัมน์ 7. การกะต้นฉบับให้เข้ากับเนื้อที่ 8. ที่ว่างสำ�หรับหัวเรื่อง เนื้อเรื่องและภาพ 9. กำ�หนดแถวตัวพิมพ์ 10. การใช้เส้นและกรอบ องค์ประกอบของการออกแบบสิ่งพิมพ์ ผู้ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์จะต้องทราบว่าควรใส่สิ่งใดลงไปในเนื้อหาที่บนกระดาษจนมองเห็นรูปร่าง เมื่องานเสร็จเรียบร้อย ซึ่งเป็นการนำ�เอาองค์ประกอบของงานออกแบบมาใช้ในการออกแบบเพื่อให้งาน ออกแบบมาสมบูรณ์สวยงาม ใช้เป็นสื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งองค์ประกอบที่ต้องคำ�นึงถึงมีดังนี้ต่อไปนี้ คือ 1. วัสดุที่ใช้พิมพ์ 2. แบบและขนาดตัวพิมพ์ 3. วิธีการผลิต 4. การจัดช่องไฟ 5. การจัดแนวตัวพิมพ์ 6. ความกว้างของตัวพิมพ์ที่เหมาะสมกับแถว บรรทัดหรือคอลัมน์ 7. การกะต้นฉบับให้เข้ากับเนื้อที่ 8. ที่ว่างสำ�หรับหัวเรื่อง เนื้อเรื่องและภาพ 9. กำ�หนดแถวตัวพิมพ์ 10. การใช้เส้นและกรอบ 11. ภาพประกอบ 12. การใช้สี

11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.