07สไลด์ประกอบการสอน_การออกแบบสิ่งพิมพ์ประเภทต่างๆ

Page 1

การออกแบบสิ่งพิมพ์ ประเภทต่ างๆ


การออกแบบสิ่ งพิมพ ์ มีความสํ าคัญคือ ดึงดูดใจ ให้ผู้ทีพ ่ บเห็ นเกิด ความสนใจ

ถายทอดข อมู ่ ้ ล ทีต ่ ้องการ จะสื่ อสารอยาง ่ ชัดเจนและ เหมาะสม กับผู้รับสื่ อ สร้างความประทับใจ ทําให้ ข้อมูลทีส ่ ื่ อสารเป็ นทีจ ่ ดจํา


วัตถุประสงคในการจัดทำ มักขึ้นอยูกับนโยบายของผูจัดพิมพ และ ความตองการของเจาของงาน • • • •

เพื่อใหความรู เพื่อแจงขาวสาร เพื่อความบันเทิง เพื่อผลทางการคา ฯลฯ

Sunday, December 2, 2012


ปจจัยที่ตองคำนึงถึง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ประเภท และลักษณะเนื้อหาของสิ่งพิมพ วัตถุประสงคในการจัดทำ กลุมเปาหมาย ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่งพิมพ ประเภทและคุณลักษณะของกระดาษพิมพ ขั้นตอนการออกแบบและจัดหนาสิ่งพิมพ ขั้นตอนการผลิตสิ่งพิมพ ความสามารถและขอจำกัดในการทำงานของเครื่องพิมพ หลักการออกแบบและการจัดวางองคประกอบในสิ่งพิมพ 10. คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ลิขสิทธิ์ทางปญญา กฎหมาย ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิทธิผูปวย/การเผยแพรสื่อ Sunday, December 2, 2012


ประเภท สิ่ งพิมพ ์

หนังสื อเลม (Book) ่ หนังสื อพิมพ ์ (Newspaper) นิตยสาร และวารสาร (Magazine, Journal) สิ่ งพิมพเฉพาะกิ จ ์ ็ ็ หรือสิ่ งพิมพเบ ด เตล ด ์ (Miscellaneous publications)


การออกแบบ

หนังสื อ (book)



หนังสือ (Book) โดยทั่วไป ขนาด 8 หน้ ายก (8 ” x 11 ”) 16 หน้ ายก (5.5 ” x 8 ”) และขนาดพกพา (4 ” x 8 ”)

- เป็ นสิ่งพิมพ์ ท่ ปี ระกอบด้ วยหน้ ากระดาษ / วัสดุอ่ ืนหลายๆ หน้ า รวมเข้ าด้ วยกัน ด้ วยวิธีการต่ างๆ ให้ เป็ นรู ปเล่ ม - เนือ้ หาเป็ นเรื่ องเดียวกัน เรี ยงลําดับจากต้ นไปท้ าย - ไม่ มีกาํ หนดเผยแพร่ ประจํา แน่ นอน


ส่ วนประกอบของหนังสือ ส่วนตน ้

- ปกหน้า

่ เรือ ่ ง - หน้าชือ

- หน้าลิขสิ ทธิ ์

ิ - หน้าอุทศ - คํานิยม - คํานํา

- กิตติกรรมประกาศ - สารบัญ - สารบัญภาพ - บทนํา

ส่วนหลัก

- ชือ ่ บท ่ ง - หน้าเนื้อเรือ

ส่วนทาย ้ - หน้าภาคผนวก - หน้าบรรณานุ กรม - หน้าอภิธานศั พท ์ - หน้าดรรชนี - เชิงอรรถทายเล ม ้ ่ - ปกหลัง


คนส่ วนใหญ่ ตัดสินหนังสือที่ปกหน้ า

ปกหน้ า ต้ องดึงดดู โดดเด่ น ทําหน้ าที่ส่ ือสาร

ให้ เห็นถึงความคิดเบือ้ งหลัง รวมทัง้ บุคลิกลักษณะของ เนือ้ เรื่ องภายใน & กระตุ้นจินตนาการ


สิ่ งทีต ่ ้องกําหนดและวางแผนกอนการออกแบบ ่ 1. ศึ กษาและทําความเขาใจหนั งสื อ ้ 2. กําหนดขนาดและรูปแบบของหนังสื อ - รูปแบบของปกหน้า - รูปแบบของหน้าใน

3. รูปแบบและขนาดตัวอักษร 4. แบบและจํานวนภาพประกอบ 5. การกําหนดขัน ้ ตอนหลังพิมพ ์


ส่ วนประกอบปกหน้ า ของหนังสือ

1. 2. 3. 4. 5.

ตราสัญลักษณ์ ของสํานักพิมพ์ ข้ อความประกอบปกหน้ า ชื่อหนังสือ ชื่อผ้ ูแต่ ง / ผ้ ูแปล / วาด ภาพประกอบปกหน้ า







การออกแบบ

หนังสื อพิมพ ์ (newspaper)


หนังสือพิมพ์ (Newspaper) - เป็ นสิ่งพิมพ์ ท่ รี วมเป็ นฉบับ แต่ ไม่ เย็บเล่ ม - เนือ้ หาหลากหลาย แบ่ งออกเป็ น 2 ส่ วน (ส่ วนที่เป็ นข่ าว และส่ วนความเห็น / ความร้ ูท่ ไี ด้ รับความสนใจ - ไม่ มีการเรียงลําดับเนือ้ หา อ่ านส่ วนไหนก่ อนก็ได้ - มีโฆษณา - มีกาํ หนดเวลาเผยแพร่ สมํ่าเสมอ - มีความถี่ในการเผยแพร่ มาก - มีการพิมพ์ เผยแพร่ ส่ สู าธารณชน


การจําแนกประเภทหนังสือพิมพ์

• ตามลักษณะเนือ้ หา

- หนังสือพิมพ์ ท่ วั ไป / เฉพาะ

• ตามระยะเวลาในการเผยแพร่

- หนังสือพิมพ์ รายวัน / รายสัปดาห์

• ตามระดับการนําออกเผยแพร่

- หนังสือพิมพ์ ระดับนานาชาติ / ระดับชาติ / ระดับท้ องถิ่น

• ตามขนาดรูปเล่ ม

- หนังสือพิมพ์ แผ่ นใหญ่ / แผ่ นเล็ก (ขนาดเต็มแผ่ น 15” x 21” และขนาดครึ่งแผ่ น 10” x 15”)



- การใช้ สี - การใช้ องค์ ประกอบอื่นๆ ในการนําเสนอข้ อมูล เช่ น สร้ างแผนภมู ิ แผนที่ เพื่อให้ เข้ าใจง่ าย - การจัดกลุ่มเนือ้ หา ความสนใจเดียวกัน ไว้ ด้วยกัน - การจัดวางองค์ ประกอบ

หนังสือพิมพ์ สมัยใหม่ ไม่ ได้ ม่ ุงเสนอข้ อมูลอย่ างเดียว แต่ ยังกระตุ้นความตื่นตัว & มีชีวติ ชีวาเพื่อให้ แข่ งได้ กับ สื่อใหม่ ๆ


ส่วนประกอบของหนังสื อพิมพ ์ • หน้าแรก • หน้าใน

• เนื้อทีโ่ ฆษณา • นิตยสารแทรก

ในหนังสื อพิมพ ์ เช่น เรือ ่ งสถานทีท ่ องเที ย ่ ว ่ ภาพยนตร ์


สิ่ งทีต ่ ้องกําหนดและวางแผนกอนการออกแบบ ่ 1. ศึ กษาและทําความเขาใจหนั งสื อพิมพ ์ ้ 2. กําหนดขนาดและรูปแบบของหนังสื อพิมพ ์ 3. รูปแบบของหน้าแรก 4. รูปแบบของหน้าใน 5. รูปแบบและขนาดตัวอักษร 6. แบบและจํานวนภาพประกอบ


• • •

ขนาดตัวอักษร เนื้อเรือ ่ ง ไมเล็ ่ กกวา่ 12 pt

• •

ควรมีโครงสรางที ย ่ ด ื หยุนต มาณเนื้อหาขาวในแต ละวั น ้ ่ อปริ ่ ่ ่

องคประกอบ (ตัวอักษร/ภาพ) ให้ผู้อานเกิ ดความเขาใจ ่ ้ ์ ไดง้ ายที ส ่ ุด ่

หัวเรือ ่ ง หัวรอง 18 pt เป็ นตนไป ้ การเลือกนําเสนอขอมู ่ งหรือพาดหัวในหน้าแรก ้ ลทีเ่ ป็ นหัวเรือ ตองน ี่ าง ภาพขาวน ้ ่ าสนใจ อาจเน้น ใช้สี ทต ่ ่ ่ าสนใจ งายแก การอ าน เขาใจได รวดเร็ ว เห็นไดในระยะไกล ่ ่ ่ ้ ้ ้ คํานึงถึงความสะดวกของผู้อานในการแยกแยะค ่ ้นหา ติดตามขาวตั ง้ แตต ่ ่ น-จบ ้


การจัดวางองค์ ประกอบของหนังสือพิมพ์ หน้ าแรก >>> การเลือกนําเสนอพาดหัว ภาพ ชัดเจน ง่ าย ดูร้ ู เรื่ องในเวลารวดเร็ว

องค์ ประกอบ >> - แถบชื่อ (หัวหนังสือ) - หัวข่ าว หรือ พาดหัว - หัวรอง - ตัวเนือ้ เรื่อง (นําเสนอเนือ้ หา เกริ่นนํา) - ภาพประกอบข่ าว คําบรรยายภาพ - องค์ ประกอบอื่นๆ เช่ น เส้ นล้ อม กรอบ แรเงา แผนภูมิ


การจัดวางองคประกอบของหนั งสื อพิมพ ์ ์

หน้ าใน

องคประกอบ >> ์ - หัวขาว ่ หรือ พาดหัว - หัวรอง - หัวตอ ่ - หัวคอลัมนประจํ า ์ - ตัวเนื้อเรือ ่ ง - พิมพลักษณ ์ หรือ พิมพประกาศ - ภาพประกอบขาว ่ คําบรรยายภาพ - องคประกอบอื น ่ ๆ ทางเรขศิ ลป์ ์







การจัดวางองคประกอบของหนั ง สื อ พิ ม พ ์ ์

เนื อ ้ ที ่ โ ฆษณา - เต็มหนา

้ - ครึง่ หน้า - ¼ หน้า - จูเนียรเพจ ์

(พท.ใกลเคี ้ ยงขนาดหน้า

นิตยสาร)

- แถบโฆษณา(พท. แถบบน/ลาง ่

กวาง ้

ตลอดความ


การจัดวางองคประกอบของหนั งสื อพิมพ ์ ์

นิตยสารแทรกในหนังสือพิมพ์ - โดยมากจะมีสัปดาหละครั ง้ ์ - แยกมาเป็ นส่วนพิเศษ - เนื้อหาหลากหลาย แตมั ่ งที่ ่ กเป็ นเรือ ไมได ต ่ องเสนออย างรวดเร็ ว ่ เป็ ้ นขาวที ่ ้ ่ เช่น สถานทีท ่ องเที ย ่ ว ภาพยนตร ์ ่



การออกแบบ

นิต(Magazine) ยสาร


นิตยสาร (Magazine) - เป็ นสิ่ งพิมพที ่ ระกอบดวยหน ื่ ้ ้ ากระดาษ / วัสดุอน ์ ป หลายๆ หน้า รวมเขาด น ดวยวิ ธก ี ารตางๆ ้ วยกั ้ ้ ่ ให้เป็ นรูปเลม ่

- มีเนื้อหาหลากหลาย เป็ นทีส ่ นใจรวมกั นของบุคคล ่

ทีม ่ ล ี ก ั ษณะนิสัยคลายกั น มีโฆษณา มักแยกหน้ากัน ้ กับส่วนเนื้อหา

- ไมเรี อ ่ งใดกอนก็ ได้ ่ ยงลําดับเนื้อหา เลือกอานเรื ่ ่ - มีกาํ หนดเผยแพรแน ่ ่ นอน

(รายสั ปดาห ์ รายปักษ)์



ความสามารถในการเข้ าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ในการจัดทํานิตยสาร > ต้ องสร้ างบุคลิกภาพที่เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย


การจําแนกประเภทนิตยสาร

1. นิตยสารทัว่ ไป 2. นิตยสารเฉพาะ

ผู้หญิง ขาว ธุรกิจ เฉพาะดาน ่ ้ วัยรุน อื น ่ ๆ ่ ผู้ชาย บันเทิง บ้าน

3. นิตยสารวิชาชีพ 4. นิตยสารสมาคม 5. นิตยสารประชาสั มพันธ ์

6. นิตยสารแทรกในหนังสื อพิมพ ์

รถ แมและลู ก ่ พระเครือ ่ ง คอมฯ


การออกแบบนิตยสาร


สิ่ งทีต ่ ้องกําหนดและวางแผนกอนการออกแบบ ่ 1. ความตองการและวั ตถุประสงคในการออกแบบ ้ ์ ( - ใหม่ - ปรับปรุงรูปแบบ - เปลีย ่ นภาพลักษณ)์

2. กําหนดขนาดและรูปแบบของนิตยสาร 3. รูปแบบของปกหน้า 4. พิมพสี์ หน้าใน 5. รูปแบบและขนาดตัวอักษร 6. รูปแบบ และขนาดภาพถาย ่ และภาพประกอบ


ส่วนประกอบของนิตยสาร 1. ปกหน้า 2. สารบัญ 3. บทบรรณาธิการ 4. หน้าเปิ ดเรือ ่ ง 5. หน้าเนื้อเรือ ่ ง


1. ปกหน้า หัวนิตยสารและ รายละเอียดของฉบับ

-

(ฉบับ ปี ที่)

-ข้ อความบนปก -ภาพประกอบ ลักษณะการวางภาพ ตัดตก / มีกรอบ


2. สารบัญ


3. บทบรรณาธิการ บอกเล่ าถึงเรื่ องราวความคิดเห็น และความเชื่อของผู้เล่ าเรื่ องราว ซึ่งมีปรากฏอยู่ในนิตยสารให้ ผ้ ูอ่านได้ ทราบ

- ข้ อความ - พาดหัว - ชื่อ - ภาพถ่ ายของบรรณาธิการ


4. หน้าเปิ ดเรือ ่ ง

ต้ องสร้ างความรู้ สึกตื่นตา ตื่นใจให้ เกิดขึน้ กับผู้อ่าน แสดงให้ เห็นว่ า หน้ านีค้ ือจุดเริ่มต้ นของเรื่ องใหม่ ควรออกแบบให้ ดูเรี ยบง่ าย และมีองค์ ประกอบเท่ าที่ จําเป็ น - ชื่อคอลัมน์ - ชื่อเรื่ อง - ชื่อผู้เขียน - คํานํา - เนือ้ เรื่ อง


5. หน้าเนื้อเรือ ่ ง

- เนือ้ เรื่ อง - ภาพประกอบเรื่ อง





การออกแบบ

สิ่ งพิมพเฉพาะกิ จ ์ ็ ็ หรือสิ่ งพิมพเบ ด เตล ด ์ (Miscellaneous publications)

จุลสาร แผ่ นพับ โบรชัวร์ โปสเตอร์ แผ่ นปลิว ปฏิทนิ แคตตาล็อค จดหมายข่ าว โปสการ์ ด การ์ ด ฉลากสินค้ า สิ่งพิมพ์ บนบรรจุภณ ั ฑ์


สิ่งพิมพเฉพาะกิจ หรือสิ่งพิมพเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous publications) - เปนสิ่งพิมพที่ประกอบดวยหนากระดาษ / วัสดุอื่นหลายหนา หรือหนาเดียวก็ได รวมเขาดวยกันดวยวิธีการตางๆ เปนรูปเลม หรือไมรวมเปนรูปเลมก็ได - มีรูปแบบหลากหลาย เนื้อหามักสั้น เปนเรื่องเดียว - สวนใหญไมมีกำหนดเผยแพรประจำ / แนนอน - จัดทำขึ้นเมื่อตองการใชงาน สวนมากอายุการใชงานสั้น Sunday, December 2, 2012


โปสเตอร

Sunday, December 2, 2012


วัตถุประสงคของการใชโปสเตอรเพื่อการประชาสัมพันธ เพื่อใหความรู้ อันเปนประโยชน เพื่อบอกกลาว/ใหคำแนะนำ

แกกลุมเปาหมาย ไดใชเปนแนวปฏิบัติ

เพื่อเชิญชวนกลุมเปาหมาย ใหเขารวมกิจกรรมที่องคกรจัดขึ้น

เพื่อย้ำเตือนกลุมเปาหมาย

ใหระลึกถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

เพื่อสรางความจดจำ ใหเกิดขึ้น

Sunday, December 2, 2012

เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

เพื่อโนมนาวใจ

กลุมเปาหมายใหเห็น คลอยตาม

เพื่อปลุกเรา

ใหกลุมเปาหมาย ตระหนักถึง ประเด็นใด ประเด็นหนึ่ง


องคประกอบของโปสเตอร

Sunday, December 2, 2012


พาดหัว (Headline)

พาดหัว หรือหัวเรื่อง ชวยดึงดูดความสนใจ ชวนใหติดตาม รายละเอียดอื่นๆ ของขอความในโปสเตอร อาจแสดงดวย ภาพ หรือขอความ หรือทั้ง ภาพและขอความ สวนมากใช ขอความที่มีขนาดใหญ กวา ขอความอื่น ถาขอความมีความยาวมาก อาจแบงเปน หัวเรื่องรอง (Subheadline) Sunday, December 2, 2012


ลักษณะพาดหัว ของโปสเตอร

• • • •

มีขอความสั้น กะทัดรัด ไดใจความ สื่อความหมายไดเร็ว มีความกระจาง สามารถดึงดูดความสนใจ ของกลุมเปาหมายได มีความเหมาะเจาะ ตอบสนองความตองการ ของกลุมเปาหมายได มีความนาสนใจ เพื่อเรียกรองใหกลุมเปาหมายสนใจ โดยใชหลักการทางจิตวิทยา

และการใชภาษา • •

มีเพียงแนวคิดเดียว ในโปสเตอรแตละแผน มีความนาเชื่อถือ คือ ขอความที่กลาวอาง ตองมีน้ำหนัก นาเชื่อถือ

Sunday, December 2, 2012


14 Sunday, December 2, 2012


พาดหัวรอง (SubHeadline)

พาดหัวรอง นิยมใชตัวอักษรที่มีขนาดใหญรองจากพาดหัว ทำหนาที่ในการ เชื่อมโยงพาดหัว ไปยังเนื้อเรื่องในโปสเตอร ใชในกรณีที่พาดหัวไมสามารถให รายละเอียดไดเพียงพอ จึงตองมีการขยายความใหกระจางขึ้น Sunday, December 2, 2012


ขอความ (Body Copy)

ขอความ คือ สวนที่เปนเนื้อหารายละเอียด เพิ่มเติมจากพาดหัวของโปสเตอร ขอความจะสนับสนุนเนื้อหาของโปสเตอรโดยรวม มีความชัดเจน ไมคลุมเครือ ใชขอความที่สั้น กะทัดรัด อักษรชัดเจน อานงาย เขาใจไดทันที ตอบสนอง ความตองการของผูอาน และมองเห็นไดแตไกล Sunday, December 2, 2012


ภาพประกอบ (illustration)

ภาพประกอบ คือ สวนที่เสริมหรือขยายพาดหัว ตลอดจนสรางความเขาใจเพิ่มขึ้น จากขอความ และดึงดูดความสนใจ ภาพที่นำมาใช ควรเปนภาพที่ดูงาย สามารถเขาใจไดทันที เนนจุดสนใจในภาพ เพียงจุดเดียว มองเห็นไดในระยะไกล สามารถสื่อความคิดสรางสรรคได รวมทั้ง สรางความจดจำใหแกผูรับไดดวย Sunday, December 2, 2012


สวนลงทาย (Ending) • ชื่อหรือสัญลักษณของ องคการผูเผยแพร (Identification) สถานที่ตั้งหรือสถานที่ติดตอ ขององคกรผูผลิต • คำขวัญ หรือ สโลแกน (Slogan)

Sunday, December 2, 2012


ขอควรคำนึง ในการออกแบบโปสเตอร

ควรมีภาพประกอบ และขอความ ที่บงบอกถึง ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อใด อยางไร ใชขอความกระทัดรัด เขาใจงาย ชัดเจนไมคลุมเคลือ หรือเขาใจไปไดหลายทาง ใชขอความที่เขาใจไดทันที แสดงแนวคิด หลักและเรื่องราวเพียงอยางเดียว การวางตำแหนงภาพประกอบ และขอความ ตองประสานสงเสริมซึ่งกันและกัน และงายแกการจดจำ (อาจใชคำขวัญหรือสโลแกน) • ตัวอักษรควรเดน สะดุดตา คำนึงถึงระยะหางในการอาน และขนาดตัวอักษร ควรแตกตางกันตามหนาที่ เชน ตัวหัวเรื่อง หรือพาดหัว ควรมีขนาดใหญกวา ขอความ • • • •

Sunday, December 2, 2012


ขอควรคำนึง ในการออกแบบโปสเตอร • ภาพหรือขอความที่เสนอ ตองมีขนาดใหญ เพื่อใหสามารถมองเห็นไดงาย • ขนาดของโปสเตอร ตองปรับใหเหมาะสมกับสถานที่ตั้งโปสเตอร • มีโครงสรางชัดเจน คือ การใชสีที่เดนชัด สะดุดตา ไมมีลวดลายสับสน

ดูแลวเขาใจในโครงสรางนั้นๆ ไดทันที สามารถแยกภาพกับตัวอักษรที่ ตองการเสนอไดชัดเจน มีความเหมาะสมกับเนื้อหา และจิตวิทยาในการใชสี • คำนึงถึงหลักในการออกแบบและจัดหนา Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


23 Sunday, December 2, 2012


24 Sunday, December 2, 2012


25 Sunday, December 2, 2012


26 Sunday, December 2, 2012


27 Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


29 Sunday, December 2, 2012


30 Sunday, December 2, 2012


31 Sunday, December 2, 2012


32 Sunday, December 2, 2012


33 Sunday, December 2, 2012


34 Sunday, December 2, 2012


35 Sunday, December 2, 2012


36 Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


Sunday, December 2, 2012


44 Sunday, December 2, 2012


45 Sunday, December 2, 2012


46 Sunday, December 2, 2012


47 Sunday, December 2, 2012


48 Sunday, December 2, 2012


49 Sunday, December 2, 2012


50 Sunday, December 2, 2012


สิ่ งพิมพเฉพาะกิ จ หรือสิ่ งพิมพเบ็ ์ ์ ดเตล็ด (Miscellaneous publications)

- เป็ นสิ่ งพิมพที ่ ระกอบดวยหน ื่ ้ ้ ากระดาษ / วัสดุอน ์ ป หลายหน้า หรือหน้าเดียวก็ได้ รวมเขาด น ้ วยกั ้ ดวยวิ ธก ี ารตางๆ เป็ นรูปเลม นรูปเลมก็ ้ ่ ่ หรือไมรวมเป็ ่ ่ ได้ - มีรูปแบบหลากหลาย เนื้​้อหามักสั้ น เป็ นเรือ ่ งเดียว - ส่วนใหญไม า / แน่นอน ่ มี ่ กาํ หนดเผยแพรประจํ ่ - จัดทําขึน ้ เมือ ่ ตองการใช ้ ้งาน ส่วนมากอายุการใช้งานสั้ น


โปสเตอร ์ 1. กําหนดขนาดและรู ปแบบโปสเตอร์ 2. รู ปแบบภาพประกอบ

• • • • •

พาดหัว ภาพประกอบ ภาพสินค้ า ตราสัญลักษณ์ สินค้ า ข้ อความ










1. 2. 3. 4. 5.

แผนพั บ ่

กําหนดขนาดและรู ปแบบแผ่ นพับ การกําหนดลักษณะการส่ ง การกําหนดกระดาษ การกําหนดลําดับของการอ่ านตามลักษณะของแผ่ นพับ รู ปแบบภาพประกอบ

• • • • •

พาดหัว ภาพประกอบ ภาพสินค้ า ตราสัญลักษณ์ สินค้ า ข้ อความ


จดหมายขาว ่ 1. 2. 3. 4.

กําหนดขนาดและรู ปแบบจดหมายข่ าว รู ปแบบของปกหน้ า หรื อหน้ าแรกของจดหมายข่ าว รู ปแบบและขนาดตัวอักษร รู ปแบบภาพประกอบ

• พาดหัว • ภาพประกอบ • ข้ อความ




การกําหนดรูปแบบของสิ่ งพิมพ ์ ต้องครอบคลุม.... 1. ขนาดรูปเลมสิ ่ ่ งพิมพ ์ 2. รายละเอียดลําดับเนื้อหา 3. จํานวนและลักษณะภาพ 4. กระดาษทีจ ่ ะใช้พิมพ ์ 5. ลักษณะปกและกระดาษหุ้มปก 6. จํานวนพิมพ ์ 7. ระบบการพิมพและจํ านวนสี ทจ ี่ ะใช้ในการพิมพ ์ ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.