มารู้จัก
“เบาหวาน”
กันเถอะ
ผู้เรียบเรียงและวาดภาพประกอบ : นายพิทยา มีบัวทอง
ชื่อหนังสือ : มารู้จัก “เบาหวาน” กันเถอะ ชื่อผู้จัดทำ� : นายพิทยา มีบัวทอง รหัส : 5321012 สาขาเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
โรคเบาหวานคือ... โรคเบาหวานเป็นภาวะที่ร่างกายมีนำ�้ตาลในเลือดสูง กว่าปกติ เกิดจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือจากการ ดื้อต่อฤทธิ์ของอินซูลิน ทำ�ให้ร่างกายไม่สามารถนำ�นำ�้ตาลในเลือดไปใช้ได้ ตามปกติ นำ�้ตาลในเลือดที่สูงอยู่เป็นระยะเวลานาน ทำ�ให้เกิดโรคแทรกซ้อนของอวัยวะต่างๆเช่น ตา ไต ระบบประสาท โรคหลอดเลือดหัวใจได้
ประเภทของ เบาหวาน เบาหวานชนิดที่ 1 มักพบในคนอายุน้อย มักตำ�่กว่า 30 ปี มากที่สุด เกิดในช่วงวัยรุ่น เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ ผู้ป่วยมักมีรูปร่างผอม อาจเกิดภาวะหมดสติจากนำ�้ตาลในเลือดสูงหรือ เลือดเป็นกระคีโตน การรักษาต้องใช้ยาฉีดอินซูลิน ในประเทศไทยพบ น้อยกว่า 5% เบาหวานชนิดที่ 2 มักพบในผู้ที่อายุมากกว่า 40 ปี เกิดจากภาวะ ดื้อต่ออินซูลินและมีการหลั่งอินซูลินลดลง มักมีรูปร่างอ้วนและมีประวัติ โรคเบาหวานในครอบครัว สามารถรักษาด้วยการควบคุมอาหารหรือยาเม็ด ลดระดับน้ำ�ตาล ในรายที่เป็นนานๆการสร้างอินซูลินลดลงมากๆ ก็อาจต้อง ฉีดอินซูลิน ในประเทศไทยพบมากกว่า 95% โรคเบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ เช่น โรค เบาหวานที่สาเหตุทางกรรมพันธุ์ โรคของตับอ่อน ฮอร์โมนผิดปกติ จากยาบางชนิดเช่น ยาสเตียรอยด์ โรคเบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์ เป็นโรคเบาหวานที่ตรวจพบครั้งแรกขณะผู้ป่วย ตั้งครรภ์ โดยที่ผู้ป่วยไม่มีประวัติเป็นโรคเบาหวาน มาก่อน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน ขณะตั้งครรภ์ที่มีผลทำ�ให้เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน การรักษามักต้องใช้อินซูลิน หลังคลอดเบาหวานมัก หายไป และผู้ป่วยมีโอกาสเป็น เบาหวานชนิดที่ 2 เมื่อมีอายุมากขึ้น
โรคเบาหวานเกิดได้อย่างไร ในคนปกติในระยะที่ไม่ได้รับประทานอาหารตับจะมีการสร้างนำ�้ ตาลออกมาตลอดเวลาเพื่อให้เป็นอาหารของสมองและอวัยวะอื่นๆ ใน ระยะหลังรับประทานอาหารพวกแป้งจะมีการย่อยเป็นนำ�้ตาลกลูโคสเข้าสู่ กระแสเลือด ระดับนำ�้ตาลที่สูงขึ้นจะกระตุ้นให้มีการหลั่งอินซูลินจากตับ อ่อนเพื่อเพิ่มการนำ�นำ�้ตาลไปใช้ทำ�ให้ระดับนำ�้ตาลลดลงมาเป็นปกติ ในผู้ป่วยเบาหวานที่อาจเกิดจากการขาดอินซูลินหรือดื้อต่อฤทธิ์ ของอินซูลินทำ�ให้ไม่สามารถใช้นำ�้ตาลได้ ขณะเดียวกันมีการย่อยสลาย ไขมันและโปรตีนในเนื้อเยื่อมาสร้างเป็นนำ�้ตาลมากขึ้น ทำ�ให้มีนำ�้ตาลใน เลือดสูง จนล้นออกมาทางไตและมีนำ�้ตาลในปัสสาวะ เป็นที่มาของคำ�ว่า “เบาหวาน”
อาการของโรคเบาหวาน ระดับนำ�้ตาลคนปกติจะอยู่ในช่วง 70-99 มก./ดล. ก่อนรับประทาน อาหารเช้า ผู้ป่วยเบาหวานที่มีนำ�้ตาลสูงจากค่าปกติไม่มากอาจไม่มีอาการชัดเจน จะต้องทำ�การตรวจเลือดเพื่อการวินิจฉัย ถ้าไม่ทราบว่าเป็นเบาหวานมาเป็นเวลานาน ผู้ป่วยอาจมาตรวจพบด้วยภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานได้ ผู้ป่วยที่มีนำ�้ตาลสูงกว่าค่าปกติมากอาจมีอาการจากนำ�้ตาลในเลือดสูงหรือ จากภาวะแทรกซ้อนได้แก่ • ปัสสาวะบ่อยและมาก ปัสสาวะช่วง กลางคืน เกิดจากการที่นำ�้ตาลรั่วมากับปัสสาวะ และดึงนำ�้ออกมาด้วย • คอแห้ง ดื่มนำ�้มาก กระหายนำ�้ เกิดจากการที่ ร่างกายสูญเสียนำ�้มากทางปัสสาวะ • หิวบ่อย ทานจุ แต่นำ�้หนักลดและอ่อนเพลีย เกิดจากการที่ร่างกายใช้กลูโคสเป็น อาหารไม่ได้ต้องใช้โปรตีนและ ไขมันเป็นพลังงานแทน • แผลหายยาก มีการติดเชื้อทางผิวหนัง เกิดแผลได้บ่อย น้ำ�ตาลที่สูงทำ�ให้การทำ�งานของเม็ดเลือดขาวลดลง • คันตามผิวหนัง ติดเชื้อราง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณ ช่องคลอดของผู้ป่วยหญิง • ตาพร่ามัว อาจเกิดจากนำ�้ตาลคั่งในเลนส์ตา โรคจอประสาทตาจากเบาหวานหรือต้อกระจก
ผู้ที่ควรตรวจหาโรคเบาหวาน • ผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวานดังข้างต้น • อายุมากกว่า 40 ปี • มีญาติสายตรงเป็นโรคเบาหวาน • เคยมีระดับนำ�้ตาลอยู่ในระยะก่อนเบาหวาน • เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ • คลอดบุตรหนักมากกว่า 4 กก. • มีความดันโลหิตสูง • มีไขมันในเลือดผิดปกติ • มีโรคหลอดเลือดตีบแข็ง • มีโรคที่บ่งว่ามีภาวะดื้อต่ออินซูลินได้แก่ โรครังไข่มีถุงนำ�้หลายถุง ผู้ที่มีภาวะดังกล่าวแม้ไม่มีอาการของโรคเบาหวานควรตรวจสอบ ถ้าระดับ นำ�้ตาลอยู่ในข่ายสงสัยควรตรวจซำ�้ในระยะ 1 ปี
การป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน การรักษาโรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรังไม่หายขาดจะต้องควบคุมโรคไป ตลอดชีวิตและอาศัยความร่วมมือของผู้ป่วยและญาติ ในการ ดูแลตนเองตามคำ�แนะนำ�อย่างสมำ�่เสมอ การรักษาได้แก่ • การควบคุมอาหาร • การออกกำ�ลังกาย • การรักษาด้วยยาเม็ดลดระดับนำ�้ตาล และ/หรืออินซูลิน • การได้รับสุขศึกษาในการดูแลตนเอง เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ และสามารถปฏิบัติตนในการควบคุมโรคเบาหวานได้ถูกต้อง
การป้องกันโรคเบาหวาน การให้โภชนบำ�บัดที่เหมาะสม การออกกำ�ลังกายและ ลดนำ�้หนัก 5-10% ในผู้ที่อ้วน สามารถลดการเป็นเบาหวานได้
โรคแทรกซ้อนของเบาหวาน เป็นผลจากการควบคุมเบาหวานได้ไม่ดีอาจมีปัจจัยอื่นร่วม ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง การสูบบุหรี่ ภาวะแทรกซ้อนในระยะสั้น เป็นภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน ได้แก่ การเกิดเลือดเป็นกรดจากคีโตน ภาวะหมดสติจากน้ำ�ตาลในเลือดสูง นำ�้ตาล ในเลือดสูงจากการติดเชื้อ การเกิดน้ำ�ตาลตำ�่จากยาที่ใช้รักษา ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว การควบคุมเบาหวานไม่ดีในระยะยาวทำ�ให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังในระยะยาวได้แก่ โรคจอประสาทตาจากเบาหวาน โรคไตวาย โรคประสาทส่วนปลาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอด เลือดส่วนปลาย นำ�ไปสู่ความสูญเสียชีวิตและพิการ สูญเสียค่าใช้จ่าย ในการรักษา แม้โรคเบาหวานรักษาไม่หายขาดแต่สามารถควบคุมได้ ซึ่งจะช่วยป้องกัน หรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนทำ�ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีและดำ�เนินชีวิตได้ เหมือนคนปกติ
INFO GRAPHIC 90% เบาหวานชนิดที่2
10% เบาหวานชนิดที่ 1
เบาหวานชนิดที่ 1 ส่วนมากมักจะเกิดในผู้ที่มีอายุ น้อย 40ปี เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายไม่สามารถ ผลิตอินซูลินได้
40
เบาหวานชนิดที่ 2 ส่วนมากจะเกิดในผู้ที่มีอายุ มากกว่า 40 ปี เกิดขึ้นเนื่องจากร่างกายผลิต อินซูลินไม่เพียงพอ หรือร่างกาย ไม่สามารถใช้อินซูลินได้
เรียนรู้ เบาหวาน แบบง่ายๆ
เพื่อสุขภาพที่ดี และห่างไกลจากโรคเบาหวาน