โรคไต (Kidney Disease)
เมธา วิสุทธิศาลวงศ์
ผู้เขียน: เมธา วิสุทธิศาลวงศ์
1
ที่มา และความสำ�คัญ เมื่อพูดถึง โรคไต คนส่วนใหญ่จะเข้าใจว่า คือ โรคไตวายเรื้อรัง ซึ่งหมายถึงการสูญเสีย การทำ�งานของไตไปอย่างถาวร และถ้าเข้าสู่ ระยะสุดท้ายก็ต้องได้รับการฟอกเลือด หรือเปลี่ยนไต เพื่อให้สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ไปได้ จริงๆ แล้ว โรคไต มีอยู่หลายชนิด แต่ก่อนที่เราจะรู้จักโรคไตนั้น ควรทำ�ความรู้จักกับไตก่อน ไต เป็นอวัยวะรูปร่างคล้ายเม็ดถั่วแดง มี 2 3. โรคติดเชื้อ เช่น โรคติดเชื้อจากบคทีเรีย ของทาง ข้างอยู่บริเวณบั้นเอว หน้าที่สำ�คัญของไต คือ เดินปัสสาวะ 1. ขั บ ถ่ า ยของเสี ย ที ่ เ กิ ด จ ากการแตกตั ว ของ 4.โรคที่เกิดจากการอุดตันทางเดินปัสสาวะ เช่น ต่อม โปรตี นในอาหารออกจากร่ า งกาย ลูกหมากโต, นิ่ว เป็นต้น 2. รักษาสมดุลของน้ำ� เกลือแร่ กรอและด่ า งของ 5. โรคไตที่มสี าเหตุจากกรรมพันธุ์ เช่น โรคถุงน้ำ�ที่ไต ร่างกายให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 6. เนื้องอกในไต 3. ควบคุ ม ความดั นโลหิ ต 7. โรคทางด้านร่างกาย ที่มีแนวโน้มจะทำ�ให้ การทำ�งาน 4. สร้ า งฮอร์ โ มนกระตุ ้ น การสร้ า งเม็ ด เลื อ ด ของไตเสื่อมลง เช่น เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง แดงในไขกระดู ก ไต เป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบทางเดินปัสสาวะ ส่วนที่ต่อจากท่อไต (URETER) ซึ่งจะนำ�ปัสสาวะเข้าสู่ กระเพาะปัสสาวะ เข้าสู่ท่อปัสสาวะ (URETHRA) ในเพศ ชายจะมีต่อมลูกหมาก อยู่โดยรอบท่อปัสสาวะ โรคไตและระบบปัสสาวะ แบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ คือ 1. โรคที่เกิดจากการอักเสบ ในส่วนของไตที่มีหน้าที่ กรอง (โกสเมอรูรัส- GLOMERULUS) หรือเกิดจาก ภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย ไปกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ ได้แก่ กลุ่มอาการเนฟโฟติค (NEPHROTIC) และไตอักเสบ (NEPHRITIS) 2. โรคที่เกิดจากความผิดปกติของไต ที่เป็นท่อเล็กๆ (TUBULE) และเซลล์ที่พยุงไตให้เป็นรูปร่าง (INTERSTIJIUM) ซึ่งเราเรียกรวมๆ ว่า โรคของ TUBULO INTERSTITIUM โรคที่พบบ่อย คือ การตายของ เนื้อเยื่อที่ท่อไต (ACUTETUBULAR NECROSIS) ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของ ไตวายเฉียบพลัน
2
สาเหตุ การแบ่งสาเหตุของโรคไตอาจจะแบ่งได้หลายแบบ ที่นิยมกันจะแบ่งตามสาเหตุ 1.โรคไตที่เกิดจากกรรมพันธ์ ซึ่งสามารถถ่ายทอด 6.โรคไตที่เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง เนื่องจาก จากพ่อแม่ไปสู่ลูกหลานได้ อาการมักจะเกิดตั้งแต่ คนที่เป็นความดันโลหิตสูงนานๆจะทำ�ให้เส้นเลือดที่ วัยรุ่น เช่นโรค polycystic kidney disease. ไปเลี้ยงไตตีบ ทำ�ให้เกิดโรคไตวายได้ 2.โรคที่พิการแต่กำ�เนิด มักจะทำ�ให้การขับปัสสาวะ 7.โรคไตที่เกิดจากโรคเบาหวานเป็นสาเหตุที่พบบ่อย ถูกอุดกกลั้นซึ่งจะก่อให้เกิดทางเดินปัสสาวะอักเสบ ที่สุด หากอุดกลั้นมากๆไตจะบวมและอาจจะเกิดไตวาย 3.โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ ผู้ที่เป็นโรคจะมีอาการ ปวดเอว ปัสสาวะสีแดง อ่านเรื่องโรคนิ่วที่นี่ 4.ต่อมลูกหมากโตมีการอุดกลั้นของปัสสาวะทำ�ให้ ไตวายได้ 5.โรค Nephrotic Syndrome เป็นโรคที่เกิด จากไตเองหรือเกิดจากร่างกายมีโรคอื่น ไข่ขาว (Albumin)ซึ่งปกติจะไม่สามารถซึมผ่านท่อไตได้ แต่ผู้ป่วยโรคนี้จะมีการรั่วของไตทำ�ให้ไข่ขาวและสาร อื่นรั่วออกจากไต ทำ�ให้เกิดการบวม ไขมันในเลือด สูง
3
8.ยา ยาแก้ปวด หรือสารพิษบางชนิดก็ทำ�ให้เกิด โรคไต 9.โรตไตอักเสบ Glomerulonephritis 10.โรคแพ้ภูมิตนเอง (autoimmune diseases) เช่นโรค SLE หนังแข็ง ที่อาจก่อให้เกิด ไตผิดปกติ 11.โรคติดเชื้อในระบบ (systemic infection) ที่อาจก่อให้เกิดโรคไต 12.โรคหัวใจและหลอดเลือด (cardiovascular disease) 13.โรคติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะซ้ำ�หลายครั้ง
14.อายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป
4
อาการ โดยทั่วไปร่างกายจะแสดงอาการผิดปกติออกมาก็ต่อเมื่อไตทำ�งานหนักมากแล้ว ซึ่งกว่าจะรู้ตัวและ หาทางรักษาอาจสายเกินไป และอาการต่อไปนี้ คือ สัญญาณอันตรายที่เป็นข้อบ่งชี้ว่า คุณอาจเป็นโรคไต
อาการปัสสาวะผิดปกติ เนื่องจากกระเพาะปัสสาวะและไต ทำ�งานสัมพันธ์กัน เมื่อเกิดความผิดปกติขึ้นที่ไต กระเพาะ ปัสสาวะจึงผิดปกติไปด้วย ซึ่งคุณหมอได้แนะวิธีสังเกตอาการผิดปกติของปัสสาวะไว้ดังนี้
ปัสสาวะเป็นฟองมาก
ปัสสาวะบ่อยกว่าปกติ
ปัสสาวะขัด ปัสสาวะเป็นเลือด
5
อาการบวม
ผู้ป่วยที่เป็นโรคไตส่วนใหญ่ มักจะมี อาการบวมตามที่ต่างๆ ของร่างกาย เช่น อาการ บวมรอบดวงตา และที่บริเวณหน้า ซึ่งอาจสังเกต ได้เวลาตื่นนอน หรืออาการบวมที่เท้า สังเกตได้ ในตอนช่วงบ่ายของทุกวัน หรือเมื่อทำ�กิจกรรมที่ ต้องยืนเป็นเวลานาน จะรู้สึกว่ารองเท้าที่สวมอยู่ ดูคับขึ้น ทั้งนี้ หากใช้นิ้วกดไปตรงบริเวณที่บวม แล้วมีรอยบุ๋มลงไป ให้สันนิษฐานไว้เลยว่าเป็นโรค ไต ควรไปพบแพทย์โดยด่วน
อาการปวด
พบบ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคไต ซึ่งส่วนใหญ่ เกิดจากการปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง ปวดเอว ปวด กระดูกและข้อ โดยจะมีลักษณะการปวด คือ รู้สึกปวด ที่บั้นเอว หรือบริเวณชายโครงด้านหลัง และมักปวด ร้าวไปถึงท้องน้อย ขาอ่อน หัวเหน่า และที่อวัยวะเพศ การปวดในบริเวณดังกล่าว อาจเกิดจากมีการอุดตัน ที่ท่อไต กรวยไตอักเสบ หรือในท่อไตมีถุงน้ำ�โป่งพอง
ความดันโลหิตสูง
เป็นอาการสำ�คัญอย่างหนึ่งที่บอกให้รู้ว่า คุณมีภาวะเสี่ยงต่อ การเป็นโรคไตเรื้อรัง โดยเฉพาะคนที่ป่วยเป็นความดันโลหิตสูงมานาน และไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในภาวะที่สมดุล จะยิ่ง มีภาวะเสี่ยงมากกว่าปกติ โดยอาจจะเป็นโรคไตเรื้อรัง และโรคหลอด เลือดแดงในไตตีบได้
6
การรักษา วิธีรักษาโรคไต อาจแบ่งได้เป็น 4 วิธีหลักๆ ด้วยกัน คือ 1.การตรวจค้นหา และการวินิจฉัย เป็นหัวใจ การล้างไต (Dialysis) มี 2 วิธี สำ�คัญอย่างหนึ่ง ของกระบวนการรักษา คือ 1. การฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม (He 2.การรักษาที่สาเหตุของโรคไต : เช่นการรักษานิ่ว modialysis) ไต การหยุดยาซึ่งเป็นพิษต่อไต การควบคุมโรคเบาหวาน 2. การล้างไตทางช่องท้อง (Peritonel และความดันโลหิตสูง ให้ดีอย่างสม่ำ�เสมอ การใช้ยาที่เหมาะ Dialysis:CAPD) สม กับโรคเนื้อไตอักเสบแต่ละชนิด เป็นต้น ผู้ป่วยที่เริ่มรักษาโดยการล้างไตแล้ว จะสามารถหยุดการล้างไตได้หรือไม่นั้น ขึ้นกับ ชนิดของโรคไตวายที่ผู้ป่วยเป็น กล่าวคือ หาก เป็นไตวายชนิดเฉียบพลัน เมื่อแพทย์รักษาโรค ที่เป็นสาเหตุของไตวายให้ดีขึ้นแล้ว การทำ�งาน ของไต มักกลับฟื้นขึ้นมาได้เป็นส่วนมาก และผู้ ป่วยกลุ่มนี้ จะสามารถหยุดการล้างไตได้ แต่ ในกรณีผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ซึ่ง 4.การรักษาทดแทน การทำ�งานของไต (การล้าง การทำ�งานของไตผู้ป่วยกลุ่มนี้ เหลือน้อย ไต และการผ่าตัดปลูกถ่ายไต) : เมื่อไตวายมากขึ้น จนเข้า มาก และไม่อาจฟื้นกลับมาทำ�งานได้อีก ดัง ระยะสุดท้าย ผู้ป่วยที่เหมาะสมกลุ่มหนึ่ง จะได้รับการรักษา นั้น การล้างไตในผู้ป่วยกลุ่มนี้ จะต้องทำ� ด้วยการล้างไต หรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไต 3.การรักษาเพื่อชะลอ ความเสื่อมของไต เนื้อไต บางส่วนถูกทำ�ลายไป ไตส่วนที่ดีซึ่งเหลืออยู่ อาจจะต้อง ทำ�งานหนักขึ้น ทำ�ให้ไตเสื่อมการทำ�งานมากขึ้น ตามระยะ เวลา และมักเกิดไตวายในที่สุด การรักษาที่สำ�คัญในระยะนี้ คือ การรักษา เพื่อมุ่งชะลอการเสื่อมของไต อันได้แก่ การ ควบคุมอาหารให้เหมาะ
ไปตลอดชีวิตของผู้ป่วย หรือจนกว่าผู้ ป่วย จะได้รับการผ่าตัดปลูกถ่ายไต
7
การป้องกัน 1. ดื่มน้ำ�สะอาดอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว 2. หมั่นสนใจสุขภาพของตนเอง และตรวจร่างกายเป็นประจำ�ทุกปี 3. หลีกเหลี่ยงสารเสพติด รวมถึงบุหรี่และแอลกอฮอล์ 4. เลือกอาหารที่มีคุณค่า สุก สะอาด และมีประโยชน์ หลีกเห ลี่ยงการกินอาหารไขมันสูง 5. ออกกำ�ลังกายอย่าง สม่ำ�เสมอ และเลือกออก กำ�ลังกายอย่างเหมาะสม 6. ควบคุมน้ำ�หนักให้ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
7. หลีกเลี่ยงการกลั้น ปัสสาวะเป็นเวลานาน 8. พักผ่อนให้เพียงพออย่าง น้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน
8
80.8% KIDNEY
14.1% LIVER
2.8% HEART
1.9% KIDNEY & PANCREAS
1.4% LUNG
1.1% PANCREAS
0.2% INTESTINE
0% HEART&LUNG
จากผู้ป่วยโรคไต 10คน เพศชาย 6คน เพศหญิง 4คน
ไต