FUSION MAGAZINE Vol.2

Page 1

FUSION Magazine

Vol.2

July-Sep 2014

FREE COPY

วารสารมากสาระ ในโลกวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร

เวชศาสตร น ิ ว เคลี ย ร ประโยชนทางการแพทยที่คุณไมเคยรู Scan to Visit offfiicial Site

www.tint.or.th


Editor’s Talk

Editor’s Talk เรือ่ งของนิวเคลียรถกู คิดคน และนำประโยชน มาใชกอ นทีค่ นจะรูจ กั ระเบิดนิวเคลียร คงไมมใี คร ไมรูจักนักวิทยาศาสตรผูมีชื่อเสียงและเปนที่ รูจักในยุคนั้นอยาง มาดาม มารี คูรี ชื่อเสียง ของ มาดามคูรี โดงดังคูกับแรเรเดียมที่เมื่อกอน เคยใชรักษาโรคมะเร็ง และมาดามคูรียังเปน ผูหญิงคนแรกที่ไดรับรางวัลโนเบล อีกทั้งยังเปน ผูหญิงคนเดียวที่ไดรับรางวัลโนเบลดานวิทยาศาสตรถงึ 2 ครัง้ ในสาขาฟสกิ สเมือ่ ป ค.ศ. 1903 และสาขาเคมีเมื่อป ค.ศ. 1911 ต อ มาในป ค.ศ. 1934 เปนชวงเวลาที่คนพบปรากฏการณ กัมมันตภาพรังสีทท่ี ำขึน้ โดยมนุษย และนักวิทยาศาสตรประสบความสำเร็จในการผลิตนิวไคลด กั ม มั นตรั ง สี ในห อ งปฏิ บ ั ต ิ ก ารที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ การใชงานในทางการแพทย ในป ค.ศ. 1946 การศึ ก ษาการใช ร ั ง สี ก ั บ การแพทย ได พ ั ฒ นา มาเรื่อย ๆ จนถึงปจจุบัน แนนอนเราคงปฏิเสธ ไม ได ว  า เราได ใช น ิ ว เคลี ย ร ในทางการแพทย มาทุกคน อยางนอยก็ตองถูกเอ็กซเรย กระดูก ปอด หรืออวัยวะภายในอื่น ๆ ฉะนั้นนิวเคลียร กับการแพทยเปนเรือ่ งทีเ่ กือ้ หนุนกันเปนอยางมาก และเปนกระบวนการคิดคน สรรคสรางของนัก วิทยาศาสตร เพือ่ วินจิ ฉัย รักษา และสรางคุณภาพ ชีวิตใหมนุษยเราไดอยูในโลกนี้ไดยืนยาวโดยแท

คณะผูจัดทำ / เจาของ บรรณาธิการบทความ กองบรรณาธิการ นักเขียน พิสูจนอักษร ศิลปกรรม กราฟกดีไซน ชางภาพ / ตกแตง พิมพที่ จัดทำโดย

2 FUSION MAGAZINE

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ฝายสื่อสารองคการ สทน. ฝายสื่อสารองคการ สทน. สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข • ไขนภา รัตนรุจิกร • อังคนันท อังกุรรัตน • ดวงฤทัย ปงใจ ชลาลัย อรุณรัตน บราวนแบร (ฺBrownbear) วรรษชล ธรรมวัน ประวิทย กิ้มถอง บริษัท อีเกิ้ล เปเปอร จำกัด บริษัท ไดดี โปรดักชั่น จำกัด 328 ถนนประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 8 แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 Tel : 02-943-5334 Mobile : 092-758-7977


In this issue

Contents

Hilight

1

Cover Story : เวชศาสตรนิวเคลียรกับประโยชนทางการแพทย

Voyage : ฮิโรชิมา

Contents

Do you know : ประวัติของเวชศาสตรนิวเคลียร

04 Social Surround 06 Do you know ประวัติเวชศาสตรนิวเคลียร 08 Idea Design Innovative Design 10 Cover Story เวชศาสตรนิวเคลียร 16 Science Tech รักษาอาการอักเสบดวย เภสัชรังสี 18 Machinery Sight อาคารผลิตเภสัชรังสีแหงแรกของไทย 20 Voyage ฮิโรชิมา 22 Activities News

LIKE SHARE & FOLLOW

Health : อาหารเพิ่มพลังสุขภาพ

24 Edutainment เรียน รู เลน เทคโนโลยี 28 Chill Out แนะนำอาหารรานโดนใจ 30 Interview มั่นใจในการรักษากับเวชศาสตรนิวเคลียร 36 On the Earth ความงามที่ซอนไวซึ่งคุณประโยชน

40 เรื่องเลา Blogger นิวตันไมใชนักวิทยาศาสตรจริงหรือ ? 42 Health ทริคเด็ด เกร็ดสุขภาพ 44 Workshop

ความเคลื่อนไหว สทน.

JOIN OUR COMMUNITY ON

ติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

Thainuclearclub

เนื้อหาทุกสวนภายในนิตยสาร Fusion magazine จัดทำเพื่อสงเสริมความรูความเขาใจ ดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร และการเปดโลกทัศนดานอื่น ๆ ไมไดมุงหวังเพื่อการโฆษณาสินคาแตอยางใด FUSION MAGAZINE 3


Social Surround เรื่อง Greyscale

Social Surround Amazon ffiireTV

เปนทีน่ า จับตามอง เมือ่ Amazon เปดตัวกลอง Amazon reTV ซึ่งมีความเร็วระดับ Quad-Core CPU มาพรอมระบบ ปฏิบัติการ Android เชื่อมตอผาน HDMI ความละเอียด ระดับ 1080p. และระบบเสียง Dolby Digital ซึง่ แนนอนวา เปนการประกาศตัวการแขงขันกับ Apple TV, Roku และ Chromecast อยางเปนทางการดวย สำหรับตลาด ในบานเราเจา Amazon reTV จะเปนที่นิยมหรือไม ตองติดตามกันตอไป

Aquaduct Veluwemeer

หนึ่งในสถาปตยกรรมที่ตองยกใหกับไอเดียสุดเจงของประเทศ เนเธอรแลนด Aquaduct Veluwemeer ทีส่ รางสะพานสงน้ำเชือ่ มตอ ระหวางประเทศเนเธอรแลนดกับเกาะ Flevoland ซึ่งนับวาสะพาน สงน้ำนี้เปนสิ่งกอสรางที่ถมพื้นที่เชื่อมตออันมีขนาดใหญที่สุดในโลก ภาพ www.barnorama.com

Social Surround

ภาพ www.time.com

Foodini

ใคร ๆ ก็พูดถึงเจาเครื่องพิมพอาหาร Foodini ที่มาพรอมกับความสามารถ พิมพอาหารทานได 3 มิติ แบบเดียวกับทีเ่ ราเคยเห็นในการตนู แหงโลกอนาคต ถึงแมวาตอนนี้จะยังอยูในระหวางการพัฒนาเทคโนโลยีใหมีความเปนไปได ในการประกอบอาหารหลากเมนู เจา Foodini เคยโชวฝมือในการปรุง และใหเราชิมไดแลว ซึ่งเชื่อวาจะสามารถพัฒนาเปนอาหารหลากหลาย นอกเหนือจาก ช็อกโกแลต สปาเก็ตตี้ ฯลฯ พบกับนวัตกรรมสุดเจงแนนอน ภาพ www.brit.co/foodini-kickstarter

4 FUSION MAGAZINE


Social Surround

Gastronomic Voyeurism

ตกตะลึงกับธุรกิจที่สรางรายไดถึงเดือนละ 3 แสนบาท เปนทีก่ ลาวถึงเปนอยางมากกับอาชีพใหมทส่ี รางรายไดโดยไมตอ ง ออกจากบาน หลังจากที่ ปารก โซ ยอน (Park Seo yeon) สาวสวยชาวเกาหลีใต อายุ 34 ป รับจางกินขาวผานเว็บแคม หรือ Gastronomic Voyeurism ซึ่งนับวาสรางรายไดใหเธอ เปนอยางมาก เพียงกินขาวโชววันละ 3 ชั่วโมงเทานั้น สำหรับอาชีพนี้นอกจากจะสรางรายไดแลว ยังชวยใหหนุม ๆ ชาวเกาหลีที่อยูคนเดียวมีกำลังใจ และมีความสุขในการกิน มากขึ้นอีกดวย

รถไฟคลาสสิกสายโคมินะโตะ (Kominato Railway)

เสนทางรถไฟสายธรรมชาติที่ถือไดวามีความสวยที่สุดในญี่ปุน มีระยะทาง 39.1 กิโลเมตร โดยขนาบขางดวยวิวธรรมชาตินา หลงใหล ในแบบสถานีรถไฟแบบคลาสสิก รถไฟสายโคมินะโตะ (Kominato Railway) ตนสายอยูท ส่ี ถานีโกะอิ (Goi Station) สุดสายทีส่ ถานี คะซุนะ-คะตะโนะ (Kazusa-Nakano Station) ซึง่ อยูไ มไกลจาก สนามบินนาริตะ จังหวัดชิบะ

Social Surround

แมงกะพรุน อมตะ

ในขณะที่มนุษยเราโหยหาความยั่งยืน หรือความเปนอมตะของชีวิต กลับตองอิจฉาเมื่อพบวา เจาแมงกะพรุน Turritopsis Nutricula สามารถยอนวัยได หลังจากถึงวัยผสมพันธุดวยกลไกของเซลลที่เรียกวา Transdifferentiation ที่สามารถทำใหรางกายไมแกลงนั่นเอง จะบอกวามันเปนอมตะก็ไดซึ่งมีวงจรอายุจากเด็กไปแก แลวก็กลับมาเด็กอีก แบบนีไ้ มสน้ิ สุด นอกจากมันจะถูกกินหรือทำลาย อืม..เหมือนซอมบีด้ ี ๆ นีเ่ อง Credit : biologypop.com

Your Space Your Space :

สำหรับนอง ๆ คนไหนมีเรือ่ งราวนาสนใจ หรือมีอะไรอยากเลา ทางทีมงานมีความ ยินดีที่จะลงบทความ สงกันเขามาไดที่

Thainuclearclub@gmail.com หรือติดตามพวกเราจาก Social ไดที่นี่

#Thainuclearclub

FUSION MAGAZINE 5


Do you know ที่มา : www.news-medical.net/health/History-of-Nuclear-Medicine.aspx

ประวัติของเวชศาสตรนิวเคลียร

History of

Nuclear

Medicine การผลิตนิวไคลดกัมมันตรังสี โดยหองปฏิบัติการทดลองแหงชาติโอกริดจ (Oak Ridge National Laboratory) ที่เกี่ยวของกับการใชงานในทางการแพทย

Do you know

1946

1934

คนพบปรากฏการณกัมมันตภาพรังสี ทำขึ้น (Artificial Radioactivity) คนพบไอโซโทปรังสีทำขึน้ (Artificial Isotope) โดย เฟรเดิรก ฌอลีโย-กูวรี (Frederic Joliot-Curie) และอีแรน ฌอลีโย-กูวรี (Irene Joliot-Curie) ซึ่งเปนหลักไมลที่ สำคัญที่สุดในทางเวชศาสตรนิวเคลียร

6 FUSION MAGAZINE

1950

มีการขยายตัวของความรูที่เกี่ยวกับนิวไคลด กัมมันตรังสี การตรวจวัดกัมมันตภาพรังสี และการใชนิวไคลดกัมมันตรังสีบางอยาง ในการติดตามกระบวนการทางชีวเคมี Benedict Cassen พัฒนาเครื่องกราดตรวจ เชิงเสน (Rectilinear Scanner) เปนครั้งแรก และกลองถายภาพแสงวับ (Scintillation Camera) หรือกลองแองเกอร (Anger Camera) ของแฮล โอ แองเกอร (Hal O. Anger’s) ซึ่งชวยขยายวิชาชีพทางเวชศาสตรนิวเคลียร ดานการถายภาพทางการแพทยเฉพาะทาง


Do you know

1954

กอตั้งสมาคมเวชศาสตรนิวเคลียร (The Society of Nuclear Medicine) ที่ Spokane วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา สมาคมนี้ทำใหเวชศาสตรนิวเคลียร เจริญเติบโตอยางเปนปรากฏการณ

อวัยวะของรางกายสวนใหญ อาจจะมองเห็นไดโดยการใช วิธีการทางเวชศาสตรนิวเคลียร ในป ค.ศ. 1971 สมาคมการแพทยอเมริกา ไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ ของเวชศาสตรนิวเคลียร ในฐานะ สิ่งที่ทำไดดีเปนพิเศษทางการแพทย

1970s Do you know

1960

สมาคมตีพิมพวารสารของเวชศาสตรนิวเคลียร ที่เปนวารสารชั้นแนวหนา สำหรับวิชาชีพนี้ ในอเมริกา มีชวงของการตื่นเตนของการวิจัย และพัฒนานิวไคลดกัมมันตรังสีใหม ๆ และเภสัช ภัณฑรังสีสำหรับใชกับอุปกรณการถายภาพสำหรับ การศึกษาทางนอกกาย (In-Vitro) ในมวลหมูของ นิวไคลดกัมมันตรังสีสำหรับใชทางการแพทยไมมี อะไรสำคัญเทาการคนพบและการพัฒนาของ เทคนีเซียม-99m

1980

คณะกรรมการของเวชศาสตรนิวเคลียร อเมริกัน (The American Board of Nuclear Medicine) ไดเปนที่ยอมรับ ประสานใหเวชศาสตรนิวเคลียร ในฐานะ การแพทยเฉพาะทาง (Medical Specialty) เภสัชภัณฑรังสีไดรับการออกแบบ สำหรับการใชเพื่อวินิจฉัยโรคหัวใจ การพัฒนาเครื่อง Single Photon EmissionTomography (SPET)

FUSION MAGAZINE 7


Idea Design เรื่อง Brownbear

Idea Design โลกเรานั้นหมุนไปอยางรวดเร็ว แตมีสิ่งหนึ่งที่ไมเคยเปลี่ยนเลย คือ แรงบันดาลใจของผูคน ที ่ จ ะคอยสร า งสรรค ง านออกแบบที ่ เต็ ม ไปด ว ยนวั ต กรรมใหม ๆ และจิ นตนาการอย า ง ไมรูจบ วันนี้เราจึงมีงานออกแบบที่เกี่ยวของกับเทคนิคทางวิทยาศาสตร เจง ๆ มาใหดูกัน

Wood Casting / Hilla Shamia

Idea Design

งานไมที่ผสมผสานการหลออะลูมิเนียมเขาดวยกัน ผลงานออกแบบของศิลปนชาวฝรั่งเศส Credit : www.hillashamia.com

Rocking Horse

C-119 Rudder Desk หลายคนคงจะชื่นชอบการเลนมาโยกเมื่อยัง เยาววัย งานดีไซนมาไม รีไซเคิลจากธรรมชาติ ชิ้นนี้ ดูสนุกนาคนหาไมเบาเลยทีเดียว Credit : hillashamia.com 8 FUSION MAGAZINE

โตะทำงานที่ทำจากวัสดุรีไซเคิลของเครื่องบินที่ใชในสมัย สงครามเกาหลีและเวียดนาม ทราบหรือไมวาโตะตัวนี้ มีชั่วโมงบินถึง 120 ชั่วโมง กอนจะมาเปนเฟอรนิเจอรสุดเท Credit : www.motoart.com


Idea Design

Thai Angle ข า วต ม ลู ก โยน โคมไฟดีไซนหรู แรงบันดาลใจจากขนมไทย ในชวงทำบุญตักบาตรเทโว ลักษณะสามเหลี่ยม งานออกแบบไมธรรมดา แสดงคุณคาความเปนไทย Credit : whatta_hell@hotmail.com

INNOVATIVE DESIGN

The Kai Table

ผลงานของนักออกแบบชาวญี่ปุน Naoki Hirakoso และ Takmitsu Kitahara ที่เต็มไปดวยกลิ่นอายแหงเอเชียตะวันออก พรอมบานเลื่อนสลับซับซอน มีชองเก็บของมากมาย เหมือนคายกลเพิ่มลูกเลนในการใชงานอยางมีดีไซน ใครที่ชอบใสอะไรไวในโตะตัวนี้ ระวังจะหาไมเจอกันนะ Credit : www.hirakoso.jp

FUSION MAGAZINE 9


Cover Story เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

เวชศาสตร นิ ว เคลี ย ร กับประโยชนทางการแพทย Cover Story

การวินิจฉัยและรักษาโรคโดยใชรังสี มีมานานไมต่ำกวา 100 ป หลายทานอาจรูจักและคุนเคยกับการตรวจดวยการฉายรังสี (X-ray) เอ็กซเรยคอมพิวเตอร (CT Scan) หรือการตรวจรางกายดวย คลื่นแมเหล็กไฟฟา (MRI) แตจะมีนอยคนที่รูจักหรือเคยตรวจโรค ดวยวิธีทางเวชศาสตรนิวเคลียร “เวชศาสตรนวิ เคลียร” คือ การนำสาร ทีเ่ รียกวากัมมันตรังสีมาใช เพือ่ ชวยในการ ตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค ปจจุบันใน วงการแพทย ไดนำสารกัมมันตรังสีมาใช ประโยชนในการตรวจวินิจฉัย และรักษา โรคอยางมากมาย อาทิ ใช เพื่อตรวจ วินิจฉัยการแพรกระจายของมะเร็งมายัง กระดูก ตรวจวินจิ ฉัยภาวะกลามเนือ้ หัวใจ ขาดเลือด ตรวจการทำงานของไต ตรวจการ ทำงานของระบบทางเดินอาหาร เปนตน ในป จ จุ บ ั นการรั ก ษาโรคด ว ยสาร กั ม มั นตรั ง สี ได ม ี ก ารยอมรั บ กั น อย า ง แพรหลาย โดยเฉพาะการใชสารกัมมันตรังสีไอโอดีน (I-131) เพื่อรักษาภาวะ ต อ มไทรอยด เป น พิ ษ และมะเร็ ง ต อ ม ไทรอยด พบวา สามารถรักษาโรคไดอยาง มีประสิทธิภาพ กอนอื่นเราควรทำความ รู  จ ั ก ว า “สารกั ม มั นตรั ง สี ” คื อ อะไร สารกั ม มั น ตรั ง สี คื อ สารที ่ ส ามารถ ปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปรังสี ซึง่ รังสี ทีป่ ลดปลอยออกมามีหลายชนิด เชน รังสี บีตา รังสีแกมมา เปนตน ซึ่งรังสีตาง ๆ เหลานีไ้ ดถกู นำมาใชประโยชนทางการแพทย อยางมากมาย และในชีวติ ปกติของเรานัน้ อาจยังไมรวู า เรานัน้ ไดหยิบจับหรือสัมผัส 10 FUSION MAGAZINE

สารเหลานี้มาตลอดทั้งชีวิต เราจึงจำเปน ตองศึกษาเรื่องราวและความรูความเขาใจ เกี่ยวกับ “เวชศาสตรนิวเคลียร” ปจจัยสำคัญตอคุณภาพในการบำบัด ความปวยไขของผูป ว ยมีดว ยกัน 2 ประการ ไดแก การวินิจฉัยที่ถูกตอง และการใหการ รักษาดวยวิธีการที่เหมาะสม สำหรับการ ตรวจวินจิ ฉัย เทคโนโลยีนวิ เคลียรมบี ทบาท ในการเสริมคุณภาพของการตรวจใหมคี วาม ถูกตองและแมนยำยิง่ ขึน้ ดวยขอดีของสาร กัมมันตรังสีที่มีความไวสูง เมื่อนำไปติด เขากับสารใด ๆ จะสามารถติดตามไดงาย แมเมื่อสารที่ตองการตรวจในปริมาณเพียง เล็กนอย เวชศาสตรนวิ เคลียรจงึ นำหลักการ ในขอนี้ของสารกัมมันตรังสีมาใชประโยชน ในการตรวจหาความปวยไขอนั เนือ่ งมาจาก กายวิภาคที่ผิดปกติ โดยการใหเภสัชรังสี ซึ่ง ไดแ ก การติ ด สารรั งสี เข า กั บ สารที ่ ม ี ความสามารถที่จะเคลื่อนที่ผานหรือถูกจับ หรือสะสม ในอวัยวะเปาหมายที่ตองการ แลวจึงใชเครื่องวัดรังสีตรวจติดตามความ ผิดปกติของการเคลื่อนที่หรือการสะสมที่มี ตอเนื้อเยื่อหรืออวัยวะนั้น ๆ จึงสามารถ วินิจฉัยไดตั้งแตเริ่มแรก และยังจะชวย ใหทำการรักษาไดผลยิ่งขึ้น


Cover Story

FUSION MAGAZINE 11


Cover Story

Cover Story

การใชรังสีวินิจฉัยในเวชศาสตร การวินิจฉัยโรคดวยสารกัมมันตรังสี อาศัยหลักการเชนเดียวกับการใชสาร กัมมันตรังสีในการรักษาโรค คือ หลังจาก ที ่ ผ ู  ป  ว ยได ร ั บ สารกั ม มั นตรั ง สี เ ข า ไป ซึ่งอาจจะไดรับโดยการฉีด รับประทาน หรือการหายใจเขาไป สารกัมมันตรังสี จะเขาไปตามสวนตาง ๆ ของรางกาย ที่มีความเฉพาะเจาะจง จากนั้นจะแผ รังสีแกมมาออกมา (รังสีแกมมา เปนรังสี ที ่ ไม ส ามารถมองเห็ น ด ว ยตาเปล า ) โดยรังสีแกมมาจะแสดงตำแหนงที่ผิด ปกติจากภายในรางกายออกมา ซึง่ แพทย จะใชเครือ่ งมือชนิดพิเศษทำการตรวจจับ รังสีแกมมา แลวนำมาสรางภาพตาง ๆ ภาพที่ไดจะถูกประมวลผล โดยแพทย ผูเชี่ยวชาญทางดานเวชศาสตรนิวเคลียร เพื่อใหการวินิจฉัยโรคแกผูปวย นอกจากกายวิภาคแลว โรคภัยบาง ชนิดจะกอใหเกิดความผิดปกติของอวัยวะ และเนื้อเยื่อ รังสีเอ็กซเขามามีบทบาท ในงานรังสีวินิจฉัย ทำใหสามารถมอง เห็ น สรี ร ะของเนื ้ อ เยื่อ ที ่ เปลี ่ ย นไป แมความผิดปกตินั้นจะอยูลึกเขาไปภาย ในรางกาย เมือ่ วิทยาการดานคอมพิวเตอร มีความกาวหนาขึน้ ทัง้ เวชศาสตรนวิ เคลียร และรังสีวินิจฉัยไดรับอานิสงคดวยการ นำเทคนิ ค โทโมกราฟ เ ข า มาประยุ ก ต เกิดเปนเครื่องมือที่สามารถสรางภาพ 3 มิติ ของอวัยวะได ขณะที่รังสีวินิจฉัย มี เครื ่ อ ง CT เวชศาสตรน ิวเคลีย รก ็มี เครื่อง SPECT และ PET ตอมาจึงมี การรวมเครือ่ งมือทัง้ 2 ดานเขาไวดว ยกัน เปน SPECT/CT และ PET/CT ทำให สามารถตรวจความผิดปกติของกายวิภาค และสรีระของผูปวยพรอม ๆ กัน สงผล ใหทราบทั้งความผิดปกติและตำแหนง ที่เปนไดอยางแมนยำ ในดานของเภสัช รังสีก็มีการพัฒนาอยูตลอด เชน การนำ สารประกอบเปปไทด แ ละแอนติ บ อดี

12 FUSION MAGAZINE

ซึ ่ ง เป น สารชี ว โมเลกุ ล ที ่ ม ี ค วามเฉพาะ เจาะจงมากและเปนตัวบงชี้โรคมาเตรียม เป น เภสั ช รั ง สี จึ ง ทำให ค วามแม น ยำ ของการวิ น ิ จ ฉั ย สูง อั น เป น ประโยชน อยางมากตอการวางแผนรักษา ในสวนของการบำบัดรักษา ไดมีการ นำเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร เข า มาส ง เสริ ม

คุณภาพทางการแพทย ตั้งแตการฉายรังสี เพื ่ อ บำบั ด เนื ้ อ งอกและมะเร็ ง ของอวั ย วะ ที่อยูลึก ๆ เขาไปในรางกาย และการฝงสาร กัมมันตรังสีเขาไปในบริเวณเนื้องอก ตอมา เมื่อประสบผลสำเร็จในการพัฒนาเภสัชรังสี เพือ่ การวินจิ ฉัยรักษาโรคดวยสารกัมมันตรังสี อาศัยหลักการ คือ หลังจากทีผ่ ปู ว ยไดรบั สาร


Cover Story

กัมมันตรังสี โดยการรับประทานหรือฉีดเขา ไปในรางกาย สารกัมมันตรังสีนน้ั จะเขาสู อวัยวะหรือเนือ้ เยือ่ ทีม่ คี วามเฉพาะเจาะจง และมีผลทำใหเนื้อเยื่อสวนนั้นไดรับรังสี อยางเต็มทีโ่ ดยตรง ขณะเดียวกันเนือ้ เยือ่ ทีอ่ ยูข า งเคียงจะไดรบั ปริมาณรังสีในระดับ ต่ำจึงลดอันตรายจากรังสีตอ เนือ้ เยือ่ ปกติ

และทำใหสามารถบริหารสารกัมมันตรังสี ซ้ำไดหลายครั้งโดยไมตองกังวลวาจะทำ ใหเกิดผลแทรกซอนตอเนื้อเยื่อปกติอื่น สำหรับประสิทธิภาพของการรักษาโรค ดวยสารกัมมันตรังสีพบวามีประสิทธิภาพสูง ในการรั ก ษา อาทิ ผู  ป  ว ยภาวะต อ มไทรอยดเปนพิษ สามารถหายจากโรคหลังจาก

การวินิจฉัยโรคดวยสารกัมมันตรังสี อาศัยหลักการเชนเดียวกับการใชสาร กัมมันตรังสีในการรักษาโรค คือ หลังจากที่ผูปวยไดรับสารกัมมันตรังสีเขาไป ซึ่งอาจจะไดรับโดยการฉีด รับประทานหรือการหายใจเขาไป สารกัมมันตรังสีจะเขาไปตาม สวนตาง ๆ ของรางกายที่มีความ เฉพาะเจาะจง จากนั้นจะแผรังสี แกมมาออกมา (รังสีแกมมา เปนรังสี ที่ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา) อยางที่เห็นดังภาพ

FUSION MAGAZINE 13

Cover Story

รั บ ประทานสารกั ม มั นตรั งสี ไอโอดีนเพียง ครั้งเดียวถึง 60% ผูปวยมะเร็งตอมไทรอยด บางชนิดพบวามีอตั ราการตายต่ำลง หลังจาก ไดรบั การรักษาดวยสารกัมมันตรังสี และผูป ว ย ที่มีอาการปวดกระดูกจากการแพรกระจาย ของมะเร็งพบวา 70% ของผูปวยหลังไดรับ การรักษามีอาการปวดลดลง และมีคุณภาพ ชีวิตดีขึ้น สำหรับการแพทยในประเทศไทย การพัฒนา เทคโนโลยีนิวเคลียรดานการตรวจวินิจฉัย คอนขางเจริญกาวหนามาก มีการนำเครือ่ งมือ ทันสมัยและการพัฒนาเภสัชรังสีสำหรับการ วินจิ ฉัยอยางตอเนือ่ ง แตในสวนของเภสัชรังสี สำหรับการบำบัดคอนขางจำกัด เนื่องจาก ขอจำกัดของเครื่องมือที่ใชในการผลิตสาร กัมมันตรังสี ทำใหตอ งนำเขาจากตางประเทศ ดวยราคาทีแ่ พงมาก นอกจากนี้ ยังมีขอ จำกัด ในเรือ่ งของตัวยาทีจ่ ะนำมาประกอบกับสารรังสี บางชนิดตองนำเขาดวยราคาที่แพงเกินกำลัง ความสามารถที่ผูปวยจะแบกรับได และบาง ชนิดก็ไมมีจำหนาย สงผลใหผูปวยไมไดรับ การบำบัดดวยวิธีการที่เหมาะสมกับโรคที่เปน


เครื่องวินิจฉัยสรางภาพระบบหมุนเวียนของเลือด และตรวจกระดูก (SPECT, Cardiovascular Imaging and Bone Scanning)

รังสีรักษา ในเวชศาสตร น ิ ว เคลี ย ร (Treatment in Nuclear Medicine) ในการทดสอบการถ า ยภาพทาง เวชศาสตรนิวเคลียร การฉีดสารกัมมันตรังสีเขาไปในรางกายจะไมเปนอันตราย แกคนไข ไอโซโทปรังสีทใ่ี ชทางเวชศาสตร จะสลายไปในระยะเวลาอันรวดเร็ว ในชวง เปนนาทีหรือชัว่ โมงและมีระดับการแผรงั สี ที่นอยกวาการฉายรังสีเอ็กซ หรือการ กราดตรวจแบบ CT และจะถูกขับออกมา ทางปสสาวะ หรือการเคลือ่ นไหวของลำไส 14 FUSION MAGAZINE

ถายออกมา แตบางเซลลอาจไดรบั ผลกระทบ จากรังสีชนิดกอไอออน (แอลฟา บีตา แกมมา และรังสีเอ็กซ) โดยเซลลมีการแบงตัวเพิ่ม ปริมาณดวยอัตราที่แตกตางกัน และเซลล ที่มีการแบงตัวอยางรวดเร็วเพิ่มปริมาณ จะมีผลกระทบอยางรุนแรงมากกวาเซลล ที่มีมาตรฐานในการแบงตัวเพิ่มปริมาณ ด ว ยเหตุ ผ ลจากคุ ณ สมบั ต ิ คื อ เซลลที่ สามารถซอมแซมความเสียหายของ DNA

ถ า เซลล ม ี ก ารตรวจพบว า DNA มี ค วาม เสี ย หายขณะแบ ง ตั ว ก็ จ ะมี ก ระบวนการ ทำลายตัวเอง เซลลทม่ี กี ารแบงตัวเพิม่ ปริมาณ อยางรวดเร็ว จะมีชว งเวลานอยสำหรับกลไก ในการซอมแซม เพื่อตรวจหาและแกไขขอ ผิดพลาดของ DNA กอนที่จะมีการแบงตัว ดังนั้น กระบวนการทำลายตัวเอง เมื่อเกิด ความเสี ย หายของเซลล จ ากการแผ ร ั งสี จึงลดนอยลง


Cover Story

Cover Story

เนื่องจากโรคมะเร็งมีหลายรูปแบบที่เซลลมีการแบงตัวเพิ่ม ปริมาณอยางรวดเร็วซึ่งบางครั้ง อาจสามารถที่จะบำบัดรักษา โดยการฉายรังสี เชน การใชสายลวดกัมมันตรังสี หรือวาง แหลงกำเนิดรังสีไวใกล หรือรอบ ๆ บริเวณเนื้องอก สำหรับเนื้องอกที่อยูลึกลงไปหรือเนื้องอกที่ไมสามารถปฏิบัติ การดังกลาวได ก็จะใชรังสีแกมมาที่มีความเขมทางรังสีสูง เนนเฉพาะเจาะจงไปที่จุดเนื้องอกนั้น ปญหาที่เกิดขึ้นกับการ รักษานี้ คือ เซลลปกติทม่ี กี ารสรางตัวเองไดรวดเร็ว สามารถทีจ่ ะ ไดรับผลกระทบไปพรอมกับเซลลที่ผิดปกติ เชน เซลลของผม เซลล เนื ้ อ เยื่อบุ ก ระเพาะอาหารและลำไส เซลล ผ ิ ว หนั ง เซลลเม็ดเลือด โดยเซลลเหลานีม้ กี ารสรางตัวเองไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น จึงไดรับผลกระทบอยางรุนแรงจากการแผรังสี ขอนี้จึง เปนสวนที่ชวยอธิบายวา ทำไมเมื่อไดรับการบำบัดรักษามะเร็ง ดวยการฉายรังสีบอย ๆ แลวทำใหผมรวงและมีอาการคลื่นไส วัสดุนิวเคลียรยังใชเพื่อการทำเปนสารกัมมันตรังสีแกะรอย (Radioactive Tracers) ที่สามารถฉีดเขาไปในกระแสเลือด ก็จะเปนรูปแบบหนึ่งในการแกะรอย ติ ด ตามการไหลเวี ย น ของเลือด และชวยใหเห็นถึงโครงสรางของหลอดเลือดทั้งหมด การเฝาสังเกตจะชวยใหทราบถึงการอุดตัน หรือความผิดปกติ ของเสนเลือดอืน่ ๆ ทีจ่ ะตรวจพบไดงา ย นอกจากนี้ อวัยวะตาง ๆ ในรางกายจะมีความจำเพาะที่จะสะสมของสารเคมีบางอยาง เชน ตอมไทรอยดจะเปนที่สะสมของไอโอดีน ดังนั้น การฉีด หรือกินสารละลายไอโซโทปรังสีของไอโอดีน ก็สามารถที่จะใช เพื่อการตรวจหาเนื้องอกของไทรอยดได ซึ่งในทำนองเดียวกัน เซลลมะเร็งทีม่ กี ารสะสมของพวกฟอสเฟส โดยการฉีดไอโซโทป รังสีฟอสฟอรัส-32 เขาไปในกระแสเลือด เนื้องอกสามารถที่จะ ตรวจพบไดจากการที่ปริมาณรังสีเพิ่มมากขึ้น

สำหรั บ Fusion Magazine ฉบับนี้ เปนอยางไรกันบางคะ คงจะไดทราบถึงความสำคัญ ของเวชศาสตรนิวเคลียรกันไป เป น ที่เรี ย บร อ ย ซึ่งมี ค วาม สำคัญตอรางกายเราโดยตรง ทีเดยี ว ทัง้ เรอ่ื งสุขภาพ โรคภัย และเซลลในรางกายเรา ไมไกลตัว เลยใชไหมละ ในฉบับหนาทีมงาน ยังมีความรู เรื่องราวสาระดี ๆ ที่จะมาเติมเต็มความเขาใจใหกับ นอง ๆ สวนจะเปนเรื่องอะไรนั้น ตองติดตามกันในฉบับหนา FUSION MAGAZINE 15


Science Tech เรื่อง : อังคนันท อังกุรรัตน

วินิจฉัยการอักเสบดวย

สารเภสั ช รั ง สี Tc-99m

Science Tech

(99m Tc-Ciproffllfloxacin)

การอักเสบ (Inffllammation) หมายถึง ปฏิกิริยาการตอบสนอง ที่ซับซอนของเนื้อเยื่อ ตอสิ่งที่กอภยันตราย (Injurious Agent) และตอเซลลหรือเนือ้ เยือ่ ทีเ่ สียหายหรือตายลง เชน เชือ้ โรค เซลลท่ี เสื่อมสภาพหรือการระคายเคือง ปฏิกิริยาที่สำคัญในการอักเสบ ไดเแก การเปลีย่ นแปลงของหลอดเลือด การเคลือ่ นตัวของเม็ดเลือดขาว (Leukocyte) ออกจากหลอดเลือดเขาสูเ นือ้ เยือ่ หรือการเปลีย่ นแปลง ในหลายระบบของร า งกาย ปฏิ ก ิ ร ิ ย าเหล า นี ้ เ กิ ด ขึ ้ น ในระบบ หลอดเลือดฝอยภายในเนื้อเยื่อ (Microcirculation) เปนปฏิกิริยา ที่ชวยปกปองเนื้อเยื่อและกำจัด สิ่งที่กอภยันตราย (โดยใชวิธีกำจัด หรือทำใหเจือจางหรือจำกัดบริเวณ) รวมทัง้ กำจัดเนือ้ เยือ่ เสียหายหรือตายลง หากไมมกี ารอักเสบเกิดขึน้ เชือ้ โรค จะไม ถ ู ก กำจั ด ออกไป และแผล จะไมถูกรักษาใหหาย ซึ่งอาจเกิด ความเสียหายของเนื้อเยื่อมากขึ้น จนอั นตรายถึ ง ชี ว ิ ต ได แ ต ท ั ้ ง นี ้ อาการอักเสบทีม่ มี ากเกินไปก็สามารถ ทำใหเกิดโรคตาง ๆ เชน โรคทอ เลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง และขออักเสบรูมาทอยด ดวยเหตุน้ี ร า งกายจึ ง ต อ งมี ก ระบวนการ ควบคุ ม การอั ก เสบอย า งใกล ช ิ ด นอกจากนี้ การอักเสบยังมีบทบาทในการเริ่มตนซอมแซม (Repair) เซลลและเนื้อเยื่อที่เกี่ยวของกับการอักเสบจำนวนมาก ไดแก เซลลเม็ดเลือดชนิดตาง ๆ (เซลลเม็ดเลือดแดงและเกร็ดเลือด) หลอดเลือด เนื้อเยื่อที่เกี่ยวพัน (Conective Itssue) ทั้งในสวน ของเซลลและสวนของโครงราง กระบวนการอักเสบมีความสัมพันธ 16 FUSION MAGAZINE

แมวากระบวนการทั้งสองจะเกิดขึ้นเพื่อการกำจัดภยันตรายตอ เนื้อเยื่อ แตก็อาจกอใหเกิดผลเสียที่เปนอันตรายตอรางกายได ปจจุบันการอักเสบอันเนื่องมาจากการติดเชื้อ (Infection) เปนสาเหตุของอัตราการตายซึ่งเกิดขึ้นในประเทศที่กำลังพัฒนา และมีการแพรหลายไปทั่วโลก โดยวิธีการตรวจวินิจฉัยเชื้อมีหลาย วิธี อาทิ การใชยาตานแบคทีเรียสำหรับการตรวจวินจิ ฉัยและรักษา หรือการใชเทคนิคทางเวชศาสตรนิวเคลียรในการวินิจฉัยเชื้อ ในกรณีที่ผูปวยมีไขโดยไมทราบสาเหตุ และในผูปวยติดเชื้อที่ ไมสามารถวินิจฉัยไดโดยวิธีอื่น ๆ ซึง่ วิธเี หลานีม้ ขี อ เสีย คือ ไมสามารถ ระบุตำแหนงติดเชือ้ ไดอยางแนนอน แมวาจะเปนวิธีที่ไว (Sensitivity) ในการตรวจวินจิ ฉัยเชือ้ นัน้ ๆ ก็ตาม เชน เม็ดเลือดขาวที่ติดฉลากดวย In-111 หรือ Tc-99m (Labelled WBC) ใหผลการวินจิ ฉัยคอนขางดี แตขอ เสียคือ มีวธิ กี ารเตรียมทีย่ าก โดยตองอาศัยผูเ ชีย่ วชาญเปนพิเศษ ในการตรวจวินจิ ฉัยและตองทิง้ ระยะ การถายภาพหลังจากฉีด Labelled WBC เขาสูผูปวยเปนระยะเวลา นานเพื่อที่จะใหไดผลที่ดี นอกจาก นั ้ น ยั ง นิ ย มใช Ga-67 Citrate และ Human Immunoglobulin (HIG) ที่ติดฉลากดวย In-111 หรือ Tc-99m ในการวินิจฉัยอีกทางหนึ่ง ซึ่งมีขอดี คือ สามารถ เตรียมไดงายแตก็มีขอเสีย คือ มีอัตราการถูกกำจัดออกจากเลือด (ฺBlood Clearance) ชาซึ่งทำใหผูปวยตองรอเวลานานหลาย ชั่วโมงเพื่อใหไดภาพถายที่ดี


Science Tech

Science Tech

ยาไซโปรฟลอกซาซิน (Ciproflflfl oxacin) จัดเปนยาปฏิชวี นะกลุม ควิโนโลน (Quinolones) ทีม่ กี ารใชแพรหลายในโรงพยาบาล ชื่อที่คุนหู ไดแก ไซโปรเบ (Ciprobay) มีสรรพคุณ (คุณสมบัติ) ใชรักษาอาการ ติ ด เชื ้ อ ของหูชั้นกลาง ไซนั ส อั ก เสบ ทางเดินปสสาวะอักเสบ กระเพาะปสสาวะ อักเสบ และการติดเชื้อในกระแสเลือด ยาไซโปรฟลอกซาซิน มีกลไกการออกฤทธิ์ ยั บ ยั ้ ง การสั ง เคราะห ส ารพั น ธุ ก รรม ของแบคทีเรียทีเ่ รียกวา ดีเอ็นเอ จึงสงผล ยั บ ยั ้ ง การแพร พ ั นธุ  ข องแบคที เรี ย ได จากคุณสมบัติของยาดังกลาว จึงไดนำยา ชนิ ด นี ้ ม าติ ด ฉลากรั ง สี ด  ว ย Tc-99m (99m Tc-Ciprofflloxacin) เพือ่ ใชประโยชน ของรั ง สี ในการตรวจวิ น ิ จ ฉั ย บริ เวณที่ เกิดอาการอักเสบ 99m Tc-Ciprofflloxacin จึงเปนอีก ทางเลือกหนึ่งในการวินิจฉัยการติดเชื้อ ดั ง กล า ว ซึ ่ ง มี ข  อ ดี ค ื อ สามารถวิ น ิ จ ฉั ย การติ ด เชื ้ อ ที่มี ค วามเฉพาะเจาะจงตอ บริเวณทีเ่ กิดการอักเสบโดยเฉพาะทีก่ ระดูก (Bone) ข อ (Joint) และเนื้อเยื่อออน (Soft Tissue) ซึ่งมีขอดี คือ มี Blood Clearance เร็ ว และให ภ าพชั ด เจน เนือ่ งจากเปนสารเภสัชรังสีทเ่ี ตรียมไดงา ย และมีราคาถูกเมื่อเทียบกับสารตัวอื่น ๆ ที่ไดกลาวมาขางตน

ซึ ่ งป จ จุ บั นสารเภสัชรัง สี 99m Tc-Ciproffl l oxacin (Infection) ศู น ย ไอโซโทปรั ง สี สถาบั น เทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ไดผลิตและจำหนายเพื่อบริการแกโรงพยาบาลตาง ๆ เปนที่เรียบรอยแลว เชน โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ เปนตน โดยสารเภสัชรังสี 99m Tc-Ciprofflloxacin ที่เตรียมได จะมีลักษณะเปนสารละลายใสไมมีสี เปนสารที่สามารถ นำมาใชในการวินิจฉัยบริเวณที่เกิดการอักเสบอันเนื่องจากการติดเชื้อได โดยมีความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ไมนอ ยกวา 90% มีความคงตัว 6 ชัว่ โมง ทีอ่ ญ ุ หภูมหิ อ ง และมีการกระจายตัวไปบริเวณทีต่ ดิ เชอ้ื ได 0.25-0.56% และมี ค วามเป น กรด-เบส (pH) เท า กั บ 4.0-5.0 มี ค วามปลอดเชื ้ อ (Sterile) ปราศจากไพโรเจน (Pyrogen Free) และปลอดสารพิษ (Non Toxic) FUSION MAGAZINE 17


Machinery Sight

Machinery Sight เรื่อง / ภาพ : ศูนยไอโซโทปรังสี สทน.

อาคารผลิตยาฉีด

เภสั ช รั ง สี แหงแรกของประเทศไทย

จากการที่ศูนยไอโซโทปรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) เปนหนวยงานที่มีภารกิจหลักในการผลิตสารเภสัชรังสี (Radiopharmaceuticals) สำหรั บ การตรวจวิ น ิ จ ฉั ย หรื อ การบำบั ด รั ก ษา เพื ่ อ ให บ ริ ก ารแก โรงพยาบาลที ่ มี หนวยงานเวชศาสตรนิวเคลียรทั่วประเทศ ทั้งในภาครัฐบาลและเอกชนประมาณ 25 แหง ซึ่งสารเภสัชรังสีหรือเภสัชภัณฑรังสีจัดเปนยา จึงจำเปนที่จะตองอยูภายใตการควบคุม ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระบวนการผลิตสารเภสัชรังสีจึงตองมี การควบคุมใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ดีในการผลิตยาหรือที่เรียกวา GMP (Good Manufacturing Practice) เพื่อใหเกิดความมั่นใจวายาที่ผลิตไดมีคุณภาพ ปลอดภัย และมีประสิทธิผลในการรักษา 18 FUSION MAGAZINE

สารเภสั ช รั ง สี ท ี ่ ผ ลิ ต จากศู น ย ไอโซโทปรั ง สี สวนใหญอยูใ นรูปแบบยาฉีดซึง่ เปนกลุม ยาทีม่ คี วาม เขมงวดกวายาในหมวดอืน่ เพราะเปนยาทีต่ อ งควบคุม ในเรื่องของการทำให ป ราศจากเชื ้ อ ไพโรเจน และอนุภาคตาง ๆ ทีไ่ มตอ งการ แมจะมีการผลิตยา ฉีดทีศ่ นู ยไอโซโทปรังสีทส่ี าขาจตุจกั ร แตเมือ่ ขอกำหนด เรื่องสถานที่ผลิตยาฉีดมีความเขมงวดและสถานที่ ผลิตสาขาจตุจักรไมสามารถปรับปรุงใหสอดคลอง กับมาตรฐานได ศูนยไอโซโทปรังสี จึงมีแนวคิดจัดทำ โครงการสรางอาคารผลิตยาฉีดปราศจากเชือ้ สำหรับ สารเภสัชรังสีทส่ี ถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ อำเภอองครักษ โดยในขัน้ ตอนการออกแบบไดมกี ารประสานงาน กับสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จนกระทัง่ ไดแบบทีส่ มบูรณทไ่ี ดรบั การรับรองแบบเปนทีเ่ รียบรอย เพือ่ ใชเปนแบบในการกอสรางอาคารและเริม่ ดำเนิน การกอสรางสวนของอาคารตั้งแต เดือนกันยายน 2552 จนแลวเสร็จในเดือนกุมภาพันธ 2554


Machinery Sight ภายในอาคารสวนที่ใชผลิตยาประกอบดวยหองคลีนรูมระดับตาง ๆ กัน แบงตาม ความเสี่ยงของกิจกรรมที่ปฏิบัติ ซึ่งคลีนรูม (Cleanroom) หมายถึง หองหรือบริเวณ ปดที่มีการควบคุมสภาวะแวดลอมภายในหอง ไดแก อนุภาคสิ่งเจือปน (Airborne particles) จุลินทรีย อุณหภูมิ ความชื้น ความดันอากาศ รูปแบบการไหลของอากาศ เปนตน

ผนัง พื้น และเพดาน ทำมาจากแผนเหล็กชุบสังกะสีเรียบ ปราศจาก รอยแตกราว ไมปลอยอนุภาค เคลือบสีรองพื้นดวย Epoxy แกนกลาง (Core) เปนโพลียูรีเทนโฟม (Polyurethane Foam) ไมมีซอกมุม เพดานไรรอยตอ ไมปลอยฝุนละออง และทนทานตอยาที่ตองการผลิต น้ำยาทำความสะอาดหรือฆาเชื้อ ผนังและเพดานมีความเปนฉนวน ก็ จ ะสามารถประหยั ด พลั ง งานในการรั ก ษาอุ ณ หภู ม ิ ให ค งที ่

ภาพตัวอยางผลิตภัณฑยาที่ผลิต โดย ศูนยไอโซโทปรังสีแหงนี้

FUSION MAGAZINE 19

Machinery Sight

อาคารผลิตยาฉีดเปนอาคารที่มีพื้นที่เฉพาะชั้นลางสวนผลิตประมาณ 1,600 ตารางเมตร (40x42 เมตร รวมทางเดินรอบพื้นที่ผลิต) แบงเนื้อที่อาคารเปน 2 สวนเทากัน ดานหนึ่งใชผลิตยาฉีดที่ยังไมได ประกอบเขากับสารไอโซโทปรังสี ไดแก Cold Kit สวนอีกดานหนึ่งเปนพื้นที่สำหรับการผลิตยาฉีด ที่มีสารไอโซโทปรังสีประกอบอยู ภายในเปนหองผลิตขนาดใหญเกรด C ภายในหองบรรจุ Isolator ที่ใชผลิตยาฉีดกลุม Labeled Compound Isolator ทำหนาที่เสมือนหองเกรด A หรือ B ขนาดเล็ก ที่ควบคุมความสะอาดในขณะผลิต และตัวตูบุดวยตะกั่วเพื่อกำบังรังสี

การผลิตเภสัชภัณฑรังสีอาจไมเหมือนกับการผลิต ยาทัว่ ไป เพราะปริมาณหรือ Scale การผลิตจะนอย กวาเมือ่ เทียบกับการผลิตยาทัว่ ไป ศูนยไอโซโทปรังสี ไดนำระบบ GMP เขามาใชในการผลิต ซึ่งหมาย ความวาจะตองควบคุมดูแลปจจัยที่เกี่ยวของกับ การผลิต ไดแก การฝกอบรมบุคลากร การควบคุมเครือ่ งมืออุปกรณทใ่ี ชผลิต วิธกี ารผลิต สภาวะแวดลอม และจัดหาพื้นที่สะอาด จัดการเอกสารที่เกี่ยว ของกับการผลิต การตรวจสอบความถูกตองของ เครือ่ งมือและวิธกี าร นอกจากนีย้ งั ตองดูแล ควบคุม ติดตามในเรื่องความปลอดภัยทางรังสี จึงนับวา เปนเรื่องที่ยากกวายาทั่วไป และยังเปนการเพิ่ม คาใชจา ยเปนอันมาก อยางไรก็ตามศูนยไอโซโทปรังสี ของสถาบันฯ ยังมีนโยบายทีจ่ ะบริการและตอบสนองความตองการ การใช ป ระโยชน จ ากเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร ของสังคมไทยโดยเฉพาะทางการแพทย ดวยผลิตภัณฑ และบริการที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลในราคา ที่เหมาะสมตามตนทุน ซึ่งนโยบายดังกลาวจะทำให ประชาชนเกือบทุกระดับมีโอกาสไดใชประโยชน ของเทคโนโลยีนิวเคลียรอยางทั่วถึง และศูนยไอโซ โทปรังสีหวังที่จะมีสวนรวมในการพัฒนาพื้นฐาน สุขภาพอนามัยทีด่ ขี องประชาชน


ฮิที่นโำไปสูรชิจุดเริม่มตานที่ยิ่งใหญของ ญี่ปุน กับความสูญเสีย

ญี่ปุน เปนประเทศหมูเกาะในภูมิภาค เอเชียตะวันออก ตั้งอยูในมหาสมุทรแปซิฟก ทางตะวันตกติดกับคาบสมุทร เกาหลี แ ละสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น โดยมี ท ะเลญี ่ ป ุ  นกั ้ น ส ว นทางทิ ศ เหนื อ ติดกับประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสค เปนเสนแบงแดน ตัวอักษรคันจิของญีป่ นุ แปลวาถิน่ กำเนิดของดวงอาทิตย จึงทำให บางครั้งถูกเรียกวาดินแดนอาทิตยอุทัย นับตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 ญี่ปุนไดยกเลิก วีซาสำหรับนักทองเที่ยวไทยที่ตองการไปเที่ยวญี่ปุน ไมเกิน 15 วัน อันนำมาซึง่ ความยินดีของพวกชอบเทีย่ ว แตไมอยากเสียเวลาขอวีซา อยางใครหลาย ๆ คน ทีส่ ำคัญ หากตองยืน่ ขอวีซา อาจถูกปฏิเสธจนอดไปเทีย่ วกันพอดี 15 วัน เปนเวลาที่เพียงพอกั บ การเที ่ ยวญี ่ ป ุ  น แล ว สำหรับฤดูในการทองเที่ยวของญี่ปุนนั้น จะวาไปเที่ยว 20 FUSION MAGAZINE

ไดทั้งปสำหรับคนไทย แตหากใครเที่ยวในหนาหนาว ของญี่ปุนอาจตองพรอมในการเตรียมเสื้อผาอาภรณ และเครื่องกันหนาวกันเต็มที่ เพราะหนาวขนาดติดลบ และมีหิมะตกกันเลยทีเดียว หนารอนบานเขาอากาศ ในบางพื้นที่ก็รอนไมหนีบานเราสักเทาไหร สำหรับ Fusion Magazine ฉบับนี้ อาศัยชวงเวลา หยุดยาวในเทศกาลสงกรานต เดินทางกลับไปประเทศ ญี่ปุนอีกครั้ง และมีเปาหมายที่ชัดเจน คือ การไปเยือน เมืองทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกเมืองของญี่ปุน นั่นคือ เมื อ งฮิ โรชิ ม  า เมื อ งสำคั ญ ที ่ ป รากฏอยู  ในประวั ต ิ ศาสตรของโลกสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 เพราะเปน เมืองที่เกิดความเสียหายอยางมากมาย เมื่อครั้งทหาร สั ม พั น ธมิ ต รทิ ้ ง ระเบิ ด ปรมาณู ล ู ก แรกลงที่เ มื อ งนี้ และลูกทีส่ องทีเ่ มืองนางาซากิ ทำใหสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ป ดฉากลงในเดื อ นกั นยายนป พ.ศ. 2488 ด ว ยการ ยอมแพของประเทศญี่ปุนและความสูญเสียทั้งชีวิต คนญี่ปุนหลายแสนคน อาคารบานเรือนอีกจำนวนมาก จากวันนั้นถึงวันนี้ผานไปเกือบ 70 ป ญี่ปุนไดพัฒนา ประเทศจากประเทศผูแ พสงคราม กลายมาเปนประเทศ มหาอำนาจของโลก ซึ่งการแพสงครามในครั้งนั้นทำให ญี่ปุนมุงมั่นสรางประเทศจนถึงทุกวันนี้

ATOMIC BOME DOME อาคารที่ใกลจุด ทิ้งระเบิดมากที่สุดที่ยังเหลือใหเราไดชมกัน


Voyage แต ป ระเทศมี ค วามจำเป นต อ งทำพลั ง งานปรมาณู มาใชเพื่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากลักษณะประเทศ เป น เกาะที ่ ไม ม ี ท รั พ ยากรใด ๆ เลย ญี ่ ป ุ  นกลั บ นำ ประโยชนมหาศาลของมันมาเรียนรูและใชไดอยาง ปลอดภัย โดยลืมถึงผลรายที่เกิดขึ้นกับประเทศไปเสีย โรงไฟฟ า นิ ว เคลี ย ร แ ห ง แรกของญี่ ปุ นส ร า งขึน้ ในป พ.ศ. 2509 หรือประมาณ 20 ป หลังจากถูกทิ้ง ระเบิดปรมาณู จนปจจุบันญี่ปุนมีโรงไฟฟานิวเคลียร ทัง้ สิน้ 55 แหง ถึงแมหลายคนจะบอกวา คนญีป่ นุ จะเลิก ผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรเพราะอุบัติเหตุที่เกิด จากคลื่นสึนามิ ทำใหเกิดความเสียหายและผลกระทบ รายแรงจากโรงไฟฟานิวเคลียร ฟูกูชิมะ ซึ่งไมเปน ความจริงแตอยางใด เพียงรัฐบาลใหโรงไฟฟานิวเคลียร ทุกโรงดำเนินการตรวจสอบและจัดทำแผนเผชิญเหตุ และมาตรการดานความปลอดภัย เพื่อไมใหเกิด เหตุการณไมคาดฝน ซ้ำรอยฟูกูชิมะขึ้นอีก

ภาพอนุสาวรีย หนูนอยซาดาโกะเหยื่อผูเคราะหราย ในเหตุการณสงครามนิวเคลียร และนกกระเรียนกระดาษ

Voyage

กลับมาที่ฮิโรชิมาอีกครั้ง แทบจะไมรูเลยวาเมืองนี้เคย พังราบคาบและมีประชาชนลมตายและสูญหายกวา 400,000 คน เพราะปจจุบนั ฮิโรชิมา เปนเมืองขนาดใหญ เปนอันดับที่ 11 ของญีป่ นุ ไมวา จะเปน ตึกรามบานชอง อาคารพาณิชยใหญโต แตนักทองเที่ยวที่มาเมืองนี้เขา ไปเที่ยวที่ไหนกัน ATOMIC BOMB DOME สถานทีส่ ำคัญทีน่ กั ทองเทีย่ ว แวะเวียนมาเยี่ยมชม ถายรูป บางคนก็มายืนไวอาลัย กับสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต เพราะอาคารนี้เปนอาคารเดียว ที่อยูใกลจุดที่ระเบิดปรมาณูถูกทิ้งลงมาแลวยังเหลือ เปนซากปรักหักพังใหเห็นจวบจนทุกวันนี้ เมืองฮิโรชิมา จึงไดจัดภูมิทัศนในบริเวณที่ไดรับความเสียหายจาก ระเบิดปรมาณูเปนพืน้ ทีข่ องสวนสันติภาพ ตลอดจนสราง พิพธิ ภัณฑ เพือ่ ถายทอดเรือ่ งราวในครัง้ นัน้ ใหประชาชน ทั่วโลกที่มาเยือนฮิโรชิมาไดรับรู สถานที่ทองเที่ยวอีกแหงที่นักทองเที่ยวจะเดินทางไป จากฮิโรชิมา คือ เกาะมิยาจิมะ ซึง่ ใชเวลาเดินทางโดย รถไฟฟาแบบ Local Train ประมาณครึง่ ชัว่ โมง บางคน จะเดิ นทางโดยรถรางก็ ใช เวลาประมาณ 45 นาที เกาะนี้สิ่งที่เห็นเปนสงาคือ เสาโทริอิ สีแดง ที่ตั้งอยู กลางทะเล ซึง่ ปรากฏอยูใ นโปสเตอรโฆษณาการทองเทีย่ ว ญี่ปุน เมื่อไปถึงฮิโรชิมา อยาพลาดเกาะแหงนี้เด็ดขาด มุมหนึง่ ของการไปเยือนฮิโรชิมา คือ เศรากับเหตุการณ ที่เกิดขึ้น อีกมุมหนึ่งก็รูสึกชื่นชมชาวญี่ปุนที่พัฒนา ประเทศกลับมายืนบนเวทีโลกไดในเวลาไมถึงศตวรรษ ทีส่ ำคัญไปกวานัน้ ญีป่ นุ ไดรบั ผลรายจากระเบิดปรมาณู

รานนารัก ๆ ที่ปรากฎใหเห็นในเมือง ฮิโรชิมาในปจจุบันนี้

ภาพรถรางสุดคลาสสิก เอกลักษณของเมืองฮิโรชิมาแหงนี้ Photographer Sean Pavone / Shutterstock.com

เสาโทริอิ ตั้งเดนเปนสงาที่เกาะมิยาจิมะ

FUSION MAGAZINE 21


Activities News

ฉลองครบรอบ 8 ป จัดตั้ง สทน.

Activities News

เปนที่สนุกสนานและประทับใจในบรรยากาศที่เปนกันเองมากกับงานฉลองครบรอบ 8 ป การกอตั้ง สทน. เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2557 ทีผ่ า นมา สทน. โดยความรวมมือจากทุกหนวยงานภายใน สทน. จัดกิจกรรมฉลองวันเกิดใหกบั สทน. อยางนาประทับใจ โดยตัง้ แตชว งเชา ดร.สมพร จองคำ และผูบริหารทุกระดับ พรอมดวยเจาหนาที่และลูกจางของ สทน. รวมพิธีทางศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ มีแขกผูเขารวมแสดงความยินดีจากหนวยงานราชการ ธนาคาร และเอกชนอยางคับคั่ง นอกจากนี้ ชวงสาย สทน. ไดมีพิธีรดน้ำดำหัว ผูเฒาผูแกที่มีอายุยืนยาวและเปนที่เคารพนับถือของคนในพื้นที่ อ. องครักษ จ. นครนายก อีกดวย

สทน. นำสือ่ มวลชนสายวิทยาศาสตร เยีย่ มชม เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรวิจัยเกาหลีใต เมื่อวันที่ 28 - 30 เมษายน 2557 สทน. โดย ดร.วรรณา วิมลวัฒนาภัณฑ รองผูอำนวยการดานบริการ พรอมเจาหนาที่ นำผูสื่อขาวสายวิทยาศาสตร และนวัตกรรม เดินทางไปศึกษาดูงานดานการใชประโยชนจากเทคโนโลยีนวิ เคลียร ของประเทศเกาหลีใต ในครัง้ นีไ้ ดนำสือ่ มวลชนเขาชม เครือ่ งปฏิกรณปรมาณูวจิ ยั ขนาด 30 เมกะวัตต ทีม่ ชี อ่ื วา HANARO ซึง่ อยูใ นความดูแลของ Korea Atomic Energy Research Institute หรือ KAERI เมืองแดจอน เครื่องปฏิกรณแหงนี้ สามารถผลิ ต เภสั ช รั ง สี ใช ส ำหรั บ วิ น ิ จ ฉั ย และรั ก ษาผู  ป  ว ยได ท ั ้ ง เกาหลี ใ ต นอกจากนั้น ผูสื่อขาวยังไดมีโอกาสเดินทางไปดูสถานที่ผลิตงานวิจัยกาวหนาที่ Advance Research Technology Institute หรื อ ARTI ที ่ เ มื อ งจองอั พ เพือ่ ดูการวิจยั ทางการแพทยและการเกษตร ซึง่ เปนงานวิจยั ดานเทคโนโลยีนวิ เคลียรชน้ั สูง ซึ่งหากการวิจัยสำเร็จก็จะสามารถ นำไปใชประโยชนกบั ประชาชนชาว เกาหลีใตไดอยางมากมาย ประเทศ เกาหลีใตจึงเปนแหลงเรียนรูชั้นดี และเปนโอกาสทีผ่ สู อ่ื ขาวจะไดเห็น วิทยาการกาวหนาดานเทคโนโลยี นิวเคลียร และควรนำกลับมาพัฒนา ประเทศไทยให ม ี ค วามก า วหน า เทียบเทาอารยประเทศ

22 FUSION MAGAZINE


Activities News

สทน. จั บ มื อ กระทรวงพลั ง งาน และรั ฐ บาลญี่ปุ น สั ม มนาแบ ง ป น ประสบการณดา นโรงไฟฟานิวเคลียร สำหรับประเทศกำลังพัฒนา

1 April

1959 Nuclear Power Plant มีการผลิตไฟฟาจากพลังงานปรมาณูเปนเครั้งแรกที่หองปฏิบัติการ ลอส อัลโมส (Los Alamos Scientific Laboratory) ที่สหรัฐอเมริกา ตนแบบในการทดลองของเครื่องปฏิกรณใช Plasma Thermocouple แทนกังหัน Turb ของโรงไฟฟาซึ่งสามารถผลิตไฟฟาออกมาใชได .............................................................................................

18 May

1955

Activities News

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สทน. รวมมือกับกระทรวงพลังงานและรัฐบาลญี่ปุนไดจัดสัมมนาเพื่อแบงปน ความรูและประสบการณเกี่ยวกับการกอสราง การบริหาร ตลอดจน การสรางความเขาใจดานโรงไฟฟานิวเคลียรแกประชาชน ประเทศญีป่ นุ เปนประเทศทีม่ คี วามกาวหนาในการใชประโยชนจากพลังงานนิวเคลียร ในทางสันติ เชน ในดานการวิจัยและพัฒนา ดานพลังงาน โดยเฉพาะ ดานพลังงานนิวเคลียร ในจังหวัด Fukui มีการกอตั้งโรงไฟฟาพลังงาน นิวเคลียรกวา 13 แหง ประเทศญี่ปุนจึงเปนประเทศที่มีความมั่นคง ทางพลังงานสูง และการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยมีการเรียนการสอน ดานวิศวกรรมนิวเคลียรโดยเฉพาะ นับไดวา อยูใ นระดับทีม่ คี วามชำนาญ และเชี ่ ย วชาญด า นวิ ศ วกรรมนิ ว เคลี ย ร ม าก รวมทั ้ ง สถาบั น วิ จ ั ย ศูนยฝกอบรมและการถายทอดเทคโนโลยี การสัมมนาครั้งนี้ถูกริเริ่ม ขึ้นโดย Wasaka Wan Energy Research Center โดยการสนับสนุน จากรัฐบาลญี่ปุน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการความรวมมือระหวาง ประเทศดานการพัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียร เพื่อเปนการแลกเปลี่ยน ประสบการณ ความสำเร็จดังกลาวของจังหวัด Fukui ใหกับผูเกี่ยวของ กับโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ สนับสนุนโครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย โดยแลกเปลี่ยน ความรูในดานการผลิตไฟฟาจากพลังงานนิวเคลียรและมาตรการความ ปลอดภัยตาง ๆ รวมทัง้ กิจกรรมดานการสรางการยอมรับจากประชาชน และการพัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียรในประเทศไทย

Nuclear In History

Fermi & Szilard เครื ่ อ งปฏิ ก รณ ป รมาณู ได ร ั บ สิ ท ธิ บ ั ต รเป นครั ้ ง แรกหลั ง จากผ า น การตรวจสอบอยางละเอียด เปนเวลา 13 ป ตั้งแตเริ่ม และกวา 11 ป หลังจากที่ไดยื่นเรื่องขอจดสิทธิบัตร Fermi กับ Szilard ไดรวมกัน ยื่นขอจดสิทธิบัตรในฐานะของผูประดิษฐรวม .............................................................................................

1 June

1965 A. Penzias & Robert R. Wilson ตรวจพบรังสีจากอวกาศ ซึ่งปน Primordial Background Radiation ที่อุณหภูมิ 3 องศาเคลวิน โดยใชเสาอากาศ (Horn Reflactor Antenna) ทีใ่ ชสำหรับวัดคลืน่ วิทยุดาราศาสตรทำใหบอกไดวา เหตุการณ Big Bang ซึง่ เปนการระเบิดครัง้ ใหญของมวลสารทีม่ อี ณ ุ หภูมแิ ละความหนาแนนสูง อีกทั้งยังเปน จุดกำเนิดของเอกภพที่มีอายุ 15-20 พันลานปมาแลว .............................................................................................

FUSION MAGAZINE 23


Edutainment

Gadget

Star-shaped Clothes Horse

Edutainment

Tremor Reducing Spoon ชอนสำหรับผูปวยโรคพารกินสัน ผูปวยที่เปนโรคพารกินสัน Pakinson’s นั้นเปนผูปวยที่ระบบควบคุมการเคลื่อนไหว ไมสามารถควบคุมอาการเกร็งและสั่นได ทำใหยากตอการทานอาหาร Lift Labs จ�งไดคิดคนชอนชนิดพิเศษนี้ข�้น สำหรับผู ปวยโรคนี้โดยเฉพาะ ทำใหผูปวยสามารถทาน อาหารไดงายข�้น ทางผูสรางยังบอกอีกวา ชอนนี้จะชวยใหผูปวยรูสึกภูมิใจที่เขา สามารถชวยเหลือตนเองไดอีกดวย

คุณผูห ญิงทีช่ อบซักผา และสำหรับใครทีบ่ า น ไมได ใหญโตมากนัก ไมวา จะเปน คอนโด บาน หร�ออพารทเมนท ก็ตากผากันแบบเก ๆ ได อยางราวตากผานี้ ทีเ่ หมาะสำหรับผูท ม่ี พ ี น้ื ที่ ใชสอยอยางจำกัด ตากผาไดหลายช�น้ พรอมกัน ในคราวเดียว อีกทัง้ ยังสามารถพับเก็บได เจงอยาบอกใครกันเลยทีเดียว ! Found on www.aarondunkerton.com

Goggles Umbrella หนาฝนแบบนี้ หลายคนคงจะตองเปยกปอน กันเลยทีเดียวหากไมมีรม และปญหาจากการ กางรมเวลาฝนตกหนัก จะหมดไป เมื่อมีเจา รมสุดเก Goggles Umbrella ที่เมื่อคุณ กางไดทันทีเวลาที่ฝนตก ที่พิเศษเห็นจะเปน ชองแวนตาที่ตัวรม ไมวาฝนจะตกหนักแคไหน จะเดินไปทางใด มีน้ำขัง หร�อหลุมที่เราตอง ระวัง ก็ยังคงสามารถมองทางไดตลอดเวลา เจงขนาดนี้ ไมมีไวเปนเจาของชวงหนาฝน ไมไดซะแลว ! Found on : www.25togo.com

Found on www.liftlabsdesign.com

Bag for Plants กระเปาสำหรับปลูกตนไม เมื่อช�ว�ตของคนเมืองที่สลับซับซอน เรงร�บ และไมมีเวลา ถึงเวลาแลวสำหรับคนรักตนไม ที่ไมคอยมีเวลา ดูแลตนไมสุดที่รักของตัวเอง ดวย Bag for Plants ออกแบบโดย bacsac จากฝรั่งเศส มาแกปญหาการจัดการพื้นที่ ในการปลูกตนไม สรางสวนสวนตัวไดดวย ตัวคุณเองแบบไมตองงอพื้นที่จากใคร Found on www.bacsac.fr/fr

24 FUSION MAGAZINE

Velocipedes

จักรยานยุค 1865 กับวัสดุสุดล้ำอนาคต ในรูปแบบคลาสสิกของจักรยาน ป 1865 มาพรอมกับดีไซนวัสดุแบบใหมสุดไฮเทคผสม ผสานความเปน Retro Stlye ที่นาสนใจคือ เจาจักรยานคันนี้ ไมมีเฟอง ไมมีลูกปนลอ และใชพลังงานไฟฟา วัสดุเปน Polymer พิเศษ BASF เปนวัสดุสำหรับโลกอนาคตจร�ง ๆ Credit : designboom

S-cube เกาอี้กระดาษ Origami รักษโลก ถาคุณมองหาเกาอี้สำหรับเด็ก ใหกับลูก ๆ ของคุณแลวละก็ ตองแนะนำเกาอี้ตัวนี้เลย ที่ออกแบบโดยสถาบัน S-cube แกมยังได รางวัลชนะเลิศดานงานดีไซน A’Design Award Green Dot Award ตอบโจทยการใชงาน สำหรับเด็ก และยังเปนผลงานที่เคียงคูกับ เทรนดการอนุรักษในยุคนี้ Found on trendhunter.com/trends/child-stool


Edutainment

Movie

INTERSTELLAR (Sci-ffii)

ความฝนแหงการเดินทางขามจักรวาล และการเอาชนะวันเวลา วากันวาหากเราเดินทางไดเร็วระดับเดียวกับแสง เราสามารถขามเวลาได การเอาชนะ ความเปนไปไมไดตาง ๆ การเอาชนะขีดจำกัดของมนุษย ตั้งแตสมัยที่เกิดความแหงแลง การสรางเครื่องบินจนไปถึงการเดินทางสูดวงจันทร งานไซไฟแบบสมจริงเขมขน และใหความรูสึกเปนหนังดรามามากกวาแอ็คชั่นแบบที่เราคุนจากงานเกา ๆ ของโนแลน ยิ่งไดแม็คคอนนาเฮยมารับบทดวยยิ่งทำใหนึกไปในทางนั้นไดอีก นอกจากนี้ คิพ ธอรน ที่เปนเจาของทฤษฎีรูหนอน หรือทฤษฎีการสรางทางลัดขามเอกภพที่บทหนังเรื่องนี้อิงมา ก็ยังเปนผูใหคำแนะนำแก คารล ซาแกน ผูเขียน Contact ในฉากที่นางเอกตองเดินทาง ขามจักรวาลดวย คอหนังไซไฟ และนักวิทยาศาตรตัวจริง ไมควรพลาด !

Edutainment

Dawn of the Planet of the Apes

รุงอรุณแหงพิภพวานร เมื่อสายเลือดแหงชาติพันธุ ที่คลายคลึง กลับมีความตองการที่ตางกัน เมื่อสายเลือดที่ใกลเคียงกันที่สุดในโลก เผาพันธุมนุษยและวานรที่เคยอาศัยอยูรวมกัน ประชากรลิงและมนุษยตางเพิ่มจำนวนขึ้นอยางไมมีวันสิ้นสุด และมนุษยผูรอดชีวิตจากเชื้อไวรัส ที่ทำลายลางทุกสรรพสิ่ง สงครามระหวางมนุษยและวานรไดปะทุขึ้น และนั่นคือบทพิสูจนใหเห็น ถึงอายุขัยระยะสั้น ทั้งสองฝายตางพรอมทำสงครามกันเพื่อตัดสินวาฝายใดจะไดเปนเผาพันธุ สุดทายที่จะครองโลกในที่สุด ไปติดตามกันไดใน พิภพวานร Dawn of the Planet of the Apes

FUSION MAGAZINE 25


Edutainment

Plant Nanny เติมน้ำใหชีวิต หวงใยสุขภาพ

Safe Ride ปลอดภัยทุกการเดินทาง

ขอแนะนำสำหรับใครที่ทำงานหนัก จนลืมดูแล สุขภาพเลยคะ เชื่อวามีหลายคนลืมแมกระทั่ง ดื่มน้ำ !! OMG น้ำสำคัญตอรางกายมากนะ ถารางกายขาดน้ำแนนอนคะ App ตัวนี้ สามารถชวยคุณไดเสมือนคุณเปนตนไมนั่น เพียงคุณระบุน้ำหนักตัวและกิจกรรมในแตละวัน ของคุณวาในวันนั้นตองเจอกับอะไรบาง เพียงปลายนิ้วมือก็สามารถสรางสมดุลที่ดี ระหวางงานและคุณ รางกายก็สมดุลไดเชนกัน

Edutainment

จะเดินทางไปไหนแตละที เดี๋ยวนี้บอกคนรูจัก ไวสักหนอยก็ดีนะ ปลอดภัยไวดีกวา อุบัติเหตุเกิดขึ้นไดตลอดเวลา อีกหนึ่ง App ที่เราขอแนะนำ เกกูดสัญชาติไทยคะ ที่มาพรอม การตูนนารักสำหรับระบุวาคุณกำลังจะโดยสาร รถอะไร ทะเบียนอะไร จากที่ไหนไปที่ไหน แลวแชรทาง facebook หรือ twitter ไดเลย แบบนี้ถาเกิดเราตกหลนหายไประหวางทาง จะไดตามกันไดถูกนะเออ

ค.ศ. 1665

ไอแซก นิวตัน นักคณิตศาสตร ชาวอังกฤษ ตั้งกฎการเคลื่อนที่ และแรงโนมถวงของโลก

26 FUSION MAGAZINE

ค.ศ. 1833

ค.ศ. 1894

ค.ศ. 1938

ไมเคิล ฟาราเดย นักวิทยาศาสตร ชาวอังกฤษ และโจเซฟ เฮนรี นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกัน คนพบวิธีใชคุณสมบัติของแมเหล็ก ผลิตกระแสไฟฟาที่เรียกวา ไดนาโม

กูกลิเอลโม มารโคนี นักประดิษฐ ชาวอิตาเลียน สื่อสารทางวิทยุ สำเร็จเปนครั้งแรก

ออตโต ฮาน นักวิทยาศาสตร ชาวเยอรมันและไลซ ไมเนอร นักฟสิกสชาวออสเตรีย คนพบการแยกของปรมาณู


Edutainment

Exhibition

3-5 ก.ค. 57

24-27 ก.ค. 57

พบสุดยอดนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ชวยใหคุณปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสินจากกวา 200 บริษัททั่วโลก ภายในงานนอกจากจะจัดแสดงสินคายังมีการ จัดสัมมนาใหความรู ขอมูล ขาวสาร ในดาน ความปลอดภัยในแขนงตาง ๆ อีกดวยนะ

สำหรับคนรักธรรมชาติ ทางกระทรวงพาณิชย จัดงานที่ตรงความตองการแนนอน กับบริการ ออรแกนิคและธรรมชาติที่ใหญที่สุดในประเทศไทย นอกจากประชาชนทั่วไปจะเดินชม และเลือกซื้อ สินคาแลว งานนี้ยังสนับสนุนการขยายตลาด และพัฒนาของธุรกิจ SME อีกดวย

Secutech Thailand 2014

4-8 ส.ค. 57

10th International Mycological Congress รูจักราดีแคไหน คนพบคำตอบหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุพืชของรา อีกทั้งคุณประโยชนมากมายที่คุณ อาจไมเคยรูในการประชุมระดับนานาชาติ ที่จะไขคำตอบและขอสงสัยใหคุณไดดีที่นี่

ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์

ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์

12-28 ส.ค. 57 มหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ป 57

สำหรับทุกเพศทุกวัยที่สนใจงานดานวิทยาศาสตร กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรวมกับองคการ พิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) จัดมหกรรม ยิ่งใหญดานวิทยาศาสตร เสริมสรางแรงบรรดาลใจ ในการนำวิทยาศาตรไปใชในชีวิตและเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันใหกับประเทศ

ณ ศูนยประชุมและแสดงสินคานานาชาติ เฉลิมพระเกียรติ จ.เชียงใหม

FUSION MAGAZINE 27

Edutainment

ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค (ฺBITEC)

Organic Natural Expo 2014


Chill Out เรื่อง : เอิงเอย ภาพ : แมวหงาว

Chill Out

Chill Out

พูดถึงเรื่องกินเรื่องเที่ยว แลวเรามักจะรูสึกวา สองสิ่งนี้เปนอะไรที่คูกัน ขาดอะไรไปอยางหนึ่ง ก็คงจะรูส กึ ขาด ๆ เกิน ๆ ไปเสียแน เราเลยพาทุกคน มาสัมผัสกับที่ที่ทำใหประสบการณการดินเนอร ทีอ่ บอวลไปดวยกลิน่ อายของการเดินทางทีไ่ มสน้ิ สุด กั บ ร า นอาหารฟ ว ชั ่ น ที ่ ค งรสชาติ แ บบไทย ๆ ทีแ่ สนจะคลาสสิกไว แตกผ็ สมผสานลงตัวกับอาหาร ฝรัง่ ไดเปนอยางดี ที่ “Chew N’ Brew” การเดินทาง ทองเที่ยวแบบใหมในรานอาหารฟวชั่นสีฟาสดใส กำลังจะเริ่มขึ้นแลว Chew N’ Brew เกิดขึ้นดวยไอเดียบรรเจิด ของกลุมเพื่อน ๆ ที่รักการทองเที่ยวและรวมตัว กันทำรานอาหารที่ถายทอดออกมาในธีมของการ ทองเที่ยว และการเดินทาง ทันทีที่ไดเปดประตู กาวเขาไปดานในราน บรรยากาศก็ชวนใหนึกถึง ทองทะเลสีฟาและการเดินเรือทองเที่ยวไปทั่วโลก กวางดวยลูกโลกยักษที่ถูกวางประดับตกแตงไว คูกับหนังสือตาง ๆ เงยหนามองขึ้นไปบนเพดาน ก็ตอ งสะดุดกับหมวกมากมายหลายใบทีแ่ กวงเบา ๆ

เมนูแรกทีเ่ สิรฟ ลงโตะ คือ “ลาบปลาโอ” เนนรสชาติของความเผ็ด เปรีย้ ว หอมขาวคัว่ รสชาติทค่ี นุ เคยเปนอยางดีสำหรับคนไทย อีกเมนูคือ “แกะยางจิ้มแจว” Chew n’ Brew สามารถปรุงเมนูนี้ออกมาไดเปนอยางดี ทัง้ ในเรือ่ งของรสชาติทไ่ี มมคี วามคาวสักนิดเดียว ดวยเครือ่ งเทศตาง ๆ ทีห่ มักในเนือ้ แกะ ทำใหมรี สชาตินมุ ลิน้ เสิรฟ พรอมน้ำจิม้ แจว อรอยอยาบอกใคร

Crew n’ Brew สุขุมวิท 49 Credit : travel.truelife.com

28 FUSION MAGAZINE


Chill Out เรื่อง : Brownbear

ครบเซ็ท พรอมรับมือหนาฝน ! ฤดูรอ นผานไปแลวคงหนีไมพน กับฤดูฝนทีก่ ำลังจะผานเขามา เรามาเตรียมรับมือกอนทีจ่ ะเปย กปอน ปวยไขไมสบาย กันดีกวานะ ปองกันไวอยางนีด้ ที ส่ี ดุ หลายคนคงยังไมเตรียมตัวกัน วันนีเ้ รามีทปิ เดด็ ๆ มาฝากกัน

พกรมติดตัวไวเสมอ

ไมวา เราจะออกไปทีไ่ หน พึงระลึก ไวเสมอวาฤดูน้ี ฝนตกลงมาไดทกุ เมอ่ื เราตองปองกันไวกอ นจะดีกวานะ

เตรียมรองเทาบูท กันฝนเก ๆ

ทำความสะอาดมือทันที

ออกเดนิ ทางแลัวไปโดนฝนมา ควรรีบ ชำระลางมือเปนอยางแรก ดวยสบู ทันที ชวยลดอัตราเสีย่ งจากเชือ้ โรค ตาง ๆ ทีต่ ดิ มากับฝนจนทำใหคณ ุ ปวยได

หมวกก็กันฝนได !

ถาคุณกลัวการไมสบาย จากเชอ้ื โรคทีม่ ากับละอองฝน ลงมากระทบบนศีรษะ หาหมวก ทีท่ ำจากหนังเทยี มสักใบ ก็ชว ยปองกันไมใหคณ ุ เปย ก และไมสบายไดเหมือนกัน

ปรับอุณหภูมิหองใหเหมาะ

อากาศในหนาฝน มีความชืน้ และหนาวเย็น อยูแ ลว เราจึงไมควรปรับแอรใหเย็นมากกวา 27 C ซึง่ อาจทำใหอณ ุ หภูมริ า งกายเราต่ำ กวาปกติ ทำใหภมู ติ า นทานโรคต่ำได

ผาปดปาก

สำหรับคนทีต่ อ งการปองกันเปน อยางดี ในการปองกันเชอ้ื โรคทีม่ ากับฝนไดดอี กี อยางหนึง่ คือ ผาปดปาก หาซือ้ งาย แถมราคาไมแพงอีกดวย ลดการติดเชอ้ื ไดมากกวา 95% FUSION MAGAZINE 29

Chill Out

สำหรับรองเทา ทีค่ ณ ุ ผูห ญิง ชอบใสกนั นัน้ อาจจะไมเหมาะ กับฤดูฝนสักเทา ไหร เพราะทัง้ ลืน่ และเปย กจนอาจ เปน เชอ้ื ราตามนิว้ เทา ได ทางทีด่ ี เราหาบูทสวย ๆ สักคู มาไวใชในชวงนีจ้ ะดีกวานะ


มัน่ ใจกับการรักษา

“ดวยเภสัชรังสี”

พญ. อาภากร โฆษิตวัฒนฤกษ

แพทยประจำหนวยเวชศาสตรนิวเคลียร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี

เวชศาสตร น ิ ว เคลี ย ร คื อ อะไร วั นนี ้ เราจะมาไขข อ ข อ งใจในการใช เทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร กับทางการแพทยวามีความสำคัญตอเราอยางไร ทางเราไดรับเกียรติสัมภาษณใหความรู โดยแพทยหญิง อาภากร โฆษิตวัฒนฤกษ ที่จะมาชวยอธิบายถึงความหมายและความสำคัญ ของเวชศาสตร น ิ ว เคลี ย ร ก ั น ให ก ระจ า ง

30 FUSION MAGAZINE


Interview

เวชศาสตรนิวเคลียรคืออะไร ?

เปนสาขาวิชาหนึง่ ซึง่ นำสารเภสัชรังสี มาใชในการวินิจฉัยและรักษาโรค เชน การตรวจกระดูกที่เรียกวา Bone Scan ที่สามารถใชไดกับการตรวจโรคมะเร็ง ทุกชนิดกับการรักษาโรคที่มีความจำเพาะ เจาะจง เชน โรคไทรอยด ทีต่ อ งใชไอโอดีน I-131 Metaiodobenzylguanidine (MIBG) ในการรักษา เปนตน

บทบาทสำคัญตอการแพทย ของเวชศาสตรนิวเคลียร

ปจจุบันในทางการแพทย มีการใชสารเภสัชรังสีในการรักษา ผูปวยมากนอยแคไหน ?

การใชสารเภสัชรังสีในแงของการวินจิ ฉัย มีมานานแลว แตสว นทีร่ จู กั กันมากคือการ ใช Bone Scan, Renal Scan เมื่อชวง ประมาณสิบปที่ผานมา การตรวจแบบ PET - CT ของนิวเคลียรเมดนัน้ ไดเติบโต ขึ้นมาก การใชสารเภสัชรังสีในการรักษา ผูปวยนั้น จึงมีสวนชวยในการวินิจฉัย คนไข ใ นกลุมที่เ ป น โรคมะเร็ ง ต า ง ๆ มากมาย ซึ่งหนวยเวชศาสตรนิวเคลียร เรารักษาโรคมะเร็งเปนหลัก เชนเดียว กับโรคทีเ่ กียวกับไทรอยด อยางโรคไทรอยด ยั ง มี โรคที ่ เรามี ส  ว นช ว ยรั ก ษาร ว มกั บ แพทยแขนงอืน่ ๆ เชน รักษาผูป ว ยเนือ้ งอก Neuroendocrine Tumor ผูปวยที่เปน มะเร็งกระจายมาทีก่ ระดูก ผูป ว ยมะเร็งตอม น้ำเหลือง และผูปวยฮีโมฟเลียอีกดวย

การผลิตเภสัชรังสีเพื่อใชวินิจฉัย เพียงพอกับผูปวยในขณะนี้หรือไม ?

ในแงของการใชในวินิจฉัยไมมีปญหา เพราะตัวทีเ่ ปน เทคนิคซีเซียม-99 Tc-99m ก็สามารถผลิตไดอยางเพียงพอ แตสำหรับ ในแงของการรักษานั้น โดยสวนตัวแลว คิ ด ว า ยั ง ไม เ พี ย งพอต อ ความต อ งการ และในบางครั้งมีมากกวาหนึ่งโรงพยาบาล ทีต่ อ งใชยารวมกัน เราจึงตองตกลงและแบง สารกั น พอใช คาดการณ ว  า ในอนาคต อาจต อ งผลิ ต เพิ่ม ขึ้น เพื ่ อ ให เพี ย งพอ ตอความตองการ

ความแตกตางระหวางการวินิจฉัย

และรักษาดวยวิธีการอื่น ๆ

ในแงของการวินิจฉัย เมื่อเทียบกับการ เอ็กซเรยปกติ เภสัชรังสีของเรามีจุดเดน ตรงที่วา การเปลี่ยนแปลงของเราเปนแบบ Functional Imaging ตรวจได เร็ ว กว า เห็ นความผิ ด ปกติ ได เร็ ว กว า การทำภาพ ครัง้ นึงสามารถทำไดทว่ั รางกาย แตกตางจาก การเอ็กซเรย ตรงทีก่ ารเอ็กซเรย นัน้ เปนการ ฉายภาพเฉพาะจุด สงสัยตรงทองก็ทำตรงทอง สงสัยตรงอกก็ทำตรงอก เทานัน้ แตเภสัชรังสี ของเรานั้น มีรังสีปริมาณนอยกวาเมื่อเทียบ กับการเอ็กซเรยทั่วไป

“ขอดีคือเราตรวจพบ ความผิดปกติ ไดรวดเร็วกวา และรับรังสี ในปริมาณที่นอยกวา” FUSION MAGAZINE 31

Interview

หนวยเวชศาสตรนวิ เคลียร เปนหนวย เล็ก ๆ ที่คนสวนใหญไมคอยมีใครรูจัก แตมีความสำคัญกับทุกสาขาการแพทย เพราะเปนหนึ่งในสหสาขาวิชา ที่ชวย ในการวินจิ ฉัยโรคใหกบั แพทยแขนงตาง ๆ เป น ส ว นยอยที่ช  ว ยในการรั ก ษาโรค และโรคที่เรารักษาสวนมาก มักจะเปน โรคของตอมไทรอยด


Interview

Interview

ในส ว นของการรั ก ษาโรคแบบเภสั ช รั ง สี จุดเดน คือ สามารถจำเพาะตอโรค หรือจำเพาะ เซลลที่ตองการรักษาได ยกตัวอยาง เชน คนไข เปนมะเร็งที่หนึ่งจุดในรางกายแลวใชเคมีบำบัด ที่สงรังสีออกมาจากเครื่องรังสีนั้น ก็จะสงผล ไปทั่วรางกาย ทั้งเซลลปกติและเซลลมะเร็ง แตสำหรับเภสัชรังสีนั้น เราใหคนไขไดรับรังสี ด ว ยวิ ธ ี ก ารกิ น หรื อ ฉี ด เข า อวั ย วะโดยตรง จึงเปนการจำเพาะตอเซลลที่ตองการรักษา เชน ใหสารไอโอดีน I-131 Metaiodobenzylguanidine (MIBG) ที ่ ม ี ค วามจำเพาะกั บ เซลล ไทรอยด รังสีนั้นก็จะไปสงผลแตเซลลไทรอยดเทานั้น เซลลอื่นก็จะไมไดรับรังสี จุดเดนอีกจุดหนึ่งคือ เภสัชรังสีนน้ั ไมมพี ษิ ตอตับ ไต หรืออวัยวะอืน่ ๆ ทีอ่ าจจะมีบา งก็เปนเรือ่ งไขกระดูก แตไมเจอบอย เพราะมีความเสีย่ งนอยกวาเมือ่ เทียบกับการรักษา แบบเคมีบำบัด และในกรณีทร่ี กั ษาดวยเภสัชรังสี ไปแลว คนไขมีการตอบสนองดี แลวก็สามารถ ใหซ้ำไดโดยไมมีปญหาใด ๆ

ความปลอดภัยในการควบคุมและจัดการ สารรังสี ที่ใชในการรักษา ทั้งบุคลากร และผูปวยใหปลอดภัย

สำหรับคนไขกอ นทีร่ บั การรักษา ทางเราจะมี เจาหนาที่ใหความรู เขาพูดคุย ใหคำแนะนำ พรอมกับเอกสารในการเตรียมตัวใหกลับไปศึกษา ต อ ที ่ บ  า น แต ห ากยั ง ไม เข า ใจและเป นกั ง วล คนไขสามารถนัดหมายเพือ่ เขามารับฟงคำแนะนำ อีกครั้ง เจาหนาที่จะอธิบายตั้งแตความจำเปน ที ่ คนไข จ ะต อ งได ร ั บ การรัก ษาดวยเภสัช รัง สี การปิบัติตนขณะไดรับการรักษา ระหวางนอน โรงพยาบาลและตอนกลับบาน จนกวาจะเขาใจ สำหรับเจาหนาทีท่ ป่ี ฏิบตั งิ าน รวมถึงแพทยนน้ั เรามีเครื่องมือสำหรับการวัดระดับปริมาณรังสี ในรางกาย สงไปยังกรมวิทยาศาสตรการแพทย ทุกเดือน ทางนั้นก็จะตรวจดูวามีใครไดรับรังสี เกินปริมาณที่ควรจะเปนหรือเปลาแลวแจงผล กลับมา สำหรับสวนบุคลากรหองยาทีต่ อ งเตรียม ยามากกวาสวนอื่น ๆ จะมี Pocket Dose ที่มี ตัวเลขระบุวา งานทีท่ ำอยู ณ ตอนนีม้ ปี ริมาณรังสี อยูที่เทาไหรในแตละวัน หากตรวจพบวามีรังสี ในปริ ม าณที ่ เ กิ นกว า กำหนด ก็ อ าจจะให พ ั ก ปฏิบตั งิ านกอน แตตง้ั แตปฏิบตั งิ านกันมายังไมมี ใครไดรับปริมาณรังสีเกินกำหนดเลย 32 FUSION MAGAZINE

ปจจุบันเภสัชรังสี ก็มีสารรังสีใหม ที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไมวาจะเปน การรักษาโรค หรือในการวินิจฉัย รวมถึงเครื่องมือ ที่ใชก็พัฒนาขึ้น”


ความตองการที่อยากใหทางสถาบัน เทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (สทน.) ผลิตเภสัชรังสีชนิดใดใหมากขึ้น

ทีจ่ ำเปนมากในขณะนี้ คือ สารไอโอดีน I-131 Metaiodobenzylguanidine (MIBG) ซึ่งรูสึกวายังไมเพียงพอตอความตองการ ในการรักษาผูปวย เพราะ สทน. สามารถ ผลิตออกมาไดเพียง 150 Rad ตอสัปดาห แตเวลาที่เราใชรักษาจริงนั้น เราอยากใช มากกวา 150 Rad/Dose ซึง่ ในตางประเทศ ใหมากกวา 150 Rad/Dose ตามน้ำหนักตัว ของผูป ว ย จึงอยากใหผลิตเพิม่ ขึน้ สวนสาร ใหม ๆ ที่อยากให สทน. ผลิตสารดังกลาว คื อ สารที ่ ใ นต า งประเทศใช แ ล ว ได ผ ล คอนขางดี เชน 177 Lutetium labelled Dotatate สำหรับใชรักษาคนไขในกลุม Neuroendocrine Tumor เปนตน

อนาคตเวชศาสตร นิวเคลียรของไทย

ณ ปจจุบันงานเภสัชรังสี ก็มีสารรังสี ใหมทเ่ี พิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ไมวา จะเปนแงของการ รักษาโรค หรือวาในการวินิจฉัย รวมถึง เครือ่ งมือทีใ่ ชกพ็ ฒ ั นาขึน้ แลวก็มี PET-CT ที่ชวยเขามาในการวินิจฉัยโรค อีกดวย และเราก็ไดรบั ความรวมมืออยางดีจาก สทน. ที ่ ส นั บ สนุ นการทำวิ จ ั ย สารต า ง ๆ เช น เมื่อ 2-3 ป ที่ผานมา ยาที่ใชในการรักษา มะเร็ ง ต อ มน้ ำ เหลื อ งที ่ ช ื ่ อ ว า Severin ผลการรักษาคอนขางดี แตก็มีราคาสูงมาก ราคาเข็มละ 1 ลานบาท ทางเราจึงอยาก ไดยาตัวใหมมาทดแทนและพบวาทีป่ ระเทศ ออสเตรเลี ย นั ้ น ได นำสารไอโอดี น 131 เรสทู ซ ี ล แบก มาใช ในการรั ก ษา แต ใน เมืองไทยยังไมมี เราจึงขอความรวมมือให สทน. ใหผลิตสาร เพื่อใหเรามาใชรักษา คนไข และไดใชกบั คนไขประมาณ 4-5 คน ก็ไดผลเปนทีน่ า พอใจ ทางเราไดมกี ารเตรียม

ความพรอม ในการรองรับการเติบโตของ เวชศาสตรนิวเคลียรในอนาคต ดวยการ สงแพทย นักฟสิกสการแพทย และนักเคมี ไปศึกษาเพิ่มเติม แตอยางไรก็ตาม ก็ตอง ไดรบั ความรวมมือในการหาสาร และผลิตสาร สทน. ควบคูกันไปดวย

ฝากถึงคนไขหรือประชาชนทั่วไป ที่กลัวนิวเคลียร ทั้งเรื่องทั่วไป หรือทางการแพทย

อยากฝากไววา รังสีหรือนิวเคลียรไมได นากลัวอยางที่คิดคะ ถาเรานำมาใชอยาง ถูกตอง โดยเฉพาะในทางการแพทยเพราะ ปจจุบนั เรานำสารเภสัชรังสีมาใชประโยชน ไดหลากหลายทั้งที่เกี่ยวกับดานการตรวจ วินิจฉัยและการรักษาโรค ซึ่งใชกันอยาง แพร ห ลายและยาวนาน เป นการตรวจ รักษาทีม่ ปี ระสิทธิภาพและมีความปลอดภัย ถามีความจำเปนตองตรวจก็ไมตองกังวล FUSION MAGAZINE 33


Interview

เขาใจงานวิจัยเภสัชรังสี กับผูจัดการ

ศูนยไอโซโทปรังสี

Interview

นั บ ตั ้ ง แต ป  พ.ศ. 2507 เป น เวลานานกว า 40 ป กองผลิต ไอโซโทปรัง สี ซึ่ง เคยสัง กัดอยูในสำนักงาน พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ไดเปลีย่ นแปลงโครงสราง ในป พ.ศ. 2545 เพื่อเตรียมปรับบทบาทและภารกิจ กองผลิตไอโซโทป ไดถกู เปลีย่ นชือ่ เปน “โครงการผลิต ไอโซโทป” สังกัดสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ และใน วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2549 ภารกิจของกลุม งาน ปฏิบัติการวิจัยและพัฒนากลุมงานดานการใหบริการ เทคโนโลยีนิวเคลียรไดถูกแยกออกมาจากสำนักงาน ปรมาณูเพื่อสันติ มาเปนหนวยงานในกำกับของกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีภายใตชื่อ สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สทน. โครงการ ผลิตไอโซโทปไดถูกเปลี่ยนแปลงโครงสราง และเปลี่ยนชื่อ มาเปนศูนยไอโซโทปรังสี

คุณจตุพล แสงสุริยัน

ผูเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ปจจุบัน คุณจตุพล แสงสุริยัน ผูเชี่ยวชาญดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร เปนผูจัดการศูนยไอโซโทปรังสี คุณจตุพล เลาวา การจัดตั้งศูนยไอโซโทปตั้งแตในอดีต มีวัตถุประสงคเพื่อเปนบริการของภาครัฐใหแกประชาชน โดยเฉพาะผูปวยใหไดรับการบำบัดรักษา และ/หรื อ การตรวจวิ น ิ จ ฉั ย ด ว ยสารไอโซโทปอย า งทั ่ ว ถึ ง ตลอดจนช ว ยลดการขาดดุ ล การค า และการสู ญ เสี ย เงิ นตราให ก ั บ ต า งประเทศ เนื ่ อ งจากสารไอโซโทปที ่ ผ ลิ ต ขึ ้ น เองในประเทศ จะมี ร าคาถู ก กว า ที ่ ส ั ่ ง ซื ้ อ จากต า งประเทศ และสามารถตอบสนอง ความตองการของผูปวยใหไดใชสารไอโซโทปไดทันทวงที เนื่องจากสารไอโซโทปมีคาครึ่งชีวิตสั้น การผลิตไดเองสามารถยืดหยุน ปริมาณความตองการได ผลิตภัณฑสำคัญของศูนยไอโซโทปมี 3 ประเภทหลัก ๆ ไดแก สารประกอบ ติดฉลากรังสี (Labeled Compounds) เภสัชภัณฑสำเร็จรูป เทคนีเชียม-99 เอ็ม (Tc-99m Radiopharmaceutical Kits) และสารรังสีแบบปดผนึก (Sealed Source) เพื่อใชประโยชนในทางการแพทย การเกษตร และการศึกษาวิจัย ดานนิวเคลียรและรังสี “ในปที่ผานมา เราผลิตสารไอโซโทปรังสี สงไปให บริการในโรงพยาบาลที่มีงานดานเวชศาสตรนิวเคลียร 25 แหง ทั่วประเทศ สามารถใหบริการผูป ว ยไดประมาณ 30,000 ราย สามารถลดคาใชจา ยในการ นำเขาสารไอโซโทปรังสีกวา 70 ลานบาท แตก็ยังมีสวนหนึ่งที่ตองนำเขาจาก ตางประเทศ เนือ่ งจากขอจำกัดในการผลิตเภสัชบางชนิด เพราะความไมพรอม ของเครือ่ งมือในการผลิต “ปจจุบนั เครือ่ งปฏิกรณปรมาณูวจิ ยั ขนาด 2 เมกกะวัตต 34 FUSION MAGAZINE

ซึ่งมีอายุ 52 ป เปดเดินเครื่องเพียงสัปดาหละครั้ง เพื่อรักษาเชื้อเพลิงให สามารถใชไดนานทีส่ ดุ ทำใหการผลิตสารเภสัชรังสีบางตัวทำไมได เพราะตอง อาศัยความแรงรังสีสูงและเดินเครื่องติดตอกัน ทำใหเสียโอกาสในการผลิต สารเภสัชรังสีหลาย ๆ ชนิด” อยางไรก็ตาม ศูนยไอโซโทปรังสี ยังผลิตเภสัช รังสีสำคัญ คือ ไอโอดีน-131 และเทคนีเชียม-99 เอ็ม โดยเริม่ ผลิตไอโอดีน-131 ครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2509 ปริมาณทีผ่ ลิตไดในปนน้ั คือ 601 มิลลิครู ี และกอน หนาป พ.ศ. 2509 แพทยกส็ ง่ั ไอโอดีน-131 จากตางประเทศมาใชรกั ษาผูป ว ย อยูแ ลวประมาณ 12,000 มิลลิครู ี ตอป จนกระทัง่ ป พ.ศ. 2517 ก็เพิม่ ปริมาณ การผลิตเปน 14,136 มิลลิครู ี ซึง่ ก็ยงั ไมเพียงพอตอความตองการใชของแพทย จากสถิตพิ บวาแพทยมคี วามตองการใชสารไอโซโทป 2 ชนิด คือ ไอโอดีน-131


Interview

ภาพภายใน Lab ของศูนยฯ ที่มีการควบคุม ดูแลการผลิตและวิจัยยาตาง ๆ ไดรับการ ดูแลเปนอยางดี จากนักวิทยาศาตรผูเชี่ยวชาญ

• พ.ศ. 2515 ผลิต lodide-131 Hippuran เพือ่ ใชตรวจวินจิ ฉัยไต (Tubular Excretion Rate) ผลิต lodine-131 Rose Bengal เพือ่ ใชวนิ จิ ฉัยตับ • พ.ศ. 2525 ผลิต Sulfur Colloid Kit เพื่อใชวินิจฉัยตับ ผลิต MDP Kit เพื่อใชวินิจฉัยกระดูก • พ.ศ. 2526 ผลิต DTPA Kit เพื่อใชวินิจฉัยไตบริเวณ Glumeruli ผลิต Pyrophosphate Kit เพื่อใชวินิจฉัยกระดูกและการขาดเลือด ของกลามเนื้อหัวใจ • พ.ศ. 2527 ผลิต lodide-131 Bromthalein เพื่อใชวินิจฉัยตับ ผลิต MAA Kit เพือ่ ใชวนิ จิ ฉัยตับ ผลิต Human Serum Albumin Kit เพื่อใชวินิจฉัยการสูบฉีดโลหิตที่เลี้ยงหัวใจ

สำหรับผูป ระกอบการ โรงพยาบาลทีส่ นใจ หรือประชาชน ที่ตองการขอมูลเพิ่มสามารถติดตอไดที่ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ศูนยไอโซโทปรังสี โทร. 02-401-9889, www.tint.or.th FUSION MAGAZINE 35

Interview

และเทคนีเซียม-99 เอ็ม หลังจากนั้นในป พ.ศ. 2518 ศูนยไอโซโทปรังสีก็ ดำเนินการเพิ่มการผลิตเทคนีเชียม-99 เอ็ม เพื่อตอบความตองการของผูรับ บริการ สำหรับแผนการดำเนินการในป พ.ศ. 2558 นี้ ศูนยไอโซโทปกำลังจัดหา เครือ่ งมือสำคัญ สำหรับการผลิตเทคนีเชียม-99 เอ็ม ใหสามารถผลิตไดปริมาณ มากขึ้น เพียงพอกับความตองการของผูใชบริการ ซึ่งคาดวาจะเริ่มผลิตได ในปตนปงบประมาณหนา “ศูนยไอโซโทปรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร แหงชาติ เรายังมุงมั่นผลิตเภสัชรังสีเพื่อตอบสนองความตองการของผูใช อยางตอเนือ่ ง และปฏิบตั งิ านใกลชดิ กับบุคลากรดานเวชศาสตรนวิ เคลียรของ โรงพยาบาลตาง ๆ เพื่อรวมพัฒนาเภสัชรังสีตัวใหม ๆ เพื่อใชในการวินิจฉัย และรักษาโรคไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนประโยชนกบั ประชาชนอยางสูงสุด เราชวยคนไขได มันก็เปนไปตามเจตนารมณของศูนยฯ หากในทายที่สุด ผูป ว ยอาจจะไมมชี วี ติ อยู เราเชือ่ วาการใชเภสัชรังสีในการรักษาก็ยอ มใหผปู ว ย มีคุณภาพชีวิตที่ดี กอนจากโลกนี้ไป” คุณจตุพลกลาวในตอนทาย นอกจากไอโอดีน-131 และเทคนีเซียม-99 เอ็ม กองผลิตไอโซโทปก็ยงั ผลิต สารเภสัชภัณฑรังสีชนิดอื่นอีกหลายกลุมซึ่งพอที่จะรวบรวมไดตามปนั้น ๆ ที่สารนั้นใหบริการดังนี้

• พ.ศ. 2528 ผลิต HIDA Kit เพื่อใชตรวจวินิจฉัยตับ (Hepateobiliary System) ผลิต Glucoheptonate เพือ่ ใชตรวจวินจิ ฉัยไตสวน Glomeruli, Renal Tubule เลิกผลิต lodine-131 Rose Bengal เพราะมี Kit อืน่ ใชแทน • พ.ศ. 2530 ผลิต Phytate Kit เพื่อใชวินิจฉัยตับ • พ.ศ. 2531 ผลิต DISIDA Kit เพื่อใชวินิจฉัยตับ-น้ำดีผลิต DMSA Kit เพื่อใชวินิจฉัยไตสวนเนื้อเยื่อ Parenchyma ผลิต lodide-131 MIBG เพื่อใชวินิจฉัยตอมหมวกไต • พ.ศ. 2534 ผลิต DMSA (v) Kit เพือ่ ใชถา ยภาพเนือ้ งอก (Tumor lmaging) • พ.ศ. 2536 ผลิต Stannous Kit เพื่อใชวินิจฉัยหากมีเลือดออก ในกระเพาะอาหารและลำไส ผลิต Bromida Kit เพือ่ ใชวนิ จิ ฉัยตับ-น้ำดี ผลิต MAG3 Kit เพื่อใชตรวจวินิจฉัยไต (การทำงานของ Tubular Excretion Rate) ผลิต HMPAO เพื่อตรวจวินิจฉัยการไหลเวียน ของเลือดในสมอง (Brain Perfusion Study) • พ.ศ. 2537 ผลิต MIBI Kit เพื่อตรวจสอบเสนเลือดที่เลี้ยงหัวใจ (Myocardium Perfusion Study) ผลิต EC Kit เพื่อใชตรวจสอบ การทำงานของไต ผลิต ECD Kit เพื่อใชตรวจสอบการไหลเวียนของ เลือดในสมอง ผลิต Stannous Kit เพื่อใชตรวจสอบเลือดที่ออกใน กระเพาะอาหารและลำไส (Gastrointestinal Bleeding) • พ.ศ. 2540 ผลิต Samarium-153 EDTMP เพือ่ รักษาอาการปวดกระดูก จากการแพรกระจายของมะเร็ง • พ.ศ. 2541 ผลิต Samarium Hydroxyapatite เพื่อรักษาอาการปวด อักเสบของขอในผูปวย Rheumatoid Arthritis • พ.ศ. 2548 ผลิต Iodine-131 MIBG ชนิดบำบัดรักษา เพือ่ ใชรกั ษาเนือ้ งอก ฟโอโครมชนิดไมรา ยแรง ใชรกั ษามะเร็งเนือ้ เยือ่ สวนกลางของตอมหมวกไต


On The Earth

มหัศจรรยพลัง

สรรคสรางจากธรรมชาติ “ธรรมชาติก็เหมือนผูหญิง ยิ่งเรียนรูยิ่งคนพบ ยิ่งถลำยิ่งล้ำลึก” ขึ้นหัวเรื่องปรัชญาแบบนี้เราตองมีอะไรใหไดคนหาอีกแลว

On the Earth

เปนเรื่องที่เราพิสูจนไดอยางแทจริงเลยคะ ธรรมชาติซอนอะไรมากมายภายใตความออนหวาน นาหลงใหลและภายใตเงื่อนไขตาง ๆ ของธรรมชาตินานับประการ ไมนาเชื่อเลยวาจะสรางความประหลาดใจในการค้ำจุนชีวิตของมนุษยและสัตวโลกไดมากขนาดนี้ มหัศจรรยธรรมชาติครัง้ นีม้ าพรอมกับความงดงามทีอ่ อ นชอยคะ นัน่ คือมวลหมูด อกไมทน่ี อกจากจะสวยงาม ยังมีประโยชนในการ รักษาโรคและบรรเทาอาการเจ็บปวยของเราไดดวย เพื่อไมใหเสียเวลาเรามาทำความรูจักสุดยอดสายพันธุดอกไมที่คุณตองทึ่ง

ดอกกุหลาบ : Roses

•••••••••••••••••••••••••••••••

อันดับหนึ่งหนีไมพนราชินีดอกไมในตำนาน นั่นคือ ดอกกุหลาบ (Roses) วาว!! ทั้งโรแมนติกและเปนสัญลักษณของความรัก สาว ๆ คนไหนที่ไดรับดอกกุหลาบ ชอโตนี่ยิ้มไมหุบเปนอาทิตยเชียวละ ทราบไหมคะ ไมเพียงแตกลิ่นหอมจะชวยสราง ความสดชื่น กลิ่นของดอกกุหลาบยังชวยคุมระดับฮอรโมนผูหญิง และหลากหลาย ผลิตภัณฑความงามที่ใชดอกกุหลาบสกัดเปนสวนประกอบในการชวยลดริ้วรอย จากวัย นอกจากนี้ ชาวอังกฤษก็นิยมปลูกกุหลาบเพื่อนำผลมาทำอาหาร เชน แยม เยลลี ซุป ไวน และชา ผลกุหลาบมีวติ ามินซีมากกวาสมอีกนะ ไมเ พยี งเทา นี้ ชาวนิวซีแลนด เองก็มชี อ่ื เสียงมากในการทำน้ำเชอ่ื มทีม่ กั ใหเดก็ ๆ รับประทานปองกันหวัดในฤดูหนาว นอกจากนี้ ยังชวยใหระบบการหมุนเวียนของเลือดดีขึ้นอีกดวย และเมืองที่ถือวาดอกกุหลาบมีคุณภาพดีที่สุดในโลกนั่นก็คือ ดอกกุหลาบจากเมอื ง “คาซานลัก” (Kazanlak) ประเทศบัลแกเรยี ยุโรปตะวันออกคะ ซึ่งถือไดวาเปนอุตสาหกรรมเศรษฐกิจของ ที ่ น ี ่ เ ลยก็ ว  า ได เขาเริ ่ ม เพาะปลู ก กั นตั ้ ง แต ศ ตวรรษที ่ 17 ที่นี่เขาจะสกัดน้ำมันของดอกกุหลาบมาแปรเปนสินคาตาง ๆ เชน น้ำหอม ช็อกโกแล็ต แยม น้ำมันอโรมา ฯลฯ ทุงดอกกุหลาบที่นี่ เริ่มผลิบานชวงปลายเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ซึง่ ความสวยงามติดอันดับสถานทีท่ อ งเทย่ี วทีค่ นรักดอกกุหลาบ ตองมา นอกจากนี้ เทศกาลดอกกุหลาบ (Rose Festival) ก็จัดขึ้นในชวงนี้ดวยคะ

36 FUSION MAGAZINE


On The Earth

•••••••••••••••••••••••••••••••

ดอกมะลิ : Jasmine

ดอกมะลิ (Jasmine) ดอกไมชนิดนี้บานเราจะเปนดอกที่แสดงถึง ความรักและความกตัญูรูคุณของผูเปนแม นอกจากรูปลักษณ ของมะลิจะออนโยนแลว กลิ่นของดอกมะลิยังชวยตานความซึมเศรา ที่ปจจุบันผูอาศัยในเมืองใหญประสบสภาวะนี้ในวงกวางจากความเครียด เราก็สามารถบรรเทาดวยกลิ่นของมะลิไดคะ นอกจากนี้ กลิ่นของดอก มะลิยังชวยบรรเทาอาการปวดทอง บรรเทาโรคบิด รักษาแผลพุพอง แกพิษจากแมลงตอย แถมยังเปนยาบำรุงหัวใจอีก โอโห สรรพคุณ มีมากกวาความออนโยนที่เราสัมผัสไดอีกนะ ราก และใบของดอกมะลิ ยังบรรเทาอาการเจ็บปวยของเราไดเชนกัน ซึ่งผลิตภัณฑที่มีชื่อเสียง มากทีส่ ดุ ของดอกมะลินน่ั ก็คอื น้ำมันหอมระเหยคะ ซึง่ ไดการขนานนามวา เปน King of Essential Oils เลยนะ และประเทศไทยจะพบพันธุ Jasminum Sambac จำนวนมากคะ มีวางขายทั่วไปและสงออกดวยคะ

On the Earth

ดอกเจอราเนียม : Geranium

•••••••••••••••••••••••••••••••

ดอกไมสญ ั ชาติแอฟริกาใต นับไดวา เปน ดอกไม ทีไ่ ดรบั การขนานนามวาเปน “ดอกไมแหงมิตรภาพ” ที่หลากหลายผลิตภัณฑบำรุงผิวนิยมนำมาทำ เปนสบู ครีม และน้ำหอม นอกจากพุมดอก จะสวยงาม กลิ่นของเขายังชวยใหผอนคลาย จึงนิยมนำไปทำน้ำมันหอมระเหยเชนกัน นอกจากคุณประโยชนที่มาพรอมกับหนาตา ที่สวยสดใสแลว กลิ่นของเจอราเนียมยังชวย ไลยุงดวยคะ สำหรับบานเราหากจะกลาวถึงดอก ไมชนิดนี้ หลาย ๆ คนจะคิดถึงดอยตุง เพราะที่นี่เมื่อดอกเจอราเนียมบานสะพรั่ง สีแดง สดของดอกจะตัดกับสีอื่น ๆ ของนานาพันธุ ดอกไมทำใหสวยงามจนเปนที่ติดตรึงใจของ นักทองเที่ยวดวยคะ

FUSION MAGAZINE 37


On The Earth เรื่อง : Greyscale

•••••••••••••••••••••••••••••••

ดอกลาเวนเดอร : Lavender

เปนที่รูจักกันดีในวงกวางดวยกลิ่นน้ำมันหอมระเหยอันลือชื่อ ตนกำเนิดมาจาก “ภูมิภาคมาคาโรนีเซีย” แถบแอตแลนติก ของแอฟริกา ความสวยงามของดอกสีมวงที่บานสะพรั่ง ไปทั่วทุงนั้น นอกจากจะเปนที่นิยมของนักทองเที่ยวที่มักจะ แวะชมตามประเทศตาง ๆ ไมวาจะเปน ประเทศฝรั่งเศส หรือโซนเอเชียบานเราอยางประเทศญี่ปุน ที่ไดรับความนิยม อยางแพรหลายติดอันดับอยูที่ฮอกไกโดคะ ดอกจะบานสะพรั่ง อยางงดงามชวงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม นั่นเอง

On the Earth

ไมตองสงสัยเลยวาทำไมดอกไมชนิดนี้จึงเปนที่นิยมเพราะหนาตา สีสัน และสรรพคุณที่ไมธรรมดา กลิ่นที่ชวยใหผอนคลาย ความตึ ง เครี ย ด ลดอาการเจ็ บ คอและหลอดลมอั ก เสบแล ว ยังชวยใหเรื่องของการฆาเชื้อและรักษาบาดแผลพุงพองไดอีก

•••••••••••••••••••••••••••••••

ดอกดาวเรือง : Marigold

ไมดอกธรรมดาที่เราสามารถพบไดตามวัดอันนิยมนำไปสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แทจริงแลวยังมีความมหัศจรรยแฝงภายใตความงดงามคะ ซึ่งสารสกัดจาก ดอกดาวเรืองหรือที่รูจักกันใน “คาเลนดูลา” มีสรรพคุณชวยแกปญหาผิว ปองกันริ้วรอย แถมยังทานไดอีกดวยนะ อยางกลีบดอกก็นำมาเปนสลัด หรือจะนำไปอบกับขนมปงก็ไดคะ ดวยสีเหลืองสดที่ใครเลยจะคิดวาสรรพคุณ ของเจาดอกนี้ยังชวยฆาเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และยังนานับคุณประโยชน ที่คาดไมถึงกันเลยทีเดียว ซึ่งนอกจากกลีบดอกแลว ใบ และตนก็ยังเปน สมุนไพรชั้นเลิศที่หาไดไมยาก แถมประหยัดดวยนะ

38 FUSION MAGAZINE


On The Earth

••••••••••••••••••••••••••••••••••••••

ดอกกระดั ง งา : Ylang-ylang

เปรียบเสมือนสาวครบเครื่อง ที่เพรียบพรอมดวยความงามทุกแขนงจริง ๆ เราเคยไดยินหลายคนเปรียบสาวหมายวา “กระดังงารนไฟ” เชื่อวายังมีคนที่ ไมทราบวาทำไมจึงตองเปนกระดังงา วันนี้เราไขปริศนากันดวยสรรพคุณของ ดอกกระดังงาที่ไมธรรมดาอีกแลวคะ เฉพาะกลิ่นก็สามารถทำใหรางกายผลิต เซโรโทนิน ที่เปนสารเคมีในสมองที่สำคัญที่สุดในการสรางความสุข ความสมดุลของสมอง วาว!! แสดงวา อยูใกล ๆ แลวมีความสุขนั่นเอง ยิ่งถาไดนำมารนไฟดวยนะคะ กลิ่นเยายวนชวนหลงทีเดียว นี่แหละคะ สาเหตุ ที่เรียกสาวหมายวา “กระดังงารนไฟ” เพราะเสนหที่เหลือรับประทานนี่เอง

••••••••••••••••••••••••••••••••

สารสำคัญที่มีสวนชวยในเรื่องของการนอนหลับที่สกัดไดจาก ดอกคาโมมายล เรียกวา อะพิจีนีน (Apigenin) ถือเปนสารที่พบ ในปริมาณมากที่สุดของดอกไมชนิดนี้ คุณสมบัติสำคัญของ อะพิจีนีน คือ ตานการอักเสบและชวยใหรูสึกสงบ คลายความกังวล รวมถึงชวยใหหลับสนิท นั่นจึงเปนสาเหตุที่ทำใหมีการดื่มชาที่สกัด จากดอกคาโมมายลมากกวา 1 ลานถวยตอวัน มีการศึกษาวิจัย ในกลุมอาสาสมัครเพศหญิง พบวากลิ่นของน้ำมันจากดอก คาโมมายล มีผลชวยทำใหรูสึกสบาย นอกจากนี้ ยังมีการศึกษา ทางคลินิกในกลุมที่มีภาวะโรควิตกกังวล โดยใหรับประทานสาร สกัดจากดอกคาโมมายลติดตอกันเปนเวลา 8 สัปดาห พบวา ความวิตกกังวลลดลงอยางมีนัยสำคัญ แมการใชสารสกัดจาก ธรรมชาติอยางดอกคาโมมายลจะมีสวนชวยในการนอนหลับ คลายกังวลได แตสิ่งสำคัญที่สุดคือการปรับสมดุลการใชชีวิต เชน การรับประทานอาหารประเภทคารโบไฮเดรตและน้ำตาล ใหเหมาะสม เพื่อเพิ่มระดับของซีโรโทนิน

แคเพียงไมกี่ชนิดจากสายพันธุไมดอกที่เราคุนเคยกันมีอะไรซอนอีกเยอะเลยคะ ธรรมชาติของเราชางนาคนหา และยิ ่ ง ค น หาก็ ย ิ ่ ง ค น พบว า ไม ม ี ว ั น สิ ้ น สุ ด จริ ง ๆ ฉบั บ หน า เราจะไขปริ ศ นาอะไรจากธรรมชาติ โปรดติ ด ตาม FUSION MAGAZINE 39

On the Earth

ดอกคาโมมายล : Camomiles


เรื่องเลา Blogger

เรื่อง : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข

Blogger

นิวตันไมใชนักวิทยาศาสตรจริงหรือ ? วันหนึง่ เมือ่ ผมไปหาซือ้ ผลไมในหางสรรพสินคา เห็นมีแอปเปลมาจากประเทศฝรั่งเศสวางขายอยู ตามประสาคนวิทยาศาสตรพอเห็นลูกแอปเปลก็นกึ ถึง กฎความโนมถวงของ เซอรไอแซก นิวตัน พอลงมือ เลือกแอปเปลจากฝรัง่ เศสก็นกึ ไดวา แมนวิ ตันจะเคย เลากับคนใกลชดิ อยางนอย 4 คนวา เขาเกิดความคิด เรือ่ งของความโนมถวงจากผลแอปเปลทีห่ ลนลงมา แตคนทีเ่ อาไปเขียนเปนตุเปนตะเปนลายลักษณอกั ษร จนตกทอดมาทำใหเราไดจำกันอยางทุกวันนี้นั้น เปนชาวฝรั่งเศสชื่อวอลแตร ตอนนั้นผมก็เลยเกิด ความคิดขึน้ มาขำ ๆ วาแอปเปลทีห่ ลนลงบนหัวของ นิวตันคงเปนแอปเปลจากฝรัง่ เศสอยางทีผ่ มกำลังเลือก ผมไมไดอาจหาญมาจากที่ไหนถึงกับฟนธงวา นิวตันไมใชนักวิทยาศาสตร แตเปนเพราะในสมัย ของนิวตัน ยังเรียกคนที่ทำมาหากินอยางนิวตันวา เป น นั ก ปรั ช ญาทางธรรมชาติ หรื อ Natural Philosopher และนิวตันก็เรียกตัวเองอยางนั้น ซึ่งการเรียกหาเชนนี้ มีที่มาที่ไปของมัน อาวุธสำคัญของนักปรัชญาก็คือการถกเถียง เรียกวาคิดอยางไรแลวก็เอามาถกเถียงกัน แตอาวุธ ของนั ก วิ ท ยาศาสตร คื อ หลั ก ฐานการทดลอง เรียกวาคิดอะไรไดอะไรก็เอามาทดลองหาหลักฐาน ดังนัน้ ในยุคสมัยทีโ่ ลกยังไมเจริญทางวัตถุ เครือ่ งไม เครื่องมือทำการทดลองยังไมมี สมัยนั้นจึงเปนโลก ของนักปรัชญา ซึง่ ในยุคโบราณชาวกรีกเปนพวกแรก ที่คนหาความเขาใจในตนเองและโลกรอบ ๆ ตัว ที่นอกเหนือไปจากศาสนา การคนหานี้ ชาวกรีก เรียกวา Philosophia มาจากภาษากรีก Philos แปลวา อันเปนที่รัก กับคำวา Sophia ที่แปลวา ปญญา (Wisdom) ที่ภาษาไทยเรียกวา ปรัชญา อันหมายถึงวิชาวาดวยหลักแหงความรูแ ละความจริง วิชาปรัชญาแบงเปน 2 แขนง อยางแรกเปนปรัชญา ทางศีลธรรมที่สนใจปญหาทำนอง อะไรคือความดี หรือความยุติธรรมเปนอยางไร ซึ่งนักปรัชญาผู 40 FUSION MAGAZINE

ยิ ่ ง ใหญ ในสาขานี ้ ก ็ เช น โสกราตี ส และเพลโต อีกแขนงหนึง่ ใหความสนใจกับวัตถุใด ๆ ในธรรมชาติ นับตัง้ แตจกั รวาลไปจนถึงใบหญา โดยคำธรรมชาติ นีต้ รงกับภาษาอังกฤษ Nature มาจากภาษาละติน Nasci แปลวา ที่เกิดขึ้น หมายรวมถึงสรรพสิ่ง ที ่ เ กิ ด ขึ ้ น มี ข ึ ้ น ซึ ่ ง ในภาษาไทย คื อ ธรรมชาติ และปรัชญาแขนงนีเ้ รียกวา Natural Philosophy ซึ่งผมขอแปลวา ปรัชญาทางธรรมชาติ ที่เพลโต ถือวาเปนปรัชญาชั้นรองลงไป และแมปรัชญานี้ จะมีปราชญใหญทช่ี อ่ื คุน หูอยาง อาริสโตเติล แตกย็ งั ถูกอิทธิพลทางความคิดของเพลโตขมมาโดยตลอด ตัวอยางทีด่ ขี องปรัชญาทางธรรมชาตินา จะไดแก ทฤษฎีอะตอมของคีมอคริตสุ คือ นักปรัชญาชาวกรีก มีชวี ติ อยูใ นชวงประมาณ 370-460 ป กอนคริสตศักราช เขาไดศึกษาวิชาที่วาดวยอะตอม (Atom) และความวางเปลา (Vacuum) กับเลฟคิปปุส หลังจากนำวิชาที่ร่ำเรียนมาขบคิดไตรตรองจน ตกผลึก คีมอคริตุสก็เริ่มเผยแพรคำสอนวาดวย อะตอมของตนเอง เขาสอนวาจักรวาล คือ ทีว่ า งอันกวางใหญทม่ี ี อะตอมอิงอาศัยอยู อะตอมเองนั้นถูกสรางขึ้นมา ให ค งอยู  เป นนิ ร ั นดร ทำลายไม ได แ ละมี ค วาม แข็งแกรงจนแบงแยกไมได ทัง้ ยังสมบูรณเต็มเปย ม แล ว ยั งบี บ ให เ ล็ ก ลงไม ได อะตอมเองนั ้ นไม ได เปลี่ยนแปลงตลอดกาล แตโดยการเคลี่อนอยาง ตอเนือ่ งและจัดเรียงตัวใหมไมหยุดหยอนระหวางกัน พวกมันไมไดสรางโลกแหงวัตถุธาตุขึ้นมา ปรัชญาอะตอมของคีมอคริตุสเรียกไดวาเปน ปรัชญาทางธรรมชาติบริสทุ ธิเ์ พราะสมัยนัน้ ยังไมมี เครือ่ งมือทดลองหาหลักฐานสนับสนุนได และกอน ในยุคกรีกมีวิชาหนึ่ง คือ เรขาคณิตที่ชาวอียิปตใช ในการคำนวณพื้นที่น้ำทวมในแมน้ำไนลเสียหาย

ในแต ล ะป ซึ ่ ง ความรู  น ี ้ ต กทอดมายั ง ชาวกรี ก โดยมีปราชญใหญ คือ ทาลีส ไพทากอรัสและยูคลิด โดยไดพัฒนาขึ้นมาก เชน หาพื้นที่สามเหลี่ยม หรือวงกลมได ซึง่ วิชานีเ้ ปนเครือ่ งมือมากกวาจะเปน ปรัชญาแลวสมัยนั้นยังมีอีกวิชาหนึ่ง คือ ดาราศาสตร ที่เปนการสังเกตปรากฎการณบนทองฟา แลวเอามาถกเถียงกันวานาจะเปนอยางโนนอยางนี้ ดาราศาสตรจึงยังเปนไดเพียงปรัชญา เพราะหา ขอพิสูจนไมได ชาวกรีกและโรมันเชือ่ ตามปรัชญาของปโตเลมี วาโลกอยูน ง่ิ ๆ เปนศูนยกลางจักรวาล แมอาริสตารคสั ทีบ่ อกวาโลกโคจรรอบดวงอาทิตยทเ่ี ปนศูนยกลาง จักรวาลแตคนไมเชื่อเพราะเขาอธิบายไมไดวา ถาโลกหมุนแลวทำไมของทุกอยางยังอยูน ง่ิ ไดบนโลก แลวยังเห็นดวงอาทิตยโคจรขึ้นและตกทุกวันดวย ป ค.ศ. 1543 นักดาราศาสตรชาวโปแลนดชอ่ื โคเพอรนิคัส พิมพหนังสือที่เขียนวาโลกหมุนรอบ ดวงอาทิตยและกาลิเลโอ (ป ค.ศ.1564) ไดใช กลองโทรทรรศนสอ งดูดวงจันทรและทางชางเผือก แลวก็เห็นตามโคเพอรนิคัส ความเชื่อนี้ทำใหเขา ถู ก คริ ส ต จ ั ก รกั ก บริ เวณอยู  ก ั บบ า นจนถึ ง วาระ สุดทายของชีวติ ชือ่ เสียงประการหนึง่ ของกาลิเลโอ คือเขาไดริเริ่มวิชาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ที่เรียกวากลศาสตร วากันวาเขาทดลองทิ้งวัตถุ สองชิ ้ นที ่ ห นั ก ไม เทา กั น ลงมาจากหอเอนป ซ า วาจะตกถึงพื้นพรอมกัน เพื่อพิสูจนวาการตกของ วัตถุไมขึ้นกับน้ำหนัก การทดลองนี้ยังเถียงกันวา เกิ ด ขึ ้ นจริ ง หรื อ ไม จ ริ ง หรื อ เป นคนอื ่ นทดลอง แลวถูกใสชื่อของกาลิเลโอ อยางไรก็ดีทศวรรษ 1660 ดาราศาสตรกา วหนาไปอีกขัน้ เมือ่ ชาวเยอรมัน ชือ่ เคปเลอรวเิ คราะหขอ มูลการโคจรของดาวอังคาร ของลู ก พี ่ ข องเขาชื ่ อ ว า บราห (ชาวเดนมาร ก )


เรื่องเลา Blogger

จึงทำใหปรัชญาดาราศาสตรเปนวิทยาศาสตรที่ สมบูรณ นิวตันเขียนเดอะพรินซิเปยดวยภาษาสำหรับ นักคณิตศาสตร มันจึงกลายเปนตำราวิทยาศาสตร ทีอ่ า นยากทีส่ ดุ ในโลก คนหนึง่ ทีอ่ า นแตก คือ วอลแตร และนำไปเขียนใหเขาใจงายดวยแอปเปลฝรั่งเศส และหลายรอยปมานี้ก็มีคนเขียนหนังสืออธิบาย เดอะพรินซิเปยออกมาหลายเลม โดยลาสุดนาจะ เป น หนั ง สื อ ชื ่ อ Newton’s Pricipia for the Common Reader ของนักวิทยาศาสตรรางวัล โนเบล ชื่อจันทรเสกขาร ตีพิมพเมื่อป ค.ศ. 1995

หลังยุคของนิวตัน ปรัชญาทางธรรมชาติกา วหนา อยางรวดเร็ว เพือ่ หลีกเลีย่ งจากใตรม เงาของปรัชญา ทางศีลธรรมทางออกก็คือตองหาชื่อใหม ในที่สุด ก็มาลงตัวทีค่ ำวา Natural Science (วิทยาศาสตร ธรรมชาติ) ที่ตอมาก็กรอนลงเหลือ Science โดย บันทึกชัดเจนวาวิลเลียม วีเวลล เริม่ เรียกนักปรัชญา ทางธรรมชาติ ด  ว ยคำว า นั ก วิ ทยาศาสตร หรื อ Scientist เมื่อป ค.ศ. 1883 จากนั้นคำวาวิทยาศาสตรจงึ เกิดขึน้ มาภายหลัง อยางไรก็ดี เยือ่ ใยระหวาง Science กับ Philosophy ก็ยังมีอยูจนทุกวันนี้ โดยผูท เ่ี รียนจบปริญญาเอกสาขาวิทยาศาสตรกย็ งั ไดรบั ปริญญา Ph.D. หรือ Doctor of Philosophy

แมในยุคของนิวตันยังไมมีคำวาวิทยาศาสตร แตตามนิยามของคำวาวิทยาศาสตรในปจจุบนั ผลงานของนิวตันนัน้ เรียกไดวา เปนผลงาน วิทยาศาสตรอยางแทจริง ตองนับวา ไอแซค นิวตัน Sir Isaac Newton เปนนักวิทยาศาสตร 25 December ตั ว จริ ง คนแรก ๆ ของโลกทีเดียวเลย

1642

FUSION MAGAZINE 41

Blogger

Credit : www.falsepositivecomic.com

แลวสรุปไดวา ดาวเคราะหทั้งหลายโคจรรอบ ดวงอาทิ ต ย เป น รู ป วงรี นิวตันถือกำเนิดขึ้นมาบนโลกใบนี้หลังจาก กาลิเลโอถึงแกกรรม (ค.ศ.1642) ไปไดหนึ่งป ยุคของนิวตันเชือ่ กันวาแทงปริซมึ ทำใหเกิดแสงสีรงุ แตเขาพิสูจนวาความเชื่อนี้ไมถูกตอง โดยทดลอง เอาปริซึมอีกแทงหนึ่งมารับแสงสีเดียวที่ออกมา จากปริซึมแทงแรก ปรากฎวาแสงยังคงเปนสีเดิม โดยไมเปนสีรงุ นีค่ อื การทดลองทีแ่ สดงวา แสงทีเ่ รา เห็ นคื อ แสงสี ข าวซึ ่ ง ประกอบด ว ยแสงหลายสี และปริซึมสามารถแยกแสงสีขาวออกเปนแสง แต ล ะสี ท ี ่ เป น องค ป ระกอบดั ้ ง เดิ ม ได ป ค.ศ. 1655 นิวตันคิดคนทฤษฎีบทวินาม ทั่วไป และเริ่มพัฒนาคณิตศาสตรที่เขาเรียกวา ฟลักเซียนส ที่เดี๋ยวนี้เรียกวา แคลคูลัส ตอมา ในป ค.ศ. 1687 นิ ว ตั นตี พ ิ ม พ ห นั ง สื อ ชื ่ อ ว า หลั ก คณิ ต ศาสตร ข องปรั ช ญาทางธรรมชาติ หรือเดอะพรินซิเปย ที่เขียนถึงจักรวาลกล นิวตัน พิสูจนวงโคจรวงรีของดาวเคราะหดวยกลศาสตร ของกาลิเลโอ แตเปนการเคลื่อนที่ ที่สัมพันธกัน ทั้งหมดดวยกฎความโนมถวงของเขา ซึ่งเปนแรง ที่วัตถุทั้งมวลในจักรวาลยึดโยงกันและกันโดย ใชการอธิบายและดวยการคำนวณทีพ่ ฒ ั นามาจาก เรขาคณิตของยูคลิด หนังสือเดอะพรินซิเปย


Health เรื่อง : Greyscale

Health

Health

อาหารเพิ ่ ม พลังสุขภาพ

หมดยุ ค ใช ร  า งกายหนั ก หั ก โหม ปล อ ยเนื ้ อ ตั ว ทั ้ ง ริ ้ ว รอย ฝ า แดด จุ ด ด า งดำ ผิวแหงกรานมาทำรายแลว ทั้งคุณผูหญิง และคุณผูชาย หันมาใสใจดูแลสุขภาพกันมากขึ้น สังเกตไดจากผลิตภัณฑ ไมวาจะโฟมลางหนา ครีมบำรุงผิว หรือแมแตวิตามินตาง ๆ ก็จัดพิเศษสำหรับบำรุงเฉพาะสวนที่คุณตองการ ซึ่งแยกทั้งหญิงและชาย สภาพผิวและรางกายของแตละเพศ แตละวัยจะตางกันไป แบบที่เรา เห็นไดงาย คือ ผิว คุณผูชายจะหยาบกรานกวาคุณผูหญิง เด็กจะมีเนื้อผิวละเอียดกวาผูใหญนั่นเอง ปจจุบันนี้ถาลองเทียบกันใกล ๆ บางครั้ง แทบแยกกันไมออกเลยทีเดียวนะ วาไหนหญิง หรือชาย ไหนเด็กหรือผูใหญ นี่เปนเพราะการดูแลใสใจสุขภาพ ทั้งภายนอกและภายในมากขึ้นนั่นเอง วันนี้เรามีทริคเด็ด ๆ ที่ทำใหคุณ จับคูอาหารทานใหเกิดประสิทธิภาพ ทั้งอรอยและไดประโยชน ครบถวนแบบไมเสียของ มาแนะนำ 42 FUSION MAGAZINE


Health

โยเกิรตรสธรรมชาติ คูกับ กลวย จับคูกันแบบนี้ชวยในเรื่องของลำไส ทำใหเรา ขับถายไดดี ลดการติดเชื้อในทางเดินอาหาร ชวยลดโคเลสเตอรอล และไตรกลีเชอรไรด ในเลือด นอกจากนี้ ยังชวยใหระบบภูมิคุมกัน ใหดีขึ้นดวยนะ

แอปเปล คูกับ องุน

เนื้อปลา คูกับ บร็อกโคลี่

เมนูนี้ทำใหนึกถึงสเต็กปลารมควันจานโต ยั่วน้ำลาย นอกจากจะอรอยแลวไมนาเชื่อ เมนูนี้หางไกลมะเร็งดวย เพราะชิลีเนียม และซัลโฟราเฟนในอาหารจานนี้ชวยยับยั้ง การแพรกระจายของเซลลมะร็งไดถึง 13 เทา ดีตอสุขภาพ แบบนี้ขอเปนเมนูมื้อเย็นเลยละกัน

ถั่วฝกยาว คูกับ พริกหวานแดง

ถั่วฝกยาวนับเปนผักที่มีธาตุเหล็กสูงชนิดหนึ่งเลย มีประโยชน สารอาหารสูงแบบนี้ ถาไดรับวิตามินซี จากพริกหวานไปดวย จะชวยใหการดูดซึมธาตุเหล็กไปใชไดอยางเต็มประสิทธิภาพเลย

จับคูง า ย ๆ ไดทง้ั รสชาติทอ่ี รอยและประโยชนจากสารอาหารถูกใจแบบนี้ รีบไปทานกันเถอะ FUSION MAGAZINE 43

Health

นักวิจัยชาวอิตาเลียน พบวา เพียงแอปเปลหนึ่งผล คูกับ องุน หนึ่งกำมือ (ทานทั้งเปลือก) เพียงเทานี้ก็ชวย ทำใหสารเควอรชิตินที่พบในแอปเปลชวยละลายลิ่มเลือด ทำงานคูกับสารตานอนุมูลอิสระ “คาเตชิน” ในองุน ชวยปองกันการกอตัวของมะเร็ง ชวยควบคุม โคเลสเตอรอล และลดภาวะเลือดแข็งตัวไดดียิ่งขึ้น


Workshop เรื่อง : www.alittledelightful.com

มาเปนนักชีววิทยากันเถอะ

เพื่อน ๆ คงยังจำงานวิทยาศาสตรตอนเด็ก ๆ ที่ใหเพาะถั่วงอกกันได เพื่อเรียนรูเกี่ยวกับการเติบโตของพืช เราไดไปเห็นงานนารัก ๆ ชิ้นนี้ ไดเวลาแลวเรามาทดลองทำกันเถอะ !

cute & easy

• เปลือกไขที่เจาะเฉพาะดานบน • เมล็ดถั่วเขียวชนิดตาง ๆ • สำลีกอน

Workshop

egg plantings

สิ่งที่ตองเตรียมก็จะมี

1

2

3

44 FUSION MAGAZINE


Workshop

ติดตามผลอยางใกลชิด หลังจาก เพาะเสร็จเรียบรอย

เริ่มจากใสกอนสำลี เขาไปในเปลือกไข ที่ทำความสะอาดแลว

วันที่ 5

วันที่ 6

ใสน้ำเล็กนอยใหสำลีเปยก แลวก็ใสเมล็ด

Workshop

วันที่ 8

และตามดวยน้ำอีกเล็กนอย

หลังจากเราเพาะปลูกได เราก็นออกมาจากโรงเพาะจิ๋ว แลวมานำตกแตงในภาชนะ ที่เตรียมไวใหนารักแบบนี้ ! ก็จะไดเจาสามสหายพรอมประดับในบานแลว

ที่มา : www.alittledelightful.com FUSION MAGAZINE 45


งานตรวจวิเคราะหหอกลั่นดวยเทคนิคเชิงนิวเคลียร Distillation Column Inspection using Gamma Scanning service การตรวจวิเคราะหหอกลั่นโดยอาศัยคุณสมบัติของรังสีแกมมา ที่สามารถทะลุผานตัวกลางภายในหอกลั่น โดยปริมาณความเขม ของรังสีที่ผานขึ้นอยูกับความหนาแนนของวัตถุตัวกลางนั้น ๆ เปนการนำเทคโนโลยีนิวเคลียรมาประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรม ปโตรเลียมปโตรเคมี เพื่อตรวจหาความผิดปกติของโครงสราง ภายในหอกลั่น และสภาวะการผลิตภายในหอกลั่น ที่เปนตนเหตุ ทำใหไมสามารถกลั่นผลผลิตไดตามความตองการทั้งคุณภาพ และปริมาณ การตรวจวิเคราะหโดยเทคนิคเชิงนิวเคลียรนี้สามารถ ทราบผลไดทันที และดำเนินการไดโดยไมตองหยุดกระบวนการผลิต

จุดเดนที่สำคัญของงานบริการ

• ตรวจหาความผิดปกติของโครงสรางภายในหอกลัน่ โดยไมตอ งหยุดการผลิต • ผลการวิเคราะหใหความแมนยำสูง เพราะตรวจหลายแนวสแกนเพือ่ ใหผล ที่สอดคลองกัน • ทราบผลไดทนั ที และสามารถนำผลการวิเคราะหไปใชในการวางแผนซอม บำรุงประจำปไดอยางมีประสิทธิภาพ

กลุมผูรับบริการ

• ภาคเอกชนในอุตสาหกรรมกลั่นน้ำมัน, อุตสาหกรรมปโตรเคมี

*ติดตอขอรับบริการเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-401-9885 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ

9/9 หมูท ่ี 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th 46 FUSION MAGAZINE


การใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรีย Microbiological Analysis ศูนยฉายรังสีใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรียในผลิตภัณฑ ต า ง ๆ เช น ในอาหาร อาหารสั ต ว เครื ่ อ งเทศ ผงปรุ ง รส วัตถุดบิ สมุนไพร แคปซูลสมุนไพร ยาหอม ลูกกลอน และผลิตภัณฑ เครื่องสำอาง โดยปจจุบันไดรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ตรวจวิ เคราะห ท างจุ ล ชี ว วิ ท ยาตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุขใบรับรองเลขที่ 1234/56 โดยขอบขายที่ไดรับการรับรอง คื อ การตรวจหาเชื ้ อ จุ ล ิ นทรี ย  ท ั ้ ง หมด (Total Plate Count) ในผลิตภัณฑวัตถุดิบสมุนไพรและเครื่องเทศ

ประเภทของการใหบริการ

1. การตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี 2. การตรวจหาเชื ้ อ ก อ โรคที ่ ส ำคั ญ ๆ ในผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหาร สมุ น ไพร เครือ่ งสำอาง เชน S.aureus, E.coli, Clostridium spp., Pseudomonas aeruginosa, Bacillus cereus, Salmonella spp. เปนตน ® 3. การจำแนกชนิดของเชื้อจุลินทรียโดยเครื่อง VITEK 2 Systems ของบริษัท bioMérieux, Inc.

การตรวจวิเคราะหเพือ่ กำหนดปริมาณรังสี

กรณีการตรวจวิเคราะหจำนวนจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลัง การฉายรังสี เพียงทานทราบเกณฑมาตรฐานของผลิตภัณฑชนิดนั้น ๆ และใชบริการ ตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี

ขอดีของงานบริการ

1. ตรวจกอนฉายเพือ่ ใหสามารถกำหนดปริมาณรังสีไดถกู ตองแมนยำมากขึน้ ผลิตภัณฑจะไมไดรบั ปริมาณรังสีมากหรือนอยเกินไป 2. การกำหนดปริมาณรังสีดำเนินการโดยเจาหนาที่ของศูนยฉายรังสีที่มี ประสบการณดา นนีโ้ ดยตรง 3. เพือ่ ใหมน่ั ใจวาผลิตภัณฑทม่ี ปี ริมาณเชือ้ จุลนิ ทรียอ ยูใ นเกณฑมาตรฐาน ของผลิตภัณฑชนิดนัน้ ๆ

*ติดตอขอรับบริการเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-401-9885 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ

9/9 หมูท ่ี 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th FUSION MAGAZINE 47


ขับเคลื่อนทุกความรู ไปกับ

Fusion Magazine

เทคโนโลยีนิวเคลียรคือ? หาคำตอบกันไดที่นี่

FREEe issu

Available ON ดาวนโหลดไดแลวทุกชองทาง ebook.in.th ookbee

Issuu

ทั้ง iOS และ Android

JOIN OUR COMMUNITY ON อยาลืมติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

Thainuclearclub


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.