FUSION MAGAZINE Vol.6

Page 1

FUSION

Magazine

วารสารมากสาระ ในโลกวิ ทยาศาสตร แ ละเทคโนโลยีนิวเคลียร Vol.6 | Jan - Feb 2016

เทคโนโลยีนิวเคลียร กับประชาคมอาเซียน

Scan to Visit offfiicial Site

www.tint.or.th


Editor’s Talk | เรื่อง : กองบรรณาธิการ

Editor’s Talk เวลาในแตละปชางผานไปอยางรวดเร็ว ในขณะที่นั่งเขียนตนฉบับนี้อยู คือ ก็เริ่มเดือนแรกของป 2559 ไปเรียบรอยแลว ปใหมยอมคูกับ สิ่งใหม ความหวังใหม หรืออะไรก็ไดที่จะทำใหชีวิตดีขึ้น แตก็ไมรูวามันจะดีไดหรือเปลาถาเรายังทำอะไรเหมือนปที่ผานมา ผลที่ออกมามัน อาจจะไมแตกตางกัน เอาละ เขาเรือ่ งกันหนอย กอนหยุดปใหมทกุ คนคงไดยนิ ขาวประปรายวา ขณะนีป้ ระเทศไทยเราไดเขาสูป ระชาคมอาเซียน ไปเปนที่เรียบรอยแลว แตถามวาเมื่อไทยอยูในประชาคมอาเซียนแลวมันเปนอยางไร ซึ่งคำตอบนั้นขณะนี้ก็ยงั ไมมีความชัดเจนเทาที่ควร แตสำหรับในมุมดานความรวมมือทางวิทยาศาสตร ถึงแมจะยังไมเกิดประชาคมอาเซียน แตประเทศในภูมิภาคอาเซียน 10 ประเทศก็มีความ รวมมือดานวิทยาศาสตรมาอยางตอเนื่องยาวนาน ไทยเราก็ใหการสนับสนุนประเทศบานพี่เมืองนองอยาง ลาว กัมพูชา มาอยางตอเนื่อง แตเมื่อมีประชาคมอาเซียนนั้นเชื่อวาความรวมมือในดานการวิจัยทางวิทยาศาสตรจะมีมากยิ่งขึ้น อาจจะดำเนินการในรูปแบบการแลกเปลี่ยน ฐานขอมูลงานวิจัย การแลกเปลี่ยนนักวิจัย หรือโครงการรวมวิจัย ซึ่งเชื่อวาความรวมมือดานวิทยาศาสตรในภูมิภาคอาเซียน คงกาวหนา ขึ้นมากทีเดียว ซึ่งไมเวนแมแตความรวมมือทางดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร ที่ในอาเซียนเองนอกจากไทยแลว มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม ก็มีศักยภาพและความเชี่ยวชาญอยูไมนอย ในอีกไมชาเราอาจจะไดเห็นงานวิจัยดานการใชประโยชนจากเทคโนโลยีนิวเคลียรในระดับอาเซียน และเปนประโยชนตอทุกประเทศในภูมิภาคนี้ก็เปนได

Contents Cover Story :

นิวเคลียรกับประชาคมอาเซียน

Voyage :

Did you know :

กัมพูชาเมืองอารยธรรม

โครงการนิวเคลียรที่สำคัญในอาเซียน

Health :

ปรับสมดุลรางกาย

04 Social Surround

10 Cover Story

18 Machinery Sight

24 Activities News

32 Edutainment

06 Did you know

15 Komkid

20 On the Earth

26 Interview

36 Chill Out

08 Idea Design

16 Scientech

24 Voyage

31 Health

38 เรื่องเลา Blogger

รอบรู เทรนดโลก

Nuclear in AEC Idea is everywhere

นิวเคลียรกบั ประชาคมอาเซียน คำคมและการตูน 5 แนวโนมดานเทคโนโลยีนาโน

ทำหมันแมลงวันดวยการฉายรังสี ชมความงามเมืองหลวงในอาเซียน

ประเทศกัมพูชา

ความเคลื่อนไหว สทน. งานอบรมระดับ “อาเซียน” อุจจาระบอกสุขภาพ

เรียน รู เลน เทคโนโลยี

Review รานอรอย

ปเตอร ฮิกกส

เจาของ / ที่ปรึกษา : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) | บรรณาธิการบทความ : ฝายสื่อสารองคการ สทน. | กองบรรณาธิการ : ฝายสื่อสารองคการ สทน. นักเขียน : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข • พิพัฒน พิเชษฐพงษ | พิสูจนอักษร : ชลาลัย อรุณรัตน | ศิลปกรรม : บราวนแบร (ฺBrownbear) | กราฟกดีไซน : ศุภฤกษ จันทรศรี ชางภาพ / ตกแตง : ศุภฤกษ จันทรศรี | พิมพที่ : บริษัท อีเกิ้ล เปเปอร จำกัด ผลิตโดย : บริษัท ไดดี โปรดักชั่น จำกัด 328 ถนนประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 8 แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 Tel : 02-943-5334 hotline : 092-758-7977 เนื้อหาภายในนิตยสาร Fusion Magazine จัดทำเพื่อสงเสริมความรูความเขาใจดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร และการเปดโลกทัศน มิไดมุงหวังเพื่อการโฆษณาสินคาแตอยางใด

2 FUSION MAGAZINE


สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

| Advertorial

การใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรีย Microbiological Analysis ศูนยฉายรังสีใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรียในผลิตภัณฑ ต า ง ๆ เช น ในอาหาร อาหารสั ต ว เครื ่ อ งเทศ ผงปรุ ง รส วัตถุดบิ สมุนไพร แคปซูลสมุนไพร ยาหอม ลูกกลอน และผลิตภัณฑ เครื่องสำอาง โดยปจจุบันไดรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ตรวจวิ เคราะห ท างจุ ล ชี ว วิ ท ยาตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ใบรับรองเลขที่ 1234/56 โดยขอบขายที่ไดรับการรับรอง คือ การตรวจหาเชือ้ จุลนิ ทรียท ง้ั หมด (Total Plate Count) ในผลิตภัณฑ วัตถุดิบสมุนไพรและเครื่องเทศ

ประเภทของการใหบริการ

1. การตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี 2. การตรวจหาเชื ้ อ ก อ โรคที ่ ส ำคั ญ ๆ ในผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหาร สมุ น ไพร เครือ่ งสำอาง เชน S.aureus, E.coli, Clostridium spp., Pseudomonas aeruginosa, Bacillus cereus, Salmonella spp. เปนตน ® 3. การจำแนกชนิดของเชื้อจุลินทรียโดยเครื่อง VITEK 2 Systems ของบริษัท bioMérieux, Inc.

การตรวจวิเคราะหเพือ่ กำหนดปริมาณรังสี

กรณีการตรวจวิเคราะหจำนวนจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลัง การฉายรังสี เพียงทานทราบเกณฑมาตรฐานของผลิตภัณฑชนิดนั้น ๆ และใชบริการ ตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี

ขอดีของงานบริการ

1. ตรวจกอนฉายเพือ่ ใหสามารถกำหนดปริมาณรังสีไดถกู ตองแมนยำมากขึน้ ผลิตภัณฑจะไมไดรบั ปริมาณรังสีมากหรือนอยเกินไป 2. การกำหนดปริมาณรังสีดำเนินการโดยเจาหนาที่ของศูนยฉายรังสีที่มี ประสบการณดา นนีโ้ ดยตรง 3. เพือ่ ใหมน่ั ใจวาผลิตภัณฑทม่ี ปี ริมาณเชือ้ จุลนิ ทรียอ ยูใ นเกณฑมาตรฐาน ของผลิตภัณฑชนิดนัน้ ๆ

*ติดตอขอรับบริการเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-401-9885 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ

9/9 หมูท ่ี 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th FUSION MAGAZINE 3


Social Surround | Text : Grayscale

Social Surround NEWater เทคโนโลยีเปลี่ยนน้ำ เสียใหสะอาด

อาจไมใชเรือ่ งใหมอะไรสำหรับนวัตกรรม NEWater ของประเทศสิงคโปร นับวาเปนเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย และดีตอ สิง่ แวดลอมและทรัพยากรน้ำไดดี โดย NEWater เปนแหลงผลิตน้ำสำหรับอุปโภค โดยผานกระบวนการ ผลิตที่ทันสมัย และมีคุณภาพสูงและยังเปน 1 ใน 4 แหลงน้ำหลัก ของ ประเทศสิงคโปร น้ำทีเ่ ขาระบบผลิต NEWater นัน้ เปนน้ำทิง้ จากบานเรือน (Domestic wastewater) ทีผ่ า นการบำบัดในเบือ้ งตนดวยการตกตะกอน การบำบัดทางชีวภาพจนเขาเกณฑมาตรฐานน้ำทิ้งของสิงคโปรสามารถ ปลอยสูล ำรางสาธารณะได จากนัน้ จึงนำน้ำทิง้ ทีผ่ า นการบำบัดแลวเขาสู กระบวนการปรับปรุงคุณภาพจนไดน้ำ NEWater ที่มีคุณภาพสูง สะอาด และปราศจากสิง่ ปนเปอ นใด ๆ ดวยเทคโนโลยีเมมเบรน 2 ชนิด ทัง้ Micro filtration และ Reverse osmosis รวมกับการใชรังสี Ultraviolet (UV)

Social Surround

ที่มา : http://www.mwa.co.th

อาวุธนิวเคลียร

ชวงปลายปที่แลวเกิดแสงวูบวาบ บางก็วาสวยงาม บางก็กลัว หลายคนยังไมทราบวาเกิดขึ้นไดอยางไร เปนภัยพิบัติหรือไม อันที่จริงแลวสิ่งที่เราเห็นเปนดวงไฟพาดผานทองฟาลงมานั่นคือ “ขยะอวกาศ” อันเปนเศษชิ้นสวนของจรวดและอุปกรณนักบิน หรือแมแตเศษของดาวเทียมที่ถูกปลดระวางแลวนั่นเอง ซึ่งแต ละชิน้ จะมีขนาดไมใหญมาก เพียงแตเมือ่ เทียบกับความเร็วทีโ่ ดนดูด โดยแรงโนมถวงโลก ผานชั้นบรรยากาศโลกจึงทำใหเกิดดวงไฟ และดูนา กลัว ซึง่ หากตกมาสูผ วิ โลกยังทีโ่ ลง ก็ไมเกิดอันตรายใด ๆ

“อาวุธ นิวเคลียร” (Nuclear Weapons) เปนอาวุธ ที่ใชพลังงานจากปฏิกิริยา นิวเคลียรฟช ชัน มีอำนาจในการทำลายสูง ระเบิดนิวเคลียรหนึง่ ลูกสามารถทำลาย ไดทง้ั เมือง ซึง่ มีการนำมาใชจริงเมือ่ ชวงปลายสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยสหรัฐอเมริกา นำระเบิดนิว เคลียรสองลูกไปทิ้งที่เมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ ประเทศญี่ปุน ประเทศทีม่ นี วิ เคลียร ไดแก สหรัฐอเมริกา รัสเซีย อังกฤษ ฝรัง่ เศส สาธารณรัฐ ประชาชนจีน อินเดีย ปากีสถาน เกาหลีเหนือ และอิสราเอล (ไมเปดเผยชัดเจน) อาวุธ นิว เคลียรมีทั้งระเบิดแบบฟชชัน ระเบิดแบบฟว ชัน ระเบิดโคบอลต และระเบิดนิวตรอน แนนอนวาผลของระเบิดนิวเคลียรจะเกิดทัง้ แรงของคลืน่ กระแทกจากการระเบิด, รังสีความรอน, รังสีแบบไอออไนซ และรังสีตกคาง จาก fallout ซึ่งหากทางประเทศเกาหลีเหนือจะทำการทดสอบครั้งนี้ก็น ับวา เปนอันตรายพอสมควร แตทง้ั นีน้ ก่ี น็ บั เปนครัง้ ที่ 4 แลวทีเ่ กาหลีเหนือจะทำการ ทดสอบหลังจากครั้งลาสุดเมื่อป ค.ศ. 2013 ที่ผานมา

ที่มา : http://www.neutron.rmutphysics.com | news

ที่มา : http://www.nst.or.th

จากฟากฟา

4 FUSION MAGAZINE


“สตูค า งคาว” อันตรายในรูปแบบอาหาร

ทีม่ า : ศ.นพ. ธีรวัฒ น เหมะจุฑา ผูอ ำนวยการศูนยความรวมมือองคการอนามัยโลกดา นวิจยั และฝกอบรมโรคติดเชือ้ ไวรัสจากสัตวสคู น

เต็นทจาก Kaleidoscope ที่ไดทุนวิจัยจาก Orange เพื่อนำมา พัฒนาเปนเต็นทสุดไฮเทค ที่มีความสามารถเดน ดวยการติดตั้ง แผงวงจรโซลารเซลล ไวดานบนเพื่อเก็บพลังงานแสงอาทิตย และเปลี่ยนแปลงมาเปนพลังงานไฟฟา เพื่อที่จะสามารถนำมาใช ยามที่ตองการวิธีการงาย ๆ แคเพียงกางเตนทิ้งไวตลอดทั้งวัน ตั้งแตเชาเพื่อเก็บพลังงานแสงอาทิตย พอตกดึกก็จะมีไฟฟาไวใช นอกจากนี้ Orange ยังไดออกแบบดานลางของเต็นทเพื่อเก็บ สะสมพลังงาน เพื่อสงผานไปยังจุดตาง ๆ ที่ชารจแบตเตอรี่ของ Gadget ตาง ๆ เชน USB สำหรับสมารตโฟนเครื่องเลน MP3 กลองดิจิทัล พรอมจอ LCD แสดงสถานะติดมาใหและตัวเต็นท ยังมีความสามารถในการถายทอดสัญญาณ Wi-Fi ไดอีกดวย เห็นแบบนีแ้ ลวใครทีช่ อบทองเทีย่ วกางเตนทในชวงวันหยุดพักผอน ก็คงอยากจะมีตดิ รถไว เผือ่ วันไหนออกไปเทีย่ วกันแบบมีเปาหมาย ชีวิตแบบ eco-life รอคุณอยูตรงหนาแลว ! ที่มา : Go Green Magazine

สารเคมีในน้ำยาเปลี่ยนสีผม

เทรนดใหมเพิม่ สีสนั ใหสนุกไปกับการแตงกายเห็นจะหนีไมพน การ เปลีย่ นสีผม ซึง่ ในตลาดบานเรามีนำ้ ยาหลายชนิด ทีน่ ยิ มเห็นจะเปน ยายอมผมชนิดถาวร (permanent hair dyes) ที่จะมาพรอมกับ สวนผสมของสี และไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อนำมาผสมกัน ก็งายตอการนำมาใชและสามารถเปลี่ยนสีผมใหไดดังตองการ ทราบหรือไมวา พาราฟนีลีนไดอะมีนและพาราโทลูไดอะมีน อันเปนสวนผสมของยายอมผมนัน้ อาจกอใหเกิดการแพ และผิวหนัง อักเสบได ผูท แ่ี พจะมีผน่ื แดงและมีอาการบวมรอบนัยนตา บางราย หากมีอาการแพมากจะทำใหหายใจลำบากได ดังนัน้ กอนใชจงึ ควร ทดสอบวาเราแพสารเคมีนั้นหรือไม ทีม่ า : ความรูท ว่ั ไปเกีย่ วกับสิง่ เปนพิษ ตอนที่ 5 กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข

FUSION MAGAZINE 5

Social Surround

แมวา สตูคา งคาวจะเปนเมนูเหลาของประเทศเวียดนาม จนไดฉายาวาเปนราชันย แหงเนื้อนั้น และถูกเสิรฟเฉพาะในภัตตาคารหรูระดับหาดาว โดยเฉพาะในเมือง ไซงอนนั้น คนไทยบางกลุมยังมีความเชื่อวาการทานคางคาวชว ยในเรื่องเสริม สมรรถภาพทางเพศ กอนจะทานอาจตองศึกษาสักเล็กนอย จากการตรวจสอบ โดยคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พบวา ในคางคาวมีเชื้อไวรัส สูงถึง 60 ชนิด การทานแบบสุก ๆ ดิบ ๆ หรือเนื้อสดนั้น ไมเกิดผลดีและกอให เกิดอัน ตรายไดเชน กัน แมวาจะเปน การรับประทานคางคาวที่สุกแลวแตยังเสี่ยง ทีจ่ ะไดรบั เชือ้ ไวรัสได เพราะเชือ้ ไวรัสเหลานัน้ สะสมอยูใ นเลือด น้ำลายและเครือ่ งใน โดยเฉพาะตับ มาม และเยื่อบุชองทองของคางคาว ในขณะที่ไปจับมาทำอาหาร นั้น หากถูกคางคาวกัด หรือมีบาดแผลและไปสัมผัสโดนบริเวณดังกลาว เชื้อไวรัส ในค างคาวก็ สามารถเข าสู  ร างกายได ทั น ที ความเชื ่ อ เป น สิ ่ งที ่ ป ดกั ้ น ไม ได แตกอนจะทานอยากใหลองพิจารณาอีกสักนิดเพื่อสุขภาพของคุณเอง

Orange Solar Tent


Did you Know | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

เทคโนโลยีนว ิ เคลียร ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ที่มา : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) | www.tint.in.th

รูหรือไม ?

ประเทศไทยมีเครื่องปฏิกรณ ปรมาณูวิจัยเปนชาติแรก ในภูมิภาค และเปนระยะเวลา

มากกวา

50 ป

certificate

มูลคาการสงออกสินคา ที่ผานการตรวจวัดรังสี

40,000 ลานบาท

การตรวจวัดและออกใบรับรองกำกับปริมาณรังสีในสินคาประเภทขาว น้ำตาลทราย ผลิตภัณฑนม เครื่องเทศ ปลากระปอง อาหารสัตว ฯลฯ ใหอยูในเกณฑมาตรฐาน ของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) และกฎหมายของประเทศปลายทาง

ประเทศไทย ใหความสำคัญในการพัฒนางานวิจัย

เชน การวิเคราะหองคประกอบของธาตุ การผลิตไอโซโทปรังสีเพื่อใชใน ทางการแพทย เกษตรกรรม อุตสาหกรรมสงออก การวิจัยทางวิทยาศาสตร วิศวกรรม และเปนแหลงเรียนรูศึกษา แกนักเรียน นักศึกษาทั่วไป

THAILAND

สัดสวนการนำไปใชประโยชนของไทย

ดานสุขภาพ ยารักษาโรค

6 FUSION MAGAZINE

ภาคการศึกษา และผลงานวิจัย

ภาคอุตสาหกรรม และครัวเรือน

บริการเทคนิค เชิงนิวเคลียร


โครงการโรงไฟฟานิวเคลียร ในภูมภ ิ าคอาเซียน ทีส ่ ำคัญ (AEC)

ตั ้ ง เป า ให ม ี ก ารผลิ ต ไฟฟ า ด ว ยพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร ร  อ ยละ 10 ภายในป 2025 รวมถึงสนับสนุนการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ MALAYSIA

สรางโรงไฟฟานิวเคลียร 2 แหง ผลิตไฟฟาทัง ้ สิน ้ ประมาณ 4,000 เมกะวัตต ทำใหสามารถผลิตไฟฟาไดรวมกันประมาณ 14,000-28,000 ลานกิโลวัตต/ป VIETNAM

รัฐบาลไดอนุมต ั ใิ นหลักการใหมก ี ารกอสราง โรงไฟฟานิวเคลียร ขนาด 1,000 เมกะวัตต 4 โรง โดยคาดวาจะไดรับอนุญาตในป 2016 INDONESIA

แผนการที่จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียร โดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ขณะนีก ้ ำลังอยูร ะหวางการเลือกสรรพืน ้ ทีบ ่ ริเวณ เกาะกง ชายแดนติดกับไทย CAMBODIA

FUSION MAGAZINE 7


Idea Design | Story : Brown Bear ลาแคไหน ไดกลับมาพักผอนที่บานถือเปนการผอนคลายที่ดีที่สุดเชียว และจะดีขึ้นไปอีกหากมีเฟอรนิเจอรดีไซนล้ำ ชวยเติมไอเดียบรรเจิด เปนแรงบันดาลใจไดอยางดีทีเดียว

The Wave City Coffee Table ไดนั่งโตะแบบนี้บอกเลยไอเดียบรรเจิดแน ดีไซนนี้ไดรับแรงบันดาลใจ จากภาพยนตรเรื่อง Inception ออกแบบโดย Stelio Mousarris ชอบจริง ๆ เห็นกี่ทีก็นานั่งนะวาไหม

Idea Design

Found on : 3dprint.com

Berlin bike Lamp ตอนนี้แทบทุกบานมีจักรยาน และในหลายกิจกรรม ก็สนับสนุนใหปน  จักรยาน สำหรับใครทีป ่ น  เปนกิจวัตร อะไหลตาง ๆ อาจเปลี่ยนบอยไปบาง ลองนำลอ ที่เปลี่ยนใหมมาทำแบบนี้ดูสิ เกเชียว Found on : olli-meier.de

Dog House Sofa เจาสี่ขาเพื่อนจอมปวน ไมวาเราจะนั่งตรงไหน ก็อยากจะอยูใ กล ๆ ตลอดนัน ่ แหละ โซฟานีด ้ ไี ซน เพื่อเอาใจคนรักหมาแบบสุด ๆ มีที่ใหนอนซะดวย ออกแบบโดยดีไซเนอรชาวเกาหลี Seungii Mun Found on : iurban.in.th

8 FUSION MAGAZINE


| Idea Design Ching Chair เกาอี้พกพาทำจากไมไผ ผลงานการออกแบบของดีไซเนอร ชาวไตหวัน ที่นำเอาวัสดุธรรมชาติมาประยุกตใหใชงาน ไดแบบดูดีซะดวย Found on : trendhunter.com

Fixie Pizza Cutter จะกินอะไรเดี๋ยวนี้ก็ตองเกนิดนึง แมจะตัดแบงพิซซา แบบนี้ จะธรรมดาก็ไมอรอยละสิ ไอเดียแบบนี้ บริษัท DOIY แหงเมืองบารเซโลนาไดคิดและวางจำหนายไวแลวละ found on : mymodernmet.com

HOME IS YOURS! MILO LAMP โคมไฟใหแสงสวาง บางทีก็อยากใหมีดีไซนกับธรรมชาติควบคูกัน ไปดวยรูสึกสดชื่นขึ้นมาเลยทีเดียว สำหรับโคมไฟดีไซนสวย ใหอุณหภูมิ 4000 k ทำใหไมรอนจนเกินไป มีตนไมเล็ก ๆ อยูภายใน นารักไมเบา found on : lightovo.com

FUSION MAGAZINE 9


Cover Story | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

เทคโนโลยีนว ิ เคลียร

กับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซินจาว ทานผูอาน Fusion magazine ทุกทาน หลายคนคงสงสัยวา “ซินจาว” คืออะไร ? อยางแรกเลยตองบอกกอนวา Fusion magazine เลมนี้เราจะนำเสนอ เรือ ่ งของ เทคโนโลยีนว ิ เคลียรในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community) หรื อ AEC ซึ ่ ง เป น การรวมตั ว ของชาติ ใ นอาเซี ย นถึ ง 10 ประเทศ ประกอบดวย ประเทศไทย ลาว พมา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลป ิ ปนส กัมพูชา และบรูไน การรวมตัวกันภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีผลใหการลงทุน ทางเศรษฐกิจ การคาขาย การขนสง การทำงานของแรงงาน การทองเที่ยวและ การแลกเปลีย ่ นทางวัฒนธรรมจะมีความอิสระมากขึน ้ เราจะพาทุกทานไปทำความรูจ  ก ั เทคโนโลยีนิวเคลียรในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานของเรา และการนำเสนอขาว ในแวดวงนิวเคลียรของประเทศเพื่อนบาน 10 FUSION MAGAZINE


หลายคนอาจยังไมรูวาประเทศไทยของเราก็มีเครื่องปฏิกรณนิวเคลียร และมีใชมากวาครึ่งศตวรรษ กอนที่จะไปทำความรูจักกับเจาเครื่องปฏิกรณเครื่องนี้เราตองรูกอนวาเทคโนโลยีนิวเคลียรในประเทศไทย มีจุดเริ่มตนและที่มาอยางไร ตามบันทึกทางประวัติศาสตรทางเทคโนโลยีนิวเคลียรของไทยพบวา โรงพยาบาลศิริราชไดมีการ ใชภาพถายเอกซเรยในการวินิจฉัยผูปวยตั้งแตป พ.ศ. 2471 และจากบันทึกปาฐกถาพิเศษ เรื่องอนาคต และทิศทางการใชพลังงานนิวเคลียรในประเทศไทย โดยนายสนธยา คุณปลื้ม รัฐมนตรีวาการกระทรวง วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมในชวงนั้นพบวาในป พ.ศ. 2478 ไดมีการใชรังสีแกมมาเพื่อ บำบัดโรคมะเร็งของผูปวยที่โรงพยาบาลศิริราช นับตั้งแตนั้นก็มีแนวคิดที่จะนำเทคโนโลยีนิวเคลียร มาใชในประเทศไทยเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เราสามารถลำดับเหตุการณอยางคราว ๆ ไดดังนี้

ลำดับเหตุการณสำคัญ ของเทคโนโลยีนิวเคลียรในประเทศไทย พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2499 พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2501 พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2504 พ.ศ. 2505

พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2549

รัฐบาลภายใตการนำของจอมพล ป. พิบลู สงคราม จัดตัง้ คณะกรรมการเกีย่ วกับพลังงานปรมาณู จัดตั้งคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ไทยเขารวมเปนสมาชิกลำดับที่ 58 ของทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) ไทยจัดซื้อเครื่องปฏิกรณปรมาณูวิจัยจากบริษัทเคอรรทิสสไรต คณะกรรมการของ IAEA เดินทางเขามายังประเทศไทยใหความชวยเหลือและสนับสนุน งานวิจัยดานปรมาณู ครม. มีมติใหกอ สรางเครือ่ งปฏิกรณวจิ ยั เครือ่ งแรกของไทย เครือ่ งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน กอตั้งสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติขึ้นภายในประเทศไทย การกอสรางอาคารเครื่องปฏิกรณปรมาณูวิจัยเสร็จสิ้น และทำการเดินเครื่องปรมาณูวิจัย เปนครั้งแรกภายใตชื่อเครื่องปฏิกรณปรมาณูวิจัย 1 (ปปว.-1) หลังจากเครื่องปฏิกรณ ปรมาณูวิจัย 1 ไดทำงานมานานกวา 12 ป จึงไดมีแนวคิดในการเปลี่ยนเครื่องปฏิกรณ ปรมาณูวิจัยใหเปนรุนที่มีความปลอดภัยมากขึ้น สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติไดสั่งซื้อเครื่องปฏิกรณปรมาณูวิจัยเครื่องใหม จากบริษัทเจอเนอรัลอะตอมมิก เครื่องปฏิกรณปรมาณูวิจัยเครื่องใหมไดบรรลุสภาวะวิกฤต โดยเครื่องปฏิกรณใหมนี้มีชื่อวา เครื่องปฏิกรณปรมาณูวิจัย 1 ปรับปรุงครั้งที่ 1 (ปปว.-1/1) สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติไดกอตั้งศูนยวิจัยแหงใหมที่ อ.องครักษ จ.นครนายก กอตั้งสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ โดยแยกตัวออกจากสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

รูหรือไม ประเทศไทยมีเครือ ่ ง ปฏิกรณปรมาณูวจ ิ ย ั เปนประเทศแรก ในภูมภ ิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต (50 ปมาแลว)

เครื่อง ปปว.1/1 เปนเครื่องปฏิกรณสำหรับใชในงานวิจัยทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเทานั้น มีขนาดกำลังการผลิตตั้งแต 2-2,000 เมกะวัตต ถูกลอมดวย กำแพงคอนกรีตขนาดใหญทม ่ี ค ี วามหนาแนนสูงเพือ ่ ความมัน ่ คงปลอดภัย นับตัง ้ แต วั น แรกจนถึ ง ป จ จุ บ ั น เครื ่ อ ง ปปว.1/1 ได ม ี ส  ว นสำคั ญ ในการพั ฒ นางานวิ จ ั ย และใหบริการแกภาคเอกชน เชน การวิเคราะหองคประกอบของธาตุในสิ่งแวดลอม การผลิตไอโซโทปรังสีเพือ ่ ใชในทางการแพทยและเกษตรกรรม ปรับปรุงคุณภาพของ เครื ่ อ งประดั บ จำพวกอั ญ มณี ศึ ก ษางานวิ จ ั ย ทางวิ ท ยาศาสตร แ ละวิ ศ วกรรม และเปนแหลงการเรียนรูใ หกบ ั นักวิทยาศาสตร วิศวกร นักเรียน นักศึกษา รวมไปถึง ประชาชนทัว่ ไป เราจึงพูดไดอยางเต็มปากวา “นิวเคลียรคอ ื สวนหนึง ่ ในชีวต ิ ของเรา”

FUSION MAGAZINE 11


Cover Story |

เทคโนโลยีนว ิ เคลียรกบ ั ประเทศเพือ ่ นบาน ประเทศเพือ่ นบานของไทยในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนอีก 9 ประเทศ บางประเทศไดมีแนวคิด ในการนำเทคโนโลยีนิวเคลียรเขามาใชงานภายใน ประเทศ หลังประเทศไทยนิดหนอย แตสว นใหญแลว การพัฒนาดานเทคโนโลยีนวิ เคลียรในประเทศเพือ่ นบาน จะเนนไปทางการผลิตพลังงานไฟฟา หรือโรงไฟฟา นิวเคลียรนั่นเอง ประเทศเวียดนาม ดูเปนประเทศทีม่ คี วามกาวหนา ในการนำพลังงานนิวเคลียรมาใชมากที่สุดในภูมิภาค อาเซียน การพัฒนาดานนิวเคลียรเวียดนามเริ่มตน ไมตางจากประเทศไทยของเรา เวียดนามเริ่มเรียนรู เรื่องนิวเคลียรขึ้นก็ดวยการมีติดตั้งเครื่องปฏิกรณ ปรมาณูวิจัยแบบ TRIGA-MARK II ขนาด 250 กิโลวัตต เมื่อป 1964 เดินเครื่องอยูประมาณ 8 ป แตตอ งหยุดเดินเครือ่ งเนือ่ งจากมีการเปลีย่ นเชือ้ เพลิง และขยายกำลังเครื่องใหสูงขึ้นเปน 500 กิโลวัตต และกลับมาเดินเครือ่ งอีกครัง้ ในป 1984 หนาตาเครือ่ ง ก็เหมือนกับของเรา ปจจุบันเจาเครื่องตัวนี้ตั้งอยูที่ สถาบันวิจยั นิวเคลียร ทีเ่ มืองดาลัด (Da Lat Nuclear Research Institute) ประสบการณของเวียดนาม ทีม่ ดี า นนิวเคลียรกถ็ อื วาเริม่ นับไดจากการเริม่ มีเครือ่ ง ปฏิกรณปรมาณูวจิ ยั นับไดกป็ ระมาณ 46 ป ก็จริงอยู

12 FUSION MAGAZINE

แตหากจะนับเวลาที่เขาเดินเครื่องอยางเต็มที่แลว ก็แคประมาณ 34 ป และเครื่องปฏิกรณตัวปจจุบัน ของเขาก็มีขนาดเล็กกวาเราถึง 3 เทา แตเชื่อวา เวียดนามคงมีเปาหมายเรื่องการจะสรางโรงไฟฟา นิวเคลียรคอ นขางชัดเจน เพราะเขามีการเตรียมงาน ที่ดี โดยเริ่มจากการพัฒนาองคความรูดานนิวเคลียร อยางเขมขน มีการพัฒนาบุคลากรโดยสงคนไปเรียน ไปอบรมจากประเทศผูมีประสบการณดานนิวเคลียร อยางประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุน เกาหลีใต หรือรัสเซีย มานานพอสมควร จนเชือ่ วาทุกอยางพรอมจึงประกาศ แผนการพัฒนาโรงไฟฟานิวเคลียรไดอยางชัดเจน พรอมกำหนดเวลาเดินเครื่องไวอยางชัดเจน สำหรับโรงไฟฟานิวเคลียรโรงที่ 1 และโรงที่ 2 ที่เวียดนามจะเดินเครื่องในป ค.ศ. 2020 และ 2021 เวียดนามไดประกาศวาจะสรางทีเ่ มือง Ninh Thuan ซึง่ เปนเมืองรอยตอระหวางภาคกลางและภาคใตของ เวียดนาม โรงไฟฟาทัง้ 2 แหงนีจ้ ะผลิตกระแสไฟฟา รวมทั้งสิ้นประมาณ 4,000 เมกะวัตต ทำใหสามารถ ผลิตไฟฟาไดรวมกันประมาณ 14,000 - 28,000 ลาน กิ โลวั ตต ต อ ป โรงไฟฟ า ยู นิ ต แรกจะตั ้ ง อยู  ในเขต ThuanNam และ Ninh Hai ใชเงินลงทุนสำหรับ สรางประมาณ 10,800 ลานเหรียญสหรัฐ

ประเทศฟลิปปนส มีเครื่องปฏิกรณวิจัยจำนวน 1 เครื่อง และมีโรงไฟฟานิวเคลียรที่สรางเสร็จแลว ตั้งแต 30 ปกอน จำนวน 1 แหง ชื่อวาโรงไฟฟา นิวเคลียรบาตัน แตไมสามารถเปดใชงานได เนือ่ งจาก ติดปญหาความไมเชื่อมั่นในมาตรฐานการกอสราง ภายใตการนำของรัฐบาลเผด็จการทหารในยุคนั้น ทำใหรฐั บาลในปจจุบนั มีแผนทีจ่ ะปรับเปลีย่ นโรงไฟฟา นิวเคลียรบาตันใหเปนโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงจาก น้ำมันหรือถานหินแทน หรืออาจปรับเปลี่ยนเปน สถานที่ทองเที่ยวใหประชาชนที่สนใจไดเขามาศึกษา ประเทศกัมพูชา ก็มแี ผนการทีจ่ ะสรางโรงไฟฟา นิวเคลียรเชนกัน โดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ของกัมพูชาไดกลาวในที่ประชุมรัฐมนตรีพลังงาน อาเซียน ครัง้ ที่ 30 ทีก่ รุงพนมเปญ กัมพูชามีแผนการ ที่จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียรขึ้น โดยขณะนี้กำลังอยู ระหวางการเลือกสรรพืน้ ทีบ่ ริเวณเกาะกง ทีช่ ายแดน ติดกับประเทศไทย โดยวาจางวิศวกรผูเชี่ยวชาญ จากหลายประเทศ เชน รัสเซีย ญี่ปุน และเกาหลี


ประเทศอิ น โดนี เซี ย มี เครื ่ อ งปฏิ ก รณ ว ิ จ ั ย จำนวน 3 เครื่องดวยกัน ซึ่งในป 2004 โรงไฟฟา นิวเคลียรแหงแรก มีกำลังการผลิตรวม 1800 เมกะวั ต ต ตั ้ ง อยู  ท ี ่ จ ั ง หวั ด Muria ห า งจาก กรุงจาการตาไปทางตะวันออก 450 กิโลเมตร แตโครงการนี้ถูกระงับไป จนในป 2005 รัฐบาลไดอนุมัติในหลักการใหมีการกอสราง โรงไฟฟานิวเคลียร ขนาด 1000 เมกะวัตต 4 โรง ในทีเ่ ดิม โดยคาดวาจะไดรบั อนุญาตในป 2016 นอกจากนัน้ ไดมกี ารเสนอใหสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ขนาดเล็กและใชผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล (desalination) สำหรับใชในจังหวัด Madura โดยใชเครื่อง ปฏิกรณเกาหลีแบบ S. Korean SMART reactor เดิมทีอินโดนีเซียนั้นผลิตไฟฟาจากพลังงานฟอสซิล อันไดแก น้ำมัน ถาน ถานหินและกาซธรรมชาติ แตดว ยอัตราความเติบโตของประชากร และการพัฒนา ประเทศทีม่ คี วามตองการสูงขึน้ ในปจจุบนั สภาผูแ ทน ราษฎรฯ อินโดนีเซียจึงลงมติเห็นชอบตอแผนโครงการ ก อ สร า งโรงงานไฟฟ า พลั ง นิ ว เคลี ย ร ข องรั ฐ บาล เมือ่ วันที่ 15 มีนาคม 2553 ทีผ่ า นมา โดยมอบหมาย ใหองคการพลังงานนิวเคลียรแหงประเทศอินโดนีเซีย (BATAN-Badan Tenage Nuklir Nasional) เปนหนวยงานรับผิดชอบการเตรียมการและแผนการ พัฒนาพลังงานนิวเคลียร และ Nuclear Energy Regulatory Agency (Bapiten) เปน regulatory body สำหรับโรงงานไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ตอมา ป 2558 ทางองคการฯ จึงไดเริ่มศึกษาทางเลือก สำหรับการกอสรางเตาปฏิกรณนิวเคลียรขนาดเล็ก ในพืน้ ทีอ่ น่ื และประกาศวาขณะนีก้ ำลังวางแผนทีจ่ ะ กอสรางเตาปฏิกรณทดสอบและสาธิตแบบอุณหภูมสิ งู ระบายความรอนดวยกาซ (Hight – temperature Gas-cooled Reactor หรือ HTR) ขนาดไมเกิน 10 เมกะวัตต เพือ่ นำรองการพัฒนาเตาปฏิกรณขนาด 100 เมกะวัตต สำหรับใชงานในเกาะกาลิมันตัน เกาะสุลาเวสี และเกาะอื่น (ฝายวิศวกรรมนิวเคลียร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 21 เมษายน พ.ศ. 2558) ประเทศมาเลเซีย เปนอีกประเทศที่มีการใช เทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย รอยางกวางขวางทั้งเรื่องการ ฉายรังสีอาหาร ผลผลิตทางการเกษตร การปรับปรุง พันธุพ ชื การผลิตสารเภสัชรังสี การปรับปรุงคุณสมบัติ ของยาง ซึ่งถือเปนผลิตภั ณฑ ส ำคั ญ ของประเทศ มาเลเซียนัน้ มีความเชีย่ วชาญสำคัญ คือ การถายทอด ความรูดานเทคโนโลยีนิวเคลียรแกประเทศผูสนใจ โดยเฉพาะประเทศในตะวันออกกลาง ซึง่ สรางรายได ใหกับมาเลเซียไมนอยทีเดียว

เตาปฏิกรณนิวเคลียรวิจัยดานนิวเคลียรของหนวยงาน BATAN ประเทศอินโดนีเซีย

FUSION MAGAZINE 13


Cover Story |

ประเทศมาเลเซียใชกา ซธรรมชาติ ถานหิน พลังงานน้ำ พลังงานหมุนเวียนอื่น ๆ และอยูในภาวะปริมาณ สำรองกาซทีม่ อี ยูค อ ย ๆ รอยหรอลง จึงมีแผนตาง ๆ เพือ่ รองรับปญหาเหลานี้ รวมทัง้ ไดวางแผนการพัฒนา โรงไฟฟานิวเคลียร ซึง่ ไดมแี ผนสรางโครงสรางพืน้ ฐาน ของโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร พรอมตั้งเปาใหมี การผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียรรอ ยละ 10 ในป ค.ศ. 2525 รวมถึงสนับสนุนการใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพดวย (สุภร เหลืองกำจร, 27 ส.ค. 57) แมในขณะนี้บางประเทศที่ยังไมมีแผนการกอสราง โรงไฟฟานิวเคลียรที่ชัดเจน คือ สิงคโปร พมา ลาว

และบรูไน เนื่องจากบางประเทศอาจมีความตองการ ในการใช ไฟฟ า ไม ส ู ง มากนั ก เช น ประเทศพม า หรื อ ประเทศลาว ที ่ ม ี ศ ั ก ยภาพในการผลิ ต ไฟฟ า พลังน้ำจากเขื่อนคอนขางสูง สวนในประเทศไทย ของเราเอง เคยมีนโยบายการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร มาแลวหลายครั้ง แตเนื่องจากยังมีปญหาเรื่องพื้นที่ ทีใ่ ชกอ สราง ปญหาสิง่ แวดลอม ปญหาสิทธิมนุษยชน ปญหาเรื่องการเผยแพรขอมูลที่ถูกตองใหประชาชน รับรูอ ยางทัว่ ถึง ทำใหรฐั บาลตองเลือ่ นแผนการสราง ออกไปกอน จนกวาจะหาทางออกใหกบั ทุก ๆ ปญหา และทุกภาคสวนไดรับความเปนธรรมที่เสมอกัน

รูหรือไม เจาของฉายา “แบตเตอรีแ่ หงอาเซียน” นัน ่ ก็คอ ื

สรุปแลวภาพรวมของความกาวหนาทางวิทยาการดานนิวเคลียร

สาธารณรัฐประชาธิปไตย

เปนสิ่งที่สรางคุณประโยชนและพัฒนาตอยอดใหกับองคความรู

ประชาชนลาว (สปป. ลาว)

ดานอื่น ๆ ไดเปนอยางดี เห็นไดชัดจากหลาย ๆ ประเทศบนโลก

ลาวไดวางแผนเพือ ่ เพิม ่

ไดหน ั มาวางแผนเพือ ่ พัฒนาวิทยาการดานนิวเคลียรกน ั อยางเขมขน

ศักยภาพการผลิตไฟฟา

แตสง ่ิ สำคัญเหนืออืน ่ ใด คือ เราควรใชองคความรูท  างวิทยาศาสตร เพื่อนำมาพัฒนาความเปนอยูใหดีขึ้นและอยูรวมกันอยางสันติ ตราบใดที่เรายังตระหนักถึงความจริงขอนี้ วิทยาศาสตรก็ยังคง เปนสิง ่ ทีส ่ วยงามและทรงคุณคาเสมอจนกวาจะพบกันใหม

14 FUSION MAGAZINE

เปนจำนวนกวา 4 เทา ของกำลังการผลิตทีม ่ อ ี ยู ภายในป 2563


เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

| Komkid

คม คิด

THE WORLD IS NOT

DANGEROUS BECAUSE OF THOSE WHO DO HARM

BUT BECAUSE OF WHOSE WHO LOOK AT IT

WITHOUT DOING ANYTHING. Albert Einstein - Theoretical Physicist / อัลเบิรต ไอนสไตน - นักฟสิกสทฤษฎี

“โลกใบนี้ ไมไดนา กลัวเพราะคนทีก ่ อ  อันตราย แตนา กลัวเพราะคนทีม ่ องดูโดยไมคด ิ จะทำอะไร”

นิวเคลียรในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปน้ี เรากา วเขาสู

 AEC ประชาคมเศรษฐกิจอา มาดูความเกี่ยวของกเซับียน เทคโนโลยีนิวเคลียรกัน

เย !

แจ  ม

ดวยความรวมมือระหวางสมาชิก AEC โดยลาสุดไทยเราไดมีการลงนามทางการคา เพื่อประโยชนทางเทคโนโลยีนิวเคลียร กับประเทศเวียดนาม ในอนาคตนี้ดวยละ

ไดนำไป ประเทศเพื่อนลบังางนานไฟฟา ผลิตเปนพ กันในนาม ท ี ่ เร า ร ู  จ ั ก !

โรงไฟฟานิวเคลีย

สมาชิก AEC ทั้ง 10 ประเทศ ไดมีการนำ เทคโนโลยี นิวเคลียร มาใชประโยชน กันบางแลว

ยนิ ดจี ะ นี้ เทคโนโลยีนิวเคลียรทเกี่วาษตร คือ นำไปใชในภาคการแพทย อุตสาหกรรม การ ออก และการนำเขา-สง

ฮะแฮม !

กระผมยินดี เปนอยางยิ่งครับ เรื่อง / ภาพ : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

FUSION MAGAZINE 15


Scientech | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

Top 5 Trends in Nanotechnology

สุดยอดแนวโนม ดานนาโนเทคโนโลยี

สำหรับหลาย ๆ คน นาโนเทคโนโลยีถก ู มองวาเปนเพียงวิธท ี จ ่ี ะทำใหไมเทนนิส ไมตเี บสบอล ไมเลนฮอกกี้ จักรยานสำหรับแขง หรืออุปกรณกฬ ี าอืน ่ ๆ มีความแข็งแกรงและมีนำ้ หนักทีเ่ บา แตนาโนเทคโนโลยีมีศักยภาพที่ทำไดมากกวาที่กลาวมานั้นไดอีกเหลือคณานับ มุมมองหนึ่ง ที่เปนจริงมากกวาที่กลาวมานั้นก็คือ แทบจะไมมีรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใดเลยที่จะไม เกี่ยวของกับนาโนเทคโนโลยีไดอยางแทจริง และคาดวาจะมีการใชงานอยางแพรหลาย ภายในป 2020 การประยุกตใชจำนวนมากมีแนวโนมที่จะมีผลกระทบที่ดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในทางอุตสาหกรรม ทางการแพทย ระบบคอมพิวเตอรแบบใหม และการพัฒนาอยางยัง ่ ยืน ตอไปนีจ ้ ะกลาวถึงบางแนวโนมสำคัญทีน ่ า มองหา หลายแนวโนมก็มค ี วามเกีย ่ วของระหวางกัน และคาดวาแนวโนมทัง ้ หมดยังมีความรุดหนาไปดวยความเรง 16 FUSION MAGAZINE


| Scientech 1. วัสดุทแ่ี ข็งแกรงกวา / วัสดุประกอบทีแ่ ข็งแรงขึน้ (Stronger Materials / Higher Strength Composites) ใชแกรฟนเปนวัสดุพน้ื ฐาน (graphene) และหลอดนาโนคารบอน (carbon nanotube) ในรุน ตอไป จะมีโครงสรางทีม่ นี ำ้ หนักเบาขึน้ กวา แตแข็งแรง กวายิง่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ยิง่ กวาทีค่ ารบอนไฟเบอรเคยไดทำ มาแลว และจะเพิ่มจำนวนมากขึ้นอยางเห็นไดช ัด ในรถยนต จักรยานและอุปกรณกฬี า เปนคำกลาวของ Clint Landrock ประธานเจาหนาที่ฝ ายเทคโนโลยี ของบริษทั Nano Tech Security โดย Dr. Samuel Brauer ผูก อ ตัง้ บริษทั Nanotech Plus พันธมิตรของ ทีป่ รึกษานำเสนอการวิเคราะหและใหความชวยเหลือ เกีย่ วของกับธุรกิจของนาโนเทคโนโลยี อางถึงขอบเขต ความกาวหนาหนึง่ ของวัสดุหลอดนาโนอิมเพรกเนต (Carbon nanotube pre-impregnated materials)

ซึง่ ทำใหเปนสือ่ ทีด่ กี วา ทีเ่ หนือกวาความทาทายหนึง่ ที่สำคัญ ดั้งเดิมของคารบอนไฟเบอร สวนประกอบ อีพอกซีตา ง ๆ โดยทีเ่ ขาไดตง้ั ขอสังเกตวา ตะแกรงทอ คารบอนนาโนไดใชในการปฏิบัต ิก ารบินในอวกาศ เรียบรอยแลวในบางสวนดังตัวอยางเชน Juno probe ที่เดินทางไปยังดาวพฤหัสบดี (Pluto) 2. ความสามารถในการปรับขนาดการผลิตได (Sca-lability of Production) หนึง่ ในความทาทาย ทีย่ ง่ิ ใหญ คือ วิธกี ารทีจ่ ะผลิตวัสดุนาโนอยางไรทีท่ ำให มีราคาไมแพง ความเห็นของ Dr.Timothy Fisher ศาสตราจารย ท างด า นวิ ศ วกรรมเครื ่ อ งกลของ มหาวิทยาลัย เพอรด ิว เทคโนโลยีที่สามารถสงผล กระทบตอ ปญ หาทาทายที่ย ิ่งใหญอ ยางเชน อาหาร น้ำ พลังงานและสิ่งแวดลอ ม จะตอ งปรับขนาดได (scalable) “เหตุผ ลหลัก คือ วา ปญ หาเหลานี้เ ปน ปญ หาที่ใหญอ ยา งมาก ๆ ที่แพรหลายอยูทั่วไป และดังนัน้ ตลาดทีเ่ กีย่ วของในเชิงพาณิชยไดกลายเปน โภคภัณฑ (Commoditized) บอยครัง้ มากทีก่ ารใช ประโยชนข องเทคโนโลยีที่มีคุณลัก ษณะเฉพาะของ วัสดุนาโน สามารถนำเสนอการปรับปรุงประสิทธิภาพ การทำงานหรือ วิศวกรรม แตเกือ บจะบอ ยครั้งมาก ที่เทคโนโลยีเหลานี้ จำเปนที่จะตอ งใชวัสดุที่หายาก (มีราคาสูง ) หรือ มีค วามลาชา กระบวนการผลิต ทีม่ คี วามซับซอนและแพงดวย” เขาอธิบายวา การถูก จำกัด การปรับขนาดได (Scabability) มัก จะเปน อุปสรรคตอการใชงาน แมจะมีประสิทธิภาพทีโ่ ดดเดน ในหอ งปฏิบัติก ารทดลองหรือ ในขั้นโรงงานตนแบบ 3. การทำเปนเชิงพาณิชยไดงา ยกวา (More Commercialization) ในชวงอีก หลาย ๆ ปข างหนา ความกา วหนา อยา งมีนัย สำคัญ ที่ถ ูก คาดหวัง ใน เทคโนโลยีก ารผลิตหลอดคารบอนนาโนโดยเฉพาะ ในการควบคุมความบริสุทธิ์และโครงสราง การลด คาใชจายที่เ กี่ย วเนื่อ งกับขนาดเศรษฐกิจ อางถึง

ตามที่ David J. Arthur ซีอีโอของบริษัท South West Nano technologies ผูผลิตหลอดคารบอน นาโน “ความกาวหนาจะทำใหการใชงานของวัสดุ หลอดคารบอนนาโน เกินกวาที่วิศวกรรมเครื่องกล จะฝนตอการนำไปใชงานได” นอกเหนือจากการ เปลีย่ นแปลงทางยานยนต การบิน และสินคาทางกีฬา นาโนเทคโนโลยีอำนวยความสะดวกในการปรับปรุง ที ่ ม ี ค วามหลากหลาย เช น มี ค วามบางที ่ ม ากขึ ้ น มีราคาที่ไมแพง และจอแสดงผลแบบ ffllat panel displays ที่ทนทานกวา การปรับปรุงวัสดุเสื้อเกราะ เพื่อปกปองทหาร เซ็นเซอรสำหรับการทดสอบทาง การแพทย การรักษาอยางมีมนุษยธรรมที่มากขึ้น และมีประสิทธิภาพในการรักษาสำหรับผูเจ็บปวย โรคมะเร็ง ยกระดับวัสดุขว้ั แคโทดเพือ่ ความประหยัด และการใช ง านแบตเตอรี ่ ไ อออนลิ เ ที ย ม (Li-ion battery) ทีอ่ ายุยนื ยาวและการใชประโยชนอน่ื ๆ อีก ที่ตอแถวเพิ่มขึ้นในบัญชีรายชื่อตอไปเรื่อย ๆ 4. การพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainability) หนึ่งในเปาหมายหลักของการริเริ่มนาโนเทคโนโลยี แหงชาติของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา โครงการการสือ่ สาร การประสานงานและความรวมมือสำหรับกิจกรรม นาโนเทคโนโลยี คื อ การหาทางออกของป ญ หา เพื่อการพัฒาอยางยั่งยืน Mike Nelson ประธาน เจาหนาที่ฝายเทคโนโลยี ของบริษัท Nanolnk Inc. กล า วว า วั ส ดุ น าโนและพื ้ น ผิ ว โครงสร า งนาโน มี ก ารใช ม ากขึ ้ น ในหลายโครงการ การเก็ บ และ การแปลงพลังงานขั้นสูง วัสดุนาโนกับการผลิตวัสดุ นาโนสงผลไปยังผลิตภัณฑที่มีการใชพลังงานที่มี ประสิทธิภาพมากขึน้ ทัง้ ดานการผลิตและการใชงาน Dr. Eric Majzoub รองผูอ ำนวยการศูนยวทิ ยาศาสตร นาโน มหาวิทยาลัยมิสซูรี เซ็นตหลุยส กลาววา ทำโดยการควบคุมทางอุณหพลศาสตรของปฏิกิริยา ของแข็ง-ของแข็ง ผานการลดขนาดระดับนาโนและ มันสามารถปรับปรุงวัสดุในการจัดเก็บพลังงาน รวมทัง้ แบตเตอรี่ ตัวเก็บประจุยิ่งยวด (Supercapacitor)

และการจัดเก็บรักษาไฮโดรเจน Nelson มองเห็น ผลกระทบอันยิ่งใหญอีกไมนาน ในการพัฒนาอยาง ยัง่ ยืนในสาขาของการขนสง (ทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากกวา และวัสดุทม่ี นี ำ้ หนักทีเ่ บากวา สำหรับรถยนต เครือ่ งบิน ที่ตองการใชเชื้อเพลงที่นอยกวา) และในสามสาขา ด า นอื ่ น ที ่ เ กี ่ ย วข อ ง ไฟฟ า แสงสว า ง (lighting) เซลลสรุ ยิ ะ (photovoltaics) และการกักเก็บพลังงาน (energy storage) “ชนิดของนาโนเทคโนโลยีในการ ใชงานทัง้ หมดของทัง้ สามดานเหลานี้ มีความคลายคลึง กันในแงของการใชพื้นผิวโครงสรางหรือวัสดุเพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพจากมุมมองของผลการดำเนินงาน อิเล็กทรอนิกสวา มันคือแบตเตอรี่ หรือเซลลสุริยะ หรือไฟฟาแสงสวางแบบแอลอีดี” 5. นาโนทางการแพทย (Nanomedicine) ไมมีสาขาใดที่การประยุกตใชนาโนเทคโนโลยีจะนา ตืน่ เตนไปกวาในสาขาการวินจิ ฉัยโรค และการบำบัด รักษาที่ บริษัท Nanospectra Biosciences ฮุสตัน มีการพัฒนาการบำบัดรักษาแบบใหม โดยการบูรณาการ เปลือกนาโนทองคำ (gold nanoshells) กับแสงเลเซอร เพือ่ การทำลายเนือ้ ราย เนือ้ งอกมะเร็งดวยความรอน อยูบนพื้นฐานของงานที่พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยไรซ ศาสตราจารย Dr. Naomi Halas และ Dr. Jennifer West เทคโนโลยีนี้มีศักยภาพในการทำลายเนื้องอก ดวยความเสียหายนอยที่สุดตอเนื้อเยื่อแข็งแรงปกติ ทีอ่ ยูข า งเคียง John Stroh ซีอโี อของ Nanosoectra กลาววา เขาหวังวาจะไดรับการอนุมัติในยุโรปใน ไตรมาสทีส่ องหรือสามของปน้ี (2013) และองคการ อาหารและยา (FDA) จะอนุมตั ใิ นตนปหนา หลังจาก 10 ป ของการทดสอบและพัฒนา ที่ดำเนินไปอยาง ตอเนื่อง ในสาขาของการตรวจวินิจฉัยตัวรับรูนาโน (nanosensors) ที่สามารถตรวจสอบระบุตำแหนง และระบุจำนวนปริมาณของเหลวของสารชีวภาพ ในรางกาย จะนำไปสูการตรวจสอบของโรคในระยะ เริ่มเปน ทำใหรักษาไดแตตนตลอดจนความสามารถ ในการตรวจสอบสิง่ ปนเปอ นทางสิง่ แวดลอมในรางกาย

FUSION MAGAZINE 17


Machinery Sight | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ทำหมันแมลงวันผลไม

ดวยเครือ ่ งฉายรังสี Gamma Chamber 5000

ปญหาผลผลิตเนาเสียของชาวเกษตรกรสวนผลไมที่เรื้อรังมานาน ปญหาหนึ่งที่เดนชัด มากทีส ่ ด ุ คือ แมลงวันผลไม หรือแมลงทอง ศัตรูขนาดจิว๋ ตัวรายทีเ่ ฝาทำลายผลไมเศรษฐกิจ ของชาวสวน ทำไมเราถึงกลาวรายขนาดนั้น ก็เพราะแมลงวันทองหรือแมลงวันผลไมนั้น มีอต ั ราการขยายพันธุร วดเร็วและมีจำนวนปริมาณมากตอรอบการสืบพันธุใ นชวงชีวต ิ ของมัน ดังนั้นจึงกลายเปนศัตรูพืชที่ตองบริหารจัดการใหถูกวิธีที่สุด สทน. ทำการศึกษาวิจัยเรื่องการกำจัดแมลงวันทองมาเปนระยะเวลานาน จนสามารถ คนพบวิธีที่จะชวยเหลือเกษตรกรในการกำจัดศัตรูพืชชนิดนี้ โดยที่ไมตองพึ่งพาสารเคมี หรือยากำจัดแมลง ทีอ ่ าจจะสงผลตอผูบ  ริโภคไดในระยะยาว นัน ่ คือ การทำหมันแมลงวันทอง ดวยรังสีแกมมา และจากวิธก ี ารดังกลาวจะตองอาศัยเครือ ่ งมือทีส ่ ำคัญในการสรางรังสีแกมมา ขึน ้ มาเพือ ่ ทำการฉายรังสีใหแมลงวันทองทีถ ่ ก ู เลีย ้ งโดยนักวิทยาศาสตรของ สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) โดยมีขั้นตอนและวิธีการหลัก ๆ ดังนี้

18 FUSION MAGAZINE


| Machinery Sight 1. นักวิทยาศาสตรจะลงพื้นที่ เพื่อไปวางกับดักแมลงวันทอง จากสภาพแวดลอม ธรรมชาติ ม าเลี ้ ย งเพื ่ อ ทำการผสมพั น ธุ  ต ามปกติ 2. นำแมลงวันทองที่ไดมาเลี้ยง เมื ่ อ แมลงวั น ทองที ่ น ำมาเลี ้ ย งเกิ ด การผสมพั น ธุ  แลวจะวางไข นักวิทยาศาสตรจะสรางเครื่องมือ ในการวางไข โดยใชทอพลาสติกที่เจาะรูเอาไวให แมลงวันทองวางไข 3. นำไขไปเพาะเลี้ยง เมื่อแมลงวันทองวางไขแลว ไขจะถูกเก็บไปรวมกัน เพื่อนำไปเพาะเลี้ยงในอาหารเทียมที่เตรียมไว 4. เตรียมอาหารเพื่อเพาะเลี้ยง หลังจากนัน้ ไขจะฟกเปนตัวแลวอาศัยกินอาหารทีเ่ รา เตรียมไว จนหนอนโตเต็มที่กอนจะยายไปเลี้ยงใน แกลบละเอียด 5. นำหนอนดักแดไปฉายรังสี ในชวงที่อยูแกลบนั้นหนอนที่โตเต็มที่แลวจะคอย ๆ กลายเปนดักแด ในชวงเวลานีเ้ อง ดักแดทกุ ตัวจะถูก คั ด ออกมาใส ภ าชนะแล ว นำเข า เครื ่ อ ง Gamma Chamber 5000 เปนเครือ่ งฉายรังสีแกมมาขนาดเล็ก สามารถฉายรังสีเพื่องานวิจัยอื่น ๆ ได โดยตองฉาย รังสีดกั แด ในปริมาณรังสี 90 เกรย ทัง้ นีเ้ พือ่ เปนการ ทำใหระบบสืบพันธุของแมลงวันทองถูกทำลาย และไมทำใหดักแดตายกอนที่โผล ออกมาใชชวี ติ ในธรรมชาติ ใน 1 ถุง หรือภาชนะทีใ่ สจะมีดกั แดประมาณ 32,000 ตัว 6. นำไปปลอยในแหลงธรรมชาติ ขัน้ ตอนสุดทายเมือ่ ฉายรังสีเรียบรอยแลวนำดักแดทไ่ี ด ขนสงในรถตูเ ย็นทีม่ อี ณ ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส เพือ่ ใหเหมาะสมใกลเคียงกับอุณหภูมใิ นธรรมชาติ จากนัน้ เมือ่ ถึง เกษตรกรชาวสวนผลไมเรียบรอยแลว ชาวสวนจะไดรบั แมลงวันทองทีเ่ ปนหมันแลว แตยัง เปนดักแดอยู แตก็ พร อมจะออกโบยบิ น หาคู  ในอี กไม กี ่ ชั ่ ว โมง หลั ง จาก ทีด่ กั แดฟก ตัวเปนแมลงวันทอง แมลงวันทองเหลานีจ้ ะถูกปลอยตามจุดปลอยตาง ๆ ภายในสวนผลไมเขตที่ควบคุม ในสวนผลไมของเกษตรกร และทำการผสมพันธุกับ แมลงวันทองในธรรมชาติตามปกติของสัญชาตญาณแมลง เมือ่ ถึงเวลาวางไข ตัวเมีย จะไปวางไขในผลไม แตไขของแมลงวันทองนั้น จะไมฟกตัวออกมาเปนหนอน หรื อ เรี ย กว า “ไขฝอนั่นเอง” เพียงเทานี ้ ก ็ จ ำกั ด จำนวนแมลงวั น ทองในพื ้ น ที่ สวนผลไมไดอยางมีประสิทธิภาพทำใหเกษตรกรชาวสวนผลไม ผลผลิตเพิ่มขึ้น โดยไมตอ งใชยาฆาแมลง ผูบ ริโภคไมเสีย่ งอันตรายอีกดวย เครือ่ ง Gamma Chamber 5000 จึงเปนพระเอกสำคัญในการผลิตรังสีแกมมาออกมาฉายดักแด และนำรังสีแกมมา ที่ไดจากเครื่องนี้ไปใชในงานวิจัยอื่นไดอีกมากมายที่ตองการฉายรังสีแกมมา ในปริมาณรังสีที่ไมสูงนัก

สำหรั บ งานวิ จ ั ย การจั ด การแมลงวั น ผลไม โดยการใชแมลงวันเปนหมันนี้ เปนงานวิจย ั ที่ สทน. มีความเชีย ่ วชาญเปนอยางยิง ่ โดยเฉพาะในภูมภ ิ าค ASEAN ซึ่งขณะนี้ IAEA กำลังจะใหการรับรอง ศูนยปฏิบัติการรังสีเพื่อใชทำหมันแมลงวันผลไม ของ สทน. เป น ศู น ย ก ลางการศึ ก ษาและเรี ย นรู  ดานการจัดการแมลงวันผลไมโดยใชเทคนิคเชิง นิวเคลียร ของประเทศสมาชิกในภูมิภาคอาเซียน ตะวันออกเฉียงใตในเร็ว ๆ นี้ FUSION MAGAZINE 19


On the Earth | Text : Grayscale

ชมความงาม เมืองหลวงในประเทศ สมาชิกประชาคมอาเซียน AEC (ASEAN Economics Community) หรื อ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น หลายคนเตรียมตัวสำหรับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ ธุรกิจตาง ๆ นอกจากจะเตรียมการเรื่องนี้แลวอยาลืมทำความรูจักประเทศเพื่อนบาน อีกสักหนอย หากมีโอกาสไดไปเยือนหรือตองไปติดตอทำธุรกิจระหวางประเทศนัน ้ แวะไปสถานทีเ่ หลานีส ้ ก ั หนอย จะเปนไร ฉบับนีเ้ ราพาไปชมสถานทีท ่ อ  งเทีย ่ วสำคัญของเมืองหลวง 6 ใน 10 ประเทศประชาคมอาเซียนทีค ่ ณ ุ ตองไป •••••••••••••••••••••••••••••••

บรู ไน Brunei

•••••••••••••••••••••••••••••••

บั น ดาร เ สรี เ บกาวั น (Bandar Seri Begawan) เมื อ งหลวง เมืองทาทีส ่ ำคัญ และเปนสถานทีผ ่ ลิตน้ำมันปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ ของประเทศบรูไน เมืองเล็ก ๆ อุดมไปดวยวัฒนธรรม ประชาชนที่นี่ ใชภาษามาเลยเปนภาษาหลัก และยังมีความจงรักภักดี ใหเกียรติกษัตริย เปนอยางมาก ดังนั้นเขาจะไมนิยมสวมเสื้อผาสีเหลืองเพราะสีเหลือง นับเปนสีของกษัตริย ในสวนวันหยุดของเขาคือวันศุกร และวันอาทิตย เวลา 12.00 – 14.00 น. ซึ่งที่นี่จะไมมีรานใด ๆ เปดทำการ สำหรับวัฒนธรรมความงดงามดานสถาปตยกรรมของบรูไนแบบ สมัยใหมและเปนทีก ่ ลาวถึงอยางมากตองยกให “มัสยิดโอมาร อาลี ไซฟดดิน (Jame Ar’ Hassanil Bolkiah Mosque)” หรือมัสยิดทองคำ ที่ตั้งอยู ใจกลางกรุงบันดารเสรีเบกาวัน โดยสุลตานโอมาร อาลี ไซฟดดิน ที่ 3 พระราชบิดาของสุลตานองคปจ  จุบน ั เปนผูอ  อกแบบและดำเนินการสราง โดยมัสยิดแหงนี้ไดรับการกลาวถึงความงดงามและไดรับฉายาวาเปน มินท ิ ช ั มาฮาล และยังนับเปนศูนยกลางศิลปวัฒนธรรมระดับชาติเลยทีเดียว ในสวนของคาเงินตอนนี้อยู 100 บาท = 4 ดอลลารบรูไน

กั ม พู ช า Cambodia

•••••••••••••••••••••••••••••••

“กรุงพนมเปญ” เมืองหลวงที่นอยคนนักจะไมรูจัก เมื่อกลาวถึงที่นี่ หลายคนมักจะนึกถึงศิลปวัฒนธรรม ไมวาจะเปนวัดตาง ๆ ที่ยังคงเปนมรดกอันงดงามของ ประเทศกัมพูชา นอกจากที่นี่ยังมีอีกมากมายแหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาติ เหมาะที่จะปนจักรยานเที่ยวชม เมืองและวิถีชาวบานอยางแทจริง สำหรับผูคนที่นี่ มีความเปนกันเองและใหการตอนรับนักทองเที่ยวอยางดี แตสิ่งหนึ่งที่ตองเรียนรูถึงวัฒนธรรมการดำรงชีวิต ของคนที่นี่นั่นคือ หามจับศีรษะ หรือสบตาเขามากเกินไปนัก เพราะถือเปนการไมใหเกียรติ คาเงินของที่นี่ออนกวา คาเงินบาทเราพอสมควร 100 บาท = 12,700 เรียล

20 FUSION MAGAZINE


| On the Earth •••••••••••••••••••••••••••••••

มาเลเซีย Malaysia

ขยับไปทางภาคใตเพือ ่ นบานทีใ่ กลชด ิ เราอีกประเทศหนึง ่ คือ มาเลเซีย ที่มาเลเซียแหงนี้จะพบกับจัตุรัสเมอรเดกา (Merdeka Square หรือ Dataran Merdeka) อนุสรณแหงการเปนอิสรภาพจากประเทศอังกฤษ หลังจากที่ตกเปนเมืองขึ้น และในวันที่ 31 สิงหาคมของทุกป จะมีพิธี ฉลองประดับไฟอยางสวยงามและยิง ่ ใหญเพือ ่ เปนการระลึกถึงวันประกาศ เอกราชของประเทศมาเลเซีย นอกจากศิลปะ วัฒนธรรม และสถาปตยกรรม ในแบบมาเลเซียที่เห็นไดทั่วเมืองแลว หากไดไปเยือนประเทศนี้ แนะนำ ใหชมวิวทิวทัศน ซึมซับวัฒนธรรมอันดีของเขา สกุลเงินที่นี่สำหรับ แลกเปลี่ยนเปนเงินไทย 100 บาท = 12.06 ริงกิต

••••••••••••••

อินโดนีเซีย Indonesia

จารกาตา (Jakarta) อีกหนึง ่ ประเทศทีม ่ ค ี วามสวยงามรายลอมดวย ธรรมชาติและวัฒนธรรมแบบอินโดนีเซีย นักทองเทีย ่ วหลายคนรูจ  ก ั บาหลี แตไมรูจักอินโดนีเซียที่ซึ่งอุดมไปดวยความสวยงามไมแพกัน แมวา จาการตาจะเปนเมืองหลวงความเจริญดวยวัตถุมีใหเห็นพัฒนาขึ้น จากเดิมอยางมาก แตกย ็ ง ั ไมทง ้ ิ กลิน ่ อายวิถช ี าวบานและความทรงจำอันดี เชน Merdeka อนุสาวรียแ หงเสรีภาพ ทีซ ่ ง ่ึ ตรึงไวซง ่ึ เสรีภาพและความ หนักแนนอันไมยอมตกเปนเมืองขึน ้ ของใคร สำหรับคาเงินแลกเปลีย ่ น เปนเงินไทยอยูที่ 100 บาท = 38,275 รูเปย

ลาว LAO

•••••••••••••••••••••••••

อีกหนึง ่ ประเทศเพือ ่ นบานทีค ่ น  ุ เคยเปนอยางดีมเี ขตแดนติดกับประเทศไทย นับวามีความสนิทสนมคุน  เคยอยางมากสำหรับประเทศลาว มีนครเวียงจันทร เป น เมื อ งหลวง เชื ่ อ มต อ ประเทศไทยด ว ยสะพานมิ ต รภาพ ไทย-ลาว สถานที่หนึ่งที่ตองมานั่นคือ พระธาตุหลวง ที่ผสานสถาปตยกรรมแบบ ฝรัง ่ เศสและความงดงามของพุทธศิลปะลาวไดอยางลงตัว แมวา ประเทศ เราจะมีความใกลชด ิ กับอีกฝง  หนึง ่ มากแตอยาลืมวาตองเรียนรูว ฒ ั นธรรม เขาดวยเชนกัน เชน ไมวา เพือ ่ นคนลาวจะชวนไปพักอาศัยทีบ ่ า น เราก็หา ม ใหเงินหรือซื้อน้ำหอมใหเปนอันขาดเชียว และหากไดรับการเสิรฟน้ำดื่ม ตองดืม ่ อยาปลอยทิง ้ ไวเพราะถือเปนการใหเกียรติเจาบาน สำหรับคาเงิน แลกเปลี่ยนเปนเงินไทยอยูที่ 100 บาท = 22,532.76 กีบ

เมียนมาร Burma

•••••••••••••••••

เดิ ม ที เ ราจะรู  ก ั น อย า งแพร ห ลายว า ย า งกุ  ง เป น เมื อ งหลวงของ ประเทศพมา แตปจจุบันนี้ไมใชแลวละ เมียนมารไดยายเมืองหลวงมายัง เนปดอว (Naypyidaw) เมือ ่ ประมาณ 10 ปทแ่ี ลว (ปพ.ศ. 2548) ครัง ้ นี้ ไมใชครัง ้ แรก แตเปนครัง ้ ที่ 18 ของประเทศเมียนมารทม ่ี ก ี ารยายเมืองหลวง เชนนี้ ซึง ่ เนปดอวอยูก  ง ่ึ กลางระหวางยางกุง  และ มัณฑะเลย โดยมีพน ้ื ที่ กวา 7,000 ตร.กม. ความสวยงามของเมืองตกแตงอยางกวางขวาง โอโถง สามารถรองรับผูค  นไดจำนวนมาก แมกระทัง ่ ถนนหนทางทีร่ องรับ ถึง 12 เลน วัฒนธรรมและความเชื่อที่นี่อยางหนึ่ง คือ ไมใหเหยียบเงา ของพระสงฆ นอกจากนีแ้ ลวหากมีการติดตอธุรกิจใด ๆ การยืน ่ นามบัตร ตองยืน ่ ดวยมือทัง ้ 2 ขาง จึงถือเปนการใหเกียรติแกชาวเมียนมารนน ่ั เอง อัตราแลกเปลี่ยนเปนเงินไทยของเมียนมารอยูที่ 100 บาท = 3,600 จัต

FUSION MAGAZINE 21


Voyage |

Kushch Dmitry / Shutterstock.com Story : Grayscale

กัมพูชา เมืองอารยธรรม แหงความทรงจำ

นกพิราบสองตัวหยอกลอกันเปนภาพทีเ่ ห็นประจำ ทุกเย็น ผานหนาตางบานเดิม ทามกลางแสงแดดออน มวลเมฆเบาบาง ดวงอาทิ ต ย ก ำลั ง จะลั บ ขอบฟ า และความมืดกำลังจะมาเยือน เห็นภาพแบบนี้ทีไร ความคิดก็ลอยลองออกไปนอกหนาตางทุกที หลายครัง้ ที่ไดออกไปมองโลกกวาง แตนอยครั้งเหลือเกินที่ เปาหมายจะมีไวสำหรับ พระอาทิตยอัสดง... การเดินทางครัง้ นีใ้ ชเวลาสักเล็กนอยในการเก็บกัก ขอมูล เรียนรูวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนทองถิ่น ทีแ่ หงนีห้ า งออกไปไมไกลนัก เพียงขามผานพรมแดน ทางทิศใตของประเทศไทย และเพื่อใหยามเย็นของ วันถัดไปไดเห็นอาทิตยลับขอบฟาดั่งที่ใจตองการ การเดินทางดวยเครื่องบินจึงเปนสิ่งที่ตอบโจทยไดดี ประเทศกัมพูชา ประเทศเพื่อนบานที่เราคุนเคย เปนอยางดี แมจะมีคาเงินเรียล แตคนทองถิ่นก็ยัง นิยมใชเงินดอลลาร ปายบอกราคาสินคา หรือแมแต รานขางทางคิดเงินเปนดอลลารเชนกัน ไมตอ งแปลกใจ ไปหากไดรบั เงินทอนเปนเงินเรียล จะวาไปแลวก็แปลก ดี น ะได ใช ส กุ ล เงิ น สองแบบในประเทศเดี ย วกั น สิง่ ประหลาดใจเรือ่ งแรก เมือ่ มาเยือนแผนดินศิลปะขอม ประเทศกัมพูชาครั้งหนึ่งเคยตกเปนเมืองขึ้นของ ฝรั่งเศส สถาปตยกรรมตาง ๆ จึงยังคงมีกลิ่นอาย สถาปตยกรรมตะวันตกอยูบาง กรุงพนมเปญนั้น มีการจราจรที่พลุกพลา น ชาวเมื องสามารถพู ด ภาษาอังกฤษ และบางคนก็สามารถพูดไทยได นัน่ เพราะ คนทีน่ ส่ี ว นใหญชอบดูละคร ภาพยนตรและฟงเพลงไทย แมวาเขาจะอานภาษาไทยไมออก แตเรื่องภาษาพูด ตองยอมรับวาคอนขางชัดเจน จึงคลายกังวลไปไดดี 22 FUSION MAGAZINE

ไมตองกลัวหลงทาง คืนนี้เราจะพักผอนที่พนมเปญ หรือ “ไขมกุ แหงเอเชีย” กอนออกเดินทางสูเ สียมราฐ ดูพระอาทิตยตกดินที่ ปราสาทตาพรหม (Ta prohm) อันทีจ่ ริงจะวาไปแลวเปาหมายของนักเดินทางสวนใหญ ที่มาเยือนกัมพูชาสวนใหญจะไปชม นครวัด นครธม และปราสาทตาพรหม ซึ่งแนนอนวานักทองเที่ยว มีมากมาย การชมพระอาทิตยตกดินแบบสงบอาจ เปนไปไดยาก การที่ขยับหางออกไปอีกสักเล็กนอย แลวชมที่ ปราสาทตาพรหม เห็นจะเปนทางเลือกทีด่ ี ที่สุดในเวลานี้ ทีก่ รุงพนมเปญเราจะไดไปเยือนพระบรมราชวัง เขมรินทรห หรือพระราชวังหลวง ที่สวยงามคลาย พระบรมมหาราชวังของบานเราอยูไมนอย ตอมา แวะสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ “วัดพนม” อันเปนที่มา ของชือ่ “กรุงพนมเปญ” วากันวาคูร กั ทีย่ งั ไมไดแตงงาน ไมควรขึ้นมาสักการะอาจทำใหเลิกกันได แตหาก แตงงานแลวสามารถขึน้ มาสักการะได นีเ่ ปนความเชือ่ ของคนที่นี่ ซึ่งก็ตองใชวิจารณญาณกันสักนิดนะ ลงจากภู เขามาอย า ลื มแวะชมอนุ ส าวรี ย  เ อกราช ทีต่ ง้ั อยูใ จกลางเมือง มีการประดับตกแตงและจัดแตง ไดสวยงาม รายลอมดวยธรรมชาติไมประดับเขียวชอุม เป นข อ ดี อ ย า งหนึ ่ ง ของกั ม พู ช าที ่ พ ั ฒ นาประเทศ ไปพรอม ๆ กับการอยูคูธรรมชาติ บริเวณนี้คอนขาง กวางขวางไมนอ ย ใชเวลาสักพักใหญในการเดินดวยเทา จะวาไปนอกจากสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิท์ ส่ี ามารถมาสักการะ ขอพรแลวสิ่งหนึ่งที่พลาดไปชมไมได นั่นคืออดีต อันเจ็บปวดจากยุคเขมรแดงครองเมือง สถานกักกัน ทรมาน และลานประหารคนบริสุทธิ์ที่ถูกกลาวหา

ยั ด เยี ย ดข อ หา และสั ง หารอย า งไร ค วามปราณี อยางที่ Killing ffiifield หรือ คายกักกันตรวนสเลง ทีเ่ ปดใหเขาเยีย่ มชมไดเชนกัน บรรยากาศภายในสัมผัส ไดถงึ ความโศกเศราของนักทองเทีย่ วและความอำมหิต ของเขมรแดง ที ่ ย ั ง ตราตรึ ง ฝ ง แน น ในจิ ต ใจของ ชาวเขมรยากจะลืมเลือน ที่ขาดไมไดสำหรับคนชอบงานศิลปะตาง ๆ แนะนำใหแวะไปทีถ่ นนสองสีศ่ นู ย ถนนทีร่ วมรานคา งานฝมือและศิลปนอันมีชื่อเสียงก็มาเปดรานให นักทองเทีย่ วไดเลือกชอป นอกจากรานคาตาง ๆ แลว ยั ง มี โรงแรมที ่ พ ั ก ร า นอาหารที ่ ล  ว นผสานศิ ล ปะ ธรรมชาติ เรียกไดวา มีสไตลเลยทีเดียวและคืนนี้ เราจะหาทีพ่ กั ทีถ่ นนนี้ ออมแรงไวสำหรับการเดินทาง ยังที่ตอไปในรุงสาง การเดินทางจากกรุงพนมเปญสูเสียมราฐดวย รถบัสใชเวลาราว 4 ชัว่ โมง ไมรอชาเมือ่ ถึงทีเ่ สียมราฐ รีบเช็คอิน เก็บกระเปาและเรียกสามลอไปยังนครวัด (Angkor Wat) นครธม (Angkor Thom) อารยธรรม ศิลปะขอม ยังคงสวยงามเชนเดิม ไฮไลตการเดินทาง ไมไดอยู ณ ที่แหงนี้ ขอเดินซึมซับชมอนุสรณสถาน สักครูแลวเรงยายไปยัง ปราสาทตาพรหมหนึ่งใน วิหารหลวงสมัยพระเจาวรมันที่ 7 สรางขึ้นเมื่อป พ.ศ. 1729 ทางเขาจะประกอบไปดวยโคปุระ ภายใน ตามผนังมีภาพสลักคำสอนของนิกายมหายาน ซึง่ ทีน่ ่ี รมรื่นกวานครวัด นครธมพอสมควร อาจเปนเพราะ อยูท า มกลางตนไมใหญ รากทีช่ อนไช กิง่ กานปกคลุม ปราสาทเปนความสวยงามจากธรรมชาติอยางแทจริง และเวลาทีร่ อคอยก็มาถึง ดวงอาทิตยลกู โตอยูต รงหนา


gary yim / Shutterstock.com ปราสาท ตาพรหม (Ta Prohm) ที่มีตนสมพงขนาดยักษใหญ ดูนาตื่นตาตื่นใจยิ่งนัก

อีกมุมทีไ่ ดเห็นพระอาทิตยอสั ดง สวยงามดัง่ ทีต่ อ งการ เก็บภาพความประทับใจไวแลว ออกเดินทางเพือ่ ไปยัง pub street ถนนที่มีความคึกคักคลายถนนขาวสาร บานเรา ทิ้งความเหนื่อยลา ไวที่ถนนแหงนี้กอนจะ กลับที่พักและเริ่มจุดหมายใหมตอไป เรื่องสถานที่ทองเที่ยวของกัมพูชา หากเทียบกับ ประเทศอาเซียนแลวก็ไมเปนสองรองใคร มีสถานที่ ไดรบั การประกาศใหเปนมรดกโลกมาแลว แตหากพูด ถึงเรือ่ งการพัฒนาดานวิทยาศาสตร ประเทศกัมพูชา ก็คงอยูในชวงใสเกียรเดินหนาเต็มที่ เพื่อใหเทาเทียม กับบานพีเ่ มืองนองในภูมภิ าค โดยเฉพาะความกาวหนา เรื่องนิวเคลียรนั้น กัมพูชาเองมีความพยายามอยาง ยิ่งยวด ในการขอรับความชวยเหลือจากประเทศ ทีม่ คี วามกาวหนาดานนิวเคลียรของโลก โดยกัมพูชาเอง ก็มีแผนการที่จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียรเชนกัน โดยสมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรี ไดกลาวในทีป่ ระชุม รัฐมนตรีพลังงานอาเซียน ครั้งที่ 30 ที่กรุงพนมเปญ วากัมพูชามีแผนการที่จะสรางโรงไฟฟานิวเคลียรขึ้น โดยขณะนีก้ ำลังอยูร ะหวางการเลือกสรรพืน้ ทีบ่ ริเวณ เกาะกง ที่เปนชายแดนติดกับประเทศไทย มีขอมูล ทีต่ อกย้ำวาเรือ่ งการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรทก่ี มั พูชา นัน้ จะเปนจริง เพราะเมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 ทีผ่ า นมา นายกรัฐมนตรีดมิทรี เมดเวเดฟ ของรัสเซีย ไดเดินทางเยือนกัมพูชา ทั้งสองประเทศยังไดรวม ลงนามขอตกลงความรวมมือ 10 ฉบับ ที่รวมถึง ความรวมมือดานพลังงานระหวางประเทศ โดยมีใจความสวนหนึ่งวา รัสเซียจะชวยกัมพูชา ทำงานเพือ่ มุง ไปสูก ารสรางโรงไฟฟานิวเคลียรภายใต ขอตกลงที่สองประเทศลงนามรวมกันในสัปดาหนี้ ตามการเปดเผยของ เซอรเก คิรเิ ยนโก ผูอ ำนวยการใหญ บริ ษ ั ท รอสอะตอม (Rosatom) หน ว ยงานด า น พลังงานนิวเคลียรของรัสเซีย เราคงตองรอติดตาม กันตอไปเมื่อโรงไฟฟานิวเคลียรเกิดขึ้นที่กัมพูชาแลว ประเทศเขาจะพัฒนาตอไปอยางไร และถึงเวลานั้น ผูเ ขียนจะไมพลาดทีจ่ ะกลับไปเยือนอีกครัง้ เพือ่ สังเกต การณ ถ ึ ง ความก า วหน า ของกั ม พู ช าในครั ้ ง ต อ ไป และจะมารายงานในคราวหนาอยางแนนอน !

นครธม (Angkor Thom) อารยธรรมศิลปะขอม ยังคงสวยงามเชนเดิมแมเวลาจะผานไปนานเทาใด

maodoltee / Shutterstock.com ผับ สตรีท (pub street) ถนนที่มีความคึกคักคลายถนนขาวสารบานเรา

FUSION MAGAZINE 23


Activities News | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ดร.พรเทพ นิศามณีพงษ ผสทน. มอบนโยบายใหกับ ผูบริหารและเจาหนาที่ สทน. ในโอกาสเขารับตำแหนงใหม เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2559 ไดมีการเขารวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรับทราบขอมูลตาง ๆ ของ สทน. ซึง ่ มีผจ ู ด ั การกลุม  ศูนยหนวยตาง ๆ ของ สทน. เขารวมประชุมในครัง ้ นี้ "ผมไมไดมาซือ ้ เวลารอเกษียณ แตผมมีความตัง ้ ใจ ที่จะทำใหความภาคภูมิใจเกา ๆ ของ สทน. กลับมา จะสรางครอบครัว สทน. ใหรักใครกลมเกลียวกัน ความยุติธรรม จะเกิดขึน ้ กับทุกคน ความมีเกียรติของคน อยูท  ก ่ี ารทำหนาทีท ่ ต ่ี นเองรับผิดชอบเต็มกำลังความสามารถ ทุกคนในองคกร มีความสำคัญเทากัน" นี่คือขอความสำคัญที่ ผสทน. ไดมอบไวในโอกาสเขาดำรงตำแหนงวันแรก และไดปฏิบัติภารกิจ ในการเยี่ยมชมงานในหนวยงานตาง ๆ อยางใกลชิด ชาว สทน. เชื่อวาดวยวิสัยทัศนของทาน สทน. จะกาวไปขางหนา อยางไมหยุดยั้งและชาว สทน. พรอมสนับสนุนนโยบายของทานอยางเต็มกำลังความสามารถ

ดร.พรเทพ นิศามณีพงษ ผสทน. เขาพบผูบริหารกระทรวงฯ ดร.พรเทพ นิ ศ ามณี พ งษ ผสทน. เข า พบผู  บ ริ ห ารกระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ประกอบด ว ย ดร.วีระพงษ แพสุวรรณ ปกท.วท. คุณสมชาย เทียมบุญประเสริฐ รอง ปกท.วท. คุณอลงกรณ เหลางาม ผูช  ว ย ปกท.วท. และ ดร.เชาวลิต ลิ้มมณีวิจิตร เลขานุการ รมว.วท. และเขาพบ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อมอบกระเชาผลไมเนื่องในเทศกาลปใหม 2559 และนอกจากนี้ยังไดรับมอบแนวทาง การปฏิบัติงานจาก ทานรัฐมนตรี วท. เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2559

24 FUSION MAGAZINE


สทน. จัดกิจกรรมถนนสายวิทยาศาสตรตอ  นรับ วันเด็กแหงชาติ ประจำป 2559

Nuclear In History

จัดขึน ้ อยางตอเนือ ่ งและยิง ่ ใหญทก ุ ป กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ใหความสำคัญกับเยาวชนของชาติ ตองการใหเยาวชน เรียนรูศ  ก ึ ษาวิทยาศาสตรซง ่ึ เปนเรือ ่ งทีต ่ อ  งเรียนรูอ  ยางไมมท ี ส ่ี น ้ิ สุด และเปนความรูม  าพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ ได จึงจัดใหมก ี จ ิ กรรม ถนนสายวิทยฯ รับวันเด็กแหงชาติ เปนประจำทุกปตั้งแตป 2549 โดยมีกจ ิ กรรมตาง ๆ การละเลน เกมส สำหรับเด็ก ของรางวัลมากมาย โดยมีหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 19 หน ว ยงาน เข า ร ว มจั ด กิ จ กรรมกั น อย า งคั บ คั ่ ง สร า งความ สนุกสนานและความประทับใจแกผูเขาเที่ยวชมงาน และนอกจากจะได รับความสนุกสนานและของรางวัลแลว ทุกหนวยงานยังสอดแทรก เนื ้ อ หาความรู  ต  า ง ๆ ที ่ เ กี ่ ย วข อ งกั บ วิ ท ยาศาสตร ไ ว ไ ด อ ย า ง นาสนใจอีกดวย นับไดวาเปนกิจกรรมที่เปนประโยชนตอเยาวชน

1935

Robert Jemison Van de Graaff

ไดขอจดสิทธิบัตรเครื่องกำเนิดศักยไฟฟาแรงสูง ที่เขาได ออกแบบ เปนเครือ่ งกำเนิดศักยไฟฟากระแสตรง ทีม่ คี วาม ตางศักยมากกวา 700,000 โวลต การสะสมประจุตรงขามกัน สามารถทำใหเกิดความตางศักยระหวางโดมทั้งสองได 1,500,000 โวลต .........................................................................

ที่ชอบวิชาวิทยาศาสตรเปนอยางดี

1912

Robert Millikan

จากการทดลองเรื่องหยดน้ำมันที่มีชื่อของเขา ไดรวบรวม และตีพมิ พผลการสังเกตการณนำ้ มัน 58 หยด เปนครัง้ แรก มิลลิแกนใชผลการวัดการสัน่ ของหยดน้ำมันในสนามไฟฟา เพือ่ หาคาของประจุมลู ฐานของอนุภาค เขาไดรบั รางวัลโนเบล สาขาฟสิกส ในป 1923 ในการเปนผูบุกเบิกการวัดประจุ ของอิเล็กตรอนเปนคนแรก .........................................................................

1913

Frederick Soddy

ไดเริ่มนำคำวา ไอโซโทป (isotope) มาใช Soddy ไดรับ รางวัลโนเบลในป 1921 จากผลงานการวิจัยในการหา สารกัมมันตรังสี เขาไดรายงานวามีบางธาตุทอ่ี ยูใ นตำแหนง บนตารางธาตุที่เดียวกัน และคนพบธาตุ โปรแทกทีเนียม (protactinium) ในป 1917 FUSION MAGAZINE 25


Interview | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

งานวิจย ั นิวเคลียรฟว  ชัน พลังงานในอนาคต ภาพ / เรื่อง ฝายสื่อสารองคการ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

สทน. เปนเจาภาพจัดอบรมนิสิต นักศึกษา ระดับอาเซียนดาน นิวเคลียรฟวชันครั้งที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรดาน วิทยาศาสตรนวิ เคลียร รองรับงานวิจย ั นิวเคลียรฟว ชันในอนาคต

26 FUSION MAGAZINE


ภาพรวมของงานเปนอยางไร สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการ มหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสริ นิ ธร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ French Alternative Energies and Atomic Energy Commission (CEA) ประเทศฝรั่งเศส จะจัด The 2nd ASEAN School on Plasma and Nuclear Fusion 2016 (ASPNF 2016) จัดขึ้น ระหวาง 18-22 มกราคม 2559 ที่ผานมา ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ใครเปนผูริเริ่ม และกิจกรรมนี้เกิด ขึ้นมาไดอยางไร กิจกรรมดังกลาวเปนสวนหนึ่งในโครงการพัฒนา ขีดความสามารถบุคลากรวิจยั ทางดานนิวเคลียรฟว ชัน ในอาเซียน พ.ศ. 2559-2561 ซึ่งสถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดำเนินการรวมกับสถาบัน เทคโนโลยีนานาชาติสิรินธรและคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทั้งนี้ การดำเนินโครงการ ประกอบดวยการวิจยั และพัฒนาทางดานนิวเคลียรฟว ชัน ซึ่งเปนทางเลือกพลังงานในอนาคตของโลกที่สำคัญ ที่สุดทางหนึ่ง รวมทั้งจัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร วิจัยดานนิวเคลียรฟวชันดวยสนามแมเหล็กของไทย โดยการฝกอบรมในประเทศและสงนักวิจัยไปปฏิบัติ งานวิจัยรวมกับกลุมนักวิจัยระดับแนวหนาของโลก และปฏิบัติงานกับเครื่องมือการวิจัยที่ทันสมัย เชน เครื่องโทคาแมคและอุปกรณทางนิวเคลียรฟวชัน ทีท่ นั สมัยอืน่ ๆ ทีป่ ระเทศฝรัง่ เศส ภายใตขอ ตกลงความ รวมมือวิจัยดานนิวเคลียรฟวชันดวยสนามแมเหล็ก (Cooperation agreement in the efi ld of magnetic fusion research) กับหนวยงาน French Alternative Energies and Atomic Energy Commission (CEA) ของประเทศฝรั่งเศส มาตั้งแตป พ.ศ. 2551 มีโครงการอะไรบางที่สำคัญ ๆ สำหรับกิจกรรมที่กำลังจะเกิดขึ้นนี้ โครงการพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรวิจัยทาง ดานนิวเคลียรฟว ชันในอาเซียน โดยการจัดตัง้ ASEAN School on Plasma and Nuclear Fusion ขึ้น ในประเทศไทย เปนแผนงานลำดับตอมาที่จะสราง ใหเกิดเครือขายวิจัยดานนิวเคลียรฟวชันดวยสนาม แมเหล็กรวมกับประเทศในกลุมอาเซียน โดย สทน.

จะดำเนินงานรวมกับสถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ สิรนิ ธร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ French Alternative Energies and Atomic Energy Commission (CEA) ประเทศฝรั ่ ง เศส ในการพัฒนารายละเอียดการฝกอบรม รวมทั้งเปนผู ถายทอดเทคโนโลยีใหกบั นักวิจยั จากประเทศในอาเซียน ทั้งนี้ โครงการดังกลาวยังสอดคลองกับยุทธศาสตร กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในป พ.ศ. 2559 ในดานการบมเพาะ และ/หรือ พัฒนาศักยภาพบุคลากร ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อรองรับการวิจัย และนวัตกรรม การปฏิบัติงานหรือการนำไปตอยอด

Feedback ของการจัดงานครั้งนี้ ไดรับการตอบรับอยางไรบาง The 2nd ASEAN School on Plasma and Nuclear Fusion 2016 ทีจ่ ดั ขึน้ ระหวางวันที่ 18-22 มกราคม 2559 ทีผ่ า นมา ณ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีนกั ศึกษาและนักวิจยั สนใจเขารวมจากประเทศตาง ๆ อาทิ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟลปิ น ส ลาว เวียดนาม ไทย เข า ร ว มการอบรมกว า 100 คน โดยมี ว ิ ท ยากร ผูเชี่ยวชาญจาก Japan Atomic Energy Agency และมหาวิทยาลัย ญี่ปุน รวมทั้ง ผูเชี่ยวชาญจาก CEA ประเทศฝรั่งเศส มาใหความรูอีกดวย

ดร.พรเทพ นิศามณีพษ

ผูอ  ำนวยการ สถาบันเทคโนโลยีนว ิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

FUSION MAGAZINE 27


Interview |

สทน.ไดจด ั เตรียมกลุม  งานวิจย ั เพือ ่ รองรับการพัฒนาพลังงาน นิวเคลียรฟว  ชันและพลาสมาไว ซึง ่ เริม ่ ดำเนินการศึกษาเรือ ่ งนี้ รวมกับองคการพันธมิตรมาเปน ระยะเวลาหนึง ่ ถึงแมยง ั ไมเห็นผล ชัดเจน แตเชือ ่ วาการอบรมครัง ้ นี้ จะเปนนิมต ิ หมายทีด ่ ี ทีท ่ ำใหเกิด ความรวมมือดานฟวชันในระดับ อาเซียนตอไปภายหนา 28 FUSION MAGAZINE

ดร.พรเทพ นิศามณีพงศ ผูอ ำนวยการสถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สทน. ไดเปนประธานเปดการอบรม พรอมกลาวถึงภารกิจ ในการวิ จ ั ย และพั ฒ นาด า นนิ ว เคลี ย ร ในประเทศ และ สทน. ไดใหความสำคัญดานนิวเคลียรฟวชัน ซึ่งเชื่อวาในอี ก ไม ช  า โลกจะหั น มาใช พ ลั ง งาน นิวเคลียรฟวชันมากขึ้น “สทน. ไดจัดเตรียมกลุม งานวิจัยเพื่อรองรับการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร ฟวชันและพลาสมาไว ซึ่งเริ่มดำเนินการศึกษาเรื่อง นี้รวมกับองคการพันธมิตรมาระยะเวลาหนึ่ง ถึงแม จะยังไมเห็นผลชัดเจน แตเชื่อวาการอบรมในครั้งนี้ จะเปนนิมิตหมายที่ดีที่ทำใหเกิดความรวมมือดาน ฟวชันในระดับอาเซียนตอไป” ในตอนทาย ดร.พรเทพ กลาวในนาม สทน. ในฐานะเจาภาพหลัก ขอบคุณ วิทยากรจากหลายหนวยงานที่ไดมาใหความรูกับ ผู  เ ข า อบรม และเชื ่ อ ว า ความสำคั ญ ของฟ ว ชั น ในการพัฒนา ไมใชประโยคแคเพียงประเทศในอาเซียน แต ร วมถึ ง ประโยชน ข องโลกในอนาคตอี ก ด ว ย และหวังวาผูรับการอบรมจะมีแรงดลใจชวยพัฒนา


| Interview ฟ ว ชั น ให เ กิ ด ขึ ้ น ได ใ นวั น หนึ ่ ง ในอนาคตอั น ใกล ในสวนของ คุณสเตฟาน รอย ผูประสานงานดาน วิ ท ยาศาสตร จากสถานทู ต ฝรั ่ ง เศส ผู  แทนท า น เอกอัครราชฑูตฝรัง่ เศสประจำประเทศไทย ผูส นับสนุน สำคัญที่ทำใหเกิดการจัดอบรมในครั้งนี้ กลาววา “สถานทูตฝรั่งเศสในฐานะของผูสนับสนุน ไดแสดง ถึงความยินดีที่ ASPNF ได ด ำเนิ น การมาอย าง ตอเนือ่ งและมีจำนวนนิสติ นักศึกษาทีเ่ พิม่ ขึน้ และยัง ย้ำถึงความสำคัญของความรวมมือระหวางฝรั่งเศส กับไทย ซึ่งแสดงใหเห็นโดยหลากหลายโครงการ

หากการวิจัยและพัฒนาดาน พลังงานนิวเคลียรฟวชันสำเร็จ โลกจะมีพลังงานสะอาดและเชือ ้ เพลิง จำนวนมหาศาลใชไมมท ี ส ่ี น ้ิ สุด

ความรวมมือทวิภาคีทางวิทยาศาสตรที่มีการดำเนิน การอยูในปจจุบัน และหากรัฐบาลไทยตองการให ฝรั่งเศสสนับสนุนกิจการดานวิทยาศาสตร และหาก เปนเรื่องที่ฝรั่งเศสมีความชำนาญ รัฐบาลฝรั่งเศส ยินดีใหความชวยเหลืออยางเต็มที่” สุดทายนี้มีอะไรอยากจะฝากไปถึง ผูที่สนใจในงานวิจัยชิ้นนี้ ดร.อเลน เบคูเลต หัวหนากลุมวิจัยฟวชัน โดยสนามแม เหล็ ก ของ CEA ฝรั ่ ง เศส ในฐานะ วิ ท ยากรหลั ก ของการอบรมในครั ้ ง นี ้ ดร.อเลน ไดย้ำถึงความสำคัญของการอบรมนี้วาเปนโอกาสดี ทีจ่ ะขยายความสนใจและสรางความรวมมือระหวาง กันในหัวขอที่ CEA เชื่อวามีความสำคัญอยางยิ่ง ตอการพัฒนาโลกในดานพลังงานทีป่ ลอดภัยและยัง่ ยืน และหวังวา นักศึกษา และนักวิจัยรุนใหมจะชวย พัฒนาฟวชันใหเกิดขึ้นไดจริง แมวาจะเปนเรื่องที่ ไม ง  า ย แต ท ุ ก การค น พบที ่ ส ำคั ญ ที ่ ม ี ก ารใช ง าน ในปจจุบัน ก็ตางเริ่มตนมาจากจุดที่ดูแทบจะเปน ไปไม ได เหมื อ นกั น การศึ ก ษาวิ จ ั ย เรื ่ อ งพลั ง งาน นิวเคลียรฟวชันในระดับโลกเริ่มดำเนินการมาสัก ระยะหนึ่ง แตยังถือเปนชวงเริ่มตน เพราะมีความ ซับซอนและทาทายเปนอยางยิ่ง และมีความจำเปน อยางมากที่ตองระดมมันสมองของนักวิจัยทั่วโลก มารวมมือกัน การอบรมในครั้งนี้จึงเปนกลไกสำคัญ ในการสร า งนั ก วิ จ ั ย ด า นฟ ว ชั น ให ม ี ม ากยิ ่ ง ขึ ้ น หากการวิจยั และพัฒนาดานพลังงานนิวเคลียรฟว ชัน สำเร็จ โลกนี้จะมีพลังงานสะอาดและมีเชื้อเพลิง ที่มีจำนวนมหาศาลใชไมมีที่สิ้นสุด FUSION MAGAZINE 29


Interview |

ฟวชันคืออะไร

นิวเคลียรฟวชัน เปนกระบวนการที่ทำใหเกิด พลั ง งานในดวงอาทิ ต ย แ ละดาวฤกษ ที ่ แ กนกลาง ของดวงอาทิตย มีอุณหภูมิ 10-15 ลานเคลวิน ทำให ไฮโดรเจนกลายเปนฮีเลียมจากปฏิกริ ยิ านิวเคลียรฟว ชัน และทำใหดวงอาทิตยมีพลังงานสูงมากพอ ที่จะทำให เกิดการเผาไหมไดอยางตอเนื่อง ซึ่งสงผลทำใหสิ่ง มีชีวิตบนโลกดำรงอยูได มีโครงการวิจัยที่กำลังดำเนิน การในเรื่องฟวชันนี้อยูหลายแหงทั่วโลก โดยมีวัตถุ ประสงคที่จะนำพลังงานฟวชันมาใชในการผลิตไฟฟา ถาประสบความสำเร็จ จะกลายเปนแหลงพลังงานใน 30-40 ปขางหนา ซึ่งไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และมีความปลอดภัยมากกวาพลังงานทีใ่ ชอยูใ นปจจุบนั การควบคุมกระบวนการฟวชันบนโลก มีความแตกตาง จากปฏิกริ ยิ าฟวชันทีเ่ กิดขึน้ ทีด่ วงอาทิตย โดยการเลือก ใชอะตอมไฮโดรเจน ทีม่ นี ำ้ หนักมากกวาไฮโดรเจนปกติ คือ ดิวทีเรียม (Deuterium D) และทริเทียม (Tritium T) ซึ่งเกิดปฏิกิริยาไดดีกวา ไฮโดรเจนโดยทั่วไป มีเพียง 1 โปรตอนและ 1 อิ เ ล็ ก ตรอน เรี ย กว า Protium ซึ ่ ง เป น รู ป แบบของไฮโดรเจนปกติ ที ่ ไม ม ี น ิ ว ตรอน ขณะที่ Deuterium มี 1 นิวตรอน และ Tritium มี 2 นิวตรอน เมื่อทำใหนิวเคลียสของ Deuterium กับ Tritium หลอมรวมกัน จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียรแลว แยกออกจากกัน กลายเปนนิวตรอนกับนิวเคลียสของ ฮีเลียม ซึ่งมี 2 โปรตอน กับ 2 นิวตรอน และทำให พลังงานสวนเกินจากปฏิกิริยาออกมา โดยสวนใหญ

30 FUSION MAGAZINE

จะเป น พลั ง งานจลน ข องนิ ว ตรอนอิ ส ระที ่ เ กิ ด ขึ ้ น เนื ่ อ งจากอนุ ภ าคที ่ เ กิ ด จากปฏิ ก ิ ร ิ ย ามี ค วามเสถี ย ร มากกวาฟวชันจะเกิดขึน้ ได เมือ่ มีพลังงานหรืออุณหภูมสิ งู มากพอ สำหรับสภาวะบนโลก ตองใชอุณหภูมิสูงกวา 100 ลานเคลวิน ในสภาวะที่รอนจัดขนาดนี้ จะทำให สวนผสมของกาซดิวทีเรียม (Deuterium) กับทริเทียม (Tritium) อยูใ นสถานะของพลาสมา (Plasma) อิเล็กตรอนของอะตอมของธาตุ แยกออกจากนิวเคลียส ทำใหมีประจุเรียกวา ไอออน (ion ) การที่จะทำให ไอออนที่มีประจุบวกหลอมรวมกันได ตองใชอุณหภูมิ หรือพลังงานสูงมากพอที่จะเอาชนะแรงผลักไฟฟาได ในการควบคุมพลังงานของฟวชัน นักวิทยาศาสตร และวิศวกรตองหาวิธีที่จะควบคุมพลาสมาที่มีอุณหภูมิ สูงมากนี้ใหไดกอน ในปจจุบัน มีการนำพลาสมาที่มี อุ ณ หภู ม ิ ต ่ ำ กว า นี ้ มาใช ง านอย า งแพร ห ลายแล ว ในดานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการผลิตสารกึ่งตัวนำ แตการควบคุมพลาสมาอุณหภูมิสูงในระดับของฟวชัน ยั ง เป นงานท า ทายความสามารถทางวิ ท ยาศาสตร และวิศวกรรม ในการที่จะทำความรอนใหพลาสมา มีอุณหภูมิสูงเกิน 100 ลานเคลวิน รวมทั้งการหาวิธี บีบลำพลาสมา ใหมีความหนาแนนมากพอที่จะเกิด ปฏิกิริยาฟวชันไดอยางตอเนื่องพลังงานจากปฏิกิริยา นิวเคลียร ใหออกมามากกวาพลังงานจากปฏิกิริยา เคมีมาก จากพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียสสูงกวา พลังงานยึดเหนีย่ วอิเล็กตรอนมาก


Text : Grayscale

| Health

เรื่องขับถาย ใครวาไมสำคัญ การขับถายไมเปนประจำ ไมใชอาการปกติของคนทั่วไปนะ สวนใหญแลว รางกายคนเรา จะขับถายอยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห การขับถาย ไมเปนเวลานอกจากจะเปนสาเหตุหนึ่งใหเกิดกลิ่นตัว กลิ่นปาก รอนใน แลวยังทำใหทำใหเกิดอารมณแปรปรวน มาดูกน ั สิวา ทองผูกมีสาเหตุจากอะไร 1

การอุดกั้นของทางเดินอาหาร ไดแก มะเร็งลำไสใหญ ทวารหนักโปงเขาในอวัยวะ ขางเคียง รูทวารหนักตีบและลำไสใหญถูกกดเบียดจากอวัยวะขางเคียง

2

โรคทางระบบตอมไรทอหรือความผิดปกติของเกลือแรในรางกาย ไดแก โรคเบาหวาน โรคไทรอยดทำงานต่ำ ภาวะโปแทสเซียมในเลือดต่ำ เนื้องอกที่ตอมหมวกไต ตอมใตสมองทำงานต่ำ โรคฟอรฟยเรีย และพิษจากโลหะหนัก

3

ยา ไดแก ยาแกทอ  งเสียบางชนิด เชน l operamide ย าแกปวดบางชนิด เชน morphine, fentanyl ย ากลุม  a nticholinergic เชน ยาลดบีบเกร็งลำไส ยาจิตเวชบางชนิด ยากันชักบางชนิด ยาเคลือบกระเพาะ ยาลดความดันโลหิตกลุม calcium channel blockers ยาบำรุงถามีธาตุเหล็กเปนสวนประกอบ ยาขับปสสาวะ ยารักษามะเร็งบางชนิด

4

โรคทางระบบประสาทและกลามเนื้อ ไดแก โรคพารกินสัน การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง และ โรคทางระบบประสาทอัตโนมัติ (autonomic neuropathy)

การหาสาเหตุของอาการทองผูก

พิจารณาการเพิ่มเติมตามสมมติฐานของแตละโรค อาจจะเปนการตรวจเลือด อุจจาระ การตรวจ ทางรังสี การสองกลอง ตรวจลำไสใหญ การตรวจการทำงานของลำไสใหญ (colonic function test) ซึ่งประกอบดวยการตรวจเพื่อดูการเคลื่อนไหวของลำไสใหญ (colonic transit study) และการตรวจดู การขั บ ถ า ย ( assessment for defecatory disorder) โดยเฉพาะถ า ผู  ป  ว ยอายุ ม ากกว า 50 ป มีอาการเตือน (alarm symptom) เชน ถายเปนเลือด ประวัติครอบครัวเปนมะเร็งลำไสใหญหรือลำไส อักเสบ ชนิด Inflammatory bowel disease ซีด ตรวจพบเลือดแฝงในอุจจาระ น้ำหนักลดชัดเจน อาการเพิ่งเปน โดยไมสามารถอธิบายจากสาเหตุอื่นได ควรสองกลองตรวจลำไสใหญ เพื่อแยกสาเหตุ จากมะเร็งลำไสใหญออกไป ทีม ่ า : สาระนารูเ รือ ่ งสุขภาพ โรงพยาบาลวิภาวดี

FUSION MAGAZINE 31


Edutainment | Text : Grayscale

iflix แอพดูหนัง และซีรส ี อ  อนไลนระดับอาเซียน

ดวยความที่อินเตอรเนตไมจำกัดเพศและวัย สำหรับนอง ๆ ที่ชื่นชอบการดูหนัง และมีไลฟสไตล การใชสมารทดีไวซเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ดวยเทคโนโลยีที่เหนือชั้นตอบโจทยทุกไลฟสไตล สำหรับตอนนี้ยังไมมี คำบรรยายไทยมีแตภาษาอังกฤษ คิดซะวาฝกภาษาไปในตัวดวยก็แลวกัน

JS100 Application

ROAD SAFETY LIFE SAFETY

แอพพลิเคชัน ่ เพือ ่ นรวมเดินทางพรอมใหความชวยเหลือ ผูใชรถใชถนนยามฉุกเฉินไดทุกที่ทุกเวลา ภายใตแนวคิดแอพพลิเคชั่นเพื่อการเดินทางและชีวิต ที่ปลอดภัย เพื่อเพิ่มชองทางติดตามขาวจราจร และเพิม ่ ประสิทธิภาพในการใหความชวยเหลือยามฉุกเฉิน โดยสามารถโทรขอความชวยเหลือฉุกเฉินผานแอพฯ ไดอยางทันทวงทีอีกดวย

ค.ศ. 1564

ค.ศ. 1787

ค.ศ. 1888

ค.ศ. 1966

15 ก.พ. ค.ศ. 1564 เปนวันคลายวันเกิด ของกาลิเลโอ กาลิเลอี นักฟสิกส นักดาราศาสตรที่มีชื่อเสียงชาวอิตาลี

กวา 227 ปกอน วิลเลียม เฮอรเซล นักดาราศาสตรชาวอังกฤษ ไดคนพบ พิเทเนียมและโอเบอรอน ดาวบริวารของ ดาวยูเรนัส

เปนครั้งแรกที่กลองโทรทัศนหักเหแสง ขนาด 91 เซนติเมตร ในหอดูดาวลิก ซึ่งเปนกลองโทรทรรศนขนาดใหญ ที่สุดในโลกไดเปดตัวสูสาธารณะ

ครัง้ แรกของโลก กับยานลูนา 9 ของสหภาพโซเวียต ทีส่ ามารถลงจอด บนดวงจันทรไดสำเร็จและสงภาพถาย พืน้ ผิวดวงจันทรมายังโลก


Exhibition

02

03

04

01 | 7 JAN - 1 MAY 2016 NEON FEST BKK กินดืม ่ เทีย ่ ว ทีเ่ ดียวครบ พบงานเทศกาลขนาดใหญ บนพื้นที่กลางแจงกวา 8,000 ตร.ม. ตกแตงพื้นที่ดวยสไตล NEON VINTAGE อิม ่ อรอยกับรานอาหาร ฟูด  ทรัค รานคามากมาย พรอมศิลปนทีม ่ อบความสุขใหคณ ุ ตลอด 4 เดือน ณ ลุมพินีสแควร

02 | 11-14 FEB 2016 Shopping Paradise & Beauty Parade ยกขบวนสินคาทั้งแฟชั่น ความงาม ครบเครื่องไลฟสไตลแบบคนเมือง ตอบโจทยทุกกลุมนักชอป เพลิดเพลินเหมือน สวรรคแหงการชอปปงตองงานนี้

03 | 25-28 FEB 2016 มหกรรมแฟรนไชสสรางอาชีพ ครั้งที่ 16 พบกวา 200 บูทธุรกิจแฟรนไชสครบทุกหมวด อยางเต็มพื้นที่ พรอมโปรโมชั่นสวนลดพิเศษ นอกจากนี้ยังมีทอลกโชวแชรไอเดีย การสรางธุรกิจสวนตัวจากดาราดัง อาทิ คุณบุม ปนัดดา คุณเก ชลลดา พรอมทั้งเขารวมสัมมนา MODERN SMEs

04 | 23-25 MAR 2016 “SETA 2016” เวทีพูดคุย แลกเปลี่ยนความเห็น รวมหาคำตอบ และแนวทางแกปญหาแหลงพลังงาน ตลอดจนการใชระบบผลิตกระแสไฟฟา ภาคขนสง ภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน ภายในงานการประชุมครั้งนี้มุงเนนทั้งเอเชีย และทั่วโลก พลาดไมได

FUSION MAGAZINE 33

Edutainment

01


Edutainment | Text : Grayscale

Gadget

BULLET World's Smallest LED Flashlight

Fizz Soda Saver Dispenser Bottle Drinking Water Dispense Machine ปองกันการหกเลอะเทอะจากเครื่องดื่มสุดโปรด แคมีเจานี่ สวมปบ ก็กดไดเหมือนตูกดน้ำเลย

ไฟฉาย LED ทีม ่ ข ี นาดเล็กทีส ่ ด ุ ก็วา ได ดวยน้ำหนัก

แถมยังมีที่ยึดโตะแบบสุญญากาศ ทำใหไมไหลลื่น

เพียง 6 กรัม พกพาไปไหนก็แสนสะดวก

สะดวกสบาย ไมเลอะเทอะ ชอบจัง !

แตไดความสวางแบบชัดเจน มาพรอมกับ

Edutainment

ดีไซนเหมือนกระสุนปน ดุดันเทอยางมีสไตล

Found on : banggood.com

Star Wars BB-8 Droid สาวกสตารวอลลเห็นแลวอดใจไมไหว กับ BB-8

Found on : kickstarter.com

ตัวนี้ ที่บังคับใหเคลื่อนไหวไดดวยสมารทโฟน แถมยังสามารถสื่อสารกันไดซะอีกดวย Found on : store.sphero.com

Withings Thermo ปวยเหรอ ? ไขสง ู เทาไรละ วัดงาย ๆ ไมตอ  งอมปรอท เพราะเจาเครื่องนี้ แคเอาสัมผัสหนาผาก ก็สามารถบอกอุณหภูมิดวยระบบดิจิทัล

Polaroid Snap Prints Digital Photos Instantly ไมตอ  งรอแลวจา กลองดิจท ิ ล ั ทีส ่ ามารถปรินสได ตลอดเวลา จะถายรูป ถายวิดโี อก็ทำได มาพรอมกับ ขนาดหนาจอทัชสกรีน 3.5 นิว้ ถายปุบ  ก็สามารถ ปรินสภาพออกมาไดเลย จริง ๆ ถายวิดโี อก็ชด ั นะ ดวยความละเอียดแบบ Full HD 1080p

Found on : amazon.com

34 FUSION MAGAZINE

เชื่อมตอสมารตโฟนผาน WIFI ใหเราสามารถ เก็บบันทึกเปนสถิตเิ วลาไปหาหมอได

Found on : withings.com

Kuchofuku Air-Conditioned Work อากาศรอนหนัก จะใสเสื้อบาง ๆ ก็กลัวรังสี UV จะทำรายผิวใหเกิดเปนมะเร็งขึ้นมาอีก นี่เลยแจ็คเก็ตติดแอร รอนแคไหนก็เย็นสบาย ไมตองกลัวแดด! Found on : japantrendshop.com


Movies

The Danish Girl

เรื่องราวความรักสุดดรามา ที่มีเคาโครงมาจากเรื่องจริง ในยุคสมัยที่การเปนสตรีขามเพศ ไมไดรับการยอมรับ จากสังคมวงกวางในปจจุบัน ภาพยนตที่เสนอเรื่องราวการแตงงานของลิลี่และเกอรดา จิตรกรสาวผูมีความมั่นใจ ในตัวเองสูงและมีความออนโยน และดวยการยอมรับไดในทุกสิ่งที่เกิดขึ้นตรงหนา ทำใหเธอไดพบกับสามีที่ไดคนหาตัวเองจนพบวาการเปลี่ยนไปของความรูสึกที่มีใหตอภรรยา มีคาและความหมายตอชีวิตเขามาก นำแสดงโดย ลิลี่ (เอ็ดดี้ เรดเมยน นักแสดงเจาของรางวัลออสการปลาสุด) และเกอรดา เวเกเนอร (รับบทโดย อลิเชีย วิกันเดอร จาก Ex Machina)

Steve Jobs [2015]

หนังเรื่อง steve jobs เปนหนังเชิงชีวประวัติหรือเรียกวา Biopic ที่นาสนใจอีกเรื่องนึง ตั้งแตความเปน เพอรเฟกชั่นนิสต คือ การเปนบุคคลที่ตองการความสมบูรณแบบ ไมชอบปลอยใหสิ่งที่ตัวเองทำจากการทุมเท ใหหลุดออกมางาย ๆ อยางที่เรามี ไอโฟนใชทุกวันนี้ รวมถึงดานที่ไมคอยจะมีแสงสวางนักของชีวิตนักสรางสรรคหนุมของ Jobs นับเปนหนังที่นาดูอีกเรื่องหนึ่ง ที่ไมใชการนำดานมืดมาแฉ หรือประจานตัวตนของ Jobs จนมากเกินไปซะทีเดียว แตสิ่งที่เห็นวาเราจะไดรับกลับมาจากหนังเรื่องนี้คงจะเปนประสบการณที่ดี ตอความสำเร็จและลมเหลวของตัวละครที่ผานมาในชีวิต และความพยายามอยางถึงที่สุด ที่ทำใหเขาเปนตำนาน จนถึงทุกวันนี้

FUSION MAGAZINE 35


Chill Out | Text : Grayscale

CHILL OUT

Burger Bro

(เบอรเกอร โบลว) ซอยพระรามเกา 49

เปลี่ยนบรรยากาศแบบชิว ๆ มาชิมแฮมเบอรเกอรรสชาติดี มีใหเลือกทั้งไก หมู และเนื้อ ในราคาที่สมคุณภาพ ใหเลือกลิ้ม ความอร อ ยด ว ยบรรยากาศแบบชิ ค ๆ บ า นที ่ เ ปลี ่ ย นเป น รานแฮมเบอรเกอรไ ม ใหญ ม ากแต ล งตั ว ด านนอกตกแตง สไตลลอฟทเล็ก ๆ มีเตา grill ใหเห็นกันแบบสด ๆ กลิน ่ ยัว่ น้ำลาย ผูส  ญ ั จรไปมา สำหรับใครอยากไดฟว การกินแบบฟาสฟูด  ก็มเี นือ ้ ที่ดานในใหทานไดแบบสบายใจ

ขอบคุณภาพ : http://www.aroi.com/review/150306141347

36 FUSION MAGAZINE


Text : Grayscale

| TIPS

TIP

กำจัดแคลอรี่สวนเกินงายนิดเดียว ในหนึ่งวัน เราทานอาหารมื้อหลัก มื้อรอง มื้อยอยเขาไปเยอะแยะมากมาย ไหนจะกาแฟชวงเชา ชายามบาย น้ำอัดลม หรือแมแตผลไมยามวาง ทัง ้ หมดนีก ้ แ่ี คลอรีแ่ ลวเอย หากจะใหนบ ั กันคงตาลาย รางกายเราตองการพลังงานประมาณ 1,500 กิโลแคลอรี่ ซึ่งถาเกินกวานี้จะกลายเปนไขมันสะสม เปนสาเหตุของความอวนคะ คราวนี้เราเลยมีวิธีงาย ๆ สำหรับการเผาผลาญแคลอรี่สวนเกิน ที่สามารถทำไดงายภายใน 1 ชั่วโมง

วิ ง ่ เหยาะๆ กิโลแคลอรี่ / ชม. กิโลแคลอรี่

เทนนิ ส กิโลแคลอรี่ / ชม.

ตี แบตฯ กิโลแคลอรี่ / ชม.

กิโลแคลอรี่

กิโลแคลอรี่

ว ายน้ำ กิโลแคลอรี่ / ชม. กิโลแคลอรี่

เล นบาสฯ กิโลแคลอรี่ / ชม. กิโลแคลอรี่

ที่มา : http://kcal.memo8.com/

FUSION MAGAZINE 37


เรื่องเลา Blogger | เรื่อง : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข / illustration : Aleli Balaguer

ปเตอร ฮิกกส

Blogger

กับ อนุภาคพระเจา ในวัย 83 ป แทนที่จะนั่งทอดหุนบนเกาอี้โยก และสูบไปปพรอมกับอานนิย ายนัก สืบ โปรเฟสเซอร ปเตอร ฮิก กส (Peter Higgs) ยังคงอยูใ นแนวหนา ของฟสิก สอ นุภาคเชิงทฤษฎี (theoretical particle physics) ในมหาวิทยาลัย ทีเ่ อดินเบิรก -สกอตแลนด ดวยการทุม เทใหกบั ฟสกิ สเชิงสมมุตฐิ านมาตลอดชีวติ ในวันนีศ้ าสตราจารยฮกิ กสเปนทีร่ จู กั อยางกวางขวาง จากทฤษฎีเกีย่ วกับโบซอนดับเบิลยูและแซด (W and Z bosons) ซึ่ง เปนอนุภาคมูล ฐาน (elementary particle) ทีอ่ ธิบายวา จักรวาลสามารถเกาะเกีย่ วกัน ไวไดอยางไร และนับจากเซิรน (CERN : (European Or g ani z ati o n fo r N ucl ear Res ear ch) เปด ตัวอุปกรณที่ม ีช ื่อ วา ตัวชนอนุภ าคเฮดรอน ขนาดใหญ หรือ แอลเอชซี (LHC: Large Hadron Collider) ตอ มาที่ไดประกาศเมื่อ ป ค.ศ. 2008 วา จะคนหาอนุภาคจอมซุก ซอ นที่เ รีย กกันวา “ฮิก กส โบซอน” (Higgs boson) นับแตนั้นศาสตราจารย ฮิก กสก ็ต อ งงวนอยูก ับการอธิบายทฤษฎีวา ดวย “อนุภาคพระเจา” (God particle) แกมวลชน ปเ ตอร ฮิก กส เกิด ที่เ มือ งนิวแคสเซิล เมื่อ ป ค.ศ. 1929 สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ทำใหก ารเรีย นของ หนุมนอ ยฮิก กสชะงัก ไปบาง แตที่สุดแลวเขาก็จบ การศึก ษาดานฟสกิ สดว ยปริญ ญาเกีย รตินยิ มอันดับ ที ่ 1 แล วศึ ก ษาต อ ปริ ญ ญาโทและเอก ทั ้ ง หมด เขาศึก ษาทีค่ งิ สคอลเลจในกรุงลอนดอน ขณะเรีย น ฮิก กสเ คยโบกรถไปเที่ย วงานเทศกาลที่เ อดินเบิรก เมือ งหลวงของสกอตแลนดและตกหลุมรัก เมือ งนี้ เขาจึงเลือกมาทำงานเปนนักวิจยั อาวุโสที่ มหาวิทยาลัย เอดินเบิรก จากนั้นก็ย า ยมาอยูในกรุง ลอนดอน โดยผานงานมาหลายตำแหนงที่ ยูนเิ วอรซติ คี อลเลจ 38 FUSION MAGAZINE

และอิมพีเรียลคอลเลจ จนถึงป ค.ศ. 1960 เขาจึงยาย กลับไปสอนคณิตศาสตรฟส กิ สทม่ี หาวิทยาลัยเอดินเบิรก ป ค.ศ. 1980 เขาไดรบั ตำแหนงทางฟสกิ สเชิงทฤษฎี ตอมาไดเปนสมาชิกของราชสมาคม (Royal Society) กั บ สถาบั น แห ง ฟ ส ิ ก ส (Institute of Physics) และในป ค.ศ. 1984 เขาไดรับรางวัลและเหรียญ รัทเทอรฟอรด (Rutherford Medal and Prize) ภายหลังเกษียณเขาไดรับเกียรติเปนศาสตราจารย เกียรติคุณ (Emeritus Professor) ที่มหาวิทยาลัย เอดินเบิรก กอนจะสาธยายถึงอนุภาคฮิกกสโบซอน วาคืออะไร ก็นาจะมากลาวถึงแรงมูลฐาน 4 ชนิด (four fundamental forces) ทางฟสกิ ส และเรือ่ งทัว่ ไป เกี่ยวกับอนุภาคโบซอน (boson) เสียกอน วิชาฟสกิ สกำหนดแรง 4 ชนิดทีธ่ รรมชาติตง้ั อยู ไดแก แรงความโนมถวง (gravity) แรงแมเหล็กไฟฟา (electromagnetism) แรงชนิดเขม (strong force)

และแรงชนิดออน (weak force) แรงแตละชนิดก็มี อนุภาคตาง ๆ เขามาเกี่ยวของ กลาวคือ แรงความ โนมถวงซึ่งเปนแรงดึงดูดกันระหวางมวลทั้งหมด ในจักรวาล ก็มอี นุภาคตามสมุตฐิ าน เรียกวา แกรวิตอน (graviton) แรงแม เ หล็ ก ไฟฟ า มี อ นุ ภ าคโฟตอน (photon) แรงชนิดเขม คือ ปฏิสมั พันธระหวางอนุภาค โปรตอนและอนุภาคนิวตรอน ซึ่งเกาะกลุมกันเปน นิวเคลียสของอะตอม และมีอนุภาคกลูออน (gluon) 8 ชนิด เปนสื่อกลางของแรงชนิดเขมนี้ โดยกลูออน เปนเสมือนกาว (glue) ที่คอยดึงองคประกอบตาง ๆ

Photograph: Ken Currie


illustration : Aleli Balaguer

ของนิวเคลียสของอะตอมเขาไวดวยกัน สำหรับแรง ชนิดออนก็เกิดจากการแลกเปลี่ยนของอนุภาคหนัก โบซอนชนิดดับเบิลยู (W boson) และโบซอนชนิดแซด (Z boson) เรียกวาเปนอนุภาคพาหะ (carrier particle) ของแรงอยางออน ทำหนาทีส่ ง ผาน (transmit) รังสี ปเตอร ฮิกกส ไดพัฒนาแนวคิดที่วาแตเดิม ในตอนที่จักรวาลเพิ่งเริ่มกอตัวขึ้นมานั้น อนุภาค ทั้งหลายยังไมมีมวล (massless) และในเสี้ยวของ วินาทีตอมา อนุภาคเหลานั้นก็เกิดปฏิสัมพันธกับ “สนามฮิกกส” (Higgs field) จึงไดรับมวลเขามา (gaining a mass) เรื ่ อ งนี ้ เดวิ ด เจ. มิ ล เลอร (David J. Miller) ไดอุปมาอุปไมยไววา อนุภาค ไรน้ำหนักทั้งหลาย ณ “เวลาศูนย” (time zero) เปรียบไดกบั “นักเรียน” ทีน่ ง่ั ประจำทีอ่ ยูใ นหองเรียน แตละคนก็พูดคุยกับคนที่อยูรอบ ๆ ตัวเอง จากนั้น ก็มีอีกอนุภาคหนึ่งคือ “คุณครู” เดินเขามาในหอง และเริ่มแทรกตัวเขามา นักเรียนที่อยูใกล ๆ ตัวครู ทั้งหมด ก็เริ่มเกาะตัวเปนกลุมและเกาะติดไปกับ คุณครูนี่แหละ ที่คุณครูไดรับมวลเขามา เมื่อคุณครู เกิดมีมวล เขาก็มโี มเมนตัมดวยเมือ่ เขาเดินไปในหอง (เพราะโมเมนตั ม เท า กั บ มวลคู ณ ด ว ยความเร็ ว ) เรียกวา กลไกฮิกกส (Higgs mechanism) ซึง่ อธิบาย ถึงการที่อนุภาคทั้งหลายซึ่งเดิมไมมีมวล เกิดมีมวล ขึ้นมาไดในเวลาเศษเสี้ยวของวินาที หลังการเกิดขึ้น ของจักรวาล จากการที่มีอนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ผาน

เขาไปสนาม ทำใหสนามเกิดบิดตัวเล็กนอย โดยสนาม บริเวณตรงนั้นเองเกิดการหอตัวหุมรอบอนุภาคไว เปนผลใหอนุภาคมีมวลเกิดขึน้ มา ฮิกกสเสนอทฤษฎีน้ี มาตัง้ แตป ค.ศ. 1964 คือ 48 ปมาแลว กวาจะพิสจู น ความถูกตองได โดยการคนพบอนุภาคฮิกกสโบซอน วามีจริง เพิ่งประกาศไดเมื่อวันพุธที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2012 นี้เอง สาเหตุก็คือ สหสัมพันธอันจุกจิก กวนใจสำหรับโลกฟสิกสสมัยใหม ระหวางขนาด ของสิ่งที่นักฟสิกสกำลังคนหา กับคาใชจายเพื่อหา สิ ่ ง นั ้ น ให พ บ คื อ อนุ ภ าคที ่ ค  น หายิ ่ ง เล็ ก เพี ย งใด ราคาของอุปกรณที่ใชคนหาก็ยิ่งสูง ในเมื่ออนุภาค ฮิกกสโบซอนเปนอนุภาคชนิดมูลฐานซึง่ เล็กเอามาก ๆ

เรียกวา เปนหนึง่ ในบรรดาอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีอ่ าจมีได ซึง่ อุปกรณทว่ี า นี้ คือ ตัวชนอนุภาคเฮดรอนขนาดใหญ หรือแอลเอชซี (Large Hadron Collider: LHC) ซึ่งโตขนาดเมืองเล็ก ๆ หนึ่งเมือง โดยมีคนทำงาน 3,000 คน และยังมีอุโมงคขดเปนวงแหวนอยูใตดิน มีความยาว 26 กิโลเมตร และเพิง่ เปดใชเมือ่ ป 2008 ซึ่งเปาหมายหนึ่งก็เพื่อคนหา “อนุภาคพระเจา” อันจะไดพิสูจนทฤษฎีของฮิกกสใหได ซึ่งในที่สุด ดวยแอลเอชซี เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2011 มีการ ประกาศวามีแนวโนมวาจะคนพบอนุภาคนีไ้ ด ในทีส่ ดุ อีก 7 เดือนถัดมา อนุภาคฮิกกสโบซอนก็ถกู ประกาศ การคนพบแลว เมือ่ วันที่ 4 กรกฎาคม 2012 ทีผ่ า นมา FUSION MAGAZINE 39


ขับเคลื่อนทุกความรูไปกับ

FUSION MAGAZINE ครบทุกเรือ ่ ง เทคโนโลยีนว ิ เคลียร

FREEe issu

ดาวนโหลดอานไดฟรี ๆ แลววันนี้ Available Now! ebook.in.th

หรือติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

J O I N O U R CO M M U N I T Y O N :

ookbee

Issuu

www.tint.or.th Thainuclearclub


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.