FUSION MAGAZINE Vol.7

Page 1

FUSION

Magazine

วารสารมากสาระ ในโลกวิ ทยาศาสตร แ ละเทคโนโลยีนิวเคลียร Vol.7 | April - June 2016

ความสำคัญของบุคลากร

ทางวิทยาศาสตร

Scan to Visit offfiicial Site

www.tint.or.th


Editor’s Talk | เรื่อง : กองบรรณาธิการ

Editor’s Talk หากจะพัฒนาดานวิทยาศาสตร นอกจากนโยบายของรัฐบาลเปนหัวใจสำคัญแลว บุคลากรดานวิทยาศาสตรกเ็ ปนองคประกอบสำคัญ หากนโยบายการพัฒนาประเทศดวยวิทยาศาสตรมคี วามเขมแข็ง มีทศิ ทางชัดเจน มาเจอกับนักเรียน นิสติ นักศึกษาทีม่ คี วามรู ความสามารถ โดยเฉพาะทั ก ษะทางวิ ท ยาศาสตร เชื ่ อ ได ว  า ประเทศไทยเราย อ มต อ งพั ฒ นาขึ ้ น โดยวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี น ั ้ นคงไม ย าก สำหรับนักวิทยาศาสตรนิวเคลียรในประเทศไทย ถือเปนบุคลากรที่มีความสำคัญ ที่มีสวนสนับสนุนใหเกิดการวิจัยและพัฒนาดานงานวิจัย งานบริการดานเทคโนโลยีนวิ เคลียรมาอยางตอเนือ่ ง ประเทศไทยเริม่ มีการพัฒนาดานนิวเคลียรมากวา 50 ป นโยบายของรัฐบาลใหความสำคัญ กับบุคลากรดานนีม้ าอยางตอเนือ่ ง ถือวาบุคลากรดานนีม้ คี วามขาดแคลน รัฐบาลจึงจัดสรรทุนการศึกษาใหกบั นักเรียน นิสติ นักศึกษา ทีส่ นใจ ศึกษาดานนี้ ปจจุบันมีบุคลากรที่ปฏิบัติงานดานวิทยาศาสตรนิวเคลียรจากตัวเลขที่มี ไมนาเกิน 1,000 คน ซึ่งถือวานอยมาก สวนหนึ่ง อาจจะทำใหการพัฒนาดานเทคโนโลยีนิวเคลียรของไทยเราเปนไปอยางชา ๆ แตบุคลากรเหลานี้ ก็มีความตั้งใจในการปฏิบัติงาน เพื่อใหงาน ดานนิวเคลียรในประเทศไทยกาวหนา เปนที่ยอมรับของนานาประเทศ และเชื่อวาในอนาคตเยาวชนไทยจะใหความสนใจศึกษาเลาเรียน ดานนิวเคลียรมากขึ้น และผลักดันใหเกิดการพัฒนาดานนิวเคลียรแบบกาวกระโดดตอไปในอนาคต

Contents Cover Story :

Voyage :

Did you know :

Health :

04 Social Surround

10 Cover Story

18 Machinery Sight

24 Activities News

32 Edutainment

06 Did you know

15 Komkid

20 On the Earth

26 Interview

36 Chill Out

08 Idea Design

16 Scientech

24 Voyage

31 Health

38 เรื่องเลา Blogger

รอบรู เทรนดโลก

เราไดรบั รังสีทางใดบาง Idea is everywhere

ความสำคัญบุคลากรวิทยาศาสตร คำคมและการตูน ระเบิดไฮโดรเจน

เครือ่ งมือวิเคราะหธาตุ 7 ดอกไมสวยงามระดับโลก

ประเทศมาเลเซีย

ความเคลื่อนไหว สทน. สัมภาษณพิเศษ นร.ทุน มะเร็งปากมดลูก

เรียน รู เลน เทคโนโลยี

Review รานอรอย

มันอยูใ นบอของ นีลล โบร

เจาของ / ที่ปรึกษา : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) | บรรณาธิการบทความ : ฝายสื่อสารองคการ สทน. | กองบรรณาธิการ : ฝายสื่อสารองคการ สทน. นักเขียน : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข • พิพัฒน พิเชษฐพงษ | พิสูจนอักษร : ชลาลัย อรุณรัตน | ศิลปกรรม : บราวนแบร (ฺBrownbear) | กราฟกดีไซน : ศุภฤกษ จันทรศรี ชางภาพ / ตกแตง : ศุภฤกษ จันทรศรี | พิมพที่ : บริษัท อีเกิ้ล เปเปอร จำกัด ผลิตโดย : บริษัท ไดดี โปรดักชั่น จำกัด 328 ถนนประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 8 แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 Tel : 02-943-5334 hotline : 092-758-7977 เนื้อหาภายในนิตยสาร Fusion Magazine จัดทำเพื่อสงเสริมความรูความเขาใจดานวิทยาศาสตรนิวเคลียร และการเปดโลกทัศน มิไดมุงหวังเพื่อการโฆษณาสินคาแตอยางใด

2 FUSION MAGAZINE


สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

| Advertorial

การใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรีย Microbiological Analysis ศูนยฉายรังสีใหบริการตรวจวิเคราะหเชื้อจุลินทรียในผลิตภัณฑ ต า ง ๆ เช น ในอาหาร อาหารสั ต ว เครื ่ อ งเทศ ผงปรุ ง รส วัตถุดบิ สมุนไพร แคปซูลสมุนไพร ยาหอม ลูกกลอน และผลิตภัณฑ เครื่องสำอาง โดยปจจุบันไดรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ตรวจวิ เคราะห ท างจุ ล ชี ว วิ ท ยาตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ใบรับรองเลขที่ 1234/56 โดยขอบขายที่ไดรับการรับรอง คือ การตรวจหาเชือ้ จุลนิ ทรียท ง้ั หมด (Total Plate Count) ในผลิตภัณฑ วัตถุดิบสมุนไพรและเครื่องเทศ

ประเภทของการใหบริการ

1. การตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี 2. การตรวจหาเชื ้ อ ก อ โรคที ่ ส ำคั ญ ๆ ในผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหาร สมุ น ไพร เครือ่ งสำอาง เชน S.aureus, E.coli, Clostridium spp., Pseudomonas aeruginosa, Bacillus cereus, Salmonella spp. เปนตน ® 3. การจำแนกชนิดของเชื้อจุลินทรียโดยเครื่อง VITEK 2 Systems ของบริษัท bioMérieux, Inc.

การตรวจวิเคราะหเพือ่ กำหนดปริมาณรังสี

กรณีการตรวจวิเคราะหจำนวนจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลัง การฉายรังสี เพียงทานทราบเกณฑมาตรฐานของผลิตภัณฑชนิดนั้น ๆ และใชบริการ ตรวจวิเคราะหหาปริมาณเชื้อจุลินทรียทั้งหมดกอน/หลังฉายรังสี

ขอดีของงานบริการ

1. ตรวจกอนฉายเพือ่ ใหสามารถกำหนดปริมาณรังสีไดถกู ตองแมนยำมากขึน้ ผลิตภัณฑจะไมไดรบั ปริมาณรังสีมากหรือนอยเกินไป 2. การกำหนดปริมาณรังสีดำเนินการโดยเจาหนาที่ของศูนยฉายรังสีที่มี ประสบการณดา นนีโ้ ดยตรง 3. เพือ่ ใหมน่ั ใจวาผลิตภัณฑทม่ี ปี ริมาณเชือ้ จุลนิ ทรียอ ยูใ นเกณฑมาตรฐาน ของผลิตภัณฑชนิดนัน้ ๆ

*ติดตอขอรับบริการเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-401-9885 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ

9/9 หมูท ่ี 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th FUSION MAGAZINE 3


Social Surround | Text : Grayscale

Social Surround Innovative : แคกระพริบตา

Social Surround

ขาวดีสำหรับผูทุพพลภาพที่ต อไปนี้จะสามารถ เลนเกมคอมพิวเตอรออนไลน แบบไมต องใช อวัยวะสัมผัสแลว เพียงมีเจาอินเตอรเฟซ คอมพิวเตอรสมองที่ออกแบบโดย Christoph Hintermuller โดยทีม G.Tec Guger ทำให การเลนเกมเปนไปไดงายอาศัยความถี่ ในการกระพริบของดวงตาสัมผัสกับหนาจอ เพียงแคมองไปที่ลูกศร นอกจากเกมแลว ยังอยูใ นระหวางการพัฒนาตอเพื่อใชสำหรับ อุปกรณไ ฟฟาภายในบานอีกดวย

What’s up : ทัลคัมภัยใกลตัว

แปงทัลคัม (Talcum Powder) สวนผสมของแปงทาตัว ที่ผลิตจากแรหินทัลค (Talc) โดยผานการบดละเอียด นำไปอบแหง ฆาเชือ้ และแยกสิง่ ปนเปอ นออก โดยแรชนิดนี้ จะไมสามารถทำใหบริสุทธิ์ได โดยองคการอนามัยโลก (WHO) และ U.S Environmental Protection Agency จัดใหเปน Unclassifiable Carcinogen (สารกอมะเร็งทีไ่ มสามารถจัดจำพวก) แรชนิดนี้ยังไมสามารถยอยไดดวยจุลินทรียในธรรมชาติอีกดวย หากสูดดมในปริมาณมาก ก็จะสงผลตอรางกายซึ่งเปนสาเหตุ หนึ่งของภูมิแพ นักวิทยาศาสตรยังพบอีกวาหากใชกับบริเวณ อวัยวะเพศก็มีอัตราเสี่ยงจากการเปนมะเร็งรังไข แตทั้งนี้ ยังไมสามารถระบุไดชัดเจน แตมีโอกาสเสี่ยงสูงเชนกัน ที่มา: popular science

4 FUSION MAGAZINE

Lifestyle : เหมือนนอนในงานศิลป

ใครมีแผนจะไปชิคาโกชวงเดือนนี้แลวละก็ แนะนำใหเปด แอปพลิเคชัน Airbnb จองหองพักราคาเพียงคืนละ 360 บาท ที่สถาบันศิลปะแหงชิคาโก เขาไดจำลองภาพวาดของแวนโกะ จำนวน 36 ชิ้นมาแสดงและใหนักทองเที่ยวพักและสัมผัส ความรูส กึ ของแวนโกะ ภาพ Bedroom in Arles ของแวนโกะ ไดกลายมาเปนภาพที่มีชื่อเสียงในทางศิลปะ ความเรียบงาย ของภาพแสดงใหเห็นถึงชีวติ ทีส่ มถะและเรียบงาย หรืออีกแงหนึง่ อาจกลาวไดวา ภาพนี้ไดแสดงถึงมุมมองของ ศิลปนในยุค โรแมนติกผูห นึง่ ที่ “อุทศิ ชีวติ ทัง้ ชีวติ เพือ่ ทุม เทใหกบั งานศิลปะ” ระหวางพักฮัมเพลง Starry Night ไปดวยก็ไดบรรยากาศดี ที่มา : gizmodo.com


People talk : อดนอนเหมือนเสพกัญชา

การอดนอนทำใหค ุณหิวไดต ลอดเวลาเหมือนกับ เสพกัญ ชานั่นแหละ เพราะการอดนอนจะทำให ระบบการควบคุมรางกายหลัง่ ฮอรโมนและกระตุน ใหเกิดความหิวขึน้ มาได ซึง่ มีลกั ษณะเชนเดียวกับ การสูบกัญ ชา จากการวิจัยพบวา ผูที่นอนเพียง 4 ชัว่ โมง/วัน รางกายก็พบความผิดปกติทำใหหวิ และกินไดตลอดทัง้ วันแบบไมรจู กั อิม่ รูแ บบนีแ้ ลว ตองหาเวลานอนใหเพียงพอนะ

CITY : โซลารฟารม มิกกี้เมาส

Cool : เรื่องของกลวย

กลวยเปนผลไมที่มีประโยชนแบบที่บางคนอาจจะ ยังไมรู การกินกลวย 50 ผลตอวันทำใหไดรับคา รั งสี เ ท า กั บ การเอกซเรยฟ น เพราะในกลวยมี โพแทสเซียมที่มีไอโซโทปกัมมันตรังสีเปนสวน ประกอบ นอกจากนี้กลวย 2 ผลยังใหพลังงาน ที ่ เ พี ย งพอได ถ ึ ง 90 นาที และมั น ยั ง ช ว ยแก อาการเมาคางไดซะดวย นัน่ ก็เพราะโพแทสเซียม ในกลวยทำใหเราสรางเมาไดดี กลวยสีเหลือง เปนสายพันธุที่พบเมื่อป ค.ศ.1836 กลวยที่พบ กอนหนานี้จะเปนสีเขียวและแดง ซึ่งนั่นแหละ รสชาติก็ไมดีเหมือนตอนนี้ การกินกลวยชวยลด ความเครียดไดดีอีกดวย ที่มา : banana nourish FUSION MAGAZINE 5

Social Surround

ขาวลาสุดจาก Duke Energy ซึ่งมุงมั่นที่จะทำ แหลงทดแทนพลังงานและเพิ่มปริมาณพลังงาน ในสหรัฐฯ ใหไดมากที่สุด โครงการฟารมพลังงาน แสงอาทิตยในวอลตดสิ นียเ วิลดรสี อรต เมืองออรแลนโด รัฐฟลอลิดา เปนตัวอยางที่ดีอยางหนึ่งของวิธีการ ทำใหพลังงานทดแทนสามารถเขาถึงไดงายขึ้น ดวยเนื้อที่ขนาด 22 เอเคอร ประกอบดวยแผนเซลล แสงอาทิตย 48,000 แผง มีกำลังการผลิตทั้งสิ้น 5 เมกะวัตต คาดการณกันวาโซลารฟารมนี้ จะชวย ลดกาซคารบอนไดออกไซดกวา 50% ของโครงการ


Did you Know | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

RADIATION CONTAMINATION VERSUS EXPOSURE เราไดรบ ั รังสีทางใดบาง ขอแนะนำเมื่อตองเผชิญกับสารรังสี

การไดรับรังสีจากภายนอกรางกาย สารรังสีจะเกาะตามผิวหนัง เสนผม และเสือ ้ ผา โดยแบงเปนได 3 ลักษณะคือ

ในอากาศ

ของแข็ง

ของเหลว

การไดรับรังสีเขาสูภายในรางกาย

สารรังสีจะสามารถเขาสูร า งกายได การสูดหายใจเขาทางจมูก ผิวหนังทีม ่ บ ี าดแผลเปด และจะเกิดการสะสมในสวนตาง ๆ ของรางกายทีแ่ ตกตางกัน

การสูดหายใจ

บาดแผลเปด

อวัยวะภายใน

การไดรับรังสี

สารรังสีสามารถแผรง ั สีในรูปแบบพลังงาน โดยแผออกไปในรูปของอนุภาค หรือคลื่น คนเราไดรับรังสี ไมจำเปนวาตองมีการ เปรอะเปอนจากรังสี

เมื่อเราไปเอกซเรย

เราเพียงไดรับพลังงานจากรังสีเอกซ ไมไดมก ี ารเปรอะเปอ  นทางรังสีจากตนกำเนิด ที่มา : http://emergency.cdc.gov/radiation

6 FUSION MAGAZINE


หากไดรับการเปรอะเปอนทางรังสี

การกำจัดสารปนเปอนจากตัวเองและคนรอบขาง

ถอดเสื้อผา

ทีส ่ ม ั ผัสสารปนเปอ  น โดยถอดอยางระมัดระวัง

บรรจุภาชนะ

เชน ถุงพลาสติก ถุงดำทีส ่ ามารถปดมิดชิด

นำไปทิ้ง

ใหหา งจากผูค  นและสัตวเลีย ้ ง

หากไมสามารถอาบน้ำได ใหลา งมือ หนาและสวนตาง ๆ ของรางกาย ทีอ ่ า งลางหนา หรือกอกน้ำดวยสบู

ชำระลางรางกาย

หลีกเลีย ่ งการขัดถูกตัวแรง ๆ ใชเพียงแชมพู หรือสบู

งดใชครีมนวด

เพราะจะทำใหสารรังสี ไปติดบนเสนผมได

หากไมมอ ี า งลางหนา

ใหทำความสะอาดดวย ผาเปยกหมาด โดยเฉพาะใบหนา มือ หู และจมูก

หากไมมีเสื้อผาที่สะอาด เปลี่ยนเสื้อผา

ทีส ่ ะอาดมาสวมใส โดยเสือ ้ เหลานัน ้ ตองอยูห  า งจากสารกัมมันตรังสี

การใหความชวยเหลือผูอื่น

ตองสวมถุงมือกันน้ำและผาปดปาก หากมีบาดแผลควรลางบาดแผลใหสะอาด

ใหถอดชุดเดิมสะบัดแรง ๆ หรือใชแปรงปด ทำความสะอาด กอนทีจ ่ ะนำมาสวมใสอก ี ครัง ้ หลังจากนัน ้ ใหลา งมือ ลางหนา ชำระลาง เช็ดทำความสะอาดรางกายอีกครัง ้

ชวยเหลือสัตวเลี้ยง

เมือ ่ ทำความสะอาดผูอ  น ่ื หรือสัตวเลีย ้ งแลว อยาลืมทำความสะอาดรางกายดวยเชนกัน

FUSION MAGAZINE 7


Idea Design | Story : Brown Bear ลาแคไหน ไดกลับมาพักผอนที่บานถือเปนการผอนคลายที่ดีที่สุดเชียว และจะดีขึ้นไปอีกหากมีเฟอรนิเจอรดีไซนล้ำ ชวยเติมไอเดียบรรเจิด เปนแรงบันดาลใจไดอยางดีทีเดียว

designboom โคมไฟแบบโปรงเขากันดี สำหรับบานโมเดิรน อะไร ๆ ก็ดูขาวคลีนไปหมด สวยแบบนอย ๆ คงตองมีใครบางคนชอบบางแหละนา! found on : designboom.com

Quercus

Idea Design

โคมไฟตั้งโตะจากวัสดุ เหลือใช ดวยจุกกอก จากขวดไวนสุดหรู ตอเติมประยุกตจนดูดี ถามีไวที่โตะทำงาน คงจะเจงไมเบา found on : upcycledzine.com

อางลางหนาแบบเกาก็เหมือนกันทุกบาน แตถา ไดแบบนีล ้ ะ คงรูส  ก ึ กระฉับกระเฉง เหมือนรูปลักษณของแกวกาแฟรอน ๆ ลองคิดดูวา แคตื่นมาลางหนาก็ทำให นึกถึง แกวกาแฟรอน ๆ พรอมดวย ฤทธิ์ของกาเฟอีนเปนแน found on : Thegadgetflow.com

Cup Wash Basin

8 FUSION MAGAZINE


| Idea Design Fun Silhouette Hangers ทีแ่ ขวนของรูปแมว จะตัง ้ ตรงไหน วางมุมไหนก็เพิม ่ ความนารัก ใหบา นไดนะ ทาสแมวทัง ้ หลายคงจะพลาดไมไดอยางแนนอน found on : designboom.com

The Cosmos Bed นอนดูดาวกันแบบโรแมนติกที่สุดไมตองไปไหนไกล กับที่นอนสุดเจง ถึงฟาจะปดแคไหนก็ไมตองหวงแลวละ found on : fastcodesign.com

HOME IS YOURS! BUSTER BULBS ARE BACK ! โคมไฟเท ๆ ดีไซนยอนยุค คลายหลอดไส ภายในเปนหลอด LED คุณภาพสูง จะอยูมุมไหน ก็สวยดุ ยิ่งเปนบานสไตลลอฟต หรืออินดัสเทรียลดีไซนแลวละก็ พลาดไมไดเลยนะเนี่ย found on : busterandpunch.com

FUSION MAGAZINE 9


Cover Story | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ความสำคัญของ

บุคลากรดานวิทยาศาสตร “งานวิจัยทางวิทยาศาสตรไมควรถูกใชเพื่อเปนประโยชนตอใครคนใดคนหนึ่ง แตควรถูกใชใหเปนประโยชนตอ  คนทัง ้ โลก” คำกลาวของมารี คูรี หนึง ่ ในนักวิทยาศาสตร หญิงที่สำคัญคนหนึ่งของโลก ผูคนพบธาตุเรเดียมที่ทำใหวงการแพทยเปลี่ยนไป อยางสิ้นเชิง เชื่อวาผูอานทุกทานนาจะเคยถูกสอนมาวาวิชาวิทยาศาสตรทำใหเราคิดแบบ มีหลักการอยางมีเหตุมีผล วิทยาศาสตรเปนพื้นฐานของเทคโนโลยีรอบ ๆ ตัว ดังนั้นเราทุกคนควรตั้งใจเรียนวิทยาศาสตร คำกลาวนี้มักถูกนำมาเอยถึงบอย ๆ เมือ ่ มีการพูดถึงความสำคัญของวิชาวิทยาศาสตร ผูเ ขียนมองวาคำกลาวนีถ ้ ก ู ตอง แตยง ั ขาดสิง ่ สำคัญทีเ่ รียกไดวา เปนหัวใจของวิทยาศาสตรไป ก็คอ ื นักวิทยาศาสตร เรามาเริ่มทำความเขาใจกันกอนวาวิทยาศาสตรคืออะไร ? ทำไมเราตองเรียนดวย และนักวิทยฯ มีความสำคัญตอประเทศอยางไร ? Fusion Mag เลมนี้ จะมาตอบคำถาม ที่คนสวนใหญละเลย และความสำคัญของอาชีพที่เรียกวา นักวิทยาศาสตร 10 FUSION MAGAZINE


รูจักกับวิทยาศาสตร วิทยาศาสตร หรือ science มีรากศัพท มาจากภาษาละตินคำวา scientia ซึง่ หมายความวา ความรูหรือการไดมาซึ่งความรูทางวิทยาศาสตร ใด ๆ ตองผานสิ่งที่เราเรียกวา กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร อันประกอบดวยการสังเกต เพือ่ ตัง้ คำถาม เก็บรวบรวมขอมูล การตัง้ สมมติฐาน การทดลองเพือ่ ทดสอบสมมติฐานและการสรุปผล จากนัน้ กระบวนการทัง้ หมดตองไดรบั การตรวจสอบ ซ้ำอยางละเอียดโดยนักวิทยาศาสตรทานอื่น เพื่อยืนยันผลอีกดวย ซึ่งระบบการตรวจสอบ เชนนีม้ ปี ระสิทธิภาพอยางมาก คารล พอพเพอร นั ก ปรั ช ญาผู  ฉ ลาดหลั ก แหลมได อ ธิ บ ายว า สมมติ ฐ านใด ๆ ต อ งอยูในสถานะที่สามารถ ทำให เป น เท็ จ ได (falsiffiifiable) ซึ ่ ง หลั ก การนี ้ จะช ว ยให เราสามารถแยกแยะวิ ท ยาศาสตร และสิ่งที่ไมเปนวิทยาศาสตรหรือวิทยาศาสตร ลวงโลก (pseudoscience) ยกตัวอยางดังนี้ สมมติวานาย A ไดตั้งสมมติฐานวาดวงอาทิตย สามารถส อ งแสงได เพราะมี ม นุ ษ ย ต  า งดาว แอบจุดไฟใหดวงอาทิตยลุกไหม ขณะเดียวกัน นาย B ไดตั้งสมมติฐานวาดวงอาทิตยเหมือน ถานรอนที่ถูกเผาไหมอยูตลอดเวลาจึงสองแสง คำถามคือ สมมติฐานใดเปนวิทยาศาสตรมากกวา คำตอบคือ สมมติฐาน A ไมเปนวิทยาศาสตร เพราะเราไมสามารถพิสูจนการมีอยูของมนุษย ต า งดาวทั ้ ง ในอดี ต และป จ จุ บ ั น นาย A ก็ไม สามารถพิสจู นสมมติฐานของเรือ่ งมนุษยตา งดาว ใหผูอื่นเห็นไดเชนกัน สวนนาย B มีความเปน วิทยาศาสตรมากกวา เพราะมีโอกาสเปนจริง ไดมากกวา แมในปจจุบนั เรารูแ ลววาดวงอาทิตย สามารถสองแสงไดจากปฏิกริ ยิ านิวเคลียรฟว ชัน ไม ได เ กิ ด จากการเผาไหม แบบถ า นในกองไฟ แม ส มมติ ฐ าน B จะผิด แตก ็สามารถพิสูจ น ได ว  า ผิ ด ในขณะที ่ ส มมติ ฐ าน A ไม ส ามารถ พิสูจนใหผิดไดเลย เพราะเรายังไมรูวามนุษย ตางดาวมีจริง อีกกรณีหนึ่งคือ สมัยกอนเราเชื่อ กันวาโลกเปนศูนยกลางจักรวาล ดวงอาทิตย ดาวต า ง ๆ หมุ น รอบโลกจนกระทั ่ ง นิ โคลั ส โคเปอร น ิ ค ั ส และนั ก วิ ท ยาศาสตร ค นอื ่ น ได พิสูจนใหเห็นวาดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของ ระบบสุ ร ิ ย ะเหตุ ก ารณ ใ นครั ้ ง นั ้ น ได ป ฏิ ว ั ติ ความเชื ่ อ เกี ่ ย วกั บ โลกของเราไปตลอดกาล

มาถึงตรงนี้หลายคนคงสงสัยวา “แลวเราจะเชื่อในวิทยาศาสตรไดอยางไร ในเมื่อความรูเปลี่ยนแปลงไปตามแตละยุคสมัย” สิ่งที่เปนตัวบงบอกถึงความเชื่อได ถึงแมความรูทางวิทยาศาสตร จะมี ก ารเปลี ่ ย นแปลงอยู  ต ลอดเวลา แต ก ารเชื ่ อ ในองค ค วามรู  ไมไดทำใหความงดงามของวิทยาศาสตรลดลงจากทีก ่ ลาวมาทัง ้ หมด

FUSION MAGAZINE 11


Cover Story |

Cover Story

สำคัญตอประเทศอยางไร ผูอานคงทราบแลววาเราไมสามารถ ละเลยใจความสำคั ญ ของวิ ท ยาศาสตร ได การคิดอยางเปนเหตุเปนผล การคัดกรองขอมูล การวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ดวยกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร กอนที่จะปกใจเชื่อเรื่องใด เรื่องหนึ่ง สำหรับยุคสมัยนี้ ซึ่งมีขาวลวงโลก แพรกระจายในโลกโซเชียลอยูท กุ วัน การคิดแบบ วิทยาศาสตรถือวาสำคัญมากเมื่อเรารูแลววา วิทยาศาสตรคืออะไร และทำไมตองเรียน วิทยาศาสตร คำถามคือ นักวิทยาศาสตร นักวิจยั มีความสำคัญตอประเทศอยางไร ในฐานะ ที่ผูเขียนเปนนักวิทยาศาสตรและเลือกเรียน ในคณะวิทยาศาสตร เราคงตองยอมรับวา สำหรับประเทศไทยแลวอาชีพนักวิทยาศาสตร ไมใชอาชีพที่ไดรับความนิยม ในมุมมองของ ผูเ ขียน หากมองในระดับประเทศ ประเทศไทย ใหความสำคัญกับวิทยาศาสตรคอนขางนอย ไมวา จะเปนภาครัฐหรือภาคเอกชน เพราะถา หากเปรี ย บเที ย บงบประมาณ ที ่ ก ระทรวง วิทยาศาสตรไดรบั ในแตละปจะพบวามีนอ ยกวา ประเทศที่พัฒนาแลวอยาง สหรัฐอเมริกา หรือในเอเชียอยางสิงคโปร ญี่ปุนและเกาหลี (ไทยไดงบในการวิจัย 0.25% ของ GDP) และในอนาคตจะมีการเพิ่มเปน 2% หรือ ประมาณ 9,725,674,000 ลานบาท การทีง่ บ ประมาณวิจัยนั้นมีคอนขางนอย มีผลทำให นักวิทยาศาสตร มีตนทุนในการทำวิจัยนอย ลงไปดวย ขณะเดียวกันสายตาของคนทั่วไป ที่มองนักวิทยาศาสตรมักมองวาเปนกลุมคน ที่เขาถึงยากดวยเหตุนี้เองทำใหนักวิจัยเอง ไมสามารถสื่อสารไดวา งานวิจัยชิ้นนี้มีขอดี ตอสังคมไทยอยางไร สงผลใหงานวิจัยที่ดี ๆ หลายชิ้นถูกมองวาเปน “งานวิจัยขึ้นหิ้ง” การที ่ เราจะสามารถลบคำนี ้ อ อกไปได น ั ้ น นักวิทยาศาสตรตองเปนฝายนำเสนองานนั้น ดวยภาษาที่เขาใจงายตอสังคม ชี้ใหเห็นวา สังคมจะไดรับประโยชนใดจากงานชิ้นนั้น งานวิจัยเชิงทฤษฎี งานวิจัยหลาย ๆ อยางที่ นักวิทยาศาสตรทำออกมามักเปนงานวิจยั เชิง วิทยาศาสตรบริสทุ ธิ์ ยังไมสามารถนำมาใชจริง ไดในปจจุบัน ทำใหถูกมองวาทำไปก็ไมคุม จริงอยูท ง่ี านวิจยั ประเภทนีอ้ าจจะไมตอบโจทย 12 FUSION MAGAZINE


Cover Story

ความตองการของสังคม ไมสามารถเปลี่ยนเปนนวัตกรรมหรือเม็ดเงินได แตหากมองใน ระดับโลก ที่องคความรูทางวิทยาศาสตรยังไมครบถวนสมบูรณ งานวิจัยเหลานั้นจะกลาย เปนจิก๊ ซอวแหงความรูช น้ิ เล็กทีค่ อ ย ๆ ประกอบลงในภาพขนาดใหญมโหฬารใหสมบูรณยง่ิ ขึน้ งานวิจัยที่ใชได แตยังไมตอบโจทยความตองการของประเทศ ผูเขียนขอเลาถึงอาจารย ทานหนึ่งของผูเขียนเอง อาจารยทานนี้ไดรับทุนและเลือกเรียนวิศวกรรมนิวเคลียรในตาง ประเทศ ตั้งแตยุคที่ประเทศไทยยังไมเดือดรอนเรื่องคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใชผลิตไฟฟา เปนที่รูกันวาในยุคนั้นโรงไฟฟานิวเคลียร อาจไมใชสิ่งที่ตอบโจทย การลงทุนเรียนและ ทำวิจัยในดานนี้อาจไมเกิดประโยชนในตอนนั้นแตก็เปนที่ประจักษชัดแลววาในอีกไมนาน มันจะตองเกิดประโยชนแนนอน หากประเทศไทยสงนักวิทยาศาสตรรุนใหม ทำวิจัยเรื่อง เตาปฏิกรณฟวชันในวันนี้ ก็ไมแนวาอีก 10 ปขางหนา มันอาจจะเปนโรงไฟฟานิวเคลียร ฟวชันที่ใชไดจริงในเชิงพาณิชย ดังนั้นการตระเตรียมบุคลากรที่มีความสามารถไวตั้งแต ตอนนี้ คงไมใชเรื่องเสียหายอยางแนนอน และแมพวกเขาจะยังไมไดทำหนาที่ตามที่ ร่ำเรียนมา แตพวกเขาก็จะกลายเปนอาจารยที่สามารถถายทอดความรูใหกับคนรุนใหม ๆ จากที่กลาวมาเห็นไดชัดแลววา แมงานวิจัยบางอยางจะไมตอบโจทยของสังคม แตสิ่ง หนึ่งที่เราไดมา คือ นักวิจัยที่มีคุณภาพ หากเรามองกลับมาที่เทคโนโลยีนิวเคลียรที่ใชไดจริง ในปจจุบัน จะพบวามีงานวิจัยหลายชิ้นที่มีประโยชนอยางยิ่ง การพัฒนาอาหารฉายรังสี การปรับปรุงพันธุพืช การกำจัดศัตรูพืช การกำจัดแมลงที่อันตราย การทำหมันแมลงวัน การทำหมันยุงลาย การใชรังสีทางธรณีวิทยา การพัฒนายารักษาโรค การผลิตยาเภสัชรังสี เวชศาสตรเชิงนิวเคลียร การเพิ่มคุณภาพใหอัญมณี และการใชรังสีในอุตสาหกรรม เปนตน

อาชีพนักวิทยาศาสตรไมไดมีแคการอยูในหองทดลองอยางที่ใคร ๆ เขาใจกัน จริงๆ มีความหลายหลากในสาขาอาชีพเปนอยางมากและยังมีความตองการสูง FUSION MAGAZINE 13


Cover Story |

สุดทายนี้ ลองนึกเลน ๆ วา หากวันหนึ่งประเทศของเราไมมีนักวิทยาศาสตร ทีค ่ อยสรางสรรคงานวิจย ั เราคงตองคอยรับเทคโนโลยีจากตางชาติเพียงฝายเดียว แปลวา เรากำลังลาหลังสังคมโลก นัน ่ คงไมใชเรือ ่ งทีน ่ า ยินดีแนนอน ดังนัน ้ การทุม  ทุน เพื่อผลิตนักวิทยาศาสตรรุนใหม การสื่อสารความรูทางวิทยาศาสตรออกสูสังคม และการสรางสรรคงานวิจย ั ทัง ้ เชิงทฤษฎีและเชิงประยุกต จึงเปนการทำใหประเทศไทย กาวหนา จากทัศนคติและมุมมองของนักวิทยาศาสตรรน ุ ใหม อาชีพนักวิทยาศาสตร เปนอาชีพที่ทาทายความสามารถ เห็นสิ่งที่ไมมีคุณคาทำใหมีคุณคา เปนอาชีพที่เห็น สิ่งที่มีประโยชนนอยทำใหมีประโยชนมาก สามารถสรางสรรคทรัพยากรใหมีคุณคา เปนอาชีพที่คนทั่วไปมองไมเห็นแตนักวิทยาศาสตรมองเห็นหรืออาจจะเห็นกอนใคร เปนอาชีพที่มองเห็นจุดของแสงสวางกอนใครในทามกลางความมืด เปนอาชีพที่มี ความอิสระเชิงความคิด สรางสิ่งที่เปนองคความรูสูมวลชนอยางไมมีขอบเขต และสรางสรรคโลก เพื่อความเปนอารยธรรมแหงปญญาอยางแทจริง

14 FUSION MAGAZINE


เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

| Komkid

คม คิด

ALL TRUTH ARE EASY TO

UNDERSTAND ONCE THEY ARE

DISCOVERED, THE POINT IS TO

DISCOVER THEM.

Charles Robert Darwin - Naturalist / ชาลส ดารวิน - นักวิทยาศาสตร / นักธรรมชาติวิทยา

“เรือ ่ งตาง ๆ มันงายทีจ ่ ะเขาใจเมือ ่ มีการคนพบ ประเด็นคือเราตองหามันใหเจอ”

ความสำคัญของ “นักวิทยาศาสตร” เมื่อเด็กๆ มาเยี่ยมชมหองปฏิบัติการ ตั้งใจทำงาน

ครืด ๆ

fiดร.ครับ พี่คนนั้น ทำอะไรอยู ดูนาสนุกจัง !

พวกเขา

เปนผูเชี่ยวชาญ ทางดาน วิทยาศาสตร นิวเคลียร เราเรียกวา

นักวิจัยไงละ

คอนโทรล ๆ

นี่คือเหตุผลที่เราตองมี นักวิทยาศาสตรนำความรู ไปพัฒนาตอยอดเพื่อพัฒนา ประเทศของเราไงละ

อกาารเหกษาตรร

เจงอะ อยากเปนบาง!

เทจุง งานวิจัย

การแพทย

พวกเขานำความรูเชิงเทคโนโลยี นิวเคลียร ไปพัฒนาประยุกตใช ในดานตาง ๆ ที่เปนประโยชน

เทจัง!

เรื่อง / ภาพ : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

FUSION MAGAZINE 15


Scientech | เรื่อง : ดร.รพพน พิชา

ระเบิดไฮโดรเจน (Hydrogen bomb)

ระเบิดไฮโดรเจนใชหลักการของปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันของธาตุ ตัวเล็กที่สุดในโลก ซึ่งฟวชัน คือ การรวมกันของนิวเคลียสธาตุเบา กอนทีจ ่ ะกลาวถึงเรือ ่ งระเบิด เรามารูจ  ก ั กับปฏิกริ ย ิ านิวเคลียรกน ั สักหนอย สสารในจักรวาลนี้มีอะตอมเปนสวนประกอบ ใจกลางของอะตอมคือนิวเคลียสซึ่งประกอบไปดวย นิวตรอนและโปรตอน นิวเคลียสแบงไดเปน 2 กลุม ใหญ ๆ คือ กลุม เสถียรและไมเสถียร กลุม ทีน่ า สนใจ ในเชิงนิวเคลียรคอื กลุม ทีไ่ มเสถียร ซึง่ มีอกี ชือ่ เรียกวา ไอโซโทปรังสี ซึง่ จะมีการสลายตัวตลอดเวลา การสลาย ตัวของนิวเคลียสนี้ คือ การลดระดับพลังงานลง ซึ่งกอใหเกิดพลังงานที่ปลอยออกมา ซึ่งอาจอยูในรูป การเคลือ่ นที่ รังสี ความรอน ทำใหมกี ารเกิดพลังงาน 16 FUSION MAGAZINE

นิวเคลียรในรูปแบบทีเ่ รียกวาการสลายตัวของนิวเคลียส (nuclear decay) เวลาทีน่ วิ เคลียสสองชนิดมาชนกัน ก็อาจจะกระเจิงออกจากกันเฉย ๆ หรือสามารถ จะสรางใหเกิดนิวเคลียสชนิดใหมขึ้นมา เรียกวาการ เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร (nuclear reaction) ก็ได ซึง่ หากจำนวนและการจัดเรียงตัวไมเสถียร ก็จะสลาย ตัวตอไดและสรางพลังงานไดเชนเดียวกับการสลายตัว โดยปฏิกริ ยิ านิวเคลียรหลัก ๆ ทีส่ ามารถผลิตพลังงาน ไดมหาศาลมีอยู 2 ชนิดดวยกัน คือ ฟชชัน (ffiisfi sion)

และฟวชัน (fusion) โดยฟชชันจะเริ่มจากนิวเคลียส ขนาดใหญ (เลขมวล 200 กวา) เชน ยูเรเนียมหรือ พลูโตเนียม ขณะทีฟ่ ว ชันจะใชเชือ้ เพลิงเปนนิวเคลียส ขนาดเล็ก (เลขมวล 2-3) เชน ไฮโดรเจน แตทั้งคู ก็มกี ระบวนการคลายกัน คือ 1. ทำใหเชือ้ เพลิงเปลีย่ น ไปเปนสภาวะที่ไมเสถียร 2. รอใหสภาวะนั้นเกิดการ สลายตัวและปลอยพลังงานออกมา การเกิดฟชชัน แตละครั้ง จะใชมวลเชื้อเพลิงประมาณ 450-500 u (u คือหนวยมาตรฐานของมวลหนวยหนึ่ง ซึ่ง 1 u


| Scientech เปนมวลของอนุภาคนิวตรอนหรือโปรตอน 1 ตัว) และจะได พ ลั ง งานออกมาราว 150-200 MeV (MeV คือหนวยของพลังงาน) ในขณะทีก่ ารเกิดฟวชัน จะมีมวลเชื้อเพลิงประมาณ 4-5 u และไดพลังงาน 2-18 MeV ซึ่งหากเทียบในมวลเชื้อเพลิงที่เทากัน ฟ ว ชั นจะให พ ลั ง งานราว 2-10 เท า ของฟ ช ชั น เรื่องการใชพลังงานนิวเคลียรไมใชเรื่องใหมสำหรับ มนุษย การคนพบนิวเคลียสและการใชงานไอโซโทป รังสีนั้นมีมานานราว 100 ปแลว ในขณะที่เครื่อง ปฏิกรณนิวเคลียรซึ่งใชปฏิกิริยาฟชชันถูกสรางขึ้น เครือ่ งแรกเมือ่ เกือบ 75 ปมาแลว (ค.ศ. 1942) นับไดวา นิวเคลียรเปนสิ่งที่อยูคูกับโลกมานานพอสมควร แน น อนว า ทุ ก สิ ่ ง มี ด  า นที ่ ส ร า งสรรค แ ละด า นที่ ไมสรางสรรค ดังเชนพลังงานนิวเคลียร ซึ่งสามารถ ผลิตพลังงานไดสูงนั้น นอกจากมนุษยจะนำมาใช ประโยชน เชน สรางไฟฟา ใชรกั ษามะเร็ง ศึกษาวิจยั ก็ยอ มมีการใชในทางทำลายลาง เชน ระเบิดนิวเคลียร ระเบิดนิวเคลียรที่สหรัฐอเมริกาใชในสงครามโลก ครัง้ ที่ 2 ทีญ ่ ป่ี นุ นัน้ ไดสรางความสูญเสียอันใหญหลวง ทีเ่ รียกวาอะตอมมิกบอมบ (atomic bomb) เปนการ ใชเชือ้ เพลิงทีป่ ระกอบไปดวยนิวเคลียสหนัก ทัง้ ยูเรเนียม (ระเบิด Little Boy) และพลูโตเนียม (ระเบิด Fat Man) ถูกกระตุน ใหอยูใ นภาวะทีไ่ มเสถียรดวยการจับนิวตรอน เขาไปแลวเกิดเปนปฏิกริ ยิ าฟชชันลูกโซ ซึง่ เปนปฏิกริ ยิ า เดียวกับทีใ่ ชงานในโรงไฟฟานิวเคลียร แตขอ แตกตาง คือระดับความเขมขนของเชื้อเพลิงในโรงไฟฟาจะต่ำ กวาในระเบิดมาก และในโรงไฟฟายังมีระบบปองกัน อั น ตราย ไม ใ ห เ กิ ด ความร อ นที ่ ส ู ง เกิ น กำหนด จึงไมสามารถเกิดอันตรายในรูปแบบการระเบิดได ดังระเบิดนิวเคลียร ในทางตรงกันขามระเบิดไฮโดรเจน อาศัยปฏิกริ ยิ าฟวชันของนิวเคลียสเบา เชน ดิวทีเรียม หรือทริเทียม สองนิวเคลียสเขามารวมกัน ขอแตกตาง ที่สำคัญมากจากระเบิดนิวเคลียรแบบฟชชัน ก็คือ การที่นิวเคลียสนั้นจะไมอ ยากเข ามารวมกั น โดย ธรรมชาติ เนือ่ งจากแรงผลักทางไฟฟาทีม่ อี ยูแ รงมาก ดังนั้นในขณะที่เราสามารถสงนิวตรอนใหเขาไปจับ กับนิวเคลียสของยูเรเนียมไดโดยงายในการทำฟชชัน

ดวงอาทิตยสรางพลังงานมาจากปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันของไฮโดรเจน

แตหากเราตองการจะใหนิวเคลียสของดิวทีเรียม เขามารวมกัน จะตองใชพลังงานใสเขาไปจำนวนมาก เพื่อจะบีบอัด เอาชนะแรงผลักทางไฟฟานั้นใหได ดวยเหตุนี้พลังงานฟวชัน ซึ่งเปนพลังงานธรรมชาติ ของดวงอาทิตยนั้น จึงทำใหเกิดขึ้นไดยากกวาฟชชัน บนโลก เราจึงมีโรงไฟฟานิวเคลียรฟชชันเกินกวา 400 แหงทัว่ โลก แตโรงไฟฟานิวเคลียรฟว ชันนัน้ ยังอยู เพียงในระดับหองทดลองเทานัน้ ระเบิดไฮโดรเจนนัน้ มีความยากขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง เพราะจะตองอาศัย การเกิดระเบิดอีกรูปแบบหนึง่ ขึน้ กอน เพือ่ จะใชแรงดัน และอุณหภูมนิ น้ั เหนีย่ วนำใหเกิดปฏิกริ ยิ าฟวชันตามมา เรียกไดวา การสรางฟวชัน จะตองลงทุนสูงแตผลผลิต จากพลังงานที่ไดมานับวาไดกำไรมหาศาลทีเดียว ขอแตกตางอีกอยางหนึง่ ระหวางปฏิกริ ยิ าฟวชัน และฟชชัน คือ ผลทีไ่ ดหลังจากปฏิกริ ยิ าสิน้ สุด ในขณะ ทีฟ่ ช ชันจะทำใหเกิดนิวเคลียสใหมทเ่ี ปนไอโซโทปรังสี ชีวติ ยาว ทำใหเกิดปญหาเกีย่ วกับรังสีตกคางในบริเวณ ทีท่ ำปฏิกริ ยิ าตอมาเปนเวลานาน แตฟว ชันมักจะไมคอ ย สรางไอโซโทปรังสีเหลานัน้ หากมีกเ็ ปนตัวทีม่ คี รึง่ ชีวติ ทีส่ น้ั ทำใหฟว ชันไมคอ ยมีปญ  หาเรือ่ งกากกัมมันตรังสี

Teller-Ulam two-stage thermonuclear bomb design booted fission primary

chemical explosion heavy metal case

และถูกนับวาเปนแหลงพลังงานที่สะอาดกวาฟชชัน สรุ ปก็ ค ื อ ระเบิ ด ไฮโดรเจนเป นการผลิ ต พลั ง งาน นิวเคลียรรูปแบบหนึ่ง พลังงานนิวเคลียรเปนแหลง พลังงานทีม่ อี ยูใ นธรรมชาติ ซอนตัวอยูใ นไอโซโทปรังสี โดยโลกเรา รางกายเรา ทุกอยางรอบตัวเรามีการสง พลังงานนิวเคลียรออกมาตลอดเวลาจากการสลายตัว โดยฟชชันและฟวชันก็เปนพลังงานนิวเคลียรอีก รูปแบบหนึ่ง ซึ่งเกิดจากการที่นิวเคลียสทั้ง 2 ชนิด มาพบกันและเกิดปฏิกริ ยิ า ซึง่ ใหพลังงานแบบเขมขน ซึ่งหากไมมีพลังงานฟวชันที่มหาศาลจากดวงอาทิตย โลกเราก็จะเปนกอนน้ำแข็ง มนุษยก็ไมสามารถดำรง ชีวติ อยูไ ด การคนพบและการผลิตพลังงานนิวเคลียร ทั้งฟชชันและฟวชันนี้บนโลกนับเปนความสำเร็จ อันยิ่งใหญของมนุษยชาติ ซึ่งก็ขึ้นอยูกับมนุษยเองวา จะนำพลังงานทีม่ ศี กั ยภาพมหาศาลนีไ้ ปใชในรูปแบบใด การใชพลังงานนิวเคลียรในรูปแบบที่มีประโยชนตอ ชีวติ ก็มอี ยูม ากมายดังเชนที่ สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร แหงชาติ (องคการมหาชน) ปฏิบัติกันอยู แตก็เปน ธรรมดาทีเ่ ราคงหลีกเลีย่ งไมไดทจ่ี ะตองมีคนบางกลุม นำเทคโนโลยี น ี ้ ไปใช ในด า นที ่ ไม ส ร า งสรรค น ั ก Credit : @2008 Encyclopedia eritannica, Inc.

x-rays polystyrene foam

fission fuel

fusion secondary fissionable “spark plug” uranium fusion fuel

1. Chemical explosion compresses fission fuel to initiate fission.

2. X-rays from primary are reflected by casing and heat foam.

3. Foam, now a plasma, compresses secondary; fissionable “spark plug” ignites.

4. Fusion fuel ignites.

รูปที่ 2 การเกิดระเบิดไฮโดรเจน เชือ ้ เพลิงฟวชัน (เปนรูปทรงกระบอกอยูส  ว  นลาง) ซึง ่ เปนนิวเคลียสมวลเบาจะถูกแรงระเบิด จากอีกสวนหนึง ่ ของทุน  ระเบิด (อยูส  ว  นบน) บีบอัดใหเกิดปฏิกริ ย ิ าหลอมรวมและสรางพลังงานอันมหาศาล (แหลงทีม ่ า สารานุกรมบริทานิกา)

FUSION MAGAZINE 17


Machinery Sight | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

วิเคราะหธาตุดว  ย

เครื่องมือ ICP-MS (Inductively coupled plasma mass spectrometer) เรื่อง : วรรณี ศรีนุตตระกูล | นักวิทยาศาสตรนิวเคลียรชำนาญการพิเศษ เครือ ่ งมือ ICP-MS (Inductively coupled plasma mass spectrometer) เปนเครื่องมือที่ใชวิเคราะหธาตุ โดยการวิเคราะหมวลของไอออนที่เกิดจาก การเหนี ่ ย วนำของพลาสมา ซึ ่ ง เทคนิ ค การวิ เ คราะห น ี ้ เ รี ย กว า ICP-MS (Inductively coupled plasma mass spectrometer) โดยมีหลักการ คือ สารละลายตัวอยาง จะถูกทำใหเปนละอองลอยดวยกระบวนการ nebulization ละอองลอยขนาดเล็กจะถูกนำเขาสูพ  ลาสมา ซึง ่ มีอณ ุ หภูมส ิ ง ู ถึง 10,000 เคลวิน ทำใหตวั ทำละลายระเหยกลายเปนโมเลกุลของแข็ง และระเหยเปนแกส เกิดการ atomization ทำใหเปนอะตอม และทำใหเปนไอออนดวยกระบวนการ ionization จากนัน ้ วิเคราะหมวลของไอออนทีเ่ กิดขึน ้ ตามอัตราสวนของมวลตอประจุซง ่ึ เปน สัดสวนโดยตรงกับความเขมขนของธาตุนน ้ั ๆ ในสารตัวอยาง

18 FUSION MAGAZINE


| Machinery Sight

เครื่องมือ ICP-MS ประกอบดวยระบบ นำสงตัวอยาง (sample introduction system) แหลงกำเนิดพลาสมา (ICP ion sources) สวนเชือ่ มตอ (interface) สวนกำจัดสารรบกวน (octopole reaction system; ORS) เครือ่ งวิเคราะหมวล (mass analyzer) เครือ่ งตรวจวัด และบันทึกผล (detector and recorder) เทคนิค ICP-MS สามารถวิเคราะหธาตุได มากกวา 70 ธาตุในตารางธาตุ ตั้งแตลิเทียม (Li) ถึงยูเรเนียม (U) ดังนัน้ จึงสามารถประยุกต ใชงานไดเกือบทุกดานทีต่ อ งการวิเคราะหธาตุ ทัง้ เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เชน ดานอาหาร และยา การเกษตร สิ่งแวดลอม การแพทย และชีวเคมี ดานโลหะวิทยา ดานปโตรเลียม และดานนิวเคลียร เปนตน ตัวอยางที่นำมาวิเคราะหดวยเทคนิค ICP-MS เชน ดินและพืช (ขาว ผัก หญา) ตัวอยางประเภทนีเ้ ราตองการทราบวา มีปริมาณ ธาตุแตละชนิดเทาใด ในแตละพื้นที่พืชชนิด เดียวกันอาจมีปริมาณธาตุทแ่ี ตกตางกัน ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก บั ปจจัยหลายอยาง เชน ลักษณะของดิน ปริมาณธาตุหรือองคประกอบของดิน ลักษณะ ภูมอิ ากาศ และการใชปยุ และสารเคมี เปนตน ตัวอยางงานวิจัยโครงการ “การประเมินตัว ประกอบการถายโอนจากดินสูข า วของธาตุเสถียร และนิ ว ไคลด ก ั ม มั น ตรั ง สี ต ามธรรมชาติ ” ตองการทราบวาปริมาณธาตุเสถียรและนิวไคลด กัมมันตรังสีตามธรรมชาติทอ่ี ยูใ นดินสามารถ ถายโอนไปยังขาวไดเทาใด หรือสามารถดูดซึม ธาตุเหลานั้นจากดินไดเทาใด ซึ่งขอมูลที่ได สามารถใชเปนตัวแทนในการประเมินธาตุทเ่ี ปน กัมมันตรังสีได เชน ซีเซียมทีเ่ สถียร คือ Cs-133 ใชเปนตัวแทนของซีเซียมทีเ่ ปนสารกัมมันตรังสี คือ Cs-137 และสตรอนเชียมที่เสถียร คือ Sr-88 ใชเปนตัวแทนของสตรอนเชียมที่เปน สารกัมมันตรังสี คือ Sr-90 ได

นอกจากนีย้ งั สามารถประเมินไดวา มีธาตุทเ่ี ปนประโยชนตอ รางกายในขาวเทาใด เชน เหล็ก ทองแดง แมงกานีส และสังกะสี รวมถึงปริมาณธาตุทเ่ี ปนพิษ เชน ตะกัว่ และแคดเมียม เปนตน สำหรับโครงการวิจยั รวมทีไ่ ดรบั ทุนสนับสนุนจากทบวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) Research Contract No. 15623 หัวขอ“Determination of Isotopic Composition and Elemental Concentration in Rice by Nuclear and ICP-AES Techniques” และโครงการวิจยั RAS 5062 หัวขอ “Building Technological Capability for Food Traceability and Food Safety Control Systems Through the Use of Nuclear Analytical Techniques” มีวตั ถุประสงคเพือ่ ตองการทราบปริมาณธาตุและอัตราสวนของไอโซโทปในขาวของประเทศไทย ไดแก ขาวพันธุข าว ดอกมะลิ 105 และขาวพันธุสังขหยด เพื่อใชเปนฐานขอมูลของขาวทั้งสองพันธุดังกลาว ซึง่ มีประโยชนในทางการคาทีส่ ามารถบงชีท้ างภูมศิ าสตรหรือระบุไดวา ขาวทีซ่ อ้ื ขายกันในตลาดโลก มาจากประเทศใด และมีการปลอมปนขาวหรือไม เมือ่ เปรียบเทียบเทคนิค ICP-MS กับเทคนิค XRF (X-ray Ffl luorescence) ทีใ่ ชวเิ คราะหองคประกอบธาตุเชนเดียวกัน พบวา เทคนิค ICP-MS สามารถวิเคราะหธาตุไดในระดับต่ำกวา คือ ระดับไมโครกรัมตอกิโลกรัม และสามารถวิเคราะห บางธาตุไดในระดับนาโนกรัมตอกิโลกรัม สำหรับเทคนิค XRF ใชสำหรับวิเคราะหธาตุในระดับ เปอรเซ็นตและมิลลิกรัมตอกิโลกรัม ขอแตกตางสำหรับการเตรียมตัวอยางสำหรับการวิเคราะห

คือ ตัวอยางสำหรับเทคนิค ICP-MS ตองเปนสารละลายใส ดังนั้นจึงตองมีการยอยตัวอยาง ที่เปนของแข็งใหเปนสารละลายดวยกรดชนิดตาง ๆ เชน กรดไนตริก กรดไฮโดรฟลูออริก และกรดไฮโดรคลอริก เปนตน ซึง่ การเลือกใชกรดแตละชนิดตองเลือกใหเหมาะสมตอการวิเคราะห สวนตัวอยางสำหรับเทคนิค XRF เปนไดทั้งของแข็งและของเหลว สรุปเทคนิค ICP-MS นี้ สามารถตรวจสอบธาตุในปริมาณนอยๆ ไดในระดับไมโครกรัมตอกิโลกรัม และนาโนกรัม ตอกิโลกรัมสำหรับบางธาตุ ซึ่งวิธีอื่นๆ ไมสามารถตรวจสอบได และสามารถวิเคราะหธาตุ ไดหลาย ๆ ธาตุพรอมกัน ดวยเวลาที่รวดเร็ว ประมาณ 3 นาทีตอตัวอยาง FUSION MAGAZINE 19


On the Earth | Text : Grayscale

7

ดอกไม ชนิด

ทีม ่ ค ี วามสวยงามติดอันดับโลก

ดอกไมเปรียบเสมือนเพศหญิงทีม ่ ค ี วามงดงาม ละมุน ซับซอน แทนหลากหลายความรูส  ก ึ ถอยคำทีเ่ ห็นพองกัน ทัว่ โลกอยางนาอัศจรรย ทีนเ้ี รามาดูกน ั วา 10 ดอกไมชนิดใดทีต ่ ด ิ อันดับจนเปนทีย ่ อมรับกันอยางแพรหลาย

Cherry Blossom

•••••••••••••••••••••••••

นอกจากในประเทศอเมริกาแลว สำหรับในโซนเอเชียก็มีใหชม ความงดงามเชนกัน Cherry Blossom หรือ ซากุระ ดอกไม ประจำชาติของญี่ปุน ภาษาดอกไมของคนญี่ปุนใหคำนิยาม ของดอกซากุระวา คือ “ความสำเร็จ หรือหัวใจที่ีเขมแข็ง”

Dahlia

•••••••••••••

พันธุดอกไม อันมีถิ่นกำเนิดจากชนพื้นเมืองของอเมริกากลาง เม็กซิโก โคลัมเบีย มีลักษณะเปนพวง ชื่ออยางเปนทางการ คือ เด ดาหล หรือคนไทยรูจักกันในชื่อ รักเร มีมากกวา 20,000 สายพันธุ แนนอนวาดอกรักเรเองก็มีความหมาย ที่ถูกนิยามไว และ “ความไมมั่นคงไมแนนอน” คือความรูสึก ที่ถูกซอนอยูในดอกรักเรนั่นเอง

Bleeding Heart

•••••••••••••

ดอกไมมีลักษณะคลายกระดิ่งรูปทรงหัวใจ มีชื่อไทยหลากหลาย อาทิ หทัยหยาดทิพย โลหิตแหงหัวใจ หรือดอกหัวใจเจาน้ำตา เปนชื่ออยางไมเปนทางการที่ถูกขนานนามตามลักษณะของดอก มีทั้งสีชมพู แดง และขาว พบไดในชวง พฤษภาคม - มิถุนายน แมจะเปนดอกไมที่มีลักษณะคลายหยดน้ำตาดั่งวาเกิดความเสียใจ แตความหมายแทจริงหมายถึงน้ำตาแหงความดีใจนั่นเอง

20 FUSION MAGAZINE


| On the Earth •••••••••••••••••••••••••••••••

Canna

พุทธรักษา หรือดอกไมสญ ั ลักษณวน ั “พอ” ในทางพุทธศาสนา “พุทธรักษา” หมายถึง พระพุทธเจาทรงปกปองคุม  ครอง ใหมแี ตความสงบสุขรมเย็น ซึง ่ มีเรียกกันมากวา 200 ป และสีเหลืองอันเปนสีประจำวันพระราชสมภพ ขององคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห  วั ฯ ของปวงชนชาวไทย การมอบดอก พุทธรักษาใหกบ ั พอ จึงเสมือนกับการบอกถึงความรักและเคารพบูชาพอ ผูส  รางความสงบสุขรมเย็นใหแกครอบครัว

••••••••••••••

Rose

อีกหนึง ่ ดอกไมทแ่ี ทนความหมายของความรัก ความโรแมนติก ซึง ่ รูจ  ก ั กัน อยางแพรหลายและใหคำนิยามในทิศทางเดียวกันทัว่ ทุกมุมโลก แตกระนัน ้ เพราะความหลากหลายสีของดอกกุหลาบจึงทำใหแตละสีมีความหมาย ทีแ่ ตกตางกัน แตทง ้ั หมดนัน ้ ก็จะเปนไปในดานความรัก

Tulip

•••••••••••••••••••••••••

ทิวลิป มีความนิยมมากทีส ่ ด ุ ในโลก ตนสายพันธุจ  ากภาคใตของยุโรป แอฟริกา จนมาถึงเอเชีย เมือ ่ พันกวาปทผ ่ี า นมาแลว ดอกทิวลิปเปนสัญลักษณ ของกษัตริยต  รุ กี และจากความเชือ ่ อีกเรือ ่ งหนึง ่ คือ ชือ ่ ของดอกไมชนิดนี้ ไดมค ี ำทีเ่ หมือนกับเครือ ่ งสวมศีรษะของชาวเปอรเซียทีเ่ รียกวา turban และสามารถเขียนไดเปน “toliban” ในภาษาละติน และ “tolipa” สุดทายจึงกลาย มาเปน tulip ดอกทิวลิป เปนสัญลักษณของ จินตนาการ ความใฝฝน  คูร ก ั ที่สมบูรณแบบ และความรักที่เปดเผย

White Lotus

•••••••••••••••••

ดอกบัวสีขาว หรือ Egyptian white water lily หรือ Tiger lotus ในดินแดนของอียิปตโบราณนั้นมีดอกบัวสองชนิดที่ขึ้นอยู คือ ดอกบัวสีน้ำเงิน และดอกบัวสีขาว และหากสังเกตดูในจารึกอักษรภาพ หรือเฮียโรกลิฟฟก ก็จะพบวามีภาพของดอกบัวปรากฏอยูบอยครั้ง ในความหมายของชนอียิปตนั้น ดอกบัวเปนตัวแทนของสามความหมาย คือ การเกิดใหม ความตาย และการผนึกรวมกันของอียิปตเหนือและใต ความหมายในดานศาสนาพุทธหมายถึง ความบริสุทธิ์ จิตใจที่สงบ ผองแผวสดใส และศาสนาฮินดูไดใหความหมายวา สื่อถึงความงาม ความงอกเงย จิตวิญญาณ และความเปนนิรันดร ทั้งดอกบัวยังเปน สัญลักษณที่ปรากฏมาพรอม ๆ กับเทพของฮินดู

FUSION MAGAZINE 21


Voyage | Story : Grayscale

เที่ยวมาเลเซีย ดินแดนหลากสีสัน

สุดสัปดาหน้ี การเดินทางทีค่ ดิ วาประทับใจ ไมรูลืมเปนสถานที่ที่อยากจะเลาบรรยากาศ อบอุน และสำคัญอยูไ มไกลจากประเทศไทยนัก ระยะทางประมาณ 1,733 กิโลเมตรหลายคน เลือกเสนทางสูป ระเทศมาเลเซียผานทางภาคใต จังหวัดสงขลา หากเลือกจะขับรถซึ่งจะผาน เขาประเทศทางปนัง แตครั้งนี้เราจะมุงหนา สูก วั ลาลัมเปอรโดยเครือ่ งบิน จะประหยัดเวลา ไดมากกวา โดยที่นี่ไมตองขอวีซาใหยุงยาก เพียงมีพาสปอรตสัญชาติไทยเราก็สามารถ อยูไ ดถงึ 30 วัน และแนนอน มันมากพอสำหรับ การเดินทางครั้งนี้เชียวละ ที่กรุงกั​ัวลาลัมเปอรแหงนี้ การเดินทาง ก็แสนสะดวกไมวา จะเปนรถไฟฟา KL Sentral หรือ Rapid KL บานเมืองที่นี่มีระเบียบและ สะอาดจนเราเองอดอิจฉาไมได เมื่อเขาทีพ่ กั เสร็จก็เริ่มกันเลย กัวลาลัมเปอรเปน 1 ใน 3 เขตสหพันธของประเทศมาเลเซีย (Malaysian Federal Territories) ลอมรอบดวยรัฐสลังงอร (Selangor State) บนชายฝงตะวั นตก ตอนกลางของคาบสมุทรมาเลเซีย (Penisular Malaysia) เดิมที่ไดรับการยกฐานะใหเปน เมืองหลวงของมาเลเซีย กอนจะถูกยายไปที่ ปุตราจายา ถึงกระนัน้ กัวลาลัมเปอร ยังคงเปน 22 FUSION MAGAZINE

ศูนยกลางธุรกิจและการคมนาคมของประเทศ กองทัพตองเดินดวยทองกอนจะคิดหาทางตอไป แนนอนครัง้ นีเ้ ราไมมแี ผนอะไรเลย หวังเพียงวา จะเดินทางตามที่ความรูสึกจะพาไป กลับไปคราวนี้ นอกจากความสุขแลว เห็นทีจะเปนน้ำหนักตัวนีล่ ะ อาหารถูกปากใชได เลยทีเดียว หลังจากเติมพลังเรียบรอยสิง่ หนึง่ ทีค่ ดิ วาตองไปเสียกอน คือ ตึกแฝด เปโตรนาส (Petronas Towers) ซึง่ เคยติดอันดับตึกแฝด ทีส่ งู ทีส่ ดุ ในโลก แตปจ จุบนั โดนแซงไปเสียแลว สรางโดยบริษทั ปโตรเลียมเนชัน่ แนลเบลล ฮาท หรือ ปโตรนาส ซึง่ เปนบริษทั ผลิตและจำหนาย น้ำมันที่เรารูจักกันดีนั่นเอง ผลของการไมเตรียมตัวนั่นคือการจะขึ้น ชมตึกแฝดเราตองซื้อตั๋วกอน โดยที่นี่เปดให บริการ 8.00-20.00 น. ทำใหคิวคอนขางยาว และผูคนหนาแนนไมนอยเทากับวาเชาวันนี้ เราจะยังไมไดขึ้นไปชม แตเราไดตั๋วมาแลว ระหวางนี้ก็ไดหาสถานที่ตอไปเพื่อฆาเวลา และเราก็เลือกทีจ่ ะมุง หนาสู พิพธิ ภัณฑศลิ ปะ อิสลาม (Islamic Arts Museum) ซึ่งอยู บริเวณสวนพฤกษชาติเปอรดานา และทีน่ เ่ี อง ถูกจัดใหเปนพิพิธภัณฑศิลปะอิสลามที่ใหญ ทีส่ ดุ ในเอเชียเสียดวย ภายในประกอบไปดวย

ผลงานตาง ๆ กวา 7,000 ชิน้ แบงเปน 12 โซน ดวยกัน ซึ่งแนนอนการจำลองสถาปตยกรรม ทีน่ ก่ี เ็ ปนศิลปะอิสลามจะมีผสมผสานศิลปะจีน อยูบ า งทัง้ ถวยชาม ของโบราณตาง ๆ มันชาง ดูสวยงาม สงบและลงตัว เราใชเวลานานพอ สมควรกับการเสพศิลปะกอปรกับเวลาทีจ่ ะนำ เราขึ้นชมตึกแฝดความสวยงามที่กลาวถึงวา คุมคาและคุณตองมาสัมผัสเองกับความสูง ระดั บ นี ้ มองเห็ น เมื อ งหลวงอย า งทั ่ ว ถึ ง อากาศที่จะวาไปอุณหภูมิก็ไมแพบานเราเลย แตสำหรับผูที่รักในการออกแบบ อยากชืน่ ชม สถาปตยกรรมแลวละก็ ตองขอแนะนำที่นี่ หอคอยกั ว ลาลั ม เปอร เคแอลทาวเวอร (KL Tower) สถานีสง สัญญาณโทรคมนาคม ชัน้ บนสุดจะมีผนังกระจกรอบดานเพือ่ ใชเปน จุดชมทิวทัศน เมื่อลงมาจากตึกแฝดระฟา ถึงตอนนี้ทองเราเริ่มโหยหาอาหารอีกครั้ง จึงมุงหนาสู ลิตเติล อินเดีย (Little India) สถานที่แหงนี้คละคลุงไปดวยกลิ่นเครื่องเทศ ผาหลากสี เฮนนาและการเตนระบำหนาทอง ใหความรูสึกเหมือนมาเที่ยวประเทศอินเดีย ไดไมนอ ย ทีส่ ำคัญอาหารทีน่ ก่ี ย็ งั อรอยในแบบ อินเดียเสียอีก พระอาทิตยเริ่มคลอยต่ำลง แนนอนการเดินทางของเรายังไมจบลงเพียงเทานี้


หอคอยเคแอลทาวเวอร ใจกลางเมืองกัวลาลัมเปอร เมื่อเราขึ้นไปสามารถสองไดทั้งเมือง

Kushch Dmitry / Shutterstock.com

คืนนีเ้ ราจะไปเทีย่ วกันตอที่ บูกติ บินตัง (Bukit Bintang) หรือสตารฮิลล ยานชอปปงและ สถานบันเทิงที่ใหความรูสึกเหมือนฮาราจูกุ ในญี่ปุนไมนอย หลังจากนี้เราจะกลับที่พัก และเตรียมตัวสำหรับการเดินทางในวันพรุง นี้ จะวาไปเริ่มหลงมนตเสนหของกัวลาลัมเปอร แลวละสิ เพราะที่นี่รายลอมดวยสถานที่ทาง ประวัติศาสตรแหลงเรียนรูมากมาย สุดทายนี้เปนที่รูกันวาประเทศมาเลเซีย เปนอีกประเทศทีม่ กี ารใชเทคโนโลยีนวิ เคลียร อยางกวางขวางทั้งเรื่องการฉายรังสีอาหาร ผลผลิตทางการเกษตร การปรับปรุงพันธุพืช การผลิตสารเภสัชรังสี การปรับปรุงคุณสมบัติ ของยางถือเปนผลิตภัณฑสำคัญของประเทศ มาเลเซียมีความเชี่ยวชาญ คือ การถายทอด ความรูดานเทคโนโลยีนิวเคลียรแกประเทศ ผูท ส่ี นใจ โดยเฉพาะประเทศในตะวันออกกลาง ซึ่งสรางรายไดใหกับมาเลเซียไมนอยทีเดียว ในอนาคตอันใกลนี้มาเลเซียยังมีโครงการ โรงไฟฟานิวเคลียรซึ่งแผนพลังงานมาเลเซีย เพื่อลดปริมาณการผลิตไฟฟาจากถานหินให เหลือเพียง 60% ของพลังงานไฟฟาทั้งหมด ไมแนวาเราอาจจะเห็นมาเลเซียเปดโรงไฟฟา นิวเคลียรเปนประเทศแรก ๆ ใน AEC ก็เปนได

ถาอยากสัมผัสบรรยากาศคลายกับการไปชอปปงที่อินเดีย ไมตองไปไหนไกลที่มาเลเซียก็มี

บูกิต บินตัง ยานชอปปงชื่อดังของมาเลเซีย แหลงรวมวัยรุนคลายกับฮาราจูกุของญี่ปุน

FUSION MAGAZINE 23


Activities News | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน เยือนสาธารณรัฐ อิสลามอิหรานอยางเปนทางการ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน ในระหวางการเยือนสาธารณรัฐ อิสลามอิหรานอยางเปนทางการในวันที่ 2-5 กุมภาพันธ 2559 ไดพูดคุยกับ Dr. Sorena Sattari รองประธานาธิบดี ดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และประธาน National Elites Foundation และเราไดตกลงที่จะลงนามบันทึกขอตกลง ความรวมมือดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม ระหวางไทยกับอิหรานรวมกันนอกจากนี้ อิหรานมีความสนใจ เรือ ่ งการฉายรังสีผลไมและพลอย ซึง ่ กระทรวงวิทยาศาสตรฯ โดยสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) เชีย ่ วชาญและมีศน ู ยฉายรังสีเพือ ่ การสงออกอยูแ ลวอีกดวย

กระทรวงวิทยฯ โชวเทคโนโลยีกำจัดยุงลาย แบบครบวงจร ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล โฆษกกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปดเผยวา กระทรวงวิทยาศาสตรฯ ตระหนักถึง ความหวงใยของนายกรัฐมนตรีทม ่ี ต ี อ  ประชาชน ทีต ่ อ  งการให วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรม เขาไปมีสว นพัฒนาคุณภาพ ชีวต ิ ของประชาชนอยางแทจริงโดยเฉพาะชวงนีท ้ ม ่ี ก ี ารระบาด ของโรคไขเลือดออกและโรคอืน ่ ๆ ทีย ่ ง ุ ลายเปนพาหะ กระทรวงฯ มีงานวิจย ั หลากหลายทีใ่ ชในการจัดการยุงและโรคทีเ่ กิดจากยุง แบบครบวงจร เชน การใชรง ั สีทำหมันยุงลาย เพือ ่ ลดปริมาณ ยุงในธรรมชาติ ซึง ่ เปนโครงการวิจย ั ของสถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) รวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล และกรมวิทยาศาสตรการแพทย โดยนำตัวโมงของยุงลาย ตัวผูม  าฉายรังสีแกมมา ในปริมาณ 70 เกรย ซึง ่ จะทำใหยง ุ ลาย เปนหมัน กอนปลอยออกสูธ  รรมชาติ งานวิจย ั นีค ้ าดวาจะใชเวลา ประมาณ 1ป ในการวิจย ั และทดสอบประสิทธิภาพใหเหมาะสม กับสภาพแวดลอมในประเทศไทย

สัมมนาพบผูใชบริการฉายรังสี ประจำป 2559 ดร.พรเทพ นิศามณีพงษ ผสทน. เขาพบผูบ  ริหารกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ประกอบดวย ดร.วีระพงษ แพสุวรรณ ปกท.วท. คุณสมชาย เทียมบุญประเสริฐ รอง ปกท.วท. คุณอลงกรณ เหลางาม ผูช  ว ย ปกท.วท. และ ดร.เชาวลิต ลิ้มมณีวิจิตร เลขานุการ รมว.วท. เขาพบ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวา การกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพือ ่ มอบ กระเชาผลไมเนือ ่ งในเทศกาลปใหม 2559 นอกจากนีย ้ ง ั ไดรบ ั มอบแนวทาง การปฏิบต ั ง ิ านจาก ทานรัฐมนตรี วท. เมือ ่ วันที่ 5 มกราคม 2559

24 FUSION MAGAZINE


สทน. และ ปส. รวมลงนามความรวมมือ กับบริษท ั ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) เมือ ่ วันที่ 21 มีนาคม 2559 สำนักงานปรมาณูเพือ ่ สันติ รวมลงนามความรวมมือ ระหวางบริษท ั ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ และสถาบัน เทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ซึ่ง ปส. และ สทน. เปนหนวยงานภายใตสง ั กัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เพือ ่ ประโยชนในการเชือ ่ มโยงขอมูลอิเล็กทรอนิกส ระหวางหนวยงานของรัฐ โดยผานระบบการเชือ ่ มโยงขอมูล อิเล็กทรอนิกสจุดเดียว หรือ National Single Window (NSW) ภายใตระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จัดกิจกรรมวันคลายวันสถาปนากระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจำป 2559 เนือ ่ งในวันคลายวันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจำป พ.ศ. 2559 ครบรอบปที่ 37 และจัดพิธีมอบเกียรติบัตร “คนดีศรี วท.” ประจำป 2558 ซึง ่ มีผไู ดรบ ั เกียรติบต ั ร “คนดีศรี วท.” จำนวน 17 ราย โดยไดรับเกียรติจาก ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเปนประธานในพิธีและ มีหัวหนาหนวยงานในสังกัด ขาราชการ พนักงาน เจาหนาที่ของกระทรวงวิทยาศาสตรฯ รวมในพิธี ณ หองโถงชั้น 1 อาคารพระจอมเกลา กระทรวงวิทยาศาสตรฯ โดย ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลาววา กระทรวงวิทยาศาสตรฯ เกิดขึ้นจากการเล็งเห็นถึงความสำคัญของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่จะสามารถพัฒนาประเทศใหทันกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยในวันที่ 24 มีนาคม 2522 ไดมีประกาศจัดตั้งเปนกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการพลังงาน รับโอนหนวยงานที่มีอยูเดิม ไดแก กรมวิทยาศาสตรบริการ สำนักงานคณะกรรมการวิจย ั แหงชาติ สำนักงานคณะกรรมการสิง ่ แวดลอมแหงชาติ สำนักงานพลังงานแหงชาติ สำนั ก งานพลั ง งานปรมาณู เ พื ่ อ สั น ติ และสถาบั น วิ จ ั ย วิ ท ยาศาสตร ป ระยุ ก ต แ ห ง ประเทศไทย จั ด ตั ้ ง ศู น ย เ ทคโนโลยี แ ห ง ชาติ 3 ศู น ย ไดแก ศูนยพน ั ธุวศ ิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแหงชาติ ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ ศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ จัดตั้งเทคโนธานีและอุทยานวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อรวมการวิจัยครบวงจร

FUSION MAGAZINE 25


Interview | เรื่อง : สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

สัมภาษณพเิ ศษนักวิจย ั ดานนิวเคลียรในประเทศไทย ภาพ / เรื่อง ฝายสื่อสารองคการ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

สทน. เปนเจาภาพจัดอบรมนิสิต นักศึกษา ระดับอาเซียน ดานนิวเคลียรฟวชันครั้งที่ 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากร วิทยาศาสตรนวิ เคลียร รองรับงานวิจย ั นิวเคลียรฟว ชันในอนาคต

26 FUSION MAGAZINE


ไดรบ ั ทุนการศึกษาจากรัฐบาล เพือ ่ ศึกษาตอดานไหน ระดับใด ทุนการศึกษาดานนิวเคลียรระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก สาเหตุที่เลือกเรียนสาขานี้ ชวงนั้นเห็นวาเปนสาขาที่นาสนใจ และทาง ประเทศไทยยังไมคอ ยมีบคุ ลากรดานนีเ้ ทาไหร ถามีความรูด า นนีก้ ลับมา นาจะมาชวยประเทศ ไดไมมากก็นอย การทำงานในปจจุบน ั มีงานวิจย ั ภารกิจหนาที่อะไรบาง หลัก ๆ ตอนนีอ้ ยูฝ า ยวิจยั ฟสกิ สของกลุม วิจยั และพัฒนานิวเคลียร ซึง่ มีหวั ขอวิจยั หลากหลาย มีเจาหนาทีอ่ ยูป ระมาณ 11-12 คน แตละคน ก็จะดูแลดานตาง ๆ ก็จะมีดานการวิเคราะห ด ว ยรั ง สี เช น การถ า ยภาพด ว ยนิ ว ตรอน การวิเคราะหดวยรังสีเอกซ หรือการจำลอง โดยใชคอมพิวเตอรดเู หตุการณความปลอดภัย ทางนิวเคลียร หรือการออกแบบการรักษาดวย รังสีทางการแพทย (เวชศาสตรนิวเคลียร) ขอทราบความเห็นและมุมมอง เรือ ่ งความจำเปนในการพัฒนา บุคลากรดานนิวเคลียรกบ ั การ พัฒนานิวเคลียรในไทย ปจจุบันนิวเคลียรก็ยังมีคนคอนขางนอยมาก สวนตัวคิดวานิวเคลียรยงั ไงก็อยูใ นอนาคตของ ประเทศแนนอน เพราะฉะนั้นก็ตองมีคนมา ทำงานดานนี้กันเยอะ ๆ ซึ่งนิวเคลียรที่จริง ก็มีหลายดาน คือเราตองมีทิศทางที่แนนอน วาเราอยากจะไปดานไหน เราก็จะสงคนไปเรียน แลวก็สรางคนใหม ๆ ขึ้นมาตามสาขาที่เรา ตองการไดจริง คือ กลับมาแลวทำงานและได ใชประโยชนจากมันไดจริง ฝากถึงเยาวชนใหสนใจ เรือ ่ งการศึกษาและพัฒนาดาน นิวเคลียรในประเทศไทย นิวเคลียรเปนสาขาทีย่ งั คอนขางแอ็กทีฟมาก ๆ ทัง้ ประเทศไทยและทัว่ โลกเปนสาขาทีน่ า เรียน ยิง่ อนาคตถามีโรงไฟฟานิวเคลียร หรือการวิจยั นิวเคลียรระดับใหญ ระดับประเทศก็ตอ งการ คนเยอะในหลายดาน ซึง่ ถาเราลองดูกอ็ าจจะ เปนดานทีน่ อ งชอบ อยางใน วพ. มี 40-50 คน แตละคนก็ทำงานหลากหลายดาน คิดวาเปน สาขาที่มีอนาคตคอนขางไกล ถาเราชอบมัน เราก็จะทำงานไดอยางมีความสุข

นิวเคลียรเปนสาขาที่คอนขาง แอ็กทีฟมาก ทัง ้ ประเทศไทยและทัว่ โลก เปนสาขาที่นาเรียน ยิ่งอนาคตถามี โรงไฟฟานิวเคลียร หรือการวิจัย เทคโนโลยีนิวเคลียรระดับใหญ ๆ

ดร.รพพน พิชา

หัวหนาฝายฟสิกสและวิศวกรรม สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

FUSION MAGAZINE 27


Interview | ไดรบ ั ทุนการศึกษาจากรัฐบาล เพือ ่ ศึกษาตอดานไหน ระดับใด ไดรบั ทุนจากกระทรวงวิทยาศาสตร ซึง่ เปนทุน แบบบุคคลทั่วไป ตอนนั้นยังไมไดบรรจุใน สังกัดใด ไดรับทุนไปศึกษาเกี่ยวกับทางดาน รี แ อ็ ก ชั ่ น ไคเนติ ก วิ ศ วกรรมเคมี ในระดั บ ปริญญาโทและปริญญาเอก สาเหตุทเ่ี ลือกเรียนสาขานี้ (สาขาทีไ่ ดรบ ั ทุน) เป น สาขาย อ ยของวิ ช าที ่ เคยเรี ย นมาก อ น รูสึกวามีความสุข เรียนแลวเขาใจ การทำงานในปจจุบน ั มีงานวิจย ั หรือภารกิจหนาที่อะไรบาง ปจจุบนั งานหลัก คือ ทำวิจยั โดยจะมีโครงการ ที่แบงเปน 3 หัวขอ อันแรกจะเกี่ยวกับการ ศึ ก ษาการกั ด กร อ นของวัสดุที่ใชในเครื่อ ง ปฏิกรณนิวเคลียร อยางถาเปนเครื่องรีเสิรช รีแอ็กเตอร เปนเครื่องปฏิกรณเพื่อการวิจัย ก็จะเปนพวกอะลูมเิ นียมอัลลอย คือ ศึกษาวา กัดกรอนยังไงบาง ดูผลของรังสี ถาเปนโรง ไฟฟานิวเคลียรจะเปนเครื่องปฏิกรณที่มันจะ ทำงานที่อุณหภูมิสูง ก็ตองดูวัสดุที่เปนตัวอื่น

ขอทราบความเห็นหรือมุมมอง เรือ ่ งความจำเปนในการพัฒนา บุคลากรดานนิวเคลียรกบ ั การพัฒนาดานนิวเคลียรในไทย จริง ๆ แลวเปนเรื่องที่สำคัญมาก เราอาจจะ มองวาคนสวนใหญ นึกถึงนิวเคลียรกจ็ ะนึกถึง โรงไฟฟา หรือระเบิดแลวก็มองวาประเทศเรา ยังไมถึงจุดนั้น เชน เรื่องโรงไฟฟานิวเคลียร ประเทศไทยยังไมมโี รงไฟฟา สมมุตวิ า เรามอง ถึงแงดี คือ ใชประโยชนอยางเชนโรงไฟฟา เราก็จำเปนตองมีการเตรียมบุคลากรลวงหนา จริงอยูมันยังไมเกิดขึ้นแตวาถาสุดทายเรา ไมมีทางเลือกใดเลยเกี่ยวกับพลังงานของชาติ สิ่งที่ดีที่สุดทางหนึ่ง คือ การสรางโรงไฟฟา นิวเคลียร ถึงจุดนั้นการเตรียมคนหรือเตรียม แผนตาง ๆ ใชเวลากวา 10-20 ป เลยทีเดียว ฝากถึงเยาวชนใหสนใจ เรือ ่ งการศึกษาและพัฒนาดาน นิวเคลียรในประเทศไทย ถาใครคิดวาอยากลอง อยากทำอะไรที่มัน สำคัญและทาทาย ก็มองวาการศึกษาทาง ดานนิวเคลียรก็เปนทางเลือกที่นาสนใจ

กนกรัชต ตียพันธ

วิศวกรนิวเคลียร ศูนยเครื่องปฏิกรณ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

28 FUSION MAGAZINE

ดร.กชพรรณ กาญจนะ

นักวิทยาศาสตรนิวเคลียร สถาบันเทคโนโลยีนว ิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ไดรบ ั ทุนการศึกษาจากรัฐบาล เพือ ่ ศึกษาตอดานไหน ระดับใด ทุนรัฐบาลไทยศึกษาดาน Radiation Health Physics หรือ Nuclear Engineer ในระดับ ปริญญาโทและปริญญาเอก ที่สหรัฐอเมริกา สาเหตุทเ่ี ลือกเรียนสาขานี้ (สาขาทีไ่ ดรบ ั ทุน) เลือกเรียนโท Radiation Health Physics เอก Nuclear Engineer สาเหตุทเ่ี ลือกเพราะ ตองการนำความรูท ไ่ี ดมาพัฒนาการออกแบบ ทางวิศวกรรม การบริหารจัดการทางดานรังสี และพัฒนาบุคลากรดานฟสิกสสุขภาพหรือ วิศวกรนิวเคลียร เพื่อนำความรูประยุกตใช ใหเกิดความปลอดภัยทางดานนิวเคลียรและรังสี ตอผูปฏิบัติงานและประชาชน การทำงานในปจจุบน ั มีงานวิจย ั หรือภารกิจหนาที่อะไรบาง การทำงานป จจุ บ ั น เป นวิ ศ วกรนิว เคลียร ชำนาญการ เกีย่ วกับการจัดแกนเครือ่ งปฏิกรณ ใชโปรแกรมคอมพิวเตอร MCNP และ MVP การจั ด การด า นความปลอดภั ย และ fuel burnup ของแทงเชือ้ เพลิงออกแบบตัวกำบังรังสี


| Interview ประเมิ น ขี ด จำกั ด และภาวะเงื ่ อ นไขด า น ความปลอดภัย (operational limits and conditions) ของเครื่องปฏิกรณ ประเมิน ความปลอดภัยทางนิวเคลียร และรังสีระหวาง การเดินเครือ่ งและซอมบำรุงของเครือ่ งปฏิกรณ ขอทราบความเห็นหรือมุมมอง เรือ ่ งความจำเปนในการพัฒนา บุคลากรดานนิวเคลียรกบ ั การ พัฒนาดานนิวเคลียรในไทย ความจำเปน เนื่องจากแผนพัฒนากำลังผลิต ไฟฟาของประเทศไทย (Power Development Plan 2015) ใหความสำคัญกับความมั่นคง ของระบบไฟฟาของประเทศ มีการประเมิน สัดสวนการใชพลังงานนิวเคลียรในการผลิต กระแสไฟฟาประมาณ 5% ในป 2579 ดังนัน้ การพัฒนาบุคลากรดานวิศวกรรมนิวเคลียร และฟสิกสสุขภาพจึงมีความจำเปนสำหรับ โครงการโรงไฟฟานิวเคลียรในอนาคต ฝากถึงเยาวชนใหสนใจ เรือ ่ งการศึกษาและพัฒนาดาน นิวเคลียรในประเทศไทย ฝากถึงเยาวชน ถึงแมวาปจจุบันยังไมมีการ กอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร แตการศึกษาดาน วิศวกรรมนิวเคลียร และดานฟสิกสสุขภาพ สามารถนำการศึกษาดานวิศวกรรมนิวเคลียร นิวเคลียรอิเล็กทรอนิกส และฟสิกสสุขภาพ มาใชประโยชนทง้ั ดานการแพทย อุตสาหกรรม เนื่องจากมีการใชนิวเคลียรเทคโนโลยีในดาน ดังกลาวและมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ดานการแพทย เรามีการใชเครื่องเรงอนุภาค เครือ่ งฉายรังสีรกั ษา และเครือ่ งฉายรังสีวนิ จิ ฉัย สวนโรงงานอุตสาหกรรม มีการใชเครื่องมือ ทางนิวเคลียร ถาเยาวชนมีความสนใจศึกษา ดานนี้จะสามารถผลิตบุคลากรเพื่อสนับสนุน การนำเอาเทคโนโลยีนิวเคลียรมาใชเพิ่มมาก ขึ้นในดานตาง ๆ และภาครัฐก็ควรใหการ สนับสนุนทางดานทุนการศึกษาวิจัย ในสาขา เทคโนโลยีนิวเคลียรมากขึ้นดวย นอกจากนี้ หนวยงานภาครัฐและมหาวิทยาลัยตาง ๆ ควรประชาสัมพันธเพือ่ สรางความรู ความเขาใจ เกีย่ วกับเทคโนโลยีนวิ เคลียรใหเปนทีร่ จู กั มากขึน้

ดร.กนกพร บุญศิริชัย

หัวหนาฝายวิจัยดานชีววิทยาประยุกต สถาบันเทคโนโลยีนว ิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ไดรบ ั ทุนการศึกษาจากรัฐบาล เพือ ่ ศึกษาตอดานไหน ระดับใด ไดรบั ทุนการศึกษาตอดานพันธุศาสตรโมเลกุล ระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก สาเหตุทเ่ี ลือกเรียนสาขานี้ (สาขาทีไ่ ดรบ ั ทุน) สนใจทางดานพันธุศาสตรตั้งแตสมัยมัธยม การทำงานในปจจุบน ั มีงานวิจย ั หรือภารกิจหนาที่อะไรบาง ปจจุบันทำหนาที่เปนหัวหนาฝายจะดูแลงาน วิจัยดานชีววิทยาและทางการแพทย ชวงปนี้ ไมไดมงี านวิจยั ทีร่ บั ผิดชอบโดยตรงแตจะชวย งานด า นปรั บ ปรุ ง พั น ธุ  พ ื ช เป น หลั ก และ การทดสอบผลของรังสีตอ การแตกหักของ DNA ขอทราบความเห็นหรือมุมมอง เรือ ่ งความจำเปนในการพัฒนา บุคลากรดานนิวเคลียรกบ ั การ พัฒนาดานนิวเคลียรในไทย ความจำเปนในการพัฒนาบุคลากรในองคกร บุคลากรทุกคนก็จำเปนตองมีการพัฒนาไมวา จะเปนการพัฒนาดวยตนเอง การเขาคอรส อบรม ไปทำแล็บอืน่ ๆ หรือการไปเขาประชุม ก็ถือวาเปนการพัฒนาเหมือนกัน คือ ถาจะ พัฒนาดานใดบางก็ขน้ึ อยูก บั ภารกิจของสถาบัน

เปนหลัก ถาดูในภาพรวมของในประเทศไทย ยังมีความจำเปนตองพัฒนา เพราะหนวยงาน ที่เกี่ยวของทางนิวเคลียรก็ยังมีนอย และการ ใชประโยชนของนิวเคลียรก็มีคนทำหลาย หนวยงาน แตบุคลากรก็ยังนอย ถาพูดถึงวา ในอนาคต เรามีเครื่องมือมีเทคโนโลยีใหม ๆ ทางดานนิวเคลียรเพิม่ ขึน้ มา แลวทางสถาบัน ก็มีการลงทุนโครงสรางพื้นฐานเพิ่มเติม เชน ไซโครตรอน 30 Mev เราก็ตองการบุคลากร เพิ่มเติมเหมือนกัน หรือแมแตในแผนของ สถาบันทีต่ อ งมีการพัฒนาเครือ่ งมือตาง ๆ เอง ก็ตองการบุคลากรเพิ่ม หรือแมแตโรงไฟฟา นิวเคลียรถงึ เราจะยังไมไดสราง แตเวียดนาม เคามองวาควรจะมีบุคลากรที่มีองคความรู เพือ่ ใหความรูท างดานวิชาการกับบุคคลทัว่ ไป และพัฒนางานดานที่เกี่ยวของ เพราะฉะนั้น ภาพรวมประเทศก็ยังตองการบุคลากรทาง ดานนิวเคลียรในสาขาใหม ๆ เพิ่มเติม ฝากถึงเยาวชนทีส ่ นใจเรือ ่ ง การศึกษาและพัฒนาดาน นิวเคลียรในประเทศไทย นิวเคลียรกม็ ปี ระโยชนหลาย ๆ ดาน เรียกวา แทบทุกอุตสาหกรรม มันก็มีการประยุกตใช ยิ่งถาหากเยาวชนสนใจก็นาจะมีงานใหทำ ในอนาคตอยางแนนอน

FUSION MAGAZINE 29


Interview |

เกศินี เหมวิเชียร

นักวิทยาศาสตรนิวเคลียรชำนาญการพิเศษ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ไดรบ ั ทุนการศึกษาจากรัฐบาล เพือ ่ ศึกษาตอดานไหน ระดับใด ไดรับทุนจากโครงการพัฒนาและสงเสริมผูมี ความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร (พสวท.) เพื่อศึกษาตอในสาขาวิทยาศาสตรพอลิเมอร (polymer science) ระดับปริญญาโทและเอก สาเหตุทเ่ี ลือกเรียนสาขานี้ (สาขาทีไ่ ดรบ ั ทุน) เลือกเรียน polymer science เนือ่ งจากตอน ทีศ่ กึ ษาระดับปริญญาตรี ศึกษาอยูภ าควิชาเคมี ซึง่ แบงแยกเปนสาขายอยลงไปไดอกี เชน เคมีอินทรีย เคมีอนินทรีย ซึง่ เปนแนววิทยาศาสตร บริสุทธิ์ (pure science) แตโดยสวนตัวแลว มีความสนใจดานวิทยาศาสตรประยุกตมากกวา ซึ่งในชวงนั้น polymer science เปนหนึ่งใน สาขาประยุกตของวิชาเคมี ซึ่งเปนสาขาที่ คอนขางแปลกใหมและนาสนใจ นอกจากนีแ้ ลว ในชวงเวลานั้นมีบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาใน ระดับปริญญาโทและเอกทางดานนีจ้ ำนวนไมมาก 30 FUSION MAGAZINE

การทำงานในปจจุบน ั มีงานวิจย ั หรือภารกิจหนาที่อะไรบาง ในปจจุบนั ภารกิจและงานวิจยั หลัก คือ การนำ เทคโนโลยีนิวเคลียรและรังสี (nuclear and radiation technology) มาประยุกตใชใหเปน ประโยชน ในสาขาวัสดุศาสตร โดยเฉพาะวัสดุ พอลิเมอร เชน การเปลี่ยนแปลงพอลิเมอร ใหมีหมูฟงกชันที่มีความสามารถเฉพาะทาง เชน การเพิม่ หมูฟ ง กชนั บนแปงมันสำปะหลัง เพือ่ ทำใหแปงชอบน้ำมากขึน้ และสามารถดูดซับ น้ำไวในตัวไดเปนจำนวนมาก ซึง่ เหมาะสำหรับ การนำไปประยุกตใชงานดานการเกษตรในสภาพ พืน้ ทีแ่ หงแลง หรือการนำพอลิเมอรมาฉายรังสี เพือ่ ปรับปรุงใหมคี ณ ุ สมบัตดิ ขี น้ึ เชน การฉายรังสี เพือ่ ทำใหพอลิเมอรสามารถทนความรอนไดสงู เพือ่ ขยายขอบเขตการประยุกตใช ใหสามารถ นำไปใชงานในทีซ่ ง่ึ มีอณ ุ หภูมสิ งู ได

ขอทราบความเห็นหรือมุมมอง เรือ ่ งความจำเปนในการพัฒนา บุคลากรดานนิวเคลียรกบ ั การ พัฒนาดานนิวเคลียรในไทย ประเทศไทยมี ก ารนำเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร และรังสีมาใชประโยชนในทางสันติ มาเปนเวลา นานหลายสิบปแลว อาจจะไมใชเทคโนโลยี ที่เปนที่รูจักกันอยางหลากหลาย แตนั่นไมได หมายความวาการมีบุคลากรที่มีความรูและ ความชำนาญดานเทคโนโลยีนิวเคลียร ไมใช สิง่ จำเปนหรือไมใชเรือ่ งสำคัญสำหรับประเทศ เพราะในความเปนจริง เรามีเครื่องปฏิกรณ นิวเคลียรวิจัย ที่มีการนำมาประยุกตใชงาน ในหลากหลายดาน ตั้งแตการฉายรังสีอาหาร เพือ่ การสงออก ไปจนถึงการผลิตไอโซโทปรังสี เพื่อการรักษาและวินิจฉัยทางดานการแพทย และถึงแมวาปจจุบันประเทศไทยจะยังไมมี แผนการสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ความตองการ เรือ่ งพลังงานภายในประเทศทีม่ แี ตจะเพิม่ สูงขึน้ และความจริงที่วาประเทศเพื่อนบานกำลัง เริ่มกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียรเพิ่มมากขึ้น กลายเปนปจจัยที่ทำใหเห็นวาเราควรมีการ พัฒนาบุคลากรที่มีความรูความชำนาญดาน เทคโนโลยีนวิ เคลียรและรังสี เพือ่ เตรียมพรอม รองรับสิ่งตาง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ทั ้ ง ในประเทศไทยและประเทศเพื ่ อ นบ า น เพราะการพัฒนาบุคลกรเปนสิ่งที่ตองใชเวลา ถาหากเราจะรอใหถงึ วันนัน้ กอนทีจ่ ะเริม่ พัฒนา บุคลากรอยางจริงจัง อาจจะสายเกินไป ฝากถึงเยาวชนใหสนใจ เรือ ่ งการศึกษาและพัฒนาดาน นิวเคลียรในประเทศไทย ฝากถึงนอง ๆ วาความรูด า นนิวเคลียรและรังสี อาจจะเปนสิ่งที่ดูไกลตัว แตในความเปนจริง มีเรื่องราวใกลตัวเราหลายอยาง ที่เกิดขึ้นได เพราะความรูด า นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นิวเคลียร ถานอง ๆ ชอบวิชาวิทยาศาสตร หรือวิศวกรรมศาสตรอยูแลว ถามีโอกาส ลองเปดโอกาสใหตัวเองไดสัมผัสความรูดาน นิวเคลียรและรังสีดูบาง แลวจะคนพบวา เทคโนโลยีทางรังสีนั้นมีประโยชนมากมาย และสามารถนำไปประยุกตใชในทางสันติได หลากหลายสาขา นอกจากเทคโนโลยีนวิ เคลียร จะสามารถทำในสิ่งที่เทคโนโลยีอื่นทำไดแลว ยังสามารถทำอะไรไดอกี หลายอยาง ทีเ่ ทคโนโลยี อื่น ๆ ไมสามารถทำได


Text : Grayscale

| Health

มะเร็งรังไข

ภัยใกลตัวสาว ๆ มะเร็งรังไขเปนเรื่องที่ใกลตัวแตควรใสใจตรวจสอบอยางมาก จากสถิติขององคการอนามัยโลกป 2551 พบวาอัตรา การเสียชีวิตดวย โรคมะเร็งในผูหญิง อยูในอันดับ 6 ประมาณ 6.8/100,000 คน/ป เรามาทำความรูจัก โรคมะเร็งรังไขกน ั ดีกวา มะเร็งรังไขเกิดจากเชือ ้ ไวรัส HPV ทีเ่ ราอาจทำใหเกิดบาดแผลทีร่ ง ั ไขบอ  ย ๆ หรือแมแตการเปน ประจำเดือนก็ทำใหรังไขเรามีบาดแผลเชนกันคะ เนื่องจากจะมีการตกไขทุกเดือนอยูแลว และเมื่อรังไขที่บาดเจ็บไดรับ ตัวกระตุน  หรือสารกอมะเร็งจึงทำใหเกิดความเสีย ่ งในการเปนมะเร็งรังไขไดงา ย แมกระทัง ่ แปงฝุน  เอง ก็เปนสารกระตุน  หนึ่งที่ทำใหเกิดมะเร็งรังไขไดเชนกัน เพราะฉะนั้นควรหลีกเลี่ยงการทาในบริเวณที่อับชื้นเพื่อปองกันไมวาจะทาใหเด็ก หรือผูใ หญ ซึง ่ มะเร็งรังไขนส ้ี ามารถพบไดแมแตในเด็กทีอ ่ ายุนอ  ยกวา 20 ป โดยพันธุกรรมก็เปนสวนหนึง ่ ทีท ่ ำใหเกิดขึน ้ ไดถึง 20% เรามาดูกันวาอาการแรกเริ่มของมะเร็งรังไขเปนอยางไร มาสังเกตกันเลย

1

2

ปวดทองนอย อาจมีอาการบิดรวมดวย

3

4 ทองอืดเสียนแนนทอง

ขอสังเกต

ประจำเดือนมาผิดปกติ

ทองโตขึ้น แนนทอง

- ผูหญิงที่ไมมีบุตรเสี่ยงเปนมะเร็งรังไขไดมากกวาผูหญิงที่มีบุตรแลว - ผูทานยาคุมกำเนิดเพื่อยับยั้งการตกไขมีโอกาสเปนมะเร็งรังไขนอยกวากลุมที่ไมไดทาน ทีม ่ า : สาระนารูเ รือ ่ งสุขภาพ โรงพยาบาลวิภาวดี

FUSION MAGAZINE 31


Edutainment | Text : Grayscale

Nuclear Class - บทเรียนความรูนิวเคลียร

นี่คือแหลงความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีนิวเคลียร ครั้งแรกที่กระทรวงวิทยาศาสตร รวมมือกับ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ทำแอปฯความรูนิวเคลียร กับความรูหลากหลายรูปแบบทั้ง บทความ อินโฟกราฟกและวิดีโอ เพื่อเขาถึงขอมูลนอง ๆ ที่สนใจลองไปหาโหลดกันนะ ทั้งในระบบ iOS และ Android

Nuclear’s All Around - นิวเคลียรรอบตัว

รวมผจญภัยไปกับบทเรียนความรูดานเทคโนโลยีนิวเคลียร กับแอปฯใหมจากกระทรวงวิทยาศาสตรฯ Nuclear’s all around เกมความรูแ ละศัพทนวิ เคลียร ในรูปของเกมคนหาวัตถุ ทีเ่ สริมสรางความรูแ ละทักษะ ดานการสังเกต และการคนหาวัตถุที่เกี่ยวของกับรังสีนิวเคลียร ทั้งในระบบ iOS และ Android


Radiation Now! - แอปฯวัดรังสีประจำตัวบุคคล

Radiation Now! เครื่องมือที่จะชวยใหผูใชงานไดรับรู และตระหนักถึงปริมาณรังสีที่มีอยูรอบ ๆ ตัว ในแตละวันและกิจกรรมใดบางที่มีรังสีนิวเคลียร ขอดีของมันคือสามารถเก็บคารังสีที่ไดรับในแตละวัน และยังสามารถดูขอมูลความรูเปรียบเทียบไดอีกดวยนะ ใครอยากรูละก็รีบเลยนะจะ

Skyguide - แอปฯดูดาวแบบ 3D

อีกหนึ่งแอปฯความรูวิทยาศาสตร ที่นาสนใจเกี่ยวกับดวงดาวนั่นก็คือ Skyguide แอพที่จะชวยใหคุณไดเห็นกลุมดาวนอยใหญ ที่อยูรอบ ๆ ระบบสุริยะของเรานั่นเอง ขอดีคือ มันสามารถบอกรายละเอียดกลุมดาว ตำแหนงที่ตั้ง และขอมูลจำเพาะของดาวแตละดวงอีกดวย

FUSION MAGAZINE 33


Edutainment | Text : Grayscale

Gadget

Neonode's AirBar

The Qwerkywriter Bluetooth Keyboard

เปลีย ่ นแลปทอปของคุณใหเปนจอทัชสกรีนดวย

Edutainment

gadget เบา ๆ ราคาสบาย ๆ เพียง $49 แคทาบ ดานลางจอไมตอ  งติดตัง ้ โปรแกรมใหยง ุ ยาก

Found on : pcworld.com

HeLion : Compact, Flexible Solar Charger ไปไหนใครก็พกเพาเวอรแบงก เราแนะนำนี่เลย

ยุคสมัยขยันเปลีย ่ นอุปกรณเทคโนโลยี คอมพิวเตอร

Helion ทีใ่ ชพลังงานแสงอาทิตยดว ยแถบโซลารเซลล

ก็ขยับไปซะดวย แตในความทันสมัยถาเอาไปรวบกับ

เพียงแคดึงออกมาจากแทงเอาไปชารจกับ

ของโบราณก็ดูเจงดีไปอีกแบบนะ นี่เลยแปนพิมพ

แสงอาทิตย ก็นำมาใชกับสมารตโฟนของเราไดแลว

บลูทูตใชสำหรับ iPad หรือคอมพิวเตอรก็ได

Found on : kickstarter.com

Found on : thegadgetflow.com

Plastic Bottle Cutter

Nokia OZO

ขวดพลาสติกทำประโยชนอะไรไดบา ง ติก ๊ ติก ๊ ติก ๊ !!

ตองบอกวายุคนีเ้ ปนยุคแหง Reality กลองทีร่ องรับ

คิดไมออกเราบอกให เปลีย ่ นขวดพลาสติกเปนเชือก

การใชงานแบบ VR สามารถถายได 360 องศา

รัดของทีแ่ ข็งแรงไดงา ยแสนงายดวยอุปกรณจว๋ิ

สามารถเก็บภาพ 3 มิติ ดวยเลนส 8 ตำแหนงแบบ

นีแ่ หละ ทีนจ ้ี ะประยุกตใชกบ ั อะไรก็สบายใจลดปริมาณ

รอบทิศทาง พรอมออกจำหนายปลายปนแ้ี นนอน

FoldiMate ถูกใจพอบานแมบานแนนอนกับเจา Robot ดวยนวัตกรรมใหม เครื่องพับผาอัตโนมัติ ชวยใหการซักรีดเปนเรื่องงาย สะดวก รวดเร็ว แคนำผาทีซ ่ ก ั แลวมาเขาเครือ ่ ง FoldiMate ตัวเครือ ่ ง จะทำการดูดเสื้อผาเขาเครื่องอัตโนมัติ

ขยะไดเยอะอีกดวย

Found on : japantrendshop.com Found on : kickstarter.com

34 FUSION MAGAZINE

Found on : roadtovr.com


Movies

Ice Age: Collision Course

เรื่องราวของเหลาสัตวนารัก ยุคน้ำแข็ง ซึ่งภาคนี้เปนภาคตอที่หลุดโลกที่สุด เพราะมันออกไปนอกโลกเลย เจาสแครชไลตามผลวอลนัทจนหลุดไปนอกโลกกับจานบินมนุษยตางดาว และพยายามหาทางกลับโลก ซึ่งก็เปนเหตุใหอุกกาบาตพุงเขาชนโลก บรรดาสิงสาราสัตวแหงยุคน้ำแข็งจึงตองหนีตายและหาวิธียับยั้งหายนะโดยการไปยังดินแดนที่อุกกาบาตเคยตกจนทำใหไดโนเสารสูญพันธุ และพวกมันจะใชเครื่องมือใดในการหยุดอุกกาบาตที่จะพุงชนโลกคราวนี้ได ไปติดตามกันนะ

The Space Between Us

ดวยเรื่องราวของการปฏิบัติภารกิจการเยือนดาวอังคารของกลุมนักบินนาซา ในฐานะมนุษยกลุมแรกที่อาศัยอยูบนดาวอังคาร ซึ่งพบเหตุการณบังเอิญที่วา นักบินคนหนึ่งไดตั้งครรภและเสียชีวิตขณะใหกำเนิดลูกชาย โดยไมมีใครทราบวาใครคือพอของเขา และเกิดในฐานะมนุษยคนแรกที่เกิดบนดาวอังคาร และเดินทางกลับมายังโลกพรอมนักบินอีก 14 คน ดวยความแตกตางทำใหเขารูสึกวาโลก เปนที่แปลกสำหรับเขาทั้งสภาพแวดลอมและแรงดึงดูด การตามหาเปาหมายของเด็กชายจะเปนอยางไร พลาดไมได

FUSION MAGAZINE 35


Chill Out | Text : Grayscale

CHILL OUT

ฟรุงฟริ้ง ที่ Villa de bear บนถนนราชพฤกษ คาเฟโดดเดน บนถนนราชพฤกษ สไตลฮอลแลนด นอกจากจะเสิรฟความอรอย กับอาหารฟวชันฟูด  หนาตาดี ยังมีบริการเบเกอรีหอมอรอยเสิรฟ  พรอมเครือ ่ งดืม ่ รสชาติโดนใจ บอกเลยวาอิ่มไดทั้งคาวและหวาน พรอมสุขใจไปกับบรรยากาศดี ดวยนองหมีดำ ไมวาจะโซน indoor หรือ outdoor ก็แชะภาพกันไดแบบเกสุด ๆ แบบฮอลแลนดสไตล เมนูเด็ดมาแลวตองลอง สลัดกุงพันแซลมอนซีฟูดวาซาบิ บอกไดคำเดียววา แซบลื้มม ขอบคุณภาพ : Facebook VILLA DE BEAR

36 FUSION MAGAZINE


Text : Grayscale

| TIPS

TIP

เครื่องดื่มจากธรรมชาติ คลายรอน อากาศรอนแบบนีไ้ มวา จะนัง ่ เฉย ๆ หรือทำกิจกรรมอะไรก็ดรู อ  นไปซะหมด ก็แหม เมืองไทยนีน ่ า วันนีเ้ รามาเติมเต็ม Tips ดีๆ ทีช ่ ว ยคลายรอนดวยเครือ ่ งดืม ่ จากธรรมชาติกน ั ดีกวา !

เครือ ่ งดืม ่ ทีค ่ นไทยนิยมดืม ่

เครือ ่ งดืม ่ จากธรรมชาติ

ไดแก น้ำชา กาแฟ น้ำอัดลม น้ำหวาน น้ำผลไม ตลอดจนเครือ ่ งดืม ่ ทีเ่ ตรียม จากสวนตาง ๆ ของพืช เครือ ่ งดืม ่ จากธรรมชาติไดแก น้ำผลไม ซึง ่ รวมทัง ้ น้ำคัน ้ จากผลไมสด เชน น้ำสม น้ำมะนาว น้ำมะพราว เปนตน และน้ำผลไมทม ่ี เี นือ ้ ผลไมปน น้ำผลไมชนิดหลังนี้ ทัง ้ น้ำและเนือ ้ ผลไมจะผานการบดหรือปน  ใหละเอียด และแตงเติมรสหวานดวยน้ำตาล หรือน้ำเชือ ่ ม และอาจเติมกรดผลไม เพือ ่ แตงรสเปรีย ้ วได ตัวอยางของ น้ำผลไมดง ั กลาว ไดแก น้ำสับปะรด น้ำแตงโม น้ำมะเขือเทศ น้ำมะขาม นอกจากน้ำผลไมแลว เครือ ่ งดืม ่ ทีไ่ ดจากธรรมชาติยง ั สามารถเตรียม จากสวนอืน ่ ๆ ของพืช เชน สวนเหงา ตน ใบ ดอก เมล็ด เปนตน ตัวอยาง เครือ ่ งดืม ่ ประเภทนี้ ไดแก น้ำออย น้ำขิง น้ำเกกฮวย น้ำบัวบก นมถัว่ เหลือง

ใหประโยชนทง ้ั ทางตรงและทางออม ชวยแกกระหาย ทำใหรา งกายสดชืน ่ กระปรีก ้ ระเปรา บำรุงรางกาย เครือ ่ งดืม ่ จากธรรมชาติทน ่ี ย ิ มดืม ่ ไดแก น้ำออย มะพราว น้ำมะนาว นมถัว่ เหลือง น้ำบัวบก น้ำเกกฮวย และน้ำมะตูม เปนตน

Mock tails

ประโยชนจากเครือ ่ งดืม ่ ประโยชนทางตรงก็คอ ื ชวยใหไดเครือ ่ งดืม ่ ทีอ ่ รอย สะอาด ชวยดับกระหาย คลายรอน ทำใหรางกายสดชื่น กระปรี้กระเปรา สวนประโยชนทางออม คือ ใชเปนยาบำรุง และรักษาโรค เชน ชวยขับปสสาวะ ขับเหงือ ่ บำรุงรางกาย ชวยระบาย ชวยแกทอ  งเสีย นอกจากนั้น เครื่องดื่มจากธรรมชาติ สามารถเตรียมไดงาย ๆ และรวดเร็ว ทัง ้ ชวยประหยัดรายจายอีกดวย ประโยชน ทีส ่ ำคัญอีกประการหนึง ่ คือ เครือ ่ งดืม ่ จากธรรมชาติ ไมตอ  งแตงดวยสีสง ั เคราะห สีของเครือ ่ งดืม ่ เปนสีจากพืชโดยตรง จึงไมมพ ี ษ ิ ตอรางกายอยางแนนอน

ที่มา : คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล

FUSION MAGAZINE 37


เรื่องเลา Blogger |

เรื่อง : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข

มันโผลออกมาจาก

บอนิวเคลียรของ นีลส โบร

ในหองใตดนิ ของสถาบันฟสกิ สเชิงทฤษฎี นีลส โบร (Niels Bohr’s Institute for TheoreticalPhysics) ในเมืองโคเปนเฮเกนนัน้ เปนบอกวางสองเมตรลึกสามเมตรบอหนึ่ง (Levi 1986) มีบนั ไดวนลงไปยังกนบอ และจะมี ทีไ่ หนเปนสถาบันฟสกิ สเชิงทฤษฎีไดดไี ปกวานี้ เพราะทีน่ ่ี จอรจ กามอฟ (George Gamow) สรรคสรางคําอธิบาย กลศาสตรควอนตัม สําหรั บ การลอบเร นของอนุ ภ าคแอลฟา ออกจากบอนิวเคลียรและก็เปนที่สถาบันนี้ อีกเชนกันทีก่ ามอฟไดรา งทฤษฎีเกีย่ วกับเบียร ของเขา วาดีที่สุดก็ตองเบียรคารลสเบิรก (Gamow 1970) เมื่อ เจ. คารล จาค็อบเส็น (J. Carl Jacobsen) ผูก อ ตัง้ เบียรคารลสเบิรก ได ถ ึ ง แก อ สั ญ กรรม เขาไดทิ้งเงินไวใหแก บัณฑิตยสถานวิทยาศาสตรแหงเดนมารก (Danish Academy of Sciences) และก็เปน ทุนคารลสเบิรกนี่เองที่จายใหกามอฟ มาที่ สถาบันนี้ ดังนัน้ เรือ่ งอนุภาคแอลฟามุดอุโมงค ออกมาจากนิวเคลียส ตองขอบคุณเบียรนเ่ี อง พินัยกรรมของจาค็อบเส็นยังระบุไวดวยวา ใหคฤหาสนหลังโตราวกับวังของเขาเปนที่ พักพิงแกนกั วิทยาศาสตรทป่ี ระสบความสําเร็จ สูงสุดของเดนมารก ซึ่งคนแรกที่เขาไปอาศัย ไดแก นีลส โบร กอนหนานีพ้ กั อยูท อ่ี พารตเมนต ในสถาบันฯ โบรเปนปลืม้ อยางยิง่ ทีเ่ ขาไมตอ ง พักอาศัยและทํางานในสถานทีเ่ ดียวกันอีกแลว (Aaserud 1985) ไมประหลาดใจเมือ่ คุณคิดวา บานหลังใหมของเขาเปนคฤหาสนที่ตั้งอยูติด กับโรงเบียร (ไมรูจะมีทอเบียรตอตรงมาดวย หรือเปลา) ไมแนวา นีอ่ าจอธิบายไดดว ยหรือไม วาทําไมโบรมกั จะมีปญ  หาในการทําความเขาใจ เวลาที่ใครพูดดวยน้ำเสียงอูอี้ 38 FUSION MAGAZINE

จอรจ เดอเฮเวซี (George de Hevesy) เกลอเกาของโบร เปนยิ่งกวาคนบางานและ ไมไดอยากออกจากสถาบันฯ และกลับบาน เกือบเทา ๆ กับโบร ครัง้ หนึง่ ขณะพรวดพราด วิง่ ลงบันไดสถาบัน เฮเวซีสวนกับผูช ว ยของเขา ชื่อ แอล. ฮาน พรอมกับรองเสียงตื่นเตนวา “คุณฮาน คุณฮาน โชคดีจงั คุณไดกระตายแลว (สัตวทดลองของฮาน) ผมตองกลับบานหาลูก หาเมียผมกอน” (Levi 1985) เฮเวซีชางเปน เพื่อนที่ดีนัก เขาเจากี้เจาการจัดหาของขวัญ ชิ้นพิเศษจากชาวเดนมารกเพื่อเปนเกียรติแก

วันเกิดปที่ 50 ของโบร นั่นคือเงิน 100,000 โครเนอร สําหรับซื้อเรเดียม 600 มิลลิกรัม แนนอนเฮเวซีรวู า เรเดียมไมมปี ระโยชนอนั ใด แกนักทฤษฎีอยางโบร นี่คือวาทําไมของขวัญ ชิ้นนี้จึงพิเศษนัก ก็เพราะเฮเวซีตั้งใจจะได เรเดียมไวใชเสียเอง สําหรับเปนตัวกําเนิด อนุภาคนิวตรอน เพือ่ เขาสามารถใชผลิตไอโซโทป รังสีเทียม (อาทิ ฟอสฟอรัส-32) เพื่อผลิต นิวตรอน ตองนําเรเดียมมาผสมกับผงเบริลเลียม ใหเปนเนื้อเดียวกัน ทั้งนี้ภาระหนักอึ้งในการ บดละเอียดเบริลเลียมตกแก ออทโท ฟริช


และตกแตก เธอรีบตะเกียกตะกายปนขึน้ บันได (Otto Frisch) นักฟสกิ สชาวออสเตรียทีท่ าํ งาน อยูท ส่ี ถาบัน (Frisch 1979) ผงเบริลเลียมถูก ผสมกับสารละลายเรเดียม จากนั้นทําใหแหง และนําตะกอนมาผนึกในแคปซูลเล็ก ๆ หลายอัน ซึ่งตอติดกับดามถือยาว ๆ ชัดเจนวาสถานที่ เก็บตนกําเนิดนิวตรอนพวกนี้ควรเปนที่ไหน ก็จะมีที่ใดเลาที่จะเปนสถานที่ที่เหมาะสมกับ อนุภาคนิวตรอนไปกวาที่กนบอนิวเคลียร ? และก็ในบอนีเ้ องทีผ่ รู ว มงานของเฮเวซีทช่ี อ่ื วา ฮิลเดอ เลวี (Hilde Levi) ใชนิวตรอนเหลานี้ มากระตุน ธาตุดสิ โพรเซียมทีค่ น พบโดย คารล เอาเออร ฟอน เวลสบาค (Carl Auer von Welsbach) การทดลองทีบ่ งั เอิญนําไปสูเ ทคนิค การวิเคราะหเชิงกอกัมมันตภาพรังสี (neutron activation analysis) (มักเรียกวาการวิเคราะห โดยการอาบนิวตรอน) ขณะไมไดกาํ ลังใชงาน ตนกําเนิดนิวตรอนเหลานี้ถูกเก็บรักษาไวใน ขวดแกวทีบ่ รรจุดว ยคารบอนไดซัลไฟด ในเวลา สองสัปดาห ดวยปฏิกิริยานิวเคลียรนิวตรอน แปรเปนโปรตอน (n, p reaction) ตอซัลเฟอร-32 จะผลิตฟอสฟอรัส-32 ไดปริมาณพอใชทาํ งานได (Levi 1985) ดวยฟอสฟอรัส-32 นีเ้ องทีเ่ วเฮซี ดําเนินการศึกษาเปนครั้งแรก ๆ เกี่ยวกับตัว แกะรอย (tracer) โดยใชนวิ ไคลดกมั มันตรังสี ทําขึน้ (artificial radionuclides) เชน การศึกษา การสรางสลายของฟอสฟอรัส (phosphorous metabolism) ในมนุษย ตลอดจนอัตราการใช สารประกอบอินทรียหลายชนิด (เชน เอทีพี (ATP: Adenosine triphosphate)) ในรางกาย แลววันหนึ่งก็มีเจาหนาที่ทางเทคนิคคนหนึ่ง ทํางานอยูในบอ ขณะเธอกําลังเปลี่ยนถาย คารบอนไดซัลไซดออกแลวหายนะก็เกิดขึ้น ตอนนั้นขวดที่บรรจุสารละลายใหมหลุดมือ

ไอวัตถุระเบิดมีพษิ พลุง ขึน้ ไลตะครุบตามขอเทา ของเธอ ขางฝายฟริชก็พยายามอยางสุดชีวิต เพือ่ ลงไปในบอดวยมืออุดจมูกไว แตตอ งถอย กลับออกมา (Frisch 1979) และขณะที่เขา หนีกลับขึน้ บันได เขาก็เห็นวาตะปูทเ่ี ย็บรองเทา ของเขาเกิดประกายไฟซึง่ อาจซัดรางเขาขึน้ ไป ถึงหลังคาก็ได ในทีส่ ดุ หัวทําความเย็นก็ทาํ งาน และปม ก็ถกู นํามาตัง้ เพือ่ ขับไอพิษ การทํางาน เปนไปอยางชา ๆ ทําใหฟริชที่มีอพารตเมนต บนชั้นบนสุดของสถาบัน ซึ่งไมมากก็นอยอยู เหนือบอพอดิบพอดี คืนนั้นเขานอนไมหลับ “ผมเขานอนดวยความรูสึกวาตายเปนตาย แตวนั รุง ขึน้ ผมยังอยูท น่ี น่ั ปกติด”ี (Frisch 1979) วันเวลาผานไปพักใหญ หลังจากไอคารบอนได ซัลไฟดจางหายไปนาน ออทโท ฟริช ก็ไดออก ผจญภัยลงไปในบออีกครัง้ เพือ่ คนหาบางอยาง ทีไ่ มเคยมีหญิงหรือชายคนใดไดเคยเห็นกับตา มากอนการคนหาของฟริชเริม่ ดวยมูลเหตุจาก จดหมายลึกลับเมื่อป 1938 จากออทโท ฮาน ถึงนาหญิงของเขาชือ่ ลิเซอไมทเนอร ฮานเขียน มาถามไมทเนอรวา เธอพอจะมีคาํ อธิบายชนิด ฝนเฟอ งหรือไม สําหรับผลผลิตแบเรียมทีป่ รากฏ ขึ้นในยูเรเนียมที่เขาระดมยิงดวยนิวตรอน “พอจะเปนไปไดหรือไมวา ยูเรเนียม-239 ระเบิดตูมแตกออกเปนแบเรียม (Ba) เสีย่ งหนึง่ กับอีกเสีย่ งหนึง่ เปน Ma [Tc]” (Stuewer 1985) ดังนัน้ ไมทเนอรกบั ฟริชไดใชแบบจําลองหยด ของเหลวนิวเคลียสที่กามอฟและโบรพัฒนา ขึ้นมา มาแสดงใหเห็นวาการแตกออกของ นิวเคลียสยูเรเนียมแลวผลิตแบเรียมออกมานัน้ เปนไปไดทางทฤษฎี ไมเพียงเทานัน้ พวกเขายัง คํานวณวาผลผลิตของการแตกออกนี้นาจะ มีพลังงานจลนสูงเปนพิเศษ แตวาคําอธิบาย ชนิดฝนเฟองของพวกเขาดูจะฝนเฟองไกล

เกินไปสําหรับบางคน ดังนัน้ เพือ่ สรางความพอใจ แกตนเองและตอผูท ย่ี งั กังขา ฟริชจึงตัดสินใจ ทําการทดลอง (Frisch 1979) แลวเขาก็ลงไป ในบอ (ศุกรท่ี 13 ม.ค. 1939) เพือ่ วัดพลังงาน ของอนุ ภ าคที ่ ย ู เรเนี ย มปลดปล อ ยออกมา เมื่อไดรับนิวตรอน โดยการวางยูเรเนียมไว ขาง ๆ แชมเบอรวัดการแตกตัวเปนไอออน แบบสัดสวน (proportional chamber) จากนัน้ ก็เปดใหยเู รเนียมไดรบั อนุภาคนิวตรอน แลวดูพัลสจากแชมเบอรดวยออสซิลโลสโคป (oscilloscope) เรียกวาฟริชไดทาํ การวิเคราะห ความสู ง พั ล ส ด  ว ยตาที เดี ย ว ข า วเกี ่ ย วกั บ เหตุการณไมธรรมดาในบอแพรสะพัดอยาง รวดเร็วไปทัว่ สถาบันและนักชีววิทยาชือ่ วิลเลียม อารโนลด (William Arnold) เปนหนึ่งในผูที่ ตัดสินใจขอดูใหเห็นกับตาตัวเอง (Arnold 1996; Ermanc 1989) ตอนแรกอารโนลด เห็นพัลสเล็ก ๆ เปนแถวบนจอออสซิลโลสโคป อันเกิดจากอนุภาคแอลฟาของยูเรเนียม จากนัน้ ฟริ ชบอกให เขาใช มื อ จั บ เพื ่ อ นำตนกําเนิด นิ ว ตรอนอั น หนึ ่ ง ไปวางไว ต ิ ด กั บ ยู เรเนี ย ม แลวโลกก็เปลีย่ นไป พัลสขนาดใหญปรากฏขึน้ พัลสทใ่ี หญเกินกวาทีอ่ นุภาคแอลฟา ทําใหเกิด พัลสที่เกิดจากชิ้นสวนจากนิวเคลียสยูเรเนียม ทีแ่ ตกเปนเสีย่ ง ตอมาในวันนัน้ เอง ฟริชก็เดิน ตามหาอาร โนลด แ ละถามถึ ง ความหมาย บางอยางวา“คุณนาจะเปนนักชีววิทยาสักสาขา” แลวคุณใชคําไหนมาอธิบายการแบงตัวของ แบคทีเรีย” อารโนลดตอบวา “ไบแนรีฟช ชัน” (binary ffiission หรือการแบง 2 สวน) ฟริชถามวา ถาใชแคคาํ วา “ฟชชัน” (fififi ssion) พอไดหรือไม อารโนลดเห็นดวยวานาจะเพียงพอทีว่ า ฟชชัน อนุภาคแอลฟา การวิเคราะหเชิงกัมมันตภาพรังสี และออทโท ฟริช โผลมาจากบอนิวเคลียรอยางไร

เอกสารอางอิง : • Arnold, W. Personal communication; 1996. • Aaserud, F. Niels Bohr as a Fund Raiser. Physics Today. October:38-46; 1985. • Ermenc, J. Atomic Bomb Scientists. Meckler; Westport; 1989. • Frisch, O. What Little I Remember. Cambridge University Press; Cambridge; 1979. • Gamow, G. My World Line. Viking Press; New York; 1970. • Levi, H. George de Hevesy. Adam Hilger Ltd.; Bristol; 1985. • Levi, H. Semicentennial Lecture, Modern Trends in Activation Analysis. 7th International Conference. June 23, 1986. • Stuewer, R.H. Bringing the News of Fission to America. Physics Today. October:48-56; 1985.

FUSION MAGAZINE 39


ขับเคลื่อนทุกความรูไปกับ

FUSION MAGAZINE ครบทุกเรือ ่ ง เทคโนโลยีนว ิ เคลียร

FREEe issu

ดาวนโหลดอานไดฟรี ๆ แลววันนี้

Available Now! ebook.in.th

ติดตามและรวมกิจกรรมกับเราไดที่แฟนเพจ

J O I N O U R CO M M U N I T Y O N :

ookbee

Issuu

www.tint.or.th Thainuclearclub


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.