FUSION MAGAZINE Vol.1

Page 1

FUSION Magazine

ฉายรั ง สี ปลอดภัย จริงหรือ?

Voyage

Do you know

รูหรือไม ในอาหารก็มีรังสี

Scan to Visit offfiicial website

FREE COPY

วารสารมากสาระ ในโลกวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร

อาหาร

หนีรอนออกไปดูโลก มหานครนิวยอรกซิตี้

Vol.1 / 2557


Editor’s Talk

Editor’s Talk สวัสดีทา นผูอ า นทุกทาน Fusion Magazine (ฟวชัน) นิวเคลียรฟวชัน เปนกระบวนการที่ทำใหเกิดพลังงาน ในดวงอาทิตยและดาวฤกษ ที่แกนกลางของดวงอาทิตย มีอุณหภูมิ 10-15 ลานเคลวิน ทำใหไฮโดรเจนกลายเปน ฮีเลียมจากปฏิกริ ยิ าฟวชัน และทำใหดวงอาทิตยมพี ลังงาน สูงมากพอ ที่จะทำใหเกิดการเผาไหมไดอยางตอเนื่อง ซึ ่ ง ส ง ผลทำให สิ่ง มีช ีวิตบนโลกดำรงอยูได ในขณะที ่ นักวิทยาศาสตรกำลังคิดคนวิธีการที่จะนำพลังงานจาก ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชันมาใชในโลกเรา ซึ่งคาดกันวา ประมาณ 50 ป ตอจากนีจ้ ะเปนผลสำเร็จ Fusion จึงถูก สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) นำมาใชเปนชื่อของนิตยสารเผยแพรความรู ความเขาใจ เรื่องนิวเคลียรและการใชประโยชน นิตยสารฉบับนี้ไมใช ฉบับแรกทีส่ ถาบันฯ จัดทำขึน้ แต Fusion เปนพัฒนาการ ทางการสื่อสารความรูดานนิวเคลียรสูผูอาน ซึ่งนิตยสาร เลมนี้ มีทั้งสาระความรูและความบันเทิง ฉบับแรกนี้ Fusion จึงขอนำเสนอประโยชนของเทคโนโลยีนวิ เคลียร กับอาหาร ซึ่งเปนหนึ่งในปจจัยสี่สำหรับการดำรงชีวิต ของคนเรา หากทานอานและทำความเขาใจ บางทีอาจจะ เห็นวานิวเคลียรไมใชสิ่งนากลัว ถาใชประโยชนจากมัน และก็อยูรอบ ๆ ตัวเรานี่เอง กองบรรณาธิการ

คณะผูจัดทำ / เจาของ บรรณาธิการบทความ กองบรรณาธิการ นักเขียน พิสูจนอักษร ศิลปกรรม กราฟคดีไซน ชางภาพ / ตกแตง พิมพที่ จัดทำโดย

2 FUSION MAGAZINE

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ฝายสื่อสารองคการ ชนิสรา ปะระไทย สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข • วรลักษณ เลิศอนันตตระกูล • ดวงฤทัย ปงใจ ชลาลัย อรุณรัตน บราวนแบร (ฺBrownbear) วรรษชล ธรรมวัน ประวิทย กิ้มถอง บริษัท อีเกิ้ล เปเปอร จำกัด บริษัท ไดดี โปรดักชั่น จำกัด 328 ถนนประเสริฐมนูกิจ 29 แยก 8 แขวงจรเขบัว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230 Tel : 02-943-5334 Mobile : 092-758-7977


In this issue

Contents

Hilight

1

Cover Story : อาหารฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือ

2

Voyage : ลัดเลาะมหานครนิวยอรก

Contents

3

04 Social Surround 06 Do you know รูหรือไม ในอาหารก็มีรังสี 08 Idea Design Thinkk Studio 10 Cover Story อาหารฉายรังสีปลอดภัยจริงหรือ ? 16 Science Tech ประโยชนของการฉายรังสีอาหาร 18 Machinery Sight เครื่องฉายรังสีโคบอลต-60 20 Voyage ลัดเลาะมหานครนิวยอรก 22 Activities News

LIKE SHARE & FOLLOW

Do you know : รูหรือไม รังสีก็มีอยูในอาหาร

4

Health : Detox by Yourself

24 Edutainment เรียน รู เลน เทคโนโลยี 28 Chill Out รานไหนดี ? 30 Interview อาหารฉายรังสีชนิดแรกของไทย 36 On the Earth 10 สุดยอดเมนูอาหารชั้นเลิศ 40 เรื่องเลา Blogger 2 บุคคลสำคัญแหงเมืองแมนเชสเตอร 42 Health มาทำ Detox กันเถอะ 44 Workshop

ความเคลื่อนไหว สทน.

JOIN OUR COMMUNITY ON

ติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

บอลลูนอวกาศ !

Thainuclearclub FUSION MAGAZINE 3


Social Surround

Social Surround จักรยานไฟฟา Dezien

ไอเดียสุดเจงที่เราอยากใหมีจริง ๆ กับเจา Concept Bike หนาตาสุดล้ำตัวนี้ ที่มีชื่อวา “Dezien's Levitation” ถึงแมตอนนี้จะอยูในขั้น ทดสอบประสิทธิภาพ แตเราเชื่อวามันจะเปน จักรยานที่เจิดสุด ๆ ที่เหนือกวาจักรยานธรรมดา แนนอน ออกแบบใหทำจากอะคริลิก Hi-MAG (วัสดุหินสังเคราะห) เพื่อความเบาและทนทาน แถมยังทำความสะอาดไดงาย นอกจากนี้ ยังสามารถปนไปแลวชารจแบตไดดวย USB Port ระบบทัชสกรีนและจอแสดงผลแบบ LED อีกดวย

ชาเขียว

ใคร ๆ ก็ดื่มชา นับวาเปน เทรนดใหมเลยทีเดียว ไมวาจะเดินยาน แหลงชอปปง หรือรานอาหารตาง ๆ ในเมนูเครื่องดื่มหลากหลาย ก็หนีไมพนชาเขียว ดวยคุณประโยชนนานับประการไมวาจะแอนตี้ อนุมูลอิสระก็ดี หรือตานเชื้ออักเสบในลำไส อืม.. ดีตอสุขภาพจริง ๆ แตบอกสักนิดเผื่อใครไมทราบ ชาเขียวที่ดีตองดื่มรอน ๆ นะคะ หากดื่มแบบเย็นจะเปลี่ยนสรรพคุณเปนโทษเลยละ

Social Surround

Credit : http://dezien.com/projects/levitation/

อัจฉริยะนิวเคลียรวัยกระเตาะ !!!

หนูนอยวัย 13 ป เจมี เอ็ดเวิรดส สรางปรากฎการณเปนผูที่สามารถทำการทดลอง ปฏิกิริยา "นิวเคลียรฟวชัน" ที่มี "อายุนอยที่สุดในโลก" จิม ฮูริแกน อาจารยใหญ ของสถาบัน เพนเวอรธัม พริออรี กลาววา "ผมรูสึกอึ้งนิดหนอย และตองขอบอกวา ผมประหมาเล็กนอย ตอนที่เจมีบอกเรื่องการทดลองนี้ แตเขาสัญญากับผมวาเขาจะ ไมระเบิดโรงเรียน" อาจารยใหญผูนี้จึงมอบทุนแกเจมีเปนเงิน 2,000 ปอนด (ราว 1 แสนบาท) หลังจากไดทนุ มาเจมีกส็ ง่ั ซือ้ ชิน้ สวนและอุปกรณสำหรับการทดลอง จากหลายประเทศ ทั้งลิทัวเนีย สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ โดยทำการทดลองในชวง พักกลางวันและหลังเลิกเรียนทุกวัน เทคนิค Inertial Electrostatic Confinement เปนเทคนิคการหลอมนิวเคลียสประเภทหนึ่ง คิดคนในชวงทศวรรษที่ 1960 ใชสนามไฟฟาแรงสูงประจุพลังงานในอนุภาค (ไอออน หรืออีเล็กตรอน) ใหความรอน พวกมันจนเกิดการฟวชันในอุณหภูมิระดับที่สูงกวาพื้นผิวดวงอาทิตย Credit : Dailymailnews

4 FUSION MAGAZINE


Social Surround

ปลามากุโร

อีกหนึ่งประเภทอาหารที่เปนที่นิยมอยางมาก นั่นคือ “ซูชิ” ซึ่งนับวาเปนอาหารญี่ปุนที่ถูกปากคนไทย โดยมีวัตถุดิบจากปลา ทะเลและที่นิยมอยางมาก นั่นคือ ปลาทูนา หรือมากุโร สำหรับ พันธุที่มีรสชาติเยี่ยมมาก ๆ นั่นคือ “Bluefin” ถึงแมจะมีราคา สูงกวาพันธุอื่น แตก็นับวาคุมคะ โดย 3 สวนหลักที่นำมาทำซูชิ ก็คือ โอโทโร (เนื้อทองสวนหนา) ชูโทโร (ทองสวนหลัง) และ อากามิ นั่นเอง เคล็ดลับความอรอยของซูชินั้นอยูที่ความสด สวนใครที่ไมชอบปลาดิบ ซูชิก็มีหนาอื่น ๆ ดวยคะ หรือหากอยาก ลิ้มลองรสชาติของเนื้อปลาจะเลือกทานเปน ซูชิเบิรนไฟ ก็ไดนะ

ซูเปอรประติมากรรม Emerson College Los Angeles

ตระการตากับฝมือการออกแบบอาคาร หองเรียน หองปฏิบัติการ ที่จอดรถใตดิน และที่พักนักศึกษา สูง 10 ชั้น พรอมดวยอุปกรณ อำนวยความสะดวก ล้ำดวยเทคโนโลยีอันครบครัน ไมธรรมดา ในแบบฉบับของสถาบันสอนศิลปะอันเลื่องชื่อทางดานครีเอทีฟ โดดเดนสุด ๆ ดวยดีไซนแปลกตา ทีส่ ามารถการันตีคณ ุ ภาพนักศึกษา และอาจารยผูสอนไดเลยนะ ดูแคอาคารสิ คูล!! สุด ๆ ไปเลย ออกแบบโดย Thom Mayne’s Los Angeles Firm Morphosis

Social Surround

มอสบอล มาริโมะ

สาหรายสัญชาติญี่ปุนที่กำลังเปนที่นิยมในบานเรามาไดสักพักแลวละ รูจักกันในชื่อ “มาริโมะ” หรือ “Moss Ball” อันที่จริงคนญี่ปุนเขาถือวา เจาสาหรายตัวนีเ้ ปนเครือ่ งรางนำโชค ทัง้ ดานความรักและโชคลาภดวยนะ ดวยสาเหตุนี้จึงทำใหหลาย ๆ คนอยากจะครอบครองเจาสาหรายหนาตา นารักตัวนีเ้ ปนอยางมาก จึงทำใหยอดการเก็บถลมทลาย ทีแ่ มกระทัง่ คนไทย ก็นิยมสั่งซื้อทางอินเตอรเน็ตมาเชยชม จนปจจุบันทางรัฐบาลของประเทศ ญี่ปุนไดมีคำสั่งหามนำมาริโมะขึ้นมาจากใตน้ำในทะเลสาบอะคังแลว เนือ่ งจากเกรงวาจะสูญพันธุน น่ั เองคะ ทีนแ้ี หละ หากจะซือ้ มาริโมะสังเกต สักนิดนะคะ วาเปนของจริงหรือเปนแคตะไครน้ำกันแน Credit : http://www.marimo-web.org

Your Space

Your Space :

สำหรับนองๆ คนไหนมีเรื่องราวนาสนใจ หรือมีอะไรอยากเลา ทางพีๆ่ ทีมงานยินดี จะนำบทความที่สงกันเขามาลงวารสาร ที่ Thainuclearclub@gmail.com หรือติดตามพวกเราจาก Social ไดที่นี่

Thainuclearclub

FUSION MAGAZINE 5


Do you know

 ม ไ อ ูรหรสื ีก็มีอยูในอาหาร

Do you know

ิ รัง ต า ช ม ร ร ธ ีท่มีโดย เนื้อแดง ตัวการยังคงเปนโพแทสเซียมนั่นเอง สเต็กเนือ้ ชิน้ นัน้ จะไปเพิม่ ปริมาณรังสีในรางกายคุณ 3,000 พิโคคูรี / กก. โดยประมาณ

เกลือแกง

เพราะทำมาจากโพแทสเซียมคลอไรด แทนทีจ่ ะเปนโซเดียมลวน ๆ เกลือแกง มีรงั สีประมาณ 3,000 พิโคคูรี / กก.

ถั่วบราซิล

ถัว่ บราซิลครองตำแหนงอาหารทีม่ กี มั มันตภาพรังสีสงู สุด ทีค่ นทัว่ ไปรับประทาน เพราะรากของมันมีเรเดียมอยู เปนจำนวนมาก รวมทัง้ โพแทสเซียม แตไมตอ งกลัวนะ เพราะรางกายคนเรา แทบจะไมไดเก็บรังสีไวเลย ตรงกันขามกลับมีประโยชน เพราะมันชวยปองกันโรคมะเร็งเตานม และมะเร็งตอมลูกหมาก เพราะถัว่ พวกนีม้ ปี ริมาณซิลเิ นียมสูง

6 FUSION MAGAZINE


Do you know

เบียร ไมตอ งกลัวสำหรับคนชอบทานเบียร เพราะมีรงั สีนอ ยมาก เพียง 390 พิโคคูรี / กก. เทานัน้ ซึง่ นอยกวากลวยถึง 10 เทา

มันฝรั่ง / แครอท Do you know

ทัง้ แครอทและมันฝรัง่ มีรงั สีประมาณ 3,400 พิโคคูรี / กก. เมือ่ ทานอาหารทัง้ สองอยางรวมกันแลว จะมีรงั สีประมาณ 6,800 พิโคคูรี / กก.

กลวย ถั่วลิมา

หนึง่ ในอาหารทีเ่ รารับประทาน มากกวาอาหารชนิดอืน่ ๆ ในชีวติ ประจำวัน มีรงั สีประมาณ 3,520 พิโคคูรี / กก.

ถัว่ ลิมามีรงั สีประมาณ 4,640 พิโคคูรี / กก. เปนอาหารทีม่ โี พแทสเซียมสูง และมีเรเดียมผสมอยูบ า งเล็กนอย pCi หรือ พิโคคูรี : หนวยวัดความแรงของสารรังสี

และอัตราการสลายตัว

ทีม่ า : www.chemistry.about.com/10 common naturally radioactive food FUSION MAGAZINE 7


Idea Design

Idea Design

Idea Design

CementWood-lamp

Merging Top

The Const Lamp 8 FUSION MAGAZINE


Idea Design

ARMS chair

Weight Vases

THINKK STUDIO Where is it ? 1-2-3 sit

THINKK STUDIO 7/8 Yenakard Road Chongnonsri Yannawa Bangkok 10120 Thailand Tel. 02 6719317 Fax. 02 672 9299 thinkkstudio@yahoo.com

FUSION MAGAZINE 9


Cover Story

Cover Story

อาหาร ฉายรั ง สี ปลอดภัยจริงหรือ? อาหาร คือ ยาอายุวฒ ั นะอยางหนึง่ ทีใ่ นปจจุบนั ทุกคน หันมาใหความสนใจและดูแลเรื่องนี้กันมากขึ้นคะ สังเกต ไดจากหลายทานมีการคำนวณแคลอรีกอนการเลือกซื้อ เลื อกบริโภค และหลายทานอานฉลากตรวจดู วั ต ถุ ด ิ บ สวนประกอบกอน นัน่ นับเปนผลดีอยางมาก เพราะจะทำให เรารูไดวา อะไรเปนสิ่งที่กำลังจะผานเขาสูรางกายของเรา และสงผลอยางไรตอสุขภาพรางกายของเราบาง มาดูกัน เกริ่นมาขนาดนี้เดาไดไมยาก วันนี้เราจะนำสาระอะไร มาเลาสูก นั ฟง นัน่ คือ “อาหาร” นัน่ เอง อยาเพิง่ ตกใจกันไป วาเรื่องธรรมดาใกลตัวแบบนี้ จะมีอะไรพิเศษเพิ่มเติมไหม แนนอนคะ ตองไมธรรมดาอยูแลว เพราะเราจะกลาวถึง “อาหารฉายรังสี” เชือ่ คะ หลายคนตกใจกันนะ อาหารอะไร ฉายรังสี แลวฉันจะตกอยูในอันตรายไหม? คำตอบอยูใน สาระตอไปนี้ ที่จะทำใหคุณ ๆ คลายกังวล

10 FUSION MAGAZINE


Cover Story

FUSION MAGAZINE 11


Cover Story

อันที่จริงแลว การฉายรังสีอาหาร ไมมีผลอันตรายตอเราเลยคะ เพราะมันเปนเพียงกระบวนการหนึ่ง ในการถนอมอาหาร โดยผานพลังงานเทานั้น ไมไดฉายรังสีสูอาหารโดยตรง ซึ่งวิธีนี้ไดมีการทดลองและวิจัย ทั้งในและตางประเทศ และไดรับการยอมรับจากหลายประเทศดวยคะ ทำใหเรามั่นใจไดเลยวาอาหาร ฉายรังสีทเ่ี รากำลังจะทานเขาไปนะ ไมมอี นั ตรายแนนอน เพราะอาหารฉายรังสีทกุ ชนิดตองไดรบั อนุญาตจาก องคการอาหารและยา (อย.) กอน จึงจะสามารถนำมาฉายรังสีได เห็นไหมละไมอันตรายอยางที่คิดเลย หากอยูในการควบคุมปริมาณที่ใชอยางพอเหมาะ

Cover Story

อาหารที่เรากินเปนประจำ เชน กุง เนื้อไก ก็สามารถนำมาฉายรังสีได

แลวทำไมเราจึงนำอาหาร บางชนิดไปฉายรังสี ? ก็เพื่อฆาเชื ้ อ และยื ด อายุ ข องอาหาร สถาบั น เทคโนโลยี น ิ ว เคลี ย ร แ ห ง ชาติ (องค ก ารมหาชน) ไดทำการสุมตรวจเนื้อสัตวทั้งสดและแชแข็งบางชนิด ก็ไดพบ “เชื้อชาลโมเนลา” ที่เปนสาเหตุหนึ่งของโรค ทองรวง ดวยเหตุนี้เองทางสถาบันฯ จึงเกิดความคิด ที่ตองการใหผูบริโภคอยางเรา ๆ ทานอาหารกันได อยางปลอดภัยหางไกลพวกเชื้อโรค เชื้อรา การวิจัย เรื่องการฉายรังสีอาหารจึงเกิดขึ้น บางคนอาจสงสัยวา ทำไมความรอนเพียงอยางเดียวไมสามารถกำจัดหรือ ลดปริมาณเชื้อเหลานี้ได อันที่จริงก็สามารถทำไดคะ แต ท ำได ก ั บ อาหารที ่ ม ี น ้ ำ เป น องค ป ระกอบเท า นั ้ น ความรอนจึงไมเพียงพอสำหรับการฆาเชื้อใหอาหาร สดและอาหารแชแข็งคะ ลองคิดดูกันเลน ๆ อาหาร ที่เรานำไปแชแข็งจะเพื่อสาเหตุใดก็ตามแนนอนคะ

12 FUSION MAGAZINE

มันตองคางคืน ทำใหสารอาหารบางชนิดหายไปแน ๆ ที่สำคัญการเนาเสียก็มีมากขึ้นดวยนะ ซึ่งคุณจะรูได อยางไร พิสูจนไดอยางไร และหากคุณนำอาหารสด ไปผานความรอนเพื่อฆาเชื้อโรค มันจะทำใหลดอายุ ของอาหารลง เพราะความสุกพรอมทานของอาหาร นั่นแหละ ซึ่งคุณตองทานทันทีไมสามารถเก็บไดหรือ คางคืนได ดวยเหตุผลนี้เอง การฉายรังสีจึงเปนอีก ทางเลื อ กหนึ ่ ง ที ่ ค งไว ซ ึ ่ ง คุ ณ ประโยชน ข องการเก็ บ ยืดอายุอาหารคะ นอกจากนี้ยังชวยกระตุนเศรษฐกิจ การส ง ออกด ว ยนะ ซึ ่ ง แน นอนหากอาหารฉายรั ง สี ไมปลอดภัย ตางประเทศไมมีทางยอมใหเรานำเขา ประเทศเขาแน ๆ และดวยเหตุนี้ ทำใหเรามั่นใจไดวา ปลอดภัย ไมมีสารรังสีตกคาง


Cover Story

มังคุด ผลไมของไทยที่ทุกคนชอบทาน ก็นำมาฉายรังสีเพื่อฆาเชื้อโรคไดดีทีเดียว แหนมฉายรังสี อาหารแปรรูปอีกประเภท ทีส่ ามารถทานสดๆ ได เมือ่ ผานกระบวนการ

Cover Story FUSION MAGAZINE 13


Cover Story

Cover Story

หัวหอม เครื่องปรุงของไทยที่มี การปนเปอนของเชื้อโรคคอนขางมาก จากขั้นตอนในการเพาะปลูก จึงมีความจำเปนตองฉายรังสี เพื่อฆาเชื้อโรคเหลานี้

14 FUSION MAGAZINE


Cover Story

แหม! แบบนี ้ ก ็ ป ระหยั ด ไม ต  อ งเสี ย เงิ นซื ้ อ บ อ ย ๆ หากอาหารเกิ ด การเน า เสี ย ก อ นการบริ โภคด ว ยนะ แถมยังหางไกลเชือ้ โรคอีกดวย ระหวางทีก่ ำลังเดินหยิบ สินคาลงตระกราในซูเปอรมารเกตอยางสบายใจนั้น ก็คิดอะไรขึ้นมาคะ ถาหากวาหมูยอที่เลือกวันนี้ไมได ผ า นการฉายรั ง สี เราจะทราบได อ ย า งไรนะ ว า มั น ปลอดเชื ้ อ คิ ด เล น ๆ แต ก ็ เริ ่ ม กลั ว ขึ ้ น มาแล ว ล ะ สิ แบบนี้เราตองดูฉลาก และสังเกตสัญลักษณมาตรฐาน *RADULA (อธิบายเรื่องสัญลักษณในภาพประกอบ) ดีกวา เพื่อความปลอดภัยของเราวาไดผานกรรมวิธี และกระบวนการอยางถูกตอง สังเกตที่ฉลากดวยนะ ทั้งนี้ ก็เพื่อความมั่นใจยิ่งขึ้นวาไดผานการควบคุม จากกระทรวงสาธารณสุ ข ทั ้ ง สะดวก ประหยั ด และปลอดภัย อาหารมื้อนี้เพื่อคนที่เรารักจริง ๆ คะ เห็นไหมคะ อาหารฉายรังสีไมนา กลัวและไมอนั ตรายเลย เราสามารถรับประทานไดแบบไมตองหวงเรื่องของ รังสีตกคาง และอุนใจไดเลยคะ เนื่องจากไดรับการ ควบคุมปริมาณและชนิดของรังสีอยางดีจากองคการ อาหารและยา และกระทรวงสาธารณสุ ข แต ท ั ้ ง นี ้ อยาลืมสังเกตฉลากและสัญลักษณนะคะ ทานอาหาร ใหปลอดภัยและดีตอสุขภาพเพื่ออายุที่ยืนยาว สำหรับฉบับหนา เราจะแนะนำสาระอะไรใหคุณ โปรดติดตามกันตอไปนะคะ

สัญลักษณของการฉายรังสี ซึง่ องคการอาหารและยา หรือ FDA กำหนดใหแสดงสัญลักษณและขอความ บนหีบหอของอาหาร กลองที่บรรจุ บนใบโฆษณา และบนใบรายการสินคา สำหรับผลิตภัณฑที่มี สวนผสมผานการฉายรังสี

FUSION MAGAZINE 15

Cover Story

นอกจากอาหารแลว เครือ่ งปรุงรสของเราหลายชนิด ก็ผานการฉายรังสีนะ อยางเชน ออริกาโน อบเชย รวมทั้งสมุนไพรหลากหลายชนิดเลยคะ ที่ตองผาน การฉายรังสีกอนสงออก เพื่อเปนมาตรฐานการสงออก เห็นไหมคะ เปนเรื่องใกลตัวเรามาก ๆ ทั้งเรายังคุน เคยกันมานานแลวทีเดียว และบางทานติดใจกับกลิ่น รสของเครื่องปรุงเหลานี้มากดวย มาถึงตรงนี้แลว ทำใหนึกถึงไขพะโลหอมกรุน รสนุมลิ้นฝมือคุณแม เปนกับขาวที่แทบจะเปนอาหารติดบานไมแพไขเจียว เลยก็วาได ใครที่เคยเขาครัว หรือทำกับขาวเปนประจำ คงจะทราบกันดีคะ เครื่องเทศสำหรับทำพะโลสามารถ เก็บไดนานเลยทีเดียว แถมยังไมมีเชื้อราดวย บางบาน เก็ บ กั น หลายเดื อ นกลายเป นของติ ด ครั ว กั น ไปแล ว ถาตองฉีกซองบรรจุอาหารแลวผงะกับเชื้อรานี่ก็ไมไหว นะคะ คงกลั ว การซื ้ อ อาหารชนิ ด นั ้ น ไปเลยที เดี ย ว หรือตองเผชิญกับการทองเสีย และเชือ้ โรคตาง ๆ ทีเ่ รา ตองรับเขาสูรางกายโดยตรง แคคิดก็นากลัวแลวคะ ดีนะที่มีการฉายรังสีอาหารเกิดขึ้นเราเลยสบายใจได ในระดับหนึ่ง จะวาไปแลว การฉายรังสีอาหาร ก็คือ การยืดอายุของอาหาร หรือการถนอมอาหารที่คลาย กับการแชแข็ง หรือสตาฟอายุของอาหารนี่แหละคะ ทีส่ ำคัญไมไดทำลายกลิน่ สี หรือรสชาติดว ยนะ มันทำให เราเก็บของโปรดหรือวัตถุดิบไวใชไดในระยะหนึ่งเลย


Science Tech

ขอโอกาส

Science Tech

หอม(แดง)บาง หอมแดงจะปลูกมากในภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ โดยแหลงผลิต สวนใหญ อยูในจังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลำพูน พะเยา อุ ต รดิ ต ถ ศรี ส ะเกษ ชั ย ภู ม ิ เป น ต น พันธุที่นิยมปลูกมาก ไดแก 1) พันธุศรีสะเกษ 2) พันธุเชียงใหม 3) พันธุพื้นเมือง มีลักษณะเดน ที ่ เปลื อ กสี ข าวหรื อ ขาวอมเหลื อ ง กลิ ่ น ไม ฉ ุ น รสหวาน ในป 2550 จากขอมูลของสำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร มีพื้นที่ปลูกหอมแดงรวมทั้ง ประเทศ 108,763 ไร ผลผลิตถึง 208,995 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,922 กิโลกรัมตอไร หอมแดงไดรับ ความนิยมในการบริโภคมาก เห็นไดจากทุกครัว ไทยจะตองมีหอมแดงเตรียมไวเสมอ หอมแดง เปนองคประกอบสำคัญของอาหารไทยแทบทุกชนิด ทั้งประเภทแกงเผ็ด แกงเลียง ตมยำ หลน ยำ ลาบ น้ำพริกตางๆ เครื่องเคียงขาวซอย หรือใน ขนมหวาน เพราะเหตุผลทีห่ อมแดงชวยดับกลิน่ คาว และเพิ่มรสชาติของอาหารนั ่ น เอง

16 FUSION MAGAZINE

จากขอมูลพบวามีสัดสวนการบริโภคหอมแดง ในประเทศ คิดเปนรอยละ 65 และสงออกในรูป หอมแดงสด หอมแดงแหง และผลิตภัณฑอื่น ๆ รอยละ 35 โดยประมาณ หอมแดงที่มีชื่อเสียงวา เปนหอมแดงคุณภาพดี ไดแก หอมแดงจากจังหวัด ศรีสะเกษ ตลาดสงออกรายใหญไดแก อินโดนีเชีย มาเลเซี ย สิ ง คโปร ฮ อ งกง ญี ่ ป ุ  น ไต ห วั น และประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง คิดเปน มูลคาไมนอยกวา 500 ลานบาทตอป อานดูแลว อยากจะปลูกหอมแดงขายหรือเปนพอคาหอมแดง แลวใชไหมละ ขอเท็จจริงที่พบก็คือ หอมแดง ก็ เหมื อ นกั บ สิ นค า เกษตรทั ่ ว ไป ราคาหอมแดง จะขึ้นอยูกับปริมาณผลผลิตที่ผลิตไดในแตละป หากป ไหนผลผลิ ต น อ ยราคาก็ จ ะสู ง แต ป  ไหน ผลผลิตมากหรือชวงเวลาที่ผลผลิตออกมาพรอม กันหลายพื้นที่เปนปริมาณมาก ๆ ราคาก็จะตกต่ำ ขาดทุนไปตาม ๆ กัน ทั้งนี้ เนื่องจากหอมแดง ไมสามารถเก็บไดนานเพราะจะงอกและเนาได

เกษตรกรหรือผูประกอบการจึงจำเปนตองขาย อย า งไม ม ี ท างเลื อ กแม ร าคาจะถู ก นอกจากนี ้ ทราบหรือไมวาในชวงเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม ของทุ ก ป ประเทศไทยต อ งนำเข า หอมแดง จากประเทศเพื่อนบาน เพื่อมาบริโภคในประเทศ เนื่องจากผลผลิตในประเทศไมเพียงพอตอความ ตองการ คิดเปนมูลคาหลายลานบาทตอปเชนกัน จากปญหาขางตน ศูนยฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) พบวาการ ฉายรั ง สี เพื ่ อ ยั บยั ้ ง การงอกของพื ช หั วระหว า ง การเก็บรักษา โดยฉายรังสีปริมาณไมเกิน 0.15 กิ โ ลเกรย จะหยุ ด การเจริ ญ เติ บ โตของเซลล ที่ทำใหเกิดการงอก โดยรวมกับการเก็บรักษาดวย การแชเย็น (Cold Storage) ทำใหสามารถเก็บ รักษาผลผลิตไดนานหลายเดือน โดยไมงอกหรือ งอกเล็ ก น อ ย ทำให เ ก็ บ รั ก ษาคุ ณ ภาพผลผลิ ต ไดดียิ่งขึ้น


Science Tech

Science Tech

ในป 2557 ศูนยฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) จึงเริม่ ทำการ ศึกษาทดสอบการฉายรังสี เพื่อยับยั้งการงอกของ หอมแดงในเชิงพาณิชย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ยั บ ยั ้ ง การงอกและเก็ บ รั ก ษาหอมแดงให อ ยู  ใน สภาพดีเปนระยะเวลาประมาณ 3-5 เดือน หลังการ เก็ บ เกี ่ ยว หากผลการศึก ษาทดสอบเปน ไปตาม เป า หมาย การฉายรั ง สี ห อมแดงและเก็ บ รั ก ษา แลวทยอยนำออกมาขายในชวงนอกฤดูทำใหเงินตรา ไม ร ั ่ ว ไหลออกนอกประเทศ จะสามารถลดการ นำเข า หอมแดงจากต า งประเทศในช ว งเวลาที ่ ไมมีผลผลิตหอมแดงภายในประเทศได เขาทำนอง ที่วาปลูกเอง ซื้อเอง กินเอง และนาจะทำใหราคา หอมแดงไมตกต่ำ มีเสถียร สม่ำเสมอ สามารถ ควบคุมได ทำใหเกษตรกรไมถูกเอารัดเอาเปรียบ จากพอคาคนกลาง สามารถเจรจากับผูน ำเขา-สงออก และลดความเสี่ยงทุกภาคสวน ตั้งแตผูปลูกจนถึง ผูบริโภคในประเทศนั่นเอง

“การฉายรังสีหอมแดงชวยยับยั้งการงอกและเก็บรักษา หอมแดงใหอยูในสภาพดีเปนระยะเวลาประมาณ 3-5 เดือน ทำใหหอมแดงไมขาดตลาด และลดการนำเขาจากตางประเทศ” FUSION MAGAZINE 17


Machinery Sight

เครื่องฉาย

Machinery Sight

รังสีแกมมา

รังสีแกมมา เปนรังสีชนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electro Magnetic Radiation หรือ EMR) ที่มีพลังงานและการทะลุทะลวงสูงมาก ในธรรมชาติเกิดจากการสลายของนิวไคลดกัมมันตรังสี มักเกิดรวมกับรังสีแอลฟาและรังสีบีตา รังสีแกมมามีพลังงานสูงมากในสเปกตรัมของคลื่น แมเหล็กไฟฟา ตามปกติจะมีพลังงานมากกวา10 กิโลอิเล็กตรอนโวลต (keV) ขึน้ ไป เปรียบเทียบกับ รังสีอลั ตราไวโอเลตจะมีพลังงานในชวง 2 - 3 eV เทานัน้ หรือเทียบกับรังสีเอกซกจ็ ะมีพลังงาน ในชวง 100 eV ถึง 100 keV ความสามารถในการทะลุทะลวงสูงของรังสีแกมมา ถูกนำมาใช ประโยชนอยางมากมาย จากตนกำเนิดรังสีแกมมาหลายชนิด เชน • ซีเซียม-137 ใชวดั และควบคุมการไหลของของเหลว ควบคุมปริมาณบรรจุอาหารและเครือ่ งดืม่ วัดความหนาแนนของดินในพื้นที่กอสราง • โคบอลต-60 ใชปลอดเชื้อเครื่องมือแพทย ใชพาสเจอไรสอาหารและเครื่องเทศบางชนิด ใชวัดความหนาในการผลิตเหล็กแผน ฉายรังสีเพื่อเปลี่ยนสีอัญมณี • เทคนีเชียม-99เอ็ม ซึ่งมีครึ่งชีวิตสั้นมากสามารถใชวินิจฉัยความผิดปกติอวัยวะสำคัญ (สมอง กระดูก ตับ ไต) ไดโดยมีผลกระทบนอยที่สุด • อะเมริเซียม-241 ใชมากในกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม เชน ใชวดั ระดับของเหลว ใชวดั ความหนาแนนของของเหลว ใชวัดความหนา ใชวัดระดับเชื้อเพลิงของเครื่องบิน ปจจุบนั สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) มีเครือ่ งฉายรังสีแกมมา จำนวน 2 เครื่อง ซึ่งทำหนาที่แตกตางกันไป เครื่องแรกเปนเครื่องฉายรังสีแกมมา ซึ่งอยูภายใต การควบคุมและดูแลของศูนยฉายรังสี ตัง้ อยูใ นเทคโนธานี คลองหา ปทุมธานี โดยศูนยฉายรังสี ใหบริการฉายรังสีดวยรังสีแกมมา โดยผลิตภัณฑที่นำมาฉายรังสีนั้น มีหลากหลายชนิด เชน อาหารสัตว สมุนไพร ผลไมสงออก 6 ชนิด และเวชภัณฑทางการแพทย โรงงานฉายรังสีแกมมา มีการออกแบบที่ไดมาตรฐานปจจุบัน ศูนยฉายรังสีใชเครือ่ งฉายรังสีแบบ Carrier Type รุน JS 8900 IR-155 ออกแบบโดยบริษทั Nordion International Inc. จากประเทศแคนาดา ตู  ท ี ่ ใ ช บ รรจุ ส ิ น ค า เพื ่ อ นำเข า ไปฉายรั ง สี น ั ้ น แบ ง เป น 2 ส ว น (Compartment) คือ บนและลาง โดยแตละ Compartment มีขนาด กวาง 60 เซนติเมตร ยาว 120 เซนติเมตร สูง 120 เซนติเมตร

ผลไมขึ้นชื่อของไทยผานการฉายรังสี เพื่อสงออกไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา สรางรายเขาสูประเทศปละ หลายรอยลานบาท

18 FUSION MAGAZINE


Machinery Sight

เครื่องฉายรังสีแบบ Carrier type รุน JS 8900 IR-155 ออกแบบโดย บริษัท Nordion International Inc. แคนาดา

ตัวเครื่องฉายรังสีแกมมา ใชตนกำเนิดรังสีโคบอลต-60 จำนวนทั้งหมด 6 แทง ซึ่งแตละแทงมีความแรง ประมาณ 12,000 คูรี ความแรงรังสีรวมทั้งหมด 70,500 คูรี ปจจุบันความแรงรังสีลดลงเหลือ 49,374 คู ร ี ผลิ ต โดยบริ ษ ั ท Paul Stephens Consultancy Ltd. ประเทศอั ง กฤษ

Machinery Sight

สำหรับเครื่องฉายรังสีแกมมาอีกเครื่องหนึ่งอยูในความดูแลของศูนยฉายรังสี ติดตั้งอยูที่ศูนยฉายรังสีอัญมณี สำนักงานใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก ใชสำหรับฉายรังสีอัญมณีตัวเครื่องฉายรังสีแกมมา ใชตนกำเนิ​ิดรังสีโคบอลต-60 ทั้งหมด 6 แทง ซึ่งแตละแทงมีความแรงประมาณ 12,000 คูรี ความแรงรังสีรวมทั้งหมด 70,500 คูรี ปจจุบันความแรงรังสีลดลงเหลือ 49,374 คูรี ผลิตโดย บริษัท Paul Stephens Consultancy Ltd. ประเทศอังกฤษ ปริมาณรังสีที่วัดไดปจจุบันที่ตำแหนง Center ไดเทากับ 12 kGy/hr ตำแหนงอื่น ๆ ลดลงตามระยะทางที่หาง จากตนกำเนิดรังสี แทงของตนกำเนิดรังสีจัดเก็บแบบแหง ในที่กำบังรังสีซึ่งทำจากตะกั่วหนา ขณะที่ไมไดใชงาน ในขณะใชงานแทงตนกำเนิดรังสีจะถูกดันดวยลมออกจากตัวกำบังรังสี เพื่อใหรังสีแผออกมา ประโยชน ข องเครื ่ อ งฉายรั ง สี แ กมมาโดยไอโซโทปรั ง สี โคบอลต - 60 เครื ่ อ งนี ้ สามารถนำมาใชในการฉายรังสีอัญมณีเพื่อเปลี่ยนสีหรือใชในการปรับปรุงวัสดุอื่น ๆ สำหรับงานบริการหรืองานวิจัย โดยภายในหองฉายรังสีแกมมา สามารถฉายรังสี ไดทุกบริเวณ ในกรณีฉายรังสีอัญมณีหรือฉายงานวิจัย ที่ตองการปริมาณรังสีสูง และใชเวลาฉายไมนาน ฉายบริเวณใกลตนกำเนิดรังสีโคบอลต-60 (บริเวณ Center) และสามารถหมุนไดขณะฉายรังสี เพื่อใหไดรับปริมาณความสม่ำเสมอ รังสีแกมมา จากไอโซโทปโคบอลต -60 เป นคลื ่ น แม เหล็ กไฟฟ า การฉายอั ญมณี ด  ว ยรั ง สี แกมมา ไมกอใหเกิดไอโซโทปรังสีใด ๆ ภายในเนื้ออัญมณี FUSION MAGAZINE 19


หนีรอนจากเมืองไทย ไปตากอากาศสบายๆ

New York City

ชวงนี้อุณหภูมิของอากาศในเมืองไทย ก็ไดพุงทะยานแตะความรอนถึงขีดสุด ไปเปนที่เรียบรอยแลว วันนี้เราชวนคุณ หนีรอนไปพักผอนตากอากาศสบาย ๆ กันที่ มหานครนิวยอรก New York City (NYC) กันดีกวาคะ นิวยอรก ไดรบั สมญานามวา เปนมหานครศูนยกลาง ของความทันสมัยและศิวิไลซ ที่ยิ่งใหญที่สุดในสหรัฐอเมริกา เปนทีต่ ง้ั ของสำนักงานใหญองคการสหประชาชาติ อีกทัง้ ยังเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุด จึงไมแปลกใจที่นิวยอรกจะกลาย เปนมหานครเอกของโลก โดยไมมีเมืองใดเทียบเคียง สำหรับเรื่องสถานที่ทองเที่ยวของนิวยอรกก็ไมแพที่ใด วันนี้เราจึงขอแนะนำ 5 สถานที่หนีรอน เมื่อไปถึง นิวยอรกตองไมพลาดไปสัมผัส 20 FUSION MAGAZINE

บอรดเวย (Broadway) สถานที่ที่มีชื่อเสียงในดาน

ของโรงละคร เปนทีม่ าของชือ่ ถนนบอรดเวย เหมาะสำหรับ ผู  ท ี ่ ช ื ่ น ชอบศิ ล ปะการแสดง นอกจากศิ ล ปะแล ว คุณยังสามารถไปชอปปงที่ฟฟท อเวนิว (5th Avenue) พรอมชมความงามของ โบสถทรินิตี้ กอนจะไปสัมผัส ความเปนไปของชาวนิวยอรกเกอรที่ไทมสแควร

อนุสาวรียเทพีเสรีภาพ (Statue of Liberty)

1 สัญลักษณของ "เสรีภาพ" ของชาวอเมริกา 1 ในสิ่ง กอสรางมหัศจรรยของโลกชิ้นหนึ่ง อนุสาวรียที่ทาง ฝรั่งเศสมอบใหกับชาวอเมริกัน เพื่อเปนของขวัญฉลอง ครบรอบ 100 ป ในวันประกาศอิสรภาพจากประเทศ อังกฤษ ถามาถึงนิวยอรกแลวไมถา ยภาพคูก บั อนุสาวรีย เทพีเสรีภาพ คงจะไมสามารถไปอวดใครได

พิพิธภัณฑศิลปะ เมโทรโพลิทัน (Metropolitan Museum of Art) เสริมสรางแรงบันดาลใจจากการเที่ยวชมพิพิธภัณฑ ศิลปะที่ยอดเยี่ยมอีกแหงหนึ่งของโลก สถานที่รวบรวม จัดแสดงผลงานอันเลื่องชื่อของเหลาศิลปนในตำนาน เชน เซซาน, โมเนต, ปกัสโซ แคนดินสกี้ เดอะ โมมา

Metropolitan Museum of Art พิพิธภัณฑศิลปะ ที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก


Voyage สวนสาธารณะ เซ็นทรัล พารค (Central Park)

หลบหนีความวุนวายมาพักผอนภายใตสวนสาธารณะ ที่มีขนาดใหญถึง 460 สนามฟุตบอล สวนสาธารณะ ที่มีทั้งสวนสัตว รูปปน รานอาหาร มาหมุน ลานน้ำพุ หรือแมกระทั่งลานสเก็ต ใหคุณไดเลือกพักผอนตาม ไลฟสไตลของคุณ

หมูบานกรีนวิช (Greenwich Village)

เทพีเสรีภาพ (Statue of Liberty) สัญลักษณ สำคัญแหงมหานครนิวยอรก ยิ่งใหญตระการตา

Voyage

หมู  บ  า นที ่ เคยเป น เขตอุ ต สาหกรรมที ่ ส ำคั ญ ในอดี ต ปจจุบันกลายเปนชุมชนศิลปะที่ทรงสเนห อยูใกลกับ มหาวิทยาลัยนิวยอรกอันโดงดัง ดึงดูดใหนักทองเที่ยว มากมายไดเขามาเยี่ยมชมอยางไมขาดสายแตกอนที่ จะแพ็กกระเปาแลวออกไปสัมผัสกับความศิวิไลซของ นิวยอรกนัน้ เราก็ตอ งศึกษากฎขอบังคับกอนทีจ่ ะเดินทาง เขาไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาใหดเี สียกอน โดยเฉพาะ การนำเขาผักผลไมสดมายังประเทศสหรัฐอเมริกานั้น ไมใชวาใครก็จะหิ้วเขามากันซื้อขายกันงาย ๆ เพราะ ประเทศนีม้ กี ฎระเบียบดานสุขอนามัยพืชคอนขางเขมงวด เรามีเกร็ดความรูเ ล็ก ๆ นอย ๆ เกีย่ วกับกฎระเบียบในการ จดทะเบียนผูสงออก และโรงงานแปรรูปสินคาที่จะ สงออกไปยังสหรัฐอเมริกามาฝากคะ สำหรับสินคา อาหารกลุม เสีย่ ง ไดแก กลุม อาหารกระปอง อาหารทีม่ ี ความเป นกรดต่ ำ ต อ งมี ก ารจดทะเบี ย นเป น พิ เศษ และตองให USFDA พิจารณาอนุญาตถึงกระบวนการ ผลิตเสียกอน สวนน้ำผลไม อาหารทะเล ก็ตองผาน กฎหมายวาดวยการปรับปรุงความปลอดภัยทางดาน

อาหารใหทนั สมัย (Food Safety Modernization Act) และไดรบั การรับรองระบบจาก Hazard Analysis and Critical Control Point (HACCP) จึงจะสงออกไดเชนกัน ซึ่งกฎหมายนี้ไดลงนามโดยประธานาธิบดี และมีการ เผยแพรสาระสำคัญของกฎหมายนี้เปนภาษาตาง ๆ รวมทัง้ ภาษาไทย ตัง้ แตวนั ที่ 4 มกราคม 2554 เปนตนมา สำหรับผลไมสดในประเทศไทยที่สามารถสงออกได ในปจจุบัน มีเพียง 7 ชนิดเทานั้น ไดแก ลำไย ลิ้นจี่ มังคุด เงาะ มะมวง สับปะรด และแกวมังกร แตทกุ ชนิด ตองผานการฉายรังสี รวมทั้งการตรวจรับรองโดยกรม วิชาการเกษตร กอนทำการสงออก และพืชของไทย บางชนิดทีต่ อ งผานการทำ Treatment ดวยการรมเมธิล โบรไมด กอนสงออก ไดแก พืชตระกูล Allium spp. (bulb) ไดแก หนอไมฝรัง่ พืชตระกูล Basil ไดแก เผือก ผักชีฝรัง่ ขา ทุเรียน เปนตน ตองขอบคุณกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่ทำให ประเทศของเราสามารถสงออกพืช และผลไมขึ้นชื่อ ของไทยใหชาวตางชาติทว่ั โลกไดลม้ิ ลองและสรางรายได ใหกบั ประเทศมากมาย นอกจากเราจะไดทราบถึงสถานที่ ทองเที่ยวหนีรอนที่ New York City กันอยางจุใจถึง 5 ที ่ แ ล ว ยั ง ได เ กร็ ด ความรู  เ กี ่ ย วกั บ สุ ข อนามั ย พื ช ในการนำเขาผักผลไมสด รวมไปถึงกระบวนการกอนสง ผลไมสดไปยังตางประเทศ ความรูเหลานี้มีพกติดตัวไว กอนออกเดินทางไมเสียหาย ในเมื่อจุดหมายปลายทาง พรอม ความรูแ นน ! ไดเวลาแพ็กกระเปาไปเทีย่ วกันแลว ! Central Park สวนสาธารณะที่มีขนาด เทียบเทาสนามฟุตบอล 5 สนามเลยทีเดียว

Broadway มีชื่อเสียงในดานความบันเทิง และโรงละครระดับโลก Photograph : Sean Pavone / Shutterstock.com

Photograph : Sean Pavone / Shutterstock.com

FUSION MAGAZINE 21


Activities News

สทน. ลงนามความรวมมือกับ มจธ. รวมพัฒนาคนดานวิศวกร สทน. ไดรับความไว ว างใจในการพั ฒนาศั กยภาพของบุ ค ลากรที ่ จ ะเป น วิศวกรในอนาคต โดย สทน.ไดลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการ ระหวาง สทน. และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี หรือ มจธ. ซึ่งไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีนิวเคลียรและการใชประโยชน ทาง มจธ. และคณะวิ ศ วกรรมศาสตร ได ม ี ก ารปรึ ก ษาหารื อ กั น ในเรื ่ อ งนี ้ กับผูเ ชีย่ วชาญจากหลายแหง รวมไปถึงผูเ ชีย่ วชาญจากญีป่ นุ ซึง่ ไดใหคำแนะนำ ถึงหัวใจสำคัญของเทคโนโลยีนิวเคลียร ขณะนี้ มจธ. มีความพรอมดวยกำลังคน ไมวาจะเปน นักศึกษา อาจารย และนักวิจัย ของ มจธ. ขาดเพียงผูสนับสนุน ที่มีองคความรูอยางแทจริง ซึ่งก็ไดทาง สทน. เขามารวมมือกัน เพื่อใหคำแนะนำ และรวมสรางงานวิจัยและพัฒนาตอยอดเทคโนโลยีของการดำเนินงานตามบันทึก ขอตกลง หรือกิจกรรมนิวเคลียรใหเกิดประโยชนสูงสุดแกประเทศ

Activities News

ขอบเขตความรวมมือของแตละฝายมีเนือ้ หาทีน่ า สนใจ เชน การถายทอดความรูพ น้ื ฐานดานวิศวกรรมเครือ่ ง ปฏิกรณ การฝกอบรมเชิงปฏิบัติการโดยใชเครื่อง ปฏิกรณปรมาณูวจิ ยั ปปว.-1/1 การฝกอบรมทางดาน การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการคำนวณเชิง นิวเคลียร ความรวมมือในดานงานวิจัยและพัฒนา ที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีนิวเคลียร การประยุกตใช เทคโนโลยีนิวเคลียร ในดานตาง ๆ เรียกไดวา กาวไปอีกขั้นกับการพัฒนาบุคลากรทางนิวเคลียร

สทน. รวมกับญี่ปุน จัดการประชุมการประชุมเชิงปฏิบัติการ NAA

การจัดงานในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการในชวง 3 ปที่ผานมา ซึ่งประกอบดวยโครงการยอย 3 โครงการ คื อ : Geochemical Mapping and Mineral Exploration, Monitoring of Food Contamination และ Monitoring of Pollutants in Marine Sediments ในประเทศไทยเข า ร ว มในโครงการย อ ยด า นการวิ เคราะห ก ารปนเป  อ นในอาหาร ในป ท ี ่ ผ  า นมา ประเทศไทย โดย สทน. ได ท ำการวิ เคราะห ต ั ว อย า งปลาที ่ น ิ ย มบริ โภค จำนวน 10 ชนิ ด ด ว ยเทคนิ ค NAA โดยใชรังสีนิวตรอนจากเครื ่ องปฏิ กรณ ป รมาณู ว ิ จ ั ย ปปว.-1/1 ในงานวิ จ ั ย นี ้ ได เน นศึ ก ษาธาตุ โลหะหนั ก และมี ค วามเป นพิ ษ ได แ ก As, Hg, Cr และ Cd ในโอกาสนี ้ ดร.สมพร จองคำ ผสทน. ได บ รรยายพิ เศษในหั ว ข อ Strategic Plan for New Research Reactor in Thailand ด ว ย

22 FUSION MAGAZINE


Activities News

วพ. เปดหองทดลอง โครงการวิจัยรวมกับ IAEA

1 January

1896

Wilhelm Roentgen

นักวิทยาศาสตรชาวเยอรมัน ไดคน พบรังสีเอกซ เขาไดสง สำเนาตนฉบับ แกเพือ่ น ๆ และนักฟสกิ สทม่ี ชี อ่ื เสียงหลายคน โดย 4 วันตอมา Die Presse ไดตพ ี มิ พการคนพบนีแ้ ละไดถอื กำเนิดรังสีใหมทน่ี ำไปใชวนิ จิ ฉัยในการแพทย วาเปนแสงทีใ่ ชในการถายภาพทีส่ ามารถสองทะลุเนือ้ ไม ผิวหนัง และเสือ้ ผา .............................................................................................

17 January

1949

Activities News

เนื่องดวย วพ. มีโครงการวิจัยรวมกับ IAEA ในหัวขอ Supporting Radiation Processing for the Development of Advanced Grafted Materials for Industrial Applications and Environmental Preservation (RAS1014) โดย ดร.เกศินี เหมวิเชียร ในฐานะผูป ระสานงาน โครงการฯ ของประเทศไทย ไดดำเนินการขอผูเชี่ยวชาญจาก IAEA เพื่อมามอบคำแนะนำเรื่องโครงการวิจัยเปนเวลา 1 สัปดาห ระหวาง วันที่ 20 – 24 มกราคม 2557 โดยมีความประสงคใหผูเชี่ยวชาญ ใหคำปรึกษาและคำแนะนำทางเทคนิค โดยผูเชี่ยวชาญ คือ Dr. Noriaki Seko จาก JAEA Takasaki ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเรือ่ ง Radiation Grafting of Polymers for Environmental Applications ทั ้ ง นี ้ ในวั นที ่ 23 มกราคม 2557 วพ. มีกิจกรรม Journal Club จึงไดเปดโอกาส ใหเจาหนาที่ สทน. รับฟงการบรรยายจาก Dr. Seko ในหัวขอ “Current Status of Radiation Grafting Technique and Industrial Applications” โดยการบรรยายไดพูดถึงการมีสวนรวมในปฏิบัติการ Fukushima Contribution Using Grafted Adsorbent ของ Dr. Seko และทีมงานจาก IAEA Takasaki ดวยผูเชี่ยวชาญ มาปฏิบัติงานรวมกับนักวิจัยของ วพ. เพื่อติดตั้งและออกแบบอุปกรณ สำหรับการทำปฏิกริ ยิ ากราฟตพอลิเมอไรเซชัน โดยไดตดิ ตัง้ และออกแบบ ระบบสุญญากาศ สำหรับการเตรียมตัวอยางภายหลังการฉายรังสีแบบ Preirradiation และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักวิจัยของ วพ. ในการทำวิจัย การเตรียมตัวดูดจับโลหะไอออนสำหรับการประยุกต ใชงานทางดานสิ่งแวดลอม และการเตรียมไฮโดรเจนสำหรับใชงาน ทางการแพทย นอกจากนี้ ผูเชี่ยวชาญไดปฏิบัติงานรวมกับนักวิจัย ของ วพ. เพื่อออกแบบและติดตั้งเครื่องเก็บสารละลายแบบอัตโนมัติ สำหรับใชในการทดสอบความสามารถในการดูดจับโลหะไอออน ของตัวดูดจับโลหะไอออน

Nuclear In History

Edwin Mattison เปนครั้งแรกที่มีการปลดปลอยพลังงานจาก Synchrotron เครื่องแรก ถูกออกแบบโดย Edwin Mattison ใชสำหรับเรงอิเล็กตรอน ซึง่ มีประจุลบ โดยใชแมเหล็กแบบ Bebatron ที่มีน้ำหนักประมาณ 8 ตัน .............................................................................................

3 April

1965 SNAP 10A

เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรในอวกาศเครื่องแรก ไดถูกสงขึ้นไปยังอวกาศ ใหกำลัง 500 กิโลวัตตตอ ชัว่ โมง สามารถทำงานไดทง้ั สิน้ 10,000 ชัว่ โมง เครือ่ งปฏิกรณไดปด ตัวลงหลังจากการใชงาน 45 วัน เนือ่ งจากระบบไฟฟา ขัดของ SNAP 10A นับเปนเครือ่ งปฏิกรณเครือ่ งเดียวของสหรัฐอเมริกา .............................................................................................

FUSION MAGAZINE 23


Edutainment

Gadget

Transparent Toaster

Edutainment

Hapifork

เห็นแลวตองรองวาว! หากคุณ ๆ ตองการควบคุมน้ำหนัก ดวยเซนเซอร สั่นเตือนเมื่อคุณเคี้ยวเร็วเกินไป โดยการทำงานของเจาสอมตัวนี้ จะจับบันทึกพฤติกรรมการรับประทาน อาหารของคุณ ดวยความเร็วในการชอน อาหารเขาปากและปร�มาณของอาหาร ในแตละคำ เพื่อชวยระบบการยอย โดยแสดงผลบนสมารทโฟนของคุณ ผานบลูทูธ ดวยแอพพลิเคชั่น HAPILABS หร�อแสดงผลทาง PC ผาน USB สำหรับ ตรวจวัดขอมูลดวย hapilabs.com โดยเจาสอมตัวนี้ สามารถควบคุมไดเพียง การเคี้ยวเพื่อระบบยอยที่ดีเทานั้น

ความชอบของแตละคนไมเหมือนกัน และแนนอน ความกรอบของขนมปงปง ทีค่ ณ ุ ชอบยอมตางกัน ตัดปญหาเร�อ่ งนีไ้ ปไดเลย เพียงคุณมีทป่ี ง ขนมปง กระจกใสแจวตัวนี้ คุณจะไดความกรอบอยางที่ คุณพอใจ ยัว่ ยวนดวยสีทองของเนือ้ ขนมปง อืม เห็นแลวชางเปนมือ้ เชาทีแ่ สนว�เศษ กระตุน ไฟ ในการทำงานยามเชาเสียจร�งๆ Found on inspirationfeed.com

Smartphone Desk Stand เมื่อเทคโนโลยีมาจับคูกับงานไมที่ดูเปน เอกลักษณดุจหนึ่งในช�้นงานศิลปะ ที่บรรจงสรางอยางประณีตข�้นมาเพื่อ สมารทโฟน ที่ผลิตมาจากไม โอคชั้นดี ชั้นวางสมารทโฟนสุดเกตัวนี้ ชวยใหคุณ วางมันเพื่อรับชมภาพและเสียงไดอยาง มีอรรถรสหร�อในขณะที่คุณกำลังจ�บไวน อยางสบายใจ แถมยังวางไดทั้งแนวตั้ง และแนวนอน แบบนี้ ไมมีไมไดแลวละสิ ! Credit : Terryswoodworking

Found on babble.com

Perfect Drink Smart Bartender

หากชอบปารตท้ี บ่ี า น แตกไ็ มเคยจำสูตรค็อกเทล ตัดปญหากังวลไปเลยคะ ถาคุณมี Perfect Drink Smart Bartender ทีจ่ ะเปลีย่ นคุณใหกลายเปน บารเทนเดอรสดุ เจงได ในทันที เพราะมันคือ อุปกรณทเ่ี ช�อ่ มตอสมารทโฟน หร�อแทบเล็ต กับตราชัง่ ดิจต� อล ทีไ่ มวา คุณตองการเมนูไหน ก็สามารถดูสตู ร และชัง่ ตวงน้ำหนักสวนผสม ผานหนาจอไดเลย แคนก้ี ป็ ารตใ้ี หสนุกไดแลวละ

Found on theawesomer.com

24 FUSION MAGAZINE

Hamilton Beach Toaster อีกหนึ่ง Gadget ที่เห็นแลวตองทึ่ง กับเชา อันแสนร�บเรงและแนนอนสิ่งที่คุณจะขาดไมได เลยคือ อาหารเชาสุดว�เศษ เพียงคุณใสไอเดีย จับคูกับไมวาจะเปนอิงลิชมัฟฟน หร�อขนมปง เบอรเกอร จับคูกับไข แฮม โรยเบคอนลูกเตา แคนี้ก็งายแถมยังรวดเร็วดวยนะ เพราะเจา เคร�่องนี้สามารถทำทุกอยางใหสุกกรุนภายใน ครั้งเดียว แบบนี้ไมรองวาว! ไมไดอีกแลว Found on ebay.com

Secure USB Key

เมื่อการทำงานบนคอมพิวเตอรของคุณ จำเปนตองมีการเก็บขอมูลสำคัญไวมากมาย จนทำใหกลัววาถาเจา USB ตัวโปรดของคุณ ที่ Backup ขอมูลลับไวจะหายและถูกขโมย ตองนี่เลย Secure USB Key ที่จะทำใหคุณ ปลอดภัยไรกังวลกับการเขารหัสแบบที่ใคร ก็ไมสามารถเดาได

Credit : bestproductsgadgets.com


Edutainment

Movie

transcendence : (Sci-fi Thrillers) เขาฉาย 17 เมษายน 2557 กำกับโดย Wally Pfister

X-Men Days of Future Past (Action Sci-fi) เขาฉาย 22 พฤษภาคม 2557 กำกับโดย Bryan Singer (ผูกำกับ X-MEN ภาคแรก และ Super Man Returns)

เมื่อความหวังไมอาจคงอยูไดตราบนานเทานาน เหลาฮีโร ตางพากันสิ้นหวัง การรวมตัวตอสูกับสงครามครั้งยิ่งใหญของเหลา X-MEN จ�งกอตัวข�้น เพื่อหาทางเอาตัวรอดจากสายพันธุที่มีอายุขามสองยุคสมัย ในภาพยนตรเร�่อง X-MEN : DAYS OF FUTURE PAST เหลาตัวละครโปรด จากภาพยนตรไตรภาค "X-Men" ตนฉบับกลับมาผนึกกำลังรวมกับตัวเอง ในอดีตจาก "X-Men: First Class" ในการตอสูครั้งยิ่งใหญที่ตองเปลี่ยนแปลงอดีต เพื่อรักษาอนาคตของพวกเขาไว เร�่องราวนี้กำลังรอใหคุณติดตามชม หามพลาด!

FUSION MAGAZINE 25

Edutainment

การพลิกบทบาทของ จอนหนี่ เดปป ใหเปนนักว�ทยาศาสตร ดานคอมพิวเตอร ที่สรางสุดยอดความฉลาดเหนือมนุษย พรอมกับความรูสึก ดวยโปรแกรมอัจฉร�ยะที่เช�่อมสมองของเขา กับระบบปฎิบัติการ แตเกิดพลิกผันเมื่อเขากลับถูกตามลา ดวยกลุมคนกลุมหนึ่ง เร�่องราวจะดำเนินไปอยางไร เขาจะกลายเปน คอมพิวเตอร หร�อคอมพิวเตอรจะกลายเปนเขา หร�อทั้งสอง สิ่งจะกลายเปนสิ่งเดียวกัน ตองไมพลาด !


Edutainment

Nuclear Science Glossary Terms

App ที่เต็มไปดวยงานชีววิทยาตาง ๆ ชวยเพิ่มเติมความรู หรือคนหา ขอมูลไดอีกดวยนะ ที่สำคัญฟรี! พกพาติดตัวไดเสมอเลยนะ เพียงคุณมี สมารทโฟน

Edutainment

App นี้ เหมาะสำหรับคนที่อยากรู เรื่องของรังสีนิวเคลียรเลยคะ และยังอธิบายดวยนะวาแตละสวน ของรังสีมาจากไหน มีองคประกอบ อะไรบาง เยี่ยมยอดจริง ๆ

Talking Glossary of Genetics HD

13 มีนาคม ค.ศ. 1738

27 มีนาคม ค.ศ. 1845

4 เมษายน ค.ศ. 1578

23 เมษายน ค.ศ. 1858

นักฟสิกสเคมีคนพบกาซออกซิเจน ไนโตรเจนไดออกไซด แอมโมเนีย ไนตรัส ฯลฯ “โจเซฟ พริสตลีย” (Joseph Priestley)

(Wilhelm Conrad RöÖntgen) ผูคนพบรังสีเอ็กซ (X-rays) บางคน เรียกวา รังสีรีนตเกิน และยังเปน ศาสตราจารยทางฟสิกสอีกดวย

ผูคนพบระบบการไหลเวียนของโลหิต “วิลเลี่ยม ฮารวี่” (William Harvey) กำเนิดที่เมืองฟอลคสโตน ประเทศอังกฤษ

ผูคนพบทฤษฎีควอนตัม (แสงที่วัตถุ รอนเปลงออกมานั้น มีความเขม และความยาวคลื่นที่ขึ้นกับอุณหภูมิ ของวัตถุอยางไร) “แมกซ แพลงค” (Max Planck) โนเบลสาขาฟสิกส

26 FUSION MAGAZINE


Edutainment

Exhibition 9.05.2014

11.05.2014

สวนสาธารณะ อ.เมือง จ.ยโสธร ตื่นตากับการแขงขันบั้งไฟ สืบสาน วัฒนธรรมประเพณีมาแตชานาน แบบวิถีพื้นเมืองชาวยโสธร พรอมความหลากหลายของแสงสี และรูปทรง งานนี้มีดีแบบไมอั้น รับชมดวยความระมัดระวังนะคะ

วัดแจงสวาง จ.สุร�นทร สืบทอดศิลปวัฒนธรรมแบบ พื้นบาน "ประเพณีบวชนาคชาง" รวมขบวนแหนาคชางนับรอยเชือก และขอขมาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ งานแบบนี้ ตองเรียกวา งานชาง จริง ๆ คะ

งานบุญบั้งไฟยโสธร

ประเพณีงานบวชชาง

5.06.2014

14.06.2014

ชาเลนเจอร 1-3 อิมแพ็คอาร�นา เมืองทองธานี ปนี้ไมธรรมดานอกจาก จะประชาสัมพันธเที่ยวเมืองไทยแลว ยังรวมประชาสัมพันธประเทศ ที่เขารวม AEC+6 อีกดวยนะ สำหรับใครที่ตองการขอมูล งานนี้พลาดไมไดคะ

กิจกรรมดี ๆ มากมาย อาทิ สินคา OTOP การประกวดธิดาชาวสวน แขงขันการกินเงาะ ทุเรียน รวมถึงกิจกรรมทางดานการเกษตร อีกมากมาย นอกจากนี้ ยังมีแรลลี่ ทองเที่ยวการเกษตรเชิงอนุรักษ ดวยนะคะ พลาดไมไดทีเดียวสำหรับ คนรักเงาะและทุเรียน

งานเทศกาลเทีย่ วเมืองไทย 2557

เทศกาลเงาะทุเร�ยน ของดีศร�สะเกษ

Edutainment

Website

เลมนี้เราพิเศษหนอยคะ นอกจากเราจะแนะนำ เว็บไซตแลว เรายังอยากเชิญชวนผูปกครอง พานอง ๆ หรือบุตรหลานของคุณรวมกิจกรรม ตาง ๆ ที่ Kidzania เพราะทีน่ เ่ี สริมสรางประสบการณ อาชีพใหนอง ๆ ไดคนหาความฝนที่ตัวเองตองการ เอาละ โตขึ้นหนูอยากเปนอะไร? เขาไปดูที่ bangkok.kidzania.com

FUSION MAGAZINE 27


Chill Out

Chill Out เย็นย่ำ ค่ำตะวันตก กองทัพที่ดีตองเดินดวยทองคะ อีกรานเด็ดที่พรอมเติมเต็มทั้งความอบอุนฉบับครอบครัว สังสรรคกับเพื่อนฝูง หรือโรแมนติกกับคนที่คุณรัก หวานฉ่ำ เปรี้ยวซา ไปกับหลากเมนูสไตลฟวชันฟูด ที่ 2 FOR Bistro Bar ไมวาจะเบา ๆ แบบ แซลมอน ยำแอปเปลไทย ๆ กับตมขาไก หรือหนักขึ้นมาอีกหนอย กับพาสตาเสนดำหอยเชลล และตบทายดวยของหวาน ที่เด็ก ๆ และคุณผูหญิงตองไมพลาดกับ ทีรามิสุ ครบทัง้ รสและบรรยากาศแบบนี้ สตารทเครือ่ งพบกันได ที่นี่เลยนะคะ สำหรับทุกวัน พุธ ศุกร และเสาร ออ ! เคายังมีดนตรีสดดวยนะ

Chill Out

สำรองที่นั่ง โทร. 084-918-5555 www.facebook.com/2for.bistrobar คริสตัล ดีไซน เซ็นเตอร (CDC) เฟส2

28 FUSION MAGAZINE


Chill Out เรื่อง : Multiknes

Tips

เรื่องนารู ตอนรับอาเซียน

ตอนรับ ASEAN กันสักหนอยคะ ตอนนี้หลายคนนาจะศึกษาวัฒนธรรมของประเทศตาง ๆ กันบางแลว และบางคนก็เตรียมวางแผนแวะเวียนไปประเทศเพื่อนบาน เลมนี้เรามีเกร็ดเล็กนอยของวัฒนธรรมอาเซียนคะ

Myanmar

Lao ขับรถตองชิดทางขวา

เรื่องการเมืองนี่สำคัญนะคะ ไมควรคุยกับคนที่คุณไมสนิท

Thai

ไมควรแตะตองศีรษะ หากบังเอิญไปสัมผัสเขา ควรรีบกลาวคำขอโทษ

ควรหลีกเลี่ยง เสื้อผาสีเหลือง เพราะเปนสีของ กษัตริยบรูไน

Indonesia การใชมือซายถือ เปนเรื่องไมสุภาพคะ จะทำอะไร ใชมือขวาดีกวา

Vietnam หามถายภาพ ในสถานที่ของรัฐนะ

Cambudia หากจำเปนตองอยูเกิน 3 เดือน

แนะนำใหฉีดวัคซีนปองกันโรคไทฟอยด และไวรัสตับอักเสบเอและบี

Malaysia

ผูที่นับถือศาสนาอิสลาม จะไดรับสิทธิพิเศษ อาทิ ดานการศึกษา การมีบุตร งานแตงงาน

Philipine หากจะจับมือรวมลงทุน ศึกษาขอกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และแรงงานใหดี ๆ นะ

Singapore หามพกหมากฝรั่ง เขาประเทศโดยเด็ดขาดจา

ที่มา www. thai-acc.com/m-culture.go.th FUSION MAGAZINE 29

Chill Out

Brunei


ปรับมุมมองใหมกับ

“อาหารฉายรังสี”

คุณภาคภูมิ หอมสุวรรณ

กรรมการผูจัดการ บริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด

“อาหารฉายรั ง สี ” ดู เป น เรื ่ อ งที ่ ค นส ว นใหญ ย ั ง ไม ก ล า ยอมรั บ เพราะด ว ยความไม เ ข า ใจ ในเทคโนโลยี บวกกับอาหารที่ใชวิธีการฉายรังสียังไมมีมากพอในทองตลาด อีกทั้งความเชื่อผิด ๆ ที่วา บริโภคอาหารที่ใชเทคโนโลยีเขามามีสวนเกี่ยวในกระบวนการผลิต จะตองเปนอันตรายตอรางกาย วันนี้เราจึงไดเชิญ คุณภาคภูมิ หอมสุวรรณ กรรมการผูจัดการ บริษัท สุทธิลักษณ อินโนฟูด จำกัด มาพูดคุย ถึงผลิต ภัณฑ แหนมฉายรังสี เจ าแรกในประเทศไทย ที ่ ได ร ั บความนิ ย มจากผู  บ ริ โภค วาอรอย สะอาด และปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรียมาเปนเวลากวา 20 ป ภายใตชื่อ“แหนมสุทธิลักษณ” 30 FUSION MAGAZINE


Interview

“แหนมของเรามีรสชาติทอ่ี รอย กลมกลอม และเปน เอกลักษณ ไดรบั การยอมรับจากผูบ ริโภคมากวา 30 ป” สำหรั บ บริ ษ ั ท สุ ท ธิ ล ั ก ษณ อิ น โนฟู  ด จำกั ด เป น ผู  ผ ลิ ต และจั ด จำหน า ยผลิ ต ภั ณฑ ห ลั ก อย า ง แหนมรูปแบบตาง ๆ กับแหนมฉายรังสี โดยใชชื่อ “สุทธิลักษณ' และ 'แหนมดอนเมือง กม. 26” เราใส ใจในทุ ก ขั ้ นตอนของกระบวนการผลิ ต คั ด เลื อ กแต ว ั ต ถุ ด ิ บ ที ่ ส ด สะอาด ถู ก หลั ก อนามั ย จากชื่อเสียงที่ขยายไปในวงกวางนี้เอง จึงทำใหสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงวิทยาศาสตร เลือกใหแหนมดอนเมืองเปนโรงงานนำรองในโครงการ "อาหารฉายรังสี” เจาแรกของเมืองไทย

“แหนมเปนอาหารชนิดเดียวที่ใชสวนผสมดิบและทานดิบได” แหนมเปนอาหารชนิดเดียวที่ใชสวนผสมดิบและทานดิบได มีสวนผสม หนังหมูตมสุก ขาวสุก กระเทียม เกลือ พริกและเครื่องปรุงอื่น ๆ โดยมีเนื้อหมูดิบเปนสวนประกอบหลัก ซึ่งเปนที่ทราบกันดีวาเนื้อหมูดิบ มี ค วามเสี ่ ย งในการปนเป  อ นค อ นข า งสู ง และผู  บ ริ โ ภคแหนมนั ้ น มักนิยมทานดิบ เพื่อสัมผัสกับรสชาติที่เปรี้ยว และกลิ่นเฉพาะที่มีแตใน แหนมเทานั้น เมื่อไมผานการปรุงใหสุก ผูบริโภคจึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะ ไดรับอันตรายจากพยาธิ พยาธิตัวกลม (Trichinella spiralis) พยาธิตัวตืด (Taemia solium) และเชื้อซัลโมเนลลา (Salmonella) ที่ทำใหเกิดโรคทองรวงและอาหารเปนพิษ ความเสี ่ ย งของผูบ ริโภคก็ค ือความเสี่ยงของผูผลิต เราเห็ น ความเสี ่ ย งนั ้ น จึ ง นำเทคโนโลยี ก ารฉายรั ง สี ใ นอาหารที ่ ไ ด ร ั บ การยอมรับอยางเปน สากล มาเปน สวนหนึง่ ในขัน้ ตอนกระบวนการผลิต ของแหนมสุทธิลักษณ เพื่อทำใหแหนมนั้นสะอาด ปลอดจากพยาธิ

“แหนมเปนอาหาร ชนิดเดียวที่ใช สวนผสมดิบ และทานดิบได” และเชื้อจุลินทรียตาง ๆ ที่จะนำไปสูโรค สรางความมั่นใจใหกับผูบริโภค ณ ป จ จุ บ ั นคิ ด ว า ยั ง ไม ม ี อ าหารชนิ ด ไหนที ่ ค ิ ด ว า จะเหมาะใช ก ั บ การ ฉายรังสีแลวสามารถทำไดดี เพราะอาหารอืน่ ๆ เชน หมูยอ ไสก รอกอีสาน ปลารา ปลาสม ผูบริโภคนั้นก็นิยมที่จะปรุงสุกกอนที่จะนำไปรับประทาน อยูแลว หากไปฉายรังสี อาจมีผลตอรสชาติ แตสำหรับอาหารพื้นบาน ที่นิยมทานดิบ เชน กุงจอม ปลาจอม อาจจะฉายรังสีฆาเชื้อได แตก็ยัง เปนอาหารที่ยังไมนิยมรับประทานอยางแพรหลาย จึงอาจไมคุมคาหาก จะนำมาฉายรังสี อีกอยางที่สำคัญ คือ แหนมนั้นนอกจากทานดิบ ๆ ไดทนั ที ก็ยงั สามารถเปน สวนประกอบของอาหารหลากหลายเมนูไดอกี ดวย

FUSION MAGAZINE 31

Interview

“เรามีการคนควาและนำเทคโนโลยีใหม ๆ มาประยุกตใชกบั ผลิตภัณฑ อยูเ สมอ” ผลิ ต ภั ณฑ ท ี ่ เราต อ งการให เป นที ่ ร ู  จ ั ก ในวงกว า งคื อ “แหนมสุทธิลักษณ” ซึ่งเปนแหนมที่ใชเทคโนโลยีใหม โดยเฉพาะการ ฉายรังสีเขามามีสวนรวมในขั้นตอนกระบวนการผลิต และปรับหนาตา ของบรรจุภณ ั ฑใหดงึ ดูดความสนใจ เผยใหเห็นลักษณะของเนือ้ ผลิตภัณฑ สีสัน เนนคำวา แหนมพรอมทาน เขามาเปนจุดขายหลัก เพื่อจับกลุม ผูบริโภคที่มีกำลังซื้อมากขึ้น โดยเพิ่มชองทางการจัดจำหนายไปยัง Modern Trade และ Convenience Store ให ผ ู  บ ริ โภคสามารถ เลือกซื้อไดสะดวก รวมทั้งไดนำไปวางจำหนายที่ 7-11 เพื่อตอบสนอง Lifestyle ของผู  ท ี ่ ม ี ช ี ว ิ ต เร ง รี บ และต อ งการความสะดวกสบาย เพื่อใหมีการยอมรับแหนมฉายรังสีมากขึ้น


Interview

“เรามีการคนควา และนำเทคโนโลยี มาประยุกตใช กับผลิตภัณฑ อยูเสมอ” “ทุกวันนีผ ้ บู ริโภคจึงมัน่ ใจในการเลือกรับประทาน แหนมสุทธิลกั ษณ” ซึ่งเปนแหนมฉายรังสี มากวา 20 ปแลว ในชวงแรก ๆ เราทำแหนมอัดแทง และสกรีนบรรจุภัณฑโดยใชคำวา “แหนมฉายรังสี” ก็สามารถขายได แคเฉพาะกลุมผูบริโภคที่มีความเขาใจถึงเทคโนโลยีการฉายรังสีเทานั้น เชน หมอ บุคลากรในโรงพยาบาล หรือนักวิชาการตาง ๆ โดยไมตองอธิบาย อะไรเพิ่มเติม เพราะเขาเชื่อมั่นในความปลอดภัยและสารตกคาง แตการทำ ลั ก ษณะนั ้ น เราก็ ข ายได แ ค ค นกลุ  ม เดิ ม และขายดี เฉพาะช ว งเทศกาล เมื่อคำวา “ฉายรังสี” ยังเปนคำที่ดูนากลัวและไกลตัวเกินไปสำหรับผูบริโภค ที่ไมมีความเขาใจวา เทคโนโลยีนี้เปนตัวชวยใหปลอดภัยมากกวาอันตราย เราจึงปรับกลยุทธใหม ใชคำวา “แหนมพรอมทาน” แทนคำวา “แหนมฉายรังสี” และใชโลโกการฉายรังสีสกรีนในดานหลัง ทุกวันนี้ผูบริโภคจึงมั่นใจที่จะ เลือกรับประทาน “แหนมสุทธิลกั ษณ” ซึง่ เปน แหนมฉายรังสีทม่ี มี ากวา 20 ป บวกกับทุกวันนี้องคกรทางวิทยาศาสตรตาง ๆ และภาครัฐ ก็มีสวนชวย ประชาสัมพันธถึงเทคโนโลยีที่ใชในอาหาร จึงชวยปรับทัศนคติของผูบริโภค ตออาหารฉายรังสี จึงสามารถขยายฐานของผูบริโภคไดมากกวาเดิม

ผลิตภัณฑ แหนมฉายรังสี ที่มีขายมานาน กวา 20 ป 32 FUSION MAGAZINE


“เราเลือกใชเทคโนโลยีทด่ี ที ส่ี ดุ ในการทำแหนมฉายรังสี เพราะคำนึงถึง ความปลอดภัยของผูบ ริโภคเปนสำคัญ” บริษทั สุทธิลกั ษณ อินโนฟูด จำกัด ไดรบั คัดเลือกใหเปน โรงงานนำรอง ในโครงการ "อาหารฉายรังสี" จากสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร เราเลือกใชเทคโนโลยีที่ดีที่สุด ในการทำแหนมฉายรังสี เพราะคำนึงถึงความปลอดภัยของผูบริโภค เปนสำคัญ จึงมั่นใจไดวา ทุกครั้งที่บริโภค “แหนมสุทธิลักษณ” นั้น นอกจากจะไดรบั ความอรอยจากรสชาติทก่ี ลมกลอมแลว เรอ่ื งมาตรฐาน ความปลอดภัยก็มั่นใจไดแนนอน “หากเรารวมกลุมกัน มันจะมีความ หนักแนนมากพอทีจ่ ะทำลายความเชอ่ื เดมิ ๆ ของอาหารฉายรังสีทค่ี ดิ วา อั นตรายลงไปได ” อาหารฉายรั ง สี ไม ใช เรื ่ อ งใหม ส ำหรั บ คนไทย แตสำหรับผูประกอบการที่ทำอาหารฉายรังสีนั้นถือวามีนอยมาก หากเรารวมตัวผูผลิตแหนมใหไดเปนกลุมเริ่มแรกจาก 10 รายขึ้นไป โดยภาครัฐ และองคกรที่เกี่ยวของเขามาสนับสนุนหลักในการฉายรังสี ชวยผลักดัน ก็จะทำใหเทคโนโลยีนเ้ี ปน ทีแ่ พรหลายในวงกวาง เปน ทีย่ อมรับ

ของผูบริโภค ลำพังเราทำแคเจาเดียวก็ยังไมมีน้ำหนักมากพอที่คน สวนใหญจะเชื่อ แตหากเรารวมกลุมกัน มันจะมีความหนักแนนมากพอ ที่จะทำลายความเชื่อเดิม ๆ ของอาหารฉายรังสีที่คิดวาอันตรายลงไปได เทคโนโลยีตาง ๆ นั้น เกิดขึ้นมาเพื่อทำประโยชนมากมายใหกับโลก ไมวา จะนำมาใช ก ั บ ด า นใด ก็ ล  ว นแต ช  ว ยให ท ุ ก อย า งพั ฒ นามากกว า เดิ ม ในความเปนจริงแลวการฉายรังสีในอาหาร เปนสิ่งที่ชวยใหเราปลอดภัย จากโรคตาง ๆ ที่จะเกิดจากเชื้อจุลินทรีย แตที่ยังไมถูกการยอมรับ อยางกวางขวาง เพราะเราฝงใจกับขาวสารอุบัติเหตุนิวเคลียรที่เกิดจาก ความมั ก ง า ย ผู  ใ ช ใ นทางที ่ ไม ถ ู ก ต อ งมาเป น เวลานาน แต ว ั น นี ้ “แหนมสุทธิลักษณ” แหนมฉายรังสีเจาแรกของประเทศไทย ไดพิสูจน ใหเห็นแลววา อาหารฉายรังสีนน้ั ไมเปนอันตราย

FUSION MAGAZINE 33


อธิบายประโยชนของรังสี ที่เกี่ยวของดานอาหารการกิน ประโยชนของรังสี ที่เกี่ยวของดานอาหารการกิน คือ 1. ชวยยับยั้งการงอกในพืชหัว เชน หอมหัวใหญ หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง เปนตน เพื่อใหสามารถเก็บรักษาอาหาร ไว ได น านขึ ้ น (ร ว มกั บ การเก็ บ รั ก ษาที ่ อ ุ ณ หภู ม ิ เหมาะสม) 2. ควบคุมการแพรพนั ธุข องแมลงในผลไม หรือธัญพืชตาง ๆ 3. ลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย และทำลายเชื้อกอโรคที่ปนเปอน ในอาหาร เช น อาหารหมัก ดอง อาหารแชแข็ง เครื ่ อ งเทศ และสมุนไพร เปนตน ประเทศไทยมีการฉายรังสีอาหารมานานแคไหน เริ่มมีการฉายรังสีทางการคาที่ศูนยฉายรังสี คลองหา ปทุมธานี ในป 2532 ซึ่งเปนเวลาประมาณ 25 ปมาแลว การยอมรับอาหารฉายรังสีทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ ในประเทศไดรับการยอมรับจากสำนักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ปจจุบันมีประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องอาหารฉายรังสี ป 2553 ในสวนตางประเทศ หนวยงาน WHO/ FAO / IAEA และ CODEX ใหการยอมรับการฉาย 34 FUSION MAGAZINE

รังสีอาหารที่ปริมาณรังสีสูงสุดไมเกิน 10 kGy และไดรับ การรับรองโรงงานฉายรังสีผลไมเพื่อการสงออกประเทศ สหรัฐอเมริกาเปนแหงแรกของประเทศไทย สามารถฉายรังสี ผลไม 6 ชนิด นำเขาประเทศสหรัฐอเมริกา ไดใน ป 2550 สทน. ใหบริการฉายรังสีแกสินคาประเภทใดบาง • ผลิตผลทางการเกษตร เชน ธัญพืช หอมแดง กระเทียม มั น ฝรั ่ ง เป นต น • ผลไม ส ดและผลไม แห ง • อาหารแห ง • อาหารหมั ก ดอง เช น แหนม ปลารา กุงจอม • อาหารแชแข็ง • เครื่องเทศสมุนไพร • อาหารสัตว และขนมขบเคี้ยวของสัตว (Dog chewing) • วัสดุทางการแพทย (ถุงมือ ขวดยา จุกยาฉีด สายน้ำเกลือ) ฝากถึงผูบริโภค อาหารที่ผานการฉายรังสี ทางสถาบันฯ ขอรับรองวาอาหารฉายรังสีมคี วามปลอดภัย ไม ม ี ก ารตกค า งของกั ม มั นตภาพรั ง สี เนื ่ อ งจากพลั ง งาน ของรั ง สี แ กมมาที ่ ใช ได ร ั บ การวิ จ ั ย และยอมรั บ ว า เป น ระดั บ พลังงานทีไ่ มกอ ใหผลิตภัณฑนน้ั ๆ เกิดเปน สารกัมมันตภาพรังสี โดยไดรับการยอมรับจาก หนวยงาน CODEX มากวา 30 ป


Interview

“เราไมตองไปกลัว นิวเคลียรเลย เพราะมันอยูรอบ ตัวเราอยูแลว นำมันมาใช ประโยชนดีกวา” ผูอำนวยการ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน)

ศูนยฉายรังสี

ม.ธรรมศาสตร (รังสิต) อาคารพิพธิ ภัณฑ วิทยาศาสตร

วัดธรรมกาย ถนนคลองหลวง ฟวเจอรปารครังสิต

ไปปทุมธานี

เซียรรังสิต

ถนนรังสิต-นครนายก ดรีมเวิรด

ถนนเลียบคลองหา

และมีการวิจัยและยอมรับวาไมมีการเปลี่ยนแปลงในสวนของ สารอาหารตาง ๆ รวมถึงสารออกฤทธิ์ที่มีผลตอผูบริโภค แต อ ย า งใด ในด า นอาหารที ่ เหมาะสมกั บ การฉายรั ง สี ค ื อ อาหารแหง หรือประเภทวัตถุดิบ แตไมเหมาะกับอาหารที่มีน้ำ โปรตีนและไขมันเปนสวนประกอบสูง เนื่องจากอาจเกิดกลิ่น เหม็นหืนจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น และการฉายรังสีจัดเปนการ ลดปริมาณเชื้อแบบ “Cold Pasteurization” และไมมีอันตราย วัตถุดิบผสมอาหาร (แปงขาวเจา) ฝากถึงผูประกอบการและผูบริโภคอาหารฉายรังสี สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) เปนหนวยงานหลักในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร เพื่อใชประโยชน และใหบริการแกประชาชน ลูกคาทั้งภาครัฐ และเอกชน อยากฝากถึงผูประกอบการ คือ การฉายรังสี ในผลิตภัณฑจะชวยลดการสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ จาก แมลง จุลนิ ทรีย ที่เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ อีกทั้งสามารถเก็บไดยาวนานกวา สามารถควบคุมจุลนิ ทรียไ ดตามมาตรฐานทีก่ ำหนด และปราศจาก เชื้อกอโรคที่กอใหเกิดปญหากับผูบริโภค

ผูประกอบการ หรือผูที่สนใจ สอบถามรายละเอียดที่ สถาบันเทคโนโลยี นิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) ศูนยฉายรังสี คลอง 5 จ.ปทุมธานี โทร. 02-4019889 ตอ 6102-3 เทคโนธานี นวิจยั วิทยาศาสตร อาคารอนุรักษ สถาบัและเทคโนโลยี พลังงาน แหงประเทศไทย (วว.) ไปนครนายก

ไปลำลูกกา

ถนนลำลูกกา

FUSION MAGAZINE 35

Interview

ดร.สมพร จองคำ


On The Earth

EXCLUSIVE

FOOD ON THE EARTH •••••••••••••••••••••••••••••••

Beluge Caviar: ไขปลาคาเวียร

On the Earth

เชอ่ื วาหลาย ๆ ทานนาจะผานหู ผานตา สำหรับอาหารชนิดนีม้ าบางแลว คาเวียรที่แสนแพงนั้นแทจริงแลวคือ ไขของปลาสเตอรเจียน (Sturgeon) ที่ผานการหมัก และปรุงรสมาแลว ซึ่งคาเวียรมาจากภาษาเปอรเซีย หมายความวา ไขปลาทีป่ รุงรส นัน่ เอง ในอดีต “คาเวยี ร” นับเปน อาหารโปรด สำหรับจักรพรรดิรสั เซีย และชาหแหงอิหราน รวมทัง้ ชนชัน้ สูงในรัสเซีย เพราะมีความเชื่อวาเปนอาหารอายุวัฒนะ คาเวียรที่ไดรับความนิยม และมีชอ่ื เสียงมาจากฝง ทะเลแคสเปยน แถบอาเซอรไบจัน อิหราน และรัสเซีย *ปจจุบนั องคการ CITES (Convention on International Trade in Endangerd Species) ซึ่งมีหนาที่ควบคุมการคาสัตวและพืชที่ใกลสูญพันธุทั้งหมดราว 30,000 สปชีส ไดเขามาควบคุมการทำรายปลา Sturgeon ดวย เพื่อไมใหปลาชนิดนี้สูญพันธุ

Oysters: หอยนางรม

อีกหนึ่งเมนูที่เชื่อวาหากไดลิ้มรส ตองติดใจกันเลยทีเดียวคะ นั่นคือ หอยนางรมสด ๆ โดยขึ้นชื่อที่สุดตองมาจากมหาสมุทรแอตแลนติค ไมวาจะเปนดาน ฝงตะวันตกของยุโรป หรือดานชายฝงตะวันออกของ อเมริกา เนื่องจากสายพันธุ และความหนาวเย็นของกระแสน้ำ ทำใหเนื้อหอยมีความมัน รสหวาน นุม นวล ดวยเหตุนจ้ี งึ ทำใหชาวฝรัง่ เศส ยกใหหอยนางรมเปนอาหารขึ้นโตะสุดหรูหราในวันคริสตมาส อีฟดวยนะ *การกินหอยนางรมของชาวตะวันตก จะยึดถือความสดใหม จะกินแบบสดๆ โดยมีมะนาวผากลาง เกลือปน และเนยสดเปนเครื่องเคียง

36 FUSION MAGAZINE


On The Earth

Foie gras: ฟวกราส (ฝรั่งเศส : Foie gras หรือ Fat liver)

••••••••••••••••••••••••••••••••••

ตับหาน ไดจากการขุนหานใหอวนดวยการตอทอตรงถึงกระเพาะ เพื่อปอน ธัญพืชปน เพื่อใหตับมีขนาดใหญกวาปกติ ฟวกราสไดชื่อวาเปนอาหารฝรั่งเศส ที่ดีที่สุด เชนเดียวกับทรัฟเฟล มีลักษณะนุมมัน และมีรสชาติที่แตกตางจากตับของเปด หรือหานธรรมดา และเปนหนึ่งในอาหารฝรั่งเศสที่ทั่วโลกรูจักมากที่สุดนอกเหนือจาก ไขปลาคาเวียร การทำฟวกราสสวนใหญใชหาน Moulard ขุน และเมืองที่ขึ้นชื่อเรื่องการ ทำตับหานมากที่สุดคือ เมือง Strassburg เนื่องจากเมืองนั้นเปนผูผลิต หลักของผลิตภัณฑอาหารชนิดนี้ *ปจจุบันบางประเทศมีการประกาศหามนำเขา เนื่องจากถือเปนการทารุณสัตวอยางมาก

••••••••••••••••••••••••••••

Lobster: ล็อบสเตอรหรือกุงทะเลใหญ On the Earth

อีกหนึ่งเมนูเด็ดที่พลาดไมได หากจะเปรียบก็เหมือนราชาแหงกุง ก็เปรียบไดเลย จะกลาวไปแลวนับวา Lobster ถือเปนอาหารที่มีราคาแพง แตรสชาติอรอยสมราคาเลยทีเดียว แตเชื่อหรือไมคะ แตเดิมกุงชนิดนี้ถือไดวาเปนอาหารชั้นต่ำ ในทวีปอเมริกาเหนือ กอนศตวรรษที่ 20 ซึ่งการกินกุงนี้ถือเปนสัญลักษณของความ ยากจน และชาวนาของแคนาดายังเคยใชกุงทะเลทำปุย หรือใชเปน อาหารสำหรับพวกทาสหรือคนระดับลาง แตในปจจุบันกุงชนิดนี้ กลายเปนสินคาสงออกที่มีชื่อเสียงของอเมริกา โดยแพงที่สุดก็คือ Audresselles ซึ่งนับวาแพงและหายาก อีกทั้งยังเปนที่นิยมของ บรรดาราชวงศและชนชั้นสูงในฝรั่งเศสและเนเธอแลนด

White Truffles: เห็ดทรัฟเฟล

ใครจะเชื่อละคะ วาเจาเห็ดหนาตาแบบนี้จะหายาก และเปรียบเสมือนทองคำเลยเชียว บางคนถึงกับใหฉายา วาเปน “อัญมณีสีดำ” และ “อัญมณีสีขาว” ใชแลวคะ มันคือเห็ดทรัฟเฟล ที่มีผิวขรุขระเปนปุมหนาม ขนาดเพียงลูกกอลฟ แข็งเหมือนทอนไม แตมีกลิ่นหอม สดชื่นคลายผลไมสุก อาศัยและเจริญเติบโตใตดิน ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เชน บริเวณตนโอก เกาลัด และตนสน นอกจากนี้ ยังมีวิธีการเก็บไมเหมือนใครคะ ตองขุดลึกลงไปใตดิน เสมือนหาแหลงน้ำกันเลยทีเดียว สำหรับเห็ดทรัฟเฟลที่มีราคาแพงที่สุด จะเปนเห็ดที่มาจาก ยอดเขาอุมเบรีย (Umbria) ทำใหมันไดรับขนานนามวา เปนหัวใจสีเขียวของอิตาลีเลยทีเดียว เพียงแคไดกลิ่น ก็ตองมนตของเจาเห็ดทรัฟเฟลนี่แลวคะ

*เห็ดทรัฟเฟลดำ และเห็ดทรัฟเฟลขาวถือเปนราชาแหงเห็ด ซึ่งมีถิ่นกำเนิด ในแถบ Langhe แหงแควนปเอมอนเต ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี

FUSION MAGAZINE 37


On The Earth

Kobe Beef: เนื้อวัวโกเบ

เนื้อวัวที่ขึ้นชื่อวาอรอยนุม ฉ่ำ แทบไมตองเคี้ยว อันเลื่องชื่อ ทราบไหมคะ นั ่ นคื อ เนื ้ อ ที ่ ได จ ากวั ว โคทาจิ ม ะ ซึ ่ ง เป น สายพั นธุ  ห นึ ่ ง ของวางิ ว (Wagyu) นั ่ น เองค ะ ซึ ่ ง มี อ ยู  ด  ว ยกั นถึ ง 4 สายพั นธุ  แต ท ี ่ ได ข ึ ้ นชื ่ อ อย า งมากนั ่ นคื อ Japanese Black ซึ่งเปนที่มาของ Kobe beef และ Matsusaka beef ซึ่งนับวา คุ ณ ภาพดี ท ี ่ ส ุ ด ในโลก มี ค วามนุ  ม และที ่ ส ำคั ญ ไขมั น เป นชนิ ด ที ่ ป ลอดภั ย ต อ สุขภาพอีกดวยคะ

On the Earth

เนื้อโคโกเบเริ่มเปนที่รูจักของชาวโลกก็ตอนที่เมืองโกเบ เริ่มทำการเปดทาเรือพาณิชยเปนครั้งแรกในเดือนธันวาคม ป 1868 และร่ำลือกันวาเปนเนื้อชั้นดีที่นุม นารับประทาน ถึงขนาดไดชื่อวาเปนราชินีแหงเนื้อ ซึ่งเกษตรกรเลี้ยงวัว ดวยเบียร และเหลาสาเก และยังมีการนวด และแปรงขน ทำใหโคขุนสงบและไมเครียด ทำใหขบวนการเผาผลาญ ในรางกายสมบูรณ นอกจากนี้เนื้อโกเบยังมีโคเลสเตอรอลต่ำอีกดวยนะ

••••••••••••••••••••••••••••••••••••••

Fugu: ปลาฟูหงุ หรือปลาปกเปาทะเล

อาหารชนิดนี้ไมกลาวถึงคงไมได ซึ่งเคยมีนักชิมกลาวไววา “เปนความอรอยที่หากตองแลกดวยความตาย..ก็ยังยอม” หากพูดถึงปกเปาแลว ทุกคนก็จะนึกถึงปลาชนิดหนึ่งที่สามารถ พองลมไดเวลามีอันตราย และมีหนามแหลมรอบตัว จากรูปลักษณภายนอกไมนาเชื่อเลยคะ วาเปนอาหารชั้นเลิศ ที่ไดรับความนิยมมากเชนกัน โดยนิยมรับประทานเปนซาซิมิ ซึ่งการรับประทานฟุหงุจะอันตรายหรือไมขึ้นอยูกับเชฟ เนื่องจากพิษของฟุหงุอยูที่ตับและน้ำดี กรรมวิธีนั้นตอง ควักตับและระวังไมใหแตกคะ ไมเชนนั้นพิษในน้ำดีจะกระจาย สูเนื้อปลา เชฟที่จะทำฟุหงุตองมีการสอบ และตองไดรับ ใบประกาศนียบัตรกอนนะคะ จึงจะสามารถประกอบอาหาร ใหเราทานกันได และเชื่อหรือไม เชฟที่เกงจริงตองแลฟุหงุ โดยใหมีพิษติดเนื้อเล็กนอย นั่นถือเปนสุดยอดในการลิ้มรสเลย *พิษของฟุหงุแรงกวาไซยาไนดประมาณสิบเทา หากใครโดนพิษเขาไปจะรูสึกชาที่ริมฝปาก และปลายลิ้น ตอจากนั้นจะเริ่มปวดหัว ปวดตามมือและเทา ปวดทองและอาเจียนรุนแรง จนกระทั่งรางกายจะเปนอัมพาตและเสียชีวิตในที่สุด

38 FUSION MAGAZINE


On The Earth

Bird’s Nest: รังนก

เดิมยุคจักรพรรดิจีนมีความเชื่อวาหากไดกินรังนก ที่ทำจากน้ำลายนก จะชวยใหปอด และหลอดลมของคน ที่กินแข็งแรง หรือชวยรักษาโรคปอด จึงมีการสงคน มาทางใต (เขตรอนแหลมมาลายู) เพื่อเสาะหารังนกไป ถวายฮองเต โดยการนำไปตมกับน้ำตาลกรวด ซึ่งคน สามัญชนไมมสี ทิ ธิล์ ม้ิ รส นอกจากนี้ ยังมีอาหาร อีกประเภทหนึง่ ที่ไมคิดวาจะมีราคาแพงติดอันดับ นั่นก็คือ น้ำลายของนกนางแอน หรือรังนกนั่นเอง ซึ่งชนิดที่แพงที่สุด คือ รังนกสีแดง ที่เกิดจากปฏิกิริยา ทางเคมีกับสารประกอบประเภททองแดงบนผนังถ้ำ ซึ่งจะพบไดในถ้ำที่มีระบบนิเวศนที่สมบูรณ *ปจจุบันมีการทำฟารมเลี้ยงทางภาคใตของไทยและจีน

•••••••••••••••••••••••••••

Matsutake: เห็ดมัทซึตาเกะ

On the Earth

นับไดวาเปนราชาเห็ดแหงฤดูใบไมรวง ซึ่งจะมีกลิ่น เยายวนใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อนำไปทำน้ำซุปจะได กลิ่นกลมกลอม พบไดตามตนสนในภูเขา ซึ่งไดรับ ความนิยมในประเทศญี่ปุน และเปนของดีเมืองทัมบะ ชาวบานที่นี่จะเก็บเห็ดในชวงตนเดือนตุลาคม วากันวา เห็ดชนิดนี้ไมสามารถปลูกเองได ทำใหผูผลิตบางราย ยึดภูเขาสำหรับปลูกไวขายโดยเฉพาะ

Saffron: แซฟเริน หรือหญาฝรั่น

••••••••••••••••••••••••••••••••••••

สุดยอดเครื่องเทศที่มีราคาแพงที่สุดในโลก คุณภาพดีที่สุดตองเปนของประเทศอิหราน เปนเครื่องเทศสีแดง ที่ผลิตจากเกสรดอกแซฟเริ่น (Saffron Crocu) โดยนำสวนเกสรมาตากใหแหง โดย กวาจะได 0.45 กิโลกรัมนั้นตองใชดอกไมถึง 50,000 – 75,000 ดอก หรือทัง้ สนามฟุตบอลเลยทีเดยี ว หญาฝรั่นจะมีกลิ่นเหมือนหญาหรือฟางแหง ทางยุโรป เปอรเซีย อาหรับ และตุรกี นิยมผสมในลูกกวาด และเครื่องดื่มแอลกอฮอล ซึ่งคุณสมบัติของหญาฝรั่นนี้ เปนสารตานอนุมูลอิสระ (สามารถตานมะเร็ง) ไดดวยนะ

FUSION MAGAZINE 39


เรื่องเลา Blogger

เรื่อง : สุรศักดิ์ พงศพันธุสุข

2 บุคคลสำคัญ

แหงเมืองแมนเชสเตอร

Blogger

รัทเทอรฟอรด กับเฟอรกูสัน ที่เมืองแมนเชสเตอรประเทศอังกฤษ ผมมีวีรบุรุษในดวงใจอยู สองคน คนแรกคือนักวิทยาศาสตรผูยิ่งใหญของโลก เออรเนสต รั ท เทอร ฟ อร ด (Ernest Rutherford) ที ่ ค วามชื ่ นชมของผม เกิดจากหนาที่การงานเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียรที่ทำใหรูจักเขา อี ก คนคื อ ผู  จ ั ด การที ม ฟุ ต บอลที่ถ ึ ง วั น นี้ยิ่งใหญที่ส ุ ด ในโลก อเล็กซ เฟอรกูสัน (Alexander Ferguson) ที่ผมมีความชื่นชอบ กีฬาฟุตบอลเปนการสวนตัว วีรบุรษุ ในดวงใจของผมสองคนนีม้ คี วามคลายคลึงกันหลายดาน ซึ่งที่แน ๆ ก็คือ ทั้งคูเกี่ยวของกับเมืองแมนเชสเตอร โดยไมใช ชาวเมืองแมนเชสเตอรโดยกำเนิด รัทเทอรฟอรดเปนชาวนิวซีแลนดทม่ี าสรางชือ่ ในประเทศอังกฤษ เขาไดรับรางวัลโนเบลสาขาเคมีเมื่อป 1908 แตมีผลงานเดนที่สุด กั บ มหาวิ ท ยาลั ย แมนเชสเตอร (Victoria University of Manchester) ที่เมืองแมนเชสเตอร ไดแก การคนพบนิวเคลียส ของอะตอม ในป 1911 อันเปนจุดตัง้ ตนของการคนพบและใชงาน พลังงานนิวเคลียร สำหรับเฟอรกสู นั ก็เปนชาวสกอตทีม่ าสรางชือ่ ทีเ่ มืองแมนเชสเตอรเชนกัน จากการเปนผูจ ดั การทีมฟุตบอลแมนเชสเตอร ยูไนเต็ด โดยเปนผูจัดการทีมฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในโลก ที่แปลกก็คือ ที่จริงพอของรัทเทอรฟอรดก็เปนชาวสกอตที่อพยพ จากเมืองเพิรททางตอนกลางของสกอตแลนดลงเรือเดินทางไปตั้ง รกรากที่นิวซีแลนด ดังนั้น ทั้งรัทเทอรฟอรดและเฟอรกูสันตาง ก็มีสายเลือดสกอตอยูในตัวทั้งคู จากความสำเร็จในวิชาชีพของ

40 FUSION MAGAZINE

ทั้งสองคนซึ่งสรางชื่อเสียงใหกับประเทศอังกฤษ ทั้งคูจึงไดรับการ ตอบแทนโดยรัทเทอรฟอรดไดรับเกียรติในฐานะ ลอรดรัทเทอร ฟอรดแหงเนลสัน (The Lord Rutherford of Nelson ซึง่ เนลสัน คือเมืองเกิดของเขาในประเทศนิวซีแลนด) มีสิทธิ์เขาประชุมใน รัฐสภา สวนเฟอรกูสันก็ไดรับเครื่องราชอิสริยาภรณโดยลำดับ จนถึงชั้นอัศวินที่เรียกวา เซอรอเล็กซ เฟอรกูสัน (Sir Alex Ferguson, CBE Kt) ทั้งคูคือความภูมิใจอยางสูงของสถาบัน ทีต่ นเองสังกัด โดยมีการจัดสรางถาวรวัตถุประดับไว ไดแก สำหรับ รัทเทอรฟรอดที่มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอรไดทำแผนจากติดไว ที่ผนังอาคารคุปแลนด มีคำจารึกวาเปนผูบุกเบิกดานฟสิกส นิ ว เคลี ย ร คนแรกที ่ ผ า อะตอมสำเร็ จและได ร ั บ รางวัลโนเบล สาขาเคมี ประจำป 1908 และสำหรับเฟอรกสู นั สโมสรแมนเชสเตอร ยูไนเต็ดไดสรางรูปปนสำริดสูง 9 ฟุต ในทายืนกอดอก ตั้งไวที่ดานทิศเหนือดานนอกของสนามเพื่อเปนเกียรติในโอกาส ทีเ่ ปนผูจ ดั การทีมเปนเวลานานถึง 25 ป ในเดือนพฤศจิกายน 2011 โดยมีพิธีเปดเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2012 รัทเทอรฟอรดมาอยูที่แมนเชสเตอรในฐานะครู และไดปน ลูกศิษยเกง ๆ ไวหลายคน ทีแ่ น ๆ คือ ฮันส ไกเกอร (Hans Geiger) และเออรเนสต มารสเดน (Ernest Marsden) ที่เปนลูกมือ ทำการทดลองที่คนพบนิวเคลียสของอะตอม ซึ่งในเวลาตอมา ไกเกอรยังไดประดิษฐเครื่องวัดรังสีที่มีชื่อเรียกตามชื่อของเขาคือ เครื่องนับรังสีไกเกอร (Geiger counter) รัทเทอรฟอรด ยังมี ลูกศิษยเกงชนิดไดรบั รางวัลโนเบลดวย เชน นีลส โบร (Niels Bohr)


Photographer : Mitch Gunn / Shutterstock.com

เรื่องเลา Blogger

The Lord Rutherford of Nelson

30 August

1871 871

Sir Alex Ferguson

31 December

1941 941

เกียรติสงู สงในลำดับสุดทายทีร่ ทั เทอรฟอรดไดรบั ก็คอื เมือ่ เขาถึงแกกรรมในขณะอายุได 66 ป เถากระดูกของเขา ไดถกู นำไปฝงทีว่ หิ ารเวสตมนิ เตอร (Westminster Abbey) ใกล ๆ กับที่ฝง เซอรไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) และนักวิทยาศาสตรผมู ชี อ่ื เสียงคนอืน่ ๆ ของอังกฤษนัน่ เอง

Manchester - city in North West England (UK). City Hall.

FUSION MAGAZINE 41

Blogger

คนแรก ๆ ที่เสนอโมเดลของอะตอม จอหน คอกครอฟต (John Cockcroft) ผูรวมประดิษฐเครื่องเรงอนุภาค และเจมส แชดวิก (James Chadwick) ผูคนพบนิวตรอน เฟอรกูสันในฐานะผูจัดการทีมและโคชก็ในทำนองเดียวกัน เขาไดสรางนักฟุตบอลเกง ๆ ไวมากมายโดยเฉพาะกลุมที่เรียกวา คลาสสออฟไนนตีทู (Class of 92) ซึ่งเปนเด็กที่ฝกฝนจากโรงเรียนฟุตบอลของสโมสรเอง แลวปนจนเกงและมาโดงดังในทศวรรษ 1990 นักเตะพวกนี้คือ เดวิด เบ็กแฮม (David Beckham) นิกกี้ บัตต (Nicky Butt) ไรอั น กิ กก (Ryan Giggs) แกรี เนวิลล (Gary Neville) ฟ ล ิ ป เนวิ ล ล (Philip Neville) และ พอล สโคลส (Paul Scholes) นอกจากนี้ เฟอรกูสันยังสรางนักเตะอื่น ๆ ที่ซื้อจากทีมอื่นมาปนจนเกง เชน เอริก คันโทนา และ คริสเตียโน โรนัลโด


Health เรื่อง : Multiknes

Health

DETOX by

Health

Yourselfif

หลังจากเหนื่อยลากับการทำงานมาพอสมควร วันหยุดสุดสัปดาหทั้งที แบงเวลาดูแลตัวเองกันสักนิด บางคนใหรางวัลตัวเองดวยอาหาร หรือชอบตามใจปาก จริ ง ๆ แล ว ก็ เ ป น การผ อ นคลายได ด ี อ ี ก วิธ ี ห นึ ่ ง นะ แต ว  าอาหารหลายประเภทก็มีด ีแ ละโทษตอ ร า งกาย แตกตางกันออกไป แลวเราจะทราบไดอยางไร วาสิง่ ทีอ่ ยูใ น ทองของเรานัน้ ไมถกู สะสมดวยสารพิษ และกอใหเกิดโทษ ใหเราในวันขางหนา การทีไ่ ขมันเกาะตามผนังลำไส กระเพาะอาหารนั้น ทำใหเกิดโรคตาง ๆ มากมาย หากเจาไขมันไปเกาะที่ ถุงน้ำดีมากเกินไป จะสงผลใหสายตาเสื่อม ฉุนเฉียวงาย นอนไมหลับ ปวดเมือ่ ยตามรางกาย หากเกาะทีล่ ำไสเล็ก ก็จะทำใหไมสามารถดูดซึมวิตามินซีไดคะ ทำใหเราเปน ไขหวัดไดงาย บางรายก็เปนภูมิแพ จามทุกเชา นั่นเอง แคเกริน่ ไปเล็กนอยสำหรับโทษของไขมัน แบบนี้แลว เราจะปล อ ยให ไขมั นทำร า ยเราต อ ไปไม ได อ ี ก แล ว วั นนี ้ เราเลยอยากชวนคุ ณ มาทำดีท็อกซลำไสกันคะ ไมยุงยากหรือนากลัวเลย แถมยังถูกใจคุณสาว ๆ ดวย อีกทั้งยังใชเปนเทคนิคของการลดไขมันหนาทองไดอีกนะ

42 FUSION MAGAZINE


Health

อยาเสียเวลา เริ่มกันเลยดีกวาคะ เมื่อวัตถุดิบพรอมแลวนำมาผสมใหเขากันเลยคะ ดืม่ ตอนเชากอนอาหารทิง้ ไวประมาณ 15 – 30 นาที แลวดื่มน้ำตาม 1 – 2 แกว หากสังเกตจะเห็น ไดเลยวา อุจจาระจะเปนสีดำและแกสในกระเพาะ จะระบายดีมาก ๆ แนะนำวา หากทำครั้งแรก ทดลองเปนวันหยุดก็ดีนะคะ เพื่อใหลำไสของเรา ไดปรับตัวสักนิด ไมเชนนัน้ ขณะเดินทางหรือไปทำงาน ในสภาวะเรงรีบรถติด ๆ อาจจะแยไดนะ ^^

1 น้ำผึง้ แท 1 ชอนโตะ

2

3 โยเกิรต รสจืด

4

นมสดจืด 250 ml.

Health

มะนาวสด 1 ลูก

เห็นไหมคะ สุขภาพรางกายดี สุขภาพจิตก็ดี แถมยังชวยให ผิวพรรณ หนาตาเปลงปลั่ง อีกดวยนะ FUSION MAGAZINE 43


Workshop

Credit : Steve Spangler Science

นอง ๆ หลายคนสงสัยกันแลวสิ วันนี้เราจะทำอะไร วันนี้เราจะมาทำการทดลองทางวิทยาศาสตรกันคะ

เพื ่ อ ให เข า ใจถึ ง หลั ก การทั ้ ง หมดกั นนะคะ (การทดลองนี ้ แนะนำว า ควรอยู  ภ ายใต ก ารดู แ ลของผู  ใหญ ค  ะ )

มาเตรียมอุปกรณกัน !

Workshop

มีดังนี้ 1. ลูกโปง แบบใสและแบบทึบแสง 2. น้ำแข็งแหง (Dry ice) 3. ภาชนะเล็ก ๆ สำหรับใส 4. ถุงมือยาง หรือ ที่คีบ

ว  ล แ ม อ  ร พ ง อ เมื่อข กันเลยนะ มาลๆุยควรอยูภายใตการ (เด็ก ะ) ดูแลของผูปกครองน

44 FUSION MAGAZINE


Workshop

จะมีอะไรเกิดขึ้นเรามาดูกันดีกวานะ

1. นำน้ำแข็งแหงใสภาชนะที่เตรียมไว

4. ทิ้งลูกโปงไวสักครู......

5. วาว!!! เปนยังไงละ ลูกโปงคอย ๆ พองโตขึ้น วาววว.. จะแตกไหมนะ ?

3. ใสลงไปแลว ก็รัดปากลูกโปง เพื่อไมใหควันไหลออกมานะ

6. ถาอยากทราบวาเกิดอะไรขึ้นในลูกโปง แนะนำใหใชเปนลูกโปงแบบใส ก็ไดนะ

ทำไมน้ำแข็งแหง (Dry ice) ทำใหลูกโปงใหญขึ้น ? น้ำแข็งแหง (Dry ice) เปนคารบอนไดออกไซดในสถานะของแข็ง เรียกอีกชื่อหนึ่งวาคารบอนไดออกไซดแข็ง หรือ Solid Carbon Dioxide ไดจากการนำกาซคารบอนไดออกไซดมาผานกระบวนการอัดและทำใหเย็นลง ผลที่ไดคือ เจา Dry ice นี้ จะทำการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO) นี้ออกมาเมื่อสัมผัสอากาศที่อุนกวา ทำใหลูกโปงขยายตัวตามความหนาแนนของกาซที่ปลอยออกมาดันเจาลูกโปงจึงขยายออกมา FUSION MAGAZINE 45

Workshop

2. นำใสลงไปในลูกโปง ขั้นตอนนี้ นอง ๆ ควรสวมถุงมือนะ


การใหบริการจำแนกสายพันธุเชื้อจุลินทรียและวิเคราะห เชื้อจุลินทรียดวยวิธีชีวเคมี by VITEK 2 System

VITEK® 2 system เปนเครื่องที่ใชในการตรวจยืนยันชนิด ของแบคทีเรีย โดยใชหลักการทดสอบทางชีวเคมี ซึ่งเครื่อง จะอานผลจากการด และเทียบกับฐานขอมูลทีอ่ ยูใ นเครือ่ งวา ผลทางชีวเคมีตรงกับแบคทีเรียชนิดใด โดยจำแนกออกมาเปน Genus species และยืนยันผลเปนเปอรเซ็นต ซึ่งจะตอง มีการเลือกใชการดตามกลุมของแบคทีเรียที่ตองการยืนยัน 1. ผลทีไ่ ดมคี วามเทีย่ งตรงแมนยำสูงมาก สามารถขจัดปญหา Human Error โดยเครื่อง VITEK® 2 system จะดำเนินการใสตัวอยางภายในเครื่อง ทำการบมโดยเครือ่ งจะทำการอานผลทุก 15 นาที และประเมินผล ซึง่ ทัง้ หมด ดำเนินการ โดยอัตโนมัตภิ ายในเครือ่ ง และประเมินผลสุดทายดวยคอมพิวเตอร 2. เปนเครื่องที่พัฒนาจากการอางอิงขอมูลมากกวา 100,000 References 3. มีชนิดเชื้อจุลินทรียมากกวา 2,000 ชนิด อยูในฐานขอมูลของเครื่อง จึงครอบคลุมการวิเคราะห 4. การวิเคราะหใชเวลาเพียง 6-12 ชัว่ โมง เมือ่ นำเขาเครือ่ ง 5. การรายงานผลจะรายงานเปอรเซ็นตความเปนไปได (% Probability) ทีม่ คี วามแมนยำสูง 5.1 Excellent Identififfi ifi cation 96-99% Probability 5.2 Very good Identififfi ifi cation 93-95% Probability 5.3 Good Identififfi ifi cation 89-92% Probability 5.4 Acceptable Identififfi ifi cation 85-88% Probability 6. รายงานผลการวิเคราะหมรี ายละเอียดของผลการทดสอบทางชีวเคมี ทีเ่ ปนประโยชน เชน การทดสอบความสามารถในการใชนำ้ ตาล การสรางเอนไซม การสรางโปรตีน การทดสอบ INDOLE เปนตน

ตารางเปรียบเทียบจุดเดนและจุดดอยของแตละวิธีคุณลักษณะ

คุณลักษณะ

VITEK

API

Conventional Biochemistry test

การเตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ สำหรับทดสอบ

No

No

การจัดการทดสอบดวยคน

No

การจัดการดวยเครือ่ งมือระบบอัตโนมัติ

No

No

การอานผลดวยเครือ่ ง

No

No

ระยะเวลาในการอานผลสัน้ ภายใน 6 ชม.

No

No

การรายงานผลเปนเปอรเซ็นต ความเปนไปได (% Probability)

No

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

ความนาเชือ่ ถือ

*สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ 02-401-9889 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ

9/9 หมูที่ 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th 46 FUSION MAGAZINE


งานบริการตรวจกัมมันตภาพรังสีสินคาสงออก - นำเขา Import/Export Products Radiological Monitoring ป จจุ บ ั นการดำเนิ นการกิ จ กรรมทางนิ ว เคลี ย ร ท ั ่ ว โลกอาจมี การแพรกระจายของสารกัมมันตรังสีผา นหวงโซอาหาร ซึง่ อาจมี ผลกระทบตอสุขภาพของผูบริโภคหากรับประทานอาหารที่มี การปนเปอ นสารกัมมันตรังสีเขาไป ดังนัน้ ตองมีมาตรการประกัน ความปลอดภัยทางรังสีในอาหารและผลิตภัณฑอน่ื ๆ ซึง่ ประเทศ คูค า บางประเทศไดตง้ั ขอกำหนดเกีย่ วกับปริมาณกัมมันตภาพรังสี ในผลิตภัณฑตาง ๆ เพื่อความปลอดภัย สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) จึงจัดใหมี หนวยงานบริการตรวจวัดกัมมันตภาพรังสีในตัวอยางสินคา สงออกและนำเขา เพื่อทำหนาที่วิเคราะหและออกใบรับรอง ปริมาณกัมมันตภาพรังสีในตัวอยางสินคาที่จะสงจำหนายไปยัง ตางประเทศเพือ่ เปนการเพิม่ มูลคาของสินคา

บริการตรวจวัดกัมมันตภาพรังสี สินคาสงออก/นำเขา • ไดผลการตรวจวิเคราะห ภายใน 15 วันทำการ • ตรวจไดทั้ง รังสีแกมมา และ รังสีบีตา • แยกวิเคราะหธาตุได เชน ไอโอดีน 131, ซีเซียม 134, ซีเซียม 137 • ดำเนินการตรวจวัดกัมมันตภาพรังสีในตัวอยางสินคาสงออก และนำเขา มัน่ ใจวาอาหารปลอดภัยจากรังสี เรามีมาตรฐาน ใบรับรองใหบริการ • สงออกและนำเขาอาหารอยางสะดวกสบายและมั่นใจ เพียงทานไดใบรับรองจาก สทน. • การตรวจวัดไดมาตรฐานเปนที่ยอมรับระดับสากล

ขอกำหนด ประเภทอาหาร

ปลากระปอง อาหารทะเล น้ำตาล ขาวสาร เครื่องเทศ สมุนไพร ถั่ว กาแฟ เปนตน

ประเภทเครื่องดื่ม

น้ำดื่ม น้ำผลไม เปนตน

*นำสงตัวอยางขั้นต่ำ 1.5 กิโลกรัม / ตัวอยาง / 1 ชุดการผลิต ใบรับรองจากสถาบันสามารถใชรับรองสินคาสงออกไปประเทศ ปลายทางได เชน ประเทศตะวันออกกลาง เชน โอมาน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส จอรแดน เยเมน อิรัก อิหราน ซาอุดิอาระเบีย เลบานอน ซีเรีย คูเวต อิสราเอล เปนตน ประเทศในทวีปแอฟริกา เชน อียิปต สาธารณรัฐแอฟริกาใต ซูดาน ตูนิเซีย ลิเบีย แอลจีเรีย แองโกลา ไนจีเรีย กานา เปนตน ประเทศในเอเชียตะวันตกเฉียงใต เชน บังคลาเทศ ปากีสถาน ศรีลังกา เปนตน ประเทศในทวีปยุโรป เชน ฝรั่งเศส นอรเวย เปนตน ประเทศอื่น ๆ เชน รัสเซีย คิวบา เวเนซูเอลา เปนตน

*สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ 02-401-9889 หรือ www.tint.or.th

สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สำนักงานใหญ

9/9 หมูที่ 7 ต.ทรายมูล อ.องครักษ จ.นครนายก 26120 โทร. 02-401-9889 โทรสาร 037-392-913 www.tint.or.th FUSION MAGAZINE 47


ขับเคลื่อนทุกความรู ไปกับ

Fusion Magazine

เทคโนโลยีนิวเคลียรคือ? หาคำตอบกันไดที่นี่

FREEe issu

Available ON APP STORE ดาวนโหลดผา น Application ebook.in.th และ ookbee ไดแลววันนี้ ebook.in.th ookbee

JOIN OUR COMMUNITY ON

ติดตามและรวมกิจกรรมกับพวกเราไดที่

LIKE SHARE & FOLLOW

Thainuclearclub


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.