Application of Computer for Business

Page 1

การจัดการธุรกิจดวยคอมพิวเตอร Business Management with Computer

ฉบับพิเศษ

คอมพิวเตอรกบั กระบวนการทางธุรกิจ

Content 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการจัดซือ – จัดจ้ าง คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการด้ านการผลิต คอมพิวเตอร์ กับการบริหารจัดการคลังสินค้ า คอมพิวเตอร์ กับการขาย คอมพิวเตอร์ กับการตลาด คอมพิวเตอร์ กับขนส่ ง การบริหารความสําพันธ์ ลูกค้ า (Customer Relationship Management : CRM) 8. คอมพิวเตอร์ กับการบริหารทรั พยากรมนุษย์ 9. การใช้ คอมพิวเตอร์ กับงานสํานักงาน (E-Office) 10. การวางแผนทรั พยากรทางธุรกิจในองค์ กร (Enterprise Resource Planning) 11. การบริหารการขนส่ งและห่ วงโซ่ อุปทาน (Logistic and Supply Chain Management) ปั จจุบนั ได้ มีการนําระบบคอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้ ในการดําเนินธุรกิจต่าง ๆ มากมายในทุก ๆ หน้ าที#ของธุรกิจ โดย บทความนี &จะยกตัวอย่างบางระบบคอมพิวเตอร์ ที#ได้ มกี ารนํามาประยุกต์ใช้ เพื#อให้ นกั ศึกษาได้ ร้ ูจกั เช่น

1. คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการจัดซือ - จัดจ้ าง ในกระบวนการจัดซื &อนันได้ & มีการนําระบบคอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้ หลายอย่าง เช่น 1.1 การหาสินค้ าหรื อบริ การ ผ่านระบบ E-Catalogue เช่น คือการเลือกสินค้ าหรื อบริ การจากเว็บไซต์ผ้ ใู ห้ บริ การ ขายสินค้ าต่าง ๆ เช่น www.officemate.co.th หรื อ www.officedepot.co.th เป็ นต้ น 1.2 การติดต่อกับผู้สง่ สินค้ า (Supplier) ผ่านระบบ E-mail 1.3 การใช้ ระบบ e-Procurement คือ ระบบสารสนเทศที#สนับสนุนการให้ บริ การที#เกี#ยวข้ องในกิจกรรมการจัดซื &อ จัดจ้ างของภาครัฐ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื &อรวมแบบออนไลน์ รวมถึงการลงทะเบียนบริษัทผู้ค้า การทํา E-Catalog และการทํางานอื#นๆ ที#เกี#ยวข้ องในกระบวนการจัดซื &อที# Business Management with Computer

1


เป็ น Web Based Application เพื#อทําให้ ระบบการจัดซื &อจัดจ้ างของภาครัฐมีประสิทธิภาพมากยิง# ขึ &น กล่าวคือ ใช้ ระยะเวลาจัดหาพัสดุน้อยลง และได้ พสั ดุที#มีคณ ุ ภาพในราคาทีเ# หมาะสม รวมทังเพิ & #มความโปร่งใส ของกระบวนการจัดหาและสามารถติดตามตรวจสอบกระบวนการทํางานได้ 1.4 การใช้ โปรแกรมสําเร็ จรูปในการจัดซื &อ ซึง# ปั จจุบนั มีโปรแกรมที#เกี#ยวข้ องการจัดซื &อมากมายที#ฝ่ายจัดซื &อ สามารถเลือกได้ ตามความต้ องการของแต่ละองค์กรธุรกิจ อย่างไรก็ตามซอร์ ฟแวร์ ของฝ่ ายจัดซื &อนันถ้ & าจะให้ มี ประสิทธิภาพจะต้ องมีการเชื#อมโยงข้ อมูลหรื อระบบเข้ ากับระบบของ Supplier ด้ วย 1.5 ข้ อมูล e-Catalog RFP / RFQ RFQ (Request for Quotation) คือการเสนอขอราคาขายสินค้ าจากผู้ขายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้ซื 6อจะทําการ

เลือกสินค้ าจาก Catalog ที9อยูใ่ นฐานข้ อมูล และทําการส่ง RFQ ไปยังผู้ขายที9 มีสนิ ค้ าชนิดนันๆพร้ 6 อมๆกันจํานวนหลายๆราย และผู้ขายจะเสนอราคาตอบ กลับมายังผู้ซื 6อเมื9อผู้ขายได้ รับ RFQ แล้ ว การขอราคาและการเสนอราคา อาจจะทําได้ หลายๆรอบจนกว่าผู้ซื 6อจะพอใจ กับข้ อเสนอของผู้ขายรายใด รายหนึง9 และเลือกที9จะจัดส่งใบคําสัง9 ซื 6อ ( PO) ไปให้ ในระบบ RFQ จะมีจดุ สําคัญคือขันตอนการอนุ & มตั ิซื &อ (Workflow) ซึง# แต่ละ หน่วยงานอาจจะมีขนตอนไม่ ั& เหมือนกัน เช่น การกําหนดวงเงินอนุมตั ิ จํานวนผู้อนุมตั ิ กลุม่ สินค้ าที#แต่ละคนรับผิดชอบ สิทธิในการสัง# ซื &อได้ จาก หลายๆส่วนงาน

2. คอมพิวเตอร์ กับกระบวนการด้ านการผลิต งาน อุตสาหกรรมมีการแข่งขันกันอยูต่ ลอดเวลา โดยเฉพาะปั จจุบนั ที#มีสภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจ การแข่งขันก็ ยิ#งมีมากขึ &น ระบบงานอุตสาหกรรมใดที#สามารถผลิตสินค้ าที#มีคณ ุ ภาพสูง รวดเร็วทันกับความต้ องการของตลาด แต่ราคาตํ#า ก จะเป็ นระบบอุตสาหกรรมที#มคี วามมัน# คงและคงอยูไ่ ด้ ในระบบ ปั จจัยสําคัญทีม# ีผลกับการผลิตงานอุตสาหกรมที#สาํ คัญอย่าง หนึง# คือการนําระบบคอมพิวเตอร์ มาช่วยเพิม# ประสิทธิภาพในงานอุตสาหกรรม การนําระบบคอมพิวเตอร์ เข้ ามาช่วยงาน อุตสาหกรรม มีจดุ ประสงค์หลัก คือ เพื#อเพิ#มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของระบบอุตสาหกรรม เหตุที#คอมพิวเตอร์ เป็ น ปั จจัยสําคัญก็เนื#องมาจากคอมพิวเตอร์ สามารถช่วยงาน อุตสาหกรรมได้ อย่างดี ตังแต่ & กระบวนการเริ# มวางแผนการผลิต การ ออกแบบและวิเคราะห์แบบอัตโนมัติ การควบคุมการผลิต การผลิตอัตโนมัติ การตรวจสอบคุณภาพ การบรรจุหีบห่อ ไปจนถึง การทําบัญชีรายการสินค้ าและการจัดจําหน่ายในกระบวนการขันสุ & ดท้ าย ตัวอย่างงานที#คอมพิวเตอร์ มีสว่ นช่วยได้ เช่น 1. การวางแผนออกแบบ วิเคราะห์แบบ 2. การเขียนแบบเพื#อการผลิต 3. การควบคุมเครื# องจักรกลการผลิต 4. การวางแผนจัดการวัสดุครุ ุภณ ั ฑ์ในการผลิต 5. การสร้ าง และ การจัดการฐานข้ อมูลบุคลากร 6. การสร้ าง และ การจัดการฐานข้ อมูลการผลิต 7. การทําบัญชีและวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต Business Management with Computer

2


การ นําระบบคอมพิวเตอร์ มาช่วยในงานอุตสาหกรรมมี หลายระบบอย่างเช่น 1. MES (Manufacturing Execution system ) 2. CAD (Computer aid design ) 3. CAM (Computer aid manufacturing ) 4. CAE ( omputer aid Engineering)

MES : Manufacturing Execution System เป็ นระบบสารสนเทศที#เกี#ยวกับ การวางแผนการ การควบคุมติดตามการผลิตสินค้ า การควบคุมคลัง วัตถุดิบ ตารางการผลิต การควบคุมขบวนการผลิต การ กําหนดราคาต้ นทุนสินค้ า การตรวจสอบคุณภาพสินค้ า การจัดส่งและการกระจายสินค้ า นอกจากนี & MES เป็ น ระบบที#ใช้ ในการจัดการและวางแผนการในการผลิต สินค้ าต่างๆขององค์กร โดยเป็ นระบบที#เชื#อมโยง ระบบงานต่างๆขององค์กรเข้ าด้ วยกัน เพื#อช่วยให้ การ วางแผนและบริ หารการผลิตขององค์กรเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ทังยั & งช่วยลดเวลาและขันตอนการทํ & างาน

CAE : Computer Aided Engineering การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในงานวิศวกรรม หมายถึง การ บอกถึงความสามารถของสิง# ที#ออกแบบว่า สามารถทํางาน ได้ ตามที#อยากให้ เป็ นหรื อไม่ ซึง# สิง# ที#เป็ นตัวบ่งชี & คือ 1. ผลลัพธ์จากการทดสอบจริง ได้ แก่ การนําต้ นแบบมา ทดสอบจริ ง เช่น การทดสอบการชนของรถ หรื อ การ ทดสอบความแข็งด้ วยการอัดแรง ฯลฯ 2.ผลลัพธ์จากการคํานวณด้ วยสมการทางคณิตศาสตร์ สามารถหาผลลัพธ์จากสถานการณ์ที#สมมุติขึ &น ซึง# การ คํานวณแบบนี & จะใช้ เวลามาก กว่าจะได้ ผลลัพธ์ ทําให้ วิศวกรนําคอมพิวเตอร์ และซอร์ ฟแวร์ ประเภท CAE มาช่วย คํานวณหาผลลัพธ์ ซึง# จะทําให้ คาํ นวณได้ เร็ วกว่ามาก และ มีความถูกต้ องสูง

CAD : Computer Aided Design การใช้ คอมพิวเตอร์ ชว่ ยในการออกแบบ หรื อ CADD ซึง# ย่อมาจากคําว่า Computer Aided Design and Drafting คือ การใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยออกแบบและ เขียนแบบและเกี#ยวข้ องกับงานวิศวกรรม

CAM : Computer Aided Manufacturing การใช้ คอมพิวเตอร์ ชว่ ยในการผลิตซึง# จะใช้ ซอร์ ฟแวร์ เพื#อควบคุมเครื# องจักร ให้ สามารถสร้ างชิ &นงานได้ ตามที# ได้ ออกแบบไว้ แล้ ว มีองค์ประกอบหลักๆ คือ เครื# องจักร CNC และ ซอร์ ฟแวร์ สาํ หรับงาน CAM

Business Management with Computer

3


3. คอมพิวเตอร์ กับการบริ หารจัดการคลังสินค้ า 3.1 การใช้ บาร์ โค้ ด หรือ รหัสแท่ ง บาร์ โค้ ด (barcode) หรื อรหัสแท่งนันจะหมายถึ & ง แท่งขนานดําและขาวที#อา่ นได้ ด้วยเครื# องอ่านรหัสแท่ง (barcode scanner) มีความกว้ างของแท่งแตกต่างกันออกไป โดยทัว# ไปแล้ ว สัญลักษณ์รหัสแท่ง หมายถึงเครื#องหมายที#พิมพ์ หรื อแสดงบนวัตถุใดๆ ประกอบด้ วยรหัสแท่ง ขอบเผื#อ และตัวเลข ดูตวั อย่างในรูปที# 1 เพื#อใช้ เป็ นสัญลักษณ์แทนเลข หมายประจําตัวที#ใช้ แทนวัตถุนนๆ ั& รหัสแท่ งมีความสําคัญอย่ างไร การใช้ รหัสแท่งจะช่วยให้ เกิดความสะดวกและ ความถูกต้ องในการอ่านข้ อมูล โดยทัว# ไป เราจะ เห็นการใช้ รหัสแท่งในห้ างหรื อซุปเปอร์ มาร์ เก็ต แต่ความจริ งแล้ วการใช้ รหัสแท่งมีมากมายกว่าที# เห็น เช่น การใช้ รหัสแท่งเพื#อจัดการวัสดุคงคลัง การยืมและคืนหนังสือในห้ องสมุด ใช้ ตดิ ตามการ ผลิตและการส่งสินค้ า ในบางประเทศมีการนํา รหัสแท่งมาใช้ ในบัตรประจําตัว หรื อใช้ ในการ ตอกบัตรเข้ าออก และใช้ แสดงตัวผู้เข้ ารับการ รักษาในโรงพยาบาล ในบางงานวิจยั มีการพิมพ์ รหัสแท่งขนาดเล็กติดบนตัวผึ &ง เพื#อใช้ ตดิ ตาม การพัฒนาของผึ &งเหล่านัน&

หลากหลายแตกต่างกันไป ดังนัน& เลขหมาย ประจําตัวของสินค้ าแต่ละชนิดย่อมต้ องแตกต่าง ตามกันไปด้ วย และเลขหมายประจําตัวของ สินค้ าแต่ละชนิดอาจประกอบไปด้ วยข้ อมูลของ สินค้ าที#มากกว่าชนิดของสินค้ า เช่น อาจรวมไป ถึงข้ อมูลของแผนกของสินค้ า และตําแหน่งชัน& วางของสินค้ า เป็ นต้ น ซึง# ไม่สะดวกหากพนักงาน ขายจะต้ องป้อนตัวเลขทังหมดทุ & กครัง& ที#มกี าร ขายเกิดขึ &น ดังนันจึ & งมีการนําระบบรหัสแท่งและ เครื# องอ่านรหัสแท่งมาใช้

ตัวอย่ างที[เห็นได้ โดยทั[วไป ได้ แก่ การใช้ รหัสแท่งในซูเปอร์ มาร์ เก็ต ซึง# ใน ซูเปอร์ มาร์ เก็ตแต่ละแห่งจะมีสนิ ค้ ามากมาย ระบบรหัสแท่งจะประกอบไปด้ วย เครื# องพิมพ์ รหัสแท่ง, เครื# องอ่านรหัสแท่ง และสัญลักษณ์ รหัสแท่ง โดยที#เครื# องอ่านรหัสแท่งจะยิงแสง เลเซอร์ ที#ไวต่อการสะท้ อนของแสงไปยัง สัญลักษณ์รหัสแท่ง และเครื# องอ่านจะแปลแสงที# สะท้ อนกลับมาไปเป็ นข้ อมูลทางดิจิตอลเพื#อเก็บ ไว้ ในคอมพิวเตอร์ หรื อนําไปประมวลในทันที ซึง#

Business Management with Computer

แสงที#สะท้ อนกลับนี &จะขึ &นอยูก่ บั ความหนาของ แท่งดําและแท่งขาว สําหรับเครื# องอ่านรหัสแท่งนันจะมี & ทงที ั & #เชื#อมต่อกับ คอมพิวเตอร์ เช่นที#เห็นในซูเปอร์ มาร์ เก็ต และยังมี แบบพกพาไม่เชื#อมต่อกับคอมพิวเตอร์ ซึง# เครื# องแบบ นี &จะเก็บข้ อมูลไว้ ในตัวเองจนกว่าจะถูกลบออกเมื#อ ข้ อมูลเหล่านันถู & กป้อนเข้ ากับคอมพิวเตอร์ ตอ่ ไป

4


3.2 RFID ย่ อมาจาก Radio Frequency Identification RFID ย่อมาจากคําว่า Radio Frequency Identification เป็ นระบบฉลากที#ได้ ถกู พัฒนามาตังแต่ & ปี ค.ศ. 1980 โดยที# อุปกรณ์ RFID ที#มีการประดิษฐ์ ขึ &นใช้ งานเป็ นครัง& แรกนัน& เป็ นผลงานของ Leon Theremin ซึง# สร้ างให้ กบั รัฐบาลของ ประเทศรัสเซียในปี ค.ศ. 1945 ซึง# อุปกรณ์ที#สร้ างขึ &นมาในเวลานันทํ & าหน้ าที#เป็ นเครื# องมือดักจับสัญญาณ ไม่ได้ ทํา หน้ าที#เป็ นตัวระบุเอกลักษณ์อย่างที#ใช้ งานกันอยูใ่ นปั จจุบนั RFID ในปั จจุบนั มีลกั ษณะเป็ นป้ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) ที#สามารถอ่านค่าได้ โดยผ่านคลืน# วิทยุจากระยะห่าง เพื#อตรวจ ติดตามและบันทึกข้ อมูลที#ติดอยูก่ บั ป้าย ซึง# นําไปฝั งไว้ ในหรื อติดอยูก่ บั วัตถุตา่ งๆเช่น ผลิตภัณฑ์ กล่อง หรื อสิง# ของใดๆ สามารถติดตามข้ อมูลของวัตถุ 1 ชิ &นว่า คืออะไร ผลิตที#ไหน ใครเป็ นผู้ผลิต ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน และเมื#อไร ประกอบไปด้ วยชิ &นส่วนกี#ชิ &น และแต่ละชิ &นมาจากที#ไหน รวมทังตํ & าแหน่งทีต# งของวั ั& ตถุนนั & ๆ ในปั จจุปันว่า อยูส่ ว่ นใดในโลก โดยไม่จําเป็ นต้ องอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรื อต้ องเห็นวัตถุนนๆ ั & ก่อน ทํางานโดยใช้ เครื# องอ่านที#สอื# สารกับป้ายด้ วยคลืน# วิทยุในการอ่านและเขียนข้ อมูล RFID มีข้อได้ เปรี ยบเหนือกว่าระบบบาร์ โค้ ด ดังนี & - มีความละเอียด และสามารถบรรจุข้อมูลได้ มากกว่า ซึง# ทําให้ สามารถแยกความแตกต่างของสินค้ าแต่ ละ ชิ &นแม้ จะเป็ น SKU (Stock Keeping Unit – ชนิดสินค้ า) เดียวกันก็ตาม - ความเร็วในการอ่านข้ อมูลจากแถบ RFID เร็ วกว่าการอ่านข้ อมูลจากแถบบาร์ โค้ ดหลายสิบเท่า - สามารถอ่านข้ อมูลได้ พร้ อมกันหลาย ๆ แถบ RFID - สามารถส่งข้ อมูลไปยังเครื# องรับได้ โดยไม่จําเป็ นต้ องนําไปจ่อในมุมที#เหมาะสมอย่างการใช้ เครื# องอ่าน บาร์ โค้ ด (Non-Line of Sight) - ค่าเฉลีย# ของความถูกต้ องของการอ่านข้ อมูลด้ วยเทคโนโลยี RFID นันจะอยู & ท่ ี#ประมาณ 99.5 เปอร์ เซ็นต์ ขณะที#ความถูกต้ องของการอ่านข้ อมูลด้ วยระบบบาร์ โค้ ดอยูท่ ี# 80 เปอร์ เซ็นต์ - สามารถเขียนทับข้ อมูลได้ จึงทําให้ สามารถนํากลับมาใช้ ใหม่ได้ ซงึ# จะลดต้ นทุนของการผลิตป้ายสินค้ า ซึง# คิดเป็ นประมาณ 5% ของรายรับของบริ ษัท - สามารถขจัดปั ญหาที#เกิดขึ &นจากการอ่านข้ อมูลซํ &าที#อาจเกิดขึ &นจากระบบบาร์ โค้ ด - ความเสียหายของป้ายชื#อ (Tag) น้ อยกว่าเนื#องจากไม่จําเป็ นต้ องติดไว้ ภายนอกบรรจุภณ ั ฑ์ - ระบบความปลอดภัยสูงกว่า ยากต่อการปลอมแปลงและลอกเลียนแบบ - ทนทานต่อความเปี ยกชื &น แรงสัน# สะเทือน การกระทบกระแทก

3.3 การใช้ โปรแกรมระบบการจัดการคลังสินค้ า ปั จจุบนั มีโปรแกรมสําหรับการจัดการคลังสินค้ า (Inventory/Warehouse management System) เป็ นระบบ โปรแกรมที#พฒ ั นาขึ &นมาเพื#อใช้ ในการบริ หารระบบคลังสินค้ าทัว# ไป ที#รับสินค้ า เก็บสินค้ า และกระจายสินค้ า ระบบ โปรแกรมประกอบด้ วย ระบบงานหลัก 3 ระบบ คือ การรับสินค้ า (Receiving) การจัดเก็บสินค้ า (Storage) และการ ส่งมอบสินค้ า (Delivery) การส่งมอบสินค้ า เป็ นการส่งสินค้ าให้ ลกู ค้ า ซึง# เป็ นข้ อมูลมาจากการสัง# ซื &อสินค้ า (Purchase Order) หรื อส่งมอบไป ยังที#ใด ๆ เช่นย้ ายไปเก็บยังคลังสินค้ าอื#น ๆ เป็ นต้ น ข้ อมูลการสัง# ซื &อสามารถจัดทําในลักษณะของ E-Commerce โดยลูกค้ าสามารถดู Catalogue และสัง# ซื &อได้ จากระบบ Internet อันจะทําให้ เกิดความสะดวกและเป็ นที#ประทับใจ Business Management with Computer

5


ของลูกค้ าเป็ นอย่างมาก รวมทังสามารถตรวจสอบ & Stock เตรี ยมการส่งมอบ และประหยัดเวลาการป้อนข้ อมูล อย่างไรก็ตามระบบก็ยงั สามารถตรวจสอบ Stock และป้อนข้ อมูลได้ จากศูนย์กลางด้ วย การรับมอบสินค้ า เป็ นการรับมอบสินค้ าจากโรงงานผลิต รับฝากเก็บสินค้ า หรื อสัง# ซื &อจากผู้ผลิต ซึง# ต้ องได้ รับการ ยืนยันรายการสินค้ าที#นํามาเก็บยังคลังสินค้ าก่อน เพื#อ วางแผนในการจัดเก็บ เพราะลักษณะของสินค้ าแต่ละชนิด แตกต่างกัน ในการรับข้ อมูลรายการสินค้ าอาจ Online ผ่านระบบ Internet มาจาก Supplier หรื อป้อนข้ อมูลจาก ระบบคอมพิวเตอร์ ที#ศนู ย์กลาง ในการรับสินค้ าที#มาถึงต้ อง มีระบบตรวจนับสินค้ าครบถ้ วน ขาด หรื อเสียหาย รวมทัง& หากต้ องการนําระบบ Barcode มาใช้ ก็สามารถใช้ Barcode ที#มาพร้ อมสินค้ าหรื อจัดทําระบบ Barcode ขึ &น เองก็ได้ ในการส่งมอบสินค้ าจะใช้ ระบบ FIFO หรื อ Expiry Date หรื อกําหนดเองก็ได้ ระบบจะจัดพิมพ์ใบส่งมอบสินค้ าหรื อ Invoice ไปพร้ อมกับสินค้ าได้ ตาม Format ที#ต้องการ หลังจากส่งมอบสินค้ าแล้ วพื &นที#ในคลังสินค้ าอาจจะต้ อง จัดใหม่ (Relocation) เพื#อให้ มีพื &นที#เก็บสินค้ าทีเ# หมาะสม ขึ &น ระบบจะมีการแสดงให้ เห็นพื &นที#วา่ งในรูปของ Graphic เพื#อง่ายในการปรับการเคลือ# นย้ าย นอกจากนี & ระบบโปรแกรมยังสามารถเชื#อมโยงกับระบบงานอื#น ๆ ที# เกี#ยวข้ องได้ เช่น ระบบ E-Commerce ระบบบริ หารการ ผลิต ระบบบัญชี หรื อระบบบุคลากรได้ แต่ระบบดังกล่าว ต้ องเปิ ด Database เพื#อการ Access ข้ อมูลให้ ด้วยการ จัดเก็บสินค้ า เป็ นการนําสินค้ าทีร# ับมอบ มาจัดเก็บลงใน ตําแหน่งทีเ# หมาะสม อาจเป็ น Pallet ที#วางอยูบ่ น Rack หรื อสินค้ าเป็ นชิ &นทีว# างอยูบ่ น Shelf หรื อสินค้ าที#กองอยูท่ ี# พื &น ในการใช้ พื &นที#วางสินค้ าต้ องคํานึงถึงการใช้ พื &นที#ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด (Space Utilization) สินค้ าที#รับส่ง บ่อย (Frequently Move) และสินค้ าที#ต้องจัดเก็บเป็ น พิเศษเพื#อให้ การจัดเก็บสินค้ าเป็ นไปด้ วยความคล่องตัว สามารถใช้ ระบบ Vehicle-Mounted Computer & Barcode Scanner ที#ติดตังอยู & บ่ นรถ Forklift หรื อ HandHeld Computer & Barcode Scanner สําหรับพนักงาน

Business Management with Computer

ตรวจนับสินค้ าได้ ระบบดังกล่าวจะเชื#อมโยงกับ Server ด้ วยสัญญาณไร้ สาย (Wireless) อันจะทําให้ ข้อมูลการ นําเข้ า จัดเก็บ เคลือ# นย้ าย หรื อส่งสินค้ า ถูกแสดงและ บันทึกเข้ าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ โดยอัตโนมัติ เราจะเห็นการ อินทิเกรตกันระหว่าง OMS, TMS และ WMS เพื#อแชร์ ข้ อมูลเกี#ยวกับคําสัง# ซื &อ โดยเฉพาะในยุคของอีคอมเมิร์ซทํา ให้ เกิดโซลูชนั ที#เชื#อมโยงหน้ าร้ านบนเว็บ เข้ ากับระบบ จัดการคําสัง# ซื &อแบบเรี ยลไทม์ที#อินทิเกรตกับ TMS และ WMS ระบบยุคใหม่นี &ยังเชื#อมโยงกับผู้ให้ บริ การจัดส่งราย ย่อย (3PL) เพื#อให้ ขีดความสามารถในการเข้ าถึงสต็อก สินค้ า สถานะสัง# ซื &อ และข้ อมูลการจัดส่งในยุคอินเทอร์ เน็ต ซึง# เป็ นแบบเรี ยลไทม์ และมีความถูกต้ อง ส่วนลูกค้ าทีเ# ป็ น ผู้สงั# ซื &อ ก็จะได้ รับข้ อมูลที#ถกู ต้ องตามสัญญาเกี#ยวกับ สต็อกสินค้ าที#เขาต้ องการสัง# และวันที#จะได้ รับสินค้ านัน& ด้ วยขีดความสามารถในการมองเห็นได้ ถึงกันหมดใน ระบบหลักทังหมดในซั & พพลายเชน ทําให้ ธุรกิจไม่เพียงแต่ร้ ู ว่ามีอะไรอยูใ่ นชันวางของในคลั & งสินค้ าเท่านัน& แต่ยงั รู้วา่ มี อะไรอยูท่ ี#ชนวางของของซั ั& พพลายเออร์ ของพวกเขาบ้ าง รวมทังมี & อะไรกําลังอยูใ่ นระหว่างเส้ นทางไปสูล่ กู ค้ าด้ วย

6


4. คอมพิวเตอร์ กับการขาย

5. คอมพิวเตอร์ กับการตลาด

4.1 POS ย่ อมาจาก Point of Sale เป็ นโปรแกรมของ การบริ หารงาน ณ จุดขาย หรื อเรียกง่าย ๆ ว่า "โปรแกรม ขายปลีกหน้ าร้ าน" หรื อที#คนไทยเรี ยกว่า โปรแกรมคิดเงิน มันเป็ นโปรแกรมที#ทํางานบนคอมพิวเตอร์ ที#มีการต่อ อุปกรณ์สาํ หรับการขายสินค้ า เช่น เครื# องพิมพ์สลิป (เครื# องพิมพ์ใบเสร็ จรับเงิน), ลิ &นชัก, เครื# องอ่านบาร์ โค้ ด และจอภาพลูกค้ า ระบบการจัดการร้ านค้ าปลีกขนาดย่อม ในส่วนการขายหน้ าร้ านและการเก็บเงินให้ มีความ คล่องตัวรัดกุม และมีประสิทธิภาพยิ#งขึ &น โดยระบบนี &จะมี ฟั งก์ชนั ช่วยในการขายสินค้ าและควบคุมสินค้ าคงคลังทํา ให้ ร้านค้ า ขนาดย่อมมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดการ เทียบเท่าร้ านค้ าปลีกขนาดใหญ่

5.1 E-Commerce

4.2 ระบบจัดการคําสั[งซือ (Order Management System : OMS) จดกลุม่ คําสัง# ซื &อตามลูกค้ า และลําดับความสําคัญ แจกจ่ายสต็อกสินค้ าตามแหล่งคลังสินค้ า และสร้ างวัน กําหนดส่งตามสัญญา โดยปกติ OMS มักจะอยูภ่ ายใต้ ระบบ ERP 4.3 ระบบจัดการการขนส่ ง (Transportation Management System: TMS) รับคําสัง# ซื &อจาก OMS ยืนยันวันกําหนดส่ง กําหนดตัวผู้ ขนส่ง และสร้ างตารางเวลาการรับสินค้ าและจัดส่ง ก่อนที# จะส่งคําสัง# ซื &อไปที#ระบบจัดการคลังสินค้ า เมื#อคําสัง# ซื &อถูก ส่งต่อไปแล้ ว ขันตอนถั & ดไปคือ การเตรี ยมความพร้ อม สําหรับบรรจุหีบห่อ และจัดส่ง ระบบ TMS จะติดตามการ จัดส่ง การชําระค่าเดินทาง และประสิทธิภาพของผู้สง่ ซึง# ไม่วา่ คุณจะส่งทางรถบรรทุก เครื#องบิน หรื อเรื อก็ตาม ระบบ TMS จะสร้ างเอกสารที#ประกบติดไปกับสินค้ าจนถึง ปลายทาง

Business Management with Computer

คือ การดําเนินธรุกิจการค้ าหรื อการซื &อขายบนระบบ เครื อข่ายอินเทอร์ เนต โดยผู้ซื &อ (Customer) สามารถ ดําเนินการ เลือกสินค้ า คํานวนเงิน ตัดสินใจซื &อสินค้ า โดยใช้ วงเงินในบัตรเครดิต ได้ โดยอัตโนมัติ ผู้ขาย (Business) สามารถนําเสนอสินค้ า ตรวจสอบวงเงินบัตร เครดิตของลูกค้ า รับเงินชําระค่าสินค้ า ตัดสินค้ าจาก คลังสินค้ า และประสานงานไปยังผู้จดั ส่งสินค้ า โดย อัตโนมัติ กระบวนการดังกล่าวจะดําเนินการเสร็ จสิ &นบน ระบบเครื อข่าย Internet ข้ อดี 1.เปิ ดดําเนินการค้ า 24 ชัว# โมง 2.ดําเนินการค้ าอย่างไร้ พรมแดนทัว# โลก 3.ใช้ งบประมาณลงทุนน้ อย 4.ตัดปั ญหาด้ านการเดินทาง 5.ง่ายต่อการประชาสัมพัธ์โดย สามารถประชาสัมพันธ์ได้ ทัว# โลก ข้ อเสีย 1.ต้ องมีระบบรักษาความปลอดภัยที#มีประสิทธิภาพ 2.ประเทศของผู้ซื &อและผู้ขายจําเป็ นต้ องมีกฎหมายรองรับ อย่างมีประสิทธิภาพ 3.การดําเนินการด้ านภาษีต้องชัดเจน 4.ผู้ซื &อและผู้ขายจําเป็ นต้ องมีความรู้พื &นฐานในเทคโนโลยี อินเทอร์ เนต 5.2 E-Advertisement โฆษณาอิเล็กทรอนิกส์คือ โฆษณาอิเล็กทรอนิกส์ (EAdvertising) เป็ นการนําเสนอผลิตภัณฑ์หรื อบริ การผ่าน มัลติมีเดียในรูปแบบของป้ายแบนเนอร์ เรามักจะพบป้าย แบนเนอร์ ที#เป็ นสีเ# หลีย# มผืนผ้ า แนวตัง& หรื อแนวนอนใน หน้ า Homepage ของเว็บไซต์ซงึ# การเช่าพื &นที#และตําแหน่ง ที#จะลงโฆษณามีราคาแตกต่างกันไปขึ &นอยูก่ บั ความนิยม ของเว็บไซต์นนๆ ั & นอกจากนันยั & งมีโฆษณาหน้ าต่างแทรก 7


(Pop-up) ที#มกั ปรากฎขึ &นอัตโนมัติเมื#อเวลาทีเ# ราเปิ ดหน้ า เว็บขึ &นมา โฆษณาแบบหน้ าต่างแทรกเป็ นเครื# องมือกึ#ง บังคับให้ ผ้ ชู มรับรู้ขา่ วสารและอาจสร้ างความรํ าคาญได้ รูปแบบการโฆษณาของเว็บ มี 2 รูปแบบคือ 1. Banner Marketing รูปแบบดังเดิ & มที#สดุ ในการโฆษณา บนอินเตอร์ เนท ซึง# อาจอยูใ่ นรูปของภาพ หรื อ ข้ อความ ข้ อดีของวิธีการนี &คือ ง่าย และ สะดวก ในการนําเสนอ 2. Search Engine Marketing เป็ นรูปแบบการโฆษณาที# อาศัยคําในการการค้ นหาข้ อมูลของผู้ใช้ งานอินเตอร์ เนท โดยในปั จจุบนั search engine ที#มีผ้ ใู ช้ งานมากที#สดุ คือ Google.com ข้ อดีสาํ หรับการโฆษณาแบบนี & คือ การ นําเสนอโฆษณาได้ ตรงความต้ องการของผู้ใช้ บริ การมาก ที#สดุ เนื#องจากอาศัยคําหรื อข้ อความที#ผ้ ใู ช้ งาน search engine ทําการค้ นหาเป็ นข้ อมูลในการแสดงโฆษณา ซึง# รูปแบบการโฆษณาแบบนี & ในประเทศไทยยังไม่ค้ นุ เคย มากนัก โดยจะเห็นได้ จาก หากคุณค้ นหาข้ อมูลด้ วย ภาษาไทย จะปรากฎข้ อความโฆษณาน้ อยมาก ดังนัน& นี & เป็ นทางเลือกที#สาํ คัญในการนําเสนอสินค้ าหรื อบริ การ

5.3 E-Catalog E-Catalog คือ ระบบ การนําเสนอสินค้ าแบบออนไลน์ ท่านสามารถนําสินค้ าของท่านออกสูต่ ลาดโลกได้ เพียงแค่ คลิก โดยท่านสามารถแบ่งหมวดหมู่ และ ประเภท ได้ มาก ถึงสามระดับ ง่ายต่อการเข้ าชม และ สามารถใส่สนิ ค้ าของ ท่านได้ แบบไม่จํากัดจํานวน ท่านจึงมัน# ใจได้ วา่ ท่านจะ สามารถนําเสนอสินค้ าของท่านได้ ทกุ ชิ &นที#ทา่ นต้ องการ ประโยชน์ E-catalog 1. เปิ ดดําเนินการค้ า 24 ชัว# โมง 2. ดําเนินการค้ าอย่างไร้ พรมแดนทัว# โลก 3. ใช้ งบประมาณลงทุนน้ อย 4. ตัดปั ญหาด้ านการเดินทาง 5. ง่ายต่อการประชาสัมพันธ์โดย สามารประชาสัมพันธ์ ได้ ทัว# โลก

5.4 ระบบสารสนเทศทางการตลาด ระบบข้ อมลทางการตลาด (Marketing Information System) คือ ระบบของการทํางานร่วมกันระหว่างบุคคล องค์กร และ ู วิธีการต่างๆ โดยมีเป้าหมายในการสร้ าง เก็บรวบรวม จําแนก วิเคราะห์ ประเมินผล และสรุปเป็ นรายงานอย่างต่อเนื#องเป็ น ระยะๆ หรื อเมื#อมีวตั ถุประสงค์พเิ ศษเกิดขึ &น ข้ อมูลที#ได้ จะต้ องตรงประเด็น แม่นยํา ทันสมัย และทันเวลาทีจ# ะนํามาใช้ ประกอบการพิจารณาวางแผนและตัดสินใจทางการตลาด ระบบสารสนเทศทางการตลาด ซึง# ประกอบด้ วยระบบย่อย ดังนี & 1. ระบบการบันทึกข้ อมูลภายใน (Internal records system) 2. ระบบความเป็ นอัจฉริ ยะทางการตลาด (Marketing intelligence System) 3. ระบบการวิจยั ทางการตลาด (Marketing Research System) 4. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางการตลาด (Marketing Decision System)

Business Management with Computer

8


5.5 Social Network สังคมออนไลน์(Social Networking) คือสังคมที#ผ้ คู นสามารถทําความรู้จกั ร่วมแบ่งปั นสิง# ที#สนใจ และสามารถเชื#อมโยงกันได้ ในทิศทางใดทิศทางหนึง# ในโลกอินเตอร์ เน็ต โดยอาศัยรูปแบบการบริ การ เรี ยกว่า “บริ การเครื อข่ายสังคม หรื อ Social Networking Service (SNS)” โดยเป็ นรูปแบบของเว็บไซต์ ในการสร้ างเครื อข่ายสังคม สําหรับผู้ใช้ งานในอินเทอร์ เน็ต ที#ใช้ เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจกรรมที#ได้ ทาํ และเชื#อมโยงกับความสนใจและกิจกรรมของผู้อนื# รวมทังข้ & อมูลส่วนตัว บทความรูปภาพผลงาน พบปะ แสดงความคิดเห็น แลกเปลีย# นประสบการณ์ หรื อความสนใจร่วมกัน และกิจกรรมอื#นๆ รวมไป ถึงเป็ นแหล่งข้ อมูลจํานวนมหาศาลที#ผ้ ใู ช้ สามารถช่วยกันสร้ างเนื &อหาขึ &นได้ ตามความสนใจของแต่ละบุคคลหรื อกลุม่ บุคคล ปั จจุบนั นี &มีเว็บไซต์ทใี# ห้ บริ การสังคม ออนไลน์ มีอตั ราการเจริ ญเติบโตสูงสุดใน อินเตอร์ เน็ต และมีอตั ราการเข้ าใช้ งานและ สมัครสมาชิกสูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ#ง เว็บไซต์ Facebook, twitter, Hi5 นอกจากนี &เว็บไซต์ที#ให้ บริการ สังคม ออนไลน์มีหลากหลายเว็บไซต์เช่น digg, Youtube, Multiply, linkedin และ Ning สังคมออนไลน์มีอิทธิพลอย่างมากต่อ การตลาดในยุคใหม่ เพราะมีการใช้ เว็บไซต์ สังคมเป็ นเครื# องมือสร้ างความสัมพันธ์ ระหว่างกลุม่ คนบนโลกออนไลน์ โดยให้ เหล่าบรรดาสมาชิกสามารถสือ# สารระหว่างกันบนหน้ าเว็บส่วนตัว นอกจากนันยั & งแบ่งปั นข้ อมูลระหว่างกันได้ อีกด้ วย ตัวอย่าง องค์กรธุรกิจของไทย ที9นาํ เทคโนโลยีเว็บ 2.0 และ Social Network มาใช้ เช่น โรงพยาบาลสมิตเิ วช (http://www.facebook.com/group.php?gid=114333135086&v=info), โทรศัพท์มือถือเอชทีซี (http://www.facebook.com/htcthailand, ไวตามิล (http://www.facebook.com/note.php?note_id=194456336417), โรงแรมแลนมาร์ ค (http://th-th.facebook.com/apps/application.php?id=118558905935), เป็ นต้ น นอกจากนี 6แม้ แต่ดารา หรื อคนดังก็นยิ มนําเทคโนโลยีเว็บ 2.0 มาสร้ างเครื อข่ายแฟนคลับและผู้ติดตามกันอย่างมากมาย เช่น นายกฯ อภิสทิ ธิi เวชชา ชีวะ (http://twitter.com/pm_abhisit) พอลล่า (http://twitter.com/punlapa) กาละแม (http://twitter.com.kalamare), วู้ดดี 6 เกิดมาคุย (http://twitter.com/woodytalk), กิkฟซ่า เกอลิเบอรี9 เป็ นต้ น http://twitter.com/GiftzaGB เป็ นต้ น

Business Management with Computer

9


5.6 E-Marketing E-Marketing ย่อมาจากคําว่า Electronic Marketing หรื อเรี ยกว่า “การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ” หมายถึงการดําเนินกิจกรรม ทางการตลาดโดยใช้ เครื9 องมืออิเล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ ที9ทนั สมัยและสะดวกต่อการใช้ งาน เข้ ามาเป็ นสือ9 กลาง ไม่วา่ จะเป็ น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรื อพีดีเอ ที9ถกู เชื9อมโยงเข้ าด้ วยกันด้ วยอินเทอร์ เน็ต มาผสมผสานกับวิธีการทางการตลาด การดําเนิน กิจกรรมทางการตลาด อย่างลงตัวกับลูกค้ าหรื อกลุม่ เป้าหมาย เพือ9 บรรลุจดุ มุง่ หมายขององค์กรอย่างแท้ จริ ง ซึง9 ในรายละเอียด ของการทําการตลาด E-Marketing จะมีรายละเอียดดังต่อไปนี 6 1. เป็ นการสือ9 สารกับกลุม่ เป้าหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจง (Niche Market) 2. เป็ นลักษณะเป็ นการสือ9 สารแบบ 2 ทาง (2 Way Communication) 3. เป็ นรูปแบบการตลาดแบบตัวต่อตัว (One to One Marketing หรื อ Personalize Marketing) ที9ลกู ค้ าหรื อกลุม่ เป้าหมาย สามารถกําหนดรูปแบบสินค้ าและบริ การได้ ตามความต้ องการของตนเอง 4. มีการกระจายไปยังกลุม่ ผู้บริ โภค (Dispersion of Consumer) 5. เป็ นกิจกรรมที9นกั การตลาดสามารถสือ9 สารไปยังทัว9 ทุกมุมโลก ตลอด 24 ชัว9 โมง (24 Business Hours) 6. สามารถติดต่อสือ9 สาร โต้ ตอบ ปฏิสมั พันธ์ได้ อย่างรวดเร็ว (Quick Response) 7. มีต้นทุนตํ9าแต่ได้ ประสิทธิผล สามารถวัดผลได้ ทนั ที (Low Cost and Efficiency) 8. มีความสัมพันธ์กบั กิจกรรมการตลาดแบบดังเดิ 6 ม (Relate to Traditional Marketing) 9. มีการตัดสินใจในการซื 6อจากข้ อมูลข่าวสารที9ได้ รับ (Purchase by Information)

Business Management with Computer

10


เรียนคําศัพท E-Marketing Search Engine Marking (SEM) (SEM)

Search Engine Optimization (SEO)

Search Engine Marking (SEM) คือวิธีการ ตลาดออนไลนที่ใชผลการคนหาจาก Search Engine (เชน Google) เปนชองทางในการ โฆษณา เพื่อใหกลุมเปาหมายพบเห็นเว็บไซต ของเราบอยขึน้

Search Engine Optimization (SEO) เปนหนึ่งในการตลาดผานเว็บคนหาขอมูล โดย ทําตัวเปนเจดัน พัฒนาใหเว็บไซตติดอันดับใน Search Engine สูง ๆ ตามลักษณะของ ระบบการคนหาในเว็บ เพราะยิ่งเว็บไซตได แสดงขึ้นเปนอันดับแรก ๆ ผูเขาชมก็ยิ่งไหลมา เทมามากยิ่งขึ้น ซึ่งวิธีการทํา SEO แตกตาง กันตามจุดประสงคของกลุมลูกคา และวิธีการ ของแตละเว็บ

Search Engine Result Pages (SERPs (SERPs) ERPs) Search Engine Result Pages (SERPs) คือรายชื่อเว็บไซตที่ไดจากการคนหาผาน Search Engine โดย ใชคียเวิรดตาง ๆ ซึ่งสวนใหญแลวจะปรากฏพรอมหัวขอเรือ่ ง ชื่อลิงก และคําบรรยายสรรพคุณเกี่ยวกับ เว็บไซตที่ปรากฏคียเวิรดที่ใชในการคนหา ซึ่งแนนอนวาทั้งสามสวนนี้เปนสวนที่สําคัญที่บอกวาเว็บไซตของเรา จะติดอันดับที่เทาไหรผลเว็บที่คนหา

6. คอมพิวเตอร์ กับขนส่ ง 6.1 Global Positioning System (GPS) GPS ย่อมาจากคําว่า Global Positioning System คือ ระบบนําทางโดยอาศัยการระบุพกิ ดั ตําแหน่งต่างๆ ที#อยู่ บนโลกจากสัญญาณดาวเทียม ซึง# เป็ นส่วนหนึง# ของการใช้ ประโยชน์จากระบบ Global Navigation Satellite System หรื อดาวเทียมสํารวจซึง# โคจรอยูร่ อบโลก GPS ได้ พฒ ั นาขึ &นมาเพื#อตรวจสอบการใช้ งานยานพาหนะให้ อยู่ ในขอบเขตภารกิจทีก# ําหนด โดยใช้ เทคโนโลยีกําหนด ตําแหน่งบนพื &น โลกด้ วยดาวเทียม ซึง# ให้ ข้อมูลการเดินทาง ต่าง ๆ แสดงเส้ นทางที#ใช้ ตําแหน่งที#จอดบนแผนที# แสดง กราฟความเร็ วของยานพาหนะ ตังแต่ & จดุ เริ# มต้ นจนเสร็ จสิ &น

ภารกิจ ผู้ใช้ สามารถนําข้ อมูลมาบริ หาร วิเคราะห์ ตรวจสอบ หรื ออ้ างอิง สามารถนําเสนอข้ อมูลได้ หลาย รูปแบบ เช่น แสดงบนแผนที#ดิจิตอล ในมาตราส่วนต่าง ๆ คือ 1:4,000 ใน กทม. และ 1: 50,000 ทุกจังหวัดทัว# ประเทศไทย แสดงกราฟ หรื อจัดพิมพ์รายงาน ข้ อมูลต่าง ๆ ถูกเก็บไว้ ในคอมพิวเตอร์ PC หรื อ Server สามารถ ค้ นหาข้ อมูลได้ ตามต้ องการ โดยสามารถจัดทํารายงาน ต่างๆเช่น รายงานเดินรถประจําวัน (Excel) ,รายงานการ ใช้ ความเร็วเกินกําหนด ,รายงานสะสมระยะทางรายเดือน ของรถรายงานสะสมระยะทางรายเดือนของพนักงานขับ รถ, รายงานสรุปใบงาน ,แสดงเส้ นทางการเดินทางและจุด จอดบนแผนที# ,กราฟความเร็ ว (รูปแบบของ Tacho Graph)

Business Management with Computer

11


7. การบริหารความสําพันธ์ ลูกค้ า (Customer Relationship Management : CRM) CRM ย่ อมาจาก Customer Relationship Management คือการบริ หารลูกค้ าสัมพันธ์ ซึง# ก็คือ การสร้ างความสัมพันธ์กบั ลูกค้ า โดยการใช้ เทคโนโลยี และการใช้ บคุ ลากรอย่างมีหลักการ CRM ได้ ถกู นํามาใช้ มากยิ#งขึ &นเรื# อย ๆ เนื#องมาจากจํานวนคูแ่ ข่ง ของธุรกิจแต่ละประเภทเพิม# ขึ &นสูงมาก การแข่งขัน รุนแรงขึ &นในขณะทีจ# ํานวนลูกค้ ายังคงเท่าเดิม ธุรกิจ จึงต้ องพยายามสรรหาวิธีทจี# ะสร้ างความพอใจให้ แก่ ลูกค้ าอันจะนําไปสูค่ วามจงรักภักดีในที#สดุ เป้าหมายของ CRM เป้าหมายของ CRM นันไม่ & ได้ เน้ นเพียงแค่การบริ การลูกค้ า เท่านัน& แต่ยงั รวมถึงการเก็บข้ อมูลพฤติกรรม ในการใช้ จ่ายและความต้ องการของลูกค้ า จากนันจะนํ & าข้ อมูล เหล่านันมาวิ & เคราะห์และใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ หรื อการบริ การรวมไปถึงนโยบายในด้ านการ จัดการ ซึง# เป้าหมายสุดท้ ายของการ พัฒนา CRM ก็คือ การเปลีย# นจากผู้บริ โภคไปสูก่ ารเป็ นลูกค้ าตลอดไป

8. คอมพิวเตอร์ กับการบริหาร ทรั พยากรมนุษย์ ปั จจุบนั ได้ มีการนําคอมพิวเตอร์ มาใช้ งานด้ าน การบริ หารทรัพยากรมนุษย์และงานบุคคล ซึง# งานด้ านบุคคล ประกอบด้ วยกิจกรรมหลัก ๆ ดังต่อไปนี & Personal Information System Human Resource Information System

Business Management with Computer

พื &นฐานของระบบ HRIS ที#ดี ประกอบด้ วย - การ Online Access สําหรับ Supervisor และ Manager ของ HR - การกระจายงานให้ แก่พนักงานในองค์กร - ระบบฐานข้ อมูลต้ องง่ายต่อการเข้ าถึงและ เปลีย# นแปลง - ต้ องคํานึงถึงมาตรฐานในการออกแบบ ระบบ เช่น การกําหนดรหัสพนักงาน เพื#อที#จะสามารถเข้ ากับระบบอื#นได้ - การจัดการเรื# องประวัติพนักงานต้ องมี ความละเอียดและครอบคลุม เช่น เข้ ามา ทํางานตังแต่ & เมื#อไร, เคยได้ รับการเลือ# น ตําแหน่งอะไรบ้ าง, เคยได้ รับรางวัล อะไรบ้ าง เป็ นต้ น ระบบต้ องง่ายต่อการใช้ งาน ข้ อมูลต้ องความสัมพันธ์กนั และ สามารถตรวจสอบได้ การกําหนดสิทธิในการเข้ าถึงข้ อมูลนัน& พนักงานระดับหัวหน้ าต้ องสามารถ เข้ าถึงได้ อย่างครอบคลุม การเปลีย# นแปลงข้ อมูลในอนาคตต้ อง สามารถทําได้ อย่างสะดวกและ ง่ายดาย ต้ องมีการปรับปรุงข้ อมูลของพนักงาน เสมอ ต้ องทราบถึงความความสัมพันธ์ของ ระบบต่างๆ ภายในองค์กร การจัดการฐานข้ อมูลต้ องมีมาตรฐาน และเป็ นระบบ ต้ องสามารถจัดการกับข้ อมูลของ บุคคลอื#นที#เกี#ยวข้ อง เช่น Agency หรื อ Contractor ได้

12


9. การใช้ คอมพิวเตอร์ กับงานสํานักงาน (E-Office) สํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation) หรื อ สํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-Office) เป็ นสํานักงานที#ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทัง& เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีระบบเครื อข่าย ในการจัดการเอกสาร การติดต่อสือ# สาร การตรวจสอบข้ อมูล ระบบรักษา ความปลอดภัย รวมถึงการ อนุญาตให้ บคุ ลากรในองค์กร สามารถทํางานจาก ระยะไกลหรื อในตําแหน่งใด ๆ ในสํานักงานได้ โดยมีระบบตรวจสอบตําแหน่งทีท# ํางานของพนักงาน ผู้นนเพื ั & #อให้ บคุ ลากรที#เกี#ยวข้ องสามารถติดต่อกลับได้ ตลอดเวลา

สํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation หรื อ OA) เป็ นแนวคิดในการนําเอาระบบเครื อข่ายมาใช้ เชื#อมโยงคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์สาํ นักงานต่าง ๆ และผนวกด้ วยซอฟต์แวร์ สาํ หรับช่วยงานในสํานักงาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื#อต้ องการให้ เป็ น สํานักงานไร้ กระดาษ โดยให้ ทาํ งานต่อไปนี & เช่น สือ# สารระหว่างผู้ปฏิบตั งิ านโดยใช้ ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) จัดพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้ อง และมีคณ ุ ภาพ (Office Application Software) การออกแบบสิง# พิมพ์และเอกสารที#เกี#ยวข้ องกับ งานธุรกิจ เช่น Word processing, Publisher, Page Maker เป็ นต้ น รับข้ อความจากผู้โทรศัพท์เข้ ามาติดต่อแล้ ว บันทึกเสียงนันไว้ & หากผู้รับไม่อยูใ่ นสํานักงาน บันทึกภาพลักษณ์ (Inage) ของเอกสารต่าง ๆ ไว้ ในระบบประมวลภาพลักษณ์ (Image Processing System) มีระบบประชุมทางไกล (Video Teleconference) เป็ นระบบที#ใช้ คอมพิวเตอร์ ควบคุมอุปกรณ์สอื# สาร และ กล้ องวีดิทศั น์ ทําให้ ผ้ บู ริ หารหน่วยงานสามารถประชุมปรึกษาหารือกับผู้บริ หารที#อยูค่ นละสถานที#โดยไม่ ต้ องเสียเวลาเดินทางไปประชุมด้ วยกัน มีระบบช่วยงานผู้ปฏิบตั ิงานต่าง ๆ ได้ แก่ การบันทึกนัดหมาย การบันทึกข้ อความส่วนตัว การนัดประชุม การคํานวณ การตัดสินใจ ฯลฯ

10. การวางแผนทรั พยากรทางธุรกิจในองค์ กร (Enterprise Resource Planning) ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื#อให้ เกิดการใช้ ประโยชน์อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ERP จึงเป็ นเครื# องมือที#นาํ มาใช้ ในการบริ หารธุรกิจเพื#อแก้ ปัญหาที#เกิดขึ &นภายในองค์กร อีกทังยั & งช่วยให้ สามารถวางแผนการ ลงทุนและบริ หารทรัพยากรขององค์กรโดยรวมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ERP จะช่วยทําให้ การเชื#อมโยงทางแนวนอนระหว่าง Business Management with Computer

13


การจัดซื &อจัดจ้ าง การผลิต และการขายทําได้ อย่างราบรื# น ผ่านข้ ามกําแพงระหว่างแผนก และทําให้ สามารถบริ หารองค์รวม เพื#อให้ เกิดผลประโยชน์สงู สุด ระบบ ERP เป็ นระบบสารสนเทศขององค์กรที#นําแนวคิดและวิธีการบริ หารของ ERP มาทําให้ เกิดเป็ นระบบเชิงปฏิบตั ใิ นองค์กร ระบบ ERP สามารถบูรณาการ (integrate)รวมงานหลัก (core business process) ต่างๆ ในบริ ษัททังหมด & ได้ แก่ การจัดจ้ าง การผลิต การขาย การบัญชี และการบริ หารบุคคล เข้ าด้ วยกันเป็ นระบบที#สมั พันธ์กนั และสามารถเชื#อมโยงกันอย่าง Real time

11. Logistic and Supply Chain Management ลอจิสติกส์ (Logistics) เป็ นระบบที9เกี9ยวข้ องกับช่องทางการจัดจําหน่าย เป็ น กิจกรรมเกี9ยวกับการเคลือ9 นย้ ายสินค้ าและบริ การจากผู้ผลิตไปถึงมือผู้บริ โภค รวมทังขั 6 นตอนการเตรี 6 ยมวัตถุดิบ และการเก็บรักษาสินค้ าคงคลังอีกด้ วย หรื อ พูดง่ายๆ ว่า ลอจิสติกส์ คือการนําสินค้ าและบริ การที9ลกู ค้ าต้ องการไปยัง สถานที9ที9ถกู ต้ องในเวลาที9เหมาะสม สร้ างความพอใจสูงสุดให้ ลกู ค้ า โดยที9 กิจการจะได้ รับผลกําไร หรื อประหยัดค่าใช้ จ่าย เนื9องจากการบริ หารจัดการที9มี ประสิทธิภาพนัน9 เอง การบริ หารจัดการระบบลอจิสติกส์อย่างมีประสิทธิภาพ ย่อมทําให้ ต้นทุนใน เรื9 องของการเคลือ9 นย้ าย การขนส่ง การคลังสินค้ า การรักษาสินค้ าตํ9า และสามารถต่อสู้กบั คูแ่ ข่งขันยืนหยัดอยูใ่ นตลาดที9มีกา แข่งขันรุนแรงได้ หรื อพูดอีกนัย การจัดการระบบลอจิสติกส์ที9ดจี ะเป็ นหนึง9 ในหนทางแห่งความเป็ นเลิศของธุรกิจนัน9 เอง การบริหารห่ วงโซ่ อุปทานหรือ Supply Chain Management เป็ นการบริ หารการทํางานร่วมกันระหว่างกิจการที9อยูใ่ น สายการผลิตตลอดสาย ตังแต่ 6 ต้นกระบวนการผลิตไปจนจบกระบวนการที9ผ้ บู ริ โภค โดยมีการแบ่งปั นข่าวสารข้ อมูลที9จําเป็ น และใช้ ทรัพยากรที9มีอยูอ่ ย่างจํากัดร่วมกัน เพื9อให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ในการลดต้ นทุนให้ ตํ9าที9สดุ และตอบสนองต่อความต้ องกา ของผู้บริ โภคได้ สงู สุด ผลที9ได้ จะทําให้ ผู้ประกอบการตลอดสายสามารถใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรของตนได้ อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ9งขึ 6น ได้ รับ ผลตอบแทนจากการดําเนินงานดีขึ 6น สามารถแข่งขันในตลาดได้ ดขี ึ 6น

Business Management with Computer

14


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.