บทที่ 1 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

Page 1

บทที, 1 ความร้ ู เบือ7 งต้ นเกี,ยวกับคอมพิวเตอร์ 1. ความหมายของคอมพิวเตอร์ ได้ มีผ้ ใู ห้ นิยามความหมายของคอมพิวเตอร์ ไว้ หลายความหมายอย่างเช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ ความหมายของคอมพิวเตอร์ ไว้ ว่า "เครื, อง อิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทําหน้ าที,เหมือนสมองกล ใช้ สําหรับแก้ ปัญหาต่างๆ ที,ง่ายและซับซ้ อนโดยวิธี ทางคณิตศาสตร์ " “คอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที,มนุษย์สร้ างขึ :น เพื,อช่วยในการทํางานกับข้ อมูลที, มีความสลับซับซ้ อน หรื อมีปริ มาณมาก ๆ เพื,อให้ ได้ ผลลัพธ์ที,ถกู ต้ อง แม่นยํา และรวดเร็ ว” คอมพิวเตอร์ (Computer) มาจากรากศัพท์ ภาษาลาตินว่ า Computare ซึง, แปลว่า การคิดการคํานวณ ใน ภาษาไทย เรี ยกว่ า เครื, องคณิตกรณ์ (อ่ านว่ า คะ - นิด - ตะ - กอน) เป็ น สิ,งประดิษฐ์ ที,ผลิตขึ :น เพื,อสนองความต้ องการของมนุษย์ ในปั จจุบนั เข้ ามามีบทบาทสําคัญใน ชีวิตประจําวัน ใช้ ในการช่วยแก้ ปัญหาการทํางานทัว, ทุกวงการ เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที,ทํางานด้ วย ระบบไฟฟ้า ที,ชว่ ยแบ่งเบาภาระของมนุษย์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คอมพิวเตอร์ หมายถึง สิ,งประดิษฐ์ ที,เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทํางานด้ วยระบบไฟฟ้าที,มนุษย์ สร้ างขึ :นมาเพื,อช่วยเหลืองานที,ซบั ซ้ อนยุง่ ยาก หรื องานที,มีประมาณมากให้ เสร็ จด้ วยความถูกต้ อง แม่นยํา ภายในระยะเวลาสัน: ๆ ทังยั : งช่วยงานในด้ านการบันเทิงได้ อีกด้ วย

2. องค์ ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบด้ วยองค์ประกอบสําคัญ 5 ส่วนด้ วยกัน คือ

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์


2.1 ฮาร์ ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื, องคอมพิวเตอร์ ซึง, หมายถึงตัวเครื, องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบ ข้ าง (peripheral) ที,เกี,ยวข้ อง เช่น ฮาร์ ดดิสก์ เครื, องพิมพ์ เป็ นต้ น ฮาร์ ดแวร์ ประกอบด้ วย หน่วยรับข้ อมูล ( input unit ) หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรื อ CPU หน่วยความจําหลัก หน่วยแสดงผลข้ อมูล (output unit ) หน่วยเก็บข้ อมูลสํารอง (secondary storage unit )

หน่วยรับข้อมลู จะเป็ นอุปกรณ์ที,ใช้ สําหรับข้ อมูลต่าง ๆ เข้ าสูค่ อมพิวเตอร์ จากนัน: หน่วย ประมวลผลกลาง จะนําไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ ที,ได้ ออกมากให้ ผ้ ใู ช้ รับทราบทาง หน่วย แสดงผลข้อมลู หน่วยความจํ าหลัก จะทําหน้ าที,เสมือนเก็บข้ อมูลชัว, คราวที,มีขนาดไม่สงู มากนัก การที, ฮาร์ ดแวร์ จะทําหน้ าที,ได้ มีประสิทธิภาพนัน: ขึ :นอยู่กบั โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที,ใช้ ส่วนการทํางาน ได้ มากน้ อยเพียงใด จะขึ :นอยู่กบั หน่วยความจําหลักของเครื, องนัน: ๆ ข้ อเสียของหน่วยความจําหลัก คือ หากปิ ดเครื, องคอมพิวเตอร์ ที,อยูใ่ นหน่วยความจําหลักจะหายไป ในขณะที,ข้อมูลอยูท่ ี, หน่วยเก็บ ข้อมลสํ ู หายตราบเท่าที,ผ้ ใู ช้ ไม่ทําการลบข้ อมูลนัน: รวมทังหน่ : วยเก็บข้ อมูลสํารองยัง ู ารอง จะไม่สญ มีความจุที,สงู มาก จึงเหมาะสําหรับการเก็บข้ อมูลที,มีขนาดใหญ่ หรื อเก็บข้ อมูลไว้ ใช้ ในภายหลัง ข้ อเสียของหน่วยเก็บข้ อมูลสํารองคือการเรี ยกใช้ ข้อมูลจะช้ ากว่าหน่วยความจําหลักมาก INPUT UNIT

PROCESSING UNIT

OUTPUT UNIT

MEMORY UNIT

Chapter1 ควมรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

2


2.2 ซอฟต์ แวร์ (Software) คอมพิวเตอร์ ฮาร์ ดแวร์ ที,ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทํางานใดๆ เนื,องจาก ต้ องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึง, เป็ นชุดคําสัง, หรื อโปรแกรมที,สงั, ให้ ฮาร์ ดแวร์ ทํางานต่าง ๆ ตาม ต้ องการ โดยชุดคําสัง, หรื อโปรแกรมนันจะเขี : ยนขึ :นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึง, และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรื อนักเขียนโปรแกรมเป็ น ผู้ใช้ ภาษาคอมพิวเตอร์ เหล่านันเขี : ยนซอฟต์แวร์ ตา่ ง ๆ ขึ :นมา ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็ นสองประเภทใหญ่ๆคือ ซอฟต์แวร์ ระบบ (System Software ) ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ ( Application Software )

ซอฟต์แวร์ ระบบ โดยส่วนมากแล้ วจะติดตังมากั : บเครื, องคอมพิวเตอร์ เนื,องจากซอฟต์แวร์ ระบบเป็ นส่วนควบคุมทํางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื,อให้ สามารถเริ, มต้ นการทํางานอื,น ๆ ที,ผ้ ใู ช้ ต้ องการได้ ตอ่ ไป ส่วน ซอฟต์ แวร์ ประยุกต์ จะเป็ นซอฟต์แวร์ ที,เน้ นในการช่วยการทํางานต่าง ๆ ให้ กบั ผู้ใช้ ซึง, แตกต่างกันไปตามความต้ องการของผู้ใช้ แต่ละคน 2.3 บุคลากร (People) เครื, องคอมพิวเตอร์ โดยมากต้ องใช้ บคุ ลากรสัง, ให้ เครื, องทํางาน เรี ยกบุคลากรเหล่านี :ว่า ผ้ใู ช้ หรื อ ยเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที,สามารถทํางานได้ เองโดยไม่ต้องใช้ ผ้ คู วบคุม อย่างไรก็ตาม ู คอมพิวเตอร์ ก็ยงั คงต้ องถูกออกแบบหรื อดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ ผ้ใู ช้คอมพิ วเตอร์ (computer user) แบ่งได้ เป็ นหลายระดับ เพราะผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ บางส่วนก็ทํางานพื :นฐานของคอมพิวเตอร์ เท่านัน: แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขันที : ,สงู ขึ :น ทําให้ มีความชํานาญในการใช้ โปรแกรมประยุกต์ตา่ ง ๆ นิยมเรี ยกกลุม่ นี :ว่า เพาเวอร์ ยูสเซอร์ (power user) ผ้เู ชี 6ยวชาญทางด้านคอมพิ วเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที,ได้ ศกึ ษาวิชาการ ทางด้ านคอมพิวเตอร์ ทังในระดั : บกลางและระดับสูง ผู้เชี,ยวชาญทางด้ านนี :จะนําความรู้ที,ได้ ศกึ ษา มาประยุกต์และพัฒนาใช้ งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ ให้ ทํางานในขันสู : งขึ :นไปได้ อีก นักเขี ยนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็ นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์ เช่นกัน เพราะ Chapter1 ควมรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

3


สามารถสร้ างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็ นเส้ นทางหนึง, ที,จะนําไปสูก่ ารเป็ นผู้เชี,ยวชาญทาง คอมพิวเตอร์ ตอ่ ไป บุคลากรก็เป็ นส่วนหนึง, ของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี,ยวข้ องกับระบบ คอมพิวเตอร์ ตังแต่ : การพัฒนาเครื, องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนําคอมพิวเตอร์ มาใช้ งานต่าง ๆ ซึง, สามารถสรุปลักษณะงานได้ ดงั นี : การดําเนินงานและเครื, องอุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น การบันทึกข้ อมูลลงสื,อ หรื อส่งข้ อมูลเข้ าประมวล หรื อควบคุมการทํางานของระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น เจ้ าหน้ าที,บนั ทึกข้ อมูล (Data Entry Operator) เป็ นต้ น การพัฒนาและบํารุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้ าหน้ าที,พฒ ั นาโปรแกรม ประยุกต์ (Application Programmer) เจ้ าหน้ าที,พฒ ั นาโปรแกรม (System Programmer) เป็ นต้ น การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที,ใช้ คอมพิวเตอร์ ประมวลผล เช่น เจ้ าหน้ าที,วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้ าหน้ าที, จัดการฐานข้ อมูล (Database Administrator) เป็ นต้ น การพัฒนาและบํารุงรักษาระบบทางฮาร์ ดแวร์ เช่น เจ้ าหน้ าที,ควบคุม การทํางานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็ นต้ น การบริ หารในหน่วยประมวลผลข้ อมูล เช่น ผู้บริ หารศูนย์ประมวลผล ข้ อมูลด้ วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็ นต้ น ผู้บริ หารสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Office : CIO) ทํา หน้ าที,ในการดูแลและจัดการงานด้ านคอมพิวเตอร์ และ IT ทังหมด : ของหน่วยงาน ซึง, ต้ องดูแลทังเรื : , องงบประมาณ ระบบฐานข้ อมูล ระบบการติดต่อสื,อสารด้ วยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ บุคลากรด้ าน IT ในองค์กร และระบบสารสนเทศที,ต้องใช้ ในองค์กร

Chapter1 ควมรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

4


2.4 ข้ อมลและสารสนเทศ (Data / Information) ู ในการทํางานต่าง ๆ จะต้ องมีข้อมูลเกิดขึ :นตลอดเวลา ข้ อมูลที,เกี,ยวข้ องกับงานที,ถกู เก็บ รวบรวมมาประมวลผล เพื,อให้ ได้ สารสนเทศที,เป็ นประโยชน์ตอ่ ผู้ใช้ ซึ :งในปั จจุบนั มีการนําเอาระบบ คอมพิวเตอร์ มาเป็ นข้ อมูลในการดัดแปลงข้ อมูลให้ ได้ ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆ ระหว่าง ข้อมลู และ สารสนเทศ คือ ข้อมลู คือ ได้ จากการสํารวจหรื อข้ อเท็จจริ ง หรื อข้ อมูลดิบ แต่ สารสนเทศ คือ ได้ จากข้ อมูลไม่ผา่ น กระบวนการหนึง, ก่อน

การเปลี,ยนรปจากข้ อมลส่ ู ู ูสารสนเทศ สารสนเทศเป็ นสิ,งที,ผ้ บู ริ หารนําไปใช้ ชว่ ยในการตัดสินใจ โดยที,สารสนเทศที,มีประโยชน์นนจะมี ั: คุณสมบัติ ดังตาราง มีความสัมพันธ์กนั (relevant)

สามารถนํามาประยุกต์ใช้ ได้ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ ปั จจุบนั

มีความทันสมัย (timely)

ต้ องมีความทันสมัยและพร้ อมที,จะใช้ งานได้ ทนั ทีเมื,อต้ องการ

มีความถูกต้ องแม่นยํา (accurate)

เมื,อป้อนข้ อมูลเข้ าสู่คอมพิวเตอร์ และผลลัพธ์ที,ได้ จะต้ องถูกต้ อง ในทุกส่วน

มีความกระชับรัดกุม (concise)

ข้ อมูลจะต้ องถูกย่นให้ มีความยาวที,พอเหมาะ

มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete)

ต้ องรวบรวมข้ อมูลที,สําคัญไว้ อย่างครบถ้ วน คุณสมบัตขิ องสารสนเทศที,มีประโยชน์

Chapter1 ควมรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

5


2.5 กระบวนการทํางาน (Procedure)

กระบวนการทํางานหรื อโพรซีเยอร์ หมายถึง ขันตอนที : ,ผ้ ใู ช้ จะต้ องทําตาม เพื,อให้ ได้ งาน เฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ ซงึ, ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ทกุ คนต้ องรู้การทํางานพื :นฐานของเครื, อง คอมพิวเตอร์ เพื,อที,จะสามารถใช้ งานได้ อย่างถูกต้ อง ตัวอย่างเช่น การใช้ เครื, อง ฝาก-ถอนเงิน อัตโนมัติ ถ้ าต้ องการถอนเงินจะต้ องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี : จอภาพแสดงข้ อความเตรี ยมพร้ อมที,จะทํางาน สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ เลือกรายการ ใส่จํานวนเงินที,ต้องการ รับเงิน รับใบบันทึกรายการ และบัตร

การใช้ คอมพิวเตอร์ ปฏิบตั งิ านในส่วนต่าง ๆ นันมั : กจะมีขนตอนที ั: ,สลับซับซ้ อน และ เกี,ยวข้ องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบตั งิ านด้ วย จึงต้ องมีคมู่ ือการปฏิบตั งิ านที,ชดั เจน เช่น คูม่ ือ สําหรับผู้ควบคุมเครื, อง (Operation Manual) คูม่ ือสําหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็ นต้ น

3. ประโยชน์ ของคอมพิวเตอร์ จากการที,คอมพิวเตอร์ มีลกั ษณะเด่นหลายประการ ทําให้ ถกู นํามาใช้ ประโยชน์ตอ่ การดําเนิน ชีวิตประจําวันในสังคมเป็ นอย่างมาก ที,พบเห็นได้ บอ่ ยที,สดุ ก็คือ การใช้ ในการทํางานด้ านเอกสาร, ด้ านการ จัดการฐานข้ อมูล, ด้ านการคํานวณ, ด้ านการออกแบบ, ด้ านการนําเสนอข้ อมูล และที,กําลังแพร่หลายและ มีความเจริ ญก้ าวหน้ าอย่างรวดเร็ วคือด้ านการติดต่อสื,อสารและรับส่งข้ อมูล อย่างเช่น ระบบ Internet เป็ น ต้ น ซึง, ปั จจุบนั ได้ มีการนําระบบคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในหลายด้ าน เช่น 1. งานธุรกิจ เช่น บริ ษัท ร้ านค้ า ห้ างสรรพสินค้ า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้ คอมพิวเตอร์ ในการทํา บัญชี งานประมวลคํา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม งานธนาคาร ที, ให้ บริ การถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ร้ านค้ านําระบบ Point of Sale (POS) มาใช้ ในการ รับชําระเงิน ร้ านอาหารนําระบบ Order Online และการคิดเงิน มาใช้ ในการรับออเดอร์ ลกู ค้ าและ

Chapter1 ควมรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

6


คิดเงิน สายการบินนําระบบการจองตัวi ออนไลน์มาใช้ สํานักงานต่าง ๆ นําระบบสํานักงาน อัตโนมัติ (Office Automation) มาใช้ เพื,อเพิ,มประสิทธิภาพในการทํางาน เป็ นต้ น 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนําคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในส่วนของ การคํานวณที,คอ่ นข้ างซับซ้ อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่ อวกาศ หรื องานทะเบียน การเงิน สถิติ ฐานข้ อมูลต่าง และเป็ นอุปกรณ์สําหรับการตรวจรักษาโรค ได้ ซึง, จะให้ ผลที,แม่นยํากว่าการตรวจด้ วยวิธีแบบเดิม 3. งานคมนาคมและสื,อสาร ในส่วนที,เกี,ยวกับการเดินทาง จะใช้ คอมพิวเตอร์ ในติดต่อสื,อสาร ระหว่างกันโดยผ่านระบบอินเตอร์ เน็ต การเดินทางสามารถทําการจองวันเวลา ที,นงั, ซึง, มีการ เชื,อมโยงไปยังทุกสถานีหรื อทุกสายการบินได้ ทําให้ สะดวกต่อผู้เดินทางที,ไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทัง: ยังใช้ ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรื อใน การสื,อสารก็ใช้ ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื,อให้ อยูใ่ นวงโคจร ซึง, จะช่วยส่งผลต่อการส่ง สัญญาณให้ ระบบการสื,อสารมีความชัดเจน การขนส่งยังมีการนําระบบสัญญาณดาวเทียม (Global Positioning System :GPS) มาใช้ ทําให้ การติดต่อสื,อสารได้ สะดวก รู้ถึงตําแหน่งที,ตงของ ั: จุดหมายปลายทางและสามารถทราบระยะทางและเวลาเดินทางได้ 4. งานวิศวกรรมและสถาปั ตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้ คอมพิวเตอร์ ในการ ออกแบบ หรื อ จําลองสภาวการณ์ โดยคอมพิวเตอร์ จะคํานวณและแสดงภาพสถานการณ์เสมือน จริ ง (Virtual Reality) รวมทังการใช้ : ในการออกแบบสถาปั ตยกรรมต่าง ๆ โดยใช้ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ เช่น ภาพ 3มิติ หรื อการจัดทําภาพ เอนิเมชัน, เป็ นต้ น 5. งานราชการ เป็ นหน่วยงานที,มีการใช้ คอมพิวเตอร์ ในงานที,หลากหลาย เช่น การรับส่งข่าวสาร ภายในและภายนอกองค์กรภาครัฐ โดยผ่านทางระบบ E-Government การใช้ ระบบประชุม ทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ จดั ระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต เพื,อเชื,อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ , กรมสรรพากร ใช้ จดั ในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็ น ต้ น 6. การศึกษา ได้ แก่ การใช้ คอมพิวเตอร์ ทางด้ านการเรี ยนการสอน ซึง, มีการนําคอมพิวเตอร์ มาช่วย ในการเรี ยนการสอน เช่น การจัดทําห้ องเรี ยนเสมือนจริ ง การจัดทําระบบ E-learning ตลอดจน การจัดทําบทเรี ยนช่วยสอน (CAI) การจัดทํา E-Book หรื องานด้ านทะเบียน ซึง, ทําให้ สะดวกต่อ การค้ นหาข้ อมูลนักเรี ยน การเก็บข้ อมูลยืมและการส่งคืนหนังสือห้ องสมุด เป็ นต้ น

Chapter1 ควมรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.