Thaiprint Magazine Vol.124

Page 1

THAIPRINT

MAGAZINE 124

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

ISSUE

www.thaiprint.org




Other Auxiliary Equipment Of Printing Press Overall solution

保护环境是每一个人的事情

Do a little for environmental p rotection

Water Tank Capacity and Applications of Printing Machines: Water Tank Volume 66L

98L

126L 151L

200L

250L

Refrigerating Capacity 2900W

4600W

6900W

number of colors specification Quarto(26/28”) Positivemetric Bisect( 32”) Large Bisect Machine( 40”) Positivemetric Full Size( 44”) Large Full Size(50”)

11000W 15600W 20000W

2 66L 66L 98L 126L 126L

4 98L 126L 126L 151L 151L

5 126L 151L 151L 200L 200L

6 151L 151L 151L 151L 200L

7 151L 200L 200L 250L

8 200L 200L 250L 250L





เครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ตสี ความเร็วสูง ส�ำหรับ งานด่วน, ใบปลิว, ซองจดหมาย, ตีเบอร์ บนกระดาษ NCR, เข้าเล่ม, ไสกาวอัตโนมัติ ฯลฯ

l

Super high-speed Printing 160 ppm.

l

High-speed Printing 120 ppm.

l

Best performance with fast-dry oil-base

l

Best performance with fast-dry oil-base

l

Stability for High-volume Production Print jobs.

l

Eco-proven Performance Worldwide.

บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/


Stand out from the crowd with fifth color RICOH PRO C7200SX · 85 ppm · 360 gsm Neon Pink Neon Yellow Invisible Red

· Duplex 700 mm White Clear

· Special Toner · Auto Alignment and Calibration

บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จำกัด 341 ถ.ออนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร : 02 088 1524 www.ricoh.co.th


Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC_2020_Final-01.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

16/1/2563 BE

13:08




110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 4

12/9/2560 14:01:20


นายกสมาคม

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก

124 THAIPRINT

วารสาร Thai Print ฉบับนี้กลับมาพร้อมกับ ″การประกวดสิง ้ ที่ 14″ ภายใต้ ่ พิ มพ์ แห่งชาติ ครัง แนวคิด ″The Unity for Sustainability″ เอกภาพเพื่ อความยั่ ง ยื น ของอุ ต สาหกรรม การพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ไทย ในปัจจุบันต้อง ยอมรับว่า ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี การสื่ อ สาร และ Social Media ท� ำ ให้ ร ะบบ การด�ำเนินธุรกิจทั้งภาคการผลิต และภาคการ ่ น บริการ ต่างได้รบ ั ผลกระทบจากการปรับเปลีย พฤติ ก รรมของผู้ บ ริ โ ภคในยุ ค ดิ จิ ต อลอย่ า ง มากมาย จากที่คิดว่าการเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิด ขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่กลับกลายเป็นว่า กระแสความเปลี่ ย นแปลงถาโถมเข้ า ใส่ ธุ ร กิ จ และอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ท�ำให้บางธุรกิจที่ปรับตัวไม่ทันต้องเลิกกิจการไป ซึ่งท่านผู้อ่านหรือสมาชิกที่สนใจส่งผลงานเข้าร่วมประกวด สามารถติดต่อตาม รายละเอียดได้จากเนื้อหาภายในเล่ม

MAGAZINE 124

ISSUE

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

• วารสารการพิ มพ์ ไทย ฉบับที่ 124

www.thaiprint.org

W209.55 x H292.1 mm. สัน 4 mm.

COVER TPM ISSUE 124 EDIT 1 14/02/2020

ส่วนไฮไลท์เด่นในฉบับนี้ คือ เนื้อหาจากการสัมมนามุมมองใหม่ในธุรกิจการพิ มพ์ (New Perspective in Printing Business) ที่ทางสมาคมฯ ได้สรุปเนื้อหาที่ ่ วกับการปรับตัวเพื่ อรับมือกับธุรกิจอุตสาหกรรมสิง น่าสนใจเกีย ั ฑ์ ่ พิ มพ์ และบรรจุภณ ้ ่ ทีจะเกิดขึนในอนาคต ในนามของสมาคมการพิ มพ์ ไทย และกองบรรณาธิการวารสาร ขอขอบคุณทุกฝ่าย ที่ได้สนับสนุนให้วารสาร ฉบับนี้ส�ำเร็จตามเป้าหมายรวมถึง สมาชิกวารสารและ ผู้อ่านทุกท่าน ที่ได้ติดตามวารสารมาอย่างต่อเนื่อง หากผู้อ่านจะมีข้อเสนอแนะใด ในการปรั บ ปรุ ง วารสารนี้ ใ ห้ ส มบู ร ณ์ ย่ิ ง ขึ้ น กองบรรณาธิ ก ารขอน้ อ มรั บ ค� ำ ติ ช ม ด้วยความยินดี รวิกาญจน์ ทาพั นธ์ บรรณาธิการ

SPECIAL THANKS

ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ

คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ

คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก

คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน

คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม

คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม

คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์

คุณรัชฐกฤต เหตระกูล

รองประชาสัมพั นธ์

คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์

ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ

คุณธนา เบญจาธิกุล


15 Ad Vahva Board_pc4.indd 1

23/11/2561 1:19:13


CONTENTS NEWS

KNOWLEDGE สาระน่ารู้เกี่ยวกับการพิ มพ์ ออฟเซต การควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต (1)

22

ระบบอัตโนมัติ ส�ำหรับอุตสาหกรรม การพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 2

36

ปัจจัยเสี่ยงและการบริหารจัดการ ความเสี่ยง (ตอนที่ 4)

60

้ งสังสรรค์สมาคม งานเลีย อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย

17

Superior Inkjet Grand Open House

50

งานประกาศรางวัล ผลการประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุน ่ ใหม่ไร้ Food Waste” ปีท่ี 2

28

แสดงความยินดี ″คุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิ พัฒน์″

52

Print Industry Summit 2019 : Printing 4.0 and Packaging Countdown to DRUPA 2020

30

The New Normal of Packaging in 2020

54 56

สัมมนา "Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry"

32

ประชุมเตรียมความพร้อม ThaiStar Packaging Awards 2020

KMUTT กับการพั ฒนาบุคลากรใน ภาคอุตสาหกรรมเพื่ อรองรับ EEC

33

่ มชมโรงงานอิมปานิ ผ้าขาวม้า เยีย

57 68

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ

58

สอบประเมินสมรรถนะความรู้ วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

42

เอชพี อิงค์ มอบรางวัล ENVIRONMENTAL EXCELLENCE

69

ปรับตัว “ธุรกิจโรงพิ มพ์ ” ท�ำอย่างไรถึงจะอยู่รอด

78

สอบประเมินสมรรถนะความรู้ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ ฯ

43

RICOH เตรียมเปิดท�ำการ โรงงานผลิตเครื่องพิ มพ์ ในจีน

70

การพั ฒนาอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์เพื่ อยกระดับ คุณภาพสู่มาตรฐาน

45

KURZ เลี้ยงอาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านสมวัย มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม

71

โครงการหนึ่งล้านกล้าความดี ตอบแทนคุณแผ่นดิน ประจ�ำปี 2563

46

RICOH ส่งเสริมความคิด คนรุน ่ ใหม่ในโครงการ X Campus Ads Idea Contest 2019 Smart Production ความเป็น ไปได้ที่ไม่สิ้นสุด โดยไฮเดลเบิร์ก

82

งานแถลงข่าว “ไทยสตาร์ แพคเกจจิ้ง อวอร์ด 2020”

92

สัมมนา "มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิ มพ์ " 48 สัมมนา "บรรจุภณ ั ฑ์สำ� หรับ SME : ไม่รู้ ไม่รอด"

49

เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

INDUSTRIAL

INTERVIEW บทสัมภาษณ์ คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ / คุณคฑาวุธ เอื้อจงประสิทธิ์ มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิ มพ์ (New Perspective in Printing Business)

18

อาภากร ชุนเจริญ บริษท ั พงศ์พัฒน์การพิ มพ์ จ�ำกัด

74

ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ที่ บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

The Thai Printing Association www.thaiprint.org


NEWS

17

้ งสังสรรค์สมาคม งานเลีย อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย วันที่ 12 ธันวาคม 2562 ณ ห้องเพชรชมพู โรงแรมดิเอมเมอรัล คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช – นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมด้วยคณะมนตรีสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ เข้าร่วม งานเลี้ ย งสั ง สรรค์ พร้ อ มกล่ า วแสดงความยิ น ดี กั บ สมาคม อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย เพื่อแสดงถึงความร่วมมือ เป็นหนึง่ เดียวกันของกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ซึ่งพร้อมที่จะพัฒนาและเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2562 เวลา 19.00-21.00 น. ณ ห้องเพชรชมพู โรงแรมดิเอมเมอรัล www.thaiprint.org


18

INTERVIEW

มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิ มพ์ (New Perspective in Printing Business)

คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ - บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด ้ จงประสิทธิ์ - บริษท คุณคทาวุธ เอือ ั อี พี ซี คอร์ปอเรชัน ่ จ�ำกัด การด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบนั ซึง่ เป็นยุคของ Digital Disruption ที่ต้องอาศัยการปรับตัวให้ทันเทคโนโลยี หลาย ๆ ที่อาจจะเป็น บริษัทที่บริหารแบบรุ่นต่อรุ่น จากรุ่นปู่ส่งต่อมารุ่นพ่อและส่ง ต่อมาถึงรุ่นลูก รับต่อกันมาเป็นมรดกตกทอด แต่ก็มีไม่น้อยที่ ปรับตัวและผันตัวเองให้ทันเทคโนโลยีโดยการ Start up ธุรกิจ ใหม่ๆ รวมไปถึงการต่อยอด เพิ่มไลน์ใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่อง กับธุรกิจเดิม ยกตัวอย่างเช่น 2 นักธุรกิจหนุ่ม คุณหฤษฎ์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

หิรัญญาภินันท์ – บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด และ คุณคทาวุธ เอือ้ จงประสิทธิ์ – บริษทั อี พี ซี คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ทีม่ าถ่ายทอด เรื่องราวและแนะน�ำแนวทาง มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิมพ์ เพื่อต่อยอดธุรกิจให้เหมาะกับกระแสโลกในปัจจุบัน ซึ่งเนื้อหา ทัง้ หมดในบทความนีม้ าจากการสัมมนา “มุมมองใหม่ในธุรกิจ การพิมพ์ (New Perspective in Printing Business” เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2563 ที่ผ่านมา


INTERVIEW

คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ (คนขวามือ)

บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด

19

คุณคทาวุธ เอื้อจงประสิทธิ์

บริษัท อี พี ซี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

แนวคิดในการด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบัน

คุณหฤษฎ์ ได้เล่าให้ฟังว่า จากเดิมที่ครอบครัวมีธุรกิจด้าน การพิมพ์อยูแ่ ล้ว และมีโอกาสได้เข้าไปเรียนรูง้ านและมองเห็นว่า งานในปัจจุบันมีความแตกต่างจากสมัยก่อนซึ่งมาในรูปแบบ Print on Demand ซึ่งจ�ำนวนผลิตน้อย มากกว่าที่จะผลิต เพือ่ สต๊อกสินค้าไว้ ท�ำให้เราเสียโอกาสในการรับงานจ�ำนวนน้อย จึงได้หันมาจับงานด้านดิจิทัลเพื่อรองรับงานในส่วนนี้ แต่ไม่ได้ คิดว่าจะต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวเนื่องจากบริษัทของ คุณพ่อ (คุณเรืองศักดิ์ หิรญ ั ญาภินนั ท์ – บริษทั โคแพค จ�ำกัด) เป็นบริษัทที่ค่อนข้างใหญ่ ในเรื่องของเอกสารหรือการติดต่อ งานไม่สามารถท�ำให้เรียบร้อยได้ในเวลาเพียงวันหรือสองวัน จึงได้ตั้งบริษัทแยกออกมา ชื่อ บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด ในการบริ ห ารธุ ร กิ จ คุ ณ หฤษฎ์ ไ ม่ ไ ด้ ยึ ด หลั ก เกณฑ์ อ ะไรที่ ตายตัวมากนัก แต่อาศัยการเรียนรูค้ วามเปลีย่ นแปลงจากลูกค้า หมายความว่า ดูแลลูกค้าด้วยตัวเองและเรียนรู้จากลูกค้า ไปเรื่อยๆ เก็บสถิติต่างๆ จากลูกค้าเพื่อน�ำมาหาประโยชน์จาก จุดนั้นโดยไม่ทิ้งโอกาสให้สูญเปล่า ยกตัวอย่างเช่น หากมีลูกค้า ติดต่อให้ท�ำงานชิ้นหนึ่งซึ่งบริษัทไม่ได้รับผลิต และมีอีกหลาย เจ้าทีต่ ดิ ต่อเข้ามาในลักษณะเดียวกัน ตรงจุดนีต้ อ้ งคิดแล้วว่าเรา จะทิง้ โอกาสตรงจุดนีไ้ ปอีกหลาย ๆ ครัง้ หรือจะเปิดรับโอกาสนี้ ส่วนคุณคฑาวุธ ได้เล่าถึงความเป็นมาให้ฟังว่า ตนเองเป็นคน ทีค่ อ่ นข้างโชคดี หลังจากเรียนจบในปีทเี่ กิดภาวะวิกฤติตม้ ย�ำกุง้ ซึง่ เป็นวิกฤติทถี่ อื ว่าไม่ได้สาหัสมากนักหากเทียบกับในยุคปัจจุบนั ในอดีตเราเป็นผู้น�ำเข้าหลักรวมไปถึงค่าแรงยังไม่สูงเท่าตอนนี้ ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสินค้าหลายอย่างในโลก แต่ใน

ปัจจุบันหลายๆ อุตสาหกรรมเริ่มกระจายตัวไปตามประเทศ เพือ่ นบ้าน เนือ่ งจากค่าแรงขัน้ ต�ำ่ ถูกกว่าประเทศไทย เมือ่ มองถึง จุดนี้ จึงตั้งค�ำถามกับตัวเองว่า จะแข่งกับเขาได้อย่างไรเมื่อ อุตสาหกรรมหลักๆ ของไทยถูกย้ายไปจนเกือบหมด และหา ค�ำตอบด้วยการท�ำในเรื่องที่ประเทศเพื่อนบ้านท�ำตามไม่ได้ จากประสบการณ์การท�ำงานกล้าการันตีได้เลยว่า สินค้าประเภท ฉลาก อย่างเช่น Nike, ADIDAS หรือบรรจุภัณฑ์ของแบรนด์ ต่างๆ ประเทศไทยได้รับการยอมรับมากกว่า จึงได้ตั้ง บริษัท Thai KK Tech (บริษทั ร่วมลงทุนระหว่าง บริษทั Thai KK จ�ำกัด ผู้ผลิตสติ๊กเกอร์รายใหญ่ในบ้านเรา กับบริษัท อี พี ซี จ�ำกัด ตัวแทนจ�ำหน่ายกระดาษ ชัน้ น�ำจากต่างประเทศ) มีความมุง่ มัน่ ในการท�ำฉลากอัจฉริยะ Smart Label เป็นหลัก

งานในปัจจุบันมีความแตกต่าง จากสมัยก่อนซึ่งมาในรูปแบบ Print on Demand ซึ่งจ�ำนวน ผลิตน้อย มากกว่าที่จะผลิต เพื่ อสต๊อกสินค้าไว้ ท�ำให้เราเสีย โอกาสในการรับงานจ�ำนวนน้อย จึงได้หันมาจับงานด้านดิจิทัล เพื่ อรองรับงานในส่วนนี้ คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด www.thaiprint.org


20

INTERVIEW

มุมมองในการด�ำเนินธุรกิจในยุคปัจจุบน ั และอนาคต

คุณหฤษฎ์แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า หลายๆ คนอาจจะ มองว่าอุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์อยูใ่ นช่วงขาลง แต่นนั่ ก็เป็นเพียงแค่ สิ่งพิมพ์ประเภท Commercial หรืองานพิมพ์โบรชัวร์ หนังสือ เท่านั้น แต่ยังมีงานบางประเภทที่ไม่เคยลดลง เป็นงานที่ให้ คุณค่ากับผูร้ บั เช่น การ์ดแต่งงาน ทีน่ บั สถิตแิ ล้วจ�ำนวนการผลิต ไม่ได้ลดลงเมือ่ เทียบกับสิง่ พิมพ์อนื่ ๆ เทคนิคการพิมพ์ทนี่ ำ� มาใช้ ในการ์ดแต่งงานมีความซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้น สิ่งที่ต้องการจะ สือ่ คือ สิง่ ทีผ่ จู้ ะใช้งานชิน้ นัน้ ๆ ต้องการคือ ไม่ตอ้ งการงานทีใ่ ช้ แล้วทิง้ แต่ตอ้ งการงานพิมพ์ทมี่ คี ณ ุ ค่า ซึง่ การทีจ่ ะเราจะสร้าง คุณค่าให้กับงานพิมพ์นั้นเราต้องใช้เทคนิคการพิมพ์มากกว่า 1 ระบบ สิ่งเหล่านี้จะช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับงาน จึงอยากให้ โรงพิมพ์ไหนๆ ก็ตามที่พิมพ์แค่ระบบเดียวตระหนักว่าอาจจะ ต้องล�ำบากในอนาคต แต่หากยังไม่มคี วามพร้อมทีจ่ ะลงทุนเพิม่ แนะน�ำว่าให้หา Partner ที่สามารถรองรับในจุดนี้เพื่อความ อยู่รอดของธุรกิจในอนาคต THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ในมุมมองของคุณคฑาวุธมองว่า หลาย ๆ คนอาจจะมองว่า ธุรกิจการพิมพ์ในปัจจุบนั เป็นช่วงขาลง แต่นคี่ อื ช่วงเวลาส�ำคัญ ที่จะมีการเปลี่ยนแปลง การพิมพ์จะเข้าไปซึมซับอยู่ในธุรกิจ อื่นๆ ในอนาคตทุกอย่างรอบตัวจะมีการพิมพ์เข้าไปเกี่ยวข้อง เพียงแต่อาจจะมีในรูปแบบต่างๆ ที่เปลี่ยนไป ดังนั้น จึงไม่ควร เกาะติดลูกค้าเพียงอย่างเดียวแต่ต้องสังเกตทิศทางภาพรวม กระแสของโลก หรือแม้แต่เรื่องของสิ่งแวดล้อมเองก็เป็น เรือ่ งส�ำคัญทีค่ วรควรตระหนักถึง เนือ่ งจากกระแสในเรือ่ งของ รักษ์โลก การลดใช้พลาสติก หรือการใช้สงิ่ ของทีส่ ง่ เสริมสุขภาพ จึงควรมองถึงโอกาสที่จะน�ำสิ่งต่างๆ เหล่านี้มาประยุกต์ใช้ ให้เข้ากับธุรกิจการพิมพ์ซึ่งมีหลายลู่ทาง ทั้งในปัจจุบันและ ต่อเนื่องไปจนถึงอนาคต


INTERVIEW

ธุรกิจสิ่งพิ มพ์ ควรปรับตัวอย่างไรต่อพฤติกรรม ของผู้บริโภคในปัจจุบัน

คุณหฤษฎ์ แสดงความเห็นว่า อย่างที่ทราบกันดีว่าปัจจุบัน ธุรกิจสิ่งพิมพ์มีจ�ำนวนลดลง หมายความว่า ปริมาณการพิมพ์ ในแต่ละครั้งมีจ�ำนวนน้อยลง แต่ในทางกลับกันมีจ�ำนวนครั้ง ของการพิมพ์เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น จึงอยากแนะน�ำหลักง่ายๆ คือ การเพิ่มฝ่ายขาย ยกตัวอย่างเช่น หากบริษัทมีเครื่องพิมพ์ 3 เครื่อง อาจจะมีฝ่ายขาย 10 คน เพื่อรองรับปริมาณการพิมพ์ ทีม่ จี ำ� นวนครัง้ มากขึน้ หมายถึงการสัง่ งานในจ�ำนวนทีบ่ อ่ ยครัง้ ขึน้ หากยังมีฝ่ายขายในจ�ำวนที่ไม่เพียงพอกับจ�ำนวนงานที่ต้อง รองรับ จะส่งผลให้เสียโอกาสตรงจุดนั้นได้ ถึงแม้จะมีค่าใช้จ่าย ที่เพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่ได้รับกลับมานั้นสามารถชดเชยกับการลงทุน ตรงส่วนนี้ ทางด้านคุณคฑาวุธได้กล่าวว่า ไม่ว่าพฤติกรรมของผู้บริโภค จะเปลี่ยนไปมากแค่ไหน เราสามารถรับมือได้ด้วยการเปลี่ยน มุมมอง ทุกวันนี้การลงทุนในประเทศไทยมีช่องทางมากมาย เพียงแต่ต้องเข้าใจก่อนว่าทุกวันนี้เขาท�ำอะไรกัน แนวโน้มของ ธุรกิจสิ่งพิมพ์ก�ำลังเดินไปในทิศทางไหน จะต้องจับตรงนั้นให้ ได้แล้วน�ำมาปรับเปลี่ยนให้เข้ากับธุรกิจ การเตรียมตัวรับมือกับธุรกิจสิ่งพิ มพ์ ในอนาคต

คุณหฤษฎ์แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า ความเปลี่ยนแปลง ในโลกปัจจุบันเปลี่ยนไปเร็วมาก จนเราไม่สามารถกะเกณฑ์ ได้เลยว่า ในอีกปีสองปีขา้ งหน้าจะเกิดอะไรขึน้ มาบ้าง แต่สงิ่ ทีค่ วร

21

ต้องท�ำเป็นอันดับแรกคือการรับรูข้ า่ วสารให้มากทีส่ ดุ เมือ่ รับมา แล้วต้องท�ำการกรองข่าว รับรู้ ตระหนักรู้ วิเคราะห์ และท�ำวิจยั ในจุดนีจ้ ะช่วยให้เราคัดกรองข้อมูลได้รบั รูข้ า่ วสารทีม่ คี วามส�ำคัญ และเกี่ยวข้องกับธุรกิจของเรามากที่สุด ด้ า นคุ ณ คฑาวุ ธ ได้ ก ล่ า วว่ า ควรท� ำ การศึ ก ษาข้ อ มู ล และ ท�ำความเข้าใจให้ถ่องแท้ว่าทิศทางของโลกก�ำลังด�ำเนินไป ในทิศทางใด จะช่วยเสริมสร้างโอกาสทองในการท�ำธุรกิจ การพิมพ์ในอนาคตได้

ไม่ว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคจะ เปลี่ยนไปมากแค่ไหน เราสามารถ รับมือได้ด้วยการเปลี่ยนมุมมอง ทุกวันนี้การลงทุนในประเทศไทย มีช่องทางมากมาย เพี ยงแต่ ต้องเข้าใจก่อนว่าทุกวันนี้เขา ท�ำอะไรกัน แนวโน้มของธุรกิจ สิง ่ พิ มพ์ กำ� ลังเดินไปในทิศทางไหน จะต้องจับตรงนั้นให้ได้แล้วน�ำมา ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับธุรกิจ ้ จงประสิทธิ์ คุณคทาวุธ เอือ บริษัท อี พี ซี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด www.thaiprint.org


22 KNOWLEDGE

่ วกับการพิ มพ์ ออฟเซต สาระน่ารูเ้ กีย การควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต (1) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com

เครดิตภาพประกอบ https://www.tectindemexico.com/images/gal/08.jpg

การควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต เป็นสิ่งที่ ส� ำ คั ญ ในการการผลิ ต งาน เพื่ อให้ ไ ด้ ง านพิ มพ์ ที่ มี คุ ณ ภาพที่ เ หมื อ นเดิ ม หรื อ ใกล้ เ คี ย งกั บ ต้ น ฉบั บ ให้ มากที่สุด ไม่ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมใน การพิ มพ์ ที่ แ ตกต่ า งกั น ในบทความนี้ จ ะอธิ บ ายถึ ง หลักการและปัจจัยต่างๆ ทีเ่ ราต้องท�ำการควบคุม รวมถึง เครื่ อ งมื อ วั ด ต่ า งๆ ที่ จ� ำ เป็ น ในการควบคุ ม คุ ณ ภาพ เพื่ อท�ำให้ผู้ผลิตงานพิ มพ์ ได้มีความรู้ความเข้าใจต่อไป THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ความหมายและหลักการของการควบคุมคุณภาพ

การควบคุมคุณภาพ (Quality Control, QC) คือ การควบคุม คุณภาพในการผลิตให้เป็นไปตามคุณสมบัติที่ก�ำหนดไว้ และ สามารถสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าสูงสุด ด้วยกระบวนการ การตรวจสอบจุดบกพร่องของผลิตภัณฑ์ เพือ่ ทีจ่ ะท�ำการแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้ผู้ผลิตสามารถท�ำการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ ใกล้เคียงกับคุณสมบัติที่ตั้งไว้


KNOWLEDGE 23

เหตุผลที่เราต้องควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ เพราะการผลิต สิ่งพิมพ์ เป็นกระบวนการผลิตที่ต้องมีการท�ำซ�้ำ และมีปัจจัย ที่สามารถควบคุมได้ และควบคุมไม่ได้ จากสาเหตุนี้ จึงท�ำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพทางการพิมพ์ การควบคุม คุณภาพทางการพิมพ์จงึ เป็นกระบวนการทีใ่ ช้ในการตรวจสอบ และควบคุมให้การผลิตสิ่งพิมพ์ให้ได้ตามความต้องการของ ลูกค้า ส� ำ หรั บ การผลิ ต สิ่ ง พิ ม พ์ คุ ณ ภาพงานพิ ม พ์ หมายถึ ง ความเหมื อนของสิ่ง พิมพ์ที่ไ ด้จ ากการวัดหรือเปรียบเทียบ กับต้นฉบับ การควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ จึงเป็นการควบคุม กระบวนการผลิตสิง่ พิมพ์ให้ได้สงิ่ พิมพ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพตามต้นฉบับ ที่ต้องการนั้นเอง ดังนั้นในการควบคุณคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต จึงจ�ำเป็น ต้องเข้าใจถึงคุณภาพงานพิมพ์ที่ลูกค้าต้องการ ปัจจัยต่างๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การพิ ม พ์ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการท� ำ แม่ พิ ม พ์ คุณลักษณะในการพิมพ์ (Print Characteristic) การควบคุม ปัจจัยต่างๆ ทางการพิมพ์ รวมถึงเครื่องมือวัด และมาตรฐาน ทางการพิมพ์ที่ก�ำหนดโดยโรงพิมพ์ หรือมาจากการอ้างอิง มาจากมาตรฐานสากล เครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต

ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต สิ่งที่ส�ำคัญคือ การใช้เครือ่ งมือในการควบคุณคุณภาพให้ถกู ต้องและเหมาะสม กับลักษณะงานพิมพ์ เครื่องมือที่จ�ำเป็นในการควบคุมคุณภาพ ทางการพิมพ์ออฟเซต คือ แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ (Colour bar, Control strip) และเครือ่ งมือวัดค่าความด�ำและ ค่าสี (Spectrodensitometer) แถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ (Colour bar, Control strip)

ลั ก ษณะทั่ ว ไปของแถบควบคุ ม คุ ณ ภาพงานพิ ม พ์ จ ะเป็ น ไฟล์ ดิ จิ ทั ล ที่ ป ระกอบด้ ว ยแถบควบคุ ม ต่ า งๆ ที่ พิ ม พ์ ด ้ ว ย แม่สีทางการพิมพ์ 4 สี คือ สีน�้ำเงินเขียว (cyan) สีม่วงแดง (magenta) สีเหลือง (yellow) และสีด�ำ (black) โดยปกติ แถบควมคุมคุณภาพทางการพิมพ์จะมีขนาดกว้างประมาณ 5 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 75 เซนติเมตร การใช้งานแถบ

ควบคุมคุณภาพสามารถใช้งานได้โดยผ่านการวางด้วยโปรแกรม วางหน้า โดยจะวางไว้ตามแนวด้านยาวบริเวณท้ายกระดาษ ที่พิมพ์โดยมีความยาวตลอดช่วงความยาวกระดาษและแนวนี้ จะอยูใ่ นแนวตามขวางของโมพิมพ์ เนือ่ งจากต้องการตรวจสอบ การปล่อยหมึกในแต่ละบริเวณของโมพิมพ์นั่นเอง เนือ่ งจากจุดประสงค์ในการใช้แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์นนั้ ต้องการพิมพ์แถบควบคุมนี้ลงบนกระดาษ เพื่อให้สามารถใช้ เครื่ อ งวั ด ในการวั ด ค่ า ต่ า งๆ เช่ น ค่ า ความด� ำ ขนาดของ เม็ดสกรีนเพื่อตรวจสอบความสม�่ำเสมอในการปล่ อ ยหมึ ก สภาพของการปรับตั้งเครื่องพิมพ์และคุณภาพงานพิมพ์อื่นๆ ได้ แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ที่ใช้กันทั่วไปมีหลายประเภท ที่นิยมกันแพร่หลายได้แก่ แถบควบคุมสีของ FOGRA และ URGA เป็นต้น แต่ละแบบมีข้อแตกต่างกันเล็กน้อย การเลือก ใช้ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน อาทิเช่น งานพิมพ์ 4 สี 6 สี แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ จะมีจ�ำนวนช่องสี ที่ไม่เท่ากันนั้นเอง

การควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต สิ่งที่ส�ำคัญคือ การใช้เครื่องมือ ในการควบคุมคุณภาพ ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับ ลักษณะงานพิ มพ์ เครื่องมือ ที่จ�ำเป็นในการควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต คือ แถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ (Colour bar, Control strip) และเครื่องมือวัดค่าความด�ำและ ค่าสี (Spectrodensitometer)

www.thaiprint.org


24 KNOWLEDGE

Ink zone width (e.g. 32.5 mm) ภาพที่ 1 ตัวอย่างแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ่ า: Handbook of Print Media ทีม

ส่วนประกอบของแถบควบคุมคุณภาพงานพิ มพ์

1. ช่องพื้นทึบ

แถบควบคุมคุณภาพงานพิมพ์โดยทั่วไป แบ่งเป็นช่อง ๆ ตาม ลักษณะที่พิมพ์ออกมาดังนี้ คือ ช่องพื้นทึบ (solid element) ช่องสกรีน (screen หรือ tints) ช่องพิมพ์พร่า (slur) และ การพิ ม พ์ ซ ้ อ น (doubling) ช่ อ งการพิ ม พ์ ทั บ ซ้ อ นทั บ สี (trapping หรือ overprint) ช่องเม็ดสกรีนบวม (dot gain) และเครื่องหมายกันเหลื่อม (register mark)

ช่องพืน้ ทึบจะเป็นช่องสีเ่ หลีย่ ม จะพิมพ์หมึกเต็มพืน้ ทีด่ ว้ ยสีหมึก สีเดียวแต่ละสี คือ เหลือง (Y) ม่วงแดง (M) น�ำ้ เงินเขียว (C) และ ด�ำ (K) จะใช้เพื่อวัดความหนาในการปล่อยหมึกพิมพ์ และยังใช้ ส�ำหรับตรวจสอบความสม�่ำเสมอในการปล่อยหมึกกระจาย ตามแนวกว้ า งของกระดาษหรื อ โมพิ ม พ์ ปกติ แ ถบควบคุ ม คุณภาพแบบต่างๆ ไม่วา่ แบบใดมักจะมีชอ่ งพืน้ ทึบของแต่ละสีนี้ ห่างกันเป็นระยะๆ ในช่วงประมาณ 2 ถึง 3 นิ้ว ตลอดช่วง ความยาวของแถบควบคุมคุณภาพ

ภาพที่ 2 ช่องพื้ นทึบในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ่ า: Handbook of Print Media ทีม

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


KNOWLEDGE 25

2. ช่องสกรีน ช่องสกรีนเป็นช่องที่ใช้ส�ำหรับตรวจสอบการเกิดเม็ดสกรีนบวม (dot gain) และความเปรียบต่างการพิมพ์ (print contrast) ที่นิยมใช้กันอยู่ มี 2 แบบ ดังนี้ 1) แบบ 3 ช่อง จะมีเม็ดสกรีน 3 ขนาด คือ 25 เปอร์เซ็นต์ 50 เปอร์เซ็นต์ และ 75 เปอร์เซ็นต์ เพื่อใช้วัดทั้ง 3 ช่องของภาพ คือ ส่วนสว่าง (high light) ส่วนน�้ำหนักสีกลาง (middle tone) และส่วนเงา (shadow) ของภาพ จะพิมพ์ดว้ ยสีเดีย่ ว แต่ละสีคือ C M Y K

70%

40%

2) แบบ 2 ช่อง จะมีเม็ดสกรีน 2 ขนาด คือ 40 เปอร์เซ็นต์ และ 80 เปอร์เซ็นต์ จะพิมพ์ด้วยสีเดี่ยวแต่ละสี คือ C M Y K จะเน้นการวัด 2 ช่อง คือ ส่วนน�้ำหนักสีกลางของภาพและ ส่วนเงา

80%

50%

75%

ภาพที่ 3 ช่องเม็ดสกรีนในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ่ า: Handbook of Print Media ทีม

3. ช่องการพิมพ์ซ้อนทับสี ช่องการพิมพ์ซ้อนทับสี มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยมพื้นทึบ ซึ่งพิมพ์ด้วยหมึก 2 สีซ้อนทับกันทีละคู่จึงเกิดเป็นสีแดง (R) เขียว (G) และน�ำ้ เงิน (B) ใช้สำ� หรับวัดค่าของการพิมพ์ซอ้ นทับสี MY

โดยใช้ในการตรวจสอบสีบนพิมพ์ทบั สีขา้ งล่างได้สมบูรณ์เพียงใด มีปัญหาหมึกถอนผิวหมึกที่พิมพ์ไปก่อนหรือไม่ CY

CM

ภาพที่ 4 ช่องการพิ มพ์ ซ้อนทับสีในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ่ า: Handbook of Print Media ทีม

www.thaiprint.org


26 KNOWLEDGE

4. ช่องสมดุลสีเทา ในแถบประกอบด้วยเปอร์เซ็นต์ของหมึกพิมพ์ 3 สีที่พิมพ์แล้ว รวมกันได้สเี ทา เปรียบเทียบกับสีดำ� ที่ 40% ใช้ในการตรวจสอบ CMY

การสร้างสีเทาของหมึกพิมพ์ 3 สี หากมีการปล่อยหมึกพิมพ์สี ใดมากเกินไป แถบจะแสดงสีไปทางสีนั้น ๆ

B

B

CMY

ภาพที่ 5 ช่องสมดุลในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ่ า: Handbook of Print Media ทีม

5. ช่องการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ทับซ้อน ช่องวัดการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ซ้อนเป็นช่องที่ใช้ส�ำหรับ ตรวจสอบว่าการพิมพ์เกิดปัญหาเงาซ้อน เงาเหลื่อมหรือไม่ ลักษณะของช่องวัดการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ซ้อนที่นิยมใช้ กันจะมีลกั ษณะเป็นเส้นตรงทีเ่ อียงในแนวต่าง ๆ กัน 3 แนว คือ

แนวนอน แนวตัง้ และแนว 45 องศา ความละเอียดของเส้น คือ 120 เส้นต่อนิว้ เมือ่ พิมพ์ออกมาแล้วมองห่างจากภาพประมาณ 10 นิ้ว แล้วหากเห็นว่าความเข้มของช่องนี้เท่ากันสม�่ำเสมอ แสดงว่าไม่มีปัญหาการพิมพ์พร่าและการพิมพ์ทับซ้อน

ภาพที่ 6 ช่องการพิ มพ์ พร่าและการพิ มพ์ ทับซ้อนในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ่ า: Handbook of Print Media ทีม

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


KNOWLEDGE 27

ความส�ำคัญของแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์

แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กัน โดยทั่วไปในการควบคุณคุณภาพทางการพิมพ์ออฟเซต จาก ภาพที่ 7 แสดงงานพิมพ์ที่มีแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์และ ไม่มแี ถบคุณภาพทางการพิมพ์การทีพ่ มิ พ์แถบควบคุมฯ บริเวณ ท้ายกระดาษ อาจจะท�ำให้สนิ้ เปลืองกระดาษทีต่ อ้ งใช้ ส่งผลต่อ ต้นทุนในการผลิตสิ่งพิมพ์ อย่างไรก็ตามข้อดีส�ำหรับการพิมพ์

แถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ คือ การที่ช่างพิมพ์สามารถ ตรวจสอบคุณภาพของงานพิมพ์ในระหว่างการพิมพ์งานได้อย่าง ถูกต้อง ซึ่งสามารถตรวจได้ด้วยสายตา หรือการใช้เครื่องมือวัด และสามารถใช้ในการหาคุณลักษณะของเครื่องพิมพ์ (Print Characteristic) ซึ่งเป็นสิ่งที่ส�ำคัญของขั้นตอนการท�ำระบบ การจัดการสี (Colour Management System)

งานพิมพ์ที่ไม่มีแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์

งานพิมพ์ที่มีแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์

ภาพที่ 7 การเปรียบเทียบงานพิ มพ์ ที่มีและไม่มีแถบควบคุณคุณภาพทางการพิ มพ์

www.thaiprint.org


28

NEWS

งานประกาศรางวัล ผลการประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุน ่ ใหม่ไร้ Food Waste” ปีที่ 2 โดย บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมกับ สาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

งานการประกาศผลและมอบรางวัลเวทีประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ ่ น ใหม่ ไร้ Food Waste” เป็ น ปี ที่ 2 กั บ แนวคิ ด “อวสาน……….อาหารถูกทิ้ง” ซึ่งเป็นการผนึกความร่วมมือ ระหว่าง บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมกับ สาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในการด�ำเนิน โครงการจัดการประกวดคลิปวิดโี อ “คนรุน่ ใหม่ไร้ Food Waste” เพื่อสร้างความตระหนักในเรื่องลดความสูญเปล่าทางอาหาร ในกลุม่ คนรุน่ ใหม่ทมี่ สี ว่ นส�ำคัญในการร่วมสร้างการเปลีย่ นแปลง ในการลดความสูญเปล่าของอาหาร รวมถึงการเปลี่ยนแปลง เชิงพฤติกรรม โดยการแชร์ไอเดีย สร้างพลังผ่านวีดีโอคลิป ความยาว 3 นาที ซึ่งได้รับความสนใจจากนักเรียน นักศึกษา เป็นอย่างมากโดยในปีนี้มีน้องๆ นักเรียน นักศึกษาส่งผลงาน เข้าร่วมโครงการกว่า 360 ผลงาน นอกจากนีย้ งั ได้จดั กิจกรรม สร้างความตระหนักในเรื่องลดความสูญเปล่าทางอาหาร หรือ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

FOOD WASTE ในสถาบันการศึกษาทั่วประเทศระหว่างการ เปิดรับผลงาน ภายในงานประกาศรางวัลการประกวดคลิปวิดโี อ “คนรุน่ ใหม่ไร้ Food Waste” ปีที่ 2 ขึน้ จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562 ณ โรงละครอักษรา คิงเพาเวอร์ กรุงเทพฯ โดยมีคณะผู้บริหาร ระดับสูงบริษทั ซีพแี รม จ�ำกัด และผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์บญ ุ เลีย้ ง แก้วนาพันธ์ ประธานสาขาวิชามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เข้าร่วมงานในครัง้ นี้ พร้อมกันนี้ ยังได้รับเกียรติจาก คุณสุปราณี ชนะชัย ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด และคุณสุรศักดิ์ ป้องศร ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ไทบ้านเดอะซีรยี ์ ร่วมเสวนาในหัวข้อ “แรงบันดาลใจสร้างสรรค์ อาหารสร้ า งโลก” อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากคุ ณ วี ร ยุ ท ธ ล้อทองพานิชย์ Executive Producer ร่วมสร้างแรงบันดาลใจ “เทคนิคการท�ำหนังสั้นสร้างสรรค์สังคมในยุคดิจิตอล”


NEWS

29

ผลการประกวด คลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ food waste” ปีที่ 2 1. ระดับอุดมศึกษา

รางวัลรองชนะเลิศ • ผลงาน 3 Phak the Revenge of Vegetable ทีม Chakorn Studio มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 • ผลงาน กินไม่หมดใครเดือดร้อน ทีมแก๊งหมีขาว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • ผลงาน The Request ทีม NOPCITY STUDIO มหาวิทยาลัยกรุงเทพ รางวัลชมเชย • ผลงาน Stop Food Waste กินไม่หมด แค่ห่อกลับ ทีม Professional Studio มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา • ผลงาน ถ้ารักฉันก็กินฉันสิ ทีม ABOX AGENCY มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 2. ระดับมัธยมศึกษา

รางวัลรองชนะเลิศ • ผลงาน ค�ำเตือน! ขยะอาหาร ทีมใครขายไข่ไก่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 • ผลงาน Food Waste Chaos ทีม 80k production โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • ผลงาน เธอ ฉัน และจานเปล่า ทีม คน-ธรรม-หนัง โรงเรียนแม่เจดีย์วิทยาคม รางวัลชมเชย • ผลงาน Hero ทีมหนาวนี้กอดใคร จะหนาวได้ไงแดด เมืองไทยร้อนขนาดนี้ โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วทิ ยาลัย • ผลงาน นายเป็นใคร ทีม MCTV Studio โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย www.thaiprint.org


30

NEWS

Print Industry Summit 2019: Printing 4.0 and Packaging Countdown to DRUPA 2020 วันที่ 12 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมพู ลแมน แกรนด์ สุขม ุ วิท กรุงเทพฯ

VMDA สมาคมด้านอุตสาหกรรมชัน้ น�ำจากประเทศเยอรมันนี, PrintPromotion หน่วยงานทีส่ ง่ เสริมอุตสาหกรรมการพิมพ์ ชัน้ น�ำของโลก และ DRUPA งานแสดงเทคโนโลยีดา้ นการพิมพ์ อันดับ 1 ของโลก (ซึ่งจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี โดยบริษัท เมสเซ่ ดุสเซอร์ดอร์ฟ ประเทศเยอรมันนี) ได้ร่วมกันจัดงานประชุม สุดยอดอุตสาหกรรมการพิมพ์ Print Industry Summit 2019: Printing 4.0 and Packaging – Countdown to DRUPA 2020 ซึง่ เป็นการเปิดตัวรอบโลกของงานดรูปา้ ทีจ่ ดั ขึน้ ใน 27 ประเทศ ทั่วทั้ง 5 ทวีป โดยเริ่มขึ้นที่กรุงเม็กซิโก ซิตี้ ในเดือนกันยายน 2562 และตามด้วยภูมิภาคเอเชีย ซึ่งดรูป้า ได้ให้ความส�ำคัญกับประเทศไทยในการจัดงานครั้งนี้ ในฐานะ ที่ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านการพิมพ์ของภูมิภาค THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

งานประชุมสุดยอดอุตสาหกรรมการพิมพ์ Print Industry Summit 2019: Printing 4.0 and Packaging – Countdown to DRUPA 2020 จัดขึ้นในวันที่ 12 ธันวาคม 2562 ที่โรงแรม พูลแมน แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ โดยได้ผู้เชี่ยวขาญจาก VDMA เยอรมันนี PrintPromotion และ ดรูป้า รวมถึงบริษัท แบรนด์ชั้นน�ำของโลกด้านอุตสาหกรรมการพิมพ์ เข้าร่วมให้ ความรูแ้ ละข้อมูลเชิงลึกของอุตสาหกรรมการพิมพ์และการพิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ ครอบคลุมตัง้ แต่ ระบบอัตโนมัติ โซลูชนั่ เวิรค์ โฟลว์ อัจฉริยะ โซลูชนั่ ระบบการพิมพ์กราเวียร์สำ� หรับบรรจุภณ ั ฑ์แบบ อ่อนตัว และเทคโนโลยีอนื่ ๆ อีกมากมาย งานประชุมดังกล่าวนี้ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี โดยมีผทู้ อี่ ยูใ่ นแวดวงการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์เข้าร่วมงานอย่างล้นหลาม


NEWS

31

งานประชุมดังกล่าว ได้รบั เกียรติจาก คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้ากล่าวเปิดงานและให้ข้อมูล เกีย่ วกับภาพรวมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย โดยได้กล่าวว่า ประเทศไทยเป็นที่ตั้งของบริษัทด้านการพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ และ อุตสาหกรรมกระดาษ กว่า 5,800 บริษัท ซึ่งมีบริษัทเฉพาะ ด้านการพิมพ์อย่างเดียวกว่า 3,500 บริษัท และมีการจ้างงาน กว่า 150,000 คน มูลค่าอุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศ ปั จ จุ บั น มี มู ล ค่ า สู ง กว่ า 3.7 พั น ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ขณะที่ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษเพียงอย่างเดียวสร้างมูลค่า สูงถึง 5.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ และยังมีแนวโน้มเติบโตขึ้น อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากนักลงทุนยังให้ความสนใจประเทศไทย ในฐานะศูนย์กลางการผลิตที่รายล้อมด้วยประชาคมอาเซียน ที่มีจ�ำนวนผู้บริโภคสูงกว่า 660 ล้านคน

คาดว่าความต้องการของการพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ของไทยจะ เพิ่มขึ้นทั้งตลาดในประเทศ และตลาดส่งออกในผลิตภัณฑ์ทุก ประเภท โดยเฉพาะอย่างยิง่ อาหารแปรรูป ยาและเครือ่ งส�ำอาง และอีคอมเมิรซ์ ทีจ่ ะยังคงมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ไปอีก ในปีหน้า อุตสาหกรรมการพิมพ์บนบรรจุภณ ั ฑ์นา่ จะมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึง 10-20 เปอร์เซ็นต์ จากการบริโภคภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการผลักดันของธุรกิจอีคอมเมิร์ซและภาคส่วน อาหารและเครือ่ งดืม่ ดังนัน้ ภาคธุรกิจการพิมพ์จำ� เป็นทีจ่ ะต้อง เพิ่มศักยภาพและความช�ำนาญในการผลิต ส�ำหรับงานพิมพ์ คุณภาพสูง การพิมพ์ภาพสีคณ ุ ภาพสูง หรือ high-fidelity printing การพิมพ์แบบไฮบริด ขบวนการผลิตอัตโนมัติ และปรับเปลี่ยน เป็นโรงงานอัจฉริยะ หรือ smart factory ตลอดจนบรรจุภณ ั ฑ์ที่ สามารถปรับเปลีย่ นได้ตามความต้องการของลูกค้า ด้วยการพิมพ์ ระบบดิจิทัลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและราคาไม่แพง

อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ของไทย มีความจ�ำเป็นที่จะต้องปรับตัว เข้าสู่ภูมิทัศน์ใหม่ของการแข่งขัน ปรับปรุงรูปแบบของธุรกิจใหม่ และหาหนทางใหม่ๆ เพื่ อสร้าง มูลค่าเพิ่ ม เพื่ อเป็นการเพิ่ ม ศักยภาพในการเตรียมตัวของ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ของ ประเทศให้พร้อมส�ำหรับอนาคต และชิงความได้เปรียบให้กับ บริษัทไทยเพื่ อฉกฉวยโอกาส ในตลาดโลก

ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทย มีความจ�ำเป็นที่จะต้อง ปรับตัวเข้าสู่ภูมิทัศน์ใหม่ของการแข่งขัน ปรับปรุงรูปแบบของ ธุรกิจใหม่ และหาหนทางใหม่ๆ เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ เพือ่ เป็นการ เพิ่มศักยภาพในการเตรียมตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ของ ประเทศให้พร้อมส�ำหรับอนาคต และชิงความได้เปรียบให้กับ บริษัทไทยเพื่อฉกฉวยโอกาสในตลาดโลก งานแสดงสินค้าที่ มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในระดับโลก อย่างเช่นงานดรูป้า จะแสดงให้เห็นถึงสมรรถนะอันน่าทึ่งของเทคโนโลยีและการ พิมพ์แห่งอนาคต ตลอดจนแนวโน้มและทิศทางใหม่ๆ ในอนาคต ในขณะเดียวกันก็จะเป็นสถานที่เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมได้มี โอกาสทดสอบประเด็นต่างๆกับความต้องการในปัจจุบัน และ ท�ำความเข้าใจทิศทางและแนวโน้มทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ในภาคการผลิต และการตลาดของผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันเพิ่มเติม ทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและที่เกี่ยวเนื่องกัน www.thaiprint.org


32

NEWS

สัมมนา "Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry"

วันที่ 21 มกราคม 2563 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องประชุมชัน ้ 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดกิจกรรมสัมมนาในหัวข้อ “Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry” ร่วมก้าวเดินเพื่อธุรกิจการพิมพ์ก้าวหน้า โดยแบ่งการสัมมนา ออกเป็น 3 ครั้ง ซึ่งครั้งแรกจัดขึ้นวันที่ 21 มกราคม 2563 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สมาคมการพิมพ์ไทย โดยมี คุ ณ ประสิ ท ธิ์ คล่ อ งงู เ หลื อ ม - ประธานสหพั น ธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์กล่าวเปิดงานและรายงานวัตถุประสงค์ ของการจัดงาน รวมถึงการเชิญชวนเข้าร่วมสัมมนาอย่างต่อเนือ่ ง ในกิจกรรมครั้งถัดไป กิจกรรมในครั้งนี้ได้เรียนเชิญวิทยากรผู้อยู่ในการอุตสาหกรรม การพิมพ์รว่ มให้ความรูแ้ ละแชร์ประสบการณ์อนั ก่อให้เกิดประโยชน์ แก่ธรุ กิจการพิมพ์ ได้แก่ คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ - รองประธาน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย บรรยายในหัวข้อ “อุตสาหกรรม การพิมพ์อยูอ่ ย่างไรให้รอดในยุค Disruptive Technology” ดร.ชัยธร ลิมาภรณ์วณิชย์ - ผู้จัดการกลยุทธ์นวัตกรรม ฝ่าย ยุทธศาสตร์นวัตกรรม ส�ำนักนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) บรรยายให้ความรูใ้ นหัวข้อ “นวัตกรรมกับการขับเคลือ่ นธุรกิจ” สัมมนาในช่วงบ่าย เริม่ ด้วย คุณสุพจน์ รัตนาพันธ์ - Executive Committee สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่ง ประเทศไทย ซึ่งบรรยายในหัวข้อ “กลยุทธเพื่อการด�ำรงอยู่ ของธุรกิจการพิมพ์” หลังจากนั้นปิดท้ายด้วยการสัมมนา ในหัวข้อ “Smart Move : ธุรกิจการพิมพ์กา้ วเดินเร็วอย่างมี หลักการ” บรรยายโดย คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม - ประธาน สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์


NEWS

33

KMUTT กับการพั ฒนาบุคลากรใน ภาคอุตสาหกรรมเพื่ อรองรับ EEC วันที่ 4 ธันวาคม 2562 เวลา 09.00-12.00 น ณ ห้อง Auditorium ชัน ้ 7 อาคาร KX ถนนกรุงธนบุรี กลุ่มงานนวัตกรรมและพันธมิตร สํานักงานวิจัยนวัตกรรม และพันธมิตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จัดสัมมนาภายใต้โครงการ KMUTT กับการพัฒนาบุคลากรใน ภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับ EEC เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกิด ความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมเพื่อ รองรับ EEC โดยมี ดร.อรกัญญา เยาหะรี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย นวัตกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการ สัมมนา รศ.ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี กล่าวเปิดงาน กิจกรรมในครัง้ นีเ้ ริม่ ด้วยการบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “แนวทาง การพัฒนาก�ำลังตนเพือ่ รองรับ EEC สิทธิและประโยชน์สำ� หรับ ภาคอุตสาหกรรม” โดย รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา รองประธาน คณะทํางานประสานงานด้านการพัฒนาบุคลากรในเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก (EEC HDC) และการนําเสนอ KMUTT

Lifelong Learning Models: Upskill & Reskill การสัมมนา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ของมหาวิทยาลัย ได้แสดงศักยภาพของการพัฒนากําลังคนทุกช่วงวัยต่อภาค อุตสาหกรรม และเพื่อเป็นการผลักดันให้เกิดความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัย กับภาคอุตสาหกรรมในการร่วมกันพัฒนา บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับ EEC หลังจากนั้นเป็นการแนะน�ำหลักสูตร “KMUTT Lifelong Learning Models : Upskill & Reskill” เพื่อเพิ่มศักยภาพ บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมและตอบโจทย์การเปลีย่ นแปลงใน อนาคตโดยคณาจารย์ KMUTT น�ำโดย ผศ.บุญเลีย้ ง แก้วนาพันธ์ ซึ่งแนะน�ำในหลักสูตร Digital & Media โดยกิจกรรมในครั้งนี้ จัดขึ้นเมื่อวันที่ วันพุธที่ 4 ธันวาคม 2562 เวลา 09.00-12.00 น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 7 อาคาร KX ถนนกรุงธนบุรี www.thaiprint.org



110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44

8/9/2560 2:47:57


36 KNOWLEDGE

ระบบอัตโนมัติ ส�ำหรับอุตสาหกรรม การพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 2 (Automation for Printing and Packaging Industry) ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS (Automated Storage/Retrieval System) วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com

ประโยชน์ของระบบการจัดเก็บสินค้าอัตโนมัติ แบบ ASRS

ระบบการจัดเก็ บแบบ ASRS ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลายใน ปัจจุบันนี้ มีหลายแบบเช่น ระบบแบบหมุน แบบโมดูลยกแบบ แนวตั้ง และระบบจัดเก็บและเรียกคืนแบบทางเดินคงที่ โดย เนื้อหาของเล่มนี้ จะเน้นอธิบายเฉพาะระบบจัดเก็บและเรียก คืนแบบทางเดินคงที่เท่านั้น เพราะเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการ ท�ำให้ระบบคลังสินค้าทั้งหมดเป็นระบบอัตโนมัติ องค์ประกอบพื้ นฐานของระบบการจัดเก็บ แบบ ASRS มีดังนี้คือ :

2. รูปแสดงชั้นวางสินค้า (Shelf & Rack for ASRS Systems)

1. เครื่องเก็บและดึงสินค้า (SRM) 2. ชั้นวางสินค้า (Shelf & Rack) 3. อุปกรณ์เชื่อมต่อระบบ เช่น สายพานล�ำเลียงแบบอัตโนมัติ (Automated Conveyor System) ระบบ AGV (Auto Guide Vehicles) และอื่นๆ 4. ระบบซอฟแวร์ควบคุมคลังสินค้า (WMS,WCS)

1. รูปแสดงเครื่องเก็บและดึงสินค้าอัตโนมัติ (ASRS Stacker Cranes) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

3.1 รูปแสดงสายพานล�ำเลียงแบบอัตโนมัติ (Automated Conveyor Systems)


KNOWLEDGE 37

3.2 รูปแสดงระบบ AGV (Auto Guide Vehicles)

WMS

WCS

4. ระบบซอฟแวร์ควบคุมคลังสินค้า WMS,WCS

ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการ ท�ำงานได้ 2-4 เท่า จากการจัดเก็บแบบเดิมหรือแบบทั่วไป ซึง่ ผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้ตดิ ตัง้ ระบบการจัดเก็บแบบนี้ พบว่า สิง่ ที่ เกิดขึ้นนั้นเป็นสิ่งที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อนหน้านี้เลย ส�ำหรับพื้นที่จัดเก็บ ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS จะประหยัด พื้นที่ได้มากกว่าร้อยละ 40-50 % ซึ่งเท่ากับว่าใช้พื้นที่ไปเพียง ครึง่ เดียวเท่านัน้ ในการจัดเก็บเมือ่ เทียบกับการจัดเก็บแบบเดิม ซึง่ พืน้ ทีท่ ปี่ ระหยัดได้ สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์อย่างอืน่ ๆ หรือ ถ้าเป็นการสร้างใหม่ก็จะลงทุนน้อยลงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ พื้นที่จัดเก็บสินค้าหรือวัตถุดิบ ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS เมื่อติดตั้งและถูกใช้งานแล้ว จะช่วยให้ผู้ประกอบการประหยัดแรงงานได้มาก เพราะระบบ

การท�ำงานแบบใหม่ จะถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ โดยมี ซอฟแวร์ชว่ ยจัดการระบบ ซอฟแวร์นเี้ รียกว่า WMS (Warehouse Management System) การเคลื่อนย้ายสินค้าหรือวัตถุดิบ จะถูกท�ำด้วยเครื่องจักร หุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติ ระบบ คอนเวเยอร์อัตโนมัติ ระบบ AGV และอื่นๆ ที่กล่าวมานี้ระบบ และอุปกรณ์ต่างๆจะท�ำงานด้วยปลอดภัยสูง มีความรวดเร็ว และข้อส�ำคัญคือมีความถูกต้องสูงมากเมื่อเทียบกับระบบแบบ ธรรมดาหรือแบบเดิมๆ ระบบจะจัดการสต็อกที่ดีขึ้น

ระบบซอฟแวร์ (WMS) ที่ใช้งานควบคุมระบบการจัดเก็บแบบ ASRS มีความสามารถและประสิทธิภาพสูงมาก และยังสามารถ สือ่ สารเชือ่ มต่อกับซอฟแวร์ทบี่ ริษทั หรือองค์กรมีใช้อยูเ่ ดิม เช่น ระบบ ERP(Enterprise Resource Planning) หรือ MRP (Material Resource Planning) ซึ่งการท�ำงานจะไม่ต้อง เริ่มใหม่จากศูนย์ ซึ่งจะเป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย ได้เป็นอย่างมาก ระบบจะช่วยนับจ�ำนวนสินค้าหรือวัตถุดิบต่างๆที่ผ่านเข้าออก ในคลังสินค้าได้อย่างแม่นย�ำซึง่ จะช่วยให้ผคู้ วบ ผูใ้ ช้งาน หรือผูท้ ี่ มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ไม่ตอ้ งตรวจนับสต็อกเป็นประจ�ำ และข้อมูล ที่ได้นี้ยังสามารถส่งต่อไปให้แผนกต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ทราบ เพือ่ จะได้วางแผนในการขาย การผลิต การจัดซือ้ การซ่อมบ�ำรุง และอื่นๆ ตามที่ผู้ใช้งานต้องการ และถ้าบริษัทหรือองค์กรมีสินค้าหรือวัตถุดิบที่มีความหลาก หลายมากๆ เช่น สินค้าหรือวัตถุดบิ ทีม่ อี ายุการจัดเก็บ, ต้องการ บริเวณทีม่ อี ณ ุ หภูมคิ งที,่ ต้องการพืน้ ทีท่ จี่ ดั เก็บอยูใ่ กล้กบั บริเวณ ที่รับเข้าและน�ำออก เหล่านี้เป็นต้น ระบบซอฟแวร์ควบคุม จะช่วยให้เราจัดเก็บได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องตลอดเวลา โดยผู้ควบคุมสามารถสั่งการทุกอย่างที่คอมพิวเตอร์ควบคุม เราสามารถสรุปเป็นข้อๆได้วา่ มีเหตุปจ ั จัยอะไรบ้าง ที่เราควรมีระบบการจัดเก็บแบบ ASRS ส� ำหรับ คลังสินค้าของเราไว้ใช้

• พื้นที่จัดเก็บและสินค้ามีมาก และต้องการความรวดเร็ว ความถูกต้องแม่นย�ำในการท�ำงาน เพือ่ จัดการกับสินค้าหรือ วัตถุดบิ ให้อยูใ่ นสภาวะทีเ่ ราเป็นผูค้ วบคุมได้ ต้องการดูขอ้ มูล ได้ตลอดเวลาแบบเรียลไทม์ (Real time Reporting ) www.thaiprint.org


38 KNOWLEDGE

• ถ้าพืน้ ทีก่ ารจัดเก็บในแนวราบไม่พอ และมีพนื้ ทีใ่ นแนวสูงอยู่ ระบบการจัดเก็บคลังสินค้าแบบ ASRS สามารถสร้างได้สูง มากกว่า 30 เมตร (90 ฟุต) และลึกมากกว่า 50 เมตร (150 ฟุต) ต้องการความแม่นย�ำ ความปลอดภัย ป้องกันสินค้า เสียหาย ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS คือค�ำตอบทีใ่ ช่สำ� หรับ ผู้ประกอบการ • ต้องการเก็บสินค้าทีม่ อี ายุการใช้งาน สินค้าทีต่ อ้ งการควบคุม อุณหภูมิ สินค้าพิเศษต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการจัดเก็บแบบนี้จะ ช่วยให้ผู้ใช้งานของระบบมีความสะดวกในการสั่งการและ เรียกดูข้อมูลได้ตลอดเวลา ่ ล่าวมาข้างต้น พอจะสรุปถึงประโยชน์ของ ตามทีก ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS ได้ดังนี้

• เพิ่มปริมาณการจัดเก็บสินค้าหรือวัตถุดิบได้ถึง 30 - 40% เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดเก็บชั้นวางพาเลทแบบดั้งเดิม • ลดพื้นที่ของคลังสินค้าได้มากถึง 50% เมื่อเทียบกับการจัด เก็บแบบเดิมๆในจ�ำนวนพาเลทที่เท่ากัน • มีความถูกต้องแม่นย�ำในการควบคุมสินค้าคงคลัง และระบบ ยังสามารถแสดงข้อมูลได้ทันทีแบบเรียลไทม์ (Real Time Reporting) • ระบบสามารถรองรับการท�ำงานของ SKU (Stock Keeping Unit) ทีเ่ พิม่ มากขึน้ ได้ เพราะระบบซอฟแวร์ทยี่ ดื หยุน่ สามารถ แก้ไขปรับปรุงและอัพเกรดได้ (Modify and Upgrade) • เป็นการจัดเก็บแบบบูรณาการ ระบบสามารถจัดการกับ สินค้าในคลังได้ทง้ั หมด จากวัตถุดบิ (RM) ไปยังสินค้ารอผลิต (WIP) ไปจนถึงสินค้าส�ำเร็จรูป (FG) • ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น สามารถรองรับค�ำสั่งการผลิต ค�ำสั่ง ซื้อที่เพิ่มขึ้นได้อย่างดี • หมดปัญหากับการเติมสินค้าให้ไม่ทนั ในส่วนของ Picking เพราะ สามารถใช้การเติมสินค้าอัตโนมัติ (Auto Replenishment) • การท�ำงานโดยระบบอัตโนมัติ รวมถึงซอฟแวร์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ดังนัน้ จึงมีการท�ำงานทีป่ ราศจากการท�ำงานทีต่ ดิ ขัด ผิดจังหวะ ที่เกิดจากคนท�ำ • ลดทุกอย่าง เช่นลดการสูญเสีย ลดอุบตั เิ หตุ ลดการผิดพลาด ลดคน ลดค่าใช้จ่ายประจ�ำ • เพิ่มทุกอย่างเช่น เพิ่มผลผลิต เพิ่มประสิทธิภาพ และเพิ่ม ผลก�ำไรให้ผู้ประกอบการ

ส�ำหรับระบบการจัดเก็บแบบ ASRS ในประเทศไทยนั้น ระบบ ชุดแรกถูกติดตั้งใช้งานที่รัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง มาเกือบ 30 แล้ว หลังจากนัน้ ก็มกี ารติดตัง้ มาเรือ่ ยๆ จนถึงปัจจุบนั ระบบนีน้ า่ จะ มีใช้งานอยูป่ ระมาณ 300 ชุด ซึง่ ก่อนหน้านีป้ ระมาณ 15 ปีขนึ้ ไป ระบบและอุปกรณ์จะถูกผลิตและน�ำเข้าจากต่างประเทศเกือบ ร้อยถึงร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่หลังจาก 15 ปีผ่านมาจนถึงปัจจุบัน สัดส่วนของการน�ำเข้าและผลิตเองในประเทศจะเป็น 60:40 หรือ 30:70 ซึ่งบริษัทผู้ผลิตในไทยเองก็มีความสามารถมากขึ้น มีประสบการณ์มากขึ้น สามารถออกแบบเอง ผลิตเอง ติดตั้ง เอง โดยมีคณ ุ ภาพเทียบเท่ากับอุปกรณ์ทนี่ ำ� เข้าจากต่างประเทศ แต่มีราคาที่ถูกกว่า เพราะประหยัดในเรื่องของ ค่าแรงงาน ค่าขนส่งและภาษีน�ำเข้า ส� ำ หรั บ หน่ ว ยงานที่ ใช้ ร ะบบการจั ด เก็ บ แบบ ASRS ใน ประเทศไทย มีใช้อยู่ในทุกวงการธุรกิจ ทั้งหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชน เช่นการขนส่งและโลจิสติกส์ อาหาร และเครื่องดื่ม เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเลคโทรนิคส์ ยานยนต์และ ชิ้นส่วน ก่อสร้างและตกแต่ง ยาและเวชภัณฑ์ ศูนย์กระจาย สินค้าต่างๆ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ และอื่นๆ อีกหลากหลาย

ภาพสองภาพด้านบนเป็นการจัดเก็บลูกโมลด์ เป็นการจัดเก็บแบบทั่วไป

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


KNOWLEDGE 39

ส�ำหรับในวงการ การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ระบบนี้จะใช้จัดเก็บ วัตถุดิบต่างๆ เช่น กระดาษ ฟิล์มพลาสติก หมึกพิมพ์และ เคมีภัณฑ์ งานรอจัดส่ง ลูกกลิ้ง ลูกกาว เป็นต้น และในปัจจุบัน ระบบนีข้ ายดีมากในวงการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ เพราะจะน�ำไป เก็บลูกโมลด์ (Gravure Roller) ส�ำหรับระบบการพิมพ์แบบ กราเวี ย ร์ (Gravure Printing) เพราะลูก โมลด์ของระบบ การพิมพ์แบบกราเวียร์นจี้ ะมีหลากหลายมาก และบางโรงพิมพ์ ทีม่ ขี นาดใหญ่ จะมีจำ� นวนลูกโมลด์มาก และมีราคาค่อนข้างสูง ถ้าจัดเก็บไม่ดีอาจจะช�ำรุดเสียหาย หรือใช้พื้นที่มาก หรือ เรียกใช้ล�ำบาก การจัดเก็บลูกโมลด์แบบนี้ จะเกิดปัญหาในการจัดเก็บและการ เรียกใช้ ตามภาพด้านซ้าย ลูกโมลด์จะวางซ้อนกัน จะเกิดการ ช�ำรุดได้ถ้าห่อไม่ดีหรือวางกระแทกกัน และป้ายบอกมีไม่ครบ อาจเสียเวลาในการจะน�ำไปใช้งาน ส�ำหรับภาพด้านขวา จะวาง เรียงตั้งบนพื้นโรงงาน จะท�ำให้เปลืองพื้นที่จัดเก็บ ป้ายบอกไม่ ชัดเจนจะท�ำให้เสียเวลาในการหาเพือ่ น�ำไปใช้งาน และอาจเกิด การล้มของลูกโมลด์ท�ำให้ช�ำรุดเสียหายได้

1

ภาพที่ 1 ลูกโมลด์จะถูกวางลงบนพาเลทที่ออกแบบมาเพื่อ จัดเก็บลูกโมลด์โดยเฉพาะ วัสดุรองรับลูกโมลด์เป็นยางทีส่ งั่ ท�ำมา เพื่อรองลูกโมลด์เพื่อป้องกันความเสียหาย และลูกโมลด์จะไม่ วางซ้อนกัน ทีล่ กู โมลด์และพาเลทจะมีบาร์โค๊ดติดอยูเ่ พือ่ สแกน ในขณะเรียกใช้และเก็บ ส�ำหรับภาพที่ 2 เป็นที่เก็บลูกโมลด์ พาเลทจะถูกล�ำเลียงไปที่ ASRS Stacker Crane โดยคอนเวเยอร์ ระบบซอฟแวร์จะสั่งการให้ ASRS Stacker Crane น�ำพาเลท ไปเก็บบน Rack ตามต�ำแหน่งทีไ่ ด้กำ� หนดไว้แล้ว ส�ำหรับการเรียก เพื่อน�ำลูกโมลด์ออกไปใช้งาน พนักงานก็ไปกดเรียกที่คีย์บอร์ด พร้อมจอแสดงผลที่ติดตั้งไว้บริเวณหน้าสถานที่เก็บนั้น ทางชุด ASRS Stacker Crane เมื่อได้รับค�ำสั่ง ก็จะวิ่งไปน�ำพาเลทที่มี ลูกโมลด์ทตี่ อ้ งการไปใช้งานมาวางลงบนคอนเวเยอร์ ชุดคอนเวเยอร์ จะพาพาเลทพร้อมลูกกลิ้งมาส่งให้บริเวณจุดรับส่ง จากนั้น พนักงานก็จะใช้ Pallet Stacker หรือรถโฟล์คลิฟท์ มายกพา เลทพร้อมลูกกลิ้งไปส่งให้ที่เครื่องพิมพ์ต่อไป

ภาพแสดงต�ำแหน่งคีย์บอร์ดและจอแสดงผล บริเวณ ที่เรียกเก็บหรือใช้งานลูกโมลด์บริเวณระบบจัดเก็บ ASRS

อ่านต่อฉบับหน้า ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน • บริษัท เน็กซเตอร์ จ�ำกัด / www.nextster.ne เครดิตภาพประกอบ

2 ้ สดงการจัดเก็บลูกโมลด์ ภาพสองภาพนีแ โดยใช้ระบบการจัดเก็บแบบ ASRS

• http://www.me-jan.com/en/mini-load-cranes • https://www.mias-group.com/uploads/tx_templavoila/MIAS_Regalbediengeraet_ Palette_2013_06.jpg • https://image.made-in-china.com/202f0j00unGaOENrgscY/Stacker-Crane-for-as-RSWarehouse.jpg • https://image.made-in-china.com/2f0j00IgDUHwurYdqp/High-Density-WarehouseAutomatic-Storage-System-with-Shelving-Rack-AS-RS-.jpg • https://storage.googleapis.com/wzukusers/user-24953759/images/ 5806b1236896d8wLOFZ1/Conveyor-System.jpg • https://numinagroup.com/wp-content/uploads/automated-conveyor-systems.jpg • https://www.supplychain247.com/images/article/honeywell_fetchrobotics_wide1218.jpg • https://www.consafelogistics.com/wp-content/uploads/2019/09/wms-wcs.png • https://www.cflex.com/fileadmin/cflex.com/media/Images/People__Passion__ Packaging/Durban/IMG_0636_lr.jpg • https://www.hsingwei.com/img/upload/Hsing%20Wei%20Machine%20rotogravu.jpg

www.thaiprint.org



3:46:08 4:04:37 1:45:14 2:36:23 11:47:07 17:59:23 16:00:45 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 26:05 AM

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4

110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 39

039 8/9/2560 0:28:49


42

NEWS

สอบประเมินสมรรถนะความรู้ วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) สาขานนทบุรี

วันที่ 27 มกราคม 2563 เวลา 09.00-17.00 น. ณ วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) นนทบุรี สมาคมการพิมพ์ไทย และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การ มหาชน) จัดการสอบประเมินสมรรถนะความรู้ สาขาวิชาชีพ อุตสาหกรรมการพิมพ์ สาขางานก่อนพิมพ์ อาชีพช่างออกแบบ สิ่งพิมพ์ ชั้น 3 โดยมีนักเรียนชั้นปวส.ปีที่ 2 วิทยาลัยสยาม บริหารธุรกิจ (SBAC) สาขานนทบุรี เข้าร่วมสอบเพื่อวัดผล จ�ำนวนทั้งสิ้น 39 คน การสอบประเมินผลในครั้งนี้แบ่งการ สอบเป็นภาคทฤษฎีในช่วงเช้า ซึ่งในช่วงแรกเป็นการแนะน�ำ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการจั ด จากอาจารย์ ผู ้ คุ ม สอบ ซึ่ ง ได้ รั บ ความร่วมมือจาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วิทยาลัย เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ ในการสอบครั้งนี้ นอกจากนี้ยังมีการแนะน�ำเนื้อหาต่างๆ ที่จะ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ออกในข้อสอบให้ผู้เข้าสอบได้รับฟังและเตรียมความพร้อม ก่อนการเข้าสอบ การสอบภาคปฏิบตั ใิ นช่วงบ่าย เป็นการทดสอบความรูค้ วามเข้าใจ จากการใช้โปรแกรม Illustrator ส�ำหรับออกแบบสิ่งพิมพ์ โดยได้ให้ผู้เข้าสอบได้ใช้ความสามารถในการออกแบบใบปลิว ประชาสัมพันธ์ ในระหว่างการสอบจะได้รบั การแนะน�ำรวมไปถึง การซักถามจากผู้คุมสอบเพื่อเป็นการสัมภาษณ์และประเมิน ผู้เข้าสอบในระหว่างสอบภาคปฏิบัติ กิจกรรมในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 27 มกราคม 2563 ระหว่างเวลา 09.00 - 17.00 น. ณ วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) นนทบุรี


NEWS

43

สอบประเมินสมรรถนะความรู้ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิ มพ์ สาขางานก่อนพิ มพ์ อาชีพช่าง ออกแบบสิ่งพิ มพ์ ชั้น 3 วันที่ 23 มกราคม 2563 เวลา 09.00-17.00 น. ณ วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย จั ด การสอบประเมิ น สมรรถนะความรู ้ สาขาวิ ช าชี พ อุตสาหกรรมการพิมพ์ สาขางานก่อนพิมพ์ อาชีพช่างออกแบบสิ่งพิมพ์ ชั้น 3 โดยแบ่งการสอบเป็นภาคทฤษฎีในช่วงเช้า และภาคปฏิบัติในช่วงบ่าย โดยมีนัก เรียนชั้นปวส. ปีที่ 2 จากวิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) เข้าร่วมสอบเพื่อวัดผล จ�ำนวนทั้งสิ้น 89 คน

กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น เมื่ อ วั น ที่ 23 มกราคม 2563 ระหว่างเวลา 09.00 17.00 น. ณ วิทยาลัยสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) สนับสนุนกิจกรรมโดยสถาบัน คุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) www.thaiprint.org



NEWS

45

การพั ฒนาอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์เพื่ อยกระดับ คุณภาพสู่มาตรฐาน วันที่ 28 พฤศจิกายน 2562 ณ ห้องประชุม Grand Howard ชั้น 5 โรงแรมแกรนด์ ฮาวเวิร์ด

คณะกรรมาธิการ การอุตสาหกรรม สภาผู้แทนราษฎร ร่วมกับ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จัดกิจกรรมสัมมนา เรื่อง “การ พัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับ คุณภาพสู่มาตรฐาน”

โดยได้เรียนเชิญคุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช - นายกสมาคมฯ เป็นวิทยากรพิเศษร่วมบรรยายในหัวข้อ “แนวโน้มทิศทาง ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์” วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน 2562 เวลา 08:30 - 16:30 น. ณ ห้องประชุม Grand Howard ชัน้ 5 โรงแรม แกรนด์ ฮาวเวิรด์ ถนนเจริญนคร www.thaiprint.org


46

NEWS

โครงการหนึ่งล้านกล้าความดี ตอบแทนคุณแผ่นดิน ประจ�ำปี 2563 วันที่ 17 มกราคม 2563 เวลา 12.30 - 16.00 น. ณ หอประชุมกองทัพอากาศ

มูลนิธเิ พือ่ สังคมไทยจัดโครงการหนึง่ ล้านกล้าความดีตอบแทน คุณแผ่นดิน ประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลเกียรติยศ... บนเส้ น ทางชี วิ ต รางวั ล “ความดี ต อบแทนคุ ณ แผ่ น ดิ น ” พุทธศักราช 2563 “Best Practice Awards 2020” โดยมี พลอากาศเอกชลิต พุกผาสุข - องคมนตรี / เลขาธิการมูลนิธิ พระดาบส เป็นประธานในพิธี กิจกรรมในครัง้ นีม้ ผี เู้ ข้ารับรางวัลแบ่งเป็นหมวดพระภิกษุ 3 รูป, หมวดบุคคลตัวอย่าง 68 ท่าน, รางวัลความดีตอบแทนคุณแผ่นดิน 75 ท่าน และหมวดองค์กร 45 องค์กร ซึง่ สมาคมการพิมพ์ไทย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ได้รบั การประกาศเกียรติคณ ุ รางวัล “ความดีตอบแทนคุณแผ่นดิน” พุทธศักราช 2563 สาขา บริหารและพัฒนาอุตสาหกรรม โดยคุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช – นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เป็นตัวแทนเข้ารับรางวัลดังกล่าว เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2563 เวลา 12.30 - 16.00 น. ณ หอประชุมกองทัพอากาศ นอกจากนี้ ยังจัดกิจกรรมมอบเงินให้กับองค์กรการกุศล โดยมี การมอบเงินสนับสนุนมูลนิธพิ ระดาบสจ�ำนวนเงิน 555,961 บาท และสนับสนุนมูลนิธริ ฐั บุรษุ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ จ�ำนวนเงิน 189,061 บาท


NEWS

47

การท�ำความดีทั้งกายวาจาใจ ความดีสามารถ ่ ะหยิบยืน ่ ให้และกันได้ การท�ำความดีได้ผลช้า ทีจ และท�ำยาก แต่ละคนต้องตัง ้ ใจและมีความเพี ยร พยายามในการท�ำความดี ทุกคนในที่นี้ได้รับ การคัดเลือก ทุกคนต้องท�ำให้คนในชุมชน เห็นผลการท�ำความดี เพื่ อขยายให้คน ท�ำความดีมากยิง ่ ขึ้น พลอากาศเอกชลิต พุ กผาสุข องค์มนตรี และเลขาธิการมูลนิธิพระดาบส

พลอากาศเอกชลิต พุกผาสุข องค์มนตรี และเลขาธิการมูลนิธิ พระดาบส เป็นประธานในพิธี ได้กล่าวให้โอวาทดังนี้ “การ ท�ำความดีทั้งกายวาจาใจ ความดีสามารถที่จะหยิบยื่นให้ และกันได้ การท�ำความดีได้ผลช้า และท�ำยาก แต่ละคนต้อง ตั้งใจและมีความเพียรพยายามในการท�ำความดี ทุกคนในที่ นี้ได้รับการคัดเลือก ทุกคนต้องท�ำให้คนในชุมชนเห็นผลการ ท�ำความดี เพื่อขยายให้คนท�ำความดีมากยิ่งขึ้น”

ทัง้ นี้ รางวัลดังกล่าวมอบให้สำ� หรับองค์กรทีป่ ระสบความส�ำเร็จ แบบยัง่ ยืน ทีน่ อกเหนือจากการมีสนิ ค้าและบริการทีด่ ี แต่หมาย รวมถึง การบริหารจัดการทีด่ เี ยีย่ ม โดยยกย่องสนับสนุนผูบ้ ริหาร ที่มีความรู้ความสามารถ ช่วยให้พนักงานสามารถท�ำงานได้ เป็นอย่างดี มีความประพฤติตนอยู่ในกรอบของคุณงามความดี มีคณ ุ ธรรมจริยธรรม อีกทัง้ มีการตอบแทนคุณแผ่นดินในรูปแบบ ต่างๆ สมควรยกย่องให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคมต่อไป www.thaiprint.org


48

NEWS

สัมมนา "มุมมองใหม่ในธุรกิจ การพิ มพ์ (NEW Perspective in Printing Business)"

วันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 เวลา 12.30-15.30 น. ณ ห้องฝึกอบรม สมาคมการพิ มพ์ ไทย ถนนพระราม 9

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ และเครือข่ายสถาบันการ ศึกษาด้านการพิมพ์และสื่อแห่งประเทศไทย ร่วมมือจัดงาน สัมมนา “มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิมพ์ (NEW Perspective in Printing Business)” โดยการเรียนเชิญนักธุรกิจรุ่นใหม่ เป็นวิทยากร แลกเปลีย่ นความคิดและข้อมูลเกีย่ วกับการด�ำเนิน ธุรกิจของคุณใหม่กลุ่ม GEN Y เริม่ ต้นด้วยคุณกร เธียรนุกลุ - ผูก้ อ่ ตัง้ Wawa Pack ทีไ่ ด้นำ� เสนอ มุมมองเกี่ยวกับธุรกิจ StartUp ด้วยการหาจุดแข็งของสินค้า เพือ่ น�ำเสนอให้กบั ตลาดและลูกค้า, คุณหฤษณ์ หิรญ ั ญาภินนั ท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เธราพรินต์ จ�ำกัด เสนอกลยุทธ์ด้วย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

การเรียนรู้และเก็บสถิติ ความเปลี่ยนแปลงและน�ำมาปรับใช้ เพื่อไม่ให้สูญเสียลูกค้า และปิดท้ายด้วย คุณคฑาวุธ เอื้อจงประสิทธิ์ - ผู้จัดการทั่วไป บริษัท อีพีซี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด น�ำเสนอกลยุทธ์ทางธุรกิจใน ปัจจุบนั ด้วยการทีต่ อ้ งมีเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมเป็นของตัวเอง เป็นเทคโนโลยีทปี่ ระเทศเพือ่ นบ้านลอกเลียนแบบไม่ได้ ด�ำเนิน รายการโดย ผศ.ดร.บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์ - มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช กิจกรรมนี้ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 ตั้งแต่เวลา 12.30 - 15.30 น. ณ ห้องฝึกอบรม สมาคม การพิมพ์ไทย ถนนพระราม 9


NEWS

49

สัมมนา "บรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับ SME : ไม่รู้ ไม่รอด"

วันที่ 22 มกราคม 2563 เวลา 09.00-16.30 น. ณ โรงแรม เดอะไทด์ รีสอร์ท บางแสน จ.ชลบุรี กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) ร่วมกับ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ศูนย์วิจัยและพัฒนา อุตสาหกรรมระบบไซเบอร์-กายภาพทางการผลิต และส�ำนัก วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) จัดสัมมนาหัวข้อ “บรรจุภณ ั ฑ์ ส�ำหรับ SME: ไม่รู้ ไม่รอด” เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการ SME ในเขต จังหวัดชลบุรแี ละจังหวัดใกล้เคียงในเขตพืน้ ที่ EEC กว่า 100 ราย ได้รบั ความรูแ้ ละค�ำปรึกษาแนะน�ำในการพัฒนาระบบอุตสาหกรรม ด้วยการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และการผลิตบรรจุภัณฑ์ รูปแบบต่างๆ ให้มคี ณ ุ สมบัตใิ นการใช้งานทีส่ ามารถตอบสนองต่อ ความต้องการทางการตลาด และวิถีชีวิตของผู้บริโภคสมัยใหม่ พร้อมทัง้ การลดต้นทุนบรรจุภณ ั ฑ์ เพือ่ การพัฒนาอย่างก้าวกระโดด และแข่งขันได้ในตลาดโลก ส�ำหรับงานนี้ได้ อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผู้เชี่ยวชาญด้าน บรรจุภัณฑ์ มาร่วมถ่ายทอดความรู้ “ซึ่งผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้ รับความรูเ้ รือ่ งบรรจุภณ ั ฑ์ ตัง้ แต่พนื้ ฐานของบรรจุภณ ั ฑ์ บทบาท

ของบรรจุภัณฑ์ต่อธุรกิจสมัยใหม่ ประเภท สมบัติการใช้งาน ขั้ น ตอนในการพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ ตลอดไปจนบรรจุ ภั ณ ฑ์ มาตรฐานส� ำ หรั บ SME ซึ่ ง ประโยชน์ ท างตรงที่ ไ ด้ รั บ คื อ การวิเคราะห์ถึงบรรจุภัณฑ์ที่ตนเองใช้งานอยู่หรือต้องการ จะพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่ใช้กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง เพื่อเป็น การปรับปรุง วางแผน และประยุกต์น�ำไปใช้ให้ถูกต้องกับ ผลิตภัณฑ์ของตนเอง” ทั้งนี้ ได้รับการตอบรับจากผู้ประกอบการ SME ที่สนใจเข้าร่วม ฟังบรรยายจากหลากหลายประเภทธุรกิจ ทั้งกลุ่มผู้ประกอบ การที่ผลิตสินค้า กลุ่มที่ต้องการบรรจุภัณฑ์ กลุ่มที่มีปัญหาทาง ด้านการผลิตหรือการใช้งานบรรจุภณ ั ฑ์ กลุม่ ผูป้ ระกอบการทาง ด้านการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ รวมถึงกลุ่มผู้ประกอบการที่ต้องการ พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ในด้านการใช้งานและด้านสิง่ แวดล้อม จ�ำนวน มากกว่า 100 ราย นอกเหนือจากการบรรยายเพื่อให้ความรู้ แล้ว ITAP สวทช. ยังมีบริการการให้ค�ำปรึกษาทั้งในเรื่องของ การพัฒนาบรรจุภัณ ฑ์แ ละด้านอื่นๆ ให้กับผู้ประกอบการ ที่มาเข้าร่วมงานแบบเจาะลึกจากผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ กิจกรรมในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันพุธที่ 22 มกราคม 2563 เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ โรงแรม เดอะไทด์ รีสอร์ท บางแสน จ.ชลบุรี www.thaiprint.org


50

NEWS

Superior Inkjet Grand Open House

วันที่ 4 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 13.00-17.00 น. ณ ตึกนาริตะชั้น 1 อิมแพคเมืองทองธานี

คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช – นายกสมาคม การพิมพ์ไทย เข้าร่วมงาน “Superior Inkjet Grand Open House” และเยี่ ย มชม New Warehouse & Showroom & Training Academy โดยได้รบั การเชิญจากคุณพงศกร บุญใส กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซูเปอริเออร์ อิงค์เจ็ท จ�ำกัด ซึ่งจัดขึ้นเพื่อขอบคุณ ลูกค้าที่สนับสนุนบริษัทด้วยดีเสมอมา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


NEWS

กิจกรรมภายในงานเริม่ ต้นด้วยการกล่าว ต้อนรับผูเ้ ข้าร่วมงานจากคุณพงศกร และ การรับฟังบรรยายแนะน�ำสินค้าใหม่ๆ อาทิเช่น เครือ่ งพิมพ์องิ ค์เจ็ทยูวยี หี่ อ้ Dlli รุ่นใหม่ ใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนหัวพิมพ์ แบบสนามแม่เหล็ก (Linear motor) ความละเอียด 2400dpi ความเร็ว 480 ตร.ม./ชม. จากเกาหลีใต้, วัสดุพิมพ์ อิงค์เจ็ทเทคโนโลยี Easy Dot ลามารถ

51

ติดตั้งได้ง่าย จากประเทศเยอรมันนี และไฮไลท์วัสดุปิดผิวผนัง ประตู เฟอร์นิเจอร์ พื้นผิวรูปทรงต่างๆ ใหม่ล่าสุด LG Interior Film BNF ที่มีให้เลือกกว่า 500 ลาย ทั้งลายไม้ ลายหิน ลายผ้า ลายหนัง ลายโลหะ ลายพิเศษ ใช้ได้ภายในและภายนอก หลังจากนั้นคุณพงศกรได้แนะน�ำและเรียนเชิญคุณสุปรีย์ ทองเพชร – นายกสมาคม การค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย น�ำเสนอการบริหารการจัดการ โรงพิมพ์ดิจิตอลอิงค์ เจ็ท ส�ำหรับยุคดิจิตอล 4.0 ด้วยซอฟท์แวร์ “Print Factory” ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยกิจกรรมในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 13.00-17.00 น. ณ ตึกนาริตะชั้น 1 อิมแพค เมืองทองธานี www.thaiprint.org


52

NEWS

แสดงความยินดี ″คุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิ พัฒน์″

้ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผูจ ขึน ้ ด ั การ (Managing Director) ของ บริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด คุ ณ พงศ์ ธี ร ะ พั ฒ นพี ร ะเดช นายกสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย ร่วมแสดงความยินดี เนื่องในโอกาสที่ไฮเดลเบิร์กประกาศ แต่งตั้ง “คุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิพัฒน์” ขึ้นด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ (Managing Director) ของ บริษัท ไฮเดลเบิ ร ์ ก กราฟฟิ ค ส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด แทน มร.โยเคิ่น เบนเดอร์ (Mr. Jochen Bender) ซึ่งได้รับการ แต่ ง ตั้ ง ให้ เข้ า รั บ ต� ำ แหน่ ง Global Head of Software Sales ประจ�ำส�ำนักงานใหญ่ ประเทศเยอรมนี โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ตลอดระยะเวลาที่ มร.โยเคิน่ เบนเดอร์ (Mr. Jochen Bender) ด�ำรงต�ำแหน่ง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไฮเดลเบิรก์ กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด มร.โยเคิ่นได้มีการขับเคลื่อนกลยุทธ์ใน การพัฒนาธุรกิจการพิมพ์โดยน�ำโซลูชนั่ ส์และแนวคิดสมัยใหม่มา เพื่อเพิ่มศักยภาพและผลผลิตสูงสุดให้อุตสาหกรรมการพิมพ์ ของไทย อาทิ การพัฒนาโรงพิมพ์ไปสู่ Smart Print Shop ซึง่ ได้พสิ จู น์ให้เห็นจริงว่าสามารถช่วยให้โรงพิมพ์มคี วามได้เปรียบ ในการแข่งขันและช่วยให้ธุรกิจสร้างผลก�ำไรที่ดีขึ้นท่ามกลาง สภาวะการแข่งขันที่สูง ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์อันดี กับลูกค้าในอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยอีกด้วย


NEWS

53

มร.โยเคิ่นกล่าวถึงคุณสุรสิทธิ์ ซึ่งจะด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการ ผูจ้ ดั การต่อจากตนว่า “เป็นผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ มากด้วย ประสบการณ์ในธุรกิจสิ่งพิมพ์ของไทย อีกทั้งมีความเป็นผู้น�ำ และมี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ ดี ใ นการน� ำ กลยุ ท ธ์ ต ่ า งๆ ที่ เ หมาะสมมา ขับเคลือ่ นพัฒนาให้กบั องค์กร ผมมัน่ ใจว่าภายใต้การบริหารของ คุณสุรสิทธิ์จะผลักดันให้ไฮเดลเบิร์กประเทศไทย เป็นองค์กร ที่ประสบความส�ำเร็จและมีความเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน และเป็นคูค่ า้ หรือพันธมิตรทีด่ กี บั ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทย” คุณสุรสิทธิ์ ร่วมงานกับบริษทั ไฮเดลเบิรก์ ประเทศไทย มานาน กว่า 26 ปี มีประสบการณ์ดา้ นการบริหารงานในต�ำแหน่งต่างๆ มากมาย อาทิ ผูจ้ ดั การฝ่ายธุรกิจเตรียมพิมพ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายธุรกิจ วัสดุและอุปกรณ์การพิมพ์ อีกทั้งยังเป็นหนี่งในทีมผู้บริหาร ระดับสูงของไฮเดลเบิร์กประเทศไทยในการวางนโยบายและ กลยุทธ์ต่างๆ โดยต�ำแหน่งล่าสุดก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็น กรรมการผู้จัดการ คือต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายขาย (Head of Sales) ซึ่งดูแลรับผิดชอบการขายสินค้าและบริการทั้งหมด ของบริษัทอย่างครบวงจร คุณสุรสิทธิ์ กล่าวว่า “ผมรู้สึกเป็น เกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับความไว้วางใจให้เป็นคนไทยคนแรก ที่ได้ รับการแต่งตั้งขึ้นเป็นกรรมการผู้จัดการของบริษัท ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย ผมจะต่อยอดความส�ำเร็จเดิมโดยการน�ำนวัตกรรม และโซลูชั่นส์ในการพิมพ์ที่ทันสมัยมาวางกลยุทธ์ เพื่อผลักดัน และส่งเสริมให้ลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์มีการเจริญ เติบโตอย่างต่อเนื่องและสามารถสร้างความได้เปรียบในการ แข่งขันได้ในทัง้ ระดับภูมภิ าคและระดับโลก อาทิ ผลักดันแนวคิด Smart Print Shop ให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น การน�ำโมเดล ธุรกิจ Subscription มาเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการลงทุน การใช้ Big data มาช่วยวิเคราะห์วางแผนปรับปรุงการผลิตและ การลงทุนของลูกค้า และเพิม่ ช่องทางติดต่อธุรกิจทางออนไลน์ อาทิ การสัง่ ซือ้ สินค้าออนไลน์ และการบริการ Remote Service เป็นต้น นอกจากนี้จะมีการน�ำแนวคิดและเทคโนโลยีใหม่ๆ ทีจ่ ะเปิดตัวในงาน Drupa 2020 มาประยุกต์ใช้ในธุรกิจการพิมพ์ ของไทย เพื่อช่วยให้ลูกค้ามีการพัฒนาศักยภาพการผลิตต่างๆ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อโอกาสทางธุรกิจได้ และที่ส�ำคัญ ต้องมุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนอง ต่อการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีและความต้องการของลูกค้า ทีห่ ลากหลาย เพือ่ เป็นการสร้างความพึงพอใจและความสัมพันธ์ ที่ดีกับลูกค้าอย่างสม�่ำเสมอและตลอดไป”

ผมจะต่อยอดความส�ำเร็จเดิม โดยการน�ำนวัตกรรมและโซลูชั่นส์ ในการพิ มพ์ ที่ทันสมัยมาวาง กลยุทธ์... ผลักดันแนวคิด Smart Print Shop ให้เป็น รูปธรรมมากยิ่งขึ้น การน�ำโมเดล ธุรกิจ Subscription มาเป็น อีกทางเลือกหนึ่งในการลงทุน การใช้ Big data มาช่วยวิเคราะห์ วางแผนปรับปรุงการผลิตและ การลงทุนของลูกค้า และเพิ่ ม ช่องทางติดต่อธุรกิจทางออนไลน์ คุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิ พั ฒน์ กรรมการผู้จัดการ (Managing Director) บริษท ั ไฮเดลเบิรก ์ กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด www.thaiprint.org


54

NEWS

The New Normal of Packaging in 2020

วันที่ 22 มกราคม 2563 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ Innovative Document Solution Center (IDSC) ชัน ้ 25 อาคารซันทาวเวอร์ส บี

ในปี 2020 โลกของบรรจุภณ ั ฑ์จะเปลีย่ นแปลงไปอย่างคาดไม่ถงึ สิง่ ทีข่ บั เคลือ่ นความต้องการของผูบ้ ริโภคให้แตกต่างไปจากเดิม อย่างมีนัยส�ำคัญคือ Mega Trend ดังนั้น ในฐานะของนัก ออกแบบ, ฝ่ายผลิต, ฝ่ายขาย, ฝ่ายการตลาด จึงต้องท�ำความ เข้าใจแนวโน้มของอุตสาหกรรมว่าเป็นแบบไหน? นักธุรกิจ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ต้องเตรียมตัวอย่างไร? นักออกแบบต้องสร้างสรรค์ผลงาน อย่างไร? ให้ตรงใจผูบ้ ริโภค และตรงกับความต้องการกับเจ้าของ ผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างไปจากเดิม เทคโนโลยีอะไรที่จะเข้ามา ช่วยสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์แบบใหม่ ซึ่งค�ำตอบทั้งหมดอยู่ใน สัมมนาในครั้งนี้


NEWS

โดยเมือ่ วันที่ 22 มกราคม 2563 บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้จดั งานสัมมนา “The New Normal of Packaging in 2020” ณ Innovative Document Solution Center (IDSC) ชั้น 25 อาคารซันทาวเวอร์ส บี เวลา 13.00 – 16.30 น. โดย คุ ณ กิ ติ ก ร นงค์ ส วั ส ดิ์ Head of Business Operation บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ให้เกียรติเปิดงาน และ กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมงานพร้อมรับฟังสัมมนา ในหัวข้อเรื่อง “New Normal of Packaging in 2020” โดยคุณวรรณา สุทัศน์ ณ อยุธยา นายกสมาคมออกแบบบรรจุภัณฑ์ไทย ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรให้ความรู้ในวันนี้ พร้อมด้วยคุณกิตติ พรพิพฒ ั น์วงศ์ Marketing Manager, Marketing & Solution

55

Architect ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีการพิมพ์จาก ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ มาให้ความรูใ้ นเรือ่ งของเทคโนโลยีการพิมพ์และเครือ่ งมือต่างๆ ที่จะเข้ามาช่วยสร้างสรรค์งานพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แบบใหม่ ของคุณให้แตกต่างและมีมูลค่ามากยิ่งขึ้น โดยในครัง้ นี้ ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ ได้โชว์ผลงานการพิมพ์ จากเครือ่ งพิมพ์ Iridesse Production Press สุดยอดนวัตกรรมเครื่องพิมพ์ ดิจิทัล ที่สามารถพิมพ์พร้อมกันได้ถึง 6 สี ในขั้นตอนเดียว โดยมี 4 สี ม าตรฐาน CMYK และสามารถเลื อ กสี พิ เ ศษ ได้อีก 2 สี คือ สีเงิน, สีทอง , สีขาว หรือ สีใส เพื่อตอบโจทย์ ทุกงานพิมพ์คณ ุ ภาพของคุณ ซึง่ ได้รบั ความสนใจจากผูเ้ ข้าร่วมงาน เป็นอย่างมาก www.thaiprint.org


56

NEWS

ประชุมเตรียมความพร้อมชี้แจง ThaiStar Packaging Awards 2020

วันที่ 30 มกราคม 2563 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 6 อาคารกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กล้วยน�้ำไท) ซอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จัดประชุมเตรียมความพร้อม ชี้แจงแนวทางและเกณฑ์ใน การตัดสินการประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ประจ�ำปี 2563 (ThaiStar Packaging Awards 2020) เพือ่ เป็นการระดมความคิด เตรียม ความพร้อมในการด�ำเนินโครงการและการตัดสินการประกวดฯ ในวันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม 2563 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ ห้ อ งประชุ ม ชั้ น 6 อาคารกรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม (กล้วยน�้ำไท) ซอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

การประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจ�ำปี 2563 (ThaiStar Packaging Awards 2020) มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ต้ น แบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ มี ศั ก ยภาพ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น นั ก ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ให้ ไ ด้ แ สดงความรู ้ ค วามสามารถ เพื่อให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น พร้อมเป็นตัวแทนของประเทศไทย ไปประกวดในระดับนานาชาติต่อไป


NEWS

57

่ มชมโรงงาน "อิมปานิ ผ้าขาวม้า" เยีย

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงงาน "อิมปานิ ผ้าขาวม้า" สมาคมการค้านวัตกรรมการพิมพ์ไทย (ชื่อเดิม “สมาคม การพิมพ์สกรีนไทย”) จัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน “อิมปานิ ผ้าขาวม้า” ซึ่งเป็นโรงทอผ้า โรงเย็บและเป็นทั้ง Create & Design lifestyle from ASEAN Culture Thai Sarong “Pa-Kai-Ma” เป็นนักพัฒนาและเพิม่ นวัตกรรมของคนรุน่ ใหม่ ทุกท่านจะได้จับจ่ายใช้สอยสินค้าแปลกใหม่ เพิ่มความหรูหรา ให้ความทันสมัย และมีนวัตกรรมในผ้าโดยได้สัมผัสจะมีความ ชุ่มชื้นสามารถเพิ่มคอลลาเจนให้กับผิว อิมปานิ ผ้าขาวม้า IMPANI “Pa-Kao-Ma” เดิมเป็นการรวมตัว ของคนในครอบครัวและชุมชนการทอผ้าขาวม้า ในปี 2518 ช่วงแรกเป็นการทอโดยใช้กี่กระตุกเพียงไม่กี่ตัว ซึ่งไม่ทันต่อ ความต้องการของตลาดในช่วงเวลานัน้ จึงได้มกี ารนาเครือ่ งจักร เข้ามาใช้ และได้จัดตั้งเป็นโรงงานในปี 2522 เมื่อผ้าขาวม้า เริ่ ม ไม่ เ ป็ น ที่ นิ ย ม จึ ง ได้ อ อกแบบเพิ่ ม คู ่ สี ข องเส้ น ด้ า ยใหม่

ปรับเปลี่ยนลายผ้าขาวม้าให้ทันสมัยยิ่งขึ้น ในปี 2550 และ ด้ ว ยความผู ก พั น กั บ ผ้ า ขาวม้ า ตั้ ง แต่ วั ย เยาว์ จึ ง ท� ำ ให้ เ กิ ด แรงบันดาลใจในการน�ำผ้าขาวม้า มาเพิม่ มูลค่าด้วยการออกแบบ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เหมาะกับการใช้ในชีวิตประจาวัน ในรูปแบบ เสื้อผ้าสาเร็จรูป ของที่ระลึก และของใช้ เพื่อให้กลุ่มวัยรุ่น คนรุ่นใหม่ สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ซึ่งเริ่มจาหน่ายครั้งแรก ในปี 2555 ภายใต้แบรนด์ อิมปานิ เป็นต้นมา หลังจากนั้นน�ำสมาชิกเที่ยวถ�้ำเขางู เพื่อไหว้พระในถ�้ำ และ แวะจุดถ่ายรูปเดินชมวิวรอบภูเขา และเข้าร่วมประชุมสัญจร ณ อินเลญารีสอร์ท จบทริป ด้วยการรับประทานอาหารค�่ำ ที่ แ สนอร่ อ ย ในบรรยากาศแสนอบอุ ่ น จาก คุ ณ เฉลิ ม ชั ย อดีตกรรมการบริหารสมาคมฯ กิจกรรมในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2563 ที่ผ่านมา www.thaiprint.org


58 INDUSTRIAL

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ ประเภทหนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2559 - 2562 (ม.ค. - ธ.ค.)

Photo by ron dyar on Unsplash

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


INDUSTRIAL 59

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2559 - 2562 (ม.ค. - ธ.ค.)

อันดับ ที่

ประเทศ

มูลค่า : ล้านบาท 2560 2561 2561

2559

อัตราขยายตัว (%) 2562 2559 2560 2561 2561 2562 2559 (ม.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-ธ.ค.) 541.89 35.53 25.40 9.44 9.44 34.28 12.46 205.57 -46.25 29.36 -16.83 -16.83 -0.63 8.15 187.23 87.41 -2.88 64.87 64.87 -0.39 4.97 186.09 9.46 -21.35 -1.04 -1.04 32.49 7.65 168.27 -22.92 -13.39 376.05 376.05 -67.63 5.34 118.78 -2.84 -5.39 67.22 67.22 24.98 2.54 108.18 38.58 3.38 -33.68 -33.68 -52.94 14.20 83.23 10.57 -12.66 34.14 34.14 -30.00 4.30 74.68 -16.30 -27.71 40.91 40.91 -23.53 4.06 69.37 19.83 -12.51 42.83 42.83 -52.34 4.93 67.30 80.61 -43.20 3.22 3.22 66.43 2.92 66.22 19.48 -20.40 -66.91 -66.91 32.18 8.06 48.87 -6.32 25.33 -27.03 -27.03 8.12 2.09 36.80 -13.95 -5.56 -10.05 -10.05 27.66 1.44 33.13 -28.80 7.83 -10.22 -10.22 -9.40 1.60 29.30 11.82 22.88 -53.86 -53.86 -18.09 2.67 27.62 -49.66 -7.29 5.54 5.54 82.92 0.65 26.41 105.14 -51.53 39.87 39.87 34.75 1.22 22.33 -63.03 262.40 4.84 4.84 12.11 0.22 17.52 -21.28 -14.91 15.55 15.55 41.68 0.53 2,118.80 3.81 -0.86 16.28 16.28 -13.51 90.03 200.90 -15.53 -18.16 1.39 1.39 2.85 9.97 2,319.71 1.49 -2.58 15.03 15.03 -12.30 100.00

(ม.ค.-ธ.ค.)

1 ฮ่องกง 294.02 368.71 403.53 2 ญี่ปุ่น 192.27 248.71 206.86 3 กัมพูชา 117.39 114.00 187.96 4 สหรัฐอเมริกา 180.48 141.94 140.46 5 ฟิลิปปินส์ 126.09 109.21 519.87 6 เมียนมา 60.07 56.83 95.04 7 อินโดนีเซีย 335.28 346.62 229.88 8 มาเลเซีย 101.49 88.64 118.90 9 สิงคโปร์ 95.88 69.31 97.67 10 เวียดนาม 116.47 101.90 145.55 11 ลาว 68.97 39.18 40.44 12 สหราชอาณาจักร 190.20 151.41 50.10 13 อินเดีย 49.42 61.94 45.20 14 จีน 33.94 32.05 28.83 15 ออสเตรเลีย 37.78 40.73 36.57 16 เยอรมนี 63.09 77.53 35.77 17 ศรีลังกา 15.43 14.31 15.10 18 เบลเยียม 28.91 14.01 19.60 19 เกาหลีใต้ 5.24 19.00 19.92 20 ฝรั่งเศส 12.58 10.70 12.37 รวม 20 รายการ 2,125.00 2,106.70 2,449.60 รวมอื่นๆ 235.40 192.70 195.30 2,360.42 2,299.41 2,644.97 รวมทุกประเทศ

403.53 206.86 187.96 140.46 519.87 95.04 229.88 118.90 97.67 145.55 40.44 50.10 45.20 28.83 36.57 35.77 15.10 19.60 19.92 12.37 2,449.60 195.30 2,644.97

สัดส่วน (%) 2560 2561 2561 2562

(ม.ค.-ธ.ค.) (ม.ค.-ธ.ค.)

16.03 10.82 4.96 6.17 4.75 2.47 15.07 3.85 3.01 4.43 1.70 6.58 2.69 1.39 1.77 3.37 0.62 0.61 0.83 0.47 91.62 8.38 100.00

15.26 7.82 7.11 5.31 19.66 3.59 8.69 4.50 3.69 5.50 1.53 1.89 1.71 1.09 1.38 1.35 0.57 0.74 0.75 0.47 92.61 7.39 100.00

15.26 23.36 7.82 8.86 7.11 8.07 5.31 8.02 19.66 7.25 3.59 5.12 8.69 4.66 4.50 3.59 3.69 3.22 5.50 2.99 1.53 2.90 1.89 2.85 1.71 2.11 1.09 1.59 1.38 1.43 1.35 1.26 0.57 1.19 0.74 1.14 0.75 0.96 0.47 0.76 92.61 91.34 7.39 8.66 100.00 100.00

่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ทีม

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิง ่ พิ มพ์ พ.ศ. 2562 (ม.ค. - ธ.ค.)

ฮ่องกง

541.89

กัมพูชา

ฟิลิปปินส์

อินโดนีเซีย

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

187.23

ล้านบาท

ญี่ปุ่น

205.57 2 11

สหรัฐอเมริกา

4

12

ลาว

67.30

13

14

ล้านบาท

ล้านบาท

16

17 ศรีลังกา

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

33.13

จีน

36.80 ล้านบาท

69.37 ล้านบาท

8

ออสเตรเลีย

สหราชอาณาจักร

66.22

7

อินเดีย

48.87

เวียดนาม

ล้านบาท

6 15

ล้านบาท

83.23

ล้านบาท

5

74.68

มาเลเซีย

118.78

ล้านบาท

3

108.18

เมียนมา

186.09

ล้านบาท

1

168.27

สิงคโปร์

9 18

29.30 ล้านบาท

18

20

เกาหลีใต้

27.62

เยอรมนี

10

22.33

เบลเยียม

26.41 ล้านบาท

ล้านบาท

ฝรั่งเศส

17.52 ล้านบาท

www.thaiprint.org


60 KNOWLEDGE

ปัจจัยเสี่ยงและการบริหารจัดการ ความเสี่ยง (ตอนที่ 4) การวัดความสามารถที่จะด�ำเนินการให้วัตถุประสงค์ของ งานประสบความส�ำเร็จ ภายใต้การตัดสินใจ งบประมาณ ก�ำหนดเวลา และข้อจ�ำกัดด้านเทคนิคที่เผชิญอยู่ โดย ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล

ก่อนอื่นขอสวัสดีต้อนรับปีใหม่ ส�ำหรับเทศกาลปีใหม่ และเทศกาลตรุษจีน 2020 ขอให้กิจการการงานของ สมาชิ ก ผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นได้ รั บ แต่ ส่ิ ง ที่ ดี ท� ำ มาค้ า ขาย เจริญก้าวหน้า และขอให้ธรุ กิจของท่านยัง ่ ยืนสืบไปครับ

ในวารสารสมาคมการพิมพ์ไทยฉบับนี้ ผมจะมากล่าวถึงความเสีย่ ง และประเภทความเสี่ยงที่ในธุรกิจสิ่งพิมพ์ต้องพบเจอ และจะ หาทางออกได้อย่างไร ผู้เขียนเองต้องขอออกตัวก่อนว่าสิ่งที่ ได้เขียนนี้เป็นปัจจัยพื้นฐาน ในบางธุรกิจอาจจะพบเจอปัญหา และความเสี่ยงมากกว่านี้ และอาจจะมีวิธีแก้ได้ดี แต่ผมจะขอ เขียนให้สมาชิกผู้อ่านได้เตรียมพร้อม และแก้ไขได้ในระดับต้น เป็นปัญหาพื้นฐาน แต่ก็ไม่สามารถละเลยได้ ความหมายของการบริหารความเสี่ยง

ความเสีย่ ง (Risk) คือ การวัดความสามารถ ทีจ่ ะด�ำเนินการให้ วัตถุประสงค์ของงานประสบความส�ำเร็จ ภายใต้การตัดสินใจ งบประมาณ ก�ำหนดเวลา และข้อจ�ำกัดด้านเทคนิคที่เผชิญอยู่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

อย่างเช่น การจัดท�ำโครงการเป็นชุดของกิจกรรมทีจ่ ะด�ำเนินการ เรื่องใดเรื่องหนึ่งในอนาคต โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด มาด�ำเนินการให้ประสบความส�ำเร็จ ภายใต้กรอบเวลาอันจ�ำกัด ซึง่ เป็นก�ำหนดการปฏิบตั กิ ารในอนาคต ความเสีย่ งจึงอาจเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา อันเนื่องมาจากความไม่แน่นอน และความจ�ำกัด ของทรัพยากรโครงการ ผูบ้ ริหารโครงการจึงต้องจัดการความเสีย่ ง ของโครงการ เพือ่ ให้ปญ ั หาของโครงการลดน้อยลง และสามารถ ด�ำเนินการให้ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้อย่าง มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ การจัดการความเสี่ยง หรือ การบริหารความเสีย่ ง (Risk management) คือ การจัดการ ความเสี่ยง ทั้งในกระบวนการในการระบุ วิเคราะห์ (Risk analysis) ประเมิน (Risk assessment) ดูแล ตรวจสอบ และ ควบคุมความเสีย่ งทีส่ มั พันธ์กบั กิจกรรม หน้าทีแ่ ละกระบวนการ ท�ำงาน เพือ่ ให้องค์กรลดความเสียหายจากความเสีย่ งมากทีส่ ดุ อันเนื่องมาจากภัยที่องค์กรต้องเผชิญในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรือเรียกว่า อุบัติภัย (Accident)


KNOWLEDGE

การจัดการความเสี่ยง ทั้งในกระบวนการในการระบุ วิเคราะห์ (Risk analysis) ประเมิน (Risk assessment) ดูแล ตรวจสอบ และควบคุม ความเสี่ยงที่สัมพั นธ์กับกิจกรรม หน้าที่และกระบวนการท�ำงาน เพื่ อให้องค์กรลดความเสียหาย จากความเสี่ยงมากที่สุด ความเสี่ยงทางธุรกิจ

ในธุรกิจสิ่งพิมพ์ทราบกันดีอยู่แล้วว่าเมื่อโลกอินเตอร์เน็ตได้ เข้ามามีบทบาท ก็ทำ� ให้ธรุ กิจสิง่ พิมพ์ทเี่ ป็นหนังสือก็จะลดน้อย ถอยลงไป หลายธุรกิจต้องลดขนาด หรือต้องปิดตัวลง ผมเอง ก็เคยอยู่ในธุรกิจแบบนี้ แน่นอนที่สุดผู้ที่เห็นถึงทางรอดก็จะหา วิธีเพื่อให้ตัวเองอยู่รอด จึงหนีมาท�ำธุรกิจสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ กันมากขึ้น สิ่งที่เราจะต้องค�ำนึงถึงความเสี่ยงของธุรกิจ

61

ความเสี่ยงทางด้านวัตถุดิบ

ขาดแคลนวัสดุและวัตถุดิบ เมื่อวัสดุที่ต้องใช้ขาดแคลนก็ภาวะ ราคาสูง เพราะการตัง้ ราคาเกิดจากตลาดเป็นของผูข้ าย จนท�ำให้ ผู้ผลิตต้องแบกต้นทุนที่สูงขึ้น และผู้ผลิตรายย่อยจะสู้รายใหญ่ ทีม่ เี งินทุนจ�ำนวนมากทีม่ ศี กั ยภาพทีแ่ ข็งแกร่งมิได้เลย ทีส่ ดุ แล้ว ก็เกิดวิกฤติในกลุ่มผู้ผลิตขนาดเล็กได้ การจัดการความเสี่ยงด้านวัตถุดิบ

วัตถุดิบที่ส�ำคัญของการท�ำการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ เช่น กระดาษ หมึก เคมี วัสดุอื่น เช่น พลาสติก เหล็ก เป็นต้น เราต้องมั่นใจ ว่าวัตถุดิบเหล่านี้ จะมีอยู่และหาซื้อได้ ส่วนผู้ก�ำหนดราคาจะ เป็นใครนั้น ก็อยู่ที่กลไกลการตลาดที่ต้องยอมรับว่าตลอดเวลา ทีผ่ า่ นมา กระดาษ หรือ พลาสติก ผูก้ ำ� หนดราคามักจะเป็นผูข้ าย เราแทบจะต่อรองราคามิได้เลย สาเหตุกม็ าจากตลาดการตัง้ ราคา เป็นของผู้ขาย ดังนั้นธุรกิจใหญ่ๆ ถึงพยายามน�ำเข้าวัตถุหลัก ด้วยตัวเอง และเราลองถามตัวเองว่าเรามีอ�ำนาจต่อรองได้ถึง ขนาดนั้นหรือไม่ เพราะวัสดุหลักที่น�ำมาใช่ส่วนใหญ่ก็มาจาก กระดาษ หรือ พลาสติกนีเ้ อง ดังนัน้ เราควรจะหาธุรกิจคูค่ า้ ทีข่ าย วัตถุดบิ ดังทีก่ ล่าวมาแล้วเพือ่ เป็นพันธมิตรทางการค้า เพือ่ ให้เกิด

ความเสี่ยงด้านการตลาด

กลไกลทางการตลาดที่มีการเปลี่ยนแปลง เปรียบได้เหมือน เมือ่ ธุรกิจหนึง่ มีความนิยมก้าวหน้า หลายคนมองเห็นช่องทางนี้ ว่ามีโอกาสก็จะหันมาท�ำ และท�ำให้ทุกคนเข้ามาในธุรกิจนี้ แต่ไม่ได้คิดว่าคนจ�ำนวนมากก็มองเช่นเราเหมือนกัน เมื่อมี คนจ�ำนวนมากเข้ามาก็เกิดส่วนแบ่งทางการตลาด เมื่อมีคน จ�ำนวนมากแต่ผู้ผลิตบริโภคมีจ�ำกัดก็เกิดภาวะวิกฤติได้ การจัดการความเสี่ยงด้านการตลาด

ให้เราส�ำรวจตัวเองก่อนทีจ่ ะเข้าสูธ่ รุ กิจทีเ่ ราจะก้าวครัง้ ใหม่นวี้ า่ เรามีจุดเด่น จุดด้อย และโอกาสเติบโตทางธุรกิจเรามีเพียงไร และเราจะต้องพบเจอกับความเสี่ยงด้านในบ้าง การวิเคราะห์ ความเสีย่ งเรือ่ งการตลาดเป็นการวิเคราะห์ทนี่ บั ว่าส�ำคัญ เพราะ ไม่เพียงแต่ว่าเราต้องดูภายในของเรา แต่ต้องดูศักยภาพคู่แข่ง ของเราด้วย ส่วนมากผลกระทบที่มาจากภายนอกก็มีผลกับ การท�ำธุรกิจของเราไม่น้อยกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ (โดยเฉพาะ สิ่งที่เราควบคุมไม่ได้ในกลไกลการตลาด) เราต้องหาตัวเอง ให้เจอว่าเรามีจุดเด่นข้อได้เปรียบเรื่องที่จะท�ำนี้มากน้อยกว่า คู่แข่งในตลาดอย่างไร

ความเสี่ยงจากการผลิต

เคยส�ำรวจตัวเองหรือไม่ว่า สินค้าที่เราผลิตนี้มีความบกพร่อง จากการผลิตมากน้อยเพียงไร เราวิเคราะห์ประเด็นออกมา ได้หรือไม่ว่าเราผลิตเสียหายหรือพลาดที่เกิดจากเครื่องจักร บุคลากร หรือ ระบบการผลิตความซับซ้อนก็เป็นส่วนหนึ่งที่ ท�ำให้หลายๆ โรงพิมพ์ต้องพบกับการสูญเสียรายได้ เนื่องจาก งานแก้ งานซ่อมเป็นจ�ำนวนมาก หรือ ความเสีย่ งด้านการผลิตนี้ อาจจะเกิดจากวัตถุดิบที่ท�ำให้เกิดปัญหานี้ได้ การจัดการความเสี่ยงจากการผลิต

หลายโรงพิมพ์ได้ตั้งทีมขึ้นมาเพื่อตรวจสอบและวิเคราะห์งาน ว่าเกิดอะไรขึ้น การตั้งทีมตรวจสอบวิเคราะห์หาสาเหตุน้ีเป็น เรื่องที่ดีเป็นการเอาใจใส่งาน และเมื่อผู้ซื้อได้ทราบว่าเรามีทีม วิเคราะห์ปญ ั หาเช่นนีก้ จ็ ะสร้างความเชือ่ มัน่ นอกเหนือจากทีเ่ รา ได้ลดอัตราสูญเสียได้อกี ด้วย การจัดการให้เครือ่ งจักรนัน้ ท�ำงาน ได้ดีมีประสิทธิภาพก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เราควรจะกระท�ำ เพราะ เครือ่ งพิมพ์และเครือ่ งจักรจ�ำนวนมากมักจะขาดการเอาใจใส่ดแู ล จนเครือ่ งไม่สามารถท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพทัง้ ด้านคุณภาพ www.thaiprint.org


62 KNOWLEDGE

และอัตราสิ้นเปลือง การหาคู่ค้าวัตถุดิบที่หลากหลายก็พอจะ ช่วยได้ เพื่อต่อรองกับเรื่องคุณภาพและราคา อาจจะท�ำให้ การผลิตนั้นท�ำงานได้ง่ายและมีคุณภาพมากขึ้นได้ด้วย ดังนี้ เราจึงควรเพิ่มโอกาสการต่อรองโดยหาผู้ค้ารายใหม่ๆ อยู่เสมอ ความเสี่ยงจากสินค้าคงคลัง

หากมองเรื่องสินค้าคงคลังเราคงมองได้สองแบบใหญ่ๆ คือ สินค้าก่อนผลิตได้แก้วัตถุดิบที่อยู่ในสโตร์ และสินค้ารอส่งที่อยู่ ในแวร์เฮาท์รอจัดส่ง สินค้าที่เป็นวัตถุดิบเราจะพบว่าเกิดจาก การสั่งเข้ามาในอดีตและไม่ได้ใช้หรือเหลือใช้ท�ำให้เงินจ�ำนวน มากมาทิ้งเสียเปล่า ถึงแม้ว่าเราจะน�ำมาใช้ในโอกาสต่อไป แต่เราก็เสียโอกาสที่เราต้องจ่ายเงินล่วงหน้าและเสียโอกาส เรื่องดอกเบี้ย และสินค้าที่รอส่งก็เช่นกัน เมื่อเราผลิตแล้วก็ควร จะด�ำเนินการส่งทันที เราจึงต้องหาวิธกี ารผลิตทีใ่ ห้พอเหมาะกับ เวลา แต่ก็มีไม่น้อยที่ผู้สั่งจ้างผลิตมักจะให้เราเป็นสต๊อกสินค้า และให้เปิดการส่งเป็นงวดๆ ผลเสียที่เกิดขึ้นก็คือ เราต้องเสีย พื้นที่ เสียต้นทุนที่ต้องผลิตเก็บไว้ให้ และเสียโอกาสที่ได้ราคา ต่อชิ้นน้อยลงเพราะสั่งจ�ำนวนมากแต่ส่งของทีละน้อย

ความเสี่ยงจากเทคโนโลยี

เราได้เห็นเครื่องมือ เครื่องจักร ระบบ Automation มากมาย ที่เริ่มเข้ามาสู้การผลิต รวมทั้งระบบ 5G ที่จะเข้ามาเร็วๆ นี้ เราปฏิเสธไม่ได้เลยว่าโลกมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมาก และรวดเร็วพอๆ กับความต้องการของผูบ้ ริโภค การลดมลภาวะ สิง่ แวดล้อมก็รวดเร็วพอกัน การเปลีย่ นแปลงการใช้วสั ดุผลิตก็มี การเปลีย่ นจนผูล้ งทุนต้องตระหนักถึงผลกระทบต่อความนิยมใช้ และภาวะแวดล้อมด้านมลพิษ อย่างที่เราเห็นว่าถุงพลาสติก ก็จะเป็นสิ่งต้องห้ามที่เราจะต้องเลิกใช้สักวันหนึ่ง และอีกอย่าง ที่ เรามองข้ า มไม่ ไ ด้ คื อ แรงงานที่ จ ะถู ก ทดแทนด้ ว ยระบบ Automation หรื อ ระบบเครื่ อ งจั ก รกลอั จ ฉริ ย ะมาแทนที่ แล้วเครื่องจักรแบบไหนที่เราต้องน�ำมาใช้เพื่อลดต้นทุนและ สามารถแข่งขันได้ในการผลิต

การจัดการความเสี่ยงจากสินค้าคงคลัง

หากเป็นสินค้าคงคลังก่อนการผลิต สามารถที่จะจัดระเบียบ ทัง้ สโตร์ การสัง่ สินค้าเข้า การท�ำรายงานสโตร์กบั ของเหลือทีม่ อี ยู่ ของเก่าค้างสต๊อกทีเ่ หลือใช้ เช่น หมึก กระดาษ ผ้ายาง เคมีตา่ งๆ ต้องพยายามน�ำมาใช้ จัดระบบให้มีการใช้และเบิกแล้วมาก่อน เบิกก่อนเพื่อป้องกันสินค้าหมดอายุ แบบ First In First Out ส่วนสินค้ารอส่งก็สามารถให้ฝ่ายแวร์เฮ้าท์และฝ่ายการตลาด ช่วยจัดการต่อรองพูดคุยกับลูกค้าได้เพือ่ การส่งตามก�ำหนดเวลา หรือเร็วกว่าก�ำหนดเวลาก็จะช่วยได้ การมีเพือ่ และมีสายสัมพันธ์ ที่ดีไม่ว่ากับผู้ขายวัตถุดิบ หรือลูกค้าของเราก็ถือว่าเป็นเรื่องดี

การจัดการความเสี่ยงจากเทคโนโลยี

หลายโรงงานได้ติดตามความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี จากภาครัฐ ภาคเอกชน ในสือ่ โซเชียลต่างๆ เราต้องเปิดหูเปิดตา ให้กว้างไกลเพื่อมองสิ่งเหล่านี้ให้ลึก และกว้างไปพร้อมๆ กัน หาทีมพัฒนาการผลิตในแนวอนาคตมีที่ปรึกษา มองรอบด้าน ทั้งความต้องการผู้บริโภค หรือภาครัฐจะให้การสนับสนุนหรือ มีข้อห้ามในทิศทางใด ไม่ว่าวัสดุที่ใช้ผลิต เพื่อสอดคล้องกับ เครื่องจักร ระบบที่เราต้องใช้ต่อไป ความเสี่ยงจากแรงงาน

ขณะนีเ้ ราถือว่าสังคมปัจจุบนั เป็นสังคมของคนสูงอายุ จะสังเกต ได้ว่าคนสูงอายุมากขึ้นเพราะในอดีตประชากรของไทยไม่ได้ ถูกคุมก�ำเนิดท�ำให้วัยที่มีอายุตั้งแต่ 40 – 80 ปี มีจ�ำนวน คนวัยนี้มากขึ้น แต่ตรงกันข้ามคนวัย 20 – 40 ปี กลับมีน้อยลง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


KNOWLEDGE 63

เนื่องจากมีการคุมก�ำเนินอย่างได้ผลของภาครัฐเมื่อประมาณ 40 ปีกอ่ น ท�ำให้ในอนาคตอันใกล้นี้ แรงงานจะน้อยลงและภาค ธุรกิจทีต่ อ้ งการมากทีส่ ดุ คือแรงงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ ความรับผิดชอบ และทุมเทให้กับองค์กร ซึ่งนับได้ว่าหายากยิ่ง และคนกลุ่มนี้ ก็ต้องการรายได้ค่าตอบแทนที่สูง เราไม่สามารถมองแรงงาน ทีม่ าจากประเทศเพือ่ นบ้านได้มากนักเพราะไม่นานถ้าบ้านเมือง ของพวกเขาเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม แน่นอนที่สุดพวกเขาก็ต้อง กลับประเทศก�ำเนิดของพวกเขา ถึงเวลานัน้ แรงงานจะขาดแคลน การจัดการความเสี่ยงจากแรงงาน

หลายบริษัทจะมีฝ่ายพัฒนาบุคลากรที่มีความสามารถในการ สรรหาทั้งแรงงานที่ท�ำงานในระดับล่าง ระดับวิศวกร หรือ ระดั บ บริ ห าร ต้ อ งใช้ ที ม พั ฒ นาบุ ค ลากรที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่อเลือกผู้ร่วมงานที่มีประสิทธิภาพ หากทีมที่เป็นผู้เลือก บุคลากรมาท�ำงานแต่ไม่มีประสิทธิภาพจะสามารถเลือกหรือ พัฒนาทีมงานให้มีศักยภาพได้อย่างไร นี้ก็เป็นเหตุหนึ่งที่ท�ำให้ องค์กรนั้นเติบโตได้ช้า ในหลายบริษัทได้เอาระบบหุ่นยนต์ เข้ า มาแทนที่ ม นุ ษ ย์ เพื่ อ ลดเรื่ อ งสวั ส ดิ ก าร ความขั ด แย้ ง การลาออกบ่อยครั้ง แต่การลงทุนวิธีนี้เป็นการลงทุนระยะยาว และเป็นการลดต้นทุนที่ต้องอาศัยเวลาของการคุ้มทุนนาน พอสมควร นักลงทุนที่มีทุนมากสามารถท�ำได้ และเราเห็นว่า เวลานี้บริษัทที่ผลิตระบบ Automation นี้ ได้รับความนิยม ในระดับสูงเป็นล�ำดับ

ความเสี่ยงจากการเงินและเครดิต

การเงินเป็นหัวใจหลักอีกอย่างหนึ่งที่หากเราเกิดติดขัดเรื่อง สภาพคล่องก็อาจท�ำให้ธรุ กิจชะงักและสูญเสียอ�ำนาจการต่อรอง เป็นทีท่ ราบกันดีวา่ ธุรกิจสิง่ พิมพ์เป็นธุรกิจทีบ่ างสถาบันการเงินนัน้ จะพิจารณาธุรกิจสิ่งพิมพ์เป็นพิเศษเนื่องจากความเข้าใจและ

เหมารวมว่าเป็นธุรกิจที่เสี่ยง แต่มองข้ามการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ หรือการพิมพ์ที่ป้องกันการปลอมแปลงที่ยังได้รับความนิยม ต่อเนือ่ ง เครดิตซือ้ และเครดิตขายก็มคี วามส�ำคัญมากเพราะว่า หากเราเป็นธุรกิจที่ไม่มีอ�ำนาจต่อรองแล้ว เราก็จะซื้อสินค้า ราคาสูงและมีเครดิตการจ่ายที่สั้น ยิ่งไปกว่านั้นหากเราต้อง ให้เครดิตลูกค้ายาวนานกว่าเครดิตซื้อยิ่งท�ำให้เราอยู่ยากขึ้น ยกเว้นเสียแต่ว่าเรามีเงินจ�ำนวนมากที่ใช้ในการหมุนเวียนได้ การจัดการความเสี่ยงจากการเงินและเครดิต

หากเราไม่มผี เู้ ชีย่ วชาญด้านการเงินการลงทุนเครดิต เราสามารถ หาผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการเงินทีใ่ ห้แนวทาง การจัดระบบ ค�ำแนะน�ำ เกีย่ วกับเครดิตได้ มีหลายสถาบันก็ให้คำ� ปรึกษาได้อย่างกว้างขวาง และลึกซึ้ง เพราะการลดต้นทุนตัดลดค่าใช้จ่ายมิใช่ทางเดียว ที่เป็นทางออก การแก้ปัญหาด้านการเงินเราไม่อาจจะแก้ได้ ด้วยหลักการเงินการบัญชีเพียงอย่างเดียว แต่เราต้องแก้โดยใช้ หลักการตลาดเข้ามาร่วมด้วย จึงจะท�ำให้คลี่คลายปัญหาได้

ความเสี่ยงจะอยู่คู่กับธุรกิจ ของเราตลอดไป ตราบใดที่ เรายังต้องท�ำงานและหาเงิน เพื่ อให้บริษท ั อยูไ่ ด้ พนักงาน และองค์กรของเราด�ำเนินธุรกิจ อยู่ได้ ดังนั้นความเสี่ยง ้ มานี้ ต่างๆ ทีไ่ ด้หยิบยกขึน เป็นเพี ยงตัวอย่างบางประเด็น ่ งยังมีทม ความเสีย ี่ าจากอีกหลาย ปัจจัย ดังนัน ้ เราจึงต้อง วิเคราะห์โดยละเอียด ผู้เขียนเอง ก็ยังหวังใจว่าธุรกิจสิง ่ พิ มพ์ จะได้ต้ง ั กลุ่มหรือทีมบริหาร เพื่ อเตรียมรองรับความเสี่ยง อันอาจจะเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ เครดิตภาพประกอบ

• https://www.industore.co.uk/wp-content/uploads/2019/08/Industore-Hot-Spot-LeanLift.jpg • https://pbs.twimg.com/media/Dedvtq-XUAA4RAa.jpg • https://www.kardex-remstar.ch/fileadmin/_processed_/a/a/csm_EnergieffizienzProdukte_609db9b806.jpg?&type=67

www.thaiprint.org




44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1

11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM



68

NEWS

เอชพี อิงค์ มอบรางวัล

ENVIRONMENTAL EXCELLENCE ผนึกพั นธมิตร “ต�ำหนักศิลป์” สนับสนุน “CENTRAL Love The Earth” บริษท ั สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด

กรุงเทพ, มกราคม 2563 - เอชพี อิงค์ น�ำโดย มร. เนล เวสท์ธอฟ ผู้อ�ำนวยการ กลุ่มธุรกิจลาร์จฟอร์แม็ท เกรทเทอร์ เอเชีย และ อินเดีย บริษัท เอชพี อิงค์ พร้อมนายสาธิต ชัยยะพัฒนาพร ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ต�ำหนักศิลป์ แอดเวอร์ไทซิง่ จ�ำกัด ส่งมอบประกาศนียบัตร ENVIRONMENTAL EXCELLENCE ให้กบั บริษทั สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด กล่าวว่า พวกเราชาว HP มีความยินดี และภูมใิ จอย่างมาก ทีไ่ ด้มอบรางวัล ENVIRONMENTAL EXCELLENCE ให้กับ บริษัท สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

โดยรางวัลนี้ถือเป็นรางวัลแห่งความภาคภูมิใจที่ เอชพี อิงค์ มอบให้กบั ลูกค้าของคูค่ า้ เป็นครัง้ แรกของประเทศไทย ในฐานะ เป็นผูท้ มี่ คี วามใส่ใจในเรือ่ งสิง่ แวดล้อมมาอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยการ เลือกใช้หมึกพิมพ์กระดาษ Latex Printing Technology ซึง่ เป็นหมึกพิมพ์ทมี่ สี ว่ นผสมของน�ำ้ 100% จึงมีความปลอดภัย กับทุกคน อีกทัง้ ยังใช้งานร่วมกับเครือ่ งพิมพ์ HP Latex ท�ำให้ ช่วยให้มลพิษลดลงไปอีกเป็นจ�ำนวนมาก


NEWS

69

RICOH เตรียมเปิดท�ำการ โรงงานผลิตเครื่องพิ มพ์ ในจีน ส�ำหรับส�ำนักงาน ณ เมืองตงกวน มณฑลกวางตุง ้ ประเทศจีน ้ ในเดือนเมษายน 2563 เป็นการสร้างฐานการผลิตในจีนเพิ่ มขึน เพื่ อเสริมความแข็งแกร่งด้านความสามารถในการผลิตทัว ่ โลก RICOH ได้ประกาศที่จะเริ่มเปิดใช้โรงงานผลิตแห่งใหม่ในชื่อ บริษัท “Ricoh Manufacturing (China) Ltd.” ในเดือน เมษายน 2563 บริษทั นีก้ อ่ ตัง้ ขึน้ ในฐานะส่วนหนึง่ ในยุทธศาสตร์ ของ RICOH เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้แก่ความสามารถใน การผลิตทั่วโลกในฐานะศูนย์กลางการผลิตเครื่องพิมพ์ส�ำหรับ ส�ำนักงานของ RICOH นอกจากนีย้ งั สามารถวางแผนการผลิตได้ อย่างแม่นย�ำมากยิง่ ขึน้ ด้วยการใช้ระบบการวิเคราะห์ของทัง้ ข้อมูล ยอดขาย และข้อมูลการผลิตผ่านเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) อีกทั้งยังมีการติดตั้งหุ่นยนต์ใหม่ล่าสุด และระบบ ออโตเมชั่นในโรงงานเพื่อยกระดับกระบวนการผลิตอีกด้วย การผสานระหว่างข้อมูลการผลิต และข้อมูลทีไ่ ด้จากเครือ่ งพิมพ์ ส�ำนักงานที่ท�ำงานอยู่จริงในต�ำแหน่งที่ตั้งของลูกค้านั้นจะ ช่วยให้ RICOH สามารถเพิ่มคุณภาพของเครื่องพิมพ์ได้มาก ขึ้น อีกทั้งยังมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในโรงงานที่ล�้ำสมัย เพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยใช้อุปกรณ์ที่ใช้ พลังงานแสงอาทิตย์แทน การทดแทนระบบปรับอากาศ และ ถ่ายเทอากาศ การใช้แสงสว่างจากธรรมชาติ และการถ่ายเท อากาศแบบธรรมชาติ เ พื่ อ สนั บ สนุ น สั ง คมที่ ล ดการปล่ อ ย ก๊าซคาร์บอน จนท�ำให้เรามีแผนที่จะได้รับใบประกาศรับรอง

CERTIFICATION OF GREEN BUILDING DESIGN LABEL ระดับ “3 ดาว” ซึ่งเป็นใบประกาศรับรองระดับสูงสุดภายใน เดือนเมษายนที่จะถึงนี้ จากการเริ่มการผลิตในโรงงานแห่งใหม่นี้ โรงงานผลิตเดิมใน ประเทศจีนจะถูกปรับเปลีย่ นใหม่ โดยการผลิตในโรงงาน Ricoh Asia Industry (Shenzhen) Ltd. จะสิ้นสุดในช่วงฤดูใบไม้ผลิ ในปี 2563 และการผลิตของโรงงาน Ricoh Components & Product (Shenzhen) Ltd. จะสิน้ สุดในช่วงฤดูใบไม้ผลิปี 2563 ซึ่งการปรับเปลี่ยนต�ำแหน่งที่ตั้งฐานการผลิตดังกล่าวช่วยให้ RICOH เร่งความเร็วของการก่อสร้างระบบยุคใหม่ทใี่ ช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีดิจิทัลในระบบกระบวนการผลิตระดับโลกได้ รวมทัง้ ยังช่วยเสริมความแข็งแกร่งในการผลิตแบบคูข่ นานส�ำหรับ อุปกรณ์มลั ติฟงั ก์ชนั หลักร่วมกับโรงงาน Ricoh Manufacturing (Thailand) Ltd. ทีจ่ งั หวัดระยองอีกด้วย การรวมศูนย์การผลิต ขนาดใหญ่ในภูมภิ าคเอเชียนีจ้ ะรองรับการก่อสร้างซัพพลายเชน ที่เหมาะสมเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ โดยเรา จะสร้างระบบที่สามารถตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว และสร้าง ความแข็งแกร่งให้แก่แผนการสร้างความต่อเนือ่ งทางธุรกิจหรือ BCP เพื่อรองรับกับความเสี่ยงที่หลากหลาย www.thaiprint.org


70

NEWS

KURZ เลี้ยงอาหารกลางวัน โรงเรียนบ้านสมวัย มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม

วันที่ 18 ธันวาคม 2562 ณ โรงเรียนบ้านสมวัย มูลนิธเิ ด็กอ่อนในสลัม

บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดกิจกรรมเลี้ยงอาหาร กลางวัน มอบของเล่น เสื้อผ้า และเงินบริจาคให้แก่เด็กๆ ณ โรงเรียนบ้านสมวัย มูลนิธิเด็กอ่อนในสลัม เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2562 ทีผ่ า่ นมา โดยทางทีมงานของบริษทั ฯ มองเห็นถึง ความส�ำคัญของการช่วยเหลือและตอบแทนสังคม จึงได้จัด กิจกรรมนีข้ นึ้ เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการส่งเสริมและพัฒนาท้องถิน่ ชุมชนที่อยู่ในใกล้เคียงกับบริษัท

กิจกรรมเพื่อสังคมครั้งนี้ถือเป็นกิจกรรมแรกของบริษัท KURZ น�ำทีมโดยกรรมการผู้จัดการ คุณสุปรีชา เมืองแสน และ ผู้จัดการฝ่ายขาย คุณบุญชัย เลาหะธีระพงษ์ บริษัท KURZ เรามุ่งเน้นการพัฒนาและสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่พนักงาน และยังมุ่งหวังที่จะช่วยเหลือแบ่งปันกับผู้คนในสังคมอีกด้วย บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า สังคมที่เป็นสุขและอยู่ด้วยกันอย่าง ร่มเย็นมาจาก “การให้”

เรามุ่งเน้นการพั ฒนาและสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่พนักงาน “และยั งมุ่งหวังที่จะช่วยเหลือแบ่งปันกับผู้คนในสังคมอีกด้วย บนพื้ นฐานความเชื่อที่ว่า สังคมที่เป็นสุขและอยู่ด้วยกัน อย่างร่มเย็นมาจาก . . . การให้

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


NEWS

71

RICOH ส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์คนรุ่นใหม่ในโครงการ

X Campus Ads Idea Contest 2019

โดยกระทรวงดิจท ิ ล ั เพื่ อเศรษฐกิจและสังคม สมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการ และมหาวิทยาลัย ชัน ้ น�ำจากทัว ่ ประเทศ บริษัท ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ร่วมสนับสนุนโครงการ X Campus Ads Idea Contest 2019 ซึง่ เป็นหนึง่ ในกิจกรรม ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม สมาคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการ และมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำจากทัว่ ประเทศ โดยทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในภาคการศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยการสนับสนุน ส่ ง เสริ ม และเปิ ด โอกาส ให้ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ได้ แ สดงออก ทางความคิดสร้างสรรค์ ได้มีประสบการณ์จริงนอกห้องเรียน ในการผลิตคลิปวีดีโอ โฆษณาจากหลายโจทย์ อุตสาหกรรม ชั้ น น� ำ ของประเทศ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ของแผน Digital Economy ในเรื่ อ งของการขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และพัฒนาก�ำลังคนให้พร้อม เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล และยังมีโอกาสชิงทุนการศึกษากว่า 200,000 บาท งาน The Winner Award X Campus Ads Idea Contest 2019 เป็นการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งทีมนักศึกษาที่สร้างสรรค์ คลิปวิดีโอจาก RICOH ผ่านเข้ารอบถึง 2 ทีม ได้แก่

1. ทีม BU CHAMPION จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ: น�ำเสนอ แนวคิดจากบรรยากาศในส�ำนักงาน สร้างสรรค์ผลงานโดยใช้ คุณสมบัติหมึกสีพิเศษของเครื่องพิมพ์ RICOH Pro C7200 series ทัง้ 5 สี ทีผ่ ใู้ ช้สามารถเลือกได้จากสีขาว, สีเคลียร์, สีชมพู สะท้อนแสง, สีเหลืองสะท้อนแสง และสีแดงล่องหน แสดงออก มาในรูปแบบของบทบาทหน้าทีต่ ามคาแรกเตอร์ตวั ละครแสดง น� ำ ที่ เ ป็ น เหมื อ นเพื่ อ นที่ ค อยช่ ว ยเหลื อ สนั บ สนุ น พนั ก งาน ออฟฟิศคนหนึ่งให้สามารถท�ำงานส�ำเร็จได้อย่างราบรื่น 2. ทีม Indy จาก มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย: สร้างสรรค์วดิ โี อ animation เพื่อสร้างความแตกต่าง โดยได้รับแรงบันดาลใจ จากซีรสี ท์ เี่ ป็นกระแสเกีย่ วกับการทะลุมติ เิ พือ่ ไปอีกสถานทีห่ นึง่ โดยเล่าเรือ่ งราวของผูห้ ญิงธรรมดาๆ คนหนึง่ ทีท่ ะลุมติ หิ ลุดเข้าไป ในเครือ่ งพิมพ์ RICOH Pro C7200 series แล้วไปเจอกับโลกทีม่ ี สีสันสดใสสะท้อนแสง สนุกสนาน รื่นเริง ในงาน RICOH Party RICOH เชือ่ ว่า การสนับสนุนให้เด็กไทยได้แสดงออกทางความคิด สร้างสรรค์จะช่วยท�ำให้เด็กเหล่านีเ้ ติบโตขึน้ อย่างมีคณ ุ ภาพ กล้าคิด กล้าแสดงออก พร้อมทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญของชาติในการพัฒนา ประเทศให้ก้าวทันเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว www.thaiprint.org


72

NEWS

ประชาสัมพั นธ์

สัมมนา Move On 2020 Driving the Next Printing Industry ร่วมก้าวเดิน เพื่ อธุรกิจการพิ มพ์ ก้าวหน้า จัดโดย สหพั นธ์อุตสาหกรรมการพิ มพ์

วันอังคารที่ 21 มกราคม 2563

ก้าวส�ำคัญของธุรกิจการพิ มพ์

เวลา 08.30 - 16.30 น. ห้องสัมมนา: ชัน ้ 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

• อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยอยูอ่ ย่างไรให้รอดในยุค Disruptive Technology • กลยุทธ์เพื่อการด�ำรงอยู่ของธุรกิจการพิมพ์ • Smart Move : ธุรกิจการพิมพ์ก้าวเดินเร็ว อย่างมีหลักการ

วันพุ ธที่ 19 กุมภาพั นธ์ 2563

เดินหน้าการตลาดธุรกิจการพิ มพ์ ไทย 2020

เวลา 08.30 - 16.30 น. ห้องสัมมนา: ชัน ้ 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

• Digital Transform for Printing : การใช้ข้อมูลในการขับเคลื่อนธุรกิจ • Marketing Automation Trends 2020 • Story Branding

วันพุ ธที่ 18 มีนาคม 2563

การบริหารจัดการธุรกิจการพิ มพ์ ยุคใหม่

เวลา 08.30 - 16.30 น. ห้องสัมมนา: ชัน ้ 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

• Smart Business : การท�ำงานรูปแบบใหม่ในยุคดิจิทัล • อนาคตการพิมพ์ในสายตาคนกลุ่ม Millennials (มิลเลนเนียลส์)

ค่าลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนา

• ค่าใช้จ่าย 1,500 บาท/คน (กรณีสมัครเข้าร่วมสัมมนาทั้ง 3 ครั้ง ลดพิ เศษเหลือ 4,000 บาท/คน) สอบถามข้อมูลเพิ่ มเติมได้ท่ี สหพั นธ์อุตสาหกรรมการพิ มพ์ SCAN ME

ติดต่อ คุณวิรัตน์ อ่องจันทร์ โทร. 0-2944-6975, 085-8208958 E-mail: ongchan2000@hotmail.com

Sponsor By...

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124



74

INTERVIEW

จุดแรกที่ท�ำให้สินค้า น่าสนใจคือ “บรรจุภัณฑ์” เพราะบรรจุภัณฑ์ คือ หน้าต่างของหัวใจ 'ในการสื่อสารเรื่องราว ของสินค้าที่เราน�ำเสนอ'

อาภากร ชุนเจริญ

บริษัท พงศ์พัฒน์การพิ มพ์ จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


INTERVIEW

อาภากร ชุ น เจริ ญ หรื อ “โบนั ส ”

บุตรสาวคนเล็ก ของครอบครั ว พงศ์ พั ฒ น์ ก ารพิ ม พ์ หนึ่ ง ในสมาชิ ก YPG ทีเ่ ป็นทีร่ กั ของเพือ่ นๆ พีๆ่ น้องๆ ทุกคน เพราะไม่วา่ เมือ่ ไหร่ทมี่ ี กิจกรรมของ YPG เธอมักจะเป็นตัวชูโรงอยู่เสมอ และวารสาร Thai Print ฉบับนี้ ได้รับเกียรติจากคุณโบนัสมาให้สัมภาษณ์ เพื่อเล่าเรื่องราวของตัวเธอเอง โดยคุณโบนัสได้เล่าประวัติ ส่วนตัวอย่างคร่าวๆ ว่า เรียนจบชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียน อัสสัมชัญคอนแวนต์ ก่อนที่จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ในสาขาการท่องเที่ยวเเละการโรงแรม วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (MUIC) และบินไปเรียนต่อปริญญาโทที่ มหาลัย เซี่ยงไฮ้เจียวทง ณ เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ในด้าน การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ โดยเรียนในภาคภาษาอังกฤษ แต่ก็มีการใช้ภาษาจีนร่วมด้วยเช่นกัน หลังจากเรียนจบได้เริ่ม ท�ำงานเป็นครูสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ณ เมือง กวางโจว ประเทศจีน โดยงานของคุณโบนัสจะเป็นการดูเเล กิจกรรมที่สร้างเสริมทักษะเด็กๆ ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น กิจกรรมมารยาทในการเข้าสังคมเบื้องต้น, กิจกรรมขี่ม้า หรือ กิจกรรมอืน่ ๆ ทีจ่ ดั ให้สำ� หรับนักเรียนในภาคอินเตอร์โดยเฉพาะ คุณโบนัสเล่าว่า ขณะที่อยู่ประเทศจีนจะท�ำงานหลากหลาย โดยเป็นทั้งคุณครู และเสาร์-อาทิตย์ก็ท�ำงานเป็นล่าม จึงมี ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในประเทศจีนก่อนที่จะเดิน ทางกลับมาช่วยงานของครอบครัว บริษัท พงศ์พัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด ซึ่งก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2523 โดยมุ่งเน้นการเป็น One Stop Service หรือที่เรียกว่า การบริการแบบครบวงจร ให้แก่

75

ลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ ด้วยการบริการงานพิมพ์ ทั้งในระบบออฟเซ็ท (Offset) และระบบดิจิตอล (Digital) เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั้งชาวไทยและชาว ต่างประเทศอย่างไร้ขีดจ�ำกัด รวมถึงการให้ความใส่ใจต่อกระบวนการผลิตทุกขัน้ ตอน โดยทีมงาน มืออาชีพ ไม่วา่ จะเป็นกระบวนการก่อนพิมพ์ ระหว่างพิมพ์ และ หลังพิมพ์ โดยมีเป้าหมายหลัก ทีม่ งุ่ เน้นการให้การบริการและ ความพึงพอใจของลูกค้าพงศ์พัฒน์การพิมพ์ โดยลูกค้าสามารถ ติดตามงานพิมพ์ได้อย่างใกล้ชดิ จากบุคคลากรต่างๆ ของโรงพิมพ์ ท�ำให้เราสามารถสร้างฐานลูกค้าได้อย่างยั่งยืน จนได้รับความ ไว้วางใจจากลูกค้าของพงศ์พัฒน์การพิมพ์ด้วยดีตลอดมา

บริษท ั พงศ์พัฒน์การพิ มพ์ จ�ำกัด มุง ่ เน้นการเป็น One Stop Service หรือที่เรียกว่า การบริการแบบ ครบวงจร ให้แก่ลก ู ค้าทัง ้ ในประเทศ และต่างประเทศ ด้วยการบริการ งานพิ มพ์ ทั้งในระบบออฟเซ็ท (Offset) และระบบดิจิตอล (Digital) เพื่ อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ อย่างไร้ขีดจ�ำกัด www.thaiprint.org


76

INTERVIEW

หลังจากช่วยงานครอบครัวได้ 2 ปี เริม่ มีความต้องการทีจ่ ะมีธรุ กิจ เป็นของตัวเอง โดยการมองเห็นลูท่ างจากธุรกิจของครอบครัวที่ ท�ำโรงพิมพ์อยู่ก่อนแล้ว และเห็นว่างานพิมพ์และงานพิมพ์ สกรีนเป็นงานที่สามารถท�ำควบคู่กันไปได้ จึงเริ่มรับงานสกรีน เข้ามา ภายใต้ชื่อ “บริษัท ดูดี พรีเมียม จ�ำกัด” ซึ่งจุดเริ่มต้น การท�ำงานตรงนี้เริ่มจากการที่ลูกค้ามักจะถามหาว่า สามารถ เพิม่ นัน่ นี่ เช่น ลูกค้าทีม่ าพิมพ์การ์ดแต่งงาน จะถามว่า “มีทไี่ หน ที่ท�ำของช�ำร่วยงานแต่งไหม?” หรือ “บริษัทรับท�ำของช�ำร่วย ไหม?” ด้วยความที่เชี่ยวชาญประเทศจีนพอสมควร ท�ำให้รู้ว่า หากจะท�ำธุรกิจด้านนีส้ ามารถหาวัสดุได้จาก Suppliers เจ้าไหน จึงเกิดไอเดียขึน้ มาว่า ในเมือ่ เราถนัดด้านนีอ้ ยูพ่ อควร จึงอยาก ท�ำให้ครบวงจรมากยิง่ ขึน้ โดยยังคงไว้ซงึ่ ธรุกจิ เดิมของครอบครัว ซึ่งทั้งหมดนี้ ได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างดีจากครอบครัว โดยเฉพาะคุณพ่อทีค่ อยช่วยเหลือ คอยดูแลรวมไปถึงให้คำ� แนะน�ำ ในการบริหารธุรกิจ เนือ่ งจากเราเริม่ สร้างธุรกิจเมือ่ อายุยงั น้อย ส่วนพี่ชายและพี่สาวจะค่อนข้างปล่อยให้ลองผิดลองถูกเรียนรู้ ด้วยตัวเอง

ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน / แนวทางในการแก้ไข

ปัญหาส่วนมากจะเกิดจากการติดต่อกับลูกค้า การสื่อสารกัน ไม่เข้าใจ ท�ำให้งานทีอ่ อกมาไม่ตรงตามความต้องการของลูกค้า โดยใช้วิธีค่อยๆ ปรับเเก้ไขเเละคุยกับลูกค้าเป็นระยะๆ อย่าง ใกล้ชิดเพื่อให้ลูกค้าพอใจกับงานให้มากที่สุด อุปสรรค คือ เรียนรู้อย่างหนึ่งที่เราต้องหาทางแก้ไขให้ได้ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

เป้าหมายการท�ำงานในปัจจุบัน

งานพิ ม พ์ แ ละงานของพรี เ มี ย มเป็ น งานที่ ต ้ อ งท� ำ ควบคู ่ กั น ต้องการให้งานในส่วนนี้เติบโตคู่กันไปอย่างยั่งยืน อย่างที่ หลายคนอาจจะมองว่าธุรกิจการพิมพ์อยูใ่ นช่วงซบเซา แต่สำ� หรับ ตัวคุณโบนัสเองกลับมองว่า เราจะท�ำอย่างไรให้ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าให้ได้รวดเร็วทีส่ ดุ จะสามารถช่วยมัดใจ ลูกค้าได้ ลูกค้าส่วนมากไม่ชอบสต๊อกสินค้าแต่สั่งสินค้าแบบ Print on demand มากขึน้ ดังนัน้ เราจึงจ�ำเป็นต้องรองรับงาน ในส่วนนี้ ไม่ปฏิเสธงานไม่ว่ามากหรือน้อย หากว่าเราท�ำไม่ทัน ก็สามารถส่งต่อแจกจ่ายงานให้กบั เพือ่ นๆ ในธุรกิจสายเดียวกัน รับไปได้ โดยที่เราจะไม่พูดค�ำว่า “ไม่” กับลูกค้าอย่างเด็ดขาด แนวคิด หรือ คติในการท�ำงาน

คุณโบนัสกล่าวถึง หลักในการท�ำงานว่า คิดในแง่บวกอยูเ่ สมอ และ ค่อยๆ แก้ไขเรียนรู้ไปกับมัน พี่ชายและพี่สาวเคยสอนเสมอว่า ถ้าคิดว่า “ไม่” มันก็ “ไม่” แต่ถ้าคิดว่า “ได้” ก็คือ “ได้” ท�ำให้มองว่า ไม่มเี รือ่ งไหนทีเ่ ราท�ำไม่ได้ หากเรามีความตัง้ ใจ มี ค วามพยายาม ต้ อ งการที่ จ ะท้ า ทายกั บ อุ ป สรรคต่ า งๆ อุปนิสยั คนไทยโดยส่วนมากมักจะพูดว่า ไม่ได้หรือไม่มี เเต่เพียง เเค่เริ่มเรียนรู้เเละลงมือท�ำ ก็จะท�ำให้เราสามารถท�ำในสิ่งนั้นๆ ขึน้ มาได้ ยกตัวอย่างเช่น ลูกค้าต้องการสินค้าบางอย่างถึงเเม้เรา จะไม่มี เเต่เราก็จะไม่ปล่อยโอกาสหรืองานจากลูกค้า เพราะเรา มั่นใจว่าเรามีความพยายามเเละ connection ที่ดี เเน่นอนว่า เราจะพยายาทสรรหาสิ่งเหล่านั้นมาตอบสนองความต้องการ ของลูกค้ามาได้อย่างเเน่นอน ตรงจุดนี้ท�ำให้เรามีความสุขเเละ กระตือรือร้นในการท�ำงานอยู่ตลอดเวลาเวลา

หลักในการท�ำงาน คิดในแง่บวกอยู่เสมอ และค่อยๆ แก้ไขเรียนรู้ไปกับมัน ถ้าคิดว่า “ไม่” มันก็ “ไม่” แต่ถ้าคิดว่า “ได้” ก็คือ “ได้” ท�ำให้มองว่า ไม่มีเรื่องไหน ที่เราท�ำไม่ได้ หากเรามีความตั้งใจ มีความพยายาม ต้องการ ที่จะท้าทายกับอุปสรรคต่างๆ อาภากร ชุนเจริญ (โบนัส)


INTERVIEW

มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย

คุณโบนัสแสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้ว่า ปัจจุบันนี้อยู่ในยุค ของ Digital Disruption แต่ในความคิดของคุณโบนัส ค�ำว่า Digital Disruption คือ การน�ำเอาความทันสมัยและเทคโนโลยี การพิมพ์มาใช้ร่วมกันให้ท�ำงานควบคู่กันไปได้ โดยช่วงนี้ธุรกิจ ด้านบรรจุภณ ั ฑ์ถอื ว่าก�ำลังอยูใ่ นช่วงทีไ่ ด้รบั ความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีธุรกิจ Start up เกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ ในด้านของสินค้าที่เกี่ยวกับรักษ์โลกเอง ก็ได้รับความนิยม ไม่แพ้กนั และจุดนีเ้ องท�ำให้มองว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์จะยัง คงอยู่ ตราบใดที่คนยังต้องบริโภคสินค้า และจุดแรกที่จะท�ำให้ สินค้าน่าสนใจคือบรรจุภณ ั ฑ์ เพียงแค่เราต้องมองหาความต้องการ ของลูกค้าหรือสิ่งที่เป็นกระแสอยู่ในขณะนั้นและสนองตอบ ความต้องการให้ลูกค้าได้อย่างตรงจุดและรวดเร็ว

77

เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร

จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการเป็ น สมาชิ ก YPG คื อ พี่ ช ายเเละพี่ ส าว โดยทัง้ สองได้ชกั ชวนให้เข้าร่วมกลุม่ เนือ่ งจากพีน่ อ้ งทุกคนมักจะ ไปไหนมาไหนด้วยกันเสมอ เข้าร่วมงานครั้งแรก ตอนเลือกตั้ง ประธาน YPG ที่พัทยา การเข้าร่วมงานในครั้งนี้ให้ความรู้สึกว่า ทัง้ ๆ ทีท่ กุ คนท�ำงานอยูใ่ นธุรกิจเดียวกัน ซึง่ อาจจะเป็นคูแ่ ข่งกัน แต่ท�ำไมถึงอยู่ร่วมกันและรักกันได้ และสามารถการันตีได้เลย ว่าหาจากที่อื่นๆ ไม่ได้ หน้าที่และบทบาทในกลุ่ม Young Printer

หน้าทีห่ ลัก คือ ดูแลในด้านการประชาสัมพันธ์ ด้วยความทีเ่ ป็น คนมีมนุษยสัมพันธ์ดี เข้าถึงง่าย ชอบคุย จึงได้รบั ต�ำแหน่งหน้าทีน่ ี้

่ ี ″ท้ายนี้ต้องขอขอบคุณพี่ ๆ น้องๆ Young Printer Group ทุกคน สิง ่ แรกเลยคือได้ “เพื่ อน” ทีด ่ ๆ มีการช่วยเหลือกันในทุกเรือ ่ ง รูส ้ ก ึ ชอบเวลาทีไ่ ด้ไปงานสมาคมฯ และได้เจอกับสมาชิก YPG คนอืน Connection มีความส�ำคัญในการท�ำธุรกิจ ถ้าเรามีเพื่ อนที่ดี ในวงการเดียวกันคอยสนับสนุน ซึ่งกันและกันในเรื่องงานก็จะสามารถให้ค�ำปรึกษาที่ตรงจุด ซึ่งเป็นเรื่องที่ประทับใจมากๆ″ www.pongpatprinting.com www.thaiprint.org


78 INDUSTRIAL

ปรับตัว “ธุรกิจโรงพิ มพ์ ” ท�ำอย่างไรถึงจะอยู่รอด ่ นอย่างต่อเนือ ่ ง เศรษฐกิจโลกยุคปัจจุบน ั เกิดการเปลีย ่ ธุรกิจทีเ่ ริม ้ คือ ธุรกิจโรงพิ มพ์ หนึง ่ มีการแข่งขันสูงขึน เศรษฐกิจโลกยุคปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนอย่างต่อเนื่อง และมีการแข่งขันที่สูงมากขึ้นเรื่อยๆ หนึ่งธุรกิจที่เริ่ม มีการแข่งขันสูงขึ้นคือ ธุรกิจโรงพิ มพ์ และในปัจจุบัน

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

ธุรกิจโรงพิ มพ์ แบบดั้งเดิมเริ่มอยู่รอดได้ยากจากภาวะ การชะลอตัวของเศรษฐกิจ ผูป ้ ระกอบการจึงจ�ำเป็นต้อง ปรับตัวเพื่ อความอยู่รอด


INDUSTRIAL 79

ในยุคที่ผู้บริโภคมีบทบาทในการขับเคลื่อนธุรกิจการท�ำธุรกิจ ในรูปแบบเดิมๆ อย่างที่เคยท�ำมาในอดีตอาจจะไม่ตอบโจทย์ ความต้องการของลูกค้าในปัจจุบนั มากนักซึง่ ถือเป็นความเสีย่ ง ต่อการด�ำเนินธุรกิจในระยะยาว ทั้งนี้ ธุรกิจโรงพิมพ์ถือเป็น ธุรกิจหนึ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมาอย่างยาวนานแต่ในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ธุรกิจโรงพิมพ์แบบดั้งเดิมเริ่มจะอยู่รอดยากขึ้น ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากภาวะที่เศรษฐกิจไทยอยู่ในภาวะ ชะลอตัวตามปัจจัยเศรษฐกิจโลก รวมถึงภาคการท่องเที่ยว และภาคการส่งออกที่ยังไม่สดใสมากนักท�ำให้ธุรกิจโรงพิมพ์ ซึ่งเป็นหนึ่งในห่วงโซ่ของธุรกิจการพิมพ์ได้รับผลกระทบตาม ไปด้วย นอกจากนี้ จากพฤติกรรมของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือลูกค้าต้องการอะไรทีแ่ ตกต่างไปจากเดิม อาทิ ความรวดเร็ว ในการรับบริการความหลากหลายของสินค้าหรือแม้กระทั่ง กระแสความนิยมของสื่อออนไลน์ที่เพิ่มบทบาทอย่างรวดเร็ว จนส่งผลให้มีการเพิ่มการโฆษณาผ่านสื่อออนไลน์ทดแทน สื่อสิ่งพิมพ์มากขึ้นตามล�ำดับ ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สะท้อน ให้เห็นว่าในระยะต่อไปผู้ประกอบการในธุรกิจโรงพิมพ์ต้องมี การปรับตัวให้เข้ากับกระแสการเปลีย่ นแปลงในตลาด เพือ่ สร้าง ความอยู่รอดในอนาคต

มีค วามต้องการงานด้านสิ่งพิมพ์สูงโดยเฉพาะสิ่ง พิ ม พ์ ที่ใช้ ในธุ ร กิ จ ต่ า งๆ เช่ น งานบิ ล ใบเสร็ จ ใบก� ำ กั บ ภาษี ฟ อร์ ม ใบส่งสินค้า หัวจดหมาย ซองจดหมาย ซองเอกสารรวมไปถึง งานสิ่งพิมพ์เพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ในขณะเดียวกัน พื้นที่ในต่างจังหวัดที่มีเขตแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน อย่างกลุ่ม CLMV กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม ก็ ถื อ เป็ น แหล่ ง ท� ำเลที่ น ่ า ลงทุ น ส�ำ หรั บ ธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ ทั้ ง นี้ เพื่อรองรับงานพิมพ์จากประเทศเพื่อนบ้านที่เริ่มมี เ พิ่ ม ขึ้ น ตามการเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ในขณะที่ ป ระเทศเหล่ า นี้ ยั ง ขาดแคลนเทคโนโลยีการพิมพ์ที่ทันสมัยรองรับ

ในการด�ำเนินธุรกิจโรงพิมพ์นอกเหนือจากเงินทุนทีผ่ ปู้ ระกอบการ จะต้องมีการเตรียมความพร้อมเป็นล�ำดับต้นๆ แล้ว ยังจะ ต้องมีปัจจัยอื่นๆ อีกหลายประการที่เข้ามาสนับสนุนและเป็น องค์ประกอบที่ส�ำคัญที่จะท�ำให้ธุรกิจประสบผลส�ำเร็จและ อยู่รอดอย่างยั่งยืน โดยมีรายละเอียดที่น่าสนใจดังนี้ 1. ผู้ประกอบการควรเลือกให้บริการชิน ้ งานที่ทาง โรงพิ มพ์ มีความถนัดมากที่สุด

อาทิ งานโบรชัวร์ งานพิมพ์แพคเกจจิ้ง ปฏิทิน แคตตาล็อก หนังสือ วารสารกระดาษห่อของขวัญ เพราะการจะรับงานพิมพ์ ได้ครบ จ�ำเป็นต้องใช้เครื่องพิมพ์เครื่องจักรจ�ำนวนมาก ส่งผล ให้มีต้นทุนด�ำเนินการสูง 2. การเลือกท�ำเลที่ตั้ง

การเลื อ กท� ำ เลที่ ตั้ ง ที่ ส ะดวกส� ำ หรั บ การเดิ น ทางติ ด ต่ อ กั บ ลูกค้าหรือใกล้กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย อาทิพื้นที่ซึ่งมีการขยาย ตัวของความเป็นเมือง (Urbanization) ซึ่งมีก�ำลังซื้อรวมทั้ง มีธุรกรรมทางเศรษฐกิจจ�ำนวนมากจึงเป็นท�ำเลที่มีศักยภาพ

Photo by Markus Spiske on Unsplash

3. ให้ความส�ำคัญกับการควบคุมคุณภาพงานพิ มพ์

สิง่ พิมพ์เป็นงานทีม่ กี ารแข่งขันสูงลูกค้ามีความต้องการงานพิมพ์ ที่มีคุณภาพ ดังนั้นผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องมีกระบวนการ ตรวจสอบคุณภาพชิ้นงานตั้งแต่ขั้นตอนก่อนการพิมพ์ ระหว่าง การพิมพ์ และหลังงานพิมพ์เพือ่ ให้งานเป็นทีพ่ งึ พอใจของลูกค้า และเกิดการบอกต่อหรือใช้บริการซ�้ำ www.thaiprint.org


80 INDUSTRIAL

Photo by JJ Ying on Unsplash

4. การบริหารวัตถุดิบ

การบริหารวัตถุดิบต้องมีประสิทธิภาพ:ในการด�ำเนินธุรกิจ สิ่งพิมพ์ จะพบว่า ต้นทุนส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 40-50 จะเป็น กระดาษ ซึ่ ง ราคาจะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปตามปั จ จั ย ทาง เศรษฐกิจราคาซื้อขายในตลาดโลก รวมทั้งอัตราแลกเปลี่ยน ดังนั้นการบริหารและสั่งซื้อสินค้าให้ได้รับราคาที่เหมาะสม

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

จากแหล่งผลิตรวมทั้งการพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องจักร เพือ่ ลดการสูญเสียกระดาษในกระบวนการผลิตให้เกิดน้อยทีส่ ดุ จะช่วยให้ธุรกิจสามารถปรับลดต้นทุนลงได้ 5. วางแผนการบริหารบุคลากร

วางแผนการบริหารบุคลากรให้เหมาะสมเพือ่ ลดความเสีย่ งจาก การขาดแคลนแรงงานฝีมือปัจจุบันธุรกิจสิ่งพิมพ์มีปัญหาการ ขาดแคลนแรงงาน หรือเปลีย่ นงานบ่อยโดยเฉพาะแรงงานฝีมอื ช่างเทคนิค พนักงานเรียงพิมพ์คอมพิวเตอร์พนักงานอาร์ตเวิรก์ รวมถึงพนักงานทีม่ คี วามรูท้ างด้านเครือ่ งพิมพ์ทมี่ คี วามทันสมัย ท�ำให้เกิดปัญหาการแย่งแรงงานฝีมือในธุรกิจการพิมพ์ ดังนั้น เพื่อบรรเทาความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจผู้ประกอบการ อาจใช้วิธีแก้ไขปัญหา โดยหันมาใช้เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ๆ ที่ช่วย ลดการใช้แรงงานฝีมือลง ในขณะเดียวกันยังสามารถควบคุม คุณภาพการผลิตให้ได้มาตรฐานเดียวกันได้อีกทางหนึ่ง


INDUSTRIAL

องค์ประกอบที่ส�ำคัญที่จะ ท�ำให้ธุรกิจประสบผลส�ำเร็จ และอยู่รอดอย่างยั่งยืน 1. ผู้ประกอบการควรเลือกให้ ่ างโรงพิ มพ์ บริการชิน ้ งานทีท มีความถนัดมากที่สุด 2. การเลือกท�ำเลที่ตั้ง 3. ให้ความส�ำคัญกับการ ควบคุมคุณภาพงานพิ มพ์ 4. การบริหารวัตถุดิบ 5. วางแผนการบริหารบุคลากร 6. การเลือกเทคโนโลยี และอุปกรณ์การพิ มพ์ 7. การปรับปรุงคุณภาพ การให้บริการ 6. การเลือกเทคโนโลยีและอุปกรณ์การพิ มพ์

เลือกเทคโนโลยีและอุปกรณ์การพิมพ์ที่ทันสมัยที่จะเข้ามา ช่วยให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพมากขึน้ ปัจจุบนั เทคโนโลยี การพิมพ์มีความก้าวหน้าและมีความทันสมัยกว่าแต่ก่อนมาก โดยเฉพาะเครือ่ งพิมพ์ระบบดิจติ อลทีช่ ว่ ยลดขัน้ ตอนการท�ำงาน ควบคุมคุณภาพของงานพิมพ์ รวมทั้งลดจ�ำนวนช่างเทคนิค

81

ที่ขาดแคลนลง ซึ่งเครื่องพิมพ์ดังกล่าวไม่เพียงแต่ตอบโจทย์ ลูกค้าที่ต้องการส่งมอบงานที่รวดเร็วแต่ยังตอบโจทย์ส�ำหรับ ผู้ประกอบการโรงพิมพ์ทางด้านการลดบุคลากร 7. การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ

ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการเพื่อดึงดูดความสนใจของลูกค้า ให้เข้ามาใช้บริการ แม้ว่าโรงพิมพ์ในปัจจุบันจะมีจ�ำนวนมาก ตั้งแต่ขนาดเล็ก กลาง จนถึงใหญ่มาก แต่การพิจารณาเลือกใช้ บริการโรงพิมพ์ของผูบ้ ริโภคยุคใหม่จะครอบคลุมประเด็นหลักๆ 4 ประการ ได้แก่ • คุณภาพของงาน หากคุณภาพของผลงานที่ส่งต่อให้ลูกค้า ไม่ได้มาตรฐานย่อมส่งผลเสียต่อยอดขายอย่างแน่นอน และในทางตรงกันข้ามหากคุณภาพของผลงานออกมาดี ภาพลักษณ์ของโรงพิมพ์ก็จะดีตามไปด้วย • การบริการ ควรให้ความส�ำคัญต่องานพิมพ์ไม่ว่าจะปริมาณ มากหรือน้อย ถือเป็นการบริการทีด่ ี และสร้างความประทับใจ ให้แก่ลูกค้า ซึ่งจะน�ำพาให้เกิดการกลับมาใช้บริการอีก • การส่งมอบ การส่งมอบงานพิมพ์ ความตรงต่อเวลาเป็น เรือ่ งส�ำคัญมาก ดังนัน้ โรงพิมพ์จงึ ต้องมีการวางแผนล่วงหน้า เพื่อสร้างความมั่นใจให้แก่ลูกค้า ว่างานถึงมือทันก�ำหนด อย่างแน่นอน • ราคา ลูกค้าทัว่ ไปจะค�ำนึงถึงเรือ่ งราคาเป็นปัจจัยแรก ท�ำให้ ธุรกิจโรงพิมพ์มกี ารแข่งขันค่อนข้างสูง ผูป้ ระกอบการจึงควร หาช่องทางในการประหยัดต้นทุนให้ได้มากทีส่ ดุ เช่น วิธกี าร ลดการสูญเสียกระดาษในกระบวนการพิมพ์ให้ได้น้อยที่สุด ดั ง นั้ น การที่ จ ะท� ำ ให้ ลู ก ค้ า เกิ ด ความไว้ ว างใจบริ ก าร ของโรงพิ มพ์ ผู้ประกอบการควรมีการเตรียมพร้อมใน การให้บริการอย่างเป็นมืออาชีพโดยใส่ใจในลูกค้าตัง ้ แต่ การรับงานพิ มพ์ การประสานงานการรายงานความคืบหน้า ของงานและปัญหาที่อาจเกิดขึ้นโดยมีเจ้าหน้าที่เข้ามา ดูแลอยู่ในทุกขั้นตอน ในขณะเดียวกันก็ต้องควบคุม คุณภาพการผลิตให้ได้มาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ ทั้งวัสดุ การพิ มพ์ ต่างๆหรือทักษะแรงงาน เป็นต้น นอกจากนี้ ทางผู้ ป ระกอบการโรงพิ มพ์ ควรจะมี เ ครื อ ข่ า ยหรื อ ่ ามารถพึ่ งพากันในยามทีจ ่ ำ� เป็น หรือรองรับ พั นธมิตรทีส ่ ่ ป งานในช่วงเวลาทีม ี ริมาณงานมากก็เป็นอีกวิธก ี ารหนึง ที่จะช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจได้ ข้อมูลจาก Smart SME https://www.smartsme.co.th/content/12293

www.thaiprint.org


82

NEWS

“Smart Production ความเป็นไปได้ที่ไม่ส้ินสุด”

ไฮเดลเบิร์กจัดแสดงโซลูชั่นบรรจุภัณฑ์แบบครบวงจร ที่ประเทศจีน ส�ำหรับตลาดเอเชีย • ผู้ เ ยี่ ย มชมกว่ า 100 คนจากทั่ ว ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก ิ เข้าร่วมงาน Packaging Day ณ Print Media Center ที่นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ่ งและ • โซลูชน ั ฑ์แบบครบวงจรล่าสุดพร้อมเครือ ่ั ส์บรรจุภณ อุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ วัสดุอป ุ กรณ์การพิ มพ์ ตลอดจนรูปแบบ การบริการได้ถูกน�ำเสนอในช่วงการสาธิตผลิตภัณฑ์ • หลังจากงาน Packaging Day งาน MK Open House ยังคงดึงดูดลูกค้าอย่างต่อเนื่องด้วยโซลูชั่นส์ล่าสุดของ การผลิตบรรจุภัณฑ์หลังการพิ มพ์

ไฮเดลเบิร์กเอเชียแปซิฟิกจัดงาน Packaging Day ณ สถาบันสื่อ การพิมพ์ของไฮเดลเบิรก์ (Print Media Center) ทีต่ งั้ อยูใ่ นเขตชิงพู นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ภายใต้หัวข้อ “Smart Production ความเป็นไปได้ที่ไม่สิ้นสุด” เมื่อวันที่ 10 กันยายน ที่ผ่านมา โดยมี ผู้เข้าชมงานกว่าร้อยคนจากทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเข้าร่วมงาน ซึ่งทุกท่านต่างให้ความสนใจอย่างมากในโซลูชั่นส์แบบบูรณาการ ของไฮเดลเบิร์กที่เครื่องและอุปกรณ์ต่างๆ สามารถเชื่อมต่อการ ท�ำงานร่วมกันในทุกขั้นตอนการผลิตซึ่งตอบโจทย์ด้วยสามารถ ครอบคลุมถึงความต้องการที่เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมที่ซึ่งค่าแรง ยังคงเพิ่มขึ้น ระยะเวลาการวิ่งเครื่องพิมพ์ลดลงอย่างต่อเนื่องและ เวลาของการผลิตก็สนั้ ลงตลอดเวลา เจ้าของแบรนด์ตา่ งๆ และกลุม่ ต่างๆ ที่รวมตัวกันได้สร้างความเปลี่ยนแปลงไปทั่วโลกในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลงลักษณะของงาน โดยผลิตภัณฑ์สิ่งพิมพ์มีรูปแบบ เพิ่มมากขึ้นและมีฟังก์ชั่นการท�ำงานพิมพ์ที่หลากหลายยิ่งขึ้น อาทิ การปรับแต่ง การก�ำหนดรุ่นและการพิมพ์แบบเฉพาะส่วนบุคคล ในงานไฮเดลเบิร์กได้เสนอกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายที่ท�ำงาน ด้วยระบบอัตโนมัติซึ่งสามารถเชื่อมต่อการท�ำงานร่วมกันได้ในทุก ขั้นตอนการผลิตได้อย่างครบวงจร “เราก�ำลังยกระดับคอนเซ็ปต์ Smart Print Shop อย่างต่อเนื่องและน�ำเสนอกระบวนการผลิต บรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าด้วยการผลิต กล่องแบบครบวงจรอย่างสมบูรณ์ หนึ่งในโซลูชั่นส์ส�ำหรับเรื่องนี้ คือแพลตฟอร์มเว็บแพ็คคลาวด์ของเราทีเ่ รียกว่า “Boxuni” ซึง่ เปิดตัว เมื่อเร็วๆ นี้ โดยที่ บริษัท Xianjunlong Color Printing จ�ำกัด ผู้ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์เป็นลูกค้ารายแรกที่ร่วมเป็นพันธิตรกับ

1.

ไฮเดลเบิร์กผลิตงานบรรจุภัณฑ์อย่างครบวงจร โดยแพลตฟอร์ม ดังกล่าวนีเ้ ชือ่ มต่อโดยตรงทัง้ กับเครือ่ งพิมพ์ นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ และผู้ซื้องานพิมพ์เข้าไว้ด้วยกัน” มร.โธมัส แฟรงค์ ประธาน กรรมการบริหารไฮเดลเบิร์กภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกกล่าวในระหว่าง การกล่าวต้อนรับ พริ้นเน็คท์เวิร์คโฟลว์ (Prinect workflow) เป็นรากฐานของ “Smart Print Shop” และเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการน� ำ เสนอ ทั้งหมดในวันงาน “โรงพิมพ์บรรจุภัณฑ์จากภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ต่างประทับใจกับ Smart Packaging เวิร์คโฟลว์ แบบครบวงจร ของไฮเดลเบิร์ก ไฮไลท์ส�ำคัญในงาน ได้แก่ การออกแบบกล่อง อย่างรวดเร็วและง่ายดายหรือการแสดงตัวอย่างรูปแบบกล่อง 3 มิติ ทีน่ า่ ประทับใจพร้อมเอฟเฟคของกระบวนการหลังพิมพ์ เช่น การปัม๊ นูน ตัวอย่างกล่องกระดาษที่พิมพ์บนเครื่องพิมพ์ดิจิทัลรุ่น Versafire ที่สามารถพิมพ์สีได้ใกล้เคียงกับระบบออฟเซต และส�ำหรับการ จัดแสดงการพิมพ์ระบบออฟเซตในงานได้จัดแสดงการพิมพ์แบบ ganging ซึ่งเป็นการพิมพ์รวมอาร์ตเวิร์คหลากรูปแบบบนเพลท เดียวกัน ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งการ ใช้เทคโนโลยี multicolor printing งานยากเหล่านี้ส�ำเร็จได้ด้วย โซลูชนั่ ส์เวิรค์ โฟลว์แบบครบวงจรของไฮเดลเบิรก์ ซึง่ ช่วยให้โรงพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ผลิตงานได้เร็วขึ้น อัจฉริยะมากขึ้นและมีประสิทธิภาพ มากขึ้นกว่าเดิม” มร. ไบรอัน โคว ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ พริ้นเน็คท์ ในเอเชียแปซิฟิกกล่าวยืนยัน

Chairman of the Supervisory Board / Vorsitzender des Aufsichtsrats: Dr. Siegfried Jaschinski Management Board / Vorstand: Rainer Hundsdörfer, Chairman / Vorsitzender · Dr. Ulrich Hermann · Dirk Kaliebe · Stephan Plenz Sitz der Gesellschaft / Registered Office: Heidelberg · Mannheim Registry Court / Amtsgericht Mannheim - Registergericht - HRB 330004 · USt.-IdNr. DE 143455661 Commerzbank AG Heidelberg IBAN: DE32 6724 0039 0192 2640 01 BIC: COBADEFF672 Deutsche Bank AG Heidelberg IBAN: DE22 6727 0003 0029 8000 01 BIC: DEUTDESM672

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124


NEWS

83

Press Information www.heidelberg.com

ด้วยเครื่องพิมพ์ Speedmaster CD 102-8 + L UV รุ่นใหม่ และการพิมพ์โดยหลักการแบบ push-to-stop และการพิมพ์ โดยใช้ระบบน�ำทางที่ได้แสดงให้เห็นไปแล้วครั้งแรกที่โรงงานชิงพู การพิมพ์โดยระบบน�ำทางนีช้ ว่ ยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านสามารถเปลีย่ นแปลง งานที่ซับซ้อนได้อย่างง่ายดายด้วยการเปลี่ยนงานแบบอัตโนมัติ ผ่านซอฟต์แวร์ intelliguide บน Prinect Press Center XL 2 และ Wallscreen มร.ดัก๊ ลาส มูนนี่ ผูร้ บั ผิดชอบในการพัฒนาธุรกิจ การพิมพ์ระบบออฟเซตป้อนแผ่นของไฮเดลเบิร์กในเอเชียแปซิฟิก กล่ า วว่ า “ในงานครั้ ง นี้ เราได้ เ น้ น ให้ เ ห็ น ถึ ง ความยื ด หยุ ่ น ของ เครือ่ งพิมพ์รนุ่ CD 102 ด้วยการใช้งานพิเศษเช่นการเคลือบงานด้วย เทคนิคต่างๆ แบบอินไลน์ที่ใช้เอฟเฟคต่างๆ ได้อย่างมากมาย อาทิ เอฟเฟค ลายนูน การเคลือบยูวี /การเคลือบแบบ drip-off และงาน หลากสีผ่านตัวอย่างงานพิมพ์กล่องช็อคโกแลตและบรรจุภัณฑ์ยา” เครือ่ งพิมพ์ Speedmaster CX 75 ทีจ่ ดั แสดงในงานเป็นเครือ่ งพิมพ์ ที่มีความสามารถที่หลากหลาย ใช้ผลิตตัวอย่างงานพิมพ์สองงานที่ แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ทลี่ กู ค้าจะได้รบั ในการพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ดว้ ย การเปลีย่ นงานทีร่ วดเร็วและใช้งานง่าย แผ่นงานทีพ่ มิ พ์โดยเครือ่ งพิมพ์ CX 75 ได้รับการจับคู่สีเทียบกับแผ่นงานที่พิมพ์โดยเครื่องพิมพ์ ดิจิทัล Heidelberg Versafire ในการสาธิต นอกจากนั้น ได้มีการ สาธิตเครื่องพิมพ์ Speedmaster SX 74-4-P ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์ แบบกลับในตัวทีส่ มบูรณ์แบบใช้พมิ พ์บรรจุภณ ั ฑ์ยาแบบหนึง่ ทับหนึง่ หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนการพิมพ์ เครื่องปั๊มไดคัทรุ่น Promatrix 106 CS ของ Masterwork Group ได้ถกู ใช้ไดคัทกล่องช็อคโกแลต ที่พิมพ์ออกมาเพื่อแสดงการเปลี่ยนงานที่รวดเร็วและผลผลิตสูง จากนั้นจึงตามด้วยเครื่องปะกาวกล่องรุ่น Diana Go และเครื่อง

ตรวจสอบคุณภาพงานรุ่น Diana Eye ของ Masterwork Group เพื่อเสร็จสิ้นกระบวนการผลิตงานบรรจุภัณฑ์อย่างสมบูรณ์ ผลิตภัณฑ์ในหน่วยธุรกิจหลักของ Heidelberg Lifecycle ที่เป็นอีกหนึ่งไฮไลท์ส�ำคัญในการสาธิต ลูกค้าได้เห็นภาพรวมของ เครือข่ายการมอบการบริการของไฮเดลเบิร์กที่ใหญ่ที่สุดด้วยการ มีบริษทั สาขาในทุกภูมภิ าคของโลก เครือข่ายทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ นีค้ รอบคลุม ถึงระบบโลจิสติกส์ทสี่ ามารถจัดส่งชิน้ ส่วนอะไหล่ไปทัว่ โลกได้อย่าง รวดเร็ว การมีชา่ งเทคนิคทีผ่ า่ นการฝึกอบรมและมีทกั ษะสูง รวมทัง้ ประโยชน์ของการบริการระยะไกลและการตรวจสอบเครื่องและ อุปกรณ์ตา่ งๆ แบบการคาดการณ์ได้ลว่ งหน้าเพือ่ ให้ใช้เวลาการผลิต ได้อย่างมีประโยชน์สงู สุดและรับประกันความน่าเชือ่ ถือของเครือ่ งพิมพ์ ได้อย่างน่าประทับใจมาก ตลอดจนผลิตภัณฑ์วสั ดุอปุ กรณ์การพิมพ์ Saphira ที่หลากหลายต่างๆ ได้ถูกน�ำมาใช้สาธิตการผลิตงานต่างๆ รองรับงานพิมพ์ได้ทงั้ งานพิมพ์ทวั่ ไป งานเคลือบยูวี และงานหลากสี ซับซ้อนบนกระดาษ แผ่นบอร์ดและฟอยด์ หมึก Saphira น�ำ้ ยาเคลือบ ผ้ายาง แผ่นเพลทและเคมีภัณฑ์ล้วนท�ำงานร่วมกันได้อย่างดี ไร้ที่ติ เพื่อให้แน่ใจในการเปลี่ยนงานที่รวดเร็วและมีของเสียน้อยที่สุด ลูกค้าได้เห็นด้วยตาตัวเองถึงคุณภาพการพิมพ์ที่สมบูรณ์แบบที่ ผลิตภัณฑ์ Saphira เท่านั้นที่สามารถท�ำได้เมื่อท�ำงานร่วมกับ ซอฟต์แวร์พริ้นเน็คท์และเครื่องพิมพ์ Speedmaster ในวันต่อมาผูเ้ ข้าร่วมงานมีโอกาสไปเยีย่ มชมงาน Open House ทีโ่ รงงาน ของ Masterwork Group ทีเ่ มืองเทียนจิน มีผเู้ ข้าชมทัวร์โรงงานและ ชมการน�ำเสนอเครือ่ ง Powermatrix 106 CSB และเครือ่ งอืน่ ๆ อาทิ MasterSet, Powermatrix 106 FC รวมถึง MasterDrive, Diana Easy 85 และ Diana Inspector, Digimatrix 60 FC และ Laser Cut 340 ค�ำอธิบายรูปภาพ 1. มร. โธมัส แฟรงค์ ประธานกรรมการบริหาร ไฮเดลเบิร์กภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ิ กล่าว ต้อนรับผู้เข้าร่วมงานกว่า 100 คน

2.

4.

2. เริ่ ม ต้ น งานด้ ว ยการน� ำ เสนอ Prinect Smart Print Shop โดย มร. ไบรอัน โคว 3. Push-to-Stop และการพิ มพ์ ระบบน�ำทาง ได้น�ำมาจัดแสดงเป็นครั้งแรกที่โรงงาน ชิงพู ของไฮเดลเบิร์กด้วยเครื่องพิ มพ์ Speedmaster CD 102-8+L UV รุน ่ ใหม่ ั่ ส์บรรจุภณ ั ฑ์ลา่ สุดของ Masterwork 4. โซลูชน Group อาทิ Promatrix 106 CS, Diana Eye และ Diana Go สร้างความประทับใจ ให้กับลูกค้าอย่างมาก

3.

สอบถามเพิ่ มเติม โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายขาย โทร. 02 610 6100 www.thaiprint.org


40 Ad Seethong Pc4.indd 1

24/11/2561 20:44:48


สงผลงาน ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563


งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 “The Unity for Sustainability” เอกภาพเพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย จากการที่สมาคมการพิมพ์ไทย ได้ริเริ่มจัด “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ” ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2549 นั้น ได้สร้างความตื่นตัวให้กับอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งทางภาคเอกชนไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตเครื่องจักร ทางการพิมพ์หรือผู้ผลิตวัสดุอุปกรณ์ทางการพิมพ์ และทางภาครัฐต่างก็ให้ความสนใจเข้าร่วมสนับสนุนในกิจกรรมนี้ อย่างต่อเนื่องในทุกๆ ปี ทั้งนี้เพราะผลที่ได้จาก “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ” ท�าให้ประเทศไทยได้รับการยอมรับเป็น อย่างมากในด้านการยกระดับมาตรฐานคุณภาพสิง่ พิมพ์ อีกทัง้ ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลจากการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติและ ถูกส่งไปแข่งขันสิ่งพิมพ์ระดับนานาชาติ หรือ Asian Print Awards 2019 ก็ประสบความส�าเร็จได้เป็นที่หนึ่งตลอดหลายปี ติดต่อกัน โดยเฉพาะปีที่ผ่านมาผลงานของประเทศไทย ได้รับเหรียญทอง 8 เหรียญ เหรียญเงิน 16 เหรียญ และเหรียญ ทองแดง 7 เหรียญ รวมเป็นจ�านวนทั้งสิ้น 31 เหรียญ ห่างจากที่ 2 กว่า 20 เหรียญ นับเป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่าคุณภาพ การพิมพ์ของโรงพิมพ์ในประเทศไทยมีความก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศ น�าพาซึง่ ยอดการส่งออกสิง่ พิมพ์และบรรจุภณั ฑ์ ให้กับประเทศไทยสูงขึ้นเป็นล�าดับ ดังนั้น เพื่อเป็นการสานต่อความส�าเร็จที่ผ่านมา สมาคมการพิมพ์ไทย จึงได้จัด “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14” ขึ้นอีกครั้งในปี พ.ศ. 2563 นี้ ภายใต้แนวคิดว่า “The Unity for Sustainability” เอกภาพเพื่อความยั่งยืนของ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย ในปัจจุบันต้องยอมรับว่า ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสื่อสาร และ Social Media ท�าให้ระบบการด�าเนินธุรกิจทั้งภาคการผลิต และภาคการบริการ ต่างได้รับผลกระทบจากการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคในยุคดิจติ อลอย่างมากมาย จากทีค่ ดิ ว่าการเปลีย่ นแปลงนีจ้ ะเกิดขึน้ อย่างค่อยเป็นค่อยไป แต่กลับ กลายเป็นว่ากระแสความเปลีย่ นแปลงถาโถมเข้าใส่ธรุ กิจและอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ท�าให้บางธุรกิจทีป่ รับตัวไม่ทนั ต้อง ล้มหายตายจาก หรือต้องเลิกกิจการไป หรือเราอาจเรียกสิ่งนี้ว่า Digital Disruption อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ก็เช่นกัน ต้องเผชิญกับความท้าทายอย่างยิ่งกับกระแสการเปลี่ยนแปลงนี้ ทุกภาคส่วนของอุตสาหกรรมต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเอง โดยเฉพาะการที่ภาครัฐได้วางนโยบายเพื่อพัฒนาและผลักดัน ประเทศไทยสู่ยุค Thailand 4.0 เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การพิมพ์ ทั้งผู้ผลิตเครื่องจักร ผู้พิมพ์ และผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง จึงต้องปรับตัวในทุกๆ ด้าน ด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ ที่เฉียบคมและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลง โดยมีการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อตอบสนองความ ต้องการและ Life Style ของผูบ้ ริโภคยุคใหม่ ทีม่ ไิ ด้มงุ่ เน้นในเรือ่ งการพิมพ์ทสี่ วยงามและมีคณ ุ ภาพเท่านัน้ แต่จา� เป็นต้อง ปรับตัวมุ่งเน้นไปในเรื่องการออกแบบ (Design and Functional) การใส่ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) การสร้างมูลค่า เพิ่ม (High Value Added) ตลอดจนการใช้นวัตกรรม (Innovation) ทั้งด้าน Hardware และ Software เพื่อตอบโจทย์ ที่ท้าทายของลูกค้า การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 14 นี้ จึงได้เพิ่มประเภทการประกวดขึ้นมาอีก 3 ประเภทรางวัล ด้วยกันคือ ประเภทสิ่งพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing), ประเภทการออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) และประเภท ความคิดสร้างสรรค์ (Creativeness) ส�าหรับการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตื่นตัวและพัฒนาความใฝ่รู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา มาตรฐานงานพิมพ์ นวัตกรรมการพิมพ์ ซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ์และ กระบวนการ ผลิตอย่างต่อเนื่อง 3. เพือ่ ให้เกิดการตระหนักและให้ความส�าคัญในด้านคุณภาพชิน้ งาน เพือ่ เสริมสร้างความมัน่ ใจในการแข่งขันและ เตรียมพร้อมพัฒนาฝีมือสู่การแข่งขันในประชาคมอาเซียนและการแข่งขันในระดับโลก 4. เพื่อเป็นขวัญและก�าลังใจและยกย่องผู้ที่ได้รับรางวัลเกียรติยศนี้ สุดท้ายนี้สมาคมการพิมพ์ไทยและคณะกรรมการการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที ่ 14 จึงขอเชิญชวน ผูป้ ระกอบการวิสาหกิจการพิมพ์ทวั่ ประเทศให้รว่ มกันส่งผลงานเข้าประกวดกันมากๆ เพือ่ ทีเ่ ราชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์ จะได้ร่วมกันก้าวข้ามสู่อนาคตความเป็นผู้น�าทางด้านสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์อย่างเต็มภาคภูมิ


ผู้มีสิทธิส่งผลงานเข้าร่วมประกวด (Participants) • • • • • •

ผู้ผลิตสิ่งพิมพ์ (Printing Companies) บริษัทโฆษณา (Advertising Agencies) นักออกแบบสิ่งพิมพ์ ผู้ผลิตงานก่อนการพิมพ์ (Prepress) และหลังการพิมพ์ (Postpress) ผู้ซื้อสิ่งพิมพ์หรือผู้จ้างพิมพ์ ผู้ที่มีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่น ผู้ค้าวัสดุ/อุปกรณ์การพิมพ์

เงื่อนไขการส่งผลงานเข้าร่วมประกวด (Conditions of Entry)

1. ผูส้ ง่ ประกวดสามารถส่งชิน้ งานเข้าร่วมประกวดในนามบุคคล ห้างร้าน บริษทั นิตบิ คุ คล หรือสมาคมทีเ่ กีย่ วข้อกับธุรกิจ การพิมพ์ โดยผูส้ ง่ ประกวดจะต้องมีสว่ นเกีย่ วข้องกับชิน้ งานนัน้ ๆ เช่น เจ้าของงาน ผูจ้ า้ งผลิต ผูอ้ อกแบบ ผูม้ สี ว่ นร่วมผลิต ในขั้นตอนต่างๆ 2. ชิ้นงานที่เข้าร่วมประกวดจะต้องผลิตทั้งกระบวนการในประเทศไทยและเพื่อการพาณิชย์เท่านั้น 3. ผูส้ ง่ ประกวดจะต้องส่งผลงาน 3 ชิน้ ต่อ 1 ประเภท (เผือ่ เสียหาย) โดยกรอกใบลงทะเบียนให้ครบถ้วนทัง้ 2 ส่วนทุกข้อ (ข้อมูลส่วนที่ 1 ของผู้ส่งประกวด เช่น ชื่อหรือบริษัท จะถูกปิดเป็นความลับ และไม่เปิดเผยแก่คณะกรรมการตัดสิน) 4. ผู้ส่งประกวดสามารถส่งชิ้นงานเข้าร่วมประกวดได้มากกว่า 1 ชิ้นงานในทุกๆ ประเภท ส�าหรับชิ้นงานที่มีการส่งซ�้า จะถือว่าเป็นชิ้นงานเดียวเท่านั้น 5. ใบลงทะเบียน 1 ใบต่อ 1 ชิน้ งานต่อ 1 ประเภทประกวดเท่านัน้ ถ้ามีความประสงค์จะส่งชิน้ งานใดเข้าประกวดมากกว่า 1 ประเภท ผูส้ ง่ ประกวดจะต้องส่งชิน้ งานเพิม่ และแยกกรอกใบลงทะเบียนตามประเภททีส่ ง่ เข้าร่วมประกวดเพิม่ ให้ถกู ต้อง เท่านั้น 6. ผลงานสิ่งพิมพ์ที่สร้างขึ้นไม่ว่าจะพิมพ์ด้วยระบบใดหรือใช้วัสดุในการพิมพ์ใดเพื่อใช้ในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์ บริการ หรือบริษัทที่มีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยออกแบบเพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ เช่น แผ่นพับ แนะน�าโรงพิมพ์ หนังสือแนะน�าร้านเพลท ปฏิทนิ สมุดโน้ต แค็ตตาล๊อกกระดาษและ/หรือตัวอย่างงาน จะต้องส่งผลงาน เข้าประกวดในประเภท “สิ่งพิมพ์โฆษณาบริษัท หรือผลิตภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ (Self Promotion)” เท่านั้น และชิ้นงานที่ส่งประกวดในประเภทนี้แล้ว ไม่สามารถส่งประกวดในประเภทอื่นได้อีก 7. ผลงานที่พิมพ์ด้วยระบบดิจิตอล สามารถเข้าร่วมประกวดได้ในประเภท Digital Printing Only และประเภท 7.1 งานพิมพ์ประเภทที่เป็นลักษณะเฉพาะ Specialty Categories 7.2 ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ (Labels and Tags any process/any substrate) 7.3 งานออกแบบ Graphic/Functional Appeal 7.4 งานความคิดสร้างสรรค์ Creativeness 8. ค่าลงทะเบียนส่งเข้าร่วมการประกวดต่อ 1 ชิ้นงานต่อ 1 ประเภท ส�าหรับสมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย 200 บาท และส�าหรับผู้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย 300 บาท 9. ชิ้นงานที่ส่งเข้าร่วมประกวดต้องเป็นงานที่ผลิตระหว่างวันที่ 1 สิงหาคม 2561 ถึง 12 มีนาคม 2563 และไม่ใช่ชิ้นงาน Reprint 10. ผู้สมัครสามารถส่งชิ้นงานได้ตั้งแต่บัดนี้ ถึง 12 มีนาคม 2563 ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนหรือส่งด้วยตนเอง ที่สมาคมการพิมพ์ไทย* 11. ชิ้นงานที่ได้รับรางวัล สมาคมการพิมพ์ไทยจะเป็นผู้รับผิดชอบการจัดส่งเข้าร่วมประกวดงานระดับนานาชาติ (ยกเว้นประเภทที่ไม่ได้มีการจัดประกวด) 12. ในแต่ละประเภทการประกวด ให้ส่งผลงานได้ไม่เกิน 10 ผลงาน

หลักเกณฑ์การตัดสิน (Judging Criteria)

1. สมาคมการพิมพ์ไทยจะเป็นผู้คัดเลือกคณะกรรมการตัดสิน และค�าตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 2. คณะกรรมการสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนประเภทประกวดของแต่ละชิ้นงานตามความเหมาะสม 3. ชิ้นงานแต่ละชิ้นจะได้รับการพิจารณาและประเมินตามคุณภาพการพิมพ์ ขั้นตอนในการผลิต ลักษณะการ ใช้งานและการออกแบบ 4. คณะกรรมการสงวนสิทธิ์ที่จะให้รางวัลมากกว่า 1 รางวัลในการประกวดบางประเภท และไม่ให้รางวัลในการ ประกวดบางประเภทที่ไม่มีชิ้นงานใดเหมาะสม


ประเภทการประกวด (Categories) Offset Printing Only (ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ตเท่านั้น) 1. โปสเตอร์ และสิ่งพิมพ์ประเภทสื่อโฆษณา ณ จุดขาย เช่น ธงราว โมบาย ตัวตั้งแสดง แผ่นหรือตัวติดที่ช้ันวางของ (Posters and Point of Purchase, such as Mobile,Stands, Head Shelf, Wobblers - 4 or more colors) เป็นงานพิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด และวัสดุ 2. ใบปลิว แผ่นปลิว แผ่นพับ แค็ตตาล๊อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่ า ว 16 หน้า หรือ น้อ ยกว่า โดยไม่รวมปก (Leaflets, Flyers, Folders, Brochures, Booklets, Catalogues, Newsletter - Up to 16 pages excluding cover - 4 or more colors) เป็นงานพิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด และวัสดุ 3. แค็ตตาล๊อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว มากกว่า 16 หน้า โดยไม่ รวมปก Brochures, Booklets, Catalogues, Newsletter - 4 or more colors (more than 16 pages excluding cover) เป็นงานพิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด และวัสดุ 4. การ์ด บัตรอวยพร นามบัตร สูจบิ ตั ร บัตรเชิญในโอกาสต่างๆ (Cards, Greeting Cards, Name Cards and Invitation Cards) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ 5. นิตยสาร วารสาร ที่พิมพ์ด้วยระบบป้อนแผ่น (Sheetfed Magazines and Journals - 4 or more colors) เป็นงานพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า 6. ปฏิทิน (Calendars) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และ จ�านวนสีที่พิมพ์ 7. งานพิมพ์หนังสือจ�านวนจ�ากัดและงานพิมพ์เลียนแบบ ภาพศิลป์ (Limited Edition Books and Art Reproductions) เป็นงานหนังสือหรืองานเลียนแบบภาพศิลป์ที่ผลิตไม่เกิน 2,000 เล่ม/ภาพ/ชุด โดยไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ 8. หนังสือที่พิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า (Book Printing - 4 or more colours) 9. บรรจุภัณฑ์ที่พิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ทป้อนแผ่น(Packaging Sheetfed Offset) ไม่จา� กัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสี ทีพ่ มิ พ์ การตัดสินใช้หลักเกณฑ์ในเรือ่ งการปกป้องผลิตภัณฑ์ การสือ่ สารกับผูใ้ ช้งาน โดยพิจารณาคุณภาพงานพิมพ์ การใช้งาน และการออกแบบอย่างเท่าเทียมกัน โดยขอให้สง่ ชิน้ ผลงาน ทั้งแบบที่ขึ้นรูปส�าเร็จและแบบแผ่น (ก่อนขึ้นรูป) มาด้วย 9.1 Paperboard Cartons 9.2 Carry Bags 9.3 Paperboard Cups (must also provide one converted cup) 10. งานพิมพ์จากเครื่องป้อนม้วน - กระดาษ 70 gsm และ มากกว่า (Web Offset - Stock 70 gsm and up) 11. งานพิมพ์จากเครื่องป้อนม้วน - กระดาษ 65 gsm หรือ น้อยกว่า (Web Offset - Stock 65 gsm and less) Digital Printing Only (ระบบการพิมพ์แบบดิจติ อลไม่จา� กัดรูปแบบ) 12. หนังสือ (Book Printing - 4 or more colors) งานพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า 13. ใบปลิว แผ่นพับ โบรชัวร์ Leaflets/Flyers/Folders/ Brochures (up to 16 pages excluding cover) โดยเป็น งานพิมพ์ไม่จ�ากัดจ�านวนสีพิมพ์จ�านวน 16 หน้าหรือ น้อยกว่า (ไม่รวมปก)

14. แค็ตตาล๊อค จุลสาร โบรชัวร์ (Catalogues / Booklets & Brochures) โดยเป็นงานพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า และ จ�านวนหน้ามากกว่า 16 หน้าขึ้นไป (ไม่รวมปก) 15. ปฏิทินและหนังสือภาพ (Calendars & Photo Books) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีที่พิมพ์ (หนังสือ ภาพที่เกิดจากการถ่ายภาพบันทึกเหตุการ์ณส่วนตัวต่างๆ เช่นวันเกิด วันแต่งงาน หรือการท่องเที่ยว ฯลฯ) 16. การ์ดและบัตรเชิญ (Cards / Greeting Cards & Invitation Cards) โดยกรณีที่เป็นขนาดเล็กมากขอให้ติดกับฐานรอง ตอนส่งผลงานด้วย 17. โปสเตอร์ และสิ่งพิมพ์ประเภทสื่อโฆษณา (Posters / Showcards & Point of Sale Materials) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ โดยจ�านวนสีพิมพ์ 4 สีหรือมากกว่า 18. บรรจุภัณฑ์ (Digital-Packaging) ไม่จา� กัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีทพ่ี มิ พ์ โดยการตัดสินใช้หลักเกณฑ์ในเรือ่ ง การปกป้องผลิตภัณฑ์ การสือ่ สารกับผูใ้ ช้งาน โดยจะพิจารณา คุณภาพงานพิมพ์ การใช้งานและการออกแบบอย่างเท่าเทียม โดยขอให้ส่งชิ้นผลงานทั้งแบบที่ขึ้นรูปส�าเร็จและแบบแผ่น (ก่อนขึ้นรูป) มาประกอบการพิจารณาด้วย 19. งานพิมพ์ดจิ ติ อล Inkjet, งานพิมพ์ขนาดใหญ่และป้ายโฆษณา (Digital - Wide format - Signage indoor or Outdoor ผู้ส่งผลงานเข้าประกวด จะต้องส่งผลงานดังนี้ ก) งานพิมพ์เต็มขนาด หรือ ข) ส่ง CD/DVD ของงานพิมพ์ (ถ่ายจากสถานที่จริง) และ ตัวอย่างงานพิมพ์ 1 ตารางเมตร หรือ ค) ส่งแนวคิดและตัวอย่างงานพิมพ์ 1 ตารางเมตร การตัดสินจะให้ความส�าคัญเท่ากัน ของ เนื้อหาสาระ แนวคิด คุณภาพงานพิมพ์ และความสะดุดตา งานพิมพ์บรรจุภัณฑ์อ่อนตัว พิมพ์ด้วยระบบ Flexography Gravure ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหบี ห่อ (Label and Tags) 20. บรรจุภณั ฑ์ออ่ นตัวทีพ่ มิ พ์ดว้ ยระบบ Flexography (Flexible Packaging) ไม่จา� กัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีทพี่ มิ พ์ ผูเ้ ข้าประกวดจะต้องส่งชิน้ งานเต็มหน้ากว้างของวัสดุทใี่ ช้พมิ พ์ ยาวต่อเนือ่ งอย่างน้อย 5 รอบโมพิมพ์พร้อมชิน้ งานขึน้ รูปแล้ว a. Paper substrate - Plain or Laminated b. Aluminium Foil - Plain or Laminated c. Polymer substrate (Plain, Metalised or Laminated) a) Surface print OR b) Reverse print d. Paperboard cups (must also provide one converted cup) e. Pre-printed liner board for corrugated f. Post-Print on Corrugated substrates (5 รอบโมพิมพ์ ต่อเนือ่ ง (5 Cylinders) พร้อมชิน้ งานขึน้ รูป cartons/boxes) 21. บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Gravure (Flexible Packaging) ไม่จา� กัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีทพี่ มิ พ์ ผูเ้ ข้าประกวดจะต้องส่งชิน้ งานเต็มหน้ากว้างของวัสดุทใี่ ช้พมิ พ์ และยาวต่อเนือ่ งกันอย่างน้อย 5 รอบโมพิมพ์ (5 Cylinders) พันแกนกระดาษส่งมาพร้อมชิน้ งานทีข่ นึ้ รูปแล้ว a. Paper substrate - Plain or Laminated b. Aluminium Foil - Plain or Laminated c. Polymer substrate (Plain, Metalised or Laminated) a) Surface print OR b) Reverse print d. Paperboard cups (must also provide one converted cup) e. Paperboard Cartons (must also provide one converted carton)


22. ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ (Labels and Tags any process/any substrate) ไม่จ�ากัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ และจ�านวนสีทพี่ มิ พ์ ในกรณีพมิ พ์ดว้ ยระบบป้อนแผ่น ผูเ้ ข้าประกวดจะต้องส่งชิน้ งานทัง้ แผ่นพิมพ์ 2 แผ่น Offset or Digital 2 full sheet และชิ้นงานส�าเร็จที่ไดคัทเป็นฉลาก สติกเกอร์หรือป้ายมาด้วย กรณีพิมพ์ด้วยระบบป้อนม้วน ผูเ้ ข้าประกวดจะต้องส่งชิน้ งานเต็มหน้ากว้างของวัสดุทใี่ ช้พิมพ์ และยาวต่อเนือ่ งกันอย่างน้อย 5 รอบโมพิมพ์ (5 Cylinders) งานกระดาษลูกฟูก (Corrugated) 23. บรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกส�าหรับสินค้าผู้บริโภค (Retail Consumer Packaging) 24. งานส่งเสริมการขาย (Point of Purchase Corrugated) 25. งานออกแบบและพัฒนาต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้กระดาษลูกฟูก (Creative Corrugated Design Product) Specialty Categories (งานพิมพ์ประเภททีเ่ ป็นลักษณ์เฉพาะ) 26. งานพิมพ์หลากชิ้นที่ใช้เป็นชุด (Multi-Piece Production & Campaigns) ประกอบด้วยงานตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป 27. งานการประดับหรือตกแต่งหลังการพิมพ์ (Embellishment) งานตกแต่งบนงานพิมพ์ ไม่จา� กัดรูปแบบ ขนาด วัสดุ เช่น ปั๊มฟอยล์ ปั๊มไดคัท งานเคลือบผิวแบบต่างๆ และงาน ประดับอื่นๆ

ตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะส่ง ผลงานของท่านเข้าร่วมการประกวด

1. ขอให้คัดเลือกผลงานที่ดีท่ีสุด และกรอกข้อมูลในใบสมัครให้ ครบถ้วนสมบูรณ์ ตรวจสอบว่ารายละเอียดข้อมูลทุกอย่างรวมถึง ผลงานนัน้ ถูกต้องตามเงือ่ นไขและประเภทการประกวดทุกประการ พึงระลึกว่าในกรณีทผี่ ลงานของท่านได้รบั รางวัลใด ข้อมูลต่างๆ ทีท่ า่ นจัดส่งมาจะได้รบั การตีพมิ พ์ในหนังสืองานประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติด้วย 2. แนบใบสมัครส่วนที่ 1 เข้ากับด้านหน้าของผลงาน 3. แนบใบสมัครส่วนที่ 2 เข้ากับด้านหลังของผลงาน หากผลงาน มีขนาดเล็กกว่าขนาด A4 หรือมีโอกาสสูงทีจ่ ะได้รบั ความเสียหาย ระหว่างการจัดส่งหรือการหยิบจับ ให้ท่านน�าผลงานติดเข้ากับ กระดาษทีท่ นทานอีกชัน้ แล้วจึงน�าใบสมัครส่วนที ่ 2 นี ้ ติดลงบน ด้านหลังของกระดาษอีกทีหนึ่ง 4. หากมีการส่งผลงานมากกว่าหนึ่งห่อ ขอให้ระบุล�าดับที่ของ หีบห่อให้ชัดเจนด้วย เช่น ห่อที่ 1/2, ห่อที่ 2/2 เป็นต้น 5. ถ้าท่านต้องการผลงานที่ส่งเข้าประกวดคืน ขอให้ท่านระบุ ให้ชัดเจนในใบสมัคร 6. คณะกรรมการฯ จะต้องได้รับผลงานทั้งหมดที่ส่งเข้าประกวด ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563 หากส่งทางไปรษณีย์ลง ทะเบียน จะถือเอาวันที่ประทับตราไปรษณีย์เป็นส�าคัญ 7. ผู้สมัครสามารถส่งผลงานได้มากที่สุด 10 ผลงานต่อประเภท และยังสามารถส่งผลงานเข้าประกวดในประเภททีแ่ ตกต่างกันได้ 8. ผู้สมัครสามารถใช้ใบสมัครที่ถ่ายส�าเนาได้ หากมีใบสมัคร ต้นฉบับไม่เพียงพอ 9. ตรวจสอบว่า ท่านได้กรอกรายละเอียดของข้อมูลในใบสมัคร ทุกช่องที่ทางคณะกรรมการฯ ระบุไว้หรือไม่

28. นวัตกรรมทางการพิมพ์ (Innovation / Specialty Printing) งานพิมพ์ทแี่ สดงให้เห็นถึงนวัตกรรมใหม่ในการใช้เครือ่ งจักร ขัน้ ตอนการผลิตใหม่ วัสดุใหม่ หรือการประยุกต์ใช้แบบใหม่ๆ โดยผู้สมัครจะต้องอธิบายความหมายและให้รายละเอียด ประกอบด้วย 29. การพิมพ์ปรูฟ๊ ด้วยระบบดิจติ อล (Digital Color Proofing) งานพิมพ์ปรูฟ๊ จากระบบดิจติ อลจะถูกเปรียบเทียบกับงานพิมพ์ จริงเพือ่ ดูความสามารถในการเทียบสี ในกรณีเป็นนิตยสาร จะต้องมีอย่างน้อย 8 หน้า และเป็นงานพิมพ์เพื่อการ

พาณิชย์เท่านั้น

30. งานพิมพ์เพื่อประชาสัมพันธ์บริษัท หรือผลิตภัณฑ์ใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ (Self Promotion) งานพิมพ์ที่ สร้างขึ้น เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์หรือบริษัทที่มี ส่วนร่วมในอุตสาหกรรมการพิมพ์และออกแบบในโอกาสต่างๆ เช่น แผ่นพับ หนังสือแนะน�าประวัติ ปฏิทิน สมุดโน้ต งานที่ส่งประกวดในประเภทนี้ไม่สามารถเข้าร่วมประกวด ในหัวข้ออื่นๆ ได้อีก 31. งานพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) งานพิมพ์ที่ขึ้นรูปด้วย เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ไม่จ�ากัดวัสดุ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติม จาก www.thaiprintawards/3dprinting) 32. งานออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) หลักเกณฑ์ ให้ความส�าคัญกับการออกแบบสวยงาม สะดุดตา หน้าที ่ ประโยชน์และความสะดวกในการใช้งานของชิ้นงาน 33. งานความคิดสร้างสรรค์ (Creativeness) หลักเกณฑ์ให้ ความส�าคัญกับเทคนิคในการสร้างสรรค์ชิ้นงานทั้งด้าน ความคิดแปลกใหม่ การน�าเสนอของชิ้นงาน

รางวัล (Prizes)

1. รางวัล Gold Award ส�าหรับผลงานชนะเลิศในแต่ละประเภท 2. รางวัล Silver Award ส�าหรับผลงานรองชนะเลิศอันดับ 1 ในแต่ละประเภท 3. รางวัล Bronze Award ส�าหรับผลงานรองชนะเลิศอันดับ 2 ในแต่ละประเภท 4. รางวัล Best of the Best Awards ในสาขาต่างๆ ได้แก่ • BEST IN SHEETFED OFFSET • BEST IN MORE THAN ONE PRODUCTION PROCESS • BEST CREATIVITY IN PRINTING APPLICATIONS & DESIGNS • BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING PROCESSES • BEST IN DIGITAL PRINTING

ช่วงเวลารับผลงานเข้าร่วมประกวด และวันตัดสิน (Schedules) ช่วงเวลารับผลงานเข้าร่วมประกวด: วันนี้ ถึง 12 มีนาคม 2563 วันประกาศผลและมอบรางวัล: กรกฏาคม 2563* สถานที่: ห้องคอนเวนชั่นฮอลล์บี โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์* จองที่นั่งได้ที่สมาคมการพิมพ์ไทย โทร. 0-2719-6685-7 *วัน เวลาและสถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ภายหลัง


ใบสมัครงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 ส่วนที่ 1 (ข้อมูลส่วนนี้จะไม่แสดงแก่ผู้ตัดสิน)

หมายเลข (เฉพาะเจ้าหน้าที่) .....................................................

ประเภทการประกวด ....................................................................................................................................................................... นามผู้ส่ง (ชื่อ/บริษัท/สมาคม) .......................................................................................................................................................... ผู้ติดต่อ .......................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ ............................................................................................................................................................................................... โทร ..............................................................................................แฟกซ์ ....................................................................................... Email ...........................................................................................Website .................................................................................... ชื่อผู้พิมพ์ ....................................................................................................................................................................................... ชื่อเจ้าของงาน ................................................................................................................................................................................ ชื่อผู้ออกแบบ ................................................................................................................................................................................. ชื่อผู้แยกสี และผลิตเพลท (กรณีไม่ใช่ชื่อเดียวกับผู้พิมพ์) .................................................................................................................. ชื่อผู้ผลิตงานหลังการพิมพ์ (กรณีไม่ใช่ชื่อเดียวกับผู้พิมพ์) ................................................................................................................. ชื่องาน .........................................................................................จ�านวนที่ผลิต ............................................................................. วัสดุที่ใช้ในการผลิต ยี่ห้อ และบริษัทผู้ค้า ......................................................................................................................................... ยี่ห้อเครื่องพิมพ์ที่ใช้ผลิต ................................................................................................................................................................. *ผู้ส่งประกวดต้องกรอกข้อมูลใบสมัครโดยละเอียดให้ครบทุกข้อ ลงชื่อ ...........................................................................................วันที่ .......................................................................................... โปรดฉีก ส่วนที่ 2 หมายเลข (เฉพาะเจ้าหน้าที่) ..................................................... ข้อมูลส�าหรับการตัดสิน (กรุณาแนบส่วนนี้กับด้านหลังผลงาน) *ผู้ส่งประกวดต้องกรอกข้อมูลใบสมัครโดยละเอียดให้ครบทุกข้อ ประเภทการประกวด .....................................................................จ�านวนที่ผลิต ............................................................................. (Category entered) (Quantity produced) จ�านวนสีที่พิมพ์ .............................................................................จ�านวนเครื่องที่พิมพ์ ................................................................... (Number of ink colours) (Number of press passes) วิธีการพิมพ์ (ระบบและขั้นตอน) ..................................................................................................................................................... (Print Method and Process) ส�าหรับประเภทการประกวดที่ 11-12 โปรดระบุน้�าหนักแกรมกระดาษ รายละเอียดงานหลังการพิมพ์และเทคนิคอื่นๆ (เช่น วิธีการเข้าเล่ม งานปั๊ม/งานเคลือบ) .................................................................... (Embellishments, Finishing Processes, and etc.) ...................................................................................................................................................................................................... ค�าอธิบายเพิ่มเติมส�าหรับประเภทการประกวดที่ 26 ......................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................

ส่งผลงาน ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563 ณ สมาคมการพิมพ์ไทย


งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 th

14 Thai Print Awards 2020

ส่งผลงานภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563 ที่สมาคมการพิมพ์ไทย

http://www.thaiprintawards.com/

311-311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร. 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688 email: thaiprint@thaiprint.org www.thaiprint.org www.thaiprintawards.com


92

NEWS

งานแถลงข่าว “ไทยสตาร์ แพคเกจจิ้ง อวอร์ด 2020”

ภายใต้หัวข้อ “บรรจุภัณฑ์ เพื่ อความยั่งยืน” Sustainable Packaging) ส่งผลงานเข้าประกวดตั้งแต่บัดนี้ - 30 เมษายน 2563

คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช – นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วม งานแถลงข่าวประกวดบรรจุภัณฑ์ ThaiStar Packaging Awards 2020 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09.00-11.00 น. ณ ศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ซ.ตรีมิตร กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) รุกสร้างแนวคิดการออกแบบ เพือ่ ความยัง่ ยืน (Sustainable Design) ผ่านโครงการประกวด บรรจุภณ ั ฑ์ไทย ประจ�ำปี 2563 “ThaiStar Packaging Awards 2020” พร้อมเปิดตัวผูส้ นับสนุนรางวัลพิเศษ จาก 4 หน่วยงาน ชิงรางวัลรวมมูลค่า 319,000 บาท ผู้ชนะเตรียมต่อยอดส่งไป ประกวดระดับเอเชีย (AsiaStar) และระดับโลก (WorldStar) ต่อไป เชิญชวนผูส้ นใจส่งผลงานเข้าประกวด ตัง้ แต่วนั นี้ 30 เมษายน 2563 คุณเจตนิพฐิ รอดภัย รองอธิบดีกรมเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ได้จัดการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย หรือ ThaiStar Packaging THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 124

Awards มาตั้งแต่ปี 2520 จนถึงปัจจุบัน โดยปีนี้เป็นครั้งที่ 43 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนนักออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ได้แสดง ความรู้ความสามารถ มีศักยภาพเพิ่มขึ้น และเพื่อให้ได้ต้นแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ พร้อมเป็นตัวแทนของประเทศไทย ไปประกวดในระดับนานาชาติ ทัง้ ในระดับภูมภิ าคเอเชีย (AsiaStar) และระดับโลก (WorldStar) ถือเป็นการส่งเสริมและสนับสนุน นักออกแบบบรรจุภัณฑ์ ตลอดจนผู้ประกอบการให้มีเวทีแสดง ความรู้ความสามารถ โดยได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน ทั้งจากสถาบันรหัสสากล (GS1 Thailand) สถาบันการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์และไซเคิลเพือ่ สิง่ แวดล้อม (TIPMSE) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย (TPA) ธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม แห่งประเทศไทย (SME D Bank) สมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษ ลูกฟูกไทย และศูนย์การบรรจุหบี ห่อไทย สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศ ตลอดจนสถาบันการศึกษาต่าง ๆ


NEWS

โดยการประกวดบรรจุกัณฑ์ไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2563 นี้ จัดขึ้น ภายใต้หัวข้อ “บรรจุภัณฑ์ เพื่อความยั่งยืน” (Sustainable Packaging) โดยแบ่ ง ประเภทของการประกวดออกเป็ น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ 1. นักเรียน - นักศึกษา 2. บริษัท - ผู้ประกอบการ - หน่วยงาน 3. นักออกแบบอิสระ โดยประเภทนักเรียน - นักศึกษา และ นักออกแบบอิสระ จะต้องผลิตผลงานต้นแบบบรรจุภัณฑ์ ทั้งต้นแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อการจัดจ�ำหน่าย (Consumer Package) และต้นแบบ บรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขนส่ ง (Transportation Package) ส่งเข้าประกวด ชิงรางวัลรวมมูลค่า 255,00 บาท ซึ่งในปีนี้ ธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มแห่ ง ประเทศไทย (SME D Bank) ร่วมสนับสนุนเงินรางวัลการ

นอกจากนี้ ยังมีรางวัลพิเศษทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนจากหน่วยงาน ร่วมด�ำเนินการ ได้แก่ สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (GS1 Thailand) สนับสนุนรางวัลการ ออกแบบบาร์โค้ดบนบรรจุภัณฑ์ จ�ำนวน 4 รางวัล รวมมูลค่า 34,000 บาท และสถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิล เพื่อสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (PMSE) สนับสนุนรางวัลการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม จ�ำนวน 3 รางวัล รวมมูลค่า 30,000 บาท ขณะที่สมาคมการ บรรจุภัณฑ์ไทย (IPA) สนับสนุนรางวัลส�ำหรับผลงานที่ส่ง เข้าประกวดทั้ง 3 ประเภท และรางวัลพิเศษส�ำหรับผลงาน ของนักเรียน - นักศึกษา รวมมูลค่า 10,000 บาท ทั้งนี้ กสอ. ยังได้มอบรางวัลพิเศษให้กับผลงานบรรจุภัณฑ์ที่มีจ�ำหน่ายใน ท้องตลาดแล้วให้ได้รบั รางวัลพิเศษคะแนนรวมสูงสุด (ThaiStar President's Award) อีกจ�ำนวน 1 รางวัล

93

ประกวดประเภทต้ น แบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การจั ด จ� ำ หน่ า ย ส�ำหรับนักเรียน นักศึกษา (Student Consumer Package (Prototype) SC) เป็นเงินรางวัลรวมทั้งสิ้น 85,000 บาท ส�ำหรับบริษัท - ผู้ประกอบการ - หน่วยงาน

ให้สง่ ผลงานทีม่ วี างจ�ำหน่ายแถวในท้องตลาดเพือ่ ส่งเข้าประกวด ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ประเภทย่อย ตามวัตถุประสงค์ผลงาน บรรจุภัณฑ์ ได้แก่ 1. บรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจ�ำหน่าย (Consumer Package) 2. บรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง (Transportation Package) 3. บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco Package) 4. สื่อและบรรจุภัณฑ์เพื่อส่งเสริมการขาย (Point of Purchase: POP) 5. วัสดุบรรจุภัณฑ์และองค์ประกอบ (Packaging Material and Components: PMC)

ส�ำหรับนักออกแบบรุ่นใหม่ นักเรียน นักศึกษา ผู้ประกอบการ และบุคคลทีส่ นใจ สามารถส่งผลงานเข้าประกวดได้ตงั้ แต่บดั นี้ จนถึงวันที่ 30 เมษายน 2563 ซึง่ ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลทัง้ หมด จะมีสทิ ธิส์ ง่ เข้าประกวดในระดับภูมภิ าคเอเชีย (AsiaStar Awards 2020) และระดับโลก (WorldStar Awards 2021) ต่อไป

ส่งผลงานเข้าประกวดตั้งแต่ บัดนี้ - 30 เมษายน 2563 สอบถามรายละเอียดเพิ่ มเติมได้ที่ กองพั ฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ชอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 คลองเตย

โทรศัพท์ 061 423 4926 0 2391 5176 เว็บไซต์ www.thai-idc.com www.thaiprint.org



เครื่องจักรหลังการพิมพ์จากประเทศอินเดีย มีประสบการณ์มานานกว่า 34 ปี

เครื่องปั๊มไดคัท อัตโนมัติ รุ่น 65v2 และ 80 ปั๊มเส้น-นูน-ปรุ-ขาด จบในเครื่องเดียว

มีระบบแจ้งจุดที่เป็นปัญหาสามารถตรวจสอบได้ จากหน้าจอ ทำให้ประหยัดเวลาการหาข้อผิดพลาด

ชุดป้องกันกระดาษซ้อนจะแจ้งเตือนทันทีหน้าจอ

ชุดควบคุมการทำงาน ของเครื่องแบบระบบสัมผัส และตั้งค่าชิ้นงาน

เครื่องเคลือบยูวี-สปอตยูวีวอเตอร์เบส-บลิสเตอร์ เสร็จในเครื่องเดียว

ชุดดูดกระดาษตั้งแต่ 0.1 ม.ม. - 0.6 ม.ม.

ชุดลำเลียงมียางเป็นขนแปรง ช่วยประคองกระดาษให้แม่นยำขึ้น

ชุดเก็บกระดาษขึ้นลงอัตโนมัติ

Fine coat 65 และ 80, 80A ชุดตรวจจับ ชุดดึงกระดาษข้าง กระดาษซ้อนป้องกัน ทำให้งานเคลือบ งานไม่ให้เสียหาย ได้เต็มทุกแผ่น

ชุดเคลือบด้วยลูกยาง 2 ลูก มั่นใจว่างาน เรียบร้อยสมบูรณ์

ลูกยางแบบเต็มแผ่น และเฉพาะจุด

ทัชสกรีนควบคุม ด้วยระบบ PLC

เครื่องพิมพ์บาร์โค๊ต,นัมเบอร์ริ่ง, ฟอร์ม, เช็ค,โลโก้ และอื่นๆ ด้วยระบบอิ้งค์เจ็ท

Reckoner VDP65 ระบบดูดกระดาษ ตั้งแต่ 50-350 แกรม

ชุดเก็บงานหลังพิมพ์แล้ว

ชุดหัวพิมพ์อิ้งค์เจ็ทติดตั้ง ชุดเข้ารหัสและตรวจจับสี บนรางปรับขึ้นลงได้ตาม เพื่อส่งข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ เพือ ่ ควบคุมหัวพิมพ์อิ้งค์เจ็ท งานที่ต้องการพิมพ์

ชุดตรวจจับกระดาษซ้อน ด้วยระบบอุลตร้าโซนิค


THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020” เล่มใหม่ล่าสุดที่รวมรายชื่อข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ทั้งก่อนการพิ มพ์ หลังการพิ มพ์ รวมทั้งผู้จ�ำหน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิ มพ์ และการซ่ อ มบ� ำ รุ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ การซื้ อ และ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน

พิ เศษเพี ยง

500 บาท/เล่ม ใบสั่งซื้อหนังสือ

*

จ�ำนวน ................... เล่ม

ชื่อ - นามสกุล...................................................................................... บริษัท.................................................................................................. เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษี......................................................................... ที่อยู่.................................................................................................... โทรศัพท์..................................โทรสาร.................................................

รายละเอียดการช�ำระเงิน

วิธีการชำ�ระเงิน

THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

• ราคา 500 บาท/เล่ม • ค่าจัดส่ง 100 บาท/เล่ม

*ราคานีย้ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่

โอนเงินผ่านธนาคาร ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” บัญชี ออมทรัพย์035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท ซอย 71

้ ได้ทส สั่งซือ ี่ มาคมการพิ มพ์ ไทย

311, 311/1 ซ.ศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688

หมายเหตุ: กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ

20191025_TP-Directory_final.indd 1

10/25/19 10:52


สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................

ใบสมัครสมาชิก

วันที่......................................................

ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................

ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ

(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)

74_Pc4.indd 1

23/5/2561 9:04:18


SOONTORN FILM

Expert in Digital and Inkjet Printing, using World-Class Technologies

g in t in r P l a it ig D y it l High Qua Digital Offset Printing

g in t in r P t a m r o F e g r a L Inkjet One Stop Service s Digital Offset Printing

Business card, Postcard, Certificate, Brochure, Leaflet, Catalogue, Menu, Pocket book, Magazine, Photo book, Calendar, Packaging, Sticker, Label etc.

Photo books

Photo Books Printing : Baby born photo book, Family photo book, Graduation (School) photo book, Wedding photo book, Travelling photo book, etc.

We are serving for the highest quality of digital printing and services, Including digital offset and inkjet (large format) One stop services, Expertise teamwork, Latest world class technologies, Environmental friendly, Fast services and reasonable prices. Graphic design Digital Photography

Prepress Offset Plate Making

Digital Offset Printing

Inkjet (Large Format) Printing

Soontorn film Co., Ltd.

3/11-15 พระรามที่ 6 ซอย 17 ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2216 2760-8 แฟกซ 0 2216 2769 เวลาทำการ จันทร-เสาร 09.00-18.00 น. www.soontornfilm.co.th, email : stfilm@soontornfilm.com

Tablet Publishing (Digital Magazine)


บจก.สุพรชัย จ�ำกัด

SUPORNCHAI Co.,Ltd

เครื่องปะหน้าต่าง เข้ามุม มีเส้นพับ ปะ 2 ช่อง

MODEL

เครื่องปะกบออโต้

Max.Paper size Min.Paper size Upper paper thickness Bottom paper thickness

mm mm g/m2 g/m2

1200x720 450x490 80-1200 160-3000

Hot stamping ปั๊มฟอยล์ Laminating เคลือบลาสติกเงา/ด้าน Spot UV งานเคลือบ Spot UV Die Cutting & Patching ปั๊มขาด+ปั๊มนูน Blister pack varnish

UV Vanishing งานเคลือบยูวี Calendering ขัดเงา Embossing งานปั๊มนูนปั๊มจม Gluning &Mounting ปะข้าง + ปะก้น / ปะประกบ

บริษทั สุพรชัย จ�ำกัด 30 หมู่ 4 ถ.ศรีวารีนอ้ ย-ลาดกระบัง ต.ศีรษะจรเข้นอ้ ย อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทร. +662-402-6623 โทรสาร +662-337-1866 มือถือ. +669-6146-3398 E-mail: marketing@spc-postpress.com http://www.spc-postpress.com TpmMag_117 Pc4.indd 47

22/8/2561 0:20:26


เครื่องตัดฉลากมวนดิจิตอลดวยใบมีด

รุน RBJ-350

High speed die-cutting

ระบบการตัด 6 ใบมีด ความเร็วสูง ตอบทุกโจทยงานพิมพดิจิตอลมวน หัวตัดใบมีด ไมตองใชบล็อกตัด ระบบแยกเศษสติกเกอรและเคลือบลามิเนต จบงานไดในขั้นตอนเดียว มาพรอมฟงกชั่น ตัดแผนในตัว ( Roll to Sheet ) เพิ่มความคลองตัวในการทํางาน โครงสรางเครื่องแข็งแรงระดับอุตสาหกรรม รองรับมวนวัสดุขนาดใหญ ความแมนยําในการตัดสูง ลดปริมาณของเสียจากการตั้งงาน

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 5 ซอยสุขุมวิท 54 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 02-332-4470 โทรสาร 02-331-4626

Nationwide

www.nationwide.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook

Articles inside

Smart Production ความเป็น ไปได้ทีไม่สินสุด โดยไฮเดลเบิร์ก

9min
pages 82-91

ปรับตัว “ธุรกิจโรงพิมพ์” ท�ำอย่างไรถึงจะอยู่รอด

1min
pages 78-81

ปัจจัยเสียงและการบริหารจัดการ ความเสียง (ตอนที 4

3min
pages 60-67

RICOH เตรียมเปิดท�ำการ โรงงานผลิตเครืองพิมพ์ในจีน

0
page 69

เอชพี อิงค์ มอบรางวัล ENVIRONMENTAL EXCELLENCE

0
page 68

อาภากร ชุนเจริญ บริษัท พงศ์พัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด

2min
pages 74-77

เยียมชมโรงงานอิมปานิ ผ้าขาวม้า

0
page 57

แสดงความยินดี คุณสุรสิทธิ เรืองจรัสพิพัฒน์

2min
pages 52-56

บทสัมภาษณ์ คุณหฤษฎ์ หิรัญญาภินันท์ / คุณคฑาวุธ เอือจงประสิทธิ มุมมองใหม่ในธุรกิจการพิมพ์ (New Perspective in Printing Business

6min
pages 18-29

สัมมนา "บรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ SME ไม่รู้ ไม่รอด

0
page 49

Print Industry Summit 2019 Printing 4.0 and Packaging Countdown to DRUPA 2020

1min
pages 30-31

Superior Inkjet Grand Open House

0
pages 50-51

โครงการหนึงล้านกล้าความดี ตอบแทนคุณแผ่นดิน ประจ�ำปี 2563

1min
pages 46-48

KMUTT กับการพัฒนาบุคลากรใน ภาคอุตสาหกรรมเพือรองรับ EEC

1min
pages 33-35

สัมมนา "Move On 2020 Driving the Next Printing Industry

0
page 32

การพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์เพือยกระดับ คุณภาพสู่มาตรฐาน

0
page 45
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.