ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

Page 1



ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

ก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จัดขึ้นตามกรอบและมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทั้งหมด 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 หินและชนิดของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 ประโยชน์ของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 6 ทรัพยากรน้า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 7 โครงสร้างของโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การ เปลี่ ยนแ ปลง ขอ ง เปลือกโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เป็นชุด กิ จ กรรมที่ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ ให้ นั ก เรี ย นอธิ บ ายการเปลี่ ย นแปลงของเปลื อ กโลก เข้ า ใจ กระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลก และภายในโลก โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาและ ฝึกปฏิบัติการเรียนการทดลองด้วยตนเอง รวมทั้งปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ให้เกิดกับผู้เรียน และสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของ เปลือกโลก เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ฐิติวรดา ศรีสุวรรณ์


ข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก สารบัญ

เรื่อง คานา สารบัญ สารบัญภาพ คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คาแนะนาในการใช้ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก บัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง รอยเลื่อน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง รอยเลื่อน บัตรกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก บัตรกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การเกิดภูเขา แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การเกิดภูเขา แบบทดสอบหลังเรียน กระดาษคาตอบ ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การเกิดภูเขา บรรณานุกรม

หน้า ก ข ค ง ฉ ช ซ 1 3 7 10 11 12 16 18 20 21 22 23 25 28 29 30 31 32 33 34 35


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สารบัญภาพ

ภาพที่ 1 2

หน้า 7 8

3

แสดงการแบ่งแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ แสดงทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปตามแนวคิดของอัลเฟรด เวเกเนอร์ จนเป็นทวีปต่างๆ ในปัจจุบัน แสดงทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกา ซึ่งต่อเข้ากันได้พอดี

4 5

แสดงลักษณะการเคลื่อนที่ของเปลือกโลก แสดงผังความคิดการเกิดภูเขา

12 34

9


ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

คาชี้แจงสาหรับครู ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วยกิจ กรรมต่างๆ สาหรับให้นักเรียนศึกษาหา ความรู้ด้วยตนเองโดยครูเป็นผู้เตรียมชุดกิจกรรม เตรียมชั้นเรียน เตรียมสื่อและอุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงคอยดูแลและให้คาแนะนา ช่วยเหลือ โดยครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึ ก ษาคู่ มื อ ครู แผนการจั ด การเรี ย นรู้ และชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงล่วงหน้าอย่างละเอียดและ รอบคอบให้เข้าใจการสอน 2. เตรียมความพร้อมของชุดกิจ กรรม วัสดุอุปกรณ์ สื่อต่างๆ ให้เพียงพอกับ จานวนนักเรียนและพร้อมก่อนเริ่มการเรียนการสอน 3. แบ่ ง นั ก เรี ย น เป็ น กลุ่ ม กลุ่ ม ละเท่ า ๆ กั น โดยคละความสามารถรั บ ชุ ด กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก 4. ครูแนะนาเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและ การเปลี่ยนแปลง 5. ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 6. ชี้ แ จงให้ นั ก เรี ย นทราบเกี่ ย วกั บ บทบาทของนั ก เรี ย นในการเรี ย นรู้ ด้ ว ย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

จ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

7. ดาเนินกิจกรรมตามขั้นตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 8. ขณะนักเรียนดาเนินกิจ กรรม ครูควรสังเกตและให้คาแนะนาแก่นักเรียน อย่างใกล้ชิด 9. ครูควรเน้นให้นักเรียนเก็บสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย 10. หลังจากนักเรียนได้เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรียบร้อย แล้วครูตรวจสอบผลงานนักเรียน บันทึกพฤติกรรมและความก้าวหน้าใน การเรียนของนักเรียน 11. หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน


ฉ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1. อ่านบัตรเนื้อหาและปฏิบัติงานตามบัตรกิจกรรมทุกขั้นตอน 2. ปฏิบัติกิจกรรมโดยทางานร่วมกันเป็นกลุ่มด้วยความตั้งใจ 3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในบัตรกิจ กรรม ให้เสร็จในเวลาที่กาหนด 4. นักเรียนควรปฏิบัติตัวในการทากิจกรรม ดังนี้ 4.1 มีความตั้งใจในการทางาน 4.2 ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเอาใจใส่ 4.3 ให้ความช่วยเหลือในการเตรียมการต่างๆ ของกลุ่ม 4.4 เป็นผู้ฟัง และผู้พูดที่ดีตามสถานการณ์ 4.5 สอบถามเพื่อนเมื่อมีข้อสงสัย 4.6 ยอมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่ม 4.7 อธิบายงานให้เพื่อนฟัง 4.8 ให้กาลังใจเพื่อนและปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างสุภาพ 4.9 มีความอดทนและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.10 ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข 5. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วให้ช่วยกันเก็บบัตรต่างๆและอุปกรณ์สื่อการเรียน อื่นๆ ให้เรียบร้อย


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

ช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

1. นักเรียนควรฟังคาอธิบายถึงความสาคัญและความจ าเป็นของชุดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง 2. นักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์ในการใช้ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จากครู 3. นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน 4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับจากคาแนะนาจากครู 5. เมื่อนักเรียนปฏิบัติชุดกิจกรรมครบทั้งชุดแล้ว นักเรียนควรทาแบบทดสอบ หลังเรียนซึ่งเป็นแบบเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน


ซ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

คาแนะนาในการใช้ E—Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้ง 8 ชุดนี้ ได้มีการจัดทาขึ้น 2 รูปแบบ คือ แบบ รูปเล่มหนังสือ และ แบบ E - Book Online ซึ่งครูผู้สอน และนักเรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูล ได้ผ่ านระบบ Internet โดยมีวิธีก ารเข้าใช้ งาน E - Book Online ดังนี้ 1. ใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ในการสแกน QR code ที่หน้าปกชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ทั้ง 8 ชุด 2. ใช้อุปกรณ์สื่อสารเข้า Line และคลิ๊กเลือกเมนู Add Friends จากนั้น เลือกเมนูคิวอาร์โค้ด และถ่ายคิวอาร์โค้ดบนหน้าปกหนังสือดังตัวอย่าง


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

ฌ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

3. เมื่ออุปกรณ์สื่อสารสามารถเข้าสู่ URL ของ E - Book Online แล้ว ให้ ผู้ ใ ช้ ค ลิ๊ ก เข้ า ไป สู่ E - Book เพื่ อ ท าการศึ ก ษาข้ อ มู ล ต่ า งๆ ของ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนั้นๆ ได้ทันที 4. สาหรับความพิเศษของ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มนี้คือ ผู้เข้าใช้งานสามารถคลิ๊กดู VDO (สื่อการเรียนรู้) เพิ่มเติมที่ แทรกอยู่ภายในเนื้อหาของชุดกิจ กรรม เพื่อช่วยให้ผู้ศึกษาได้ความรู้ เสริมเพิ่มเติม นอกเหนือจากเนื้อหาในรูปเล่มหนังสือปกติ 5. สาหรับผู้ที่เข้าใช้งาน E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่ม นี้ หากมีความประสงค์จ ะ Print บัตรกิจ กรรม แบบบันทึกกิจ กรรม หรือแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน สามารถคลิ๊กที่สัญลักษณ์เครื่อง Printer ที่หน้านั้นๆ ได้ทันที



ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

แนวความคิดหลัก เปลือกโลกที่ห่อหุ้มโลกมีลักษณะเป็นแผ่นหินแข็ง เป็นแนวรอยแยกต่อกัน เป็นแผ่นๆ เรียกว่า แผ่นเปลือกโลก ซึ่งมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา เกิดเป็นทวีปต่างๆ บนพื้ น ผิ ว ของแผ่ น เปลื อกโลกและใต้ เ ปลื อ กโลกมี ก ารเปลี่ย นแปลงอยู่ต ลอดเวลา การเปลี่ ย นแปลงเหล่ า นั้ น อาจเกิ ด ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว และปรากฏผลทั น ที ท าให้ เ กิ ด แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด หรือเกิดขึ้นอย่างช้าๆ และเห็นผลในระยะเวลานานหลายปี ทาให้เกิดการผุกร่อน การยุบตัว และการเกิดภูเขา

สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก


2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลกความสัมพันธ์ ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลกมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม.2/10 สื บ ค้ น สร้ า งแบบจ าลอง และอธิ บ ายโครงสร้ า ง และ องค์ประกอบของโลก จุดประสงค์ของชุดกิจกรรม 1. สืบค้นข้อมูล และตอบคาถามเกี่ยวกับโลกและการเปลี่ยนแปลงได้ 2. ทดลองการเกิดรอยเลื่อนของแผ่นธรณีภาคได้ 3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้ 4. เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก 5. สืบค้นข้อมูล และเขียนแผนผังความคิดแสดงการเกิดภูเขาได้


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

แบบทดสอบก่อนเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 8

เวลา 10 นาที

เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ของเปลือกโลก

3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โลกและ การเปลี่ยนแปลง 10 คะแนน

ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นกากบาท () เลื อ กค าตอบที่ ถู ก ที่ สุ ด เพี ย งค าตอบเดี ย ว ลงใน กระดาษคาตอบ 1.

หลักฐานในข้อใดที่ไม่สนับสนุนว่า ในอดีตแผ่นธรณีภาคต่างๆ เป็นแผ่นเดียวกัน ก. พบซากพืชและสัตว์หลายชนิดในทวีปปัจจุบัน ข. หินบะซอลต์บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรมีอายุเท่ากับหินบะซอลต์บริเวณ ขอบทวีป ค. พบหินที่เกิดจากตะกอนที่สะสมตามบริเวณต่างๆ ของโลก ซึ่งบางชนิดไม่ควรที่ จะปรากฏในบริเวณที่พบนั้น ง. หินที่เกิดจากเหล็กโบราณสามารถวัดค่าต่างๆ ในอดีตของสนามแม่เหล็กของหิน นั้น แล้วคานวณหาตาแหน่งเดิมของพื้นที่ที่พบหินนั้นได้

2.

กลไกที่ทาให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก ก. การหมุ น ของโลกและแรงดึง ดู ด ของดวงอาทิ ต ย์ แ ละดวงจั นทร์ ชั ก จู ง ให้ เ กิ ด กระบวนการของทวีปเลื่อน ข. เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง ค. การพาความร้อนในแมนเทิล ง. การแยกของแผ่นทวีป


4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ใช้รูปภาพต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 3 รูปแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก โดยความยาวของลูกศรเป็นสัดส่วน กับอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก

3. แผ่นเปลือกโลกใดมีโอกาสแยกห่างจากกันมากขึ้น ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 1 ง. 4 และ 1 4. 200 ล้านปีที่แล้ว ทวีปต่างๆ อยู่รวมกันเป็นแผ่นทวีปเดียวเรียกว่าอะไร ก. ลอราเซีย ข. พันเจีย ค. กอนด์วานาแลน ง. ทีทีส 5. เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เนื่องจากสาเหตุใด ก. กระแสน้า ข. กระแสลม ค. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ง. ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. 6. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโดยธรรมชาติ ก. แผ่นดินไหว ข. การสร้างเขื่อน ค. การระเบิดภูเขา ง. การทาเหมืองแร่


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก 7.

8.

5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

รอยต่อที่แยกแผ่นโลกออกจากกัน คือ ก. รอยแตกที่แยกออกจากกัน

ข. รอยต่อที่ชนกัน

ค. รอยต่อแบบเฉือนกัน

ง. ถูกทุกข้อ

ถ้าแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กและขนาดใหญ่เคลื่อนที่ชนกัน ผลที่เกิดขึ้นควรเป็นไปตาม ข้อใด ก. แผ่นเปลือกโลกมีมวลมากจะถูกดันให้สูงกลายเป็นภูเขา ข. แผ่นเปลือกโลกจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน ค. แผ่นเปลือกโลกแผ่นเล็กๆ จะมีพื้นที่หายไป ง. ข้อ ก และ ค

9.

ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหว อันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณี ภาคคู่ใดมากที่สุด ก. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก ข. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นออสเตรเลีย – อินเดีย ค. แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา ง. แผ่นแอนตาร์กติกากับแผ่นออสเตรเลีย – อินเดีย

10. ถ้าแผ่นเปลือ กโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่แยกจากกั นที่เทือกสัน เขากลางมหาสมุทร จะ เกิดผลตามข้อใด ก. การขยายตัวของทวีป ข. เกิดภูเขาไฟใต้มหาสมุทร ค. เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร

ง. เกิดการขยายตัวของมหาสมุทร


6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

กระดาษคาตอบ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 8

เวลา 10 นาที

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของ เปลือกโลก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โลกและ การเปลี่ยนแปลง 10 คะแนน

ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............

ข้อ

แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค

ข้อ ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง

เปลือกโลก (crust) เปลือ กโลกมีลักษณะเป็ นแผ่น หินแข็ งต่อกั นเหมื อนกับ ภาพต่ อ (Jigsaw) ขนาดใหญ่ซึ่งมีอยู่ประมาณ 13 แผ่น แต่ละแผ่นเรียกว่า แผ่นเปลือกโลก (Plate) แผ่น เปลือกโลกที่อยู่ใต้ทะเล หรือ มหาสมุทรเรียกว่า แผ่นมหาสมุทร (Oceanic plate) จะมี ความหนาน้ อ ยกว่ า แผ่ น เปลื อกโลกที่ อ ยู่ ใ ต้ท วี ป ที่ เ รี ย กว่ า แผ่ น ทวี ป (Continental plate)

ภาพ 1 แสดงการแบ่งแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ ที่มา : http://mjtanuwan.blogspot.com/p/blog-page_9857.html


8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก อัล เฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener) นักอุตุนิย มวิทยาและนักธรณี ฟิสิกส์ ชาวเยอรมัน ได้เ สนอทฤษฎีการเคลื่อนไหวของทวีป ซึ่งมี ใจความว่า เมื่ อ ประมาณ 200 ล้านปีมานี้ ทวีปต่างๆ บนโลกเคยเป็นผืนแผ่นดินเดียวกัน เรียกผืน แผ่นดินใหญ่นี้ว่า พันเจีย (pangaea) ซึ่งแปลว่า แผ่นดินทั้งหมด (all land) เมื่อเวลา ผ่านไปพันเจียเริ่มแยกเป็นหลายส่วน แต่ละส่วนขยับเขยื้อนเคลื่อนที่แยกจากกันไป เป็นทวีปต่างๆ ดังปรากฏในปัจจุบัน

ภาพ 2 แสดงทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปตามแนวคิดของอัลเฟรด เวเกเนอร์ จนเป็นทวีปต่างๆ ในปัจจุบัน ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=eyHAllFyP9c


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ปั จ จุ บั น โลกมี 7 ทวี ป ได้ แ ก่ ทวี ป อเมริ ก าเหนื อ ทวี ป อเมริ ก าใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป ทวีปแอนตาร์กติกา และทวีปออสเตรเลีย ทฤษฎีการเลื่อนไหลของทวีปนี้ เวเกเนอร์ อ้างหลักฐานสภาพรูปร่าง ของทวีปต่างๆ ที่สามารถสวมเข้ากันได้อย่างพอเหมาะ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขอบ ตะวันออกของทวีปอเมริกาใต้ส ามารถต่อกับขอบตะวันตกของทวีปแอฟริกาใต้ อย่างพอดี นอกจากนี้ยังพบซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ ตามชั้น ของหินชนิดเดียวกันในสองทวีป ที่อยู่ด้านเดียวกันหรือใกล้เคียง การเปลี่ยนแปลง ของอากาศ และสนามแม่เหล็กโลกโบราณ

ภาพ 3 แสดงทวีปอเมริกาใต้และทวีปแอฟริกา ซึ่งต่อเข้ากันได้พอดี ที่มา : http://pannoi760.blogspot.com/p/2.html เปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ 1. การเปลี่ ยนแปลงแบบรวดเร็ ว เช่น การเกิด แผ่น ดิน ไหวอย่ า ง รุนแรง เปลือกโลกบางส่วนแยกตัวออกมา ทาให้ผิวโลกบางส่วนถล่มทลายหรือ ยุบตัว หรือภูเขาไฟระเบิด ซึ่งมี ผ ลต่ออาคาร บ้ านเรือน ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้า ง นอกจากนี้ยังทาให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตไดรับอันตราย เช่น แผ่นดินไหวที่ภาคเหนือ ของประเทศไทย 2. การเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ เช่น การเคลื่ อนที่ของเปลือกโลก การกร่อนและการผุพังของหิน ทาให้พื้นที่บางส่วนหายไป


10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง

คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง ให้เข้าใจ และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ตแล้วตอบคาถามท้ายบทต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง 1. มนุษย์พยายามศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลกเพื่ออะไร 2. ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr.Alfred Wegener) ได้ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับ การเคลื่อนตัวของทวีปว่าอย่างไร 3. หลักฐานที่แสดงว่าทวีปต่างๆ เคยเชื่อมต่อกันมีอะไรบ้าง 4. โลกของเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักวิทยาศาสตร์และ นักธรณีวิทยา มีหลักฐานสนับสนุน คือ 5. การเปลี่ยนแปลงของโลกมีผลทาให้เกิดอะไร จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และตอบคาถามเกี่ยวกับโลกและการเปลี่ยนแปลงได้


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่............... คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง ให้เข้าใจ และ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ตแล้วตอบคาถามท้ายบทต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง 1. มนุษย์พยายามศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลกเพื่ออะไร …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. 2. ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr.Alfred Wegener) ได้ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับ การเคลื่อนตัวของทวีปว่าอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. 3. หลักฐานที่แสดงว่าทวีปต่างๆ เคยเชื่อมต่อกันมีอะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. 4. โลกของเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักวิทยาศาสตร์และ นักธรณีวิทยา มีหลักฐานสนับสนุน คือ …………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………….. 5. การเปลี่ยนแปลงของโลกมีผลทาให้เกิดอะไร …………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..


12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

ลักษณะการเคลื่อนที่ของเปลือกโลก ลักษณะการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกมีรูปแบบการเคลื่อนที่ 3 แบบ ดังนี้

ภาพ 4 แสดงลักษณะการเคลื่อนที่ของเปลือกโลก ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=4BUTQBtYKcE 1) แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่แยกออกจากกัน (divergent boundary) เกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทรมากกว่าพื้นทวีป เพราะพื้นมหาสมุทรจะบางกว่าพื้นทวีปทา ให้ แ มกมาจะพยายามดั นตั ว ออกมาตามรอยต่ อ แผ่ น เปลือ กโลกได้ ง่ า ยกว่ า เช่ น รอยต่อของแผ่นอเมริกาเหนือกับแผ่นยูเรเชีย


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

2) แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าหากัน (convergent boundary) กรณีที่เป็น แผ่นเปลือกโลกพื้นมหาสมุทรชนกันจะเกิดแผ่นดินไหวในมหาสมุทร ถ้าแผ่นเปลือกโลกเกิด การซ้อนเกยกัน มีโอกาสทาให้เกิดคลื่นยักษ์สึนามิได้, กรณีแผ่นเปลือกโลกพื้นมหาสมุทรชน กับแผ่ นพื้น ทวีป แผ่น พื้นมหาสมุ ทรจะมุดตั วลง ใต้แ ผ่นพื้ นทวี ป จึง เกิด แนวสั นเขาหรื อ เทือกเขาได้ และอาจเกิดภูเขาไฟได้, กรณีแผ่นพื้นทวีปชนกันเอง เช่น แผ่นออสเตรเลียที่ชน กั บ แผ่ น ยู เ รเชี ย พื้ น ดิ น จะถู ก อั ด และเกิ ด การโก่ ง ตั ว ขึ้ น กลายเป็ น แนวเทื อ กเขา เช่ น เทือกเขาหิมาลัย 3) แผ่ น เปลื อ กโลกเคลื่ อ นที่ ส วนทางกั น (transform boundary) การ เคลื่อนที่สวนทางกันจะทาให้เกิดรอยเป็นแนวยาวขนาดใหญ่ เรียกว่า “รอยเลื่อน” เช่น รอย เลื่อยแชนแอนเดรียสในรั ฐแคลิฟ อร์เ นียที่เกิดจากแผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือกับแผ่ น แปซิฟิก การเคลื่ อ นที่ ข องเปลื อ กโลกทั้ ง 3 แบบนี้ มี ผ ลท าให้ เ กิ ด กระบวนการทาง ธรณีวิทยาดังต่อไปนี้ 1. การคดโค้งโก่งงอ : ในธรรมชาติรอยคดโค้งโก่งงอ เกิดจากแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่ชนกัน ซึ่งมีแรงดันมหาศาล ทาให้ชั้นหินตรงบริเวณที่แผ่นเปลือกโลกชนกัน เกิดการคดโค้งโก่งงอขึ้น รอยคดโค้งโก่งงอนี้ไม่ได้เกิดขึ้นทันที แต่จะต้องใช้เวลาเป็นพันปี และต้องได้รับพลังงานอย่างต่อเนื่องถ้ารอยคดโค้งโก่งอชั้นหินเกิดขึ้นติดต่อกัน เป็นบริเวณ กว้างกินพื้นที่มาก ก็อาจกลายเป็นเทือกเขา เช่น เทือกเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย เทือกเขาภู พานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยเทือกเขาแอลป์ในทวีปยุโรป หรือเทือกเขาร็อคกี้ใน ทวีปอเมริกาเหนือ เป็นต้น


14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

2. การยกตัวและยุบตัว : พลังงานที่สะสมอยู่ภายในเปลือกโลกเมื่อมีมากขึ้นจะ ไปดันเปลือกโลกให้เกิดรอยแยกหรือรอยแตกในชั้นหิน เรียกว่า รอยเลื่อน(Fault) ซึ่งจะ เกิดขึ้นอย่างรุนแรงกว่าการเกิดคดโค้งโก่งงอ และเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดแผ่นดินไหว รอยเลื่อนที่เกิดขึ้นและทาให้แผ่นเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด คือ การยกตัวของแผ่นเปลือกโลกที่เกิดจากรอยเลื่อนแบบปกติกลายเป็นภูเขา เรียกว่ า Block mountain โดยยอดเขาจะมีลักษณะราบและไหล่เขาจะชัน เช่น ภูกระดึง จังหวัดเลย และอีกแบบ คือ การยุบตัวของแผ่นเปลือกโลกกลายเป็นแอ่งหรือหุบเขาเรียกว่า rift valleys ซึ่งเกิดจากรอยเลื่อนแบบย้อน 3. การผุพังอยู่กับ ที่ : การผุพังอยู่กับที่ หมายถึง กระบวนการที่ทาให้วัส ดุผุ สลายออกเป็นชิ้นเล็กๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลงขนาดและองค์ประกอบเคมีของอนุภาคที่ สลายตัว เช่น การผุพังหรือการหักพังของหินทั้งบนพื้นดินและใต้ผิวโลกลงไปซึ่งเป็นผล เนื่องมาจาก ปัจจัยทางกายภาพทางเคมี และชีวภาพ ดังนี้ 3.1 ปัจจัยทางกายภาพ ชั้นหินที่มีรอยแยกหรือรอยแตกจะมีน้าแทรกอยู่ เมื่อ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง เช่น ในเวลากลางคืนอากาศเย็นจัด น้าจะกลายเป็นน้าแข็งมีปริมาณ เพิ่ม ขึ้น ดันให้ร อยแยกขยายตัว มากขึ้น และทาให้ ชั้นหิ นที่อ ยู่ด้ านล่ างแตก เมื่ อถึง ตอน กลางวันน้าแข็งละลาย น้าจะแทรกไปตามรอยแตกใหม่ พอตกกลางคืนน้าแข็งตัว รอยแตกก็ ขยายและชั้ นหิ นก็ จ ะเกิ ดรอยแตกเพิ่ม มากขึ้ น ในที่สุ ดชั้ นหิ นจะแตกออกเป็น ชิ้น ๆ เกิ ด การผุพัง 3.2 ปัจจัยทางเคมี น้าฝนเป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดการผุพังทางเคมีได้ง่าย และดีที่สุด โดยเฉพาะในเขตร้อนปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้รวดเร็ว และการผุพังของหินก็เกิดขึ้น อย่ า งรวดเร็ วเช่ น กั น ได้ แก่ ปฏิ กิริ ย าไฮโดร ไลซิ ส ปฏิ กิ ริ ยาออกซิ เ ดชั น และปฏิ กิ ริ ย า คาร์บอเนชัน


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

3.3 ปัจจัย ทางชี วภาพ พืชเป็นตัว การท าให้ชั้ นหินเกิดการผุพัง ได้มาก เช่ น รากพืชที่ชอนไชไปในรอยแตกของหิน เมื่อพืชโตขึ้นรากพืชก็โตขึ้นด้วย ทาให้หินแตกเป็น ชั้นๆ นอกจากนี้มนุษ ย์ก็นับเป็ นตัวการที่ ทาให้หิน ผุพังหรือแตกสลายไปได้อย่า งรวดเร็ ว มากกว่าตัวการอื่นๆ 4. การกร่อ น : เป็ น กระบวนการพั ง ทลายของชั้ น หิน ที่ เกิ ด จากกระแสน้ า กระแสลม ปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ แรงโน้มถ่วงของโลก และธารน้าแข็ง เป็นต้น 5. การพัด พาและทับ ถม : เมื่อหินหรือดินถูกกัดกร่อน จะถูกกระแสน้าหรือ กระแสลมพัดพาไปสู่ที่ต่ากว่า ซึ่งเป็นลักษณะต่างๆ เช่น ตะกอนรูปพัด

เกิดจากกระแสน้าไหลลงมาจากภูเขาสูงลงสู่ร่องน้า ทาให้ดิน ทับถมในร่องน้านั้น และกระจายตัวคล้ายพัด ตะกอนดินดอนสามเหลี่ยม

เกิดจากตะกอนทับถมกันที่ปากแม่น้า กลายเป็น รูปสามเหลี่ยม ทาให้ฐานของดินดอนสามเหลี่ยมโค้งขึ้นมา เช่น แม่น้าเจ้าพระยา เนินทรายในที่ต่างๆ

กระแสลมนั้นจะพัดพาตะกอนในที่ราบสูง ภูเขา หรือ ทะเลทราย ไปทับถมกัน เกิดเป็นพื้นที่ใหม่


16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก บัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง รอยเลื่อน

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. อ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจ 2. วางแผนการปฏิบัติกิจกรรม และปฏิบัติกิจกรรม 3. ตอบคาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองการเกิดรอยเลื่อนของแผ่นธรณีภาคได้

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. ดินน้ามันคละสี 2. กรอบไม้รอยเลื่อนในลักษณะต่างๆ

จานวน/กลุ่ม 3 - 5 ก้อน 1 ชุด


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

วิธีการปฏิบัติกิจกรรม 1. กดดิ น น้ามั น แผ่ ใ ห้ เต็ ม พื้ น ที่ ว่ างของกรอบไม้ เป็ น ชั้น ๆ ชั้ น ละสี ประมาณ 3 - 5 ชั้น

2. เขี ย น หรื อ ปั้ น ดิ น น้ ามั น เป็ น รู ป เรขาคณิ ต หรื อ รู ป อื่ น ๆ ลงบน แผ่นดินน้ามัน ให้เต็มพื้นที่ 3. ออกแรงดันที่กรอบไม้ตามแนวลูกศร ดัง ภาพ สังเกตและบันทึ ก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. การเปลี่ยนแปลงบนแผ่นดินน้ามันมีผลต่อรูปวาด หรือรูปเรขาคณิต ของดินน้ามัน บนแผ่นดินน้ามัน และหน้าตัดของดินน้ามันอย่างไร 2. ในการทดลองนี้ การเปลี่ยนแปลงของดินน้ามัน น่าจะเหมือนกับ การเปลี่ยนแปลงใด 3. กิ จ กรรมนี้ นั ก เรี ย นน่ า จะน าไปเที ย บเคี ย งกั บ ปรากฏการณ์ ใ ด ทางธรณีวิทยา


18 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง รอยเลื่อน

สมาชิกกลุ่ม 1. .........................................................................เลขที่........................ 2. .........................................................................เลขที่........................ 3. .........................................................................เลขที่........................ 4. .........................................................................เลขที่........................ 5. .........................................................................เลขที่........................ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. ดินน้ามันคละสี 2. กรอบไม้รอยเลื่อนในลักษณะต่างๆ

จานวน/กลุ่ม 3 - 5 ก้อน 1 ชุด

วิธีการปฏิบัติกิจกรรม 1. กดดิ น น้ามั น แผ่ ใ ห้ เต็ ม พื้ น ที่ ว่ างของกรอบไม้ เป็ น ชั้น ๆ ชั้ น ละสี ประมาณ 3 - 5 ชั้น


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

2. เขี ย น หรื อ ปั้ น ดิ น น้ ามั น เป็ น รู ป เรขาคณิ ต หรื อ รู ป อื่ น ๆ ลงบน แผ่นดินน้ามัน ให้เต็มพื้นที่ 3. ออกแรงดันที่กรอบไม้ตามแนวลูกศร ดัง ภาพ สังเกตและบันทึ ก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. การเปลี่ยนแปลงบนแผ่นดินน้ามันมีผลต่อรูปวาด หรือรูปเรขาคณิต ของดินน้ามัน บนแผ่นดินน้ามัน และหน้าตัดของดินน้ามันอย่างไร ............................................................................................................ ............................................................................................................ 2. ในการทดลองนี้ การเปลี่ยนแปลงของดินน้ามัน น่าจะเหมือนกับ การเปลี่ยนแปลงใด ............................................................................................................ ............................................................................................................ 3. กิ จ กรรมนี้ นั ก เรี ย นน่ า จะน าไปเที ย บเคี ย งกั บ ปรากฏการณ์ ใ ด ทางธรณีวิทยา ............................................................................................................ ............................................................................................................


20 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

บัตรกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ให้ นั ก เรี ย นดู ภ าพ แล้ ว อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะการเปลี่ ย นแปลงของ เปลือกโลกว่าเป็นแบบใด

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้ 2. เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่............... คาชี้แจง : ให้นักเรียนดูภาพ แล้วอธิบายเกี่ยวกับลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ว่าเป็นแบบใด

...........................................................

...........................................................

...........................................................

...........................................................


22 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

บัตรกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การเกิดภูเขา

คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ นักเรียนเขียนผังความคิด แสดงการเกิดภูเขา ตามความคิดเห็นของนักเรียน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และเขียนแผนผังความคิดแสดงการเกิดภูเขาได้


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การเกิดภูเขา

ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............

คาชี้แจง : นักเรียนเขียนผังความคิด แสดงการเกิดภูเขา ตามความคิดเห็นของนักเรียน


24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

เมื่อนักเรียนได้ศึกษาบทเรียนและลองฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกันแล้ว ไหนลองทาแบบทดสอบหลังเรียน ดูซิคะว่าจะได้คะแนนเท่าไร


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

แบบทดสอบหลังเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 8

เวลา 10 นาที

เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ของเปลือกโลก

25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โลกและ การเปลี่ยนแปลง 10 คะแนน

ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นกากบาท () เลื อ กค าตอบที่ ถู ก ที่ สุ ด เพี ย งค าตอบเดี ย ว ลงใน กระดาษคาตอบ 1.

ประเทศไทยจะได้รับผลจากแผ่นดินไหว อันเนื่องมาจากการกระทบกันของแผ่นธรณี ภาคคู่ใดมากที่สุด ก. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นแปซิฟิก ข. แผ่นยูเรเซียกับแผ่นออสเตรเลีย – อินเดีย ค. แผ่นแปซิฟิกกับแผ่นนาสกา ง. แผ่นแอนตาร์กติกากับแผ่นออสเตรเลีย – อินเดีย

2.

ถ้าแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กและขนาดใหญ่เคลื่อนที่ชนกัน ผลที่เกิดขึ้นควรเป็นไป ตามข้อใด ก. แผ่นเปลือกโลกมีมวลมากจะถูกดันให้สูงกลายเป็นภูเขา ข. แผ่นเปลือกโลกจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน ค. แผ่นเปลือกโลกแผ่นเล็กๆ จะมีพื้นที่หายไป ง. ข้อ ก และ ค


26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

3.

หลักฐานในข้อใดที่ไม่สนับสนุนว่า ในอดีตแผ่นธรณีภาคต่างๆ เป็นแผ่นเดียวกัน ก. พบซากพืชและสัตว์หลายชนิดในทวีปปัจจุบัน ข. หินบะซอลต์บริเวณเทือกเขากลางมหาสมุทรมีอายุเท่ากับหินบะซอลต์บริเวณ ขอบทวีป ค. พบหินที่เกิดจากตะกอนที่สะสมตามบริเวณต่างๆ ของโลก ซึ่งบางชนิดไม่ควรที่ จะปรากฏในบริเวณที่พบนั้น ง. หินที่เกิดจากเหล็กโบราณสามารถวัดค่าต่างๆ ในอดีตของสนามแม่เหล็กของหิน นั้น แล้วคานวณหาตาแหน่งเดิมของพื้นที่ที่พบหินนั้นได้

4.

6.

ถ้าแผ่นเปลือกโลก 2 แผ่น เคลื่อนที่แยกจากกันที่เทือกสันเขากลางมหาสมุทร จะ เกิดผลตามข้อใด ก. การขยายตัวของทวีป ข. เกิดภูเขาไฟใต้มหาสมุทร ค. เกิดแผ่นดินไหวใต้มหาสมุทร ง. เกิดการขยายตัวของมหาสมุทร รอยต่อที่แยกแผ่นโลกออกจากกัน คือ ก. รอยแตกที่แยกออกจากกัน ข. รอยต่อที่ชนกัน ค. รอยต่อแบบเฉือนกัน ง. ถูกทุกข้อ เปลือกโลกเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ เนื่องจากสาเหตุใด

7.

ก. กระแสน้า ข. กระแสลม ค. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ง. ถูกทั้ง ก. ข. และ ค. 200 ล้านปีที่แล้ว ทวีปต่างๆอยู่รวมกันเป็นแผ่นทวีปเดียวเรียกว่าอะไร

5.

ก. ลอราเซีย ค. กอนด์วานาแลน

ข. พันเจีย ง. ทีทีส


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ใช้รูปภาพต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 8 รูปแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก โดยความยาวของลูกสรเป็นสัดส่วน กับอัตราเร็วของการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก

8.

แผ่นเปลือกโลกใดมีโอกาสแยกห่างจากกันมากขึ้น ก. 1 และ 2 ข. 2 และ 3 ค. 3 และ 1 ง. 4 และ 1 9. กลไกที่ทาให้เกิดกระบวนการเคลื่อนที่ของเปลือกโลกเกิดจาก ก. การหมุ น ของโลกและแรงดึ ง ดู ด ของดวงอาทิ ต ย์ แ ละดวงจั น ทร์ ชั ก จู ง ให้ เ กิ ด กระบวนการของทวีปเลื่อน ข. เพลตธรณีชั้นนอกถูกดึงดูดให้ขยายตัวจากจุดกลาง ค. การพาความร้อนในแมนเทิล ง. การแยกของแผ่นทวีป 10. ข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโดยธรรมชาติ ก. แผ่นดินไหว ข. การสร้างเขื่อน ค. การระเบิดภูเขา ง. การทาเหมืองแร่


28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

กระดาษคาตอบ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 8

เวลา 10 นาที

เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของ เปลือกโลก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 โลกและ การเปลี่ยนแปลง 10 คะแนน

ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............

ข้อ

แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค

ข้อ ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ภาคผนวก


30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ 8 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ คาตอบ 1 ข 2 ค 3 ก 4 ข 5 ง 6 ก 7 ง 8 ง 9 ข 10 ง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ คาตอบ 1 ข 2 ง 3 ข 4 ง 5 ง 6 ง 7 ข 8 ก 9 ค 10 ก


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง ให้เข้าใจ และ สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเทอร์เน็ตแล้วตอบคาถามท้ายบทต่อไปนี้ ให้ถูกต้อง 1. มนุษย์พยายามศึกษาหาข้อมูลที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลกเพื่ออะไร หาสาเหตุและวิธกี ารปรับปรุงแก้ไขตลอดจนเตรียมการป้องกันผลกระทบที่ จะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Dr.Alfred Wegener) ได้ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับ การเคลื่อนตัวของทวีปว่าอย่างไร ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินแผ่นเดียวกัน 3. หลักฐานที่แสดงว่าทวีปต่างๆ เคยเชื่อมต่อกันมีอะไรบ้าง รูปร่างของขอบทวีปที่สามารถเชื่อมต่อกันได้, การพบซากดึกดาบรรพ์ ชนิดเดียวกัน, การพบกลุ่มหินประเภทและอายุเดียวกัน, แนวเทือกเขาที่มี ลักษณะเหมือนกันและต่อกันได้ และการพบหินอายุเดียวกันที่เกิดจาก การสะสมตัวของตะกอนธารน้าแข็ง 4. โลกของเรามีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา นักวิทยาศาสตร์และ นักธรณีวิทยา มีหลักฐานสนับสนุน คือ การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขา ภูเขาไฟระเบิด 5. การเปลี่ยนแปลงของโลกมีผลทาให้เกิดอะไร ชั้นธรณีภาคถูกแบ่งออกเป็นแผ่นธรณีภาคขนาดต่างๆ กันมากกว่า 10 แผ่น และทุกแผ่นกาลังเคลื่อนที่


32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก

คาตอบหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. การเปลี่ยนแปลงบนแผ่นดินน้ามันมีผ ลต่อรูปวาด หรือรูปเรขาคณิต ของดินน้ามัน บนแผ่นดินน้ามัน และหน้าตัดของดินน้ามันอย่างไร รู ป วาด หรื อ รู ป เรขาคณิ ต จากดิ น น้ ามั น จะบิ ด เบี้ ย วไปตาม รอยเลื่อน หน้าตัดของดินน้ามันจะเกิดการคดโค้ง ผิดรูปเดิมไป

2. ในการทดลองนี้ การเปลี่ย นแปลงของดิ นน้ ามั น น่ า จะเหมื อนกั บ การเปลี่ยนแปลงใด การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

3. กิ จ กรรมนี้ นั กเรี ยนน่ าจะนาไปเที ยบเคีย งกับ ปรากฏการณ์ ใ ดทาง ธรณีวิทยา แผ่นดินไหว


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

คาชี้แจง : ให้นักเรียนดูภาพ แล้วอธิบายเกี่ยวกับลักษณะการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ว่าเป็นแบบใด

การกัดกร่อนของกระแสน้า

การผุกร่อนอยู่กับที่ ด้วยปัจจัยทางชีวภาพ

การผุกร่อนอยู่กับที่ ด้วยปัจจัยทางเคมี

การกัดกร่อนของกระแสน้าวน


34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.3 เรื่อง การเกิดภูเขา

คาชี้แจง : นักเรียนเขียนผังความคิด แสดงการเกิดภูเขา ตามความคิดเห็นของนักเรียน

ภาพ 5 แสดงผังความคิดการเกิดภูเขา ที่มา: http://www.trueplookpanya.com/data/product/media/ hash_lesson_plan/1325/1325/LESSON_PLAN_1_1325.pdf


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บรรณานุกรม

หนังสือ กรมวิชาการ. (2546). ธรณีวิทยาน่ารู้ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ขจีรัตน์ จิระอรุณ (แปล), Fiona Watt (เขียน). (2542). ชุดวิทยาศาสตร์ Go Genius และ การทดลองเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์. ธนพงษ์ วัชรโรจน์. (2559). เรียนเก่งง่ายนิดเดียว ชุดเรียนลัดเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ: พี อาร์ คัลเลอร์พริ้นท์ จากัด. พิ ม พั น ธ์ เดชะคุ ป ต์ และคณะ. (2559). หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). คู่มือครูส าระการเรียนรู้ พื้ น ฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุส ภา ลาดพร้าว. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด.


36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก

แหล่งอ้างอิงออนไลน์ กัญญาภัค มูลสาร. (2558). การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://pannoi760.blogspot.com/p/2.html จุฑามาศ ทนุวรรณ์. (2556). โลกและการเปลี่ยนแปลง. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://mjtanuwan.blogspot.com/p/blog-page_9857.html ทีมงานทรูปลูกปัญญา. (2555). การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://www.trueplookpanya.com/true/ blog_diary_detail.php?diary_id=8982 ธีรพงษ์ แสงสิทธิ์. (2549). การแบ่งโครงสร้างภายในของโลก. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://www.nakhamwit.ac.th/pingpong_web/ Earth_Struction.htm ฟิสิกส์ราชมงคล. (2543). คลื่นสึนามิ. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http:// www.rmutphysics.com/charud/oldnews/200/Tsunami.htm รอบรู้ธรณีไทย กรมทรัพยากรธรณี. (2554). โลกและการเปลี่ยนแปลง [Video file]. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch? v=eyHAllFyP9c สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). วิวัฒนาการ การกาเนิดโลก. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http:// www.il.mahidol.ac.th/e-media/earth-science/chapter_intro.html Nick Ratthapol. (2558). การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก [Video file]. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch? v=4BUTQBtYKcE




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.