ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน

Page 1



ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จัดขึ้นตามกรอบและมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อ หาสอดคล้องกับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทั้งหมด 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 หินและชนิดของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 ประโยชน์ของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 6 ทรัพยากรน้า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 7 โครงสร้างของโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดที่ 1 ดิน เป็นชุดกิจกรรมที่สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนเข้าใจลักษณะและ สมบัติของดิน สามารถอธิบายลักษณะคุณสมบัติตามสภาพของดินในแต่ละพื้นที่ และเข้าใจถึงปัญหาของดินและ การปรับปรุงคุณภาพดิน โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเรียนการทดลองด้วยตนเอง รวมทั้ง ปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ให้เกิดกับผู้เรียนและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียน การสอนได้เป็นอย่างดี ฐิติวรดา ศรีสุวรรณ์


ข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน สารบัญ

เรื่อง

หน้า

คานา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรม คาแนะนาในการใช้ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง การเกิดดิน และชั้นดิน บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน บัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การสารวจลักษณะของชั้นดิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การสารวจลักษณะของชั้นดิน บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน บัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน บัตรเนื้อหาที่ 3 เรื่อง การใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน บัตรกิจกรรมที่ 3 เรื่อง โครงการเนื่องในพระราชดาริ แบบบันทึกกิจกรรมที่ 3 เรื่อง โครงการเนื่องในพระราชดาริ

ก ข ง จ ฉ ช ซ ฌ 1 3 7 12 14 17 20 24 30 33 36 42 43


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สารบัญ(ต่อ) เรื่อง

หน้า

แบบทดสอบหลังเรียน กระดาษคาตอบ ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การสารวจลักษณะชั้นดิน เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3 เรื่อง โครงการเนื่องในพระราชดาริ บรรณานุกรม

45 48 49 50 51 53 56 59 61


ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน สารบัญตาราง

เรื่อง

หน้า

ตารางแสดงค่าพีเอช (PH) ความเป็นกรดเป็นเบสของดิน

28


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

จ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

หน้า แสดงกระบวนการเกิดดิน แสดงปัจจัยในการเกิดดิน แสดงส่วนประกอบของดิน แสดงชั้นของดิน แสดงหน้าตัดดิน แสดงสมบัติของดิน แสดงชนิดของดิน แสดงสีของดิน แสดงความพรุนของดินแต่ละชั้น แสดงการทดสอบความเป็นกรดเป็นเบสของดิน แสดงการแก้ไขความเป็นกรดและเบสของดิน แสดงค่าพีเอชและความเป็นกรดเป็นเบส แสดงประโยชน์ของดิน แสดงประโยชน์ของดินที่มีต่อมนุษย์และเกษตรกรรม แสดงการปรับปรุงคุณภาพดิน แสดงวิธีการพัฒนาและอนุรักษ์ดิน โครงการแกล้งดิน

8 9 9 11 21 24 25 26 26 27 29 32 36 37 38 41 60


ฉ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

คาชี้แจงสาหรับครู ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ประกอบกิจกรรมต่างๆ สาหรับให้นักเรียนศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองโดยครูเป็นผู้เตรียมชุดกิจ กรรม เตรียมชั้นเรียน เตรียมสื่อและอุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงคอยดูแลและให้คาแนะนา ช่วยเหลือ โดยครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึก ษาคู่มือ ครู แผนการจัดการเรียนรู้ และชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและ การเปลี่ยนแปลงล่วงหน้าอย่างละเอียดและรอบคอบให้เข้าใจการสอน 2. เตรียมความพร้อมของชุดกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ สื่อ ต่างๆ ให้เพียงพอกับจานวนนักเรียนและ พร้อมก่อนเริ่มการเรียนการสอน 3. แบ่ง นั ก เรี ย น เป็ น กลุ่ ม กลุ่ ม ละเท่ า ๆ กั น โดยคละความสามารถ รับ ชุ ด กิจ กรรมการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน 4. ครูแนะนาเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง 5. ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 6. ชี้แ จงให้นัก เรียนทราบเกี่ยวกับบทบาทของนัก เรียนในการเรียนรู้ด้วยชุดกิจ กรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง 7. ดาเนินกิจกรรมตามขั้นตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 8. ขณะนักเรียนดาเนินกิจกรรม ครูควรสังเกตและให้คาแนะนาแก่นักเรียนอย่างใกล้ชิด 9. ครูควรเน้นให้นักเรียนเก็บสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย 10. หลังจากนักเรียนได้เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรียบร้อยแล้ว ครูตรวจสอบ ผลงานนักเรียน บันทึกพฤติกรรมและความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรียน 11. หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1. อ่านบัตรเนื้อหาและปฏิบัติงานตามบัตรกิจกรรมทุกขั้นตอน 2. ปฏิบัติกิจกรรมโดยทางานร่วมกันเป็นกลุ่มด้วยความตั้งใจ 3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในบัตรกิจกรรม ให้เสร็จในเวลาที่กาหนด 4. นักเรียนควรปฏิบัติตัวในการทากิจกรรม ดังนี้ 4.1 มีความตั้งใจในการทางาน 4.2 ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเอาใจใส่ 4.3 ให้ความช่วยเหลือในการเตรียมการต่างๆ ของกลุ่ม 4.4 เป็นผู้ฟัง และผู้พูดที่ดีตามสถานการณ์ 4.5 สอบถามเพื่อนเมื่อมีข้อสงสัย 4.6 ยอมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่ม 4.7 อธิบายงานให้เพื่อนฟัง 4.8 ให้กาลังใจเพื่อนและปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างสุภาพ 4.9 มีความอดทนและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.10 ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข 5. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วให้ช่วยกันเก็บบัตรต่างๆและอุปกรณ์สื่อการเรียนอื่นๆให้เรียบร้อย


ซ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน คาแนะนาในการปฏิบัตชิ ุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

1. นักเรียนควรฟังคาอธิบายถึงความสาคัญและความจาเป็นของชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง 2. นักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์ในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จากครู 3. นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน 4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับจากคาแนะนาจากครู 5. เมื่อ นัก เรียนปฏิบัติชุดกิจ กรรมครบทั้งชุดแล้ว นัก เรียนควรทาแบบทดสอบหลังเรียนซึ่งเป็น แบบเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ฌ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาแนะนาในการใช้ E—Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้ง 8 ชุดนี้ ได้มีการจัดทาขึ้น 2 รูปแบบ คือ แบบรูปเล่มหนังสือ และ แบบ E - Book Online ซึ่งครูผู้สอน และ นักเรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูลได้ผ่านระบบ Internet โดยมีวิธีการเข้าใช้งาน E - Book Online ดังนี้ 1. ใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ที่หน้าปกชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทั้ง 8 ชุด

ในการสแกน QR code

2. ใช้อุปกรณ์สื่อสารเข้า Line และคลิ๊กเลือกเมนู Add Friends จากนั้นเลือกเมนูคิวอาร์โค้ด และ ถ่ายคิวอาร์โค้ดบนหน้าปกหนังสือดังตัวอย่าง

3. เมื่ อ อุ ป กรณ์ สื่ อ สารสามารถเข้ า สู่ URL ของ E - Book Online แล้ ว ให้ ผู้ ใ ช้ ค ลิ๊ ก เข้ า ไปสู่ E - Book เพื่อทาการศึกษาข้อมูลต่างๆ ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนั้นๆ ได้ทันที 4. สาหรับความพิเศษของ E - Book ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้คือ ผู้เข้ าใช้งาน สามารถคลิ๊กดู VDO (สื่อการเรียนรู้) เพิ่มเติมที่แทรกอยู่ภายในเนื้อหาของชุดกิจกรรม เพื่อช่วยให้ผู้ศึกษาได้ ความรู้เสริมเพิ่มเติม นอกเหนือจากเนื้อหาในรูปเล่มหนังสือปกติ 5. สาหรับผู้ที่เข้าใช้งาน E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนี้ หากมีความประสงค์จะ Print บัตรกิจกรรม แบบบันทึกกิจกรรม หรือแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน สามารถคลิ๊กที่สัญลักษณ์เครื่อง Printer ที่หน้านั้นๆ ได้ทันที



ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน แนวความคิดหลัก ดินแต่ละบริเวณมีชั้นหน้าตัดดินและสมบัติของดินแตกต่างกันตามกระบวนการเกิด การนาไปใช้ ประโยชน์จึงต่างกัน การปรับปรุงคุณภาพของดิน ปรับตามสภาพของดินเพื่อให้เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลกความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม.2/1 สารวจ ทดลองและอธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน สมบัติของดินและกระบวนการเกิดดิน ม.2/2 สารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน


2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

จุดประสงค์ของชุดกิจกรรม 1. บอกความหมายและส่วนประกอบของดินได้ 2. เข้าใจลักษณะและสมบัติของดินที่แตกต่างกันตามวัตถุต้นกาเนิด 3. สังเกต ทดสอบและอธิบายลักษณะคุณสมบัติตามสภาพของดินได้ 4. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนภาพการกาเนิดดิน หน้าตัดข้างของดินได้ 5. สามารถอธิบายเรื่องความพรุน และความเป็นกรด เป็นเบสของดินได้ 6. เข้าใจปัญหาและการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อให้ดินเหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

3

ชุดที่ 1 ดิน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1

โลกและการเปลี่ยนแปลง

เวลา 10 นาที

เรื่อง ดิน

10 คะแนน

คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาท () เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด ก. สภาพภูมิประเทศเดียวกันทาให้ดินแต่ละท้องที่มีสภาพเหมือนกัน ข. สภาพส่วนผสมจากฮิวมัสของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีผลทาให้ดินมีลักษณะและสมบัติต่างกัน ค. วัตถุที่เป็นต้นกาเนิดดินประเภทเดียวกัน ใช้เวลาในการสลายตัวเท่ากัน ง. สภาพภูมิประเทศไม่เป็นปัจจัยที่ทาให้สภาพของดินแต่ละท้องที่ต่างกัน 2. ดินเกิดขึ้นจากกระบวนการใด A : การสลายของหิน B : การสลายของแร่ธาตุ C : การทับถมของจุลินทรีย์ในดิน D : การสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ จงเลือกคาตอบจากคาถามด้านบน ก. ข้อ A และ B

ข. ข้อ A B และ C

ค. ข้อ A B และ D

ง. ถูกทุกข้อ


4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

3. วัตถุต้นกาเนิดดินคือข้อใด ก. ซากพืชซากสัตว์ ค. อินทรีย์สาร

ข. ฮิวมัส ง. หินและแร่

4. ลักษณะของดินชั้นบนกับดินชั้นล่างต่างกันอย่างไร ก. ดินชั้นบนมีฮิวมัสมากกว่า

ข. ดินชั้นบนมีความพรุนน้อยกว่า

ค. สีของดินชั้นบนจางกว่าดินชั้นล่าง

ง. ดินชั้นบนมีขนาดของเม็ดดินเล็กกว่า

ใช้แผนภาพส่วนประกอบของดิน ตอบคาถามข้อ 5

5. จากแผนภาพด้านบน ข้อใดคือส่วนประกอบที่ทาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด ก. น้า

ข. อากาศ

ค. อนินทรีย์วัตถุ

ง. อินทรีย์สาร

6. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออัตราการไหลบ่าของน้า การชะล้างพังทลายของดิน การทับถมของอินทรียวัตถุ ในดินคือปัจจัยใด ก. ภูมิประเทศ ข. เวลา ค. สิ่งมีชีวิต

ง. ภูมิอากาศ


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

7. ดินที่มีค่า pH เท่ากับ 4 มีสมบัติตามข้อใด และวิธีการแก้ไขจะต้องทาอย่างไร ก. เป็นกรด แก้โดยการเติมปุ๋ย ข. เป็นกรด แก้โดยการเติมปูนขาว ค. เป็นเบส แก้โดยการเติมฮิวมัส ง. เป็นเบส แก้โดยการเติมดินมาร์ล 8. เมื่อทดสอบดินปรากฏว่ากระดาษลิตมัสสีแดง ไม่เปลี่ยนสี ส่วนกระดาษลิตมัส สีน้าเงินเปลี่ยนเป็น สีแดง จะสรุปผลการทดสอบได้ว่าอย่างไร ก. ดินที่นามาทดสอบมีสมบัติเป็นเบส ข. ดินที่นามาทดสอบเป็นดินเค็ม ค. ดินที่นามาทดสอบมีสมบัติเป็นกรด ง. ยังสรุปไม่ได้ ต้องทดสอบต่อไป 9. ข้อใดเป็นดินที่เหมาะสมสาหรับการปลูกพืชมากที่สุด ก. ดินเหนียว

ข. ดินร่วน

ค. ดินร่วนปนทราย

ง. ดินทราย

1 0 โครงการปลูก หญ้า แฝกเพื่อ การอนุรัก ษ์ดิน ตามพระราชดาริข องพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หั ว . รัชกาลที่ 9 เป็นการแก้ปัญหาเรื่องใดของดิน ก. การพังทลายของหน้าดิน ข. สภาพดินเปรี้ยว ค. สภาพดินเค็ม

ง. ดินที่มีความแห้งแล้ง


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

กระดาษคาตอบ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1

โลกและการเปลี่ยนแปลง

เวลา 10 นาที

เรื่อง ดิน

10 คะแนน

ชื่อ..............................................................นามสกุล......................................................เลขที.่ ...................

ข้อ

แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค

ข้อ ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง การเกิดดิน และชั้นดิน

ดิน (soil) หมายถึง วัตถุที่เกิดขึ้นจากการผสมคลุกเคล้าหินและแร่ธาตุกับซากพืชซากสัตว์ กลายเป็นฮิวมัสหรือ อินทรีย์วัตถุ เมื่อมีสภาพอากาศและความชื้นที่เหมาะสมก็จะทาให้พืชเจริญเติบโต กระบวนการเกิดดิน ดินเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของหินมาเป็นเวลาช้านาน มีอินทรีย์สารซึ่งเกิดจากการสลายตัวของ ซากพืช ซากสัตว์ที่เรียกว่า "ฮิวมัส" สิ่งมีชีวิตในดินเป็นตัวการสาคัญในการย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์ ดินชั้นบน จะเป็นดินที่อุดมสมบูรณ์กว่าดินที่อยู่ชั้นล่าง เราสามารถแบ่งการเกิดดิน ออกได้เป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 การผุพัง สลายตัว (Weathering) ชั้นหินแตกเป็นหินก้อนใหญ่ เมื่อแสงส่องและฝนตกก็ จะแตกหักและผุพังเป็นชิ้นเล็กต่อไป ขั้นที่ 2 ขบวนการสร้างดิน (Soil Forming Process) การสร้างดิน เมื่อหินผุพัง พืช แมลง และ สัตว์ต่างๆเข้ามาอาศัยตามบริเวณรอยแตกของหิน เมื่อพืชและสัตว์ตายก็จะสลายเป็นฮิวมัส ขั้นที่ 3 สัตว์เล็กๆ ในดิน การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเล็กๆในดินทาให้ฮิวมัสผสมกับเศษหินและแร่ กลายเป็นดินที่เรียกว่า ดินชั้นบน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

ภาพ 1 แสดงกระบวนการเกิดดิน ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=xMW4ZgRpCo8 ปัจจัยในการเกิดดิน ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเกิดดิน ได้แก่ 1. สภาพภูมิอากาศ มีผลต่อการสลายตัวของหินและแร่ เช่น ในเขตร้อนชืน้ อัตราการสลายตัว ของหินและแร่จะรวดเร็วกว่าในเขตอบอุ่นหรือเขตหนาว 2. สภาพภูมิประเทศ ส่งผลต่อความรุนแรงในการชะล้างพังทลายของหน้าดิน การระบายน้า และปริมาณความชื้นในดิน 3. สิ่งมีชีวิตที่ช่วยย่อยอินทรีย์สารหรืออินทรียวัตถุ มีผลต่อดินในสภาพต่างๆ เช่น ในแถบชุ่มชื้น พืชขึ้นหนาแน่น จุลินทรีย์ทางานเต็มที่ให้อินทรียวัตถุมาก ดินที่เกิดจะลึกและมีชั้นชัดเจน เกิดเร็ว 4. วัตถุต้นกาเนิดดิน มีผลทาให้ดินมีจานวนและปริมาณแร่ธาตุ สีดิน เนื้อดิน และความเป็นกรด เบสของดินแตกต่างกัน 5. ระยะเวลาในการสลายตัว ดินที่มีอายุนานกว่าจะมีสภาพหน้าตัดข้างของดินสมบูรณ์กว่าดินที่ มีอายุน้อยกว่า


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ภาพ 2 แสดงปัจจัยในการเกิดดิน ที่มา : http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_factor2.htm ส่วนประกอบของดิน 1. อนินทรีย์วัตถุ (45%) ได้แก่ แร่ธาตุ หิน และทราย 2. น้า (25%) หรือความชื้นในดิน 3. อากาศ (25%) ช่องว่างระหว่างเม็ดดินที่มีอากาศแทรกอยู่ 4. อินทรีย์สาร (5%) หรือซากพืชซากสัตว์ ซึ่งขึ้นกับสิ่งมีชีวิต เช่น ไส้เดือนหรือแมลงในดิน

ภาพ 3 แสดงส่วนประกอบของดิน ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=uAAIX4oUfiA


10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ชั้นดิน เราสามารถจาแนกชั้นดินแต่ละชั้น จากสีและโครงสร้างของอนุภาคดินที่แตกต่างกัน ดังนี้ 1. ชั้นอินทรีย์สาร (ชั้น O) เป็นดินชั้นบนสุด มีสีดาเนื่องจากเต็มไปด้วยซากพืช ซากสัตว์ (ฮิวมัส) 2. ชั้นดินแร่ (ชั้น A) เป็นดินชั้นบนมีสีดาที่จางกว่าชั้น O ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหิน แร่ และ อินทรีย์สารที่ย่อยสลายแล้ว 3. ชั้นแร่ธาตุ (ชั้น B) มีสีน้าตาลปนแดง เนื่องจากการสะสมของเหล็กออกไซด์ และแร่ธาตุที่ถูก ชะล้างมาจากดินชั้นบน เนื้อดินจึงแน่น มีความชื้นสูง ทาให้ส่วนมากดินชั้นนี้จะเป็นดินเหนียว 4. ชั้นหินผุพัง (ชั้น C) ประกอบด้วยเศษหินที่แตกหักมาจากหินดินดาน ซึ่งหินดินดานนี้เป็นต้น กาเนิดของดิน 5. ชั้นหินดินดาน (ชั้น R) เป็นชั้นที่มีหินเป็นหลัก

ภาพ 4 แสดงชั้นของดิน ที่มา : https:// www.slideshare.net/ Itsososad/ss-52390227


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ปัจจัยต่างๆ ของการกาเนิดดิน ทาให้ได้ดินที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันอย่างมาก ดินในภูมิประเทศหนึ่งๆ จะมีลักษณะเฉพาะของตัวเอง เราเรียกภาคตัดตามแนวดิ่งของชั้นดิน เรียกว่า หน้าตัดดิน (Soil Horizon) หน้าตัดดินบอกถึงลักษณะทางธรณีวิทยา และประวัติภูมิอากาศของภูมิประเทศที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้นับพันปี รวมถึงว่ามนุษย์ใช้ดินอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุให้ดินนั้นมีสมบัติเช่นในปัจจุบัน ตลอดจนแนวทางที่ดีที่สุดในการใช้ ดิน การสังเกตความแตกต่างของลักษณะที่ปรากฏอยู่ในแต่ละชั้นดิน และการเรียงตัวของ ชั้นดินที่ในหน้า ตัดดินนีเ้ อง ทีท่ าให้นกั ปฐพีวทิ ยาสามารถจัดแบ่งดินทีพ่ บออกเป็นชนิดต่างๆ ได้ ซึง่ จะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ใน การให้คาแนะนาแก่เกษตรกรในการใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างเหมาะสมกับดินในพื้นที่นั้นๆ

ภาพ 5 แสดงหน้าตัดดิน ที่มา: http://osl101.ldd.go.th/ easysoils/s_profile2.htm


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. อ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจ 2. วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมพร้อมทั้งตอบคาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 3. ปฏิบัติกิจกรรม บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 4. ตอบคาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลอง และสรุปผลการทดลองเกี่ยวกับกระบวนการเกิดดิน 2. อธิบายลักษณะกระบวนการเกิดดินได้ วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. ทรายหยาบ 2. ทรายละเอียด 3. กรวด 4. ปุ๋ยอินทรีย์ 5. ปุ๋ยเคมี 6. ครกหิน

จานวน 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 1 ชุด


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนคิดว่าสารใดบ้าง เปรียบได้เหมือนกับวัตถุต้นกาเนิดดินในธรรมชาติ 2. จากการสังเกต ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี มีลักษณะอย่างไร และปุ๋ยทั้งสองได้มาจากอะไร

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. นาทรายละเอียด หินละเอียด ปุ๋ยอินทรีย์ ใส่ในครกหินแล้วตาให้ละเอียดที่สุด 2. บันทึกผล (นักเรียนอาจเลือกใช้สารได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป)

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนเลือกสารใดเพื่อผสมกันบ้าง และลักษณะสารหลังการผสมที่ได้เป็นอย่างไร 2. สารที่ได้จากการผสมมีลักษณะเหมือนดินทั่วไปหรือไม่ อย่างไร 3. การใช้ครกหินบดสารที่นักเรียนเลือก เปรียบได้กับกระบวนการใดของการเกิดดิน 4. ถ้ าทิ้งสารที่ไ ด้จ ากการผสมนี้ในสภาพภู มิอ ากาศ ภูมิป ระเทศต่างกัน เป็นเวลานาน นักเรียนคิดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร 5. นักเรียนสามารถเขียนแผนภาพกระบวนการเกิดดินได้อย่างไร


14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน

สมาชิกกลุ่ม 1. .............................................................................................เลขที่........................ 2. .............................................................................................เลขที่........................ 3. .............................................................................................เลขที่........................ 4. .............................................................................................เลขที่........................ 5. .............................................................................................เลขที่........................

คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม

1. นักเรียนคิดว่าสารใดบ้าง เปรียบเหมือนได้กับวัตถุต้นกาเนิดดินในธรรมชาติ .................................................................................................................................................. 2. จากการสังเกต ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี มีลักษณะอย่างไร และปุ๋ยทั้งสองได้มาจากอะไร ..................................................................................................................................................


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี

รายการอุปกรณ์ 1. ทรายหยาบ 2. ทรายละเอียด 3. กรวด 4. ปุ๋ยอินทรีย์ 5. ปุ๋ยเคมี 6. ครกหิน

จานวน 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 100 กรัม 1 ชุด

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. นาทรายละเอียด หินละเอียด ปุ๋ยอินทรีย์ ใส่ในครกหินแล้วตาให้ละเอียดที่สุด 2. บันทึกผล (นักเรียนอาจเลือกใช้สารได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป)

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม สารที่เลือก

ลักษณะสารก่อนผสม

ลักษณะสารหลังการผสมกัน


16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนเลือกสารใดเพื่อผสมกันบ้าง และลักษณะสารหลังการผสมที่ได้เป็นอย่างไร ............................................................................................................................................ 2. สารที่ได้จากการผสมมีลักษณะเหมือนดินทั่วไปหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................................ 3. การใช้ครกหินบดสารที่นักเรียนเลือก เปรียบได้กับกระบวนการใดของการเกิดดิน ............................................................................................................................................ 4. ถ้าทิ้งสารที่ได้จากการผสมนี้ในสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศต่างกันเป็นเวลานาน นักเรียน คิดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 5. นักเรียนสามารถเขียนแผนภาพกระบวนการเกิดดินได้อย่างไร


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การสารวจลักษณะของชั้นดิน

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. อ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจ 2. วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมพร้อมทั้งตอบคาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 3. ปฏิบัติกิจกรรม บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 4. ตอบคาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สารวจ และทดลอง ลักษณะของชั้นหน้าตัดดิน 2. เขียนแผนภาพและอธิบายลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน 3. สังเกตและอธิบายลักษณะของชั้นดินแต่ละชั้นของหน้าตัดข้างของดิน 4. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะหน้าตัดข้างของดินในพื้นที่ที่อยู่ในภูมิประเทศแตกต่างกัน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

18 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. เครื่องมือขุดดิน ได้แก่ จอบ เสียม 2. ตลับเมตร 3. ค้อนตอกตะปู 4. ตะปู 5. แว่นขยาย 6. กระบอกฉีดน้าพร้อมบรรจุน้า

จานวน/กลุ่ม อย่างละ 1 อัน 1 อัน 1 อัน 5 อัน 1 อัน 1 อัน

คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. หน้าตัดข้างดินในพื้นที่ต่างกันจะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ 2. ลักษณะหน้าตัดข้างของดินบอกอะไร วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. สารวจหน้าตัดข้างของดินตั้งแต่ผิวดินจนถึงระดับความลึกประมาณ 1-1.2 เมตร โดยสังเกต ลักษณะของเนื้อดิน เกี่ยวกับสี การจับตัวของดินและสิ่งต่างๆ ที่ปนอยู่ในดิน โดยศึกษาจาก หลุมดินในพื้นที่ พร้อมทั้งวาดภาพลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน 2. อภิปรายผลที่ได้จากการสังเกต และจาแนกชั้นดินโดยใช้เกณฑ์ที่นักเรียนกาหนดขึ้น


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. ดินสามารถแบ่งได้กี่ชั้น ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง 2. ดินในแต่ละชั้น มีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

20 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การสารวจลักษณะของชั้นดิน

สมาชิกกลุ่ม 1. .............................................................................................เลขที่........................ 2. .............................................................................................เลขที่........................ 3. .............................................................................................เลขที่........................ 4. .............................................................................................เลขที่........................ 5. .............................................................................................เลขที่........................

คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม

1. หน้าตัดข้างดินในพื้นที่ต่างกันจะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ .................................................................................................................................................. 2. ลักษณะของหน้าดินบริเวณหน้าตัดข้างของดินบอกอะไร ..................................................................................................................................................


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. เครื่องมือขุดดิน ได้แก่ จอบ เสียม 2. ตลับเมตร 3. ค้อนตอกตะปู 4. ตะปู 5. แว่นขยาย 6. กระบอกฉีดน้าพร้อมบรรจุน้า

จานวน/กลุ่ม อย่างละ 1 อัน 1 อัน 1 อัน 5 อัน 1 อัน 1 อัน

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. สารวจหน้าตัดข้างของดินตั้งแต่ผิวดินจนถึงระดับความลึกประมาณ 1-1.2 เมตร โดย สังเกตลักษณะของเนื้อดิน เกี่ยวกับสี การจับตัวของดินและสิ่งต่างๆ ที่ปนอยู่ในดิน โดยศึกษาจากหลุมดินในพื้นที่ พร้อมทั้งวาดภาพลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน 2. อภิปรายผลที่ได้จากการสังเกต และจาแนกชั้นดินโดยใช้เกณฑ์ที่นักเรียนกาหนดขึ้น แผนภาพลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

22 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

อธิบายลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม จุดที่สารวจ.......................................................................................................................... วันที่สารวจ......................เดือน.................................................................พ.ศ..................... ลักษณะของเนื้อดิน

สีดิน

สิ่งที่ปนอยู่ในดิน

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. ดินสามารถแบ่งได้กี่ชั้น ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2. ดินในแต่ละชั้น มีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน

สมบัติของดิน ดินมีสมบัตทิ ว่ั ไป ดังนี้ 1. ลักษณะเนื้อดิน คือ คุณสมบัติทางกายภาพของเนื้อดินที่สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า บางชนิดเนื้อละเอียด บางชนิดเนื้อหยาบ ชิ้นส่วนเล็กๆ ของดินประกอบด้วยกรวด ทราย ดินตะกอน ดินเหนียวและฮิวมัส

ภาพ 6 แสดงสมบัติของดิน ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=YWZVWZBRJ64


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ลักษณะของเนื้อดินที่ดี คือมีสภาพที่เม็ดดินเกาะกันเป็นก้อนเล็กๆ ขนาดเท่าหัวไม้ขีด บ้าง เล็กกว่าบ้าง อยู่รวมกันอย่างหลวมๆ ตลอดชั้นของหน้าดินลึกประมาณ 15-20 ซม. เม็ดดิน เหล่านี้จะมีความคงทนพอสมควรต่อแรงกระแทกของน้าฝนหรือการไถพรวน แต่ถ้ามีการไถพรวน ปลูกพืช เป็นเวลานานประกอบกับไม่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มเติมลงไปในดินเลย เม็ดดินที่ประกอบ กั น เป็ น โครงสร้ า งที่ ดี นี้ ส่ ว นใหญ่ เ กิ ด จากอิ น ทรี ย วั ต ถุ ใ นดิ น เป็ น ตั ว เชื่ อ มอนุ ภ าคดิ น เหนี ย ว ดินตะกอนและทรายเข้าด้วยกัน เป็นเม็ดดินก้อนเล็กๆ ดังนั้นการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ลงไปในดินเสมอๆ จึงส่งเสริมให้เกิดสภาพโครงสร้างที่ดีดังกล่าว เมื่ออินทรียวัตถุในดินหมดไป โครงสร้างที่ดีของดินก็ จะหมดสภาพไปด้วย

ภาพ 7 แสดงชนิดของดิน ที่มา: http://www.krusarawut.net/wp/?p=13840


26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

2. สีของดิน คือ สีที่เกิดจากสารประกอบในดิน ทาให้ดินมีสี ต่างกัน เช่น ดินที่มีฮิวมัสปน อยู่มาก จะมีสีคล้า ดินที่มีเหล็กปนอยู่มากจะมีสีน้าตาลแดง ดินที่มีแมงกานีสปน จะมีสีดาหรือชมพู

ภาพ 8 แสดงสีของดิน ที่มา: http://xn--22cki2bfx1ddfj4irbtfv0f5fj1p.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8% 82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99/ 3. ความพรุน คือ ช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เป็นที่สาหรับให้น้าและอากาศผ่านเข้าไปใน เนื้อดิน ดินชั้นบนมีความพรุนมากกว่าดินชั้นล่าง

ภาพ 9 แสดงความพรุนของดินแต่ละชั้น ที่มา: http://www.krusarawut.net/wp/?cat=59&paged=5


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

4. ความเป็นกรดเป็นเบสของดิน คือ ปริมาณของไฮโดรเจนที่มีอยู่ในดินทาให้ดินมี สภาพเป็นกรดหรือเบส ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช เนื้อดินเป็นสมบัติที่เปลี่ยนแปลงได้ยาก แม้จะมีการใช้ที่ดินทาการเกษตรติดต่อกันมา เป็นเวลานาน ดินร่วนจึงนับเป็นดินที่เหมาะกับการเจริญเติบโตของพืชมากกว่าดินเหนียว และดิน ทราย ความเป็นกรดเป็นเบสของดิน หรือที่เรียกว่า พี.เอช. (pH) ของดิน ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง ของดินจะบอกเป็นค่าตัวเลข ตั้งแต่ 0 ถึง 14 ถ้าดินมีค่า พี.เอช. น้อยกว่า 7 ดินนั้นจะเป็นกรด ยิ่งน้อยกว่า 7 มากก็จะเป็นกรดมาก ถ้าดินมีค่า พี.เอช. มากกว่า 7 จะเป็นดินด่าง ดินที่มีค่า พี.เอช. เท่ากับ 7 พอดี แสดงว่าดินเป็น กลาง

ภาพ 10 แสดงการทดสอบความเป็นกรดเป็นเบสของดิน ที่มา: https://www.slideshare.net/wuttipongtubkrathok/ss-64983124


28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน ตารางแสดงค่าพีเอช (PH) ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน

ที่มา: https://www.slideshare.net/Itsososad/ss-52390227

ผลจากความเป็นกรดเป็นเบสของดิน ความเป็นกรดเป็นเบสของดินจะเป็นตัวควบคุมความมากน้อยของธาตุอาหาร ที่จะละลาย ออกมาอยู่ในน้าในดิน การละลายได้มากน้อยของธาตุอาหารพืชที่ช่วงความเป็นกรดเป็นด่างต่าง ๆ ในกรณีที่ พี.เอช. ของดินเป็นกรดมากเกินไป จะต้องทาการแก้ความเป็นกรดโดยการใส่ปูน จะเป็น ปูนขาวหรือ ปูนมาร์ลก็ได้ ก่อ นที่จะทาการปลูก พืช สาหรับดินเป็นเบสมาก แก้ได้โดยใส่ปุ๋ยคอก เพื่อปรับสภาพดินให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ภาพแสดงการแก้ไขความเป็นกรดและเบสของดิน

ใส่ปูนขาวเพื่อปรับสภาพดินที่เป็นกรด

ใส่ปุ๋ยคอกเพื่อปรับสภาพดินที่เป็นเบส

ภาพ 11 แสดงการแก้ไขความเป็นกรดและเบสของดิน ที่มา: https://www.technologychaoban.com/news_detail.php?tnid=793


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน บัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน

คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. อ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจ 2. วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมพร้อมทั้งตอบคาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 3. ปฏิบัติกิจกรรม บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมและสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม 4. ตอบคาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองและสรุปสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินได้ถูกต้อง 2. อธิบายสมบัติทางกายภาพของดิน ซึ่งได้แก่ ชั้นหน้าตัดดิน สีของดิน และเนื้อดิน และสมบัติทางเคมี ได้แก่ ความเป็นกรด-เบสของดิน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. ดินที่ขุดลงไป 15 ซม. จากผิวหน้า 2. ดินที่ขุดลงไป 40 ซม. จากผิวหน้า 3. แว่นขยาย 4. กระบอกฉีดน้า 5. ผ้าขาวบาง 6. น้า 7. บีกเกอร์ขนาด 100 ลบ.ซม. 8. กระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 9. แท่งแก้วคนสาร

จานวน/กลุ่ม 100 กรัม 100 กรัม 2 อัน 1 อัน 2 ผืน 400 ลบ.ซม. 4 ใบ 1 กล่อง 2 อัน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนคิดว่าสิ่งต่าง ๆ ที่ปนอยู่ในดินแต่ละชั้น เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร 2. นักเรียนคิดว่าดินที่นามาจากแต่ละแหล่ง มีสีของดิน เนื้อดิน และค่าความเป็นกรด - เบส เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. นาดินที่ขุดลงไป 15 ซม.จากผิวหน้า ใส่ลงในบีกเกอร์ที่ 1 และดินที่ขุดลงไป 40 ซม. ใส่ลงใน บีกเกอร์ใบที่ 2 ตามลาดับ 2. ใช้แว่นขยายสังเกตสีและเนื้อ ดิน โดยดูวิธีการบอกสี และเนื้อ ดินจากบัตรเนื้อหาที่ 2 บันทึกผล 3. ใส่น้ าลงไปในบี ก เกอร์ ที่ 1 และบี ก เกอร์ ที่ 2 บีก เกอร์ ละ 200 ซม 3 ใช้ แ ท่ งแก้ว คน หลายๆ ครั้ ง แล้ ว ตั้ ง ทิ้ ง ไว้ จ นตกตะกอน เปรี ย บเที ย บลั ก ษณะของตะกอนแล้ ว บันทึกผล 4. กรองน้าจากบีกเกอร์ที่ 1 และ 2 ลงในบีกเกอร์ใบที่ 3 และ 4 ตามลาดับ โดยค่อยๆ รินน้าผ่านผ้าขาวบาง บันทึกผลสิ่งต่างๆ ที่ติดอยู่ที่ผ้าขาวบาง 5. น ากระดาษยู นิ เ วอร์ ซั ล อิ น ดิ เ คเตอร์ จุ่ ม น้ าในบี ก เกอร์ ที่ 3 และ 4 อ่ า นค่ า pH บันทึกผล


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

ภาพ 12 แสดงค่าพีเอชและความเป็นกรดเป็นเบส ที่มา: http://www.mr-gaiguang.com/ บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. สีของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร 2. เนื้อของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร 3. ลักษณะการตกตะกอนของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร 4. สิ่งที่เหลือค้างบนผ้าขาวบางของดินทั้ง 2 ระดับมีความแตกต่างกันอย่างไร 5. ถ้าใช้ความลึกของดินเป็นเกณฑ์ นักเรียนสามารถจาแนกดินได้กี่ประเภท อะไรบ้าง 6. เปรียบเทียบผลการทดลองของกลุ่มนักเรียนกับกลุ่มอื่นๆ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน สมาชิกกลุ่ม 1. .............................................................................................เลขที่........................ 2. .............................................................................................เลขที่........................ 3. .............................................................................................เลขที่........................ 4. .............................................................................................เลขที่........................ 5. .............................................................................................เลขที่........................ คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนคิดว่าสิ่งต่าง ๆ ที่ปนอยู่ในดินแต่ละชั้น เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร .................................................................................................................................................. 2. นักเรียนคิดว่าดินที่นามาจากแต่ละแหล่ง มีสีของดิน เนื้อดิน และค่าความเป็นกรด-เบส เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ .................................................................................................................................................. วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. ดินที่ขุดลงไป 15 ซม. จากผิวหน้า 2. ดินที่ขุดลงไป 40 ซม. จากผิวหน้า 3. แว่นขยาย 4. กระบอกฉีดน้า 5. ผ้าขาวบาง 6. น้า 7. บีกเกอร์ขนาด 100 ลบ.ซม. 8. กระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ 9. แท่งแก้วคนสาร

จานวน/กลุ่ม 100 กรัม 100 กรัม 2 อัน 1 อัน 2 ผืน 400 ลบ.ซม. 4 ใบ 1 กล่อง 2 อัน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. นาดินที่ขุดลงไป 15 ซม.จากผิวหน้า ใส่ลงในบีกเกอร์ที่ 1 และดินที่ขุดลงไป 40 ซม. ใส่ลงใน บีกเกอร์ใบที่ 2 ตามลาดับ 2. ใช้แว่นขยายสังเกตสีและเนื้อดิน โดยดูวิธีการบอกสี และเนื้อดินจากบัตรเนื้อหาที่ 2 บันทึกผล 3. ใส่น้าลงไปในบี ก เกอร์ที่ 1 และบี ก เกอร์ที่ 2 บีก เกอร์ล ะ 200 ซม 3 ใช้แ ท่งแก้วคน หลายๆ ครั้ง แล้วตั้งทิ้งไว้จนตกตะกอน เปรียบเทียบลักษณะของตะกอนแล้วบันทึกผล 4. กรองน้าจากบีกเกอร์ที่ 1 และ 2 ลงในบีกเกอร์ใบที่ 3 และ 4 ตามลาดับ โดยค่อยๆ รินน้าผ่านผ้าขาวบาง บันทึกผลสิ่งต่างๆ ที่ติดอยู่ที่ผ้าขาวบาง 5. นากระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ จุ่มน้าในบีกเกอร์ที่ 3 และ 4 อ่านค่า pH บันทึกผล

ภาพ แสดงค่าพีเอชและความเป็นกรดเป็นเบส บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ดิน

ลักษณะทั่วไป สี เนื้อดิน

ลักษณะตะกอน

สิ่งที่ปนในดิน ซึ่งค้างบนผ้าขาวบาง

ค่า pH


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. สีของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 2. เนื้อของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 3. ลักษณะการตกตะกอนของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 4. สิ่งที่เหลือค้างบนผ้าขาวบางของดินทั้ง 2 ระดับมีความแตกต่างกันอย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 5. ถ้าใช้ความลึกของดินเป็นเกณฑ์ นักเรียนสามารถจาแนกดินได้กี่ประเภท อะไรบ้าง ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................ 6. เปรียบเทียบผลการทดลองของกลุ่มนักเรียนกับกลุ่มอื่นๆ มีความเหมือนหรือแตกต่างกัน อย่างไร ............................................................................................................................................ ............................................................................................................................................


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

36

ชุดที่ 1 ดิน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บัตรเนื้อหาที่ 3 เรื่อง การใช้ประโยชน์และการปรับปรุงคุณภาพของดิน

การใช้ประโยชน์จากดิน 1. ประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น พืชต้องอาศัยดินเจริญเติบโต สัตว์กินพืชและสัตว์เป็นอาหาร มนุษย์จึงได้รับอาหารจาก ดินทางอ้อม น้าในดินที่มีปริมาณมากจะกลายเป็นแม่น้า เครื่องนุ่งห่มส่วนใหญ่ทามาจากเส้นใยของพืชหรือจากขนสัตว์ แผ่นดินเป็นที่ตั้งเมือง บ้านเรือน รวมทั้งดินยังเป็นวัสดุที่ใช้สร้างอาคาร เราใช้พืชสมุนไพรทายารักษาโรค

ภาพ 13 แสดงประโยชน์ของดิน ที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=1P3H3LTAzU0


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

2. ประโยชน์ต่อเกษตรกรรม เช่น เป็นไร่หรือสวน เป็นที่เจริญเติบโตของพืช

ภาพ 14 แสดงประโยชน์ของดินที่มีตอ่ มนุษย์และเกษตรกรรม ที่มา: http://areadigit.blogspot.com/2014/07/blog-post_28.html


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

ปัญหาที่เกิดกับดินและการปรับปรุงคุณภาพดิน เมื่อดินสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ทาให้เราใช้ประโยชน์จากดินไม่ได้เต็มประสิทธิภาพ อาจ เกิดจาก 1. ดินพังทลาย น้าและลมจะกัดเซาะผิวดิน ทาให้บริเวณผิวดินเป็นร่อง 2. การทาลายปุา ทาให้หน้าดินที่สมบูรณ์ถูกชะล้างไป 3. การทาเกษตรกรรมที่ไม่ถูกวิธี เช่น การปลูกพืชบางชนิด การไถพรวนขณะดินแห้ง หรือการเผาปุาไม้

ภาพ 15 แสดงการปรับปรุงคุณภาพดิน ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=asz0d0v7kik


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ปัญหาที่เกิดกับดินมีหลายลักษณะ ได้แก่ 1. ดินเค็ม คือ ดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายอยู่ในดินปริมาณมาก ทาให้พืชขาดน้า และ เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหารพืช ซึ่งอาจเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น ดินมีแหล่งกาเนิดจากแร่หรือหินที่ มีเกลืออยู่ ดินแช่น้าทะเลเป็นระยะเวลานาน หรือการทานาเกลือ แนวทางการแก้ไข ทาได้โดยปลูกพืชที่สามารถดูดเกลือเข้าไปสะสมได้ดี ปลูกไม้ยืนต้นที่มี รากลึ ก เพื่ อ ลดความเค็ ม ของดิ น ในที่ ลุ่ ม ที่ เ ป็ น พื้ น ที่ ใ ห้ น้ า การชะล้ า งดิ น เค็ ม ด้ ว ยการขั ง น้ าจื ด ไว้ หน้าผิวดิน หรืออาจปลูกพืชเศรษฐกิจที่ทนเค็มได้ 2. ดินเปรี้ยว คือ ดินที่มีสภาพเป็นกรด แนวทางการแก้ไข ใช้หลักการเดียวกับการทาสารที่เป็นกรดให้มีสภาพเป็นกลาง ด้วยการ ใส่สารที่เป็นด่างลงไปในดินให้มีปริมาณเท่ากับความเป็นกรดทั้งหมดของดิน สารที่ใช้กันทั่ว ๆ ไป ได้แก่ ปูนขาว เมื่อ ใช้ปูนที่มีอ นุภ าคละเอียดและคลุก เคล้าให้เข้ ากับดินมากเท่าใด ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นก็จ ะ รวดเร็วทาให้ดินเปลี่ยนสภาพจากกรดได้เร็วขึ้นเท่านั้น 3. ดินด่าง คือดินที่มีค่า pH มากกว่า 7 มักพบบริเวณพื้นที่แถบภูเขาหินปูน หรือการใส่ ปุ๋ยเคมีเป็นเวลานาน แนวทางการแก้ไข ปรับสภาพดินด้วยการเติมกามะถันผงลงไป 4. ดินจืด คือดินที่ขาดธาตุอาหารสาคัญของพืชได้หมด เช่น เมื่อปลูกมันสาปะหลังไปนานๆ ดินบริเวณนั้นก็ปลูกพืชชนิดอื่นไม่ได้อีก แนวทางการแก้ไข ปัญหาดินจืดต้องลงทุนมาก และใช้ระยะเวลา ดังนั้นควรรีบแก้ไข นั่นก็ คือการปลูกพืชสลับอย่างพืชตระกูลถั่ว หรือใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม 5. ดินฝาด เป็นดินที่มีสภาพเป็นเบสมาก ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชเช่นกัน เป็นสภาพของดินที่แก้ไขปรับปรุงได้ยาก มีความซับซ้อนมาก


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

40 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

วิธีการพัฒนาและอนุรักษ์ดิน วิธีการพัฒนาและอนุรักษ์ดิน สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 1. การใช้วัสดุคลุมดิน เป็นการนาเอาวัสดุใด ๆ เช่น ฟางข้ าว หญ้าแห้ง ขี้เลื่อ ยหรือ เศษตอซังหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตออกจากพื้นที่แล้ว คลุมหน้าดินไว้เพื่อปูองกันการเซาะกร่อนของ ดิน โดยช่วยปูองกันหรือลดการกระแทกของดินจากเม็ดฝนและลม ลดการไหลบ่าของน้า ช่วยรักษา ความชื้นในดิน เป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน แต่อาจมีปัญหาบ้างคือ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของ แมลงและโรคพืชได้ กรณีที่ใช้หญ้าไม่แห้งสนิทอาจก่อให้เกิดการงอกของหญ้ากลายเป็นวัชพืช 2. การปลูกพืชคลุมดิน เป็นการปลูกพืชที่มีใบหนาแน่น เพื่อปกคลุมผิวหน้าดินและมี ระบบรากลึกและแน่นเพื่อยึดหน้าดิน ตัวอย่างเช่น พืชในวงศ์ถั่ว และวงศ์หญ้า การปลูกพืชคลุมดิน ช่วยปูองกันแรงปะทะของเม็ดฝนต่อดิน ช่วยดูดธาตุอ าหาร มาเก็บเอาไว้ทาให้ลดการสูญเสียโดย การชะล้างละลายไปกับน้าใต้ดิน และเมื่อส่วนต่างๆ ของพืชตายและถูกย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ ดินก็ จะกลายเป็น อินทรียวัตถุ ส่งผลให้ดิ นมีสภาพทางกายภาพที่ เหมาะสม กรณีใช้พืชตระกูลถั่ วยัง มี ประโยชน์ในแง่ของการตรึงไนโตรเจนไว้ในดินได้อีกด้วย 3. การปลูกพืชตามแนวระดับ เป็นการไถพรวน หว่าน และเก็บเกี่ยวผลผลิตพืชขนานไป ตามแนวระดับ เพื่อลดอัตราการชะล้างพังทลายของดิน ส่วนใหญ่เป็นการปลูกพืชชนิดเดียว หรือกลุ่ม เดียวกันในพื้นที่ 4. การปลู ก พื ช ตามแบบขั้ น บั น ได การท าขั้ น บั น ได เพื่ อ ช่ ว ยลดความลาดเท และ ความเร็วของน้าที่ไหลบ่า ทาให้ปริมาณการสูญเสียเนื้อดินน้อยลง ปูองกันการเกิดร่องน้า และช่วยให้ ดินเก็บความชื้นได้มากขึ้น 5. การใช้ระบบปลูกพืช เป็นการปลูกพืชหลายชนิดในแปลงเดียวกัน อาจปลูกพร้อมกัน เหลื่อมฤดูกัน หรือปลูกคนละฤดูก็ได้ จุดประสงค์ในแง่การอนุรักษ์ดินคือให้มีพืชคลุมพื้นที่ตลอดเวลา และมากที่สุดเป็นการลดการชะล้างพังทลายของดิน และช่วยรักษาความชุ่มชื้นของดิน โดยทั่วไป สามารถทาได้ 3 ลักษณะ คือ การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม และการปลูกพืชเหลื่อมฤดู


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

41 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

6. การใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดิน หญ้าแฝกเป็นพืชที่มีระบบรากหยั่งลึกลงไปในดินมากกว่า ที่จะแผ่ขยายออกมาทางด้านข้าง รากจานวนมากประสานแน่นกันเป็นร่างแหสามารถเกาะยึดดินได้ดี การปลูกหญ้าแฝกให้ชิดกันสามารถเป็นแนวกาแพงที่มีชีวิตปูองกันการชะล้างพังทลายของดินได้ เป็น พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ให้มีการศึกษา และนาหญ้าแฝกมาใช้อนุรักษ์ดินและ น้าหญ้าแฝกไม่มีลักษณะเป็นวัชพืชเนื่องจากเมล็ดส่วนใหญ่ฝุอลีบ และการแตกกอมีรัศมีเพียง 50 เซนติเมตรเท่านั้น จึงไม่รบกวนพืชหลัก

ภาพ 16 แสดงวิธีการพัฒนาและอนุรกั ษ์ดิน ที่มา : http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa.com/content/index.php? page=category&type=view&cat=16


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

42 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน บัตรกิจกรรมที่ 3 โครงการเนื่องในพระราชดาริ

คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ให้นัก เรียนสืบค้น “โครงการเนื่อ งในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัช กาลที่ 9” ที่ เ กี่ย วกั บ การแก้ ไ ขปั ญ หาและพั ฒนาดิ น ในประเทศไทย พร้ อ มภาพประกอบมา 1 โครงการ

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบาย ที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาดินได้


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

43 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

แบบบันทึกกิจกรรมที่ 3 โครงการเนื่องในพระราชดาริ ชื่อ..........................................................นามสกุล...................................................เลขที.่ ................... คาชี้แจง : ให้นักเรียนสืบค้น “โครงการเนื่องในพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9” ที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาดินในประเทศไทย พร้อมภาพประกอบมา 1 โครงการ ชื่อโครงการ......................................................................................................................... ปัญหาที่เกิดขึ้น.................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาดิน..................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………….


44 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ภาพประกอบของโครงการ

เมื่อนักเรียนได้ศึกษาบทเรียนและลองฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกันแล้ว ไหนลองทาแบบทดสอบหลังเรียน ดูซิคะว่าจะได้คะแนนเท่าไร


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

45 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1

โลกและการเปลี่ยนแปลง

เวลา 10 นาที

เรื่อง ดิน

10 คะแนน

คาชี้แจง ให้นักเรียนกากบาท () เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว ลงในกระดาษคาตอบ 1. ดินที่มีค่า pH เท่ากับ 4 มีสมบัติตามข้อใด และวิธีการแก้ไขจะต้องทาอย่างไร ก. เป็นกรด แก้โดยการเติมปุ๋ย ข. เป็นกรด แก้โดยการเติมปูนขาว ค. เป็นเบส แก้โดยการเติมฮิวมัส ง. เป็นเบส แก้โดยการเติมดินมาร์ล 2. เมื่อทดสอบดินปรากฏว่ากระดาษลิตมัสสีแดง ไม่เปลี่ยนสี ส่วนกระดาษลิตมัสสีน้าเงินเปลี่ยนเป็น สีแดง จะสรุปผลการทดสอบได้ว่าอย่างไร ก. ดินที่นามาทดสอบมีสมบัติเป็นเบส ข. ดินที่นามาทดสอบเป็นดินเค็ม ค. ดินที่นามาทดสอบมีสมบัติเป็นกรด ง. ยังสรุปไม่ได้ ต้องทดสอบต่อไป 3. ข้อใดเป็นดินที่เหมาะสมสาหรับการปลูกพืชมากที่สุด ก. ดินเหนียว

ข. ดินร่วน

ค. ดินร่วนปนทราย

ง. ดินทราย


46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

4. วัตถุต้นกาเนิดดินคือข้อใด ก. ซากพืชซากสัตว์ ค. อินทรีย์สาร

ข. ฮิวมัส ง. หินและแร่

5. ลักษณะของดินชั้นบนกับดินชั้นล่างต่างกันอย่างไร ก. ดินชั้นบนมีฮิวมัสมากกว่า

ข. ดินชั้นบนมีความพรุนน้อยกว่า

ค. สีของดินชั้นบนจางกว่าดินชั้นล่าง

ง. ดินชั้นบนมีขนาดของเม็ดดินเล็กกว่า

ใช้แผนภาพส่วนประกอบของดิน ตอบคาถามข้อ 6

6. จากแผนภาพด้านบน ข้อใดคือส่วนประกอบที่ทาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด ก. น้า

ข. อากาศ

ค. อนินทรีย์วัตถุ

ง. อินทรีย์สาร

7. ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ อั ต ราการไหลบ่ า ของน้ า การชะล้ า งพั ง ทลายของดิ น การทั บ ถมของ อินทรียวัตถุในดินคือปัจจัยใด ก. ภูมิประเทศ ข. เวลา ค. สิ่งมีชีวิต

ง. ภูมิอากาศ


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

47 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

8. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด ก. สภาพภูมิประเทศเดียวกันทาให้ดินแต่ละท้องที่มีสภาพเหมือนกัน ข. สภาพส่วนผสมจากฮิวมัสของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ มีผลทาให้ดินมีลักษณะและสมบัติต่างกัน ค. วัตถุที่เป็นต้นกาเนิดดินประเภทเดียวกัน ใช้เวลาในการสลายตัวเท่ากัน ง. สภาพภูมิประเทศไม่เป็นปัจจัยที่ทาให้สภาพของดินแต่ละท้องที่ต่างกัน 9. ดินเกิดขึ้นจากกระบวนการใด A : การสลายของหิน B : การสลายของแร่ธาตุ C : การทับถมของจุลินทรีย์ในดิน D : การสลายตัวของซากพืชซากสัตว์ จงเลือกคาตอบจากคาถามด้านบน ก. ข้อ A และ B

ข. ข้อ A B และ C

ค. ข้อ A B และ D

ง. ถูกทุกข้อ

1 0 โครงการปลูกหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดิน ตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว . เป็นการแก้ปญ ั หาเรื่องใดของดิน ก. การพังทลายของหน้าดิน ข. สภาพดินเปรี้ยว ค. สภาพดินเค็ม

ง. ดินที่มีความแห้งแล้ง


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

48 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4

กระดาษคาตอบ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1

โลกและการเปลี่ยนแปลง

เวลา 10 นาที

เรื่อง ดิน

10 คะแนน

ชื่อ...........................................................นามสกุล...................................................เลขที.่ ...................

ข้อ

แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค

ข้อ ง

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้

10


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ภาคผนวก

49 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2


50 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ 1 เรื่อง ดิน

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ คาตอบ 1 ข 2 ง 3 ค 4 ก 5 ค 6 ก 7 ข 8 ค 9 ข 10 ก

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ คาตอบ 1 ข 2 ค 3 ข 4 ค 5 ก 6 ค 7 ก 8 ข 9 ง 10 ก


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

51 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง กระบวนการเกิดดิน คาตอบก่อนปฏิบัติกิจกรรม

1. นักเรียนคิดว่าสารใดบ้าง เปรียบเหมือนได้กับวัตถุต้นกาเนิดดินในธรรมชาติ ทรายละเอียด กรวด ปุ๋ยอินทรีย์ 2. จากการสังเกต ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี มีลักษณะอย่างไร และปุ๋ยทั้งสองได้มาจากอะไร ปุ๋ยอินทรีย์มีสีคล้า และมีเนื้อเป็นผง ส่วนปุ๋ยเคมีที่มีลักษณะเป็นเม็ดๆ และมีสีฟ้า

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. นาทรายละเอียด หินละเอียด ปุ๋ยอินทรีย์ ใส่ในครกหินแล้วตาให้ละเอียดที่สุด 2. บันทึกผล (นักเรียนอาจเลือกใช้สารได้ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป)

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม สารที่เลือก 1. ทรายละเอียด 2. กรวด 3. ปุ๋ยอินทรีย์

ลักษณะสารก่อนผสม เป็นผงละเอียด สีขาวเทา เป็นก้อนเล็กๆ มีสีคล้า เนื้อเป็นผง

ลักษณะสารหลังการผสมกัน เป็นสารผสม ทั้งผงละเอียด ผงหยาบและมีสีคล้า


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

52 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

คาตอบหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนเลือกสารใดเพื่อผสมกันบ้าง และลักษณะสารหลังการผสมที่ได้เป็นอย่างไร เลือกทรายละเอียด กรวด และปุ๋ย อินทรีย์ เป็ นสารผสม ทั้งผงละเอียด ปะปนกับ ผงหยาบๆ และมีสีคล้า 2. สารที่ได้จากการผสมมีลักษณะเหมือนดินทั่วไปหรือไม่ อย่างไร ไม่เหมือน เพราะดินทั่วๆ ไป มีสีคล้าเหมือนกันตลอด จนแยกไม่ออกว่าส่วนใดเป็น หินละเอียดหรือทราย และส่วนใดเป็นฮิวมัส แต่สารผสมใหม่ที่ได้ยังแยกออกว่าส่วน ใดเป็นหินละเอียด หรือทราย หรือปุ๋ยอินทรีย์ 3. การใช้ครกหินบดสารที่นักเรียนเลือก เปรียบได้กับกระบวนการใดของการเกิดดิน เปรียบได้กับกระบวนการสลายตัวของหิน แร่ และอินทรียวัตถุ 4. ถ้ า ทิ้ ง สารที่ ไ ด้ จ ากการผสมนี้ ในสภาพภู มิ อ ากาศ ภู มิ ประเทศต่ า งกั น เป็น เวลานาน นักเรียนคิดว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร มีการเปลี่ยนแปลง คือ สารที่ได้จากการผสมจะมีการผุพังจนกลายเป็นดิน 5. นักเรียนสามารถเขียนแผนภาพกระบวนการเกิดดินได้อย่างไร


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

53 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.2 เรื่อง การสารวจลักษณะชั้นดิน คาตอบก่อนปฏิบัติกิจกรรม

1. หน้าตัดข้างดินในพื้นที่ต่างกันจะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ ลักษณะของดินแต่ละชั้นในหน้าตัด ข้างของดินจะแตกต่างกัน ทั้งส่ว นประกอบ ลักษณะ รูปร่าง ความหยาบ ความละเอียด ความหนา สี และความหนาแน่นของ ชั้นดิน รวมทั้งลักษณะของหน้าตัดข้างของดินในแต่ละพื้นที่ก็ไม่เหมือนกัน 2. ลักษณะของหน้าดินบริเวณหน้าตัดข้างของดินบอกอะไร ลักษณะของหน้าดินที่บริเวณหน้าตัดข้างของดินจะบอกถึง กระบวนการเกิดดิน

วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. สารวจหน้าตัดข้างของดินตั้งแต่ผิวดินจนถึงระดับความลึกประมาณ 1-1.2 เมตร โดยสังเกตลักษณะของเนื้อดิน เกี่ยวกับสี การจับตัวของดินและสิ่งต่างๆ ที่ปนอยู่ใน ดิน โดยศึกษาจากหลุมดินในพื้นที่ พร้อมทั้งวาดภาพลักษณะของหน้าตัดข้างของ ดิน 2. อภิปรายผลที่ได้จากการสังเกต และจาแนกชั้นดินโดยใช้เกณฑ์ที่นักเรียนกาหนดขึ้น


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

54 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

ตัวอย่างการวาดแผนภาพ และอธิบายลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน

ลักษณะของหน้าตัดข้างของดิน ในการศึกษาดินในภาคสนามนั้น ต้องพิจารณาถึง 3 มิติ คือ ทั้งความกว้าง ยาว และลึก เมื่อมองไปตามแนวดิ่ง จะเห็นดินทับถมกันเป็นชั้นๆ เราเรียกว่า หน้าตัดดิน (soil pro file) ซึ่งประกอบด้วย ชั้นบนสุด (surface soil) ซึ่งจะมีอินทรียวัตถุสะสมอยู่ ชั้นที่ 2 เป็นชั้นสลายตัวของหินและแร่พร้อมที่จะเป็นดินเรียกว่า เรโกลิท (regolith) และชั้นที่ 3 เป็นชั้นที่หินบางชนิดกาลังสลายตัวอยู่เรียกว่า วัตถุต้นกาเนิด (parent material) ส่วนชั้นล่างสุด เป็นส่วนที่ให้กาเนิดดินเรียกว่า หินดินดาน


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

55

ชุดที่ 1 ดิน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม จุดที่สารวจ สนามกีฬา โรงเรียนธารทองพิทยาคม อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ วันที่สารวจ …………………...เดือน …………………………….พ.ศ………………... ลักษณะของเนื้อดิน เนื้อดินยึดติดกันเป็นก้อน แน่นอุ้มน้าได้ดี น้าซึมผ่านยาก

สีดิน น้าตาลอมแดง

สิ่งที่ปนอยู่ในดิน รากพืช เศษหิน

ตอบตามที่สังเกตเห็นจากการทากิจกรรม

สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ลั ก ษณะหน้ า ตั ด ข้ า งของดิ น แบ่ ง เป็ น ชั้ น ตามแนวหน้ า ตั ด ซึ่ ง แต่ ล ะชั้ น มี สี ส่วนประกอบ ความหยาบละเอียดของดินไม่เหมือนกัน อาจเป็นเพราะมีปัจจัยที่ช่วย สลายวัตถุต่างๆ ในดินแตกต่างกัน เพราะชั้นที่ลึกลงไปจะมีลักษณะของวัตถุต่างๆ ที่ ปนอยู่มีขนาดใหญ่กว่า โดยเฉพาะเศษหิน สีของดิน โดยรวมจะมีสีสันของวัตถุที่ปน อยู่หลากหลายกว่า ในขณะที่ชั้นบน ส่วนใหญ่จะมีสีเข้มกว่า คาตอบหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. ดินสามารถแบ่งได้กี่ชั้น ใช้เกณฑ์อะไรในการแบ่ง แบ่งเป็น 2 ชั้น โดยใช้ลักษณะ และส่วนประกอบของดินเป็นเกณฑ์ คือ ดินชั้นบน ดินชั้นล่าง 2. ดินในแต่ละชั้น มีลักษณะเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ดินในแต่ละชั้นของหน้าตัดข้างของดิน จะมีลักษณะไม่เหมือนกันทั้งส่วนประกอบ สี ความหนาแน่น ความหยาบ ความละเอียด


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

56 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง สมบัติของดิน

คาตอบก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. นักเรียนคิดว่าสิ่งต่างๆ ที่ปนอยู่ในดินแต่ละชั้น เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร แตกต่างกัน เพราะดินแต่ละชั้นจะมีการทับถมของซากพืชซากสัตว์ต่างกัน 2. นัก เรีย นคิ ดว่ า ดิน ที่ นามาจากแต่ ล ะแหล่ ง มี สีข องดิ น เนื้ อ ดิน และค่ าความเป็ น กรด-เบสเหมือน หรือแตกต่างกันหรือไม่ แตกต่างกัน ทั้งสีของดิน เนื้อดิน และค่าความเป็นกรด-เบส เพราะดินแต่ละแหล่ง มีสภาพต่างกัน วิธีปฏิบัติกิจกรรม 1. นาดินที่ ขุด ลงไป 15 ซม.จากผิว หน้า ใส่ลงในบี กเกอร์ที่ 1 และดิ นที่ขุด ลงไป 40 ซม. ใส่ลงในบีกเกอร์ใบที่ 2 ตามลาดับ 2. ใช้แว่นขยายสังเกตสีและเนื้อดิน โดยดูวิธีการบอกสี และเนื้อดินจากบัตรเนื้อหา ที่ 3 บันทึกผล 3. ใส่น้าลงไปในบีกเกอร์ที่ 1 และบีกเกอร์ที่ 2 บีกเกอร์ละ 200 ซม 3 ใช้แท่งแก้วคน หลายๆ ครั้ง แล้วตั้งทิ้งไว้จนตกตะกอน เปรียบเทียบลักษณะของตะกอนแล้ว บันทึกผล 4. กรองน้าจากบีกเกอร์ที่ 1 และ 2 ลงในบี กเกอร์ใบที่ 3 และ 4 ตามลาดับ โดย ค่อยๆ รินน้า ผ่านผ้าขาวบาง บันทึกผลสิ่งต่างๆ ที่ติดอยู่ที่ผ้าขาวบาง 5. นากระดาษยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ จุ่ม น้าในบี กเกอร์ที่ 3 และ 4 อ่านค่า pH บันทึกผล


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

57 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ดิน ดินที่ขุดลงไป

ลักษณะทั่วไป สี เนื้อดิน สีคล้า

15 ซม. ดินที่ขุดลงไป 40 ซม.

สีจางลง

ลักษณะตะกอน

สิ่งที่ปนในดิน

ซึ่งค้างบนผ้าขาวบาง ดินร่วน การตกตะกอนเร็ว เศษใบไม้ผุ และ เม็ดดินโต และมีเม็ดดินโต รากหญ้า ดินร่วน

การตกตะกอนช้า

เม็ดดินเล็ก และมีเม็ดดินเล็ก

ไม่มีเศษใบไม้

ค่า pH 6 8


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

58 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดที่ 1 ดิน

คาตอบหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. สีของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ต่างกัน คือ ดินในบีกเกอร์ที่ 1 จะมีสีที่คล้ากว่าดินในบีกเกอร์ที่ 2 2. เนื้อของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร เนื้อดิน เป็นดินร่วนเหมือนกัน แต่ในบีกเกอร์ที่ 1 จะมีเม็ดดินโตกว่า 3. ลักษณะการตกตะกอนของดินทั้ง 2 ระดับ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร การตกตะกอนของดินในบี กเกอร์ที่ 1 เร็ว กว่ าดินในบี กเกอร์ที่ 2 เนื่องจากมี เม็ดดินโตกว่า 4. สิ่งที่เหลือค้างบนผ้าขาวบางของดินทั้ง 2 ระดับมีความแตกต่างกันอย่างไร บีกเกอร์ที่ 1 จะมีเศษใบไม้ และรากหญ้า ส่วนบีกเกอร์ที่ 2 ไม่มีเศษใบไม้ หรือ รากหญ้า 5. ถ้าใช้ความลึกของดินเป็นเกณฑ์ นักเรียนสามารถจาแนกดินได้กี่ประเภท อะไรบ้าง 2 ประเภทได้แก่ ดินชั้นบน และดินชั้นล่าง 6. เปรีย บเทียบผลการทดลองของกลุ่ม นัก เรียนกั บกลุ่มอื่นๆ มีความเหมือ นหรื อ แตกต่างกันอย่างไร แตกต่างกัน ที่สีของดิน เนื้อดิน และค่า pH ที่ได้ บางกลุ่มได้ค่า pH มากกว่า 7 บางกลุ่มได้ค่า pH น้อยกว่า 7


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

59 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3 โครงการเนื่องในพระราชดาริ โครงการเนื่องในพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 9 ชื่อโครงการ โครงการแกล้งดิน ปัญหาที่เกิดขึ้น พื้นที่ดินเป็นป่าพรุ ดินมีสภาพเป็นกรด ไม่สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจได้ หรือ พืชปัญหาที่เกิดขึ้น ที่เพาะปลูกเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ผลผลิตไม่เป็นไปตามที่ คาดหวัง แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาดิน การแกล้ ง ดิ น เป็ น การเร่ง ท าให้ ดิ น เปรี้ ย วเป็ น กรดจั ด รุ น แรงที่ สุ ด จนไม่ ส ามารถปลู ก พื ช เศรษฐกิจได้ จากนั้นหาวิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดรุนแรงที่สุด ให้สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจ ได้ โดยอาศัยวิธีการต่างๆ คือ 1. แก้ไขโดยวิธีการควบคุมระดับน้าใต้ดิน พยายามคุมน้าใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดินเลนซึ่งมี สารประกอบไพไรต์ เป็นการป้องกันมิให้สารประกอบไพไรต์ทาปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูก ออกซิไดซ์ 2. แก้ไขโดยวิธีปรับปรุงดินตามแนวพระราชดาริ โครงการนี้จะมีวิธีปรับปรุงดิน 3 วิธีอาจ เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมและตามสภาพของดิน คือ วิธีการที่ 1 ใช้น้าชะล้างความเป็นกรด วิธีการที่ 2 การแก้ไขดินเปรี้ยวโดยใช้ปูนผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน วิธีการที่ 3 การใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น้าชะล้างและควบคุมระดับน้าใต้ดินเป็นวิธีการ ที่สมบูรณ์ที่สุดและใช้ได้ผลมากในพื้นที่ซึ่งดินเป็นกรดจัดรุนแรงหรือ ถูกปล่อยทิ้งให้รกร้างว่างเปล่าเป็นเวลานาน


60 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

ภาพ 17 โครงการแกล้งดิน ที่มา : http://www.sator4u.com/paper/2124


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

61 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

บรรณานุกรม

หนังสือ กรมวิชาการ. (2546). ธรณีวิทยาน่ารู้ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ขจีรัตน์ จิระอรุณ (แปล), Fiona Watt (เขียน). (2542). ชุดวิทยาศาสตร์ Go Genius และ การทดลองเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์. ธนพงษ์ วัชรโรจน์. (2559). เรียนเก่งง่ายนิดเดียว ชุดเรียนลัดเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ: พี อาร์ คัลเลอร์พริ้นท์ จากัด. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2559). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). คู่มือครูสาระการเรียนรู้พื้นฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. แหล่งอ้างอิงออนไลน์ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2553). ความรู้เรื่อง ดิน. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://osl101.ldd.go.th/easysoils/chapter.htm


62 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2553). องค์ประกอบของดิน. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://osl101.ldd.go.th/easysoils/s_compo.htm เครื่องวัดพื้นที่ Areadigit. (2557). เกษตรอินทรีย์ชีวภาพ. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้น จาก http://areadigit.blogspot.com/2014/07/blog-post_28.html ธิดารัตน์ ไสยสิทธิ์ และคณะ. (2558). มลพิษทางดิน. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.slideshare.net/Itsososad/ss-52390227 บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). การบารุงรักษาดิน [Video file]. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=asz0d0v7kik บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). ประโยชน์ของดิน [Video file]. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=1P3H3LTAzU0 บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). สมบัติของดิน [Video file]. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=YWZVWZBRJ64 บทเรียนออนไลน์ กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). ส่วนประกอบของดิน [Video file]. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=uAAIX4oUfiA มติชนออนไลน์. (2556). ปัญหาของดิน. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https:// www.technologychaoban.com/news_detail.php?tnid=793 มิสเตอร์ไก่งวง. (2560). ค่า pH ความเป็นกรด-ด่างของดิน. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2560, สืบค้น จาก http://www.mr-gaiguang.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84% E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8% A9%E0%B8%95%E0%B8%A3/%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2-ph-% E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8% 9B%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94-%E0% B8%94%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%AD% E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99/


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชุดที่ 1 ดิน

63 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

เรารักพระเจ้าอยู่หัว.com. (2554). โครงการพระราชดาริเกี่ยวกับดิน. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa.com/ content/index.php?page=category&type=view&cat=16 วุฒิพงษ์ ทับกระโทก. (2559). การทดสอบความเป็นกรดเป็นเบสของดิน. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.slideshare.net/wuttipongtubkrathok/ss -64983124 ศูนย์ศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรม. (2560). สีของดิน. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://xn--22cki2bfx1ddfj4irbtfv0f5fj1p.com/%E0%B8%AA%E0%B8%B5% E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99/ สานักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). กระบวนการเกิดดิน [Video file]. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https:// www.youtube.com/watch?v=xMW4ZgRpCo8 Blog Krusarawut. (2559). ชนิดของดิน. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http:// www.krusarawut.net/wp/?p=13840 Sator4u_team. (2559). โครงการแกล้งดิน. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http:// www.sator4u.com/paper/2124



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.