ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
ก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จัดขึ้นตามกรอบและมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทั้งหมด 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 หินและชนิดของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 ประโยชน์ของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 6 ทรัพยากรน้า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 7 โครงสร้างของโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การ เปลี่ ยนแ ปลง ขอ ง เปลือกโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ เป็นชุดกิจกรรมที่ สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนอธิบายกระบวนการเกิดและสมบัติทางกายภาพของแร่ ยกตัวอย่าง แร่ ที่ มี ในจั ง หวั ด ของตน บอกสมบั ติ เฉพาะตัว ของแร่ บอกแหล่ ง ก าเนิ ด แร่ ที่ ส าคั ญ ทาง เศรษฐกิจ ของประเทศไทย และบอกประโยชน์ของแร่แต่ล ะชนิด โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเรียนการทดลองด้วยตนเอง รวมทั้งปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ให้เกิดกับ ผู้เรียนและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ฐิติวรดา ศรีสุวรรณ์
ข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ สารบัญ
เรื่อง คานา สารบัญ
หน้า ก ข
สารบัญตาราง สารบัญภาพ
ค ง
คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คาแนะนาในการใช้ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ชนิดแร่ บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง แหล่งกาเนิดแร่ต่างๆ และการใช้ประโยชน์ บัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเขียนรายงานของแร่ชนิดต่างๆ แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเขียนรายงานของแร่ชนิดต่างๆ แบบทดสอบหลังเรียน กระดาษคาตอบ ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเขียนรายงานของแร่ชนิดต่างๆ บรรณานุกรม
จ ช ซ ฌ 1 3 7 12 16 21 24 25 27 30 31 32 33 37 38
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สารบัญตาราง
เรื่อง
หน้า
ตารางลาดับความแข็งของแร่
11
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ สารบัญภาพ
ภาพที่
หน้า
1 2
แสดงทรัพยากรแร่ แสดงลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง
7 9
3
แสดงแร่ชนิดต่างๆ
21
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
จ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คาชี้แจงสาหรับครู ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วยกิจ กรรมต่างๆ สาหรับให้นักเรียนศึกษาหา ความรู้ด้วยตนเองโดยครูเป็นผู้เตรียมชุดกิจกรรม เตรียมชั้นเรียน เตรียมสื่อและอุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงคอยดูแลและให้คาแนะนา ช่วยเหลือ โดยครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึ ก ษาคู่ มื อ ครู แผนการจั ด การเรี ย นรู้ และชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงล่วงหน้าอย่างละเอียดและ รอบคอบให้เข้าใจการสอน 2. เตรียมความพร้อมของชุดกิจ กรรม วัสดุอุปกรณ์ สื่อต่างๆ ให้เพียงพอกับ จานวนนักเรียนและพร้อมก่อนเริ่มการเรียนการสอน 3. แบ่ ง นั ก เรี ย น เป็ น กลุ่ ม กลุ่ ม ละเท่ า ๆ กั น โดยคละความสามารถ รั บ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ 4. ครูแนะนาเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและ การเปลี่ยนแปลง 5. ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 6. ชี้ แ จงให้ นั ก เรี ย นทราบเกี่ ย วกั บ บทบาทของนั ก เรี ย นในการเรี ย นรู้ ด้ ว ย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง
ฉ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
7. ดาเนินกิจกรรมตามขั้นตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 8. ขณะนักเรียนดาเนินกิจ กรรม ครูควรสังเกตและให้คาแนะนาแก่นักเรียน อย่างใกล้ชิด 9. ครูควรเน้นให้นักเรียนเก็บสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย 10. หลังจากนักเรียนได้เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรียบร้อย แล้วครูตรวจสอบผลงานนักเรียน บันทึกพฤติกรรมและความก้าวหน้าใน การเรียนของนักเรียน 11. หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
ช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1. อ่านบัตรเนื้อหาและปฏิบัติงานตามบัตรกิจกรรมทุกขั้นตอน 2. ปฏิบัติกิจกรรมโดยทางานร่วมกันเป็นกลุ่มด้วยความตั้งใจ 3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในบัตรกิจ กรรม ให้เสร็จในเวลาที่กาหนด 4. นักเรียนควรปฏิบัติตัวในการทากิจกรรม ดังนี้ 4.1 มีความตั้งใจในการทางาน 4.2 ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเอาใจใส่ 4.3 ให้ความช่วยเหลือในการเตรียมการต่างๆ ของกลุ่ม 4.4 เป็นผู้ฟัง และผู้พูดที่ดีตามสถานการณ์ 4.5 สอบถามเพื่อนเมื่อมีข้อสงสัย 4.6 ยอมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่ม 4.7 อธิบายงานให้เพื่อนฟัง 4.8 ให้กาลังใจเพื่อนและปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างสุภาพ 4.9 มีความอดทนและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.10 ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข 5. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วให้ช่วยกันเก็บบัตรต่างๆและอุปกรณ์สื่อการเรียน อื่นๆ ให้เรียบร้อย
ซ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. นักเรียนควรฟังคาอธิบายถึงความสาคัญและความจ าเป็นของชุดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง 2. นักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์ในการใช้ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จากครู 3. นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน 4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับจากคาแนะนาจากครู 5. เมื่อนักเรียนปฏิบัติชุดกิจกรรมครบทั้งชุดแล้ว นักเรียนควรทาแบบทดสอบ หลังเรียนซึ่งเป็นแบบเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
ฌ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คาแนะนาในการใช้ E—Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้ง 8 ชุดนี้ ได้มีการจัดทาขึ้น 2 รูปแบบ คือ แบบ รูปเล่มหนังสือ และ แบบ E - Book Online ซึ่งครูผู้สอน และนักเรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูล ได้ผ่ านระบบ Internet โดยมีวิธีก ารเข้าใช้ งาน E - Book Online ดังนี้ 1. ใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ในการสแกน QR code ที่หน้าปกชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ทั้ง 8 ชุด 2. ใช้อุปกรณ์สื่อสารเข้า Line และคลิ๊กเลือกเมนู Add Friends จากนั้น เลือกเมนูคิวอาร์โค้ด และถ่ายคิวอาร์โค้ดบนหน้าปกหนังสือดังตัวอย่าง
ญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
3. เมื่ออุปกรณ์สื่อสารสามารถเข้าสู่ URL ของ E - Book Online แล้ว ให้ ผู้ ใ ช้ ค ลิ๊ ก เข้ า ไป สู่ E - Book เพื่ อ ท าการศึ ก ษาข้ อ มู ล ต่ า งๆ ของ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนั้นๆ ได้ทันที 4. สาหรับความพิเศษของ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มนี้คือ ผู้เข้าใช้งานสามารถคลิ๊กดู VDO (สื่อการเรียนรู้) เพิ่มเติมที่ แทรกอยู่ภายในเนื้อหาของชุดกิจ กรรม เพื่อช่วยให้ผู้ศึกษาได้ความรู้ เสริมเพิ่มเติม นอกเหนือจากเนื้อหาในรูปเล่มหนังสือปกติ 5. สาหรับผู้ที่เข้าใช้งาน E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่ม นี้ หากมีความประสงค์จ ะ Print บัตรกิจ กรรม แบบบันทึกกิจ กรรม หรือแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน สามารถคลิ๊กที่สัญลักษณ์เครื่อง Printer ที่หน้านั้นๆ ได้ทันที
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
แนวความคิดหลัก เมื่อสภาวะแวดล้อมธรรมชาติที่อยู่ภายใต้อุณหภูมิและความดันที่เหมาะสม ธาตุ และสารประกอบจะตกผลึกเป็น แร่ที่ มีลั กษณะและสมบั ติต่า งกั น ซึ่ งต้ องใช้วิ ธี ตรวจสอบสมบัติแต่ละอย่างแตกต่างกันไป แร่ ที่ ส ารวจพบในประเทศไทยมี ห ลายชนิ ด แต่ ล ะชนิ ด ตรวจสอบทาง กายภาพได้จากรูปผลึก ความถ่วงจาเพาะ ความแข็ง ความวาว แนวแตกเรียบ สีและสี ผงของแร่และนาไปใช้ประโยชน์ต่างกัน เช่น ใช้ทาเครื่องประดับ ใช้ในด้านอุตสาหกรรม
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลกความสัมพันธ์ ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลกมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด ม.2/5 ตรวจสอบและอธิ บ าย ลั ก ษณะทางกายภาพของแร่ และ การนาไปใช้ประโยชน์ จุดประสงค์ของชุดกิจกรรม 1. อธิบายกระบวนการเกิดและสมบัติทางกายภาพของแร่ได้ 2. ยกตัวอย่างแร่ที่มีในจังหวัดของตนและอธิบายประโยชน์ได้ 3. ทดสอบลักษณะทางกายภาพและสมบัติเฉพาะตัวของแร่ตัวอย่างได้ 4. สรุปเกี่ยวกับสมบัติเฉพาะตัวของแร่ตัวอย่างได้ 5. สืบค้นข้อมูล แหล่งกาเนิดแร่ที่สาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย และบอกประโยชน์ของแร่แต่ละชนิดได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง แร่และการประยุกต์ใช้
10 คะแนน
ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นกากบาท () เลื อ กค าตอบที่ ถู ก ที่ สุ ด เพี ย งค าตอบเดี ย ว ลงใน กระดาษคาตอบ 1.
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแร่ ก. ร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว ข. รูปร่างของดินที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ค. ของแข็งที่พบได้ตามธรรมชาติ ไม่มีชีวิต ง. ไม่มีข้อถูก
2.
เพื่อเป็นการพิสูจน์ว่าแร่รัตนชาติใดเป็นของแท้หรือเป็นของปลอมนั้นจะมีวิธีทดสอบ โดยการอาศัยค่าต่อไปนี้ 1. ความแข็ง 2. ความหนาแน่นสัมพัทธ์ 3. ดัชนีหักเหของแสง
4. ความสว่างของแสง
ข้อใดเป็นข้อที่ถูกต้อง ก. ข้อ 1, 2 และ 3
ข. ข้อ 2, 3 และ 4
ค. ข้อ 2 และ 3
ง. ข้อ 1 และ 4
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
3. วิธีการจาแนกแร่มีกี่วิธี ก. 1 วิธี
ข. 2 วิธี
ค. 3 วิธี
ง. 4 วิธี
4. วิธีที่นิยมในการระบุชื่อของแร่ ก. ผงที่ได้จากการขูดแร่
ข. กลิ่น
ค. ความร้อน
ง. รูปร่าง
5. ข้อใดเป็นแร่ที่แบ่งตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ก. แร่ประกอบหิน
ข. แร่อุตสาหกรรม
ค. แร่เชื้อเพลิง
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
6. แร่ชนิดใดที่สามารถนามาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการถลุง ก. เหล็ก
ข. ดีบุก
ค. ควอตซ์
ง. สังกะสี
7. สารปนเปื้อนที่พบในแร่สังกะสีคือสารใด ก. แคดเมียม ตะกั่ว พลวง ข. แทนทาลัม ไนโอเบียม เซอร์โคเนียม ค. ตะกั่ว แทนทาลัม ง. พลวง แคดเมียม ทองแดง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
8. การเปรียบเทียบความวาวของแร่ จะเปรียบเทียบกับความวาวของสิ่งใด ก. มุก, เทียนไข
ข. แก้ว, เพชร
ค. โลหะ, ดิน
ง. ถูกหมดทุกข้อ
9. แร่ทีพบบ่อยๆ มีประมาณกี่ชนิด ก. 50 ชนิด
ข. 100 ชนิด
ค. 150 ชนิด
ง. 200 ชนิด
10 แร่ที่แข็งที่สุดคือ . ก. แร่ฟันม้า
ข. ทองแดง
ค. ไมกา
ง. เพชร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง แร่และการประยุกต์ใช้
10 คะแนน
ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............
ข้อ
แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ข้อ ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ชนิดแร่
แร่ (mineral) คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เป็นทรัพยากรที่ ใช้แล้วหมดไป ไม่อาจผลิตขึ้นมาทดแทนได้ในช่วงเวลาอันสั้น มนุษย์ใช้ประโยชน์แร่ โดย การนามาใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนการผลิต
ภาพ 1 แสดงทรัพยากรแร่ ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=3y_PHotOVQs
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
ประเภทของแร่ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1. แร่โลหะ (Metallic) แร่ที่ประกอบด้วยโลหะ มีสมบัตินาไฟฟ้า เช่น ตะกั่ ว สั ง กะสี ดี บุ ก ทองแดง แมงกานี ส ส่ ว นใหญ่ มี ส ารประกอบออกไซด์ ห รื อ สารประกอบซั ล ไฟต์ ก่อนน าไปใช้ต้องถลุงแร่ โดยใช้ ปฏิกิริยาเคมี และความร้อ น เพื่อให้ได้โลหะที่บริสุทธิ์ ส่วนโลหะที่ยังไม่ได้ถลุงเรียกว่า สินแร่ (ore) 2. แร่อโลหะ (Non-metallic) แร่ที่เป็นส่วนประกอบของอโลหะ ไม่นา ไฟฟ้า ยกเว้นแกรไฟต์นาไฟฟ้า แร่นี้นามาใช้ได้เลยไม่ต้องถลุง เช่น ฟลูออไรด์ ยิปซัม กามะถัน 3. แร่เชื้อเพลิง (Fuels) แร่ที่สามารถนามาเผาให้พลังงานความร้อนได้ และมีสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เช่น ถ่านหิน น้ามันปิโตเลียม 4. แร่รัต นชาติ (Gem) แร่ที่นามาเจียระไนหรือขัดให้ส วยงามได้ มีสี เด่นชัด ผิวมันวาว หายาก และราคาสูง นิยมทาเครื่องประดับ เช่น เพชร, ทับทิม (สีแดง), ไพริน (สีน้าเงิน), บุษราคัม (สีเหลือง), มรกต (สีเขียว), โอปอล (มีหลายสี), โกเมน (สีแดงหรือน้าตาลแดง) เป็นต้น 5. แร่กัมมันตรังสี แร่ที่สามารถปล่อยพลังงานออกมาในรูปรังสีแอลฟา, เบตา หรือ รังสีแกมมาได้ เช่น ทอเรียม แร่ยูเรเนียม โคบอลต์ -60 เรเดียม นาไปใช้ ประโยชน์ด้านการแพทย์ การเกษตร และผลิตกระแสไฟฟ้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สมบัติของแร่ หมายถึ ง สมบั ติ เ ฉพาะตั ว ของแร่ แ ต่ ล ะชนิ ด ที่ ส ามารถพิ สู จ น์ แ ละ ตรวจสอบได้โดยเครื่องมือง่ายๆ ซึ่งสมบัติทางกายภาพของแร่ ดังนี้
ภาพ 2 แสดงลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=KVjaRlFIKrY
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
1. สี (Color) เป็นลักษณะเฉพาะของแร่อย่างหนึ่ง แต่ไม่สามารถยึดเป็น เกณฑ์ตายตัวได้ เกิดจากการที่แร่ มีมลทิน (impurities) เข้ามาเจือปน ทาให้เห็นเป็น สีต่างๆ แร่ชนิดเดียวกันอาจมีสีต่างกันได้ เช่น แร่คอรันดัม มีสีแดงคือทับทิม สีน้าเงิน คือไพลิน สีเหลืองคือบุษราคัม 2. สีผงละเอียด (Streak) มักจะต่างจากสีของตัวแร่เอง โดยการนาแร่ ไปขีดลงบนแผ่นกระเบื้องหรือบนแผ่นขูดสี สีของผงแร่จะติดบนกระเบื้อง แต่แร่บาง ชนิดจะทดสอบสีผงได้ยาก เพราะมีความแข็งมากและไม่มีสี 3. ความวาว (Luster) เกิดจากลักษณะในการสะท้อนแสงของแร่ 4. ความโปร่งแสง การที่แสงเดินทางผ่านแร่ มี 3 ลักษณะ คือโปร่งใส โปร่งแสง และทึบแสง 5. ความหนาแน่ น คื อ อั ต ราส่ ว นความหนาแน่ น ของสารต่ อ ความ หนาแน่นของน้า ในการเปรี ย บเที ย บความหนาแน่ น ของสารชนิ ด ต่ า งๆ มั ก นิ ย ม เปรีย บเที ยบกั บความหนาแน่ นของน้า ซึ่งมี ค่า 1 กรั มต่อ 1 ลูกบาศก์เ ซนติ เมตร อั ต ราส่ ว นของความหนาแน่ น ของสารนั้ น ต่ อ ความหนาแน่ น ของน้ า คื อ ความ หนาแน่นสัมพัทธ์ของสารหรือ ความถ่วงจาเพาะของสาร
ความถ่วงจาเพาะของแร่ =
ความหนาแน่นของแร่ ความหนาแน่นของน้า
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
6. รู ป ผลึ ก สารแต่ แ ละชนิ ด มี รู ป ทรงเรขาคณิ ต ผลึ ก หนึ่ ง ๆ อาจ ประกอบด้วยรูปผลึกเพียงรูปเดียวหรือหลายรูปก็ได้ 7. ความแข็งของแร่ (Hardness) คือ ความคงทนต่อการขูดขีด โดย เปรียบเทียบกับสเกลความแข็งของโมห์ส (Mohs) ได้เป็นผู้กาหนดความแข็ง ซึ่งมี อยู่ 10 ระดับ
ตารางลาดับความแข็งของแร่ แร่
ความแข็ง
ลักษณะของแร่
ทัลก์ (Talc)
1
เล็บขูดเป็นรอย
ยิปซัม (Gypsum) แคลไซต์ (Calcite)
2 3
ฟลูออไรต์ (Fluorite)
4
ออร์โทเคลส (Orthoclase)
6
ควอตซ์ (Quartz)
7
โทแพช (Topaz)
8
คอรันดัม (Corumdum) เพชร (Diamond)
9 10
มีดขูดเป็นรอย
ขูดกระจกเป็นรอย
เพชรด้วยกันจึงจะขูดขีดกันเองได้ และสามารถตัดแร่อื่นได้ด้วย
ที่มา : http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/31431-044029
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ บัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง
คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. อ่านจุดประสงค์ของกิจกรรม และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจ 2. วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมพร้อมทั้งตอบคาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 3. ปฏิบัติกิจกรรม บันทึกผลการปฏิบัติกิจ กรรมและสรุปผลการปฏิบัติ กิจกรรม 4. ตอบคาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดสอบลักษณะทางกายภาพและสมบัติเฉพาะตัวของแร่ตัวอย่างได้ 2. สรุปเกี่ยวกับสมบัติเฉพาะตัวของแร่ตัวอย่างได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์
ปริมาณ/กลุ่ม
1. แร่ตัวอย่าง จากชุดกล่องตัวอย่างแร่ในห้องปฏิบัติการ 1.1 ควอตซ์
1 ก้อน
1.2 เฟลด์สปาร์
1 ก้อน
1.3 แคลไซต์
1 ก้อน
1.4 ยิปซั่ม
1 ก้อน
1.5 ดีบุก
1 ก้อน
1.6 ไพไรต์
1 ก้อน
1.7 แบไรต์
1 ก้อน
1.8 ฮีมาไทต์
1 ก้อน
1.9 ฟลูออไรต์
1 ก้อน
2. กระเบื้องผิวด้านสีขาว 3. สตางค์ทองแดง 4. มีดพับ 5. แผ่นกระจกแก้ว 6. ตะไบ 7. ถ้วยยูรีกา 8. ตาชั่ง 9. บีกเกอร์ 250 cm3 10. กระบอกตวง 10 cm3 หรือ กระบอกฉีดยา 11. แว่นขยาย 12. แม่เหล็ก
1 แผ่น 1 เหรียญ 1 อัน 1 แผ่น 1 อัน 1 อัน 1 อัน 2 ใบ 1 อัน 1 อัน 1 อัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. แร่ หมายถึง 2. เราสามารถหาความหนาแน่นของแร่ ได้อย่างไร วิธีการปฏิบัติกิจกรรม 1. ชั่งมวลของแร่ บันทึกผล 2. นาถ้วยพลาสติกมารองรับที่ปากถ้วยยูรีกา เทน้าลงในถ้วยยูรีกาจนเต็ม คอยจนกระทั่งน้าที่ล้นออกจากปากพวยถ้วยยูรีกาหยุดไหล จึงยกถ้วย พลาสติกที่รองรับน้าออกแล้วนาบีกเกอร์มารองรับแทน 3. ใช้ด้ายผูกปลายข้างหนึ่งตรงกลางก้อนแร่ แล้วจับปลายด้ายอีกข้าง หนึ่งค่อย ๆ หย่อนก้อนแร่ลงในถ้วยยูรีกาให้จมมิดน้า รอจนกระทั่งน้า ที่ออกจากพวยยูรีกาหยุดไหล วัดปริมาตรของน้าในบีกเกอร์โดยใช้ กระบอกฉีดยา หรือใช้กระบอกตวงขนาด 10 cm3 4. คานวณหาความหนาแน่นของแร่
ความหนาแน่นของแร่ (g/cm3) =
มวลของแร่ (g) ปริมาตรของแร่ (cm3)
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลอง และร่วมกันอภิปรายโดยใช้ ผลการทดลอง แนวคาถาม และรายละเอียดในบทเรียน จนสรุปได้ว่า ลักษณะต่างๆ ทางกายภาพของแร่ มีสมบัติเฉพาะตัวแต่อย่างไร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ........................................................................................................................ ........................................................................................................................
คาถามหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. เรียงลาดับความแข็ง ความหนาแน่น และบอกความวาวของแร่ที่ทดสอบ 1.1 เรียงลาดับความแข็งจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ 1.2 เรียงลาดับความหนาแน่นจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ 1.3 บอกความวาวของตัวอย่างแร่ มีดังนี้ 2. แร่ตัวอย่างชนิดใดแข็งที่สุด และชนิดใดอ่อนที่สุด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง
สมาชิกกลุ่ม 1. .........................................................................เลขที่........................ 2. .........................................................................เลขที่........................ 3. .........................................................................เลขที่........................ 4. .........................................................................เลขที่........................ 5. .........................................................................เลขที่........................ คาถามก่อนปฏิบัติกิจกรรม 1. แร่ หมายถึง ........................................................................................................................ ........................................................................................................................ 2. เราสามารถหาความหนาแน่นของแร่ ได้อย่างไร ........................................................................................................................ ........................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี รายการอุปกรณ์ 1. แร่ตัวอย่าง จากชุดกล่องตัวอย่างแร่ในห้องปฏิบัติการ 1.1 ควอตซ์ 1.2 เฟลด์สปาร์ 1.3 แคลไซต์ 1.4 ยิปซั่ม 1.5 ดีบุก 1.6 ไพไรต์ 1.7 แบไรต์ 1.8 ฮีมาไทต์ 1.9 ฟลูออไรต์ 2. กระเบื้องผิวด้านสีขาว 3. สตางค์ทองแดง 4. มีดพับ 5. แผ่นกระจกแก้ว 6. ตะไบ 7. ถ้วยยูรีกา 8. ตาชั่ง 9. บีกเกอร์ 250 cm3 10. กระบอกตวง 10 cm3 หรือ กระบอกฉีดยา 11. แว่นขยาย 12. แม่เหล็ก
ปริมาณ/กลุ่ม 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 ก้อน 1 แผ่น 1 เหรียญ 1 อัน 1 แผ่น 1 อัน 1 อัน 1 อัน 2 ใบ 1 อัน 1 อัน 1 อัน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
18 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
วิธีการปฏิบัติกิจกรรม 1. ชั่งมวลของแร่ บันทึกผล 2. นาถ้วยพลาสติกมารองรับที่ปากถ้วยยูรีกา เทน้าลงในถ้วยยูรีกาจนเต็ม คอยจนกระทั่งน้าที่ล้นออกจากปากพวยถ้วยยูรีกาหยุดไหล จึงยกถ้วย พลาสติกที่รองรับน้าออกแล้วนาบีกเกอร์มารองรับแทน 3. ใช้ด้ายผูกปลายข้างหนึ่งตรงกลางก้อนแร่ แล้วจับปลายด้ายอีกข้าง หนึ่งค่อย ๆ หย่อนก้อนแร่ลงในถ้วยยูรีกาให้จมมิดน้า รอจนกระทั่งน้า ที่ออกจากพวยยูรีกาหยุดไหล วัดปริมาตรของน้าในบีกเกอร์โดยใช้ กระบอกฉีดยา หรือใช้กระบอกตวงขนาด 10 cm3 4. คานวณหาความหนาแน่นของแร่
ความหนาแน่นของแร่ (g/cm3) =
มวลของแร่ (g) ปริมาตรของแร่ (cm3)
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลอง และร่วมกันอภิปรายโดยใช้ ผลการทดลอง แนวคาถาม และรายละเอียดในบทเรียน จนสรุปได้ว่า ลักษณะต่างๆ ทางกายภาพของแร่ มีสมบัติเฉพาะตัวแต่อย่างไร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ก้อน ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ชื่อแร่
ความ แข็ง
สี
สีผง
ความ ความถ่วง
ละเอียด มันวาว
จาเพาะ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
20 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
คาถามการปฏิบัติกิจกรรม 1. เรียงลาดับความแข็ง ความหนาแน่น และบอกความวาวของแร่ที่ทดสอบ 1.1 เรียงลาดับความแข็งจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. 1.2 เรียงลาดับความหนาแน่นจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. 1.3 บอกความวาวของตัวอย่างแร่ มีดังนี้ .................................................................................................................. .................................................................................................................. .................................................................................................................. 2. แร่ตัวอย่างชนิดใดแข็งที่สุด และชนิดใดอ่อนที่สุด ............................................................................................................................ ............................................................................................................................
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง แหล่งกาเนิดแร่ต่างๆ และการใช้ประโยชน์
แหล่งกาเนิดแร่ แหล่งแร่ชนิดต่างๆ มีการกาเนิดต่างกัน แบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้ แร่ที่เกิดจากการเย็นตัวของหินหนืด ทาให้ธาตุออกถูกแยกไปสะสมเป็น
สายแร่กลายเป็นแร่มีค่า เช่น ดีบุก สังกะสี ทองแดง ตะกั่ว แร่ที่ เกิ ดจากการผุ พัง ของหิน อัค นี
เศษแร่จ ะถูกพัดพาไปทับถมตามที่
ราบเชิงเขา ที่ราบลุ่มแม่น้า หรือที่ราบชายฝั่งทะเล แร่ ที่ เ กิ ด จากการแปรสภาพกลายเป็ น หิ น แปร
เช่น เมื่อหินปูนได้รั บ
ความร้อนและแรงบีบอัดสูงจะกลายเป็นหินอ่อน แร่ ที่ เ กิ ด จากการตกตะกอนของสารแร่
หรื อการทั บ ถมของสารแร่ บางอย่ า งที่ ส าคั ญ เช่ น ยิ บ ซั ม ฟอสเฟต ถ่ า นหิ น ลิ ก ไนท์ น้ ามั น ปิ โ ตรเลี ย ม และ แก๊สธรรมชาติ
ภาพ 3 แสดงแร่ชนิดต่างๆ ที่มา : http://www.krusarawut.net/wp/?cat=1&paged=121
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
22 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
แหล่งแร่ที่พบในประเทศไทย และประโยชน์ของแร่ ดีบุก ประโยชน์ ใช้ในอุตสาหกรรมทาแผ่นเหล็กชุบดีบุก เพื่อทาภาชนะบรรจุ อาหาร ใช้ทาโลหะผสม เป็นโลหะบัดกรี สารประกอบของดีบุก ใช้เป็น ส่วนผสมของสีทาบ้าน แหล่ ง ที่ พ บ ส่ ว นมากพบทางภาคใต้ ในจั ง หวั ด ระนอง พั ง งา ภู เ ก็ ต สุราษฏร์ธานี นครศรีธรรมราช และที่ภาคอื่น ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ตาก แม่ฮ่องสอน เชียงราย และเชียงใหม่
ยิปซัม ประโยชน์ ใช้ทาปูนปลาสเตอร์ วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ และใช้ ปรับสภาพความเป็นกรด เป็นด่างของดิน แหล่งที่พบ พบในจังหวัดพิจิตร นครสวรรค์ กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี และกระบี่
ตะกั่ว และ สังกะสี ประโยชน์ ใช้ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ อุตสาหกรรมโลหะบัดกรี โลหะ ผสมสัง กะสี ใช้ ใ นอุ ต สาหกรรมแผ่ นเหล็ก ชุ บสั ง กะสี ข้ อ ต่อ ท่ อเหล็ ก ชุบสังกะสี แหล่งที่พบ ส่วนใหญ่พบที่จังหวัดกาญจนบุรี ตาก เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน แพร่ นครศรีธรรมราช พัทลุง และยะลา
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เหล็ก ประโยชน์ ใช้ในอุตสาหกรรมเหล็กกล้าและเหล็กแปรรูปต่างๆ ใช้เป็น ส่วนผสมในปูน ซีเมนต์ คอนกรีตเสริมเหล็ก ใช้ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง แหล่ งที่พ บ พบที่ เขาทับ ควาย จัง หวัด ลพบุ รี และที่จั งหวั ดเลย และ กาญจนบุรี
ทองแดง ประโยชน์ ประโยชน์ ข องแร่ ท องแดง ท าอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า สายไฟฟ้ า อุปกรณ์เครื่องวิทยุ โทรทัศน์ โทรเลข โทรศัพท์ เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ ใช้ทาจุนสี ยารักษาเนื้อไม้ แหล่งที่พ บ พบที่จังหวัดเลย หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ลาปาง ลาพูน และกาญจนบุรี
ทองคา ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ในการเป็นหลักประกันค่าของธนบัตร ทาเหรียญ กษาปณ์ ใช้ ท าเครื่ อ งประดั บ เป็ น โลหะผสมใช้ ใ นการทั น ตกรรม เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และวงจรไฟฟ้า แหล่งที่พบ แหล่งทองคาที่สาคัญ เช่น แหล่งโต๊ะโม๊ะ จังหวัดนราธิวาส อาเภอบางสะพาน จังหวั ดประจวบคีรีขันธ์ แหล่งกบินทร์บุรี จังหวั ด ปราจีนบุรี แหล่งชาตรี จังหวัดพิจิตร และจังหวัดเลย
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ บัตรกิจกรรมที่ 2 การเขียนรายงานของแร่ชนิดต่างๆ
คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ให้นัก เรีย นสืบค้ นข้อ มูล เรื่องแหล่ง กาเนิดแร่ ที่สาคัญ ทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทย และบอกประโยชน์ของแร่ โดยเลือกมาคนละ 5 ชนิด พร้อมภาพประกอบ การจัดรูปแบบการเขียนรายงาน เรียงลาดับตามนี้ 1. หน้าปก 2. หน้ารองปก (กระดาษเปล่า) 3. คานา 4. สารบัญ 5. เนื้อเรื่อง (เนื้อหาเกี่ยวกับชนิด แหล่งกาเนิด และประโยชน์ของแร่) 6. บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง 7. รองปกหลัง (กระดาษเปล่า) 8. หน้าปกหลัง
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบ ค้นข้ อมู ล แหล่ งกาเนิ ดแร่ ที่ส าคั ญทางเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย และบอกประโยชน์ของแร่แต่ละชนิดได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2 การเขียนรายงานของแร่ชนิดต่างๆ
คาชี้แจง : ให้ นั ก เรี ย นสื บ ค้ น ข้ อ มู ล เรื่ อ งแหล่ ง ก าเนิ ด แร่ ที่ ส าคั ญ ทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทย และบอกประโยชน์ ข องแร่ โดยเลื อ กมาคนละ 5 ชนิ ด พร้อมภาพประกอบ การจัดรูปแบบการเขียนรายงาน เรียงลาดับตามนี้ 1. หน้าปก 2. หน้ารองปก (กระดาษเปล่า) 3. คานา 4. สารบัญ 5. เนื้อเรื่อง (เนื้อหาเกี่ยวกับชนิด แหล่งกาเนิด และประโยชน์ของแร่) 6. บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง 7. รองปกหลัง (กระดาษเปล่า) 8. หน้าปกหลัง
26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
เมื่อนักเรียนได้ศึกษาบทเรียนและลองฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกันแล้ว ไหนลองทาแบบทดสอบหลังเรียน ดูซิคะว่าจะได้คะแนนเท่าไร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
แบบทดสอบก่อนเรียน
27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง แร่และการประยุกต์ใช้
10 คะแนน
ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นกากบาท () เลื อ กค าตอบที่ ถู ก ที่ สุ ด เพี ย งค าตอบเดี ย ว ลงใน กระดาษคาตอบ 1.
2.
3.
วิธีการจาแนกแร่มีกี่วิธี ก. 1 วิธี
ข. 2 วิธี
ค. 3 วิธี
ง. 4 วิธี
แร่ที่แข็งที่สุดคือ ก. แร่ฟันม้า
ข. ทองแดง
ค. ไมกา
ง. เพชร
แร่ชนิดใดที่สามารถนามาใช้ได้เลย โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการถลุง ก. เหล็ก
ข. ดีบุก
ค. ควอตซ์
ง. สังกะสี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
4. แร่ทีพบบ่อยๆ มีประมาณกี่ชนิด ก. 50 ชนิด
ข. 100 ชนิด
ค. 150 ชนิด
ง. 200 ชนิด
5. ข้อใดเป็นแร่ที่แบ่งตามประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ก. แร่ประกอบหิน
ข. แร่อุตสาหกรรม
ค. แร่เชื้อเพลิง
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
6. การเปรียบเทียบความวาวของแร่ จะเปรียบเทียบกับความวาวของสิ่งใด ก. มุก, เทียนไข
ข. แก้ว, เพชร
ค. โลหะ, ดิน
ง. ถูกหมดทุกข้อ
7. สารปนเปื้อนที่พบในแร่สังกะสีคือสารใด ก. แคดเมียม ตะกั่ว พลวง ข. แทนทาลัม ไนโอเบียม เซอร์โคเนียม ค. ตะกั่ว แทนทาลัม ง. พลวง แคดเมียม ทองแดง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ 8.
29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับแร่ ก. ร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ตายแล้ว ข. รูปร่างของดินที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ค. ของแข็งที่พบได้ตามธรรมชาติ ไม่มีชีวิต ง. ไม่มีข้อถูก
9.
เพื่อเป็นการพิสูจน์ว่าแร่รัตนชาติใดเป็นของแท้หรือเป็นของปลอมนั้นจะมีวิธีทดสอบ โดยการอาศัยค่าต่อไปนี้ 1. ความแข็ง 2. ความหนาแน่นสัมพัทธ์ 3. ดัชนีหักเหของแสง
4. ความสว่างของแสง
ข้อใดเป็นข้อที่ถูกต้อง ก. ข้อ 1, 2 และ 3
ข. ข้อ 2, 3 และ 4
ค. ข้อ 2 และ 3
ง. ข้อ 1 และ 4
10. วิธีที่นิยมในการระบุชื่อของแร่ ก. ผงที่ได้จากการขูดแร่
ข. กลิ่น
ค. ความร้อน
ง. รูปร่าง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง แร่และการประยุกต์ใช้
10 คะแนน
ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............
ข้อ
แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ข้อ ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคผนวก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ 4 เรื่อง แร่และการประยุกต์ใช้
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ คาตอบ 1 ค 2 ค 3 ข 4 ก 5 ง 6 ค 7 ง 8 ง 9 ข 10 ง
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ คาตอบ 1 ข 2 ง 3 ค 4 ข 5 ง 6 ง 7 ง 8 ค 9 ค 10 ก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ลักษณะทางกายภาพของแร่ตัวอย่าง
คาตอบก่อนปฏิบัติกิจกรรม
1. แร่ หมายถึง ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีส ถานะเป็น ของแข็ ง มี โ ครงสร้ า งที่ เ ป็ น ผลึ ก และมี คุ ณ สมบั ติ ที่ แ น่ น อนหรื อ มี ก าร เปลี่ยนแปลงได้ในวงจากัด
2. เราสามารถหาความหนาแน่นของแร่ ได้อย่างไร หาจากอัตราส่วนของมวลต่อปริมาตร
ความหนาแน่นของแร่ (g/cm3) =
มวลของแร่ (g) ปริมาตรของแร่ (cm3)
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
วิธีการปฏิบัติกิจกรรม 1. ชั่งมวลของแร่ บันทึกผล 2. น าถ้วยพลาสติกมารองรับที่ป ากถ้ วยยูรี กา เทน้าลงในถ้วยยู รีกาจนเต็ ม คอยจนกระทั่ง น้ าที่ ล้น ออกจากปากพวยถ้ ว ยยู รีก าหยุด ไหล จึ งยกถ้ ว ย พลาสติกที่รองรับน้าออกแล้วนาบีกเกอร์มารองรับแทน 3. ใช้ ด้ า ยผู ก ปลายข้ า งหนึ่ ง ตรงกลางก้ อ นแร่ แล้ ว จั บ ปลายด้ า ยอี ก ข้ า ง หนึ่ งค่ อ ย ๆ หย่อ นก้ อ นแร่ล งในถ้ว ยยูรี กาให้จ มมิ ด น้า รอจนกระทั่ง น้ า ที่ อ อกจากพวยยู รี ก าหยุ ด ไหล วั ด ปริ ม าตรของน้ าในบี ก เกอร์ โ ดยใช้ กระบอกฉีดยา หรือใช้กระบอกตวงขนาด 10 cm3 4. คานวณหาความหนาแน่นของแร่
ความหนาแน่นของแร่ (g/cm3) =
มวลของแร่ (g) ปริมาตรของแร่ (cm3)
5. นั กเรีย นแต่ ล ะกลุ่ มน าเสนอผลการทดลอง และร่ วมกัน อภิป รายโดยใช้ ผลการทดลอง แนวคาถาม และรายละเอี ย ดในบทเรี ยน จนสรุ ปได้ ว่ า ลักษณะต่างๆ ทางกายภาพของแร่ มีสมบัติเฉพาะตัวแต่อย่างไร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรม ก้อน ที่ 1
ชื่อแร่ ควอตซ์
เฟลด์สปาร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
(ตัวอย่างแนวการตอบ)
ความ แข็ง
สี
7
มีรูปผลึกชัดเจน ใส และไม่มีสี (บางชนิดอาจมีสี ต่าง ๆ เช่น ขาว ขุ่น ชมพู ม่วง สี ควันไฟ)
6
ขาว เหลืองอ่อน ครีม ชมพูเขียว
ขาว
แบบแก้ว
2.55 – 2.63
3
ไม่มีสี (บางชนิด มีสีขาวและมีสี น้าตาลหรือ เหลืองปน)
ขาว
แบบแก้ว
2.71
SiO2
2
35
(K, Na, Ca)
สีผง
ความ
ละเอียด มันวาว ไม่มีสี แบบแก้ว
ความถ่วง จาเพาะ 2.65
AlSi3O8 3
แคลไซต์ CaCO3
ตอบตามที่สังเกตเห็นจากการทากิจกรรม
แบบมุก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
คาตอบหลังปฏิบัติกิจกรรม 1. เรียงลาดับความแข็ง ความหนาแน่น และบอกความวาวของแร่ที่ทดสอบ 1.1 เรียงลาดับความแข็งจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ ควอตซ์ (7) ดี บุ ก (6-7) ไพไรต์ (6 – 6.5) เฟลด์ ส ปาร์ (6) ฮี ม าไทต์ (5 – 5.6) ฟลูออไรต์ (4) แบไรต์ (3 – 3.5) แคลไซต์ (3) ยิปซัม (2) 1.2 เรียงลาดับความหนาแน่นจากมากไปน้อย ได้ดังนี้ ดี บุ ก ( 6 . 8 – 7.1 g/ cm3 ) ฮี ม า ไ ท ต์ ( 5 . 3 0 g/ cm3 ) ไ พ ไ ร ต์ (5.0 – 5.2 g/c cm3 ) แบไรต์ (4.5 g/ cm3 ) ฟลูออไรต์ (3.18 g/cm3 ) แคลไซต์ (2.71 g/ cm3) ยิปซัม (2.7 g/ cm3 ) ควอตซ์ (2.65 g/ cm3 ) เฟลด์สปาร์ (2.52 – 2.63 g/c cm3) 1.3 บอกความวาวของตัวอย่างแร่ มีดังนี้ - คอวตช์ เฟลด์สปาร์ ฟลูออไรต์ มีความวาวแบบแก้ว - แคลไซต์ ยิปซัม แบไรต์ มีความวาวแบบแก้ว - ดีบุก มีความวาวแบบกึ่งโลหะ - ไพไรต์ ฮีมาไทต์ มีความวาวแบบโลหะ 2. แร่ตัวอย่างชนิดใดแข็งที่สุด และชนิดใดอ่อนที่สุด - แร่ควอตซ์ แข็งที่สุด มีค่าความแข็ง = 7 - แร่ยิปซัม อ่อนที่สุด มีค่าความแข็ง = 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเขียนรายงานของแร่ชนิดต่างๆ
37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ บรรณานุกรม
หนังสือ กรมวิชาการ. (2546). ธรณีวิทยาน่ารู้ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ขจีรัตน์ จิระอรุณ (แปล), Fiona Watt (เขียน). (2542). ชุดวิทยาศาสตร์ Go Genius และ การทดลองเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์. ธนพงษ์ วัชรโรจน์. (2559). เรียนเก่งง่ายนิดเดียว ชุดเรียนลัดเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ: พี อาร์ คัลเลอร์พริ้นท์ จากัด. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2559). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). คู่มือครูสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้
39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แหล่งอ้างอิงออนไลน์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม. (2554). ทรัพยากรแร่ธาตุ [Video file]. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=3y_PHotOVQs ชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา. (2559). แร่และการประยุกต์ใช้. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/akadahtwongrat/5krabwnkar-peliynpaelng-khxng-lok/05 ทีมงานทรูปลูกปัญญา. (2559). ลักษณะและสมบัติทางกายภาพของแร่. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://www.trueplookpanya.com/learning/ detail/31431-044029 สราวุธ สุธีรวงศ์. (2558). ประเภทของทรัพยากรแร่. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http://www.krusarawut.net/wp/?cat=1&paged=121 อนาวิล เพริดพริ้ง. (2553). ธาตุและสารประกอบ. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2560, สืบค้น จาก http://anawinza17.blogspot.com/2010/09/blog-post_13.html DLIT Resources คลังสื่อการสอน. (2558). การทดลองเรื่องลักษณะและสมบัติทาง กายภาพของแร่ [Video file]. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https:// www.youtube.com/watch?v=KVjaRlFIKrY Laphasrada. (2554). แร่รัตนชาติ. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก http:// laphasrada-stone.blogspot.com/ Levorlas Sindarin. (2555). อุตสาหกรรมแร่. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2560, สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/chemeeci/xutsahkrrm-rae