ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จัดขึ้นตามกรอบและมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทั้งหมด 8 ชุด ดังนี้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 ดิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2 หินและชนิดของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 3 ประโยชน์ของหิน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 4 แร่และการประยุกต์ใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 6 ทรัพยากรน้า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 7 โครงสร้างของโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 8 การ เปลี่ ยนแ ปลง ขอ ง เปลือกโลก ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ เป็นชุดกิจกรรมที่ สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนอธิบายกระบวนการเกิดเชื้อเพลิงธรรมชาติ บอกวิธีการนาเชื้อเพลิง ธรรมชาติ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ และบอกแหล่ ง เชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ ทั้ ง ในประเทศไทยและ ต่างประเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเรียนการทดลองด้วยตนเอง รวมทั้ งปลูก ฝังจิต วิทยาศาสตร์ให้เ กิดกับ ผู้เรีย นและสามารถนาความรู้ไปประยุก ต์ใช้ใ น ชีวิตประจาวันได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ฐิติวรดา ศรีสุวรรณ์
ข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ สารบัญ
เรื่อง คานา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ คาแนะนาการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คาชี้แจงสาหรับนักเรียน คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คาแนะนาในการใช้ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ แบบทดสอบก่อนเรียน บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ถ่านหิน บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดถ่านหิน แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดถ่านหิน บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ปิโตรเลียม บัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม บัตรกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ แบบทดสอบหลังเรียน กระดาษคาตอบ ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดถ่านหิน บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม บัตรเฉลยกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ บรรณานุกรม
หน้า ก ข ค ง จ ช ซ ฌ 1 3 7 11 12 13 16 17 18 19 21 24 25 26 27 28 29 30
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
สารบัญตาราง
เรื่อง
หน้า
ตารางที่ 1 ประเภทของถ่านหิน 5 ประเภท
8
ตารางที่ 2 แสดงการใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม
14
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ สารบัญภาพ
ภาพที่
หน้า
1
แสดงเชื้อเพลิงธรรมชาติ
7
2
แสดงการใช้ประโยชน์จากถ่านหิน
9
3
แสดงแหล่งถ่านหินในประเทศไทย ที่อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง
10
4
แสดงการเกิดปิโตรเลียม
13
5
แสดงแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย
15
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
จ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คาแนะนาในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
คาชี้แจงสาหรับครู ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประกอบด้วยกิจ กรรมต่างๆ สาหรับให้นักเรียนศึกษาหา ความรู้ด้วยตนเองโดยครูเป็นผู้เตรียมชุดกิจกรรม เตรียมชั้นเรียน เตรียมสื่อและอุปกรณ์ เป็นพี่เลี้ยงคอยดูแลและให้คาแนะนา ช่วยเหลือ โดยครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึ ก ษาคู่ มื อ ครู แผนการจั ด การเรี ย นรู้ และชุ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงล่วงหน้าอย่างละเอียดและ รอบคอบให้เข้าใจการสอน 2. เตรียมความพร้อมของชุดกิจ กรรม วัสดุอุปกรณ์ สื่อต่างๆ ให้เพียงพอกับ จานวนนักเรียนและพร้อมก่อนเริ่มการเรียนการสอน 3. แบ่ ง นั ก เรี ย น เป็ น กลุ่ ม กลุ่ ม ละเท่ า ๆ กั น โดยคละความสามารถ รั บ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ 4. ครูแนะนาเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องโลกและ การเปลี่ยนแปลง 5. ก่อนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 6. ชี้ แ จงให้ นั ก เรี ย นทราบเกี่ ย วกั บ บทบาทของนั ก เรี ย นในการเรี ย นรู้ ด้ ว ย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง
ฉ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
7. ดาเนินกิจกรรมตามขั้นตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 8. ขณะนักเรียนดาเนินกิจ กรรม ครูควรสังเกตและให้คาแนะนาแก่นักเรียน อย่างใกล้ชิด 9. ครูควรเน้นให้นักเรียนเก็บสื่อและอุปกรณ์ต่างๆ ให้เรียบร้อย 10. หลังจากนักเรียนได้เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรียบร้อย แล้วครูตรวจสอบผลงานนักเรียน บันทึกพฤติกรรมและความก้าวหน้าใน การเรียนของนักเรียน 11. หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ช ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน 1. อ่านบัตรเนื้อหาและปฏิบัติงานตามบัตรกิจกรรมทุกขั้นตอน 2. ปฏิบัติกิจกรรมโดยทางานร่วมกันเป็นกลุ่มด้วยความตั้งใจ 3. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในบัตรกิจ กรรม ให้เสร็จในเวลาที่กาหนด 4. นักเรียนควรปฏิบัติตัวในการทากิจกรรม ดังนี้ 4.1 มีความตั้งใจในการทางาน 4.2 ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเอาใจใส่ 4.3 ให้ความช่วยเหลือในการเตรียมการต่างๆ ของกลุ่ม 4.4 เป็นผู้ฟัง และผู้พูดที่ดีตามสถานการณ์ 4.5 สอบถามเพื่อนเมื่อมีข้อสงสัย 4.6 ยอมรับฟังความคิดเห็นของกลุ่ม 4.7 อธิบายงานให้เพื่อนฟัง 4.8 ให้กาลังใจเพื่อนและปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างสุภาพ 4.9 มีความอดทนและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.10 ทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข 5. เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้วให้ช่วยกันเก็บบัตรต่างๆและอุปกรณ์สื่อการเรียน อื่นๆ ให้เรียบร้อย
ซ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
คาแนะนาในการปฏิบัติชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. นักเรียนควรฟังคาอธิบายถึงความสาคัญและความจ าเป็นของชุดกิจกรรม การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง 2. นักเรียนควรศึกษาจุดประสงค์ในการใช้ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จากครู 3. นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 10 คะแนน 4. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับจากคาแนะนาจากครู 5. เมื่อนักเรียนปฏิบัติชุดกิจกรรมครบทั้งชุดแล้ว นักเรียนควรทาแบบทดสอบ หลังเรียนซึ่งเป็นแบบเดียวกับแบบทดสอบก่อนเรียน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ฌ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คาแนะนาในการใช้ E—Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดกิจ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โลกและการเปลี่ยนแปลง สาหรับ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้ง 8 ชุดนี้ ได้มีการจัดทาขึ้น 2 รูปแบบ คือ แบบ รูปเล่มหนังสือ และ แบบ E - Book Online ซึ่งครูผู้สอน และนักเรียนสามารถศึกษา ค้นคว้า หาข้อมูล ได้ผ่ านระบบ Internet โดยมีวิธีก ารเข้าใช้ งาน E - Book Online ดังนี้ 1. ใช้อุปกรณ์สื่อสาร อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต ในการสแกน QR code ที่หน้าปกชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ทั้ง 8 ชุด 2. ใช้อุปกรณ์สื่อสารเข้า Line และคลิ๊กเลือกเมนู Add Friends จากนั้น เลือกเมนูคิวอาร์โค้ด และถ่ายคิวอาร์โค้ดบนหน้าปกหนังสือดังตัวอย่าง
ญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
3. เมื่ออุปกรณ์สื่อสารสามารถเข้าสู่ URL ของ E - Book Online แล้ว ให้ ผู้ ใ ช้ ค ลิ๊ ก เข้ า ไป สู่ E - Book เพื่ อ ท าการศึ ก ษาข้ อ มู ล ต่ า งๆ ของ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่มนั้นๆ ได้ทันที 4. สาหรับความพิเศษของ E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่มนี้คือ ผู้เข้าใช้งานสามารถคลิ๊กดู VDO (สื่อการเรียนรู้) เพิ่มเติมที่ แทรกอยู่ภายในเนื้อหาของชุดกิจ กรรม เพื่อช่วยให้ผู้ศึกษาได้ความรู้ เสริมเพิ่มเติม นอกเหนือจากเนื้อหาในรูปเล่มหนังสือปกติ 5. สาหรับผู้ที่เข้าใช้งาน E - Book ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เล่ม นี้ หากมีความประสงค์จ ะ Print บัตรกิจ กรรม แบบบันทึกกิจ กรรม หรือแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน สามารถคลิ๊กที่สัญลักษณ์เครื่อง Printer ที่หน้านั้นๆ ได้ทันที
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
แนวความคิดหลัก ปิ โ ตรเลี ย ม ถ่ า นหิ น หิ น น้ ามั น เป็ น เชื้ อ เพลิ ง ธรรมชาติ ที่ มี คุ ณ ค่ า มาก เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ซึ่งแต่ละชนิดจะมีลักษณะ สมบัติ และ วิธีการนาไปใช้ประโยชน์แตกต่างกัน
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลกความสัมพันธ์ ของกระบวนการต่างๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลกมีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ตัวชี้วัด ม.2/6 สื บ ค้ น และอธิ บ ายกระบวนการเกิ ด ลั ก ษณะและสมบั ติ ข อง ปิโตรเลียม ถ่านหิน หิน น้ามัน และการนาไปใช้ประโยชน์ จุดประสงค์ของชุดกิจกรรม 1. อธิบายกระบวนการเกิดเชื้อเพลิงธรรมชาติได้ 2. บอกวิธีการนาเชื้อเพลิงธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ได้ 3. สังเกต และสรุปความรู้ที่ศึกษา แล้วเขียนแผนผังความคิดได้ 4. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
แบบทดสอบก่อนเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง เชื้อเพลิงธรรมชาติ
10 คะแนน
ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นกากบาท () เลื อ กค าตอบที่ ถู ก ที่ สุ ด เพี ย งค าตอบเดี ย ว ลงใน กระดาษคาตอบ 1.
ข้อใดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้น ก. แร่ ข. ถ่านหิน ค. ปิโตรเลียม
ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดเป็นถ่านหินที่ให้ค่าความร้อนสูงที่สุด
3.
ก. พีต
ข. ลิกไนต์
ค. บิทูมินัส
ง. แอนทราไซต์
ทุกข้อต่อไปนี้เป็นปัจจัยที่มีผลต่อคุณสมบัติของถ่านหิน ยกเว้นข้อใด ก. ชนิดของสัตว์ที่ตายแล้วทับถมกัน ข. การเน่าเปื่อยที่เกิดขึ้นก่อนการถูกฝังกลบ ค. อุณหภูมิและความดันขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง ง. ปริมาณสารอนินทรีย์ที่ปนเปื้อนในขั้นตอนการเกิด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4. เมื่อกล่าวถึงคาว่า “ปิโตรเลียม” จะหมายถึงสารชนิดใด ก. น้ามันและแก๊ส
ข. หินน้ามันและน้ามันดิบ
ค. น้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ
ง. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
5. องค์ประกอบหลักของปิโตรเลียมคือสารใด ก. สารประกอบของคาร์บอน ข. สารประกอบของโลหะบางชนิด ค. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด ง. สารประกอบของออกซิเจนและไนโตรเจน 6. โรงกลั่นน้ามันที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือที่ใด ก. บริษัท ไทยออยล์ จากัด ข. บริษัท โรงกลั่นน้ามันระยอง จากัด ค. บริษัท สตาร์ปิโตรเลียมไฟน์นิ่ง จากัด ง. บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 7. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการสารวจปิโตรเลียม ก. ข. ค. ง.
การเจาะสารวจ การใช้ดาวเทียม การเก็บตัวอย่างหิน การสารวจทางธรณีฟิสิกส์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
8. พิจารณาภาพต่อไปนี้
หมายเลขใดเป็นบริเวณที่กักเก็บน้ามันดิบ ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
9. การใช้ก๊าซหุงต้มเพื่อให้ได้ความร้อนสูงที่สุดควรปรับเปลวไฟให้เป็นสีอะไร ก. สีแดง
ข. สีเหลือง
ค. สีน้าเงิน
ง. สีเขียวอมเหลือง
10. ประเทศใดในตะวันออกกลางที่ไม่ได้เป็นสมาชิก กลุ่มโอเปค ก. อิรัก
ข. คูเวต
ค. กาตาร์
ง. โอมาน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
กระดาษคาตอบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง เชื้อเพลิงธรรมชาติ
10 คะแนน
ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............
ข้อ
แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ข้อ ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
7 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ถ่านหิน เชื้อเพลิงธรรมชาติ เชื้อเพลิงธรรมชาติเป็นทรัพ ยากรพลังงานที่สาคัญในการพัฒนาประเทศ เชื้อเพลิงธรรมชาติเกิดจากการทับถมของซากพืชซากสัตว์ในความดันและอุณหภูมิที่สูง เป็นระยะเวลานาน จนกลายเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ได้แก่ ถ่านหิน ปิโตรเลียม
ภาพ 1 แสดงเชื้อเพลิงธรรมชาติ ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=Dohsc32Q1I8
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
8
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ถ่านหิน ถ่านหินเกิดจากการสลายตัวซากพืชที่อยู่ใต้ดินในแอ่งตะกอนน้าตื้น เมื่อ ผิวโลกเปลี่ยนแปลง เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด หรือตะกอนทับถม ทาให้แหล่ง สะสมตัวนั้นได้รับความกดดันและความร้อนที่อยู่โลกเพิ่มขึ้น ซากพืชเหล่านั้นก็จะเกิด การเปลี่ยนแปลงกลายเป็นถ่านหินชนิดต่างๆ โดยถ่านหินเริ่มต้นเป็นชนิดพีต เมื่อฝัง ลึกลงไปจะเปลี่ยนไปเป็น ลิกไนต์ ซับบิทูมินัส บิทูมินัส และแอนทราไซส์
ตารางที่ 1 ประเภทของถ่านหิน 5 ประเภท ดังนี้ ประเภทของถ่านหิน 1. พีต (peat)
คุณภาพ
ระยะเวลาในการเกิด
แย่
น้อย
ดีมาก
นาน
2. ลิกไนต์ (lignite) 3. ซับบิทูมินัส (subbituminous) 4. บิทูมินัส (bituninous) 5. แอนทราไซต์ (anthracite)
ที่มา : https://sites.google.com/site/akadahtwongrat/5-krabwnkarpeliynpaelng-khxng-lok/06
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน 1. ใช้ เ ป็ น เชื้ อ เพลิ ง เช่ น ผลิ ต กระแสไฟฟู า การถลุ ง เหล็ ก และ อุตสาหกรรมต่างๆ 2. ใช้ เ ป็ น "ถ่ า นกั ม มั น ต์ " เพื่ อ ดู ด ซั บ กลิ่ น ในเครื่ อ งกรองน้ า เครื่องกรองอากาศ หรือเครื่องใช้ต่าง ๆ 3. ใช้ทาถ่านสังเคราะห์ป ระเภทคาร์บอนไฟเบอร์ เพื่อเป็นวัส ดุทา อุปกรณ์กีฬา เช่น ไม้เแบดมินตัน ไม้เทนนิส ซึ่งมีความแข็งแกร่ง น้าหนักเบา
ภาพ 2 แสดงการใช้ประโยชน์จากถ่านหิน ที่มา : https://news.mthai.com/general-news/472085.html
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
10 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
แหล่งถ่านหินในประเทศไทย แหล่งถ่านหินในประเทศไทย พบถ่านหินทุกชนิด แต่มีมากที่สุดคือถ่าน หินลิก ไนต์ และซับ บิทูมิ นัส ซึ่งพบมากที่อ าเภอแม่ เมาะ จั งหวั ดลาปาง อาเภอลี้ จัง หวั ด ลาพู น และที่ อ าเภอเมือ ง จั งหวั ด กระบี่ อ าเภอสบปราบ จั ง หวั ดล าปาง (เหมืองแม่ทาน) อาเภองาว จังหวัดลาปาง ปริมาณถ่านหินส่วนใหญ่ในประเทศไทย นามาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟูา โดยการไฟฟูาฝุายผลิตแห่งประเทศไทย
ภาพ 3 แสดงแหล่งถ่านหินในประเทศไทย ที่อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง ที่มา : http://ppvoice.thainhf.org/index.php? module=article&page=detail&id=915
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
11 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดถ่านหิน
คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ถ่านหิน สังเกต และสรุปความรู้ที่ ศึกษา เพื่อนามาเขียนแผนผังความคิดการเกิดถ่านหิน
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สังเกต และสรุปความรู้ที่ศึกษา แล้วเขียนแผนผังความคิดได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
12 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ แบบบันทึกกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดถ่านหิน
ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่............... คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ถ่านหิน สังเกต และสรุปความรู้ที่ศึกษา เพื่อนามาเขียนแผนผังความคิดการเกิดถ่านหิน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
13 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
บัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม เป็นสารโฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติจากการทับถมของซาก สิ่งมีชีวิตที่ถูกย่อยสลายภายใต้อุณหภูมิและความดันสูงใต้เปลือกโลก หลังจากนั้นจะ เปลี่ยนเป็นปิโตรเลียม มีทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งปิโตรเลียมที่มีสถานะ ของเหลว เรียกว่า "น้ามันดิบ" ส่วนปิโตรเลียมในสถานะแก๊ส เรียกว่า "แก๊สธรรมชาติ" ปิโตรเลียมจากแหล่งกาเนิดจะไหลไปตามรอยแตกของชั้นหินทาให้เกิดการสะสม และ เมื่ อ แก๊ ส ธรรมชาติ ขึ้ น มาบนผิ ว โลกและถู กกั ก เก็ บ เป็ น ของเหลว จะเรี ย กว่ า "แก๊ ส ธรรมชาติเหลว"
ภาพ 4 แสดงการเกิดปิโตรเลียม ที่มา : https://www.youtube.com/watch?v=KlMr7eTyjNw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
14
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม จ าเป็ น ต้ อ งแยกสารผสมออกจากกั น โดยอาศั ย มวลโมเลกุ ล ความ หนาแน่น และจุดเดือดที่ต่างกัน เรียกว่า "การกลั่นลาดับส่วน" การแยกปิ โ ตรเลี ย มเริ่ ม จากให้ ค วามร้ อ นแก่ น้ ามั น ดิ บ ที่ อ ยู่ ใ นเตา น้ามันดิบจะระเหยขึ้นไปในหอกลั่น ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลใหญ่ที่มีจุดเดือดสูงจะกลั่น ตัวเป็นของเหลวที่ด้านล่างของหอกลั่น ส่วนไฮโดรคาร์บอนโมเลกุล เล็กจะเป็นแก๊ส และลอยตัวสูงขึ้นสู่ชั้นบนหอกลั่น ซึ่งส่วนประกอบแต่ละส่วนจะควบแน่นที่ความสูง ต่างกัน โดยหอกลั่นบนสุดจะมีจุดเดือดต่า ไม่ควบแน่น และกลายเป็นแก๊ส แต่สารที่ กลั่ น ได้ ก็ ไ ม่ ยั ง บริ สุ ท ธิ์ เพราะสารหลายชนิ ด ควบแน่ น ที่ อุ ณ หภู มิ ใ กล้ เ คี ย งกั น กระบวนการกลั่นลาดับส่วนจะได้สารดังตาราง ตารางที่ 2 แสดงการใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม ชื่อของ
จุดเดือด
ส่วนต่างๆ
( C)
สถานะที่ อุณหภูมิห้อง
แก๊ส
ต่ากว่า 40
แก๊ส
น้ามันเบนซิน
40 - 180
ของเหลว
ใช้เป็นเชื้อเพลิงรถยนต์
น้ามันก๊าด
180 - 230
ของเหลว
ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องบินและใช้จุด ตะเกียง
น้ามันดีเซล
230 - 305
ของเหลว
ใช้เป็นเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล
น้ามันเตาใส
230 - 305
ของเหลว
ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟูาและ โรงงานอุตสาหกรรม
น้ามันหล่อลื่น
305 - 405
ของเหลว
ใช้ทาน้ามันหล่อลื่น
พาราฟิน
405 - 515
ครึ่งแข็งครึง่ เหลว
บีทูเมน
สูงกว่า 515
ของแข็ง
ประโยชน์ และการนาไปใช้ ใช้เป็นแก๊สหุงต้ม
ใช้ทาขี้ผึ้งพาราฟิน วาสลิน ใช้ทายางมะตอยราดถนน และ ทา วัสดุกันซึม
ที่มา : http://www.maceducation.com/e-knowledge/2422210100/29.htm
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย แหล่งทรัพ ยากรปิโตรเลียมบนบก เช่น แหล่งน้ามันฝาง จังหวั ด เชียงใหม่ แหล่งน้ามันสิริกิตติ์ จังหวัดกาแพงเพชร แหล่งน้ามันวิเชียรบุรีและศรีเทพ จังหวัด เพชรบู รณ์แหล่ งน้ามัน กาแพงแสน จั งหวัดนครปฐม แหล่ง น้ามันอ่ างทอง จังหวัดสุพรรณบุรี แหล่ งทรั พ ยากรปิ โ ตรเลีย มในทะเลอั น ดามัน และอ่ า วไทย เช่ น แหล่งแก๊ส เอราวัณ แหล่งแก๊ส บงกช และแหล่งน้ามันดิบในอ่าวไทย ส่วนในทะเล อันดามันนั้นยังมีไม่มากพอ
ภาพ 5 แสดงแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย ที่มา : http://nongferndaddy.com/where-do-we-have-oil/
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ บัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม
คาชี้แจง : ให้นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ปิโตรเลียม แล้วเติมชื่อผลิตภัณฑ์ที่ ได้จากการกลั่นน้ามันดิบ และการนาผลิตภัณฑ์ไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกวิธีการนาเชื้อเพลิงธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่............... คาชี้แจง : ให้นักเรียนศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ปิโตรเลียม แล้วเติมชื่อผลิตภัณฑ์ที่ได้ จากการกลั่นน้ามันดิบ และการนาผลิตภัณฑ์ไปใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
18 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ บัตรกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ
คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 - 5 กลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2. ให้ นั ก เรีย นท าการสืบ ค้ น ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ แหล่ง เชื้ อ เพลิ งธรรมชาติ ใ น ประเทศที่ส่งน้ามันเป็นสินค้าออก (ประเทศที่ส่งออกน้ามันซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ คือ ประทศในกลุ่ ม OPEC ได้ แก่ ซาอุ ดิอ าระเบี ย คูเ วต อิรัก อิห ร่าน กาตาร์ สหรัฐอาหรับอิมิเรต อาบูดาบี อัลจีเนีย ไนจีเรีย เวเนซูเอลา ลิเบีย อินโดนีเซีย และ กลุ่ ม นอก OPEC ได้แ ก่ อั ง กฤษ นอร์ เ วย์ สหรั ฐอเมริก า จี น มาเลเซี ย และ เม็กซิโก) ในประเด็นด้านสังคมและเศรษฐกิจโดยให้แต่ละกลุ่มเลือกสืบค้นข้อมูลเพียง ประเทศเดียวไม่ซ้ากัน 3. นาเสนอโดยการเขียนรายงาน มากลุ่มละ 1 เล่ม ดังนี้ 1. หน้าปก
2. หน้ารองปก (กระดาษเปล่า)
3. คานา
4. สารบัญ
5. เนื้อเรื่อง
6. บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง
7. รองปกหลัง (กระดาษเปล่า)
8. หน้าปกหลัง
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อ มูล และนาเสนอแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แบบบันทึกกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ
คาชี้แจง : ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติ ดังนี้ 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 - 5 กลุ่มๆ ละ 4-5 คน 2. ให้นักเรียนทาการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติในประเทศที่ ส่งน้ามันเป็นสินค้าออก (ประเทศที่ส่งออกน้ามันซึ่งแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ คือ ประทศ ในกลุ่ม OPEC ได้แก่ ซาอุดิอาระเบีย คูเวต อิรัก อิหร่าน กาตาร์ สหรัฐอาหรับอิมิเรต อาบูดาบี อั ล จีเนี ย ไนจีเรี ย เวเนซู เอลา ลิเบี ย อิ นโดนี เซีย และกลุ่มนอก OPEC ได้แก่ อังกฤษ นอร์เวย์ สหรัฐอเมริกา จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก) ในประเด็นด้าน สังคมและเศรษฐกิจโดยให้แต่ละกลุ่มเลือกสืบค้นข้อมูลเพียงประเทศเดียวไม่ซ้ากัน 3. นาเสนอโดยการเขียนรายงาน มากลุ่มละ 1 เล่ม ดังนี้ 1. หน้าปก
2. หน้ารองปก (กระดาษเปล่า)
3. คานา
4. สารบัญ
5. เนื้อเรื่อง
6. บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง
7. รองปกหลัง (กระดาษเปล่า)
8. หน้าปกหลัง
20 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
เมื่อนักเรียนได้ศึกษาบทเรียนและลองฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกันแล้ว ไหนลองทาแบบทดสอบหลังเรียน ดูซิคะว่าจะได้คะแนนเท่าไร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
แบบทดสอบหลังเรียน
21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง เชื้อเพลิงธรรมชาติ
10 คะแนน
ค าชี้ แ จง ให้ นั ก เรี ย นกากบาท () เลื อ กค าตอบที่ ถู ก ที่ สุ ด เพี ย งค าตอบเดี ย ว ลงใน กระดาษคาตอบ 1.
การใช้ก๊าซหุงต้มเพื่อให้ได้ความร้อนสูงที่สุดควรปรับเปลวไฟให้เป็นสีอะไร ก. สีแดง ข. สีเหลือง ค. สีน้าเงิน
ง. สีเขียวอมเหลือง
2. เมื่อกล่าวถึงคาว่า “ปิโตรเลียม” จะหมายถึงสารชนิดใด
3.
ก. น้ามันและแก๊ส
ข. หินน้ามันและน้ามันดิบ
ค. น้ามันดิบและแก๊สธรรมชาติ
ง. สารประกอบไฮโดรคาร์บอน
โรงกลั่นน้ามันที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย คือที่ใด ก. บริษัท ไทยออยล์ จากัด ข. บริษัท โรงกลั่นน้ามันระยอง จากัด ค. บริษัท สตาร์ปิโตรเลียมไฟน์นิ่ง จากัด ง. บริษัท บางจาก ปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
22
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
4. พิจารณาภาพต่อไปนี้
หมายเลขใดเป็นบริเวณที่กักเก็บน้ามันดิบ ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
5. ข้อใดเป็นถ่านหินที่ให้ค่าความร้อนสูงที่สุด ก. พีต
ข. ลิกไนต์
ค. บิทูมินัส
ง. แอนทราไซต์
6. ประเทศใดในตะวันออกกลางที่ไม่ได้เป็นสมาชิก กลุ่มโอเปค ก. อิรัก
ข. คูเวต
ค. กาตาร์
ง. โอมาน
7. ข้อใดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้น ก. แร่
ข. ถ่านหิน
ค. ปิโตรเลียม
ง. ถูกทุกข้อ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ 8.
23 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
องค์ประกอบหลักของปิโตรเลียมคือสารใด ก. สารประกอบของคาร์บอน ข. สารประกอบของโลหะบางชนิด ค. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนหลายชนิด ง. สารประกอบของออกซิเจนและไนโตรเจน
9.
ทุกข้อต่อไปนี้เป็นปัจจัยที่มีผลต่อคุณสมบัติของถ่านหิน ยกเว้นข้อใด ก. ชนิดของสัตว์ที่ตายแล้วทับถมกัน ข. การเน่าเปื่อยที่เกิดขึ้นก่อนการถูกฝังกลบ ค. อุณหภูมิและความดันขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง ง. ปริมาณสารอนินทรีย์ที่ปนเปื้อนในขั้นตอนการเกิด
10. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการสารวจปิโตรเลียม ก. การเจาะสารวจ ข. การใช้ดาวเทียม ค. การเก็บตัวอย่างหิน ง. การสารวจทางธรณีฟิสิกส์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
กระดาษคาตอบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5
โลกและ การเปลี่ยนแปลง
เวลา 10 นาที
เรื่อง เชื้อเพลิงธรรมชาติ
10 คะแนน
ชื่อ......................................................นามสกุล..............................................เลขที่...............
ข้อ
แบบทดสอบก่อนเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ข้อ ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
แบบทดสอบหลังเรียน ตัวเลือก ก ข ค
ง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้
10
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคผนวก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
26 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ 5 เรื่อง เชื้อเพลิงธรรมชาติ
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ คาตอบ 1 ง 2 ง 3 ก 4 ค 5 ค 6 ก 7 ง 8 ข 9 ค 10 ง
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้อ คาตอบ 1 ค 2 ค 3 ก 4 ข 5 ง 6 ง 7 ง 8 ค 9 ก 10 ง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
27 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การเกิดถ่านหิน
ตัวอย่าง การเขียนแผนผังความคิดการเกิดถ่านหิน
28 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.1 เรื่อง การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม
แนวการตอบคาถาม การใช้ประโยชน์จากปิโตรเลียม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2.2 เรื่อง ปิโตรเลียมกับสังคมและเศรษฐกิจ
29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ บรรณานุกรม
หนังสือ กรมวิชาการ. (2546). ธรณีวิทยาน่ารู้ ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. ขจีรัตน์ จิระอรุณ (แปล), Fiona Watt (เขียน). (2542). ชุดวิทยาศาสตร์ Go Genius และ การทดลองเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์. ธนพงษ์ วัชรโรจน์. (2559). เรียนเก่งง่ายนิดเดียว ชุดเรียนลัดเตรียมสอบวิทยาศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ: พี อาร์ คัลเลอร์พริ้นท์ จากัด. พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2559). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ จากัด. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). คู่มือครูสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จากัด.
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
แหล่งอ้างอิงออนไลน์ ชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา. (2559). การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน. สืบค้นเมื่อ 8 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/ akadahtwongrat/5-krabwnkar-peliynpaelng-khxng-lok/06 บริษัท แม็คเอ็ดดูเคชั่น จากัด. (2559). เชื้อเพลิงธรรมชาติ. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://www.maceducation.com/eknowledge/2422210100/29.htm ปภาวี จรูญรัตน์. (2553). พลังงานถ่านหิน. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://paphawee-teacher2.blogspot.com/ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ธรณีวิทยาเฉลิมพระเกียรติ. (2558). เชื้อเพลิงธรรมชาติ [Video file]. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/ watch?v=Dohsc32Q1I8 ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. (2561). เชื้อเพลิงธรรมชาติ. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/fuel สายศิริ ด่านวัฒนะ. (2554). เหมืองถ่านหินลิกไนต์. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://ppvoice.thainhf.org/index.php? module=article&page=detail&id=915 Hgvthailand. (2554). การกาเนิดปิโตรเลี่ยมธรรมชาติ [Video file]. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch? v=KlMr7eTyjNw
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ชุดที่ 5 เชื้อเพลิงธรรมชาติ
MThai News. (2558). โรงไฟฟูาถ่านหิน. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก https://news.mthai.com/general-news/472085.html Nitirat Maneepong. (2557). การกลั่นปิโตรเลียม. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/petroleum0111/kark-lanpitorleiym nongferndaddy. (2559). แหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560, สืบค้นจาก http://nongferndaddy.com/where-do-we-have-oil/