www.tpaemagazine.com
For
Quality Management
March 2015 Vol.21 No.208
R RE T ONIX SU
V
D. LT
เคร�องมือวิเคราะหดานประหยัดพลังงาน และความเสียหายในระบบไฟฟา
ME A
Magazine for Executive Management
PASSED ER
I F I C AT I O
N
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
Power Quality Logger and Analyser สำหรับ วิเคราะหปญหาและ ความสูญเสียพลังงาน FLUKE 434-II, 435-II วิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้น และแจกแจง ความสูญเสีย จากสาเหตุตางๆ พรอม คำนวณตัวเลขตนทุน ที่สูญเปลาไดทันที
กัส ระบบโฟharp EverSแมนยำ คมชัดระยะ ทุก
FLUKE 1730 บันทึกและตรวจสอบการใชพลังงาน ไฟฟา เปรียบเทียบขอมูลในแตละ ชวงเวลาเพื่อดูภาพรวม
Thermal Imager สำหรับตรวจสอบความรอน ที่เปนสาเหตุของความสูญเสีย และอันตราย FLUKE TiX100, TiX660, TiX640 สำหรับผูเชี่ยวชาญพรอม โหมด SuperResolution ใหภาพความรอนละเอียด สูงระดับ HD เปลี่ยนเลนส ไดทั้ง wide และ tele
FLUKE TiX560, TiX520 จอทัชสกรีนใหญ 5.7 นิ้ว หมุนเลนสได 180 องศา เพื่อเล็งไปยังมุมที่ตองการ ไดอยางสะดวก
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877,
คุณพลธร 08-1834-0034, คุณจิรายุ 08-3823-7933, คุณเนตรนภางค 08-9895-4866 www.measuretronix.com/ power-thermal
ISO 45001 การจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย (ฉบับราง) เอสเอ็มอียุคดิจิทัล
“ผลพวง” ของมาตรการ “Q.E.” ของสหรัฐ AEC กับกลยุทธธุรกิจที่ตองเตรียมความพรอม
Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี ความแมนยำ DC 0.0024% เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได
I F I C AT I O
N
ME A
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได
Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้ Fluctuation Harmonics Dips and Swells Multi Phase Operation
Compatible
ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม
ER
Compatible
เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล
PASSED
Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น
Fluke 5522A Multi-Products Calibrator
V
D. LT
เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง
R RE T ONIX SU
Compatible
Fluke 5320A
Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible
Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source
Compatible
Compatible
DC Volts
DC Current
AC Volt
ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได
Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง
เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ Multifunction insulation tester Portable appliance tester Insulation resistance testers Continuity testers and earth resistance testers Ground bond testers and loop/line impedance testers Hipot testers เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ
เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ
Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible
มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่ วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025% ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A) แสดงผลแบบกราฟก โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V
เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 08-1869-7770, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด
2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com
http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator
ME A
V
D. LT
เคร�องสอบเทียบมาตรฐานอุณหภูมิ สำหรับหองแล็บมาตรวิทยา
R RE T ONIX SU
PASSED ER
I F I C AT I O
N
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
STANDARD THERMOMETER Fluke 1594A, 1595A SuperThermometer Readouts
Fluke 1586A Super-DAQ
ความแมนยำระดับ primary lab ในราคา secondary lab มั่นใจไดในทุกคาการวัด อยูในคาลิมิต ที่ตองการ • ใชกับโพรบ SPRTs, PRTs, RTDs และ thermistors (0 Ω to 500 kΩ) • ความแมนยำ รุน 1594A : ± 0.00006 °C, 0.8 ppm Ratio accuracy รุน 1595A : ± 0.000015 °C, 0.2 ppm Ratio accuracy • เลือกวัดคาโดยวิธี resistance ratio (Rx/Rs) หรือวิธี absolute resistance ได
Fluke 1523/24 Handheld Thermometer
เครื่องวัดและสอบเทียบอุณหภูมิหลายแชนเนล ความเที่ยงตรงสูง ใชบันทึกขอมูลในงานอุตสาหกรรมและงานสอบเทียบอุณหภูมิอัตโนมัติ • วัดคาเทอรโมคัปเปล, PRTs, เทอรมิสเตอร, แรงดัน dc, กระแส dc และความตานทาน • ความแมนยำการวัดอุณหภูมิสูงสุด PRTs : ± 0.005 °C เทอรโมคัปเปล : ± 0.5 °C เทอรมิสเตอร : ± 0.002 °C • จำนวนอินพุตสูงสุด 40 แชนเนล แยกทางไฟฟา • ความเร็วสแกนสูงสุด 10 แชนเนลตอวินาที
Fluke 1551A Ex/1552A Ex Digital Reference Thermometer
ชุดวัดอุณหภูมิแบบพกพา เหมาะสำหรับ งานภาคสนาม สามารถใชงานไดทั้ง sPRT, PRT, Thermister และ TC มีใหเลือกทั้งแบบ 1 CH และ 2 CH
ใชงานทดแทนเทอรโมมิเตอรแบบปรอทแทงแกว (LIG) โดยใชโพรบกานโลหะ • ความแมนยำ ± 0.05°˚C • ปลอดภัยตอพื้นที่ไวไฟ • Data Logging • ทำงานตอเนื่อง 300 ชั่วโมง
Fluke 1529 Thermometer Chub E4
ชุดเครื่องมือวัดคาทางอุณหภูมิแบบ 4 ชวงวัด สามารถเลือกได • แบบ STD (2PRT, 2TC) • แบบ PRT 4 CH • แบบ TC 4 CH
HEAT SOURCE Fluke 9190A Ultra-Cool Field Metrology Well
เครื่องสอบเทียบอุณหภูมิเย็นจัด สำหรับงานภาคสนาม และสำหรับงาน สอบเทียบอุณหภูมิที่ต่ำมากเปน พิเศษโดยเฉพาะ • ทำอุณหภูมิ จาก 23 Cํ ไปยัง -95 Cํ ไดรวดเร็วภายใน 90 นาที • ทำอุณหภูมิไดกวาง -95°C ถึง 140°C • เสถียรภาพ ±0.015°C • ความแมนยำสูง ±0.05°C • คุณสมบัติสอดคลองตาม EURAMET cg-13 • สำหรับสอบเทียบ RTDs, เทอรโมคัปเปล, เทอรโมมิเตอร และเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิแบบอื่นๆ
Fluke 914X Field Metrology Well
ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิ แบบแหง เหมาะสำหรับงานภาคสนาม ดวยขนาดที่เล็กกะทัดรัด สะดวก ตอการพกพา แตยังคงประสิทธิภาพ ดวยชุดอุณหภูมิแบบ Dual Zone และยังเพิ่มขีดความสามารถดวยชุด Readout สำหรับ PRT, RTD, TC และ สามารถบันทึก ผลการวัดอุณหภูมิได Range : -25 to 660°C
Fluke 917X Metrology Well
ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิแบบแหง ที่มีประสิทธิภาพระดับ Bath ดวยชุดควบคุม อุณหภูมิแบบ Dual Zone ทำใหไดมาซึ่ง • คา Stabillity ± 0.005 °C • คา Axial Uniformity ± 0.02°C • คา Radial Uniformity ± 0.01 °C • คา Accuracy ± 0.006 °C • คา Loading ± 0.005 °C • คา Hysteresis ± 0.025 °C • Immersion Depth 8 นิ้ว Range : -45 to 700°C
Fluke 6331, 7321, 7341, 7381 Deep Well Compact Calibrator
Fluke 4180 Infrared Calibrator
ชุดสรางอุณหภูมิมาตรฐาน สำหรับ สอบเทียบ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอร ดวยขนาดที่กวางถึง 6 นิ้ว ทำให สามารถสอบเทียบอินฟราเรด เทอรโมมิเตอรไดตามมาตรฐาน และยังสามารถ ปรับคา Emissivity ของเทอรโมมิเตอรได
Fluke 6102, 7102, 7103 Micro Bath ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลว เปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิ เหมาะสำหรับการใชงานใน ภาคสนาม ดวยขนาดกะทัดรัด มีหัวปดเพื่อกัน ของเหลวภายในหก มีชวงการทำอุณหภูมิตั้งแต -30 ถึง 200°C รายละเอียด แตกตางกันในแตละรุน
Fluke 9118A Thermocouple Calibration Furnace
ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลวเปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิแบบลึก เหมาะสำหรับงานใน หองสอบเทียบ และชุดหัววัดที่มีขนาดยาว ดวย ความลึก ถึง 19 นิ้ว เมื่อใชรวมกับอุปกรณพิเศษ ทำใหสามารถสอบเทียบ LIG ได ชวงการทำ อุณหภูมิ ตั้งแต -45 to 300 °C
PROBE
Primary Probe
ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Primary เหมาะสำหรับ ผูที่ตองการใชเปน Reference ใชในงานสอบเทียบ ทางอุณหภูมิ Range : -200 to 661 °C
Secondary Probe
ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Secondary ใชในงานสอบเทียบทางอุณหภูมิ มีชวงการใชงาน -200 ถึง 661 °C
Industrial Probe
ชุดหัววัดอุณหภูมิมาตรฐานระดับ Industrial ใชในงานอุตสาหกรรม มีชวงการใชงานตั้งแต -200 ถึง 420 °C
เครื่องสอบเทียบเทอรโมคัปเปลอุณหภูมิสูง 300 - 1200 °C
มีหลุมทำความรอนแนวนอนแบบเปด สะดวกใชงาน ทำความรอนไดเร็ว มีความสม่ำเสมอความรอนแนวแกนดี เหมาะสำหรับหอง Lab, งานอุตสาหกรรมเซรามิก, หลอโลหะ, พลาสติก, ยานยนต, พลังงาน
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 08-1869-7770, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ temperature-calibrator
ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector
2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
Artwork Sumipol for ForQuality(10-02-58).pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
2/12/2558 BE
10:29
Contents
Quality Management Vol.21 No.208 March-April 2015
Quality of Life 31 โรคภูมิแพ้
โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว 32 การให้ฮอร์โมนทดแทนแบบ BHRT (Bioidentical Hormone Replacement Therapy) จ�ำเป็นจริงหรือส�ำหรับผู้หญิงวัยทอง โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์
ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
Special Issue 35 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ขับเคลื่อนการเจรจาการค้าเชิงรุก เพื่อประโยชน์สงู สุดของประเทศ 40 ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย องค์การพัฒนาองค์ความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน
23
Cover Story 9
เครื่องมือวิเคราะห์ด้านประหยัดพลังงานและความเสียหายในระบบไฟฟ้า
โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
Quality System Quality Trend 19 ISO 45001 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ฉบับร่าง)
ตอนที่ 3
โดย กิตติพงศ์ จิรวัสวงศ์
23
เอสเอ็มอียุคดิจิทัล
ั ผดุง โดย วงศกร ตระกูลหิรญ
Quality Tools 27 แผนผังแสดงความสัมพันธ์: เครื่องมือที่ใช้ความเป็นเหตุเป็นผล โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์
Quality for Food 29 ภาพรวมข้อก�ำหนดสมาคมผู้ค้าปลีกแห่งสหราชอาณาจักรด้านความปลอดภัย
ของอาหาร ฉบับที่ 7 Overview of BRC Global Standard for Food Safety Issue 7
โดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย
โดย กองบรรณาธิการ
Quality Management Quality Finance 46 “ผลพวง” ของมาตรการ “Q.E.” ของสหรัฐ โดย รศ.ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
Quality Marketing & Branding 48 Marketing New Trend update
from Japan อนาคตของชิเซโด ปฏิรูปทางการตลาดอีกครั้ง
โดย รังสรรค์ เลิศในสัตย์
48
Cover Back_M5.indd 1
25/11/2556 21:58
Contents
53
Quality Management Vol.21 No.208 March-April 2015
Quality Marketing & Branding 51 AEC กับกลยุทธ์ธุรกิจที่ต้องเตรียมความพร้อม
โดย ดร.ธเนศ ศิรกิ จิ 53 Rebranding เคล็ดไม่ลับปรับแบรนด์ให้เจ๋ง ตอนที่ 3
โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์
Quality People 57 วิกฤตการณ์จะท�ำให้มนุษย์กล้าแกร่งและยอมรับเพื่อความอยู่รอด
59
ตอนที่ 26 โดย ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวศิ ษิ ฏ์ 59 ท�ำไมงานไม่สัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมาย โดย รศ.สุพตั รา สุภาพ 62 HRM ท่ามกลางการแข่งขันทางการค้า โดย ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล
Quality Idol & Model 66 พีซีเอส ประเทศไทย ตอกย�้ำผู้น�ำบริหารจัดการอาคารครบวงจร
ด้วยกลยุทธ์ All in One โดย กองบรรณาธิการ 70 รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ดัชนีชี้วัดความส�ำเร็จที่ยั่งยืนขององค์กร
โดย กองบรรณาธิการ
Life Style 74 Khaoyai Paradise on Earth โดย หมูดนิ
Quality Movement 77 Quality Book Guide 78 Quality Movement 82 Advertiser Index
76
Editor’s Talk
ประ
เด็นในเรือ่ งการค้าและการลงทุนในประเทศไทยเพือ่ มุง่ สูก่ ารแข่งขันในอาเซียน เป็นเรือ่ งทีน่ า่ จับตามอง ภาครัฐเตรียมพร้อมระบบสาธารณูปการไว้รองรับการ เติ บ โตในด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ ส นั บ สนุ น ให้ ก ารเดิ น ทางและการขนส่ ง เป็ น ไปได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ภาคเอกชนวางกลยุทธ์ไว้ให้สอดคล้องกับการเจริญเติบโตเหล่านั้น กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่เป็น แกนหลักของไทยในเวทีการค้าและเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่ง ได้รับเกียรติอย่างสูง จากท่านอธิบดีฯ ร่วมพูดคุยแสดงทัศนะเกี่ยวกับเรื่องนี้อย่างละเอียด พร้อมกันนี้ยังได้ รับเกียรติจาก ท่านผู้อำ� นวยการศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมพูดคุยกับเรา ถึงสถานการณ์ของการเตรียมความพร้อมเปิดอาเซียนในปลายปี 2558 นี้ รวมถึงการ เตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการสู่การแข่งขัน นอกจากนี้ยังร่วมพูดคุยถึงภารกิจ ของศูนย์ฯ ในการส่งเสริมและสนับสนุนโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ส�ำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้ประกอบการสู่อาเซียน พร้อมกันนีเ้ รายังมีบทความน่าอ่านรอทุกท่านอยูเ่ ช่นเคย อาทิ Quality System เสนอ บทความเรื่อง ISO 45001 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ฉบับร่าง) บทความเรื่อง เอสเอ็มอียุคดิจิทัล บทความเรื่อง ภาพรวมข้อก�ำหนดสมาคมผู้ค้าปลีกแห่งสหราชอาณาจักรด้าน ความปลอดภัยของอาหาร ฉบับที่ 7 ส�ำหรับ Quality Management บทความเรื่อง “ผลพวง” ของ มาตรการ “Q.E.” ของสหรัฐ บทความเรือ่ ง AEC กับกลยุทธ์ธรุ กิจทีต่ อ้ งเตรียมความพร้อม บทความ เรื่อง HRM ท่ามกลางการแข่งขันทางการค้า ขอให้ทุกท่านเต็มอิ่มกับบทความที่เราน�ำเสนอ พบกันใหม่ฉบับหน้า ขอขอบคุณแฟน ๆ นิตยสาร ที่กรุณาตอบแบบสอบถามเข้ามาร่วมสนุกประจำ�ปี 2557 ทางทีมงานขอมอบของที่ระลึก “เสื้อแจ็คเกต” ให้กับ 2 ผู้โชคดี ได้แก่ 1. คุณวีระชัย ทิพเจริญ สมาชิกนิตยสาร QM Management 2. คุณอิศราวดี ทองอินทร์ สมาชิกนิตยสาร Techno & InnoMag ทางทีมงานได้ท�ำ การจัดส่งของที่ระลึกดังกล่าวไปให้ท่าน ณ ที่อยู่ที่แจ้งไว้
Published by
Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย
Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย
Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708
PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Marketing Service
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Advertising
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Member
จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740
Pre-Press Printing
วัตถุประสงค
บริษัท ส.เอเซียเพรส (1989) จำกัด โทร. 0-2732-3101 โทรสาร 0-2375-2017
บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง
ฟลุค..โดยเมเชอร์โทรนิกซ์ มั่นใจบริการหลังการขาย
เครือ่ งมือวิเคราะห์ดา้ นประหยัดพลังงาน และความเสียหายในระบบไฟฟ้า Power Quality Logger and Analyser ส�ำหรับวิเคราะห์พลังงานและคุณภาพไฟฟ้า
Thermal Imager ส�ำหรับตรวจสอบความร้อนผิดปรกติ
ระบบโฟกัส EverSharp คมชัด แม่นย�ำทุกระยะ
FLUKE TiX1000/660/640 FLUKE 434-II, 435-II
FLUKE 1730
ช่วยให้คณ ุ มองเห็นความผิดปกติ อันเนือ่ งมาจากปัญหา คุณภาพไฟฟ้า การใช้พลังงานในแต่ละจุด บันทึกและตรวจสอบได้ในระยะยาว รวมถึง การตรวจหาความร้อนผิดปกติ ด้วยการส�ำรวจด้วยภาพความร้อน อย่างรวดเร็ว เพือ่ หาจุดทีเ่ กิดความสูญเสียและจุดบกพร่องทีอ่ าจเกิด ความเสียหายร้ายแรง
FLUKE TiX560/520
สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติม ติดต่อ : คุณธีระวัฒน์ 08-1555-3877 คุณพลธร 08-1834-0034 คุณจิรายุ 08-3823-7933 คุณเนตรนภางค์ 08-9895-4866
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com
www.measuretronix.com /power-thermal
ความสูญเสียจากปัญหาคุณภาพไฟฟ้า
การด�ำเนินงานของธุรกิจอุตสาหกรรมในปัจจุบนั ต้นทุนด้านพลังงาน โดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้า มีสัดส่วนที่สูงมากและไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้น โรงงานต่าง ๆ จึงต้องมีการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่ง คุณภาพของไฟฟ้าทีใ่ ช้เป็นปัจจัยส�ำคัญต่อปัญหาอืน่ ๆ ทีต่ ามมาอีกมากมาย ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าส่งผลกระทบต่อ 3 ปัจจัยส�ำคัญ คือ ค่าไฟแพง (energy costs) เครื่องจักรช�ำรุด (equipment problems) และหยุดการผลิต (downtime) for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
9
Cover Story ค่าไฟฟ้าสูงเกินจริง
ในการลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานไฟฟ้า จ�ำเป็นต้องบันทึกรูปแบบ การใช้ก�ำลังไฟฟ้า ท�ำการปรับระบบ หรือย้ายช่วงเวลาใช้โหลดสูง เพือ่ ลด ค่าของ 1. ก�ำลังไฟฟ้าที่ใช้จริง (kWh) 2. ค่าชดเชยเพาเวอร์แฟคเตอร์ 3. ค่าธรรมเนียมโครงสร้างการใช้กำ� ลัง Peak Load
เครือ่ งจักรช�ำรุดเสียหาย
อาจเป็นการยากทีจ่ ะคิดมูลค่าออกมา เพราะความเสียหายอาจเกิด ได้จากหลายสาเหตุ อาจเพราะฮาร์มอนิกสูงเกินจนเครือ่ งช�ำรุด หรือไฟบาง เฟสผิดปกติทำ� ให้ประสิทธิภาพตกลง จึงต้องสืบสาวหาสาเหตุให้ชดั เจนก่อน 1. ตรวจค้นปัญหาที่เป็นต้นตอ 2. คิดมูลค่าเสียหายที่แท้จริงของแต่ละสาเหตุ
หยุดการผลิต
ต้นทุนความสูญเสียจากการหยุดการผลิต พิจารณาได้ 2 กรณี 1. ผลตอบแทนจากผลผลิตต่อชั่วโมงที่หายไป 2. ต้นทุนการผลิตที่เสียไปเปล่า ๆ
เครือ่ งวิเคราะห์คณ ุ ภาพและพลังงานไฟฟ้า จาก Fluke ท�ำให้เรือ่ งประหยัดพลังงานเป็นเรือ่ งง่าย เหมือนมีผเู้ ชีย่ วชาญอยูข่ า้ งกาย
Fluke มีเครื่องมือส�ำหรับงานบันทึกและวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า เพือ่ การตรวจสอบและแก้ไขปัญหาในทุกลักษณะ ทุกระดับงาน ทัง้ เฟสเดียว และ 3 เฟส ตลอดจนวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน ตรวจพบยาก ที่ไม่อาจ ค้นพบได้ด้วยเครื่องมือทั่ว ๆ ไป มีซอฟต์แวร์ช่วยในการวิเคราะห์อันชาญ ฉลาด ช่วยคุณจัดการปัญหาจากคุณภาพไฟฟ้าได้อย่างมืออาชีพ รุ่นใหม่ Fluke 434-II และ Fluke 435-II สามารถวิเคราะห์และ แจกแจงความสูญเสียจากสาเหตุต่าง ๆ ทั้งหมด พร้อมค�ำนวณตัวเลข จ�ำนวนเงินทีส่ ญ ู เปล่าได้ทนั ที โดยไม่จำ� เป็นต้องจ้างผูเ้ ชีย่ วชาญมาท�ำการ วิเคราะห์ข้อมูลอีกที
Fluke 434, 435 Series II เครือ่ งวิเคราะห์การใช้พลังงานและแก้ไขคุณภาพไฟฟ้า 3 เฟส
ค�ำนวณการสูญเสียพลังงาน: ทั้งจากแอคทีพและรีแอคทีพ เพาเวอร์ อันบาลานซ์และฮาร์มอนิก พร้อมคิดเป็นตัวเลขจ�ำนวณเงินทีส่ ญ ู เสียให้เสร็จ ● วัดประสิทธิภาพของอินเวอร์เตอร์: โดยการวัดก�ำลัง AC เอาต์พุตและ DC อินพุต พร้อมกัน ของระบบอิเล็กทรอนิกส์ก�ำลัง (ใช้ DC Clamp เป็นอุปกรณ์เสริม) ● จั บ สั ญ ญาณด้ ว ย PowerWave: สามารถบั น ทึ ก ข้ อ มู ล สัญญาณรูปคลื่น RMS ได้รวดเร็ว ทั้งครึ่งรูปคลื่นและเต็มรูปคลื่นเพื่อ วิเคราะห์คณ ุ สมบัตทิ างไดนามิกของระบบ เช่น การสตาร์ตของเจเนอเรเตอร์ การสวิตชิ่งของ UPS ● บันทึกรูปคลืน ่ เหตุการณ์: บันทึก Waveform ของแรงดันและ กระแสในแต่ละเหตุการณ์ พร้อมกันทั้ง 3 เฟส โดยอัตโนมัติในทุกโหมด การวัด ● โหมดวัดทรานส์เชียนต์อัตโนมัติ: วิเคราะห์ข้อมูลรูปคลื่น 200 kHz ทุกเฟสพร้อมกัน ที่แรงดันสูงสุด 6 kV ● Fully Class-A Compliant: มีคุณสมบัติเป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61000-4-30 Class-A Standard ● วิเคราะห์สัญญาณในสายเมน: วิเคราะห์การรบกวนที่เกิด จากสัญญาณควบคุมแบบริปเปิล้ ทีค่ วามถีเ่ ฉพาะ ทีผ่ า่ นสายเมนของระบบ ● ตรวจค้นปัญหาแบบ Real-Time: โดยการวิเคราะห์กราฟ ทิศทางความเปลี่ยนแปลงด้วยเครื่องมือเคอร์เซอร์และซูม ● ปลอดภัยสูงสุดส�ำหรับอุตสาหกรรม: มาตรฐานความปลอดภัย 600 V CAT IV/1000 V CAT III ● วัดได้พร้อมกัน 3 เฟสและนิวตรอล: ด้วยโพรบวัดกระแสที่ มีความยืดหยุ่นสูง ใช้วัดในที่คับแคบได้โดยสะดวก ● ท�ำกราฟทิศทางความเปลี่ยนแปลงอัตโนมัติ: ทุกการวัดจะ ถูกบันทึกโดยอัตโนมัตสิ ำ� หรับการตรวจดูกราฟทิศทางความเปลีย่ นแปลง ย้อนหลังได้ทันที โดยไม่ต้องตั้งค่า ● มอนิเตอร์ระบบ: แสดง 10 พารามิเตอร์ทางคุณภาพไฟฟ้าที่ หน้าจอ ตามมาตรฐาน EN50160 ● ฟังก์ชั่นดาต้าล็อกเกอร์: ก�ำหนดช่วงเวลาและเงื่อนไขในการ เก็บข้อมูลทดสอบตามความต้องการได้ 600 พารามิเตอร์ ● ออกเอกสารรายงานได้ : ดู ก ราฟ วิ เ คราะห์ ออกเอกสาร รายงาน ด้วยซอฟต์แวร์ ● แบตเตอรี่ใช้นาน: ใช้งานได้ต่อเนื่อง 7 ชั่วโมงต่อการชาร์จ หนึ่งครั้ง ต่อแบตเตอรี่ 1 ก้อน ●
Vol.21 No.208 March-April 2015
UPM ระบบวัดก�ำลังทีร่ วมเป็นหนึง่ เดียว (Unified Power Measurement System)
10
Fluke 434-II, 435-II ช่วยในการค้นหา คาดการณ์ ป้องกัน และ ตรวจแก้ไข ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าในระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าทั้งชนิด 3 เฟส และ 1 เฟส มีอัลกอริทึมในการหาค่าสูญเสียพลังงานจากฮาร์มอนิกและ อันบาลานซ์ เพื่อหาต้นตอของการสูญเสียในระบบได้อย่างแม่นย�ำ
Cover Story ระบบการวัดก�ำลังทีร่ วมเป็นหนึง่ เดียว หรือ Unified Power Measurement System (UPM) อันเป็นลิขสิทธิเ์ ฉพาะของ Fluke ทีใ่ ห้ภาพรวม ของผลการวัดทั้งหมดในทีเดียว ประกอบด้วย ● พารามิเตอร์พื้นฐานทางไฟฟ้าตาม Steinmetz 1897 และ IEEE 1459-2000 ● วิเคราะห์การสูญเสียโดยละเอียด ● วิเคราะห์ Unbalance ระบบ UPM นี้จะแสดงตัวเลขของต้นทุนที่สูญเสียอันมีสาเหตุมา จากปัญหาคุณภาพไฟฟ้าในลักษณะต่าง ๆ
ท�ำงานสั้นลง และยังเป็นการสูญเสียพลังงาน การใช้ UPM ช่วยลดหรือ หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงาน ช่วยประหยัดเงิน
ฮาร์มอนิก
วัดและค�ำนวณการสูญเสียพลังงาน ค่าสูญเสียจากสายไฟไม่ได้ขนาด ค่าสูญเสียจาก Reative Power ค่าสูญเสียจาก Unbalance ค่าสูญเสียจาก Harmonics ค่าสูญเสียจาก Neutral รวมเป็นเงินจากกิโลวัตต์ชั่วโมงที่สูญเสียไป
เทคนิคทีใ่ ช้กนั ทัว่ ไปในการประหยัดพลังนัน้ ท�ำโดยการตรวจเฝ้า ระวังและหาเป้าหมาย พูดอีกอย่างก็คือ โดยการค้นหาโหลดหลัก ๆ ในโรงงาน แล้วท�ำการ Optimizing การท�ำงานของมัน ซึ่งต้นทุนของ คุณภาพไฟฟ้ามักค�ำนวณได้เพียงจากผลของการหยุดเดินเครื่อง คือ ผลผลิตที่หายไป หรือเครื่องจักรเสียหาย แต่ในวิธีของ UPM มองการประหยัดพลังที่เบื้องหลังกว่านั้น โดย การค้นหาก�ำลังสูญเสียทีเ่ กิดจากปัญหาคุณภาพไฟฟ้าลักษณะต่าง ๆ รวม ทั้งหมด แล้วค�ำนวณออกมาเป็นตัวเลขจ�ำนวนเงินที่ต้องหมดไปกับ พลังงานที่สูญเสียดังกล่าว
นอกจากนีร้ ะบบ UPM ยังให้รายละเอียดของการสูญเสียพลังงาน ในโรงงานที่เกิดจากการปรากฏของฮาร์มอนิก ฮาร์มอนิกอาจเกิดขึ้นได้ จากโหลดในโรงงานเอง หรือโหลดของโรงงานข้างเคียงก็ได้ เมื่อปรากฏ ฮาร์มอนิกขึ้นแล้วจะน�ำไปสู่ปัญหาต่อเนื่อง คือ ● หม้อแปลงและสายตัวน�ำร้อนจัด ● เซอร์กิจเบรกเกอร์ตัดวงจรบ่อย ● อุปกรณ์ไฟฟ้าในโรงงานเสียหาย การหาตัวเลขของการสูญเสียพลังงานจากฮาร์มอนิก ช่วยให้การ ค�ำนวณผลตอบแทนการลงทุนในการสัง่ ซือ้ ฮาร์มอนิกฟิลเตอร์ท�ำได้งา่ ยขึน้ ผลของการติดตั้งฮาร์มอนิกฟิลเตอร์จะช่วยลดผลกระทบจากฮาร์มอนิก และช่วยหลีกเลียงการสูญเสียพลังงาน เป็นผลให้ลดค่าใช้จา่ ยด�ำเนินงาน และระบบมีความเชื่อถือได้มากขึ้น
พร้อมเก็บบันทึกรูปคลืน่ ด้วย PowerWave
อันบาล้านซ์
PowerWave เป็นระบบเก็บบันทึกข้อมูลหลายช่องสัญญาณ ความเร็วสูง ● ใช้เก็บบันทึกข้อมูลการเปลีย ่ นแปลงแรงดัน กระแส และความถี่ ● เก็บบันทึกรายละเอียดเวฟฟอร์มเป็นระยะเวลานาน ๆ ได้ ● พร้อมค�ำนวณค่า Average ทุกครึ่งไซเคิ้ล ● เป็นเครื่องมือที่สมบูรณ์แบบในการเก็บบันทึกรายละเอียด ทางไฟฟ้าอย่างครบถ้วน เมือ่ สตาร์ตเจนเนอเรเตอร์หรือมอเตอร์ขนาดใหญ่ ● เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างแรงดัน กระแส และความถี่ ทั้ง 3 เฟสได้พร้อมกัน
ระบบ UPM เจาะลึกในรายละเอียดของพลังที่สิ้นเปลืองไปใน โรงงาน โดยการวัดเพิ่มเติมค่า Reactive Power (ที่เกิดจากค่าเพาเวอร์ แฟคเตอร์ ที่ แ ย่ ) นอกจากนั้ น ยั ง วั ด ค่ า พลั ง งานสู ญ เสี ย ที่ เ กิ ด จากอั น บาลานซ์ อันเนือ่ งมาจากโหลดไม่เท่ากันในระบบไฟ 3 เฟส ซึง่ อันบาลานซ์ สามารถแก้ไขได้โดยการย้ายโหลดให้กระจายในแต่ละเฟสใกล้เคียงกัน มากทีส่ ดุ หรือใช้การเพิม่ ตัวปรับอันบาลานซ์แบบริแอคทีฟ (หรือฟิลเตอร์) การแก้ปัญหาอันบาลานซ์เป็นงานจ� ำเป็นพื้นฐานของผู้ดูแล โรงงาน เพราะอันบาลานซ์สามารถเป็นเหตุให้มอเตอร์ขัดข้องหรืออายุ
โพรบยืดหยุน่ วัดกระแสสูง
● Fluke-430 series II มีโพรบยืดหยุ่นรุ่น i430-Flexi-TF จ�ำนวน 4 เส้น ให้พร้อมเป็นอุปกรณ์มาตรฐาน แต่ละเส้นยาว 61 เซนติเมตร (24 นิว้ )
Vol.21 No.208 March-April 2015
●
11
Cover Story
วัดกระแสได้สูงถึง 6,000A ● ตัวโพรบยืดหยุน ่ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทีเ่ ล็ก ใช้งานในที่ คับแคบได้โดยสะดวก ● ตัวโพรบใช้วัสดุที่มีความยืดหยุ่น สะดวกในการคล้องรอบ สายตัวน�ำได้โดยง่าย ● มีกลไกล็อกสายโพรบ ป้องกันสายหลุดขณะต่อวัดเพื่อเก็บ บันทึกข้อมูล
Fluke 1730 Three-Phase Energy Logger เครือ่ งบันทึกการใช้พลังงานและการสูญเสียไฟฟ้า 3 เฟส
คุณไม่อาจจัดการในสิง่ ทีค่ ณ ุ มองไม่เห็นและวัดค่ามันไม่ได้ เครือ่ ง บันทึกพลังงานไฟฟ้าเป็นผู้รวบรวมข้อมูลค่าวัดที่ใช้ส�ำหรับการตัดสินใจ เพือ่ ลงทุนท�ำประหยัดพลังงาน Fluke 1730 วัดค่าได้หลายอย่างพร้อมกัน ตลอดช่วงเวลา และท�ำการค�ำนวณผลข้อมูลที่รวบรวมได้ ซึ่งเครื่องวัด ไฟฟ้าทั่วไปวัดได้ค่าเดียวในแต่ละเวลา คือ แรงดัน หรือกระแส แต่ไม่ สามารถค�ำนวณค่าวัตต์ (W) ที่ต้องจ่ายเป็นค่าไฟฟ้าได้ ค่าใช้จ่ายด้าน พลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ การประหยัดพลังงานย่อมมีผลกระทบต่อผล ประกอบการโดยตรง
ก่อนเสร็จสิ้นภารกิจ หรือประกอบการตัดสินใจส�ำคัญเร่งด่วน ● ดาวน์โหลดข้อมูล วิเคราะห์ และจัดท�ำรายงานได้ในอึดใจ ด้วยซอฟต์แวร์วิเคราะห์พลังงาน รุน่ ใหม่ Fluke 1730 เครือ่ งบันทึกการใช้พลังงานไฟฟ้า 3 เฟส ช่วย ให้การค้นหาจุดทีเ่ กิดการสูญเสียพลังงานไฟฟ้าท�ำได้งา่ ยขึน้ คุณสามารถ ค้นพบได้วา่ ทีไ่ หน เมือ่ ไร ทีพ่ ลังงานไฟฟ้าถูกใช้ไป ตัง้ แต่จดุ ทีต่ อ่ ไฟฟ้าเข้า โรงงาน เรื่อยไปจนถึงแต่ละวงจรไฟฟ้าเลยทีเดียว โดยการจัดท�ำรูปแบบการใช้พลังงานไฟฟ้าทั่วทั้งโรงงาน จะช่วย ให้คุณมองเห็นช่องทางการประหยัดพลังงาน พร้อมทั้งข้อมูลที่จ�ำเป็นใน การด�ำเนินการ ด้วยซอฟต์แวร์วิเคราะห์การใช้พลังงานใหม่ช่วยให้คุณ เปรียบเทียบข้อมูลในแต่ละจุดในช่วงเวลาต่างๆ เพื่อให้เห็นภาพรวมของ การใช้พลังงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนเริ่มแรกของการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
คุณสมบัติ
วัดค่าตัวแปรส�ำคัญครบถ้วน: เพือ่ งานประหยัดพลังงานโดย เฉพาะ ด้วยการวัดค่า แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ก�ำลังไฟฟ้า เพาเวอร์แฟคเตอร์ และค่าอื่นที่เกี่ยวข้อง ● จอแสดงผลสว่างชัดเจนระบบสัมผัส: ท�ำการวิเคราะห์ผล ที่ภาคสนามได้ทันที พร้อมตรวจสอบข้อมูลด้วยจอแสดงผลกราฟิก ● เก็บบันทึกข้อมูลได้ครอบคลุม: เก็บข้อมูลแยกอิสระได้ 20 เซสชั่น ภายในตัวเครื่อง ทุกค่าที่บันทึกอย่างอัตโนมัติ และสามารถเรียก ดูได้ทุกเมื่อในขณะท�ำการบันทึกข้อมูลอยู่ด้วย ● ยูสเซอร์อินเตอร์เฟสที่ใช้ง่าย: เก็บบันทึกข้อมูลได้อย่าง ถูกต้องทุกครั้ง ด้วยการวิธีตั้งค่าแบบกราฟิกที่มีค�ำแนะน�ำประกอบได้ อย่างรวดเร็ว พร้อมฟังค์ชั่นตรวจสอบความถูกต้องการเชื่อมต่อ ●
Vol.21 No.208 March-April 2015
ความสามารถทีโ่ ดดเด่น
12
● ตัวเครื่องมีการออกแบบเลย์เอาต์อย่างมีประสิทธิภาพ มีจอ ทัชสกรีนที่ใช้ง่าย จอสัมผัสสั่งการได้โดยไม่ต้องถอดถุงมือป้องกัน ● มีคณ ุ สมบัตสิ ลับสายเชือ่ มต่อให้ถกู ต้องอัตโนมัติ โดยไม่ตอ้ ง ถอดสายโพรบเพือ่ ต่อใหม่ ป้องกันความเสียหายจากการต่อสายผิดพลาด ● ใช้ ไ ฟฟ้ า จากระบบที่ ก� ำ ลั ง วั ด แรงดั น โดยตรง (ได้ ถึ ง 500 โวลต์) หรือสายไฟเอซีทั่วไปก็ได้ ● สามารถเรียกดูขอ ้ มูลทีบ่ นั ทึกได้ทหี่ น้าจอทันที เพือ่ ตรวจสอบ
Cover Story ตัง้ ค่าใช้งานผ่านหน้าจออย่างสมบูรณ์ได้ทหี่ น้างาน: ไม่ ต้องกลับมาที่ห้องท�ำงานในออฟฟิศเพื่อดาวน์โหลดการตั้งค่า หรือต้อง แบกคอมพิวเตอร์ไปที่หน้างาน ● ใช้กบ ั ไฟฟ้าได้ยา่ นกว้าง: ตัวเครื่องต่อใช้ไฟจากระบบไฟฟ้า ที่ก�ำลังวัดได้โดยตรง ไม่ต้องหาปลั๊กไฟให้วุ่นวาย จึงปลอดภัยในการใช้ งานภายในตู้แผงไฟ ● พอร์ต USB 2 ช่อง: ช่องหนึ่งส�ำหรับต่อกับ PC อีกช่องต่อ กับแฟลชไดรฟ์ หรืออุปกรณ์ USB อื่น ๆ ● ขนาดกะทัดรัด: ออกแบบมาให้เหมาะกับพื้นที่คับแคบ เช่น ในตู้ควบคุมไฟฟ้า ● ปลอดภัยสูงสุดส�ำหรับอุตสาหกรรม: ด้วยมาตรฐานความ ปลอดภัย 600 V CAT IV/1000 V CAT III ส�ำหรับใช้งานตัง้ แต่จดุ ต่อไฟฟ้า เข้าจนถึงภายในอาคาร ● มีอป ุ กรณ์เสริมช่วยการวัดหลากหลาย: สายแบนวัดแรงดัน และโพรบวัดกระแสแบบยืดหยุ่น เพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้งในที่คับแคบ ● แบตเตอรีส ่ ำ� รองได้นาน: แบตเตอรี่ Lithium-Ion ใช้แบ็กอัพ การท�ำงานได้ต่อเนื่อง 4 ชั่วโมง ต่อการชาร์จหนึ่งครั้ง ● ปลอดภัย: มีตัวล็อก Kensington ที่แข็งแรง ป้องกันเครื่อง ถูกโจรกรรม ● ซอฟต์แวร์วเ ิ คราะห์พลังงานรุน่ ใหม่: ส�ำหรับดาวน์โหลด และวิเคราะห์การประหยัดพลังงานแต่ละจุด พร้อมรายงานอัตโนมัติ ●
เปิดเผยปริมาณพลังงานที่ถูกใช้ไปในเครื่องจักรแต่ละตัวขณะ ท�ำงานที่ก�ำลังต�่ำสุดและสูงสุดว่ามากน้อยเพียงใด ตรวจสอบขีดความ สามารถของวงจรก่อนเพิ่มโหลด การศึกษาโหลดยังสามารถบ่งบอก สถานการณ์ที่คุณอาจเพิ่มโหลดเกินก�ำลังที่รับได้ของวงจร หรือมีต้องการ ก�ำลังไฟฟ้าสูงสุดช่วงเวลาใด
เพื่อความสะดวก การศึกษาโหลดในบางครั้งท�ำได้ง่าย ๆ โดย การวัดกระแส ซึ่งช่วยให้การติดตั้งเครื่องวัดท�ำได้ง่ายและรวดเร็ว ค�ำ แนะน�ำโดยทั่วไปก็คือ ควรท�ำการศึกษาโหลดเป็นเวลา 30 วัน เพื่อให้พบ เจอสภาวะของโหลดทั้งหมดระหว่างการทดสอบ
ส�ำรวจการใช้พลังงาน (energy surveys)
การวัดหลาย ๆ จุดช่วยให้เห็นภาพรวมของการใช้พลังงานทั่วทั้ง โรงงาน การส�ำรวจการใช้พลังงานควรท�ำเป็นเวลานานเพียงใด เรื่องนี้ขึ้น อยู่กับแต่ละโรงงาน ค�ำแนะน�ำก็คือให้ท�ำการวัดเป็นช่วงระยะเวลาพอดี กับเวลาท�ำงานของโรงงาน เช่นถ้าโรงงานท�ำงาน 5 วันแล้วหยุดวันสุด สัปดาห์ การส�ำรวจการใช้พลังงานเป็นเวลา 7 วัน ก็สามารถเก็บข้อมูล
บันทึกก�ำลังไฟฟ้าและพลังงาน (power and energy logging)
พลังงานคือเงินที่คุณต้องจ่ายให้การไฟฟ้า มีราคามาตรฐานต่อ กิโลวัตต์ชั่วโมง และมีค่าเรียกเก็บเพิ่มเติมอื่น ๆ เช่น Peak Demand เป็น ค่าเผื่อความต้องการพลังงานสูงสุดในช่วงเวลาก�ำหนด มักจะ 15 หรือ 30 นาที หรือค่าเรียกเก็บจาก Power Factor ที่เป็นผลมาจากโหลดที่เป็น Inductive หรือ Capacitive
ในโรงงาน การปรับปรุงประสิทธิภาพของ Peak Demand และ Power Factor จะช่วยลดค่าใช้จา่ ยพลังงานไฟฟ้าได้ Fluke 1730 มีความ สามารถในการวัดและแสดงคุณลักษณะของผลกระทบเหล่านี้ เพื่อช่วย คุณวิเคราะห์ผลลัพธ์และประหยัดเงิน
ศึกษาโหลดแบบง่าย (simplified load studies) Vol.21 No.208 March-April 2015
การประยุกต์ใช้งาน ศึกษาโหลด (load studies)
ครอบคลุมเงื่อนไขโดยทั่วไป ถ้าโรงงานท�ำงาน 24 ชั่วโมง ตลอด 365 วัน ุ หลีกเลีย่ ง ต่อปี การส�ำรวจวันเดียวก็เพียงพอทีจ่ ะเป็นตัวแทนได้ ตราบทีค่ ณ การหยุดเพื่อซ่อมบ�ำรุงในช่วงดังกล่าวได้ ในการบันทึกภาพรวมทั้งหมดของการใช้พลังงานในโรงงาน ไม่ จ�ำเป็นที่จะต้องวัดทุก ๆ จุดที่มีการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เพื่อให้ได้ภาพที่ครอบคลุม เราสามารถวัดการใช้พลังงานช่วงสั้น ๆ แล้ว เปรียบเทียบโดยขยายเวลาให้ยาวขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การเปรียบเทียบ ผลลัพธ์ที่จุดต่อไฟเข้าโรงงานในวันพุธระหว่างเวลา 6.00 น. กับเวลา 24.00 น. ขณะทีม่ โี หลดขนาดใหญ่ในโรงงาน โดยทัว่ ไปอาจต้องมีการปรับค่าความ สัมพันธ์ของแต่ละการวัด
13
Cover Story ในสถานการณ์ที่ยากหรือเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติในการวัด แรงดันไฟฟ้า คุณสมบัติในการศึกษาโหลดแบบง่ายช่วยให้ผู้ใช้งาน สามารถท�ำการศึกษาโหลดง่ายขึน้ ด้วยการวัดกระแสเพียงอย่างเดียว โดย ผูใ้ ช้ทำ� การระบุคา่ แรงดันไฟฟ้าทีค่ าดว่าจะเป็นเพือ่ จ�ำลองการศึกษาโหลด ในการศึกษาก�ำลังงานและพลังงานได้อย่างถูกต้องจ�ำเป็นต้องตรวจวัดทัง้ แรงดันและกระแส แต่วิธีศึกษาโหลดแบบง่ายก็มีประโยชน์ในบางกรณี
ท�ำงานจากระยะห่างที่มีความปลอดภัยมากกว่า ตรวจสอบ พื้ น ที่ ซึ่ ง เดิ ม คุ ณ ไม่ ส ามารถเข้ า ใกล้ และยั ง ได้ ภ าพอิ น ฟราเรดที่ ใ ห้ รายละเอียดยอดเยีย่ ม ● พบการดูภาพในภาคสนามในระดับพรีเมียม เพือ ่ บ่งชีป้ ญ ั หา ได้รวดเร็ว ด้วยจอ LCD ความละเอียดสูงขนาดใหญ่ 5.6 นิว้ ●
Thermal Imager (หรือ Infrared Thermography) ช่วยให้เห็นความร้อนผิดปกติทเี่ ป็นสาเหตุหลักของความสูญเสีย
กล้องถ่ายภาพความร้อนใช้ตรวจสอบโดยการแสดงภาพถ่าย อุณหภูมขิ องอุปกรณ์ไฟฟ้าและเครือ่ งจักร ตลอดจนชิน้ ส่วนต่าง ๆ ในวงกว้าง ช่วยชีจ้ ดุ ผิดปกติได้ชดั เจน รวดเร็ว ก่อนเกิดปัญหาความล้มเหลวของระบบ กล้องถ่ายภาพความร้อนรุน่ ใหม่ Expert Series ให้ภาพทีม่ คี วาม ละเอียดสูงสุด และด้วยจอแสดงผล LCD ขนาดใหญ่ คุณจะได้สมั ผัสกับ ประสบการณ์การดูภาพระดับพรีเมียม เลนส์ทคี่ มชัดช่วยให้คณ ุ ใช้งานได้ทงั้ ด้านบน ด้านล่าง และรอบ ๆ วัตถุ เพือ่ การจับภาพทีย่ ากล�ำบากได้อย่าง ง่ายดาย
Fluke TiX1000, TiX660 และ TiX640 กล้องถ่ายภาพความร้อนความคมชัดสูงระดับ HD
กล้ อ งถ่ า ยภาพความร้ อ นจาก Fluke มอบประสบการณ์ ประสิทธิภาพ และความมัน่ ใจอีกระดับ ไม่ตอ้ งใช้การคาดเดาในงานตรวจ สอบและวิเคราะห์อีกต่อไป ด้วยการตรวจสอบภาพอินฟราเรดที่ความ ละเอียดสูง ส�ำหรับผูใ้ ช้ทตี่ อ้ งการความสามารถในการดูรายละเอียดสูงสุด ในงานทีม่ คี วามส�ำคัญ ช่วยให้พจิ ารณาอุณหภูมมิ คี วามถูกต้องยิง่ ขึน้
มองเห็นสิง่ ทีค่ ณ ุ อาจพลาดไป
เพิ่มพิกเซลของ IR ขึ้น 10 เท่า เมื่อเทียบกับรุ่น TI400 ที่มี 320 × 240 กับ TiX1000 1024 × 768 = 786432 และสามารถท�ำ SuperResolution ได้ถึง 3,145,728 พิกเซล ● ท�ำไห้มค ี วามสามารถมองอุปกรณ์ขนาด 15 มิลลิเมตร ได้ไกล ถึง 100 เมตร ด้วย SupperTelephoto 4x Lens ● สามารถวิเคราะห์ความร้อนในจุดวัดขนาดเล็กถึง 40 ไมโครเมตร ด้วย Close-up 0.5x Micro Lens Vol.21 No.208 March-April 2015
●
14
ระบบโฟกัสอัตโนมัติ LaserSharp® ช่วยให้การโฟกัสรายละเอียด ทีค่ ณ ุ ต้องการได้งา่ ยๆ แม้ในขณะทีม่ อี ปุ กรณ์อนื่ อยู่
ประหยัดเวลาในการโฟกัสด้วยตัวเลือกการโฟกัสขั้นสูงเพื่อ ให้ได้ภาพทีอ่ ยูใ่ นโฟกัสอย่างสม�ำ่ เสมอ ระบบโฟกัสอัตโนมัติ LaserSharp® (ยกเว้นรุ่น TiX640) ระบบโฟกัสอัตโนมัติ ระบบโฟกัสด้วยตนเอง และ EverSharp คุณสมบัติการบันทึกด้วยโฟกัสหลายระยะ ทั้งหมดนี้มีอยู่ใน กล้องตัวเดียวกัน ●
เลนส์เสริม 8 ชิน้ เพือ่ ความหลากหลายสูงสุด
กล้องรุน่ ส�ำหรับผูเ้ ชีย่ วชาญ Fluke ให้ความยืดหยุน่ สูงสุดใน การใช้กล้องอินฟราเรดของ Fluke ทุกรุน่ ในการจับภาพทัง้ ระยะใกล้และ ระยะไกล TiX 1000/660/640 ใช้งานร่วมกับเลนส์ได้ 8 ชิน้ (เลนส์ถา่ ยไกล 2x และ 4x เลนส์มมุ กว้าง 2 ชิน้ เลนส์มาโคร 3 ชิน้ และเลนส์มาตรฐาน 1 ชิน้ ) ●
ความร้อนของท่อและถังบรรจุ โรงงานผลิตซีเมนต์
คุณสมบัติ
เห็นรายละเอียดได้งา่ ยจากระยะไกล
การตรวจสอบอุปกรณ์ใน แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
● ตรวจสอบได้จากระยะไกลเพื่อให้มีความปลอดภัย และยัง สามารถดูภาพระยะใกล้ด้วยการซูมดิจิทัล ● เลือกโปรโตคอลการโอนภาพทีส ่ ะดวกสูงสุดส�ำหรับแอปพลิเคชันของคุณ: พอร์ตข้อมูลของกล้อง: การโอนรูปภาพ: SD การ์ด USB
Cover Story 2.0 เอาต์พุตวิดีโอ DVI-D (HDMI) GigE Vision และ RS232 ซอฟต์แวร์ SmartView®: SD การ์ด USB 2.0, GigE Vision และ RS232 ® ● ดูภาพ IR-Fusion ทีใ ่ ห้ความคมชัดสูงสุดด้วยกล้องจริง 8 MP ● ตัวเลือกการดูทห ี่ ลากหลายส�ำหรับการดูภาพในภาคสนามด้วย ช่องมองภาพส�ำหรับการใช้งานกลางแจ้ง ● ปุม ่ ทีผ่ ใู้ ช้ตงั้ โปรแกรมได้เองตามต้องการเพือ่ เข้าถึงคุณสมบัติ ทีใ่ ช้มากทีส่ ดุ ● กล้องแบบพกพาเพียงหนึง ่ เดียวทีส่ ามารถแสดงหน้าต่างย่อย ในอัตราเฟรม 240 Hz ส�ำหรับการใช้งานขัน้ สูง (ตัวเลือกอุปกรณ์เสริม)
โหมดความละเอียดสูง SuperResolution
Fluke TiX560 และ TiX520 กล้องถ่ายภาพความร้อนทีม่ เี ลนส์หมุนได้ 180 องศา
SuperResolution ให้ความละเอียด 4 เท่าของที่ใช้ได้ในกล้อง เลือกโหมด SuperResolution ก่อนทีค่ ณ ุ จะถ่ายภาพ จากนัน้ ถ่ายโอนภาพ ® ไปยังซอฟต์แวร์ SmartView ที่มีให้ และเลือกโหมด SuperResolution เพือ่ แสดงผล 3,145,728 พิกเซล และดูภาพอินฟราเรดในลักษณะทีไ่ ม่เคย ท�ำได้มาก่อน
ระบบออโต้โฟกัส LaserSharp®
ด้วยจอทัชสกรีนที่ใหญ่กว่าใครถึง 5.7 นิ้ว ความละเอียดภาพ ความร้อน 320x240 หมุนเลนส์ได้ 180 องศา เพื่อเล็งไปยังมุมที่ต้องการ พร้อมระบบออโต้โฟกัส LaserSharp® ทีจ่ บั ภาพได้อย่างชัดเจนแม่นย�ำใน ทันที มุมมองเกีย่ วกับเทคโนโลยีอนิ ฟราเรดของคุณก�ำลังจะเปลีย่ นไปแบบ 180 องศา ค�ำตอบนั้นได้มาอยู่ตรงหน้าคุณแล้ว แม้คุณจะมองไม่เห็น ชิ้นงาน
ใช้งาน จับภาพ และด�ำเนินงานภาพถ่ายได้รวดเร็วยิง่ ขึน้
ระบบโฟกัส EverSharp
โหมด EverSharp ใช้มอเตอร์โฟกัสเพื่อเก็บภาพหลายภาพจาก หลายระยะโฟกัส ด้วยการกดปุ่มเพียงครั้งเดียว ซอฟต์แวร์ SmartView® จะใช้อัลกอริทึมพิเศษเพื่อรวมภาพที่ถ่ายจากหลายระยะโฟกัส และสร้าง ภาพที่สร้างความคมชัดให้รายละเอียดได้ทั้งจุดโฟกัสเริ่มต้น และขององค์ประกอบรอบ ๆ จุดโฟกัส ภาพอินฟราเรดเหล่านี้จะให้ความละเอียดที่น่า ประทับใจ เนือ่ งจากวัตถุทงั้ หมดจะปรากฏด้วยคุณภาพของภาพทีเ่ หนือกว่า
ใช้งานได้อย่างง่ายดายทั้งด้านบน ด้านล่าง และรอบ ๆ วัตถุ ด้วยเลนส์ที่คมชัดแบบ 180 องศา และเห็นภาพก่อนจับภาพ ● จับภาพด้วยหน้าจอ LCD ระบบสัมผัสทีม ่ ขี นาดเพียง 5.7 นิว้ พร้อมระบบวิเคราะห์ในกล้องส�ำหรับการวิเคราะห์ภาพถ่ายในพืน้ ทีป่ ฏิบตั ิ งาน¹ ● ประหยัดเวลาด้วยกระบวนการแก้ไขภาพหลังจากถ่ายภาพ ปรับสภาพเปล่งรังสี อุณหภูมิพื้นหลัง การส่งผ่าน ชุดสี การเตือนด้วยสี การซ้ อ นภาพจริ งกั บ ภาพความร้อ น และการเปิ ด /ปิ ด ใช้ ง านการท� ำ เครื่องหมายที่รวมอยู่ในกล้อง ●
Vol.21 No.208 March-April 2015
ระบบออโต้โฟกัสที่ใช้กันทั่วไปนั้นมักจับโฟกัสที่วัตถุที่อยู่หน้าสุด ซึ่งอาจไม่ใช้วัตถุที่ต้องการวัดอุณหภูมิ ท�ำให้ระยะโฟกัสผิดพลาด ภาพที่ ได้จึงผิดเพี้ยนไป แต่ระบบโฟกัส LaserSharp® ของ Fluke ใช้แสงเลเซอร์ วัดระยะตรงไปยังวัตถุที่ต้องการถ่ายภาพ เครื่องจะท�ำการปรับโฟกัสที่ ระยะดังกล่าวอย่างแม่นย�ำโดยอัตโนมัติ จึงให้ภาพความร้อนที่คมชัดทุก รายละเอียด มองเห็นและวิเคราะห์ปญ ั หาได้ชดั เจนกว่า เหมาะกับงานทัง้ ด้านอุตสาหกรรมและงานอาคาร
15
Cover Story คุณภาพของภาพระดับพรีเมียม ได้โฟกัสสม�ำ่ เสมอ ด้วยการสัมผัส เพียงปุม่ เดียว
สัมผัสประสบการณ์การดูภาพในพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านอันยอดเยีย่ ม ด้วยหน้าจอ LCD ระบบสัมผัสที่มีขนาด 5.7 นิ้ว เมื่อเทียบกับกล้องระดับ เดียวกัน1 ให้พื้นที่การมองเห็นมากกว่าถึง 150%3 ● คุณภาพของภาพและความแม่นย�ำในการวัดอุณหภูมท ิ ไี่ ด้รบั การปรับปรุง ท�ำให้ภาพขนาด 320 × 240 ของคุณกลายเป็นภาพขนาด 640 x 480 ทีม่ คี วามละเอียดและพิกเซลสูงกว่า 4 เท่าด้วย SuperResolution (ในกล้อง รุ่น TiX560 ในซอฟต์แวร์ ส�ำหรับรุ่น TiX520) ® ● ระบบโฟกั ส อั ต โนมั ติ LaserSharp ที่ มี ใ น Fluke เท่ า นั้ น ซึ่งใช้เครื่องวัดระยะห่างเลเซอร์ในตัวเพื่อค�ำนวณและแสดงระยะห่างไป ถึงเป้าหมาย2 ที่คุณต้องการด้วยความแม่นย�ำที่เที่ยงตรง2 ● ค้นหาความแตกต่างเพียงเล็กน้อยของอุณหภูมิได้ง่ายยิ่งขึ้น ความไวในการตรวจจับอุณหภูมทิ นั ทีซงึ่ ได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งจาก 45mK เป็น 30mK ในโหมดฟิลเตอร์ ●
ซือ้ Fluke กับตัวแทนของ เมเชอร์โทรนิกซ์ มัน่ ใจกว่า
มีข้อข้อแนะน�ำในการพิจารณาเลือกซื้อเครื่องมือจากตัวแทน จ�ำหน่าย ควรจะต้องมีความสามารถในการอบรมให้ความรู้ในการใช้งาน แก้เราได้ รวมถึงให้คำ� ปรึกษาในกรณีที่เกิดปัญหาในการวัด และประเด็น ส�ำคัญที่สุดคือการรับประกันซ่อมแซมเครื่องเมื่อมีปัญหา
ซือ้ Fluke กับตัวแทนจ�ำหน่ายของเมเชอร์โทรนิกซ์ อุน่ ใจยาวนาน ตลอดอายุเครื่อง เพราะเรามีแผนกซ่อมและสต็อคอะไหล่ Fluke มากว่า 30 ปี พร้อมสอบเทียบหลังการซ่อมด้วย Lab ISO17025
● ● ●
Vol.21 No.208 March-April 2015
●
16
● เครือ ่ งวัดระยะห่างเลเซอร์ในตัว สามารถค�ำนวณระยะห่างไป ถึงเป้าหมายทีค่ ณ ุ ต้องการได้สงู สุด 100 ฟุต (30 เมตร) พร้อมแสดงระยะทาง บนภาพ ● การวิเคราะห์ในพื้นที่ปฏิบัติงานที่รวดเร็วและง่ายดาย ด้วย เทคโนโลยี IR-Fusion® และฟังก์ชนั่ ทัชสกรีนขัน้ สูง ● เชื่อมต่อกับเครือข่ายเครื่องมือทดสอบและวัดค่าแบบไร้สาย ด้วย Fluke Connect™ ● ตัวเลือกการดูภาพและการควบคุมระยะไกล ิ ด้สงู สุด 1200°C (รุน่ TiX 560) และ 850°C (รุน่ ● วัดอุณหภูมไ TiX 520) ● น�้ำหนักเบาและการออกแบบตามหลักสรีรศาสตร์ด้วยสาย คล้องคอและแขนส�ำหรับการใช้งานในทุก ๆ วัน ● เลนส์มม ุ กว้างและเลนส์เทเลโฟโต้ทสี่ ามารถติดตัง้ ใช้งานภาค สนาม
เปรียบเทียบกับกล้องอินฟราเรดทีม่ คี วามละเอียดตัวตรวจจับ 320 × 240 สูงสุด 30 เมตร (100 ฟุต) 3 เปรียบเทียบกับหน้าจอขนาด 3.5 นิว้ มาตรฐานทัว่ ไปในระดับเดียวกัน 1 2
รับซ่อมทุกกรณี ตลอดอายุการใช้งาน บริการสอบเทียบให้ความแม่นย�ำตามสเปก ปรึกษาปัญหาการใช้งานเครือ่ ง อะไหล่แท้ และรับประกันหลังการซ่อม
สนใจติดต่อ: คุณธีระวัฒน์ 08-1555-3877 คุณพลธร 08-1834-0034 คุณจิรายุ 08-3823-7933 คุณเนตรนภางค์ 08-9895-4866
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com
ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”
ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ
CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง
ISO 14001
ISO/IEC 17025
ISO 9001 TQM
Consultancy Services and Training
ISO/TS 16949
Consult
QS 9000
HACCP
TIS 18001
5S
Pre-assessment Audit
QCC
ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา
CCT SQUARE CO., LTD.
1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com
In-house Training
Q
System for
uality
Trend Tools for Food of Life
Q
Trend for
uality
(ฉบับร่าง)
ตอนที่ 3 ISO 45001 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย กิตติพงศ์ จิรวัสวงศ์ kitjirawas@gmail.com
ต่อจากฉบับที่แล้ว 8. การปฏิบัติการ
ข้อก�ำหนดของการปฏิบตั กิ าร จะครอบคลุมตัง้ แต่การวางแผน และการควบคุมการปฏิบตั กิ าร การควบคุมการบริหารการเปลีย่ นแปลง การจ้างงานภายนอกองค์การ การเตรียมความพร้อมและการรับมือกับ สถานการณ์ฉุกเฉิน
การวางแผนและการควบคุมการปฏิบัติการ
องค์การจะต้องมีการวางแผน การน�ำไปใช้ และการควบคุม กระบวนการที่จ�ำเป็น เพื่อให้สอดคล้องตามข้อก�ำหนดของระบบการ จัดการ OH&S รวมถึงการป้องกัน และการด�ำเนินการ โดยการ ก การพิจารณาถึงกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับภัยอันตราย ที่ จะมีการด�ำเนินมาตรการควบคุม รวมถึงการป้องกัน เพื่อจัดการกับ ความเสี่ยงด้าน OH&S ข จัดท�ำเกณฑ์การยอมรับส�ำหรับกระบวนการทีจ่ ะต้องมีการ
ควบคุม
ค ด�ำเนินมาตรการควบคุมกระบวนการให้สอดคล้องตาม เกณฑ์ที่ก�ำหนด ง จัดเก็บเอกสารทีเ่ กีย่ วกับมาตรการควบคุม และการด�ำเนิน การเพื่อให้กระบวนการด�ำเนินการตามแผนที่ได้กำ� หนดไว้ จ ครอบคลุมถึงสถานการณ์ทกี่ ารไม่มเี อกสารอาจจะน�ำไปสู่ ความเบี่ยงเบนไปจากนโยบาย และวัตถุประสงค์ด้าน OH&S
ลำ�ดับชั้นของการควบคุม
ในการก�ำหนดมาตรการควบคุมเพื่อลดความเสี่ยง องค์การจะ ต้องมีการพิจารณาด�ำเนินการตามล�ำดับ ดังนี้ ก ก�ำจัดภัยอันตรายที่เกิดขึ้น ข ทดแทนด้วยวัสดุ กระบวนการ การปฏิบัติงาน หรือเครื่องมือที่อันตรายน้อยลง for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
19
Trend
trols)
ค การใช้มาตรการควบคุมทางวิศวกรรม (engineering con-
ง การใช้สัญญาณ เครื่องหมาย และอุปกรณ์แจ้งเตือนด้าน ความปลอดภัย รวมถึงมาตรการทางธุรการ (administrative controls) จ การใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
Vol.21 No.208 March-April 2015
องค์การจะต้องมีการวางแผน และจัดการกับการเปลีย่ นแปลง ต่าง ๆ ที่มีต่อระบบการจัดการ OH&S ทั้งที่เป็นการเปลี่ยนแปลงแบบ ชั่วคราวและแบบถาวร เพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่เป็นสาเหตุที่จะท�ำให้ ผลการด�ำเนินงานด้าน OH&S ลดลง โดยการเปลีย่ นแปลงอาจจะมาจาก ➲ การแก้ ไ ขอุ บั ติ ก ารณ์ และความไม่ ส อดคล้ อ งตามข้ อ ก�ำหนด ➲ ผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการใหม่ หรือบริการใหม่ในขัน ้ ตอน ของการออกแบบ หรือการออกแบบซ�้ำ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงความรู้ หรือสารสนเทศเกี่ยวกับภัยอันตราย ➲ การเปลี่ ย นแปลงของกระบวนการท� ำ งาน ขั้ น ตอนการ ปฏิบัติงาน เครื่องมืออุปกรณ์ โครงสร้างองค์การ พนักงาน ผลิตภัณฑ์ การบริการ ผู้รับเหมา หรือผู้ส่งมอบ ➲ การพัฒนาของความรู้และเทคโนโลยี ➲ การเปลี่ยนแปลงของข้อกฎหมาย และข้อก�ำหนดอื่น ๆ ในการน� ำ การเปลี่ ย นแปลงที่ ไ ด้ ว างแผนไว้ ไ ปปฏิ บั ติ แ ละ ควบคุม จะต้องมีการก�ำหนดขั้นตอนการด�ำเนินการที่ชัดเจน รวมถึงมี การก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ และอ�ำนาจด�ำเนินการในการจัดการ กับการเปลี่ยนแปลง และความเสี่ยงด้าน OH&S ที่เกี่ยวข้องด้วย นอกจากนั้ น ยั ง ต้ อ งมี ก ารทบทวนผลกระทบที่ จ ะตามมาจากการ เปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น รวมถึงการด�ำเนินการเพื่อบรรเทา ผลกระทบในทางลบด้วย
20
การจ้างงานภายนอก
ในส่วนของกระบวนการที่เป็นการจ้างงานภายนอก ที่มีผลกระทบต่อระบบการจัดการ OH&S จะต้องมีการควบคุม โดยจะต้องมี การจั ด ท� ำ มาตรการควบคุ ม ส� ำ หรั บ การจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ์ วั ต ถุ ดิ บ เครื่องมือ อุปกรณ์ สินค้า และการบริการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ สอดคล้องตามข้อก�ำหนดของระบบการจัดการ OH&S นอกจากนัน้ องค์การจะต้องมีการพิจารณาถึงภัยอันตรายทีอ่ าจ จะเกิดขึ้น รวมถึงมีการประเมินผล และการควบคุมความเสี่ยงด้าน OH&S ส�ำหรับ ก) แรงงานขององค์การ กับอันตรายที่เกิดขึ้นจากการ ท�ำงานของผู้รับเหมา ข) แรงงานของผู้รับเหมา กับอันตรายที่เกิดขึ้น จากการท�ำงานขององค์การ ค) บุคคลอื่น ๆ ที่อยู่ในสถานที่ปฏิบัติงาน โดยจะต้องดูแลให้ผู้รับเหมา รวมถึงแรงงานของผู้รับเหมา ต้องปฏิบัติ ตามข้อก�ำหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในระบบ OH&S ขององค์การ
การเตรียมความพร้อม และการตอบสนองต่อเหตุฉุกเฉิน
ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น องค์การจะต้องท�ำการประเมิน ความเสี่ยงด้าน OH&S จากสถานการณ์ฉุกเฉินนั้น ๆ รวมถึงมีการ ก�ำหนดแนวทางการเตรียมการป้องกันล่วงหน้า และแนวทางการลด ความเสี่ยงจากเหตุฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้น ประกอบด้วย ➲ การระบุ และวางแผนส�ำหรับสถานการณ์ฉก ุ เฉินทีอ่ าจเกิดขึน้ ➲ การด�ำเนินการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าว ➲ การประเมินผล และการทบทวนการเตรียมความพร้อม ส�ำหรับเหตุฉุกเฉิน โดยเฉพาะภายหลังเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้น ➲ การจัดให้มีข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส�ำหรับ บุคลากรทุกคน ในทุกระดับงาน เกี่ยวกับบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบ รวมถึงจัดให้มีการฝึกอบรมเกี่ยวกับการป้องกันเหตุฉุกเฉิน
Trend การสือ่ สารกับผูร้ บั จ้างช่วง ผูม้ าเยีย่ มชม หน่วยงานด้านการ จัดการเหตุฉุกเฉินที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานราชการ และชุมชนท้องถิ่น
9. การประเมินผลการดำ�เนินงาน
ในหมวดของการประเมินผลการด�ำเนินงาน จะประกอบด้วย ข้อก�ำหนดของการเฝ้าติดตาม การวัด การวิเคราะห์ และการประเมินผล ข้อก�ำหนดการประเมินผลการปฏิบัติ ข้อก�ำหนดของการตรวจประเมิน ภายใน และข้อก�ำหนดของการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
การเฝ้าติดตาม การวัด การวิเคราะห์ และการประเมินผล
ในการประเมินผลการด�ำเนินงาน องค์การก�ำหนดเรือ่ งทีจ่ ะต้อง ท�ำการเฝ้าติดตาม และวัดผล เพื่อให้สอดคล้องตามข้อก�ำหนดของ มาตรฐาน ข้อกฎหมาย และข้อก�ำหนดต่าง ๆ ของหน่วยงานที่องค์การ เป็นสมาชิกอยู่ จากนั้นท�ำการก�ำหนดเกณฑ์การพิจารณาส�ำหรับการประเมิน ผลการด�ำเนินงานด้าน OH&S รวมถึงวิธีการที่จะน�ำมาใช้ในการ เฝ้าติดตาม การวัด การวิเคราะห์ และการประเมินผล เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง นอกจากนั้นยังต้องก�ำหนดช่วงเวลาส�ำหรับการ
เฝ้าติดตามและการวัด รวมถึงช่วงเวลาในการวิเคราะห์ และประเมินผลลัพธ์ที่ได้จากการเฝ้าติดตาม และการวัด ส� ำ หรั บ เครื่ อ งมื อ ที่ น� ำ มาใช้ ใ นการเฝ้ า ติ ด ตามหรื อ การวั ด องค์การจะต้องมีการสอบเทียบ หรือทวนสอบความถูกต้องของเครือ่ งมือ เหล่านั้นด้วย
การประเมินผลการปฏิบัติ
องค์การจะต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติตามข้อก�ำหนด ต่าง ๆ ของมาตรฐานสากลนี้ รวมถึงข้อกฎหมาย และข้อก�ำหนดของ หน่วยงานที่องค์การเป็นสมาชิกอยู่ โดยจะต้องก�ำหนดความถี่และวิธี การที่จะน�ำมาใช้ในการประเมิน และมีการด�ำเนินการตามวิธีการที่ ก�ำหนด รวมถึงมีการจัดเก็บเอกสารไว้เป็นหลักฐานแสดงผลลัพธ์ของ การประเมินผลการปฏิบัติด้วย
การตรวจประเมินภายใน
เช่นเดียวกับมาตรฐานการบริหารจัดการอืน่ ๆ ทีอ่ งค์การจะต้อง จัดให้มีการด�ำเนินการตรวจประเมินภายใน หรือ Internal Audit ตาม ช่วงเวลาทีไ่ ด้วางแผนไว้ เพือ่ ประเมินถึงความสอดคล้องตามข้อก�ำหนด ที่เกี่ยวกับระบบการจัดการ OH&S รวมถึงประเมินความมีประสิทธิผล ของการน�ำไปปฏิบัติและดูแลรักษาระบบ ทัง้ นีจ้ ะต้องมีการวางแผน การจัดท�ำ การน�ำไปใช้ และการดูแล โปรแกรมการตรวจประเมินภายใน รวมถึงการก�ำหนดความถี่ วิธีการ หน้าทีร่ บั ผิดชอบ ข้อก�ำหนดการวางแผน และการรายงานผลการตรวจ ประเมินด้วย โดยในการวางแผนจะต้องค�ำนึงถึงความส�ำคัญของ กระบวนการทีเ่ กีย่ วกับระบบการจัดการ OH&S ผลลัพธ์จากการประเมิน ผลการด�ำเนินงาน และผลลัพธ์ของการตรวจประเมินที่ผ่านมา นอกจากนั้นยังต้องมีการก�ำหนดเกณฑ์ และขอบเขต ส�ำหรับการตรวจประเมินในแต่ละครั้ง มีการคัดเลือกผู้ตรวจ ประเมิน และด�ำเนินการตรวจประเมินด้วยความเป็นกลาง และความเป็นธรรม รวมถึงมีการรายงานผลลัพธ์ของการตรวจ ประเมินไปยังผู้บริหาร และบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำไป สูก่ ารด�ำเนิน-การอย่างเหมาะสม นอกจากนัน้ จะต้องมีการจัด เก็บเอกสารที่แสดงหลักฐานของการด�ำเนินการตามโปรแกรม การตรวจประเมิน และผลการตรวจประเมินไว้ด้วย
การทบทวนโดยฝ่ายบริหาร
ผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องท�ำการทบทวนระบบการจัดการ OH&S ขององค์การ ตามช่วงเวลาทีไ่ ด้วางแผนไว้ เพือ่ ให้มนั่ ใจถึงความเหมาะสม ความเพียงพอ และประสิทธิผลของระบบอย่างต่อเนือ่ ง โดยจะต้อง พิจารณาถึงสถานะของการด�ำเนินการจากการทบทวนโดยฝ่ายบริหาร ที่ผ่านมา รวมถึงการเปลี่ยนของปัจจัยภายในและภายนอกองค์การ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ระบบการจั ด การ OH&S การบรรลุ น โยบายและ วัตถุประสงค์ดา้ น OH&S ความเพียงพอของทรัพยากรส�ำหรับระบบการ
Vol.21 No.208 March-April 2015
➲
21
Trend จัดการ OH&S และโอกาสส�ำหรับการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง นอกจากนัน้ จะต้องมีการทบทวนผลการด�ำเนินงานด้าน OH&S รวมถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับอุบัติการณ์ ความไม่สอดคล้องตาม ข้อก�ำหนด การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์ของการสอบสวน และ การปฏิบตั กิ ารแก้ไข การสือ่ สารทีเ่ กีย่ วข้องกับหน่วยงานต่าง ๆ ผลลัพธ์ ของการมีส่วนร่วมและการให้คำ� แนะน�ำกับคนท�ำงาน ผลลัพธ์ของการ เฝ้าติดตามและการวัด ผลลัพธ์ของการตรวจประเมิน การปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดและข้อกฎหมายต่าง ๆ รวมถึงความเสี่ยงและโอกาสด้าน OH&S
10. การปรับปรุง
ในหมวดของการปรับปรุง จะแบ่งเนื้อหาออกเป็น 2 ส่วน คือ ข้อก�ำหนดเกี่ยวกับอุบัติการณ์ ความไม่สอดคล้องตามข้อก�ำหนด และ การปฏิบตั กิ ารแก้ไข และข้อก�ำหนดเกีย่ วกับการปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง
อุบัติการณ์ ความไม่สอดคล้องตามข้อกำ�หนด และการปฏิบัติการแก้ไข
Vol.21 No.208 March-April 2015
ค�ำว่าอุบัติการณ์ (incident) จะหมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น จากการท�ำงาน และอาจส่งผลหรือไม่ส่งผลให้เกิดการเสียชีวิต การ บาดเจ็บ หรือส่งผลต่อสุขภาพ ในบางครัง้ ถ้าเหตุการณ์นนั้ ท�ำให้เกิดการ เสียชีวิต การบาดเจ็บ หรือส่งผลต่อสุขภาพ จะเรียกว่า อุบัติเหตุ (accident) ในกรณีทเี่ กิดอุบตั กิ ารณ์ หรือความไม่สอดคล้องตามข้อก�ำหนด เกิดขึน้ องค์การจะต้องมีการตอบสนองอย่างทันเวลากับอุบตั กิ ารณ์ หรือ ความไม่สอดคล้องตามข้อก�ำหนดที่เกิดขึ้น โดยท�ำการควบคุม และ
22
แก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้น รวมถึงจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้นตามมาด้วย จากนั้นท�ำการประเมินถึงความจ�ำเป็นในการปฏิบัติการแก้ไข เพื่อขจัดสาเหตุของอุบัติการณ์ หรือความไม่สอดคล้องตามข้อก�ำหนด ที่เกิดขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นซ�้ำอีก โดยให้ท�ำการทบทวนถึง อุบัติการณ์หรือความไม่สอดคล้องตามข้อก�ำหนดที่เกิดขึ้น จากนั้นหา สาเหตุของอุบัติการณ์หรือความไม่สอดคล้องตามข้อก�ำหนดนั้น ๆ และให้พิจารณาด้วยว่ามีอุบัติการณ์ หรือความไม่สอดคล้องตาม ข้อก�ำหนดคล้าย ๆ กันเกิดขึ้น หรือมีโอกาสจะเกิดขึ้นหรือไม่ ? เมื่อค้นหาสาเหตุ และประเมินแล้วว่าจ�ำเป็นที่จะต้องด�ำเนิน การแก้ไขก็ให้มกี ารจัดท�ำแผนการด�ำเนินการ และด�ำเนินการตามแผน รวมถึงท�ำการทบทวนความมีประสิทธิผลของการด�ำเนินการด้วย ใน บางกรณีอาจจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องท�ำการทบทวนถึงการชีบ้ ง่ ภัยอันตราย และ การประเมินผลความเสีย่ งทีไ่ ด้ทำ� ไว้ รวมถึงอาจจะต้องมีการด�ำเนินการ เปลี่ยนแปลงระบบการจัดการ OH&S ด้วย
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
องค์การจะต้องก�ำหนดให้มีการปรับปรุงถึงความเหมาะสม ความเพียงพอ และประสิทธิผลของระบบการจัดการ OH&S อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเป็นการป้องกันมิให้เกิดอุบัติการณ์ รวมถึงความไม่ สอดคล้องตามข้อก�ำหนดทีอ่ าจเกิดขึน้ นอกจากนัน้ ยังเป็นการปรับปรุง ผลการด�ำเนินงานด้าน OH&S ด้วย ทัง้ นีใ้ นการปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง จะพิจารณาจากผลลัพธ์ของ กิจกรรมต่าง ๆ ตามทีอ่ ธิบายไว้ในหมวดที่ 4 (บริบทขององค์การ) หมวด ที่ 6.1 (การด�ำเนินการจัดการความเสี่ยงและโอกาส) หมวดที่ 6.2 (วัตถุประสงค์และการวางแผนเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์) หมวดที่ 7.4 (สารสนเทศ การสื่อสาร การมีส่วนร่วมและการให้ค�ำแนะน�ำ) หมวดที่ 9.1 (การเฝ้าติดตาม การวัด และการประเมินผล) และหมวดที่ 9.3 (การ ทบทวนโดยฝ่ายบริหาร) จากที่อธิบายมาทั้งหมดยังเป็นร่างของมาตรฐานที่อธิบายถึง แนวโน้มของข้อก�ำหนดที่จะเกิดขึ้น ซึ่งกว่าจะถึงการประกาศใช้อย่าง เป็นทางการ อาจมีการเปลีย่ นแปลงเนือ้ หาบ้างในรายละเอียด แต่หวั ข้อ หลัก ๆ ของมาตรฐาน ไม่นา่ จะมีการเปลีย่ นแปลงมากนัก ดังนัน้ ส�ำหรับ องค์การที่สนใจในการน�ำมาตรฐานนี้ไปใช้ หรือมีแผนจะขอการรับรอง ในอนาคต ก็สามารถน�ำเนือ้ หาจากฉบับร่างนีม้ าศึกษา และเตรียมการ ในการด�ำเนินการต่อไปได้
อ่านต่อฉบับหน้า
Q
Trend for
uality
เอสเอ็มอียุคดิจิทัล วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง wongskora@hotmail.com
จาก
การศึกษาของธนาคารโลก (World Bank) พบว่า Digital Technology เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออินเทอร์เน็ต มี ความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการเติบโตของเศรษฐกิจ นั่นคือ การ เพิม่ ขึน้ ของการใช้โทรศัพท์เคลือ่ นทีใ่ นประเทศก�ำลังพัฒนาส่งผลต่อการ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศนัน้ ๆ ด้วย นอกจากนีย้ งั มีงานวิจยั เมือ่ ปี 2553 ที่แสดงให้เห็นว่า GDP จะสูงขึ้น 1% ในทุก ๆ 10% ของการ ขยายตัวของอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (broadband) อีกทั้งได้แสดงให้ เห็นว่าในทุก ๆ การเชื่อมต่อของ Broadband ที่เพิ่มขึ้น 1,000 จุด จะ สามารถสร้างงานใหม่ได้ราว 80 ต�ำแหน่ง และการเพิ่มความเร็วของ Broadband ขึน้ อีกสองเท่าตัวจะมีผลให้ GDP เพิม่ ขึน้ ได้ 0.3% ซึง่ อัตรา ดังกล่าวนี้ หากเป็นมูลค่าเศรษฐกิจของกลุม่ ประเทศ OECD จะคิดเป็น มูลค่าสูงถึง 126 พันล้านเหรียญสหรัฐ “เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ Digital Economy หมายถึง เศรษฐกิจที่ กิจกรรมและการด�ำเนินธุรกรรมต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ ไอที โดยมีอินเทอร์เน็ตเป็นพลังขับเคลื่อนหลักในการด�ำเนินกิจกรรม ตัง้ แต่การผลิต การบริโภค การกระจาย ตลอดจนการซือ้ ขายแลกเปลีย่ น
ทั้งนี้อาจมีชื่อเรียกอื่น ๆ อีกเช่น The Internet Economy The New Economy หรือ Web Economy ซึ่งล้วนมีความหมายสื่อถึงการน�ำไอที เข้ามาใช้เป็นปัจจัยหลักในการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจด้วยกัน ทั้งสิ้น”
สถานการณ์และบทบาทของ Digital Technology ในประเทศไทย
เมื่อพิจารณาถึงการเข้าถึง IT ของไทยในปี 2556 จะพบว่า ประชากร 31.2 ล้านคน หรือ 46% สามารถเข้าถึงระบบออนไลน์ ประเทศไทยมีผู้ใช้ Social Media เช่น Facebook และ Instagram รวม 26 ล้านคน มีมลู ค่าการซือ้ ขายทางออนไลน์ (e-commerce) 5,600 ล้านบาท และคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.2563 (ค.ศ.2020) มูลค่าการ ซือ้ ขายออนไลน์จะขยายตัวอย่างก้าวกระโดดไปเป็น 141,000 ล้านบาท ซึ่งผลการศึกษาเหล่านี้ ล้วนแต่แสดงให้เห็นอิทธิพลของดิจิทัลที่มี บทบาทต่ อ ความเป็ น ไปของโลกยุ ค ปั จ จุ บั น อั น จะน� ำ มาซึ่ ง ความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น การขยายตลาด เกิดการ ขยายตัวของ E-Commerce ซึ่งท�ำให้ผู้คนสามารถเข้าสู่การประกอบ for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
23
Trend ธุรกิจได้ง่ายขึ้นโดยไม่จ�ำเป็นต้องมีร้านค้า การท�ำธุรกรรมข้ามแดนจะ มีปริมาณและมูลค่าสูงขึน้ การต่อยอดการผลิตและออกแบบผลิตภัณฑ์ ให้ตรงตามความต้องการของผูบ้ ริโภคจะท�ำได้อย่างกว้างขวางขึน้ และ เข้าถึงได้ทวั่ โลก ส่งผลให้เกิดการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ และเกิดงานลักษณะ ใหม่ ๆ อันเป็นผลจากการเกิดรูปแบบธุรกิจใหม่บนโลกอินเทอร์เน็ต การ วิเคราะห์และจัดการข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การเพิม่ ประสิทธิภาพในการ บริหารจัดการ การลดต้นทุนการประกอบการ อีกทั้งจะเป็นปัจจัยเอื้อที่ ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงการเรียนรู้ได้ง่ายและแพร่หลายขึ้น อันจะ น�ำมาซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมด้วย
วิวัฒนาการของ Digital Technology ของไทย เปรียบเทียบในเวทีสากล
Vol.21 No.208 March-April 2015
เมื่อพิจารณาถึง Digital Evolution Index (The Fletcher School ร่วมกับบริษัท MasterCard จัดท�ำ) ซึ่งจัดท�ำขึ้นเพื่อศึกษา วิวฒ ั นาการการเข้าสูโ่ ลกยุคดิจทิ ลั ของประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลก โดยศึกษา 4 ปัจจัย ได้แก่ 1. Demand เช่น รายได้ผบู้ ริโภคในแต่ละประเทศ ปริมาณการ ใช้งานอินเทอร์เน็ต 2. Supply เช่น เทคโนโลยีและโครงสร้างพื้นฐานที่จะรองรับ การท�ำธุรกิจกรรมผ่านอินเทอร์เน็ต 3. Institutions เช่น นโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนจาก ภาครัฐ 4. Innovation เช่น การมีปัจจัยเอื้อที่เหมาะสมส�ำหรับการ สร้างสรรค์นวัตกรรมต่าง ๆ พบว่า ประเทศสิงค์โปร์เป็นประเทศทีม่ คี วาม เป็นดิจทิ ลั เป็นอันดับหนึง่ ในขณะประเทศทีม่ ศี กั ยภาพและพัฒนาการ ในการก้าวเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัลได้รวดเร็วมากที่สุดสามอันดับแรก ได้แก่ จีน (อันดับ 29) มาเลเซีย (อันดับ 23) และไทย (อันดับ 35) นั่น แสดงให้เห็นถึงศักยภาพและความพร้อมของประเทศไทยในการก้าว เข้าสู่ยุคดิจิทัลในอนาคตอันใกล้นี้
24
นโยบายรัฐบาลกับ Digital Economy
รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้แถลงนโยบายต่อ สภานิติบัญญัติแห่งชาติเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2557 โดยภายใต้ นโยบายด้านการเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ได้ให้ความ ส�ำคัญต่อเศรษฐกิจดิจิทัลโดยระบุว่า “6.18 ส่งเสริมภาคเศรษฐกิจ ดิจิทัลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่มขับเคลื่อนอย่าง จริงจัง ซึง่ จะท�ำให้ทกุ ภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าไปได้ทนั โลกและสามารถ แข่ ง ขั น ในโลกสมั ย ใหม่ ไ ด้ ซึ่ ง หมายรวมถึ ง การผลิ ต และการค้ า ผลิตภัณฑ์ดจิ ทิ ลั โดยตรง ทัง้ ผลิตภัณฑ์ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์สื่อสารดิจิทัล … ตลอดจนการใช้ดิจิทัลรองรับการผลิตสินค้า อุตสาหกรรมและการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ …” ดังนั้น กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมจึงได้สนองนโยบายรัฐบาลในประเด็นดังกล่าว โดยน�ำดิจทิ ลั เข้ามาใช้กบั การเสริมสร้างศักยภาพการท�ำงาน ตลอดจน น�ำไปใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ อย่างยิง่ SMEs ซึง่ เป็นอุตสาหกรรมหลักของประเทศให้สามารถแข่งขัน กับนานาประเทศได้ โดยเริ่มจากการปรับกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ให้ เหมาะสมกับการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจดิจทิ ลั อย่างเป็นระบบ อันจะมีผล ต่อพัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศต่อไป
SMEs กับ Digital Economy
ส�ำหรับ SMEs ในปัจจุบนั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร หรือ ICT ได้เข้ามามีบทบาทในการด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรม โดยเป็น เครือ่ งมือหนึง่ ทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพและลดต้นทุนในการบริหาร จัดการ ตลอดจนสามารถเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ ท�ำให้ธุรกิจอยู่รอดและมีผลก�ำไรมากขึ้นได้ ด้วยเหตุนี้ ICT จึงเป็นอีก หนึ่งเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจ ช่วยให้ สามารถลดขัน้ ตอนและลดต้นทุนในการบริหารงานให้สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ มีระบบการตรวจสอบท�ำให้ชว่ ยลดความสูญเปล่า ในด้านต่าง ๆ ช่วยลดสินค้าคงคลัง ท�ำให้ต้นทุนต่อหน่วยต�ำ่ ลง อีกทั้ง ยั ง เป็ น ช่ อ งทางในการประชาสั ม พั น ธ์ แ ละสื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า ที่ มี ประสิทธิภาพอีกช่องทางหนึ่ง
Trend
สมาร์ทโฟน และอี-มาร์เก็ตเพรส การขายของทางอินเทอร์เน็ตทาง เว็บบอร์ดซื้อขายสินค้า การเปิดเว็บไซต์เพื่อให้ข้อมูลสินค้า เป็นต้น 3. ดิจทิ ลั เพือ่ วิสาหกิจชุมชน (digital OTOP) น�ำเอาเทคโนโลยี สื่อประชาสัมพันธ์ที่สามารถแสดงถึงลักษณะรูปร่างของผลิตภัณฑ์ได้ ในทุกมิติ และสามารถบอกเล่าเรือ่ งราวภูมปิ ญ ั ญาของผูผ้ ลิตสูผ่ บู้ ริโภค โดยเฉพาะแนวโน้ ม ความต้ อ งการของตลาดที่ มี ก ารซื้ อ ขายผ่ า น เทคโนโลยีต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกชม และสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบเครือข่ายออนไลน์ได้โดยง่ายทั่วโลก และ บอกข้อมูลของสินค้า อัตลักษณ์ และภูมิปัญญา ที่น� ำมาใช้ในการ ออกแบบและสรรค์สร้างผลิตภัณฑ์ เป็นเว็บไซต์สองภาษา
มองอนาคต Digital Economy
ประเทศไทยไม่ได้มีขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยปัจจัย การผลิต (ทุน ทีด่ นิ แรงงาน เครือ่ งจักร) อีกต่อไป เพราะต้นทุนการผลิต สูงกว่าประเทศอืน่ ๆ จึงต้องแข่งขันกันทีป่ ระสิทธิภาพการผลิต โดยเป็น ฐานการผลิตในหลายอุตสาหกรรม และ SMEs จะเป็นผู้ผลิตชิ้นส่วน ป้อนอุตสาหกรรมใหญ่ หรือรับช่วงการผลิต/งานบางส่วน แต่ยุคต่อไป ที่ประเทศส่วนใหญ่แข่งขันด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี แต่ไทยไม่ได้ เป็นประเทศผูป้ ระดิษฐ์ หรือสร้างนวัตกรรม เพราะมีฐานการวิจยั รองรับ ต�่ำและวิศวกร/แรงงานส่วนใหญ่ของไทย มีความสามารถทางการ ปฏิบัติ เป็นผู้เชี่ยวชาญ/แรงงานฝีมือมากกว่าการคิดค้นผลิตภัณฑ์ ดั ง นั้ น การส่ ง เสริ ม ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ จะช่ ว ยขั บ เคลื่ อ น เศรษฐกิจของไทย สู่เศรษฐกิจฐานความรู้และเศรษฐกิจสร้างสรรค์
Vol.21 No.208 March-April 2015
อย่างไรก็ดี ผูป้ ระกอบการ SMEs บางส่วนอาจยังไม่สามารถน�ำ ICT เข้ามาใช้ได้เต็มที่นัก ซึ่งอาจมีสาเหตุหลัก อาทิ 1) การขาดความรูค้ วามเข้าใจถึงการใช้ประโยชน์จากไอซีทใี ห้ ถูกต้องเหมาะสมกับธุรกิจของตน 2) การขาดทักษะความรู้ในการน�ำเทคโนโลยีไอทีมาใช้งาน 3) ต้นทุนการน�ำเทคโนโลยีไอทีมาใช้นั้นค่อนข้างสูง แม้แต่ในกลุ่มสหภาพยุโรปซึ่งเป็นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วยัง พบว่า มีผู้ประกอบการจ�ำนวนมากถึง 41% ที่จัดเป็นกลุ่ม Non-Digital ในขณะที่มีเพียง 2% เท่านั้นที่เรียกได้ว่าเป็น Digital Entrepreneur ได้ อย่างเต็มตัว ซึ่งแสดงให้ว่ายังมีช่องว่างอีกมากที่ภาครัฐต้องเข้ามา ช่วยเหลือและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ แบ่งเป็น 1. ผู้ประกอบการใหม่ด้านดิจิทัล (new digital entrepreneur) ทีจ่ ะเกิดขึน้ ส่วนใหญ่เป็นกลุม่ SMEs ในวงการ IT ได้แก่ (1) กลุม่ ผูผ้ ลิต Application/เกมต่าง ๆ บน Smartphone/Tablet (2) กลุ่มผู้ผลิต Software เฉพาะด้าน (3) กลุ่มผู้รับจ้าง/ฟรีแลนซ์ท�ำเว็บไซต์ (4) กลุ่ม ผู้รับจ้าง/ฟรีแลนซ์ผลิต Animation/Graphic Design (5) กลุ่มเว็บไซต์ ตลาดออนไลน์ (6) กลุ่มบริการหลังการขาย เช่น ร้านซ่อมอุปกรณ์ IT/ ติดตั้งระบบ IT 2. การส่งเสริมให้น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้เพื่อ SMEs (IT for SMEs) ทั้งการเริ่มต้นและปรับปรุงธุรกิจ โดยใช้ประโยชน์จาก IT ในการเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพของธุรกิจ เช่น การท�ำดิจิทัล คอนเทนต์ เพื่อรองรับช่องทางการตลาดออนไลน์ทั้งทีวีช็อปปิ้งชาแนล
25
Trend โดยเฉพาะช่วยต่อยอดอุตสาหกรรมและ SMEs ด้านการผลิต การ บริการ และการท่องเที่ยว รวมทั้งภาคการเกษตรได้ดีกว่า เมื่อไทยก้าวสู่ Digital Economy จะท�ำให้เกิดสิ่งต่อไปนี้ 1. การลดต�ำ่ ลงของต้นทุนในการประกอบการไม่วา่ ในด้านการ ผลิต ด้านการขาย (ลองจินตนาการสังคมที่ไม่มีอีเมล ไม่มีโทรศัพท์ มือถือ ไม่มี Conference Call ดูว่าจะมีโสหุ้ยหรือ Transaction Cost ในการด�ำเนินการสูงเพียงใด 2. อ�ำนวยให้เกิดการต่อยอดในการผลิตสินค้าและบริการใหม่ ออกสูต่ ลาดเพือ่ สนองความต้องการของผูบ้ ริโภค ตัวอย่างเช่น การได้รบั ข้อมูลข่าวสารในเรื่องต่าง ๆ จากแหล่งอื่น ๆ ทั่วโลกเพื่อน�ำมาช่วย ออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ ฯลฯ 3. การขยายตัวอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้นของ E-Commerce ท่ามกลางสภาวการณ์ทตี่ น้ ทุนในการด�ำเนินการลดต�ำ่ ลง เช่น การขาย ของทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่ตอ้ งมีรา้ นค้า ความสะดวกของผูซ้ อื้ ทีไ่ ม่ตอ้ ง เดินทางไปหาซื้อของ เกษตรกรเปิด Application และรู้ได้ทันทีจาก ต�ำแหน่ง GPS ที่ตนอยู่ว่าในพื้นที่นั้นในปีนั้นควรปลูกพืชอะไร ฯลฯ 4. ขยายการจ้างงานและสร้างการจ้างงานในลักษณะใหม่ ๆ อันเป็นผลจากการเกิดสินค้าการตลาดและรูปแบบการค้าขายใหม่ เช่น นักกลยุทธ์การตลาดทาง Social Media ที่ปรึกษา E-Commerce นัก โฆษณาสินค้าทาง Social Media ฯลฯ 5. อ�ำนวยให้เกิดการลงทุนธุรกิจข้ามพรมแดนมากยิ่งขึ้น เช่น การจองโรงแรมและทริปท่องเที่ยว การลงทุนซื้อหุ้นต่างประเทศ การ ค้าขายเงินตราต่างประเทศ ฯลฯ 6. สนับสนุนการเรียนรู้ของประชาชนซึ่งช่วยส่งเสริมคุณภาพ ของมนุษย์และแรงงาน เช่น การเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต/ E-Learning ฯลฯ ประการส�ำคัญ Digital Economy อ�ำนวยให้กิจกรรมทาง เศรษฐกิจของภาคต่าง ๆ มีมลู ค่าสูงยิง่ ขึน้ และมีประสิทธิภาพสูงขึน้ ด้วย เพราะการมีข่าวสารข้อมูลที่กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น
Vol.21 No.208 March-April 2015
แผนภาครัฐในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล
26
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรี ปาถกฐาพิเศษ เรื่อง Digital Economy กับประเทศไทย ในงาน 3 Years ETDA Enabling Digital Economy ว่า แนวคิดดังกล่าวจะส�ำเร็จได้ต้อง มาจากการให้ความส�ำคัญต่อการท�ำงานใน 5 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนา Hard Infrastructure เช่น การสร้างเครือข่าย อินเทอร์เน็ตให้มีความเสถียร ทั้งการเชื่อมต่อในประเทศและต่างประเทศ สัญญาณต้องไม่สะดุด มีดาต้า เซ็นเตอร์ เพื่อรองรับข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึ่งต้องวิเคราะห์ดูว่าส่วนไหนที่ รัฐบาลมีศกั ยภาพในการด�ำเนินงานบ้าง และส่วนไหนควรให้เอกชนเข้า มาด�ำเนินการ 2. การพัฒนา Soft Infrastructure เพื่อสร้างระบบการท�ำ ธุรกรรมออนไลน์ตา่ ง ๆ ให้เกิดความเชือ่ มัน่ ในการใช้งานอย่างปลอดภัย
มีระบบการยืนยันตัวทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้รู้ตัวตนที่แท้จริง รวมถึง ต้องสร้างระบบ และกระบวนการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ กฎหมายรองรับ เวลาฟ้องร้องที่ศาล แล้วศาลต้องรับฟ้อง ที่ส�ำคัญคือ ต้องมีทมี ดูแลเรือ่ งความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ให้แก่ระบบทีใ่ ช้ในการ ท�ำธุรกิจ และในหน่วยงานทีส่ ำ� คัญของประเทศ ซึง่ เรือ่ งนีไ้ ด้มอบหมาย ให้ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เป็นหน่วยงานที่ดูแลด้านนี้โดยตรง 3. การพั ฒ นา Service Infrastructure หรื อ การสร้ า ง แพลตฟอร์มส�ำหรับการท�ำธุรกรรมและการสร้างธุรกิจของประเทศ โดย อาจจะให้กูเกิลเข้ามาเป็นผู้พัฒนาให้ และการพัฒนาระบบ National Single Window (NSW) ในส่วนราชการอย่างกว้างขวาง ปัจจุบันใช้ใน ภาคการส่งออก และระบบทะเบียนบัตรประชาชน 4. การส่งเสริม Digital Economy ด้วยการพัฒนาให้เกิด นักธุรกิจใหม่โดยใช้ไอทีเป็นเครือ่ งมือ ผูป้ ระกอบการหน้าใหม่ทไี่ ม่มเี งิน ลงทุนแต่มีความคิดดี ๆ ในการสร้างธุรกิจจะมีโอกาสระดมทุนในโลก ออนไลน์ ซึง่ เรือ่ งนีต้ อ้ งตัง้ หน่วยงานพีเ่ ลีย้ งขึน้ มาดูแล เพือ่ ช่วยเหลือใน การให้คำ� ปรึกษา มีเครื่องมือ หรือระบบต่าง ๆ ที่สามารถเข้าไปศึกษา และใช้งานแบบออนไลน์ได้ แต่หากสุดท้ายผู้ประกอบการไม่สามารถ ท�ำเองได้ก็จะต้องมีการฝึกอบรมการใช้งาน 5. การพัฒนา Digital Society หรือการสร้างความเท่าเทียมใน การเข้าถึงเครือข่าย และข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ต ซึง่ ทัง้ 5 ด้านนีต้ อ้ ง มี ร ะบบการบริ ห ารให้ ชั ด เจนเพื่ อ ไม่ ใ ห้ ก ารด� ำ เนิ น การทั้ ง 5 ด้ า น กระจัดกระจาย หรือต่างคนต่างท�ำ ด้วยการตั้งคณะกรรมการขึ้นมา ท�ำงานในแต่ละด้าน ซึ่งกรรมการจะมาจากทั้งส่วนภาครัฐบาล เอกชน และองค์กรอิสระ ซึ่งทุกเรื่องต้องท�ำแบบเร่งด่วนจากเดิมใช้เวลา 10 ปี ก็ต้องให้เสร็จภายใน 1 ปีให้ได้ บางเรื่อง เช่น การพัฒนา Hard Infrastructure สามารถท�ำได้ 2 ช่วง ช่วงแรกในรัฐบาลนี้ และวางรูปแบบ ให้รัฐบาลหน้าท�ำในช่วงต่อไป ขณะที่เรื่อง Soft Infrastructure ที่ มอบหมายให้ สพธอ. และการส่งเสริม Digital Economy ให้เกิดธุรกิจ ใหม่ ต้องท�ำให้แล้วเสร็จภายในปีนี้ ส่วนเรื่องที่กังวลว่าอาจจะเสร็จช้า หน่อยคือเรือ่ ง Service Infrastructure เพราะเป็นการสร้างแพลตฟอร์ม ที่ต้องใช้เวลา แว่วมาว่าจะมีการเสนอ พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ผ่านสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ เพือ่ ปรับเปลีย่ นโครงสร้างการท�ำงานของ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ICT ซึ่งตรงนี้อาจ ต้องเปลี่ยนชื่อเป็นกระทรวงเศรษฐกิจดิจิทัลก็ได้ เอกสารอ้างอิง ข่าวเรื่อง “หม่อมอุ๋ย” ชี้ Digital Economy จะส�ำเร็จต้องปฏิรูป 5 ด้าน ,ASTVผู้จัดการออนไลน์, 13 พฤศจิกายน 2557
Q
Tools for
uality
แผนผังแสดงความสัมพันธ์:
เครื่องมือที่ ใช้ความเป็นเหตุเป็นผล วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com
บท
ความฉบั บ ที่ แ ล้ ว ผู ้ เ ขี ย นได้ แ นะน� ำ ให้ รู ้ จั ก กั บ แผนผั ง กลุ่มเชื่อมโยง หรือที่รู้จักในชื่อของ KJ ซึ่งเป็นเครื่องมือ ที่ใช้ส�ำหรับการรวบรวมความคิดที่หลากหลายให้เป็นระเบียบ ท�ำให้ สามารถเข้าใจประเด็นหรือปัญหาจากค�ำพูดที่คลุมเครือ ซับซ้อน โดยใช้ความรู้สึกในการจัดกลุ่มข้อความที่ได้จากการระดมสมองที่ หลากหลาย แต่นอกจากการจัดกลุ่มความคิดโดยใช้ความรู้สึกแล้ว เรายัง สามารถน�ำกลุ่มข้อความมาท�ำการจัดเรียงและเชื่อมโยงข้อความ แต่ละข้อความทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกันใหม่ โดยใช้ความเป็นเหตุเป็นผล
ในการเชื่อมโยงเพื่อแสดงความสัมพันธ์ เทคนิคดังกล่าวมีชื่อเรียกว่า แผนผังแสดงความสัมพันธ์ (Interrelation Diagram: IR) J.L. Bossert ได้ให้นิยามของแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างกันไว้วา่ คือ “แผนภาพทีน่ ำ� เอาความคิด ประเด็น หรือปัญหา มาเขียนเป็นแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างเป็นล�ำดับ ขั้นตอน โดยอาศัยความเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน” ส�ำหรับหน้าตาของแผนผังแสดงความสัมพันธ์จะมีได้หลาก หลายแบบ แต่ที่สำ� คัญ คือ ต้องมีลูกศรโยงเพื่อแสดงให้เห็นถึงความ เป็นเหตุเป็นผล ดังแสดงในรูปที่ 1 for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
27
Tools
ขาดความรู้ เฉพาะทาง ไม่มีเวลาใน การแก้ไขปัญหา การรวมกลุ่ม หน้างาน ที่ต่างกัน ▲ รูปที่
ไม่เข้าใจแนวทาง ในการแก้ไข ปัญหา ไม่ประสบความสำ�เร็จ ในการแก้ไขปัญหา
ไม่มีการใช้ เครื่องมือ QC
ขาดข้อมูลใน การแก้ปัญหา
ไม่เข้าใจการใช้ เครื่องมือ QC ขาดการวิเคราะห์ ข้อมูล
ไม่เข้าใจ ความผันแปร
เลือกปัญหา ที่ไม่ตรงกับงาน
1 แผนภาพแสดงความสัมพันธ์
Vol.21 No.208 March-April 2015
จากการเชื่อมโยงดังกล่าว ท�ำให้แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ มีสว่ นคล้ายกับแผนภาพแสดงสาเหตุและผล หรือทีร่ จู้ กั กันดีในชือ่ ของ แผนภาพก้างปลา ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ของสาเหตุ และอาการของปัญหา อย่างไรก็ตาม แผนภาพแสดงความสัมพันธ์จะ มีข้อดีตรงที่สามารถแสดงสัมพันธ์ที่มีผลกระทบกันอย่างซับซ้อนได้ดี กว่าแผนภาพก้างปลา เนือ่ งจากไม่มขี อ้ จ�ำกัดในการเชือ่ มโยงความเป็น เหตุเป็นผล นอกจากนี้หลายคนอาจมองว่าแผนผังแสดงความสัมพันธ์มี ส่วนคล้ายกับ Mind Map เพราะมีลักษณะของข้อความและการ เชือ่ มโยงข้อความเข้าด้วยกัน ท�ำให้มลี กั ษณะหน้าตาทีค่ ล้ายกัน แต่ใน ความเป็นจริงนั้นมีความแตกต่างกันเพราะ Mind Map คือ การใช้ภาพ สี และเส้นเชื่อมโยงต่อกันในการจดบันทึก เพื่อให้สามารถจดจ�ำหรือ แสดงวิธีการคิด ซึ่งเลียนแบบมาจากการท�ำงานของสมองดังแสดงใน รูปที่ 2 โดยในการเชื่อมโยงจะใช้ความสัมพันธ์แบบใดก็ได้ในการ เชื่อมโยงกัน เช่น เป็นกลุ่มย่อย เป็นองค์ประกอบ เป็นหมวดหมู่ เป็น ส่วนขยาย ฯลฯ แต่ในขณะทีแ่ ผนผังแสดงความสัมพันธ์จะเชือ่ มโยงโดย ใช้ความเป็นเหตุเป็นผลเท่านั้น
28
▲ รูปที่
หมายของหัวข้อที่ต้องการพิจารณาโดยอาศัยค�ำถาม คืออะไร เป็น อย่างไร หรือท�ำไม (ขึ้นอยู่กับประเด็นการพิจารณา) โดยการ์ดแต่ละ ใบคือข้อมูลหรือค�ำพูด 1 ประเด็น หลังจากนั้นให้ก�ำหนดประเด็นการพิจารณาไว้บนกระดาน ระดมสมอง และเริ่มให้สมาชิกแต่ละคนน�ำการ์ดที่เขียนไว้มาวาง โดย พิจารณาจากความเกี่ยวข้องกับประเด็นพิจารณา หากมีความสัมพันธ์ ที่ใกล้ชิดกันหรือเป็นสาเหตุเบื้องต้น ก็วางไว้ใกล้กับประเด็นพิจารณา หากมีความสัมพันธ์ทหี่ า่ งหรือเป็นเหตุยอ่ ยลงไป ก็ให้วางการ์ดห่างออก มาจากประเด็นพิจารณา เมือ่ วางการ์ดครบทุกคนแล้ว ให้ทำ� การพิจารณาความสัมพันธ์ ของการ์ดแต่ละใบ หากการ์ดใบใดมีความสัมพันธ์กนั ให้โยงเส้นเชือ่ มต่อ โดยก�ำหนดให้ดา้ นหัวลูกศรเป็นผลทีเ่ กิด ในขณะทีด่ า้ นหางเป็นสาเหตุ ทีท่ ำ� ให้เกิด จากตัวอย่างในรูปที่ 1 ประเด็นพิจารณา คือ “ไม่ประสบความ ส�ำเร็จในการแก้ไขปัญหา” หลังจากท�ำการระดมสมองจะได้การ์ด ต่าง ๆ ทีถ่ กู น�ำมาวางไว้รอบ ๆ พร้อมกับลากเส้นเชือ่ มโยงความเป็นเหตุ เป็นผล ตัวอย่างเช่น “การรวมกลุ่มหน้างานที่ต่างกันเป็นสาเหตุทำ� ให้ ขาดความรู้เฉพาะทาง” ลูกศรจึงวิง่ ออกจาก “การรวมกลุ่มหน้างานที่ ต่างกัน” ที่เป็นสาเหตุเข้าหา “ขาดความรู้เฉพาะทาง” ซึ่งเป็นผลลัพธ์ หรือ “ไม่มีการใช้เครื่องมือ QC เพราะไม่เข้าใจการใช้เครื่องมือ QC” ลูกศรจะวิง่ ออกจาก “ไม่เข้าใจการใช้เครื่องมือ QC” ไปยัง “ไม่มีการใช้ เครื่องมือ QC” เมื่อท�ำการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ครบถ้วนจะได้แผนภาพที่ แสดงถึงความเป็นเหตุเป็นผลขององค์ประกอบต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน และนอกจากนี้ผลลัพธ์ที่ได้ตามมาก็คือ ความชัดเจนของปัญหาและ สาเหตุ โดยพิจารณาจากจ�ำนวนลูกศรทีเ่ ชือ่ มโยงในแต่ละการ์ดข้อความ หากการ์ดที่มีลูกศรชี้เข้ามากที่สุด จะหมายถึงประเด็นปัญหาที่ชัดเจน ส่วนการ์ดทีม่ ลี กู ศรชีอ้ อกมากทีส่ ดุ คือ สาเหตุรากเหง้าของปัญหา จากตัวอย่างในรูปที่ 1 จะได้ “การรวมกลุ่มหน้างานที่ต่างกัน” เป็นการ์ดทีม่ ลี กู ศรพุง่ เข้ามากทีส่ ดุ 6 ลูกศร แสดงว่าปัญหาดังกล่าวเป็น ปัญหาทีช่ ดั เจนอยูแ่ ล้ว (หากการ์ดทีล่ กู ศรพุง่ เข้ามากทีส่ ดุ ไม่ใช่ประเด็น พิจารณา แสดงว่าประเด็นดังกล่าวเป็นปัญหาที่ยังไม่ชัดเจน) ส�ำหรับ สาเหตุหลักในปัญหาดังกล่าว ได้แก่ “ไม่เข้าใจความผันแปร” และ “การ รวมกลุ่มหน้างานที่ต่างกัน” เพราะมีลกู ศรพุง่ ออกมากทีส่ ดุ 3 ลูกศร จะเห็นได้วา่ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์เป็นเครือ่ งมือตัวหนึง่ ทีช่ ว่ ยท�ำให้ปญ ั หามีความชัดเจน นอกจากนีย้ งั ช่วยในการค้นหาสาเหตุ ทีส่ ำ� คัญ รวมถึงแสดงผลกระทบทีม่ ตี อ่ ปัญหาผ่านความเป็นเหตุเป็นผล ท�ำให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสาเหตุตา่ ง ๆ ได้งา่ ยยิง่ ขึน้
2 Mind Map
ส�ำหรับการจัดท�ำแผนผังแสดงความสัมพันธ์จะเริ่มเหมือนกับ การจัดท�ำแผนผังกลุม่ เชือ่ มโยง กล่าวคือ เริม่ จากการก�ำหนด “ประเด็น การพิจารณา” หลังจากนั้นให้สมาชิกทุกคนช่วยกันน�ำเสนอความเห็น โดยให้แต่ละคนเขียนการ์ดประมาณ 5-10 ใบ ทีม่ งุ่ เน้นการขยายความ
เอกสารอ้างอิง 1. โยชิโนบุ นายาทานิ, 7 New QC Tools เครื่องมือสู่คุณภาพยุคใหม่ กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2545 2. กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ, ระบบการควบคุมคุณภาพที่หน้างาน คิวซีเซอร์เคิล, TACT: กรุงเทพฯ, 2547
Q
for Food for
uality
ภาพรวมข้อก�ำหนดสมาคมผูค้ า้ ปลีกแห่งสหราชอาณาจักร ภาพรวมข้อก�ำหนดสมาคมผูค้ า้ ปลีกแห่งสหราชอาณาจักร ด้านความปลอดภัยของอาหาร ฉบับที่ 7
Overview of BRC Global Standard for Food Safety Issue 7
สง
แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com
สัย BRC Food คงถือฤกษ์วันที่ 7 มกราคม 2558 เพือ่ ออก BRC Food I.7 ที่เป็นฉบับใหม่ล่าสุด อีก 3 ปีข้างหน้ารอดู อีกทีสิว่าจะออก BRC Food I.8 ในวันที่ 8 มกราคมไหม วกกลับเข้าเรื่องก่อน ใครบ้ า งที่ จ ะได้ รั บ ผลกระทบจาก BRC Food I.7 1. องค์การที่จะต้องตรวจตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2558 เป็นต้นไป เพราะบังคับใช้ วันนั้น 2. ผู้ขาย ตัวแทน และนายหน้าทุก
ราย ที่จะส่งมอบของให้องค์การที่ผ่านการ รับรอง BRC 3. ผู้ขายและผู้ซื้อที่มีประวัติความ เสี่ยงเรื่องของหลอกลวง 4. ผู้ผลิตอาหารพร้อมรับประทาน สภาพอุ ณ หภู มิ ทั่ ว ไป และผู ้ ผ ลิ ต ที่ ต ้ อ งใช้ กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยความร้อน ข้อก�ำหนดพื้นฐานใหม่ 2 ข้อ 1. การติดฉลากและการควบคุมการ บรรจุที่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต 2. การจั ด การผู ้ ข ายวั ต ถุ ดิ บ และ
บรรจุภัณฑ์ เน้นเรื่องกลุ่มเสี่ยงของผู้ขายและ การสอบกลับได้ เรื่องอื่นๆ ที่มีมาใหม่ มีภาพรวม อะไรบ้าง 1. ในข้ อ ก� ำ หนดข้ อ ที่ 1 มี ก ารขอ รายละเอียดในการประชุมเพิ่ม คือ HACCP การปกป้องคุ้มครองอาหาร และความน่า เชื่ อ ถื อ ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ พร้ อ มทั้ ง ทบทวน ความเสีย่ งใหม่ทเี่ กีย่ วข้องกับความน่าเชือ่ ถือ ของผลิตภัณฑ์ด้วย for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
29
for Food
Vol.21 No.208 March-April 2015
2. ในข้อก�ำหนดข้อที่ 3 มีการเพิ่ม ข้อก�ำหนดย่อยเรื่อง การมุ่งเน้นที่ลูกค้าและ การสื่อสาร (เลียนแบบ ISO 9001) ส่วนเรื่อง ทีเ่ กีย่ วกับผูข้ าย ก็ให้พจิ ารณาความเสีย่ งจาก วัตถุดบิ ทีผ่ ขู้ ายส่งมาในเรือ่ งของความน่าเชือ่ ถือของผลิตภัณฑ์ รวมไปถึงความสามารถใน การสอบกลับได้ของผู้ขายที่เป็นตัวแทนหรือ นายหน้าด้วย 3. ในข้อก�ำหนดข้อที่ 4 มีการเพิ่ม ข้อก�ำหนดย่อย เรื่อง การแบ่งพื้นที่ผลิต ถูก จัดแบ่งใหม่ เป็น 6 พื้นที่ คือ ➲ พื้ น ที่ เ สี่ ย งสู ง (สภาวะอุ ณ หภู มิ แบบแช่เย็นและแช่เยือก) ➲ พื้ น ที่ ดู แ ลสู ง (สภาวะอุ ณ หภู มิ แบบแช่เย็นและแช่เยือก) ➲ พื้ น ที่ ดู แ ลสู ง ในสภาวะอุ ณ หภู มิ ทั่วไป ➲ พื้นที่เสี่ยงต�ำ่ ➲ พื้นที่ผลิตภัณฑ์ปิดสนิท ➲ พื้นที่ที่ไม่ใช่พื้นที่ของผลิตภัณฑ์ และมีข้อก�ำหนดย่อย อีกข้อคือ การ จัดการอาหารสัตว์ 4. ในข้อก�ำหนดข้อที่ 5 มีการเพิ่ม ข้อก�ำหนดย่อย เรื่อง การติดฉลากผลิตภัณฑ์ และเปลีย่ นชือ่ เรือ่ ง การประกันสถานะ ไปเป็น ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นของแท้ หรือความน่าเชือ่ ถือ ของผลิตภัณฑ์ การกล่าวอ้างและสิ่งที่เป็น วั ต ถุ พ ยานตลอดทั้ ง ห่ ว งโซ่ ศึ ก ษาได้ จ าก
30
www.foodfraud.org 5. ในข้อก�ำหนดข้อที่ 6 มีการเพิ่ม ข้อก�ำหนดย่อย เรื่อง การติดฉลากและการ ควบคุมการบรรจุ และเปลี่ยนชื่อเรื่อง การ ควบคุ ม น�้ ำ หนั ก และปริ ม าณ ไปเป็น การ ควบคุมน�้ำหนัก ปริมาตร และจ�ำนวน การแบ่งเกรดใหม่ 1. มี ก ารแบ่ ง เกรดเป็ น AA หรื อ Double A (ไม่ใช่ยหี่ อ้ กระดาษ) ถ้าได้ MINOR
ไม่เกิน 5 ใบ 2. ส่วนเกรด A เมื่อได้ MINOR 610 ใบ 3. เกรด B และ C ยังมีอยู่ แต่ตัวเลข เปลี่ยนไป ไว้จะน�ำตารางมาสรุปให้ดู 4. มีเกรด D เพิม่ กลับเข้ามา (มันเคย มีใน BRC Food I.5 และหายไปใน BRC Food I.6) โดยต้องกลับไปตรวจใหม่ใน 28 วัน ในเรื่องที่เป็นปัญหา 5. และมีแบบไม่ผา่ นการรับรอง ต้อง ตรวจใหม่หมด หัวข้อที่อยู่ในข่ายภาคสมัครใจ หัวข้อกลุ่มนี้สร้างขึ้นมาเพื่อให้ลูกค้า ที่ต้องการเจาะลึกเรื่องนี้ โดยไม่ต้องมาตรวจ เองเพิ่มเติม แต่ให้ตรวจผ่านมาตรฐาน BRC แต่อาจไม่รวมในการคิดเกรด ได้แก่ 1. สิ่ ง ที่ เ ป็ น วั ต ถุ พ ยานตลอดทั้ ง ห่วงโซ่ 2. สินค้าซื้อมาขายไป 3. การปกป้องคุ้มครองอาหาร 4. อาหารเพื่อน�ำไปผลิตสัตว์ ดูแล้วท่าทางจะงานเข้ากันทัง้ ตี้ (Auditee) กับเต้อ (Auditor) เลย ขอให้โชคดีกับ ระบบ BRC Food I.7 และท่านสามารถ Download BRC Food I.7 ได้ที่ http://www.cert-id.com/ Food-Safety/BRC-Food-Safety/BRC-Issue-7.aspx พบกันฉบับหน้า สวัสดี
Q
of Life for
โรคภูมิแพ้ แพทย์หญิงนวลนภา อนันตสิทธิ์
กุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคภูมิแพ้ โรงพยาบาลหัวเฉียว
โรค
ภู มิ แ พ้ ถื อ เป็ น โรคฮิ ต ของคน ในปัจจุบัน อุบัติการณ์ของโรค ภู มิ แ พ้ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมาก อาจจะเป็ น จาก สภาวะแวดล้ อ มและอาหารการกิ น ที่ เปลี่ยนแปลงไป โรคภูมิแพ้เกิดจากร่างกาย มีความไวอย่างผิดปกติตอ่ สิง่ กระตุน้ หรือสิง่ ที่ แพ้ จ นเกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าและปล่ อ ยสารเคมี ใ น
ร่างกาย เช่น ฮีสตามีนออกมาแล้วท�ำให้มี อาการต่ า ง ๆ โรคภู มิ แ พ้ มี ห ลายประเภท อาการแสดงแตกต่างกันออกไปขึน้ กับร่างกาย มีปฏิกิริยากับสารก่อภูมิแพ้ที่ใด เช่น ถ้ามี ปฏิ กิ ริ ย าที่ ผิ ว หนั ง จะท� ำ ให้ เ กิ ด อาการผื่ น ลมพิษ ผืน่ แห้งคัน หรือผืน่ อะโทปิก ซึง่ ส่วนหนึง่ ของอาการทางผิวหนังจะสัมพันธ์กบั ภาวะแพ้ อาหาร ถ้าร่างกายเกิดปฏิกิริยาที่จมูกท�ำให้ เกิดโรคภูมิแพ้ จมูกอักเสบหรือที่เรียกกันว่า โรคแพ้อากาศ ถ้าร่างกายเกิดปฏิกิริยาที่ตา ท� ำ ให้ เ กิ ด โรคเยื่ อ บุ ต าขาวอั ก เสบ หรื อ ถ้ า ร่างกายเกิดปฏิกิริยาที่หลอดลมท�ำให้เป็น โรคหอบหืดได้ พันธุกรรมมีส่วนท�ำให้เกิด โรคภูมแิ พ้ได้ กล่าวคือ ในคนปกติทไี่ ม่มปี ระวัติ ภูมิแพ้ในครอบครัวมีโอกาสเป็นโรคภูมิแพ้ 20% แต่ถ้ามีบิดาหรือมารดาเป็นโรคภูมิแพ้ ลูกจะมีโอกาสเกิดโรคภูมิแพ้เพิ่มขึ้นเป็น 3050% แต่ถา้ ทัง้ บิดาและมารดาเป็นโรคภูมแิ พ้ ลูกจะมีโอกาสเกิดโรคภูมแิ พ้ 50-70% โรคภู มิ แ พ้ จ มู ก อั ก เสบหรื อ โรคแพ้ อากาศพบมากทีส่ ดุ ในกลุม่ โรคภูมแิ พ้ทงั้ หมด
uality
ผูป้ ว่ ยจะมีอาการน�ำ้ มูกไหล คันจมูก คัดจมูก หรือจาม โดยสารก่อภูมแิ พ้ทที่ ำ� ให้เกิดอาการ มักอยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัว สารก่อภูมิแพ้ที่ เป็ น สาเหตุ บ ่ อ ย ได้ แ ก่ ไรฝุ ่ น แมลงสาบ ขนแมว ขนสุนขั เกสรหญ้าหรือวัชพืช เชือ้ รา นอกจากนั้นยังมีสิ่งกระตุ้นในสิ่งแวดล้อมที่ ท�ำให้เกิดอาการได้ เช่น อากาศร้อนจัด เย็นจัด ชืน้ ควันธูป ควันท่อไอเสีย ควันบุหรี่ เป็นต้น แนวทางการรักษาโรคภูมแิ พ้ คือ หลีกเลีย่ งสิง่ ทีแ่ พ้เพือ่ ไม่ให้เกิดอาการหรือมีอาการ น้อยทีส่ ดุ ร่วมกับการใช้ยาตามค�ำแนะน�ำของ แพทย์ การใช้ยาในกลุม่ โรคภูมแิ พ้อาจต้องใช้ ติดต่อกันเป็นเวลานานเพื่อความคุมอาการ ของโรคให้ได้ เมื่ออาการดีขึ้นจึงหยุดยาและ เมือ่ อาการก�ำเริบอาจต้องเริม่ ใช้ยาใหม่ ในผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ จมูกอักเสบ หรือ โรคแพ้อากาศ ถ้าหลีกเลีย่ งสิง่ ทีแ่ พ้แล้วอาการ ยังไม่ดขี นึ้ อาจต้องใช้ยาแก้แพ้ชนิดออกฤทธิ์ ยาว ถ้าจ�ำเป็นอาจต้องใช้สเตอรอยด์ชนิดพ่น เข้าจมูกร่วมด้วย หรือผูป้ ว่ ยบางกลุม่ ทีอ่ าการ ไม่สามารถควบคุมได้ด้วยยาทั้งสองกลุ่มข้าง ต้นอาจต้องท�ำการทดสอบผิวหนังว่าแพ้สาร อะไรแล้วให้การรักษาโดยการฉีดสารทีแ่ พ้เข้า ร่างกายทีละน้อยเป็นประจ�ำทุกเดือน เพื่อให้ ร่างกายสร้างภูมิต้านทานมาต่อสู้กับสิ่งที่แพ้ ทั้งนี้การพิจารณารักษาโดยการฉีดยานั้นขึ้น กับดุลยพินจิ ของแพทย์ โรคภูมิแพ้ส่วนใหญ่มักเป็นเรื้อรังไม่ หายขาด ยกเว้นบางโรค เช่น โรคแพ้อาหารหรือ โรคหอบหืดบางประเภทในเด็ก มีโอกาสหาย เมื่อมีอายุมากขึ้น ถ้าหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้แล้ว สามารถควบคุมอาการของโรคได้ อาจไม่ตอ้ ง ใช้ยาแต่ถา้ ช่วงไหนมีอาการมากควรพบแพทย์ เพือ่ พิจารณาใช้ยาทีเ่ หมาะสมต่อไป ผูป้ ว่ ยไม่ ควรซือ้ ยาทานเองเนือ่ งจากอาจมีผลข้างเคียง ได้ นอกจากนัน้ ผูป้ ว่ ยโรคภูมแิ พ้ควรออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ พักผ่อนเพียงพอ ผ่อนคลาย ความเครียด เพือ่ ให้สขุ ภาพโดยรวมแข็งแรง จะ ท�ำให้อาการของโรคภูมแิ พ้ดขี นึ้ ได้
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
31
Q
of Life for
uality
การให้ฮอร์โมนทดแทนแบบ BHRT (Bioidentical Hormone Replacement Therapy)
จ�ำเป็นจริงหรือส�ำหรับผู้หญิงวัยทอง นายแพทย์สมบูรณ์ รุ่งพรชัย
แพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย ฮอร์โมนและสุขภาพทางเพศ สูตินรีเวชวิทยา เวชศาสตร์การกีฬา การลดน�้ำหนัก ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
เมื่อ
ผู ้ ห ญิ ง ย่ า งก้ า วเข้ า สู ่ วั ย ทอง ฮอร์โมนส�ำคัญต่าง ๆ ในร่างกาย จะลดระดั บ ลงอย่ า งฉั บ พลั น และส่ ง ผลให้ ผูห้ ญิงส่วนใหญ่ในวัย 45-50 มักจะหงุดหงิด ง่าย อารมณ์แปรปรวน สูญเสียสมาธิได้ง่าย และบางครั้งอาจดูเหมือนเป็นคนไม่มีเหตุผล ท�ำอะไรตามใจตนเอง ซึ่งส่งผลกระทบต่อ ความสัมพันธ์กบั บุคคลรอบข้าง ด้วยเหตุนี้คนส่วนใหญ่จึงมองช่วงอายุ “วัยทอง” เป็นปัญหา แต่ในความเป็นจริงแล้ว “วัยทอง” เป็นเพียงช่วงวัยหนึง่ ในชีวติ เหมือน กับช่วงชีวติ วัยอืน่ ๆ ซึง่ ผูห้ ญิงทุกคนต้องผ่าน ดังนั้น ผู้หญิงทุกคนจึงควรท�ำความเข้าใจ เกีย่ วกับ “วัยทอง” เสียใหม่เพือ่ ให้สามารถผ่าน
32
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
ช่วงวัยนีไ้ ปได้อย่างมีความสุขและสุขภาพดี
เมื่อ “ความจริงของชีวิต” ถูกมองเป็น “ปัญหา”
ในปั จ จุ บั น วั ย ทองกลายเป็ น ปั ญ หา สุขภาพส�ำคัญซึ่งส่งผลกระทบต่อทั้งร่างกาย และจิตใจของผูห้ ญิงในวัย 45 - 50 ปี ปัญหา ดังกล่าวทวีความรุนแรงมากขึน้ ในปัจจุบนั อัน สืบเนื่องมาจากรูปแบบการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของผูห้ ญิงในยุคปัจจุบนั ผูห้ ญิงส่วน ใหญ่ต้องท�ำงานนอกบ้านและมีหน้าที่ความ รับผิดชอบทัง้ ในและนอกบ้านซึง่ ส่งผลให้เวลา ในการพักผ่อนมีไม่เพียงพอ การรับประทาน อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดการออกก�ำลัง-
กาย และอาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีมลพิษ มากกว่าผูห้ ญิงในยุคก่อน รูปแบบการใช้ชวี ติ ดังกล่าวในปัจจุบนั นี้ ก่อให้เกิดความเครียดและปัญหาสุขภาพ ต่าง ๆ มากมายซึง่ ไม่เคยเกิดขึน้ กับผูห้ ญิงใน ยุคก่อน ความเครียดและรูปแบบการใช้ชวี ติ ที่ ไม่ถูกสุขลักษณะเป็นตัวการส�ำคัญในการเร่ง ให้เกิดภาวะขาดสมดุลของฮอร์โมน ซึ่งท�ำให้ การท�ำงานของอวัยวะภายในและระบบการ ท�ำงานต่าง ๆ ในร่างกายผิดปกติ ในผู้หญิงปัญหาและผลกระทบที่เกิด จากภาวะขาดสมดุลของฮอร์โมนอาจจะไม่ ปรากฏให้เกิดชัดในวัยเยาว์ หากแต่ปัญหา และผลกระทบดังกล่าวจะทวีความรุนแรงและ
of Life
มาเรียนรู้และท�ำความเข้าใจกับ “วัยทอง” กันใหม่ เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ แี ละมีความสุข
ไม่ใช่ผู้หญิงทุกคนจะมีปัญหาวัยทอง แต่ ด ้ ว ยรู ป แบบการใชั ชี วิ ต ที่ เ ปลี่ ย นไปใน ปัจจุบัน ผู้หญิงส่วนใหญ่มักประสบปัญหา ดังกล่าว อาการและระดับความรุนแรงของ อาการขึ้ น อยู ่ กั บ การเตรี ย มพร้ อ มในเรื่ อ ง สุขภาพของแต่ละบุคคลก่อนย่างเข้าสูว่ ยั ทอง อาการความผิดปกติทมี่ กั พบในผูห้ ญิงวัยทอง ได้แก่ อารมณ์แปรปรวน นอนไม่หลับ อาการ ร้อนวูบวาบตามใบหน้าและร่างกาย ความ ต้องการทางเพศลดลง เป็นต้น ยิ่งไปกว่านี้ ผู้หญิงในวัยทองจะสูญเสียมวลกระดูกส่วน ใหญ่ในช่วง 3 ปีหลังการหมดประจ�ำเดือน วิธกี ารบ�ำบัดรักษาอาการดังกล่าวทีเ่ ป็น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า งแพร่ ห ลาย นั่ น คื อ การให้ ฮอร์ โ มนทดแทน ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารเพิ่ ม ระดั บ ฮอร์โมนให้มีระดับสมดุลตามธรรมชาติเพื่อ บรรเทาอาการความผิดปกติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น วิธีการรักษาดังกล่าวไม่สามารถบ�ำบัดรักษา อาการผิดปกติได้ในครั้งแรกที่ท�ำการรักษา หากแต่ต้องท�ำการรักษาอย่างต่อเนื่องเป็น ระยะเวลาหลายปีเพือ่ ควบคุมและรักษาระดับ สมดุลของฮอร์โมน อย่างไรก็ตาม วิธกี ารรักษาดังกล่าวมิใช่
การแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ หากแต่เป็นเพียง การบรรเทาอาการต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ปลายเหตุ เท่านัน้ นอกจากนีก้ ารให้ฮอร์โมนทดแทนเป็น ระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดความเสีย่ งในการ เกิดมะเร็งเต้านมได้อกี ด้วย
อีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับผู้หญิงวัยทอง วิธีการบ�ำบัดรักษาแบบ Bioidentical Hormone Replacement Therapy (BHRT)
เนื่องจากการให้ฮอร์โมนทดแทนเป็น ระยะเวลานานอาจก่อให้เกิดความเสีย่ งในการ เกิดโรคมะเร็งเต้านม ดังนัน้ วิธกี ารบ�ำบัดรักษา แบบทางเลือกโดยอาศัยหลักการรักษาระดับ สมดุลของฮอร์โมนตามธรรมชาติจึงได้รับ ความสนใจมากขึน้ ในปัจจุบนั Bioidentical Hormone Replacement Therapy (BHRT) เป็นวิธีการบ�ำบัดรักษา อาการผิดปกติในผู้หญิงวัยทองโดยการสร้าง สมดุลฮอร์โมนขึน้ มาใหม่ดว้ ยวิธกี ารเลียนแบบ ธรรมชาติ วิธีการนี้ไม่ได้มุ่งเน้นในการเพิ่ม ระดับฮอร์โมนตัวใดตัวหนึง่ หากแต่เป็นวิธกี าร สร้างสมดุลฮอร์โมนทั้งหมดในร่างกายขึ้นมา ใหม่ ก่อนเริม่ การบ�ำบัดรักษา ผูป้ ว่ ยจะได้รบั การตรวจสอบระดั บ ฮอร์ โ มนชนิ ด ต่ า ง ๆ ภายในร่างกายตลอดจนตรวจเลือดเพื่อให้ แพทย์มั่นใจว่าผู้ป่วยอยู่ในช่วงวัยทองจริง และไม่มปี ญ ั หาสุขภาพอืน่ ๆ แทรกแซง ในระหว่างการท�ำการบ�ำบัด รักษา หลังจากนัน้ แพทย์ จะท�ำการอธิบายชี้แจง ข้ อ ดี ข ้ อ เสี ย ของวิ ธี ก าร บ� ำ บั ด รั ก ษาดั ง กล่ า ว และ ท�ำการรักษาหากผู้ป่วยตัดสิน ใจที่จะรับการรักษาด้วยวิธีการ ดังกล่าวตลอดจนติดตามอาการอย่าง ต่อเนือ่ ง นอกเหนือจากวิธกี ารรักษาดังกล่าว แล้ว สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ทีจ่ ะท�ำให้ผปู้ ว่ ยมีสขุ ภาพ กายสุขภาพใจทีด่ แี ละส่งผลดีตอ่ ระดับสมดุล ฮอร์โมนตามธรรมชาติ นัน่ คือ การดูแลสุขภาพ ของผูป้ ว่ ยหลังรับการบ�ำบัดรักษา
5 วิธีการดี ๆ ที่ช่วยให้คุณมีช่วงชีวิต วัยทองที่มีความสุขและสุขภาพดี
1. รับประทานอาหารทีม่ สี ารปนเปือ้ น น้อย เช่น ผักผลไม้อนิ ทรีย์ และเนือ้ สัตว์อนิ ทรีย์ 2. การออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำนอกจากจะท�ำให้รา่ งกายคุณแข็งแรง กระปรีก้ ระเปร่าแล้ว การออกก�ำลังกายอย่างสม�ำ่ เสมอยัง ช่วยให้คณ ุ สูญเสียมวลกระดูกในอัตราทีช่ า้ ลง อีกด้วย 3. หากิจกรรมสันทนาการท�ำเพือ่ ผ่อน คลายความเครียด ความเครียดเป็นปัจจัย ส�ำคัญในการกระตุ้นให้เกิดอาการผิดปกติ ต่าง ๆ ทัง้ ทางร่างกายและอารมณ์ 4. จั ด สรรเวลาสั ก 15-20 นาที ใ น ช่วงเช้าในการท�ำกิจกรรมกลางแจ้ง แสงแดด อ่อน ๆ ในช่วงเวลา 6-8 นาฬิกาตอนเช้าจะช่วย กระตุน้ ให้รา่ งกายผลิตวิตามินดี 5. งดการบริ โ ภคแอลกอฮอล์ แ ละ เครือ่ งดืม่ ทีม่ สี ว่ นประกอบของคาเฟอีน เนือ่ งจากสารเหล่านีเ้ ป็นตัวเร่งให้เกิดภาวะการขาด สมดุลของฮอร์โมน
เตรียมตัวคุณให้พร้อม ก่อนก้าวเข้าสู่วัยทอง
ปัญหาสุขภาพต่าง ๆ ในช่วงวัยทองเป็น เรื่องที่สามารถป้องกันได้ การเลือกรูปแบบ ชีวิตให้สอดคล้องกับธรรมชาติและอยู่บน พืน้ ฐานของการมีสขุ ภาพดีเสียตัง้ แต่วนั นีเ้ ป็น วิธีการเดียวที่จะสามารถท�ำให้คุณหลีกเลี่ยง อาการอันไม่น่าพึงประสงค์ต่าง ๆ ในช่วง วัยทองได้
Vol.21 No.208 March-April 2015
รับมือได้ยากเมือ่ ผูห้ ญิงก้าวเข้าสูว่ ยั ทอง
33
Q
Special Issue for
uality
Special Issue
Special Issue
Q
Special Issue for
uality
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ขับเคลื่อนการเจรจาการค้าเชิงรุก เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ กองบรรณาธิการ
ด้
▲
วยภารกิจของ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ มีบทบาทในการศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะนโยบายและก�ำหนดท่าทีกลยุทธ์ รวมทั้งประสานนโยบายด้านการ เจรจาการค้าระหว่างประเทศ ประชุมเจรจาการค้าในระดับทวิภาคี อนุภมู ภิ าค ภูมภิ าค พหุภาคี และภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้า รวมทัง้ องค์กรระหว่างประเทศอืน่ ๆ ประชุม เจรจาระหว่างประเทศด้านการค้าบริการ การลงทุนและพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ในระดับทวิภาคี อนุภมู ภิ าค ภูมภิ าค พหุภาคี และภายใต้กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้า รวมทัง้ องค์กร ระหว่างประเทศทีเ่ กีย่ วข้อง ประชุมเจรจาจัดท�ำความตกลงการค้าเสรี ศึกษาและวิเคราะห์ นโยบายและมาตรการทางเศรษฐกิจการค้าของประเทศคูค่ า้ และผลกระทบของการเจรจา การค้าระหว่างประเทศต่อประเทศไทย ด�ำเนินการพิทักษ์ผลประโยชน์ของประเทศ ในกระบวนการระงับข้อพิพาททางเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศในระดับทวิภาคี อนุภมู ภิ าค ภูมภิ าค และพพุภาคี เสริมสร้างและเผยแพร่ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการ เจรจาการค้าระหว่างประเทศ รวมทัง้ เสนอแนะนโยบาย แนวทางการปรับตัว และการ
ท่านอธิบดีธวัชชัย โสภาเสถียรพงศ์
อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
35
Special Issue ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้า พัฒนา ระบบข้อมูลข่าวสารด้านการเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีก่ ฎหมายก�ำหนด ให้เป็นอ�ำนาจหน้าทีข่ องกรมฯ หรือตามทีร่ ฐั มนตรี หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ท่านอธิบดีธวัชชัย โสภาเสถียรพงศ์ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ แสดงทั ศ นะเกี่ ย วข้ อ งกั บ เรี่ อ งของ ประชาคมอาเซียน การค้าในอาเซียน รวมถึงการ ด�ำเนินงานตามภารกิจของกรมฯ เพื่อมุ่งสู่การ แข่งขันในอนาคตในโอกาสเปิดอาเซียนในเดือน ธันวาคม 2558 นี้
Vol.21 No.208 March-April 2015
จุดมุ่งหมายของ การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
36
อาเซียนได้จัดท�ำ AEC Blueprint เพื่อ ก�ำหนดแผนงานและกรอบระยะเวลาที่ชัดเจน ส�ำหรับการด�ำเนินมาตรการต่าง ๆ และสร้างพันธสัญญาระหว่างประเทศสมาชิกทีจ่ ะด�ำเนินการไป สู่เป้าหมายร่วมกันในปี 2558 ด้วยจุดมุ่งหมาย หลักของ AEC 4 ประการ ซึง่ ท่านอธิบดีธวัชชัย กล่าวอธิบายว่า “จุดมุ่งหมายหลักของ AEC 4 ประการ คือ 1) การเป็นตลาดและฐานการผลิต เดียว โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การ ลงทุนแรงงานมีฝมี อื และเคลือ่ นย้ายเงินทุนอย่าง เสรีมากขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขา ส�ำคัญของอาเซียนให้เป็นรูปธรรม โดยมาตรการ ส�ำคัญทีอ่ าเซียนได้ดำ� เนินการ เช่น การเปิดเสรี การค้าสินค้าอาเซียน 6 ประเทศ ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และ ไทย ได้ลดอัตราภาษีนำ� เข้าลงเหลือร้อยละ 0 แล้ว คิดเป็น 99.2% ของรายการสินค้าทัง้ หมด ในขณะ ทีป่ ระเทศสมาชิกทีเ่ หลือได้ลดอัตราภาษีลงเหลือ 0-5% คิดเป็น 97.52% ของรายการสินค้าทัง้ หมด ได้แก่ อาเซียนด�ำเนินมาตรการต่าง ๆ เพือ่ แก้ไข ปัญหามาตรการทีม่ ใิ ช่ภาษี อาทิ การปรับปรุงฐาน ข้อมูลมาตรการทางการค้าของตนเองให้เป็น ปัจจุบัน และจัดจ�ำแนกมาตรการทางการค้าให้ เป็นไปตามหลักสากล โดยใช้ระบบการจัดจ�ำแนก ของ UNCTAD มาเป็นต้นแบบการจัดระบบ มาตรการทางการค้าของอาเซียน การก�ำหนด หน่วยงานหลักเรื่องมาตรการ NTMs ในระดับ ประเทศ เพือ่ ประสานกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องใน การแก้ไขปัญหา NTMs และจัดท�ำกรณีศึกษา การแก้ ป ั ญ หามาตรการที่ มิ ใ ช่ ภ าษี ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็นต้น ริเริ่มมาตรการด้านการอ�ำนวยความ
สะดวกทางการค้า ได้แก่ ระบบการรับรองถิ่น ก�ำเนิดสินค้าด้วยตนเอง คลังข้อมูลการค้าของ อาเซียน และการจัดตั้งระบบ ASEAN Single Window ซึ่งช่วยอ�ำนวยความสะดวกทั้งในด้าน เวลาและต้นทุนแก่ภาคเอกชนในการท�ำธุรกิจใน อาเซียน การปรับประสานมาตรฐาน/กฎระเบียบ ทางเทคนิค ส�ำหรับสินค้าในรายสาขาผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ กว่า 170 รายการ เช่น เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ยา และเครือ่ งมือแพทย์ เป็นต้น และอยูร่ ะหว่างการ จัดท�ำความตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วม (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) ส�ำหรับ สินค้ายานยนต์ ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป และ สินค้าก่อสร้าง การค้าบริการ มุง่ เปิดตลาดการค้า บริการระหว่างกันภายในกลุ่มอาเซียนมากขึ้น โดยทยอยเปิดตลาดบริการเป็นระยะ ๆ ตาม เป้าหมายทีก่ ำ� หนดจนถึงปี 2558 ปัจจุบนั ประเทศ สมาชิกอาเซียนได้ผอ่ นคลายข้อจ�ำกัดในการเข้า สูต่ ลาดการค้าบริการอย่างน้อย 104 สาขาย่อย ซึง่ ส่วนใหญ่ของสาขาย่อยดังกล่าวได้อนุญาตให้ นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุน้ ได้ถงึ 70% การ ลงทุน อาเซียนได้จัดท�ำความตกลงว่าด้วยการ ลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA) ซึ่งได้ก�ำหนด ข้อผูกพันการเปิดเสรีการลงทุนและการให้ความ คุ้มครองแก่นักลงทุนที่เข้ามาลงทุนในอาเซียน เพื่อสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน 2) การ สร้ า งขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทาง เศรษฐกิจของอาเซียน อาเซียนมีเป้าหมายทีจ่ ะ พัฒนาศักยภาพของภูมิภาคให้มีความสามารถ ในการแข่งขันสูง เพื่อที่จะสามารถแข่งขันกับ ภูมภิ าคอืน่ ๆ ในการดึงดูดการค้าและการลงทุน โดยเสริมสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุนว่า อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีกฎกติกาที่เป็นสากล
ระบบการค้าเป็นธรรม มีระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซึง่ เอือ้ ต่อ การค้าและการลงทุน อันจะน�ำมาซึง่ การขยายตัว ทางเศรษฐกิจในระยะยาวโดยมีองค์ประกอบ หลัก 6 ด้าน ได้แก่ กรอบนโยบายการแข่งขันของ อาเซียน การคุม้ ครองผูบ้ ริโภค สิทธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญา พาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ นโยบายด้าน ภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) โดยมาตรการส�ำคัญทีอ่ าเซียนได้ดำ� เนินการ เช่น ด้านนโยบายการแข่งขัน เกือบทุกประเทศสมาชิก อาเซียนได้มีกฎหมายการแข่งขันที่ครอบคลุม และหน่วยงานก�ำกับดูแล และส่วนด้านทรัพย์สนิ ทางปัญญา หลายประเทศสมาชิกอาเซียนอยู่ ระหว่างการด�ำเนินการเพื่อเข้าเป็นภาคีพิธีสารมาดริดด้านการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ระหว่างประเทศ และความตกลงเฮกด้านการ จดทะเบี ย นการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะหว่ า ง ประเทศ 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค มุ่งเน้นพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (SMEs) ของอาเซียน และด�ำเนินการภายใต้ กรอบความริ เ ริ่ ม เพื่ อ การรวมตั ว ของอาเซี ย น (Initiative for ASEAN Integration: IAI) ซึ่งมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ลดช่ อ งว่ า งของการพั ฒ นา ประเทศและเร่งรัดการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจใน อาเซียน โดยเฉพาะประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน ได้แก่ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินงานลดช่องว่างการพัฒนา และเพื่อให้ประเทศสมาชิกทั้งหมดได้รับประโยชน์จากการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจอย่างทัว่ ถึง โดยที่ผ่านมาสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และบรูไน) ได้ให้ความช่วยเหลือในการเสริมสร้าง
Special Issue
อาเซียนอืน่ ได้งา่ ยขึน้ ส�ำหรับบริษทั ไทยจากการ ลดอุปสรรค/ข้อจ�ำกัดด้านการค้า บริการ และการ ลงทุนของอาเซียน SMEs ได้รบั ความส�ำคัญเพิม่ ขึ้น ประชาชนไทยมีโอกาสเลือกซื้อสินค้าและ บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพและความหลากหลายมากขึน้ การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนจะช่วยเสริม สร้างอ�ำนาจการต่อรองของไทยในเวทีระหว่าง ประเทศ และอาเซียนมีการเชือ่ มโยงกับประเทศ ภายนอก มีการขยายการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ โดยท�ำ FTA กับประเทศนอกภูมภิ าค เป็นการเพิม่ โอกาสการค้าและการลงทุนให้กบั ประเทศไทยใน ตลาดของคู่เจรจาของอาเซียน เช่น จีน อินเดีย เป็นต้น
กรมฯ กับการเปิดประชาคมอาเซียน
ท่านอธิบดีธวัชชัย ยังได้กล่าวถึงการ ด�ำเนินของกรมฯ เพื่อรองรับการเปิดประชาคม อาเซียนว่า “กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมผู้ประกอบการให้ใช้ประโยชน์จาก AEC และ FTAs อย่างเต็มทีแ่ ละต่อเนือ่ ง โดยมีกลยุทธ์ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจ และความพร้อมใน การเป็นผูป้ ระกอบธุรกิจระหว่างประเทศ พัฒนา ศักยภาพและปรับวิสัยทัศน์ด้านการค้าระหว่าง ประเทศและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้ทัน ต่อเหตุการณ์ของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง ได้แก่ สร้าง เครือข่าย (Network) กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด กิ จ กรรมสั ม มนาให้ ข ้ อ มู ล ข่าวสารถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้น รวม 18 หน่วยงาน (ได้แก่ การนิคมอุตสาหกรรม มหาวิทยาลั ย ราชภั ฎ สวนดุ สิ ต สภาหอการค้ า แห่ ง ประเทศไทย กระทรวงแรงงาน สันนิบาตสหกรณ์
แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ส�ำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ มหาวิทยาลัย อั ส สั ม ชั ญ กรมส่ ง เสริ ม การปกครองท้ อ งถิ่ น ส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ธนาคารกสิกรไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการ อาชีวศึกษา สภาผู้ส่งออกทางเรือ UN ESCAP ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทุ จ ริ ต ในภาครั ฐ และสภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย โดยปีงบประมาณ 2557 มีการ จัดงานสัมมนาทัง้ สิน้ จ�ำนวน 69 ครัง้ รวมจ�ำนวน ผูเ้ ข้าร่วมทัง้ สิน้ 14,126 ราย ศูนย์บริการข้อมูล ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ได้แก่ ศูนย์บริการ ข้อมูลประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Information Center: AIC) ศูนย์ข้อมูลประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ณ ส�ำนักงานพาณิชย์จงั หวัด ทั่วประเทศ และกิจกรรมความร่วมมือกับหน่วย งานต่าง ๆ ได้แก่ สื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ E-Library คลั ง ข้ อ มู ล ทางการค้ า ของไทย นิทรรศการเคลื่อนที่ จัดท�ำข้อมูลการเปิดเสรี อาเซียน การจัดเวทีการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง การเข้าร่วมการบรรยาย/เสวนา การ จัดจ้างศึกษาวิจัยผลกระทบของการเปิดเสรีใน AEC ในภาพรวม”
กรมฯ กับการเตรียมพร้อมการดำ�เนินงาน สู่การเปิดประชาคมอาเซียน
กรมฯ ร่ ว มกั บ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นบริหารศาสตร์ได้จัดให้มีการเรียนการสอนด้าน การค้าระหว่างประเทศแบบออนไลน์ (E-Learning) ทาง http://elearning.dtn.go.th ซึง่ การเรียน
Vol.21 No.208 March-April 2015
ขี ด ความสามารถให้ กั บ สมาชิ ก ใหม่ อ าเซี ย น ส�ำหรับด้านการเสริมสร้าง SMEs ได้มีการออก แผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนา SME (The ASEAN Strategic Action Plan for SME Development (2010-2015)) และจัดตัง้ ASENA SME Advisory Board เพื่อให้แนวทางในการเสริมสร้าง ความร่วมมือ SME ในอาเซียน 4) การบูรณาการ เข้ากับเศรษฐกิจโลก อาเซียนมุง่ เชือ่ มโยงการค้า และการลงทุ น กั บ เศรษฐกิ จ โลก เพื่ อ ท� ำ ให้ อาเซียนมีความเข้มแข็งมากขึน้ ในการเป็นห่วงโซ่ อุปทานของโลก และท�ำให้อาเซียนดึงดูดการ ลงทุนจากต่างประเทศ อาเซียนได้ด�ำเนินการรวม กลุ่มเข้ากับเศรษฐกิจโลกโดยจัดท�ำความตกลง การค้าเสรี หรือ FTA จ�ำนวน 5 ฉบับ กับ 6 ประเทศ คู่เจรจา ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ นอกจากนีอ้ าเซียนอยู่ ระหว่างการเจรจาความตกลงการค้าเสรีอาเซียนฮ่องกง และความตกลงการค้าเสรีกับประเทศคู่ เจรจา FTA+1 หรือที่เรียกว่า การเจรจาความ ตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ซึ่งคาดว่าจะสรุปผลการเจรจาได้ ภายในปี 2015 ซึง่ หากการเจรจา RCEP สามารถ บรรลุผลส�ำเร็จ จะช่วยให้การเคลือ่ นย้ายสินค้ามี ความคล่ อ งตั ว มากขึ้ น โดยมุ ่ ง เน้ น การปรั บ ประสานกฎถิ่นก�ำเนิดสินค้า กฎระเบียบการค้า ต่าง ๆ ให้มคี วามสอดคล้องหรือเป็นหนึง่ เดียวกัน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการน�ำไปสู่การเจรจาจัดท�ำ ความตกลงการค้าเสรีในภูมิภาคเอเชียต่อไป” ทัง้ นีก้ ารเปิดเสรีทางด้านต่าง ๆ ภายใต้ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะช่วยส่งเสริมให้เกิด การขยายตัวในด้านการค้าและการลงทุนของไทย เน้นเป็นตลาดเดียวกันและฐานการผลิตร่วมกัน ใช้สทิ ธิประโยชน์เกีย่ วกับการน�ำเข้า-ส่งออกสินค้า ในกลุม่ อาเซียน เนือ่ งจากจะลด/ยกเลิกอุปสรรค ในการเข้าสู่ตลาด ทั้งด้านภาษีและมาตรการที่ มิใช่ภาษี ยกระดับการส่งเสริมความร่วมมือเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน ซึง่ ภาพรวมโอกาสและสิทธิประโยชน์ที่เป็นไปได้ ส� ำ หรั บ ไทยในการเป็ น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน นัน่ คือ สามารถใช้ประโยชน์จาก Supply Chain ในอาเซียน สามารถขยายการส่งออก สิ น ค้ า ไทยในอาเซี ย นได้ เ พิ่ ม ขึ้ น สามารถใช้ ประโยชน์จากระบบการขนส่งและโลจิสติกส์ที่ สะดวกและมีต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ลดลง สามารถ เข้าไปจัดตั้งธุรกิจหรือไปให้บริการในประเทศ
37
Vol.21 No.208 March-April 2015
Special Issue
38
ดังกล่าวประกอบด้วย 4 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตร ที่ 1 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หลักสูตรที่ 2 การเปิดเสรีภาคสินค้าเกษตร หลักสูตรที่ 3 การ เปิดเสรีภาคสินค้าอุตสาหกรรม และหลักสูตรที่ 4 การเปิดเสรีภาคค้าบริการ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง รวมทัง้ แบบ ทดสอบแต่ละระดับ โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ สร้าง องค์ความรู้ในเรื่องการค้าระหว่างประเทศให้แก่ ผูป้ ระกอบการไทย ภาคเอกชน ภาครัฐ สถาบัน การศึกษา และประชาชนทัว่ ไป การสร้างความรู้ ความเข้าใจร่วมกันในบริบททางการค้าระหว่าง ประเทศมากขึน้ การเตรียมความพร้อมและการ สร้ า งมาตรการรองรั บ เพื่ อ ปรั บ ตั ว เข้ า กั บ กระบวนการเปิ ด เสรี ท างการค้ า รวมถึ ง การ แสวงหาผลประโยชน์จากการค้าเสรีในกรอบ ต่าง ๆ โดยเฉพาะการเป็นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) นอกจากนี้ ช ่ ว งที่ ผ ่ า นมากรมฯ ได้ ประสานหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องด�ำเนินการ จัดตัง้ คลังข้อมูลทางการค้าของไทย หรือ Thailand NTR เพือ่ เชือ่ มโยงต่อไปยังคลังข้อมูลทางการค้า ของอาเซียน และกระทรวงพาณิชย์ โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศได้เปิดตัวระบบคลัง ข้อมูลทางการค้าของไทย (Thailand NTR) แล้ว เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 ซึ่งเป็น ระบบทีม่ คี วามสมบูรณ์มากทีส่ ดุ ในอาเซียน โดย เป็นแหล่งข้อมูล ณ จุดเดียว ทีร่ วบรวมมาตรการ ทางภาษี มาตรการที่ มิ ใ ช่ ภ าษี กฎหมาย/ กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับการค้า และการน�ำเข้าส่งออก รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับการอ�ำนวยความ สะดวกทางการค้าให้กับผู้ประกอบการ โดย สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้โดยง่ายทั้งทาง
เครือ่ งคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต และโทรศัพท์มอื ถือ โดยผ่านเว็บไซต์ www.thailandntr.com ซึง่ ระบบ ดังกล่าวจะช่วยลดต้นทุนการด�ำเนินธุรกิจของ ภาคเอกชนได้อีกทางหนึ่ง รวมทั้งช่วยพัฒนา ขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย และ อุตสาหกรรมของประเทศโดยรวม เพือ่ การก้าวเข้า สู่ AEC ได้อย่างเข้มแข็ง เมื่อไทยและประเทศ สมาชิกอาเซียนทัง้ 10 ประเทศได้จดั ตัง้ คลังข้อมูล ทางการค้าระดับประเทศเพือ่ เป็นแหล่งข้อมูลของ แต่ละประเทศแล้ว ประเทศสมาชิกอาเซียนทัง้ 10 ประเทศจะเชือ่ มโยงคลังข้อมูลทางการค้าของทัง้ 10 ประเทศเข้าด้วยกัน เพือ่ เป็นคลังข้อมูลทางการ ค้าของอาเซียน (ASEAN Trade Repository: ATR) ซึง่ จะเป็นแหล่งข้อมูล ณ จุดเดียว ทีร่ วบรวม มาตรการทางการค้าและกฎระเบียบของประเทศ สมาชิกทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วข้องกับการค้าสินค้าให้กบั ผู้ประกอบการเข้าถึงแหล่งข้อมูลนี้ได้โดยผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตต่อไป
แผนงานในอนาคตของกรมฯ
“การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการ เจรจาการค้าฯ ในกรอบเวทีตา่ ง ๆ ทัง้ ทีเ่ ป็นการ
เจรจาในกรอบเดิมทีม่ คี วามลึกมากขึน้ และการ เจรจาในกรอบใหม่ กั บ ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนและรองรับที่มีพัฒนาการของ อาเซียนหลังปี 2015 และการเจรจาของอาเซียน ที่มีการรวมกลุ่มอย่างกว้างขวางมากขึ้นภายใต้ จัดท�ำความตกลงการค้าหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ระดับภูมภิ าค หรือ RCEP (Regional Comprehensive Economic Partnership) กับประเทศคู่ เจรจาฯ อีก 6 ประเทศ (จีน เกาหลี ญีป่ นุ่ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) กรมเจรจาการค้า ระหว่ า งประเทศจึ ง มุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะพั ฒ นาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนข้อมูลที่มี ความเหมาะสม สอดคล้อง และใช้ประโยชน์ใน ด้านการเจรจาการค้า และให้ความส�ำคัญกับ การบริ ก ารข้ อ มู ล แก่ บุ ค ลากรทั้ ง ในและนอก หน่วยงาน เพื่อเป็นศูนย์กลางของข้อมูลความรู้ และประสบการณ์ในการเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศต่อไป กรมฯ มี แ ผนที่ จ ะพั ฒ นาระบบศู น ย์ ปฏิบตั กิ ารกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ทัง้ ในส่วนของระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse) และข้อมูลรายงานในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อตอบ สนองความต้องการทีห่ ลากหลายมากขึน้ รวมทัง้ กรมฯ อยูร่ ะหว่างการจัดท�ำระบบติดตามการค้า ระหว่ า งประเทศของไทย (Thailand Trade Monitoring System: TMS) ซึ่งเป็นระบบที่จะ ติ ด ตาม เฝ้ า ระวั ง และเตื อ นภั ย ด้ า นการค้ า (Trade Early Warning System) โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อปริมาณการค้าระหว่าง ประเทศของไทย ทั้งการส่งออกสินค้าไทยที่มี ปริมาณลดน้อยลง และการน�ำเข้าสินค้าจาก ต่ า งประเทศที่ มี ป ริ ม าณเพิ่ ม ขึ้ น จนผิ ด สั ง เกต เพื่อเป็นข้อมูลและการตัดสินในในเชิงนโยบาย ส�ำหรับผูบ้ ริหารระดับสูง และผูก้ ำ� หนดนโยบาย การค้าระหว่างประเทศทัง้ ภาครัฐและเอกชน ซึง่
Special Issue
ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมต่อ การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
ท้ายนี้ ท่านอธิบดีธวัชชัย ยังได้กล่าว ฝากถึงผู้ประกอบการธุรกิจและอุตสาหกรรมถึง การเตรียมความพร้อมสู่การแข่งขันในอนาคตว่า “การเปิด AEC ท�ำให้ทงั้ ประเทศสมาชิกรวมกันเป็น ตลาดเดียว จึงเป็นทัง้ โอกาสและความท้าทายของ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมไทย คนไทยจึงต้อง ท�ำความเข้าใจและใช้ประโยชน์ให้เป็นจากความ เปลี่ยนแปลงโดยเร็วที่สุด ซึ่งภาครัฐได้ให้ความ ส�ำคัญในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC มา อย่างต่อเนือ่ ง และรัฐบาลปัจจุบนั ก�ำหนดให้ “การ ส่งเสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคม อาเซียน” เป็นหนึง่ ในนโยบายพัฒนาและบริหาร ประเทศที่คณะรัฐมนตรีได้แถลงต่อสภานิติบัญญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) เมือ่ วันที่ 12 กันยายน 2557 ทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับผู้ประกอบการไทยจ�ำเป็นต้อง มองไปให้ไกลกว่าปี 2558 โดยควรมองระยะยาว ให้ได้ 5-10 ปี พร้อมมองผู้บริโภคทุกกลุ่ม ทั้ง สมาชิ ก อาเซี ย น 10 ประเทศ และคู ่ ค ้ า อี ก 6 ประเทศ นอกจากนีค้ วรเลือกเติบโตจากสิง่ ทีต่ วั เอง ช�ำนาญและเลือกพัฒนาต่อยอดธุรกิจตัวเองให้ดี ขึ้น ต้องเข้าใจพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลง ไปด้วย เพื่อพัฒนาสินค้า/ธุรกิจของตัวเองให้ สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว ส�ำหรับข้อแนะน�ำในการเตรียมความ พร้ อ มในภาพรวม ภาคอุ ต สาหกรรมและ ผูป้ ระกอบการไทยสามารถเตรียมรับมือกับ AEC ได้แก่ ผู้ประกอบการไทยต้องปรับตัวให้ทันการ เปลีย่ นแปลง ควรเริม่ จากการส�ำรวจจุดแข็งและ
จุดอ่อนของกิจการของตัวเองว่ามีข้อเสียเปรียบ อะไร มี จุ ด แข็ ง อะไร ใช้ ข ้ อ มู ล เหล่ า นี้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์เพื่อมองตัวเองว่าเราจะก้าวไปสู่ธุรกิจ/ อุ ต สาหกรรมอื่ น หรื อ จะต่ อ ยอดจากธุ ร กิ จ / อุตสาหกรรมเดิม โดยจะต้องศึกษาข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ทั้งในแง่ของการตลาด และมองหาโอกาสทางธุรกิจให้มากขึ้น เช่น การ มองหาธุรกิจใหม่ ๆ การออกงานแสดงสินค้าที่ จะช่วยให้ผปู้ ระกอบการเองเป็นทีร่ จู้ กั และมีโอกาส ที่จะได้พบกับพันธมิตรทางธุรกิจมากขึ้น หรือ การปรึกษากับหน่วยงานไทยที่ให้การสนับสนุน ข้อมูลด้านการลงทุนในต่างประเทศ เช่น บีโอไอ เป็นต้น นอกจากนี้ผู้ประกอบการไทยต้องเร่ง ศึ ก ษาพฤติ ก รรมของผู ้ บ ริ โ ภคในอาเซี ย นเพื่ อ เตรียมรุกตลาดอาเซียน รวมจนถึงกฎ ระเบียบ ประเพณี ค่านิยม และแม้แต่ศาสนา ใช้กลยุทธ์เชิง รุกเจาะตลาดผูซ้ อื้ และใช้ประโยชน์จาก AEC เช่น ศึกษา/เสาะหาแหล่งวัตถุดบิ ในอาเซียนทีม่ คี วาม ได้เปรียบด้านราคาและคุณภาพ โดยการน�ำเข้า มาผลิต หรือการขยาย/ย้ายฐานการผลิต หาคูค่ า้ หรือผูร้ ว่ มลงทุนทีเ่ ชือ่ ถือได้ การเตรียมความพร้อม ด้านความรูเ้ กีย่ วกับการท�ำการค้า ผูป้ ระกอบการ ไทยควรต้องพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ ทัง้ ด้าน การบริหารจัดการ ประสิทธิภาพการผลิต/การ ให้บริการ การออกแบบผลิตภัณฑ์ การสร้าง ตราสินค้า และการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ กระทรวงพาณิชย์ ให้ความส�ำคัญกับ การเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการโดยเฉพาะ SMEs ในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยได้ก�ำหนดให้เรื่องการขับเคลื่อนสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนเป็นหนึง่ ในสีย่ ทุ ธศาสตร์สำ� คัญ ของกระทรวงพาณิชย์ที่จะด�ำเนินการในปี 2558 ซึ่งมุ่งเน้นการเร่งสร้างขีดความสามารถทางการ แข่งขันให้กบั ผูป้ ระกอบการและวิสาหกิจ ผลักดัน ยุทธศาสตร์กลุม่ ธุรกิจเชือ่ มโยง (Cluster Driven) โดยจะอาศัยกลุม่ ธุรกิจใหญ่รว่ มมือเปิดทาง SMEs ทีเ่ ป็นคูค่ า้ เข้าสูต่ ลาด ASEAN และตลาดใหม่ ๆ ไปพร้อม ๆ กัน นอกจากนี้ กระทรวงพาณิชย์ ได้มีการ ด�ำเนินการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมให้ภาค เอกชนใช้ประโยชน์จาก AEC มาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่ม SMEs โดยได้จัดท�ำโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย ส�ำหรับปี 2558 เพือ่ ส่งเสริมขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย ให้ ส ามารถแข่ ง ขั น ได้ ใ นตลาดอาเซี ย น อาทิ โครงการติดอาวุธทางปัญญาให้ผู้ประกอบการ ของไทย โครงการศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจ ไทยในอาเซียน (AEC Business Support Center) โครงการผลักดันสินค้าไทยให้เป็นหนึง่ ในอาเซียน โครงการพีเ่ ลีย้ งธุรกิจสูอ่ าเซียน (AEC Business Mentoring) โครงการจัดประกวด ASEAN Design Contest โครงการพัฒนาศักยภาพผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ดว้ ยทรัพย์สนิ ทางปัญญา เป็นต้น นอกจากนีไ้ ด้มกี ารจัดตัง้ กองทุน FTA เพือ่ ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการไทยในการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน อาทิ อุตสาหกรรม ยา สมุนไพร และชา เป็นต้น” ท่านอธิบดีธวัชชัย กล่าวฝาก
Vol.21 No.208 March-April 2015
แผนงานฯ ดังกล่าวมีเป้าหมายทีจ่ ะด�ำเนินการเพือ่ ตอบสนองต่อภารกิจของหน่วยงานทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคตที่จะก้าวไปข้างหน้าท่ามกลางการ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและการแข่งขันภายใต้ กระแสโลกาภิวฒ ั น์ของการค้าโลก นอกจากนี้ในการพัฒนาและสนับสนุน ภายในหน่ ว ยงานเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นองค์ ก ารไปสู ่ เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลนัน้ กรมฯ อยู่ระหว่างจัดท�ำระบบบริหารการประชุม เจรจา ระบบบริหารจัดการความรู้ รวมทัง้ มีแผน ส่งบุคลากรเข้าร่วมสัมมนาฝึกอบรมเพื่อติดตาม และพัฒนาความรูด้ า้ นเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย” ท่านอธิบดีธวัชชัย กล่าวถึงแผนงานในอนาคต ของกรมฯ
39
Q
Special Issue for
uality
ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
องค์การพัฒนาองค์ความรู้ เกี่ยวกับอาเซียน จุ กองบรรณาธิการ
▲
ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เล็งเห็นความส�ำคัญของอาเซียนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และบทบาทของอาเซียนในประชาคมโลก โดยได้มบี ทบาทใน การวางรากฐานด้านอาเซียนศึกษา ตลอดจนการสร้างเสริมความร่วมมือกับประชาคม ภายนอก ทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ภายในประเทศและภายใน ภูมภิ าคมาโดยตลอด เห็นได้จากผลงานทางวิชาการ การวิจยั และการบริการวิชาการ ทีค่ ณะ วิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ ตลอดจนคณาจารย์ นักวิจยั และนิสติ ได้พฒ ั นา มาอย่างต่อเนือ่ งในการสร้างเสริมความรูค้ วามเข้าใจเชิงลึกเกีย่ วกับประเทศ สมาชิก อาเซียนและภูมิภาคทั้งในภาพรวมและในเชิงนโยบาย รวมถึงการที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีนโยบายสร้างบัณฑิตให้เป็นผู้มีคุณค่าต่อประชาคมอาเซียนและ ประชาคมโลก จากการทีอ่ าเซียนได้ทวีความส�ำคัญมากขึน้ โดยมุง่ สูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียน ซึ่งประกอบด้วยสามเสาหลัก คือ ประชาคมการเมือง-ความมั่นคงอาเซียน ประชาคม
อาจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนาม
40
ผู้ช่วยคณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ และผู้อำ�นวยการฝ่ายวิชาการ ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
Special Issue
จุดมุ่งหมายการเปิดประชาคมอาเซียน
อาจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนาม อธิบายถึง จุดมุ่งหมายของการเปิดประชาคมอาเซียนให้ เข้าใจได้ง่ายว่า “จุดมุ่งหมายแรกที่ส�ำคัญที่สุด ของการเปิดประชาคมอาเซียน คือ ขณะนี้ทุก ประเทศต้องการทีจ่ ะรวมกลุม่ กันเพือ่ ให้เศรษฐกิจ มีความน่าดึงดูดให้ตา่ งชาติเข้ามาท�ำการค้าการ ลงทุนด้วย จุดมุง่ หมายทีส่ อง คือ การท�ำให้ตลาด มีขนาดใหญ่ ในความเป็นจริงที่ทุกคนทราบคือ ประเทศในอาเซียนหลายประเทศเป็นประเทศ ขนาดเล็ก เพราะฉะนัน้ หากเปรียบเทียบกับประเทศ ขนาดใหญ่อนื่ ๆ อาทิ จีน อินเดีย ตลาดประเทศ อืน่ จะไม่มพี นื้ ทีย่ นื มากนัก เมือ่ อาเซียนมีการรวม กลุม่ กันและท�ำให้ตลาดมีขนาดใหญ่ขนึ้ ส่วนใด ที่เป็นส่วนขาดของประเทศไทยก็จะมีประเทศ อาเซียนเป็นส่วนเติมเต็มให้ ส่วนใดทีป่ ระเทศไทย ดีอยูแ่ ล้ว ก็จะมีเพือ่ นบ้านอาเซียนสนับสนุนให้ดี ยิง่ ขึน้ นีจ่ ะเป็นกลไกให้อาเซียนเป็นภูมภิ าคทีน่ า่ สนใจ ทั้ ง นี้ เ มื่ อ อาเซี ย นอยู ่ ร วมกั น ก็ ไ ม่ ไ ด้ หมายความว่ามีเพียง 10 ประเทศเท่านัน้ แต่ยงั มี ประเทศใหญ่ไม่วา่ จะเป็นจีน ญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้ (อาเซียน+3 จีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ /อาเซียน +6 จีน
เกาหลี ใ ต้ ญี่ ปุ ่ น ออสเตรเลี ย อิ น เดี ย และ นิวซีแลนด์) มีความน่าสนใจ รวมไปถึงความ สามารถในการต่อรอง (bargaining power) จะ สูงขึน้ ”
บทบาทของไทยในอาเซียน
หากถามถึงบทบาทของประเทศไทยใน การเปิดประชาคมอาเซียน นอกเหนือจากการเป็น ประเทศทีก่ อ่ ตัง้ อาเซียนแล้วนัน้ อาจารย์ ดร.ปิติ กล่าวถึงประเด็นนี้อย่างชัดเจน “ประเทศไทย ไม่ใช่ประเทศที่เป็นเพียงผู้ก่อตั้งอาเซียนเท่านั้น แต่ประวัติศาสตร์ของอาเซียนที่ผ่านมา โดย เฉพาะค�ำกล่าวของ ดร.สุรนิ ทร์ พิศสุวรรณ อดีต เลขาธิการอาเซียน ทีไ่ ด้กล่าวไว้วา่ “อาเซียนถือ เป็นทรัพย์สนิ ทางปัญญาของคนไทย” นัน่ เพราะ อาเซียนก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ วันที่ 8 สิงหาคม 1967 โดย เป็นความริเริม่ ของ ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยในขณะ นัน้ หลังจากนัน้ ใน Forum ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งของ ความมัน่ คงทีเ่ รียกว่า ASEAN Regional Forum: ARF ประเทศไทยก็เข้าไปเป็นแกนหลักในการ จัดตั้ง รวมถึงกรณีของเขตการค้าเสรีอาเซียนที่ เกิดขึ้นในปี 1992 มี คุณอานันท์ ปันยารชุน
(นายกรัฐมนตรีสมัยนัน้ ) เป็นผูก้ อ่ ตัง้ กลไกทีเ่ ป็น ธรรมนูญของอาเซียน ทีเ่ รียกว่า ASEAN Charter ประเทศไทยก็เป็นผู้สนับสนุนอย่างใกล้ชิด หรือแม้แต่ ASEAN Vision 2020 ซึ่งตั้งขึ้นมา เมื่อปี 1997 ผู้เสนอแนวคิดนี้สู่อาเซียนก็คือ ดร.สุรนิ ทร์ พิศสุวรรณ อดีตเลขาธิการอาเซียน ในสมัยที่ท่านเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศ ดังนัน้ ASEAN Vision 2020 เป็น สิ่งที่บอกว่าอาเซียนอนาคตจะเป็นไปในทิศทาง ใด จาก Vision ก็แปลงมาเป็น Charter และเชือ่ ม ต่อสูค่ วามสัมพันธ์ของ 3 เสาหลัก ได้แก่ 1. เสา เศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community Blueprint) 2. เสาการเมืองความมัน่ คง (ASEAN Political-Security Community Blueprint) 3. เสา สังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Social-Culture Community Blueprint) ซึง่ ทัง้ 3 เสาหลัก เป็น กลไกผลักดันที่ท�ำให้เกิดประชาคมอาเซียนในปี 2015 เพราะฉะนัน้ ในทุกขัน้ ตอน ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง ใดก็ตาม ประเทศไทยมีบทบาทเป็นผู้น�ำในทุก เรือ่ ง นอกจากนี้ บ ทบาทของไทยที่ ส� ำ คั ญ คือ ต้องยอมรับว่าอาเซียนแบ่งออกเป็น 2 อนุภูมภิ าค คือ อนุภมู ภิ าคอาเซียนในน�ำ้ (Maritime ASEAN) ได้แก่ มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ บรูไน และ อนุภูมิภาคลุ่มแม่นำ�้ โขง (Greater Mekong Subregional: GMS) หรือ อาเซียนบนบก หรือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ ได้แก่ สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนม่าร์ ส�ำหรับ ประเทศไทย ถือว่าเป็นประเทศที่อยู่ตรงกลางที่ จะเป็นตัวเชือ่ มระหว่างอาเซียนในน�ำ้ และบนบก ทั้งนี้เนื่องด้วยประเทศอาเซียนในน�้ำส่วนใหญ่ เป็นประเทศมุสลิม เพราะฉะนัน้ ความสัมพันธ์ใน
Vol.21 No.208 March-April 2015
เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในฐานะ เสาหลักของแผ่นดินจึงได้จัดตั้ง ศูนย์อาเซียน ศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขึน้ ตามมติ ของสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการประชุม ครัง้ ที่ ๗๓๔ เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๔ เพื่อประสานการท�ำงานด้านอาเซียน ศึกษาในมหาวิทยาลัย สร้างเสริมสมรรถนะแก่ คณะ วิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ ในการสร้าง องค์ความรู้ พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทาง วิชาการด้านอาเซียนในเชิงลึก ตลอดจนเผยแพร่ ความรูเ้ รือ่ งอาเซียนอย่างกว้างขวางผ่านกิจกรรม ต่าง ๆ โดยมุ่งให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็น แหล่งอ้างอิงส�ำคัญด้านอาเซียนศึกษาทัง้ ในระดับ ประเทศ ระดับภูมภิ าค และระดับนานาชาติ อาจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนาม ผู้ช่วย คณบดี คณะเศรษฐศาสตร์ และผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิชาการ ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้รว่ มพูดคุยกับเราถึงประเด็น ที่น่าสนใจเกี่ยวกับการเปิดประชาคมอาเซียน ปลายปี 2558 นี้ พร้อมทัง้ ยังเสนอแนะแนวทาง ทีด่ สี ำ� หรับผูป้ ระกอบการอีกด้วย
41
Special Issue เครือข่ายของประเทศมุสลิมจะมีความผูกพันกัน ลึกซึ้ง แต่ในขณะเดียวกับอาเซียนบนบก ต้อง ยอมรับว่าประเทศไทยอยูจ่ ดุ ศูนย์กลางเพราะติด กับเมียนม่าร์ สปป.ลาว และกัมพูชา อาจจะห่าง กันแต่เฉพาะเวียดนามเท่านัน้ อาจมองว่า สปป. ลาว น่าจะเป็นจุดศูนย์กลางมากกว่า แต่เนือ่ งจาก ประเทศไทยมีพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจที่ โดดเด่นกว่าจึงได้เปรียบ กล่าวสรุปได้ว่าสินค้า อุปโภคบริโภคทีก่ ลุม่ ประเทศอาเซียนใช้สว่ นใหญ่ ผลิตจากประเทศไทย รองลงมา คือ จีน อีกทั้ง ประเทศไทยก็ยังเป็นจุดศูนย์กลางเครือข่ายโลจิสติกส์แห่งภูมภิ าคนีด้ ว้ ย ในภูมภิ าคทีเ่ ป็นอาเซียนบนบกด้วยระดับ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยยังไม่อมิ่ ตัว เกินไปเหมือนสิงคโปร์ ในขณะดียวกันก็พฒ ั นาได้ มากกว่าประเทศเกิดใหม่ คือ CLMV Country ประเทศไทยจึงกลายเป็นประเทศทีต่ า่ งชาติสนใจ ทีจ่ ะเข้าลงทุนและเข้ามาใช้แรงงาน” ในอนาคตประเทศไทยจะเข้าไปร่วมก�ำหนด บทบาทในเฟสต่อไปของประชาคมอาเซียนหลัง ปี 2015 ทุกวันนีต้ อ้ งยอมรับว่าประเทศไทยไม่ได้ มุ ่ ง มั่ น กั บ เรื่ อ งนี้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ นั ก ที่ ผ ่ า นมานั ก วิชาการและนักธุรกิจพยายามทีจ่ ะพัฒนา แต่จะ ต้องยอมรับว่าส่วนหนึง่ กลไกของภาครัฐไม่ได้อยู่ ในภาวะทีจ่ ะท�ำได้อย่างเต็มที่
ไทยจะได้รับอะไร จากการเปิดประชาคมอาเซียน
Vol.21 No.208 March-April 2015
ตั้งแต่ปี 1967 มีการเปิดเสรีการค้าขึ้น แล้ว ส�ำหรับอาเซียนดั้งเดิม คือ ไทย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ บรูไน แต่กบั ประเทศเพือ่ นบ้าน CLMV ได้แก่ กัมพูชา สปป.ลาว เมียนม่าร์ และ
42
เวียดนามจะเปิดการค้าเสรีภาษี 0% ในวันที่ 31 ธันวาคม 2015 นี้ “การค้าในอาเซียนจะเติบโตขึน้ อย่างต่อเนื่อง สินค้าไทยได้รับความนิยมและ บริโภคจากประเทศเพือ่ นบ้านมานานแล้ว ในระยะ สัน้ เมือ่ มีกฎกติกาชัดเจนมากขึน้ มีสงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกทางการค้าที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมาก ขึ้น ภาคแรกที่จะเติบโต นั่นคือ การค้าชายแดน และภาครัฐของไทยได้เข้าไปสนับสนุนและช่วยเหลือ สิ่ ง อ� ำ นวยความสะดวกทั้ ง โครงสร้ า งพื้ น ฐาน และกฎระเบียบต่าง ๆ ไว้รองรับได้ดีพอสมควร เพราะฉะนัน้ ในระยะสัน้ นีก้ ารค้าในอาเซียนเติบโต ขึน้ อย่างแน่นอน หลังจากนั้นภาคที่จะเติบโตต่อไป คือ สินค้าอุปโภคบริโภค เนื่องจากเมื่อประเทศไทย เติบโต ตลาดในประเทศอื่น ๆ ก็จะเติบโตด้วย เพราะเส้นทางการคมนาคมดี กฎระเบียบทางการ ค้าทีเ่ อือ้ อ�ำนวยนัน่ เอง นอกจากนี้ สินค้ายานยนต์ และชิน้ ส่วนยานยนต์ ก็จะเติบโตขึน้ โดยเฉพาะ รถจั ก รยานยนต์ อะไหล่ ร ถยนต์ มื อ สองและ รถกระบะ รวมทัง้ ภาคบริการ ก็จะเติบโตขึน้ โดย-
เฉพาะการก่อสร้าง เนื่องจากจะต้องมีโครงการ ก่อสร้างสาธารณูปโภคต่าง ๆ ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบ กับประเทศเพื่อนบ้านแล้วนั้น ประเทศไทยมีทั้ง Know-how และเงิ น ทุ น ที่ ม ากกว่ า ดั ง นั้ น อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ วัสดุกอ่ สร้าง ก็จะ เติบโตตามไปด้วย อีกทั้งงานบริการวิชาชีพก็จะ เติบโตขึ้น นั่นเพราะการเปิดประชาคมอาเซียน เปรียบเสมือนการเปิดพืน้ ทีใ่ หม่ เพราะฉะนัน้ พืน้ ที่ เดิม ๆ คนอาจไม่เห็นคุณค่ามากนัก เช่น พืน้ ทีท่ ี่ ห่างไกลจากตัวจังหวัด หรือพืน้ ทีช่ ายแดน เดิมคือ พืน้ ทีร่ กร้างว่างเปล่า แต่ในอนาคตอันใกล้จะกลาย เป็นสนามการค้า ยกตัวอย่าง ประเทศไทยเข้าไป ท�ำเศรษฐกิจพิเศษ โดยเข้าไปเชือ่ มโยงเศรษฐกิจ ท้ายสุดชายแดนจะกลายเป็นท�ำเลเศรษฐกิจ เมือ่ ชายแดนเริม่ คึกคัก บริการวิชาชีพทีเ่ ริม่ เข้าไป อาทิ วิศวกร ช่างส�ำรวจ สถาปนิก ทีต่ อ้ งเข้าไปสร้างถนน สะพาน อาคารส�ำนักงาน โรงงาน หลังจากนัน้ ก็จะ มีแรงงานบริการทีจ่ ะต่อยอดให้ธรุ กิจด�ำเนินต่อไป ได้ เช่น นักบัญชี จากนัน้ จะมีงานบริการอืน่ ๆ เช่น นักกฎหมาย แพทย์ ทันตแพทย์ จากนัน้ ก็จะเริม่ มี วิชาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ วเข้าไปเศรษฐกิจก็จะเติบโต” ส�ำหรับประเด็นทางด้านแรงงานทีเ่ ตรียม ความพร้ อ มสู ่ ก ารเปิ ด ประชาคมอาเซี ย นนั้ น อาจารย์ ดร.ปิติ อธิบายว่า ประเด็นการเปิดเสรี ทางด้านแรงงานในอาเซียนจะเปิดเฉพาะแรงงาน ฝีมอื (free flow skilled labor) ขณะนีม้ กี ารจัดท�ำ ข้อตกลงไว้ 2 ฉบับ คือ Movement of Natural Persons: MNP คือ การก�ำหนดจ�ำนวนวิชาชีพ 25 วิชาชีพ ทีส่ ามารถเคลือ่ นย้ายแรงงานได้ แต่ยงั ไม่ได้มีผลบังคับใช้ในทุกประเทศ และ Mutual Recognition Arrangement: MRA คือ ข้อตกลงการ ยอมรับร่วมทีก่ ำ� หนดคุณสมบัตขิ องทักษะวิชาชีพ ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ปัจจุบันข้อตกลงเสร็จ เรียบร้อยไปแล้ว 8 วิชาชีพ คือ 1. วิศวกรรม 2. การส� ำ รวจ 3. สถาปั ต ยกรรม 4. แพทย์ 5. ทันตแพทย์ 6. พยาบาล 7. บัญชี 8. การบริการ/ การท่องเที่ยว วิชาชีพที่เหลือยังอยู่ในช่วงท�ำ ข้อตกลงยอมรับวิชาชีพอยู่ แต่อีกกลุ่มหนึ่งที่อาเซียนไม่เคยเปิดเสรี เลย นัน่ คือ กลุม่ แรงงานไร้ฝมี อื (unskilled labor) ได้แก่ แรงงานทีร่ บั จ้างทัว่ ๆ ไป ไม่ได้มกี ารศึกษา และประสบการณ์การท�ำงานมากนัก ทีไ่ ม่เคยเปิด เนือ่ งจากอาเซียนค�ำนึงถึงเรือ่ งภัยทางความมัน่ คง แต่ ใ นกรณี ข องประเทศไทยด้ ว ยโครงสร้ า ง ประชากรทีเ่ ข้าสูภ่ าวะสังคมสูงวัย (aging society)
Special Issue
ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศู น ย์ อ าเซี ย นศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อ เป็นแหล่งข้อมูล (data) และสารสนเทศ (information) เกี่ยวกับอาเซียน เป็นแหล่งสนับสนุน ส่งเสริมการสร้างและพัฒนาองค์ความรู้เชิงลึก เกีย่ วกับอาเซียน เป็นคลังสมอง (think tank) ท�ำ หน้าที่สังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องอาเซียนเพื่อ จัดท�ำเป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพือ่ รับมือกับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในอาเซียน เป็น
ศูนย์ส่งเสริมการเผยแพร่ความรู้เรื่องอาเซียนสู่ สาธารณะ ทั้งในระดับชาติ ระดับภูมิภาค และ ระดับนานาชาติ และเป็นศูนย์ประสานงานความ ร่วมมือด้านการศึกษา การฝึกอบรม และการท�ำ วิจยั ระดับภูมภิ าค และระดับนานาชาติ มีพนั ธกิจ คือ พัฒนาองค์ความรูเ้ กีย่ วกับอาเซียน ประสาน สร้างเสริม ส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายความ ร่วมมือทางวิชาการด้านอาเซียนในเชิงลึกภายใน ประเทศไทย และเป็นประตูเชือ่ มโยงความร่วมมือ ทางวิชาการระหว่างประเทศไทยกับประชาคม อาเซียน ประเทศคู่เจรจาอาเซียน และองค์การ ระหว่างประเทศ
แนวทางการดำ�เนินงานของ ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศู น ย์ อ าเซี ย นศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มุ่งเน้นการด�ำเนินงานเพื่อเป็น แหล่งอ้างอิงทางวิชาการทั้งภายในจุฬาลงกรณ์
มหาวิ ท ยาลั ย ภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนส่งเสริมการบูรณาการระดับภูมิภาค อาเซียน ในการเป็นประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์การด�ำเนินงานของศูนย์อาเซียนศึกษา แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถแบ่งออก เป็น 5 ข้อ คือ 1. ยุทธศาสตร์สนับสนุน ส่งเสริม การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ 2. ยุทธศาสตร์ แหล่ ง ข้ อ มู ล สารสนเทศ และคลั ง สมอง 3. ยุ ท ธศาสตร์ เ ผยแพร่ ค วามรู ้ 4. ยุ ท ธศาสตร์ ประชาสัมพันธ์และประสานสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือทางวิชาการภายในและภายนอกองค์กร 5. ยุทธศาสตร์เชิงนโยบายในการรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงในอาเซียน “ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบ่งงานออกเป็น 3 ระดับ นัน่ คือ 1. ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นศูนย์อาเซียนศึกษาแห่งชาติ ของส�ำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการในการที่จะเป็นแม่ข่ายให้กับศูนย์-
Vol.21 No.208 March-April 2015
ท�ำให้เริ่มขาดแคลนแรงงานวัยฉกรรจ์ และด้วย ระดั บ การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ ที่ สู ง ขึ้ น อี ก ระดับหนึง่ ท�ำให้แรงงานปฏิเสธทีจ่ ะท�ำงานหนัก สกปรก หรือค่าตอบแทนน้อย ประเทศไทยจึงมี ความจ�ำเป็นที่จะต้องเปิดเสรีแรงงานเอง จึงได้ ก�ำหนด พ.ร.บ. แรงงานต่างด้าวขึน้ เมือ่ ปี 2551 แต่อนุญาตไว้เพียง 3 ชาติ คือ แรงงานจาก เมียนม่าร์ กัมพูชา และ สปป.ลาว เป็น 3 ประเทศ เพือ่ นบ้านทีส่ ามารถเข้ามาท�ำงานในประเทศไทย ได้โดยต้องจดทะเบียนแรงงานต่างด้าว อนุญาต ให้ทำ� งานครัง้ ละ 2 ปี ต่ออายุได้ไม่เกิน 3 ครัง้ และ มีกฎระเบียบอืน่ ๆ อีกมากมาย ดังนัน้ แรงงาน ต่างด้าวที่เข้ามาท�ำงานอยู่ในประเทศไทยใน ขณะนีไ้ ม่ได้มาเพราะการเปิดประชาคมอาเซียน แต่มาเพราะอยากเข้ามาท�ำงานในประเทศไทย เอง และประเทศไทยก็ตอ้ งการให้แรงงานจากทัง้ 3 ประเทศนีเ้ ข้ามา
43
Special Issue
Vol.21 No.208 March-April 2015
อาเซียนศึกษาที่ตั้งอยู่ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ใน ประเทศไทย 2. ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิ ท ยาลั ย ได้ จั ด ตั้ ง โครงการนวั ต กรรม ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการไทย-อาเซี ย นแห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Innovative ThaiASEAN Academic Cooperation at Chulalongkorn University: ITAA@CU) เพื่ อ ส่ ง เสริ ม สนับสนุนให้เกิดการวิจัย การสร้างเครือข่ายนัก วิ ช าการและนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาในกลุ ่ ม ประเทศ อาเซียน การพัฒนาและการถ่ายทอดองค์ความรู้ เชิงลึกด้านอาเซียนศึกษาให้สอดคล้องกับภูมทิ ศั น์ ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองของภูมภิ าคทีก่ ำ� ลัง เปลี่ยนแปลง และเป็นประโยชน์ต่อการน�ำไป ปฏิบัติเชิงนโยบาย และเป็นแหล่งอ้างอิงทาง วิชาการด้านอาเซียนศึกษาที่ส�ำคัญของประเทศ โดย ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งใช้สื่อเพื่อประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ ด้านอาเซียน ทัง้ สือ่ สิง่ พิมพ์ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ และ สื่อออนไลน์ เพื่อการบริการด้านวิชาการ และ สนับสนุนวิทยากรเพื่อเข้าร่วมบรรยายเกี่ยวกับ อาเซียนในทุกแง่มมุ จากคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย อีกด้วย 3. ศูนย์อาเซียนศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด�ำเนินงานร่วมกับหลายภาคส่วน เช่ น กรมเอเชี ย ตะวั น ออก กระทรวงการต่ า ง ประเทศ ในการจัดค่ายเยาวชนเพื่อนมิตรลุ่มน�้ำ โขง โดยน�ำเยาวชนจาก 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม เมียนม่าร์ เดินทาง ไปทัง้ 5 ประเทศและท�ำกิจกรรมร่วมกัน”
44
การเตรียมความพร้อม ของผู้ประกอบการสู่ AEC
ช่วงสุดท้ายของบทสัมภาษณ์ อาจารย์ ดร.ปิติ ได้แนะน�ำผู้ประกอบการไทยทุกขนาด ส�ำหรับประเด็นเกีย่ วกับการเตรียมความพร้อมเพือ่ รองรับ AEC ว่า “ประเด็นส�ำคัญทีส่ ดุ ทีผ่ ปู้ ระกอบการต้องเตรียมความพร้อมสู่อาเซียน นั่นคือ 1. ต้องรูจ้ กั ตัวเราเองให้ชดั เจนเสียก่อน รูจ้ ดุ แข็งจุดอ่อน 2. ต้องรู้จักอาเซียน เพราะในความ เป็นจริงพบว่า คนที่จะรู้จักอาเซียนอย่างจริงจัง ตระหนักถึงกฎระเบียบ เรือ่ งของการส่งเสริมการ ค้าการลงทุนมีนอ้ ยมาก 3. ต้องปรับเปลีย่ นทัศนะ
และวิธคี ดิ เพราะต้องยอมรับว่ามีคนช่วงวัยหนึง่ ทีม่ คี วามคิดว่าประเทศเพือ่ นบ้านคือศัตรูทงั้ ในเชิง ประวั ติ ศ าสตร์ และอุ ด มการณ์ ท างความคิ ด ทางการเมือง-ความมัน่ คง ดังนัน้ คนกลุม่ นีจ้ งึ มอง ว่าประเทศเพือ่ นบ้านเป็นกลุม่ ทีด่ อ้ ยกว่า และคน กลุ่มนี้จะไม่ค่อยมองเห็นโอกาสในการเข้าไป ท�ำการค้าการลงทุนกับประเทศเพือ่ นบ้าน ความ คิดนี้ต้องเปลี่ยน ต้องมองว่าประเทศเพื่อนบ้าน เป็นโอกาส เป็นความร่วมมือทีจ่ ะสามารถพัฒนา ไปด้วยกันได้อย่างยัง่ ยืน อะไรก็ตามทีป่ ระเทศไทย มีอยู่แล้ว อะไรที่ประเทศเพื่อนบ้านมีแล้วจะส่งเสริมให้ประเทศไทยดีขนึ้ บ้าง อะไรก็ตามทีเ่ ราขาด ประเทศเพือ่ นบ้านจะเข้ามาเติมเต็มได้อย่างไร 4. เพิม่ ขีดความสามารถ เช่น ความสามารถทีจ่ ะใช้ โอกาส ใช้ข้อตกลงจากอาเซียน ใช้จุดแข็งของ ตัวเองและแก้จดุ อ่อนของตัวเอง เพือ่ เข้าไปแข่งขัน ในอาเซียนให้ได้ ฝากให้ทุกท่านพิจารณาและ พยายามปรับเปลี่ยนตัวเองให้รองรับโอกาสที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต แล้วเราจะเติบโตไปด้วยกัน” อาจารย์ ดร.ปิติ กล่าวสรุป
Q
Management for
uality
Finance Marketing & Branding People
Q
Finance for
uality
“ผลพวง”
“Q.E.”
ของมาตรการ
ของสหรัฐ
รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
ข้อ
อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ที่น่าสังเกตในกรณีของการเกิด ฟองสบูอ่ สังหาริมทรัพย์ครัง้ ล่าสุด ของจีน (2012-14) ก็คือ ฟองสบู่ดังกล่าวได้ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว และเกิดขึ้นติดต่อจาก การเกิดปัญหาวิกฤตการณ์ซับไพร์ม (subprime crisis) อันเกิดจากการแตกตัวของ ฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐอเมริกาที่ เริ่มแตกในปลายปี 2008 และส่งผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อทั้งเศรษฐกิจของสหรัฐเอง และประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเปิด (open economy) แต่สหรัฐสามารถแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ซับไพร์มได้อย่างมี “ประสิทธิภาพ” พอควร โดยอาศัยข้อได้เปรียบต่าง ๆ เช่น การที่สหรัฐเป็นเจ้าของดอลลาร์สหรัฐ ซึ่ง
46
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
เป็นเงินตราสกุลหลัก (key currency) ที่ ส�ำคัญที่สุดของโลก และการที่สหรัฐเองมี ปัญหาแรงกดดันจากสภาวะเงินฝืด (deflationary pressure) ภายหลังฟองสบู่ “ซับไพร์ม” ได้แตกตัวออกมา และน�ำไปสู่การ หดตัวของมูลค่าสินทรัพย์ (deflated assets prices) ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นมูลค่าหุ้น มูลค่า อสังหาริมทรัพย์ และสินค้าโภคภัณฑ์พนื้ ฐาน (basic commodities) ต่าง ๆ ฯลฯ สภาวการณ์ดังกล่าวได้เอื้ออ�ำนวย โอกาสในการด�ำเนินนโยบายการเงินชนิด ผ่อนคลายแบบสุดกู่ (ultra expansionary monetary policy) ทีร่ จู้ กั กันในนามมาตรการ “Q.E.” (Quantitative Easing) ที่ส่งผลให้ ธนาคารกลางสหรัฐ (federal reserve) ได้
อัดฉีดเงินภายใต้มาตรการดังกล่าวออกมา ถึงสามระลอก คิดเป็นมูลค่ากว่า 4 ล้านล้าน (trillion) ดอลลาร์สหรัฐ ในช่วงปี 2009 ถึง เดือนตุลาคม 2014 โดยทีเ่ ดือนตุลาคม 2014 เป็นเดือนสุดท้ายที่ “Fed” ใช้มาตรการ “Q.E.” แต่ยงั คงด�ำรงนโยบายดอกเบีย้ “Fed Funds Rate” ต�ำ่ มาก ๆ ทีไ่ ม่เกิน 0.25% ต่อปี ต่อไป กล่าวได้ว่าความเป็น “Key Currency” ระดับโลกของดอลลาร์สหรัฐ ที่ส่งผล ให้ มี อุ ป สงค์ (demand) ต่ อ การถื อ เงิ น ดอลลาร์ดังกล่าวทั่วโลก แม้ยามที่ “Fed” ได้ มีการเพิ่มปริมาณเงินออกมามากภายใต้ มาตรการ “Q.E.” ได้ส่งผลให้การ “อัดฉีด” ดอลลาร์ของ “Fed” ได้ดำ� เนินไปอย่างราบรืน่ ไม่ น ้ อ ย และยิ่ ง เศรษฐกิ จ ของสหรั ฐ ไม่ มี
ปัญหาแรงกดดันของเงินเฟ้อด้วยแล้ว ก็ยัง เพิ่มความคล่องตัวในการอัดฉีดปริมาณเงิน ออกมามาก ๆ ของ “Fed” ยิ่งขึ้นไปอีก ปริมาณเงินมูลค่ามากมายมหาศาล ถึ ง กว่ า 4 ล้ า นล้ า นดอลลาร์ ดั ง กล่ า วได้ “หยุด” ปัญหาการหดตัวของมูลค่าหรือราคา สินทรัพย์ (deflated assets prices) ต่าง ๆ เช่น ราคาหุ้นในตลาดหุ้น ราคาอสังหาริมทรัพย์ ฯลฯ และส่งผลให้มูลค่าสินทรัพย์ (ที่ ถูกปลุกให้เพิ่มสูงมาก ๆ ในช่วงเกิดฟองสบู่ ซับไพร์มระหว่างปี 2001 – ต้นปี 2008) ได้ ขยายตัวเพิ่มสูงขึ้น และสินทรัพย์บางอย่าง เช่น ราคาหุ้น ได้ขยายตัวสูงมากกว่าในช่วง ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ซับไพร์มเสียอีก แม้ ว ่ า สหรั ฐ ได้ ป ระสบความ “ส�ำเร็จ” ในการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์ ซับไพร์มด้วย “เกมการเงิน” ที่มี “Fed” ท�ำ หน้าทีเ่ ป็น “ทัพหลวง” ตามทีไ่ ด้กล่าวมาแล้ว แต่ก็ได้สร้างปัญหาผลข้างเคียงทางด้านลบ (negative side effects) ให้เกิดขึ้นตามมา ไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาความ เหลือ่ มล�ำ้ หรือช่องว่างทางรายได้ระหว่างคน ส่วนน้อยทีไ่ ด้ประโยชน์จากมาตรการ “Q.E.” ที่มีความมั่งคั่งเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากกับคน ส่วนใหญ่ทไี่ ม่ได้รบั “ผลพวง” จากมาตรการ “Q.E.” หรือได้รับบ้างก็เพียงเล็กน้อย เช่น การทีค่ นส่วนใหญ่ไม่ได้มรี ายได้เฉลีย่ (average income) ที่เพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าทางการ ของสหรั ฐ จะสามารถลดทอนปั ญ หาการ ว่างงานที่สูงขึ้นเป็นตัวเลข “สองหลัก” ใน
ช่วงเกิดวิกฤตการณ์ซับไพร์ม ลงมาเหลือ 5.6% ในเดือนธันวาคม 2014 ที่ผ่านมา แต่ ร าคาสิ น ทรั พ ย์ ที่ ไ ด้ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น มากภายหลังมาตรการ “Q.E.” ดังกล่าว โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ราคาสิ น ทรั พ ย์ ที่ เ ป็ น “ปัจจัยสี่” (basic needs) ในการด�ำรงชีพ ของผูค้ น เช่น ราคาทีอ่ ยูอ่ าศัย (ทีเ่ คยถูกปลุก ให้ราคาเพิ่มขึ้นนับร้อยเปอร์เซ็นต์ในช่วงไม่ กีป่ ขี องการเกิดฟองสบูซ่ บั ไพร์มในช่วง 2004 – ต้นปี 2008) ก็เป็นการยากต่อการซื้อหา ที่อยู่อาศัยของชาวอเมริกันจ�ำนวนมากที่มี รายได้ในระดับเฉลี่ย (ที่ไม่ได้เพิ่มสูงขึ้นจาก มาตรการ “Q.E.”) สภาวการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้เกิด ความไม่แน่ใจว่าท�ำให้ช่องว่างทางรายได้ ของชาวอเมริ กั น ระหว่ า งคนส่ ว นน้ อ ยที่ สามารถ “ขี่กระแส” มาตรการ “Q.E.” กับคน ส่วนใหญ่ที่ไม่ได้รับประโยชน์จากมาตรการ ดังกล่าว จึงได้ขยายตัวเพิ่มสูงขึ้นดังเช่นที่ เคยเป็นอยู่ ชาวอเมริ กั น ส่ ว นน้ อ ยที่ ส ามารถ “เสพย์” ผลพวงของมาตรการ “Q.E.” และ การลด “Fed Funds Rate” เหลื อ เพี ย ง 0.25% อันเป็นอัตราที่ต�่ำที่สุดครั้งประวัติศาสตร์ และมีการด�ำรงนโยบายอัตราดอกเบี้ยแบบ “ต�่ำเตี้ยเรี่ยดิน” มาแล้วประมาณ 6 ปี นับตั้งแต่ปลายปี 2008 เป็นต้นมา สามารถ “สะสม” กระตุ้นการเงินชนิดเพียบ “คลังแสง” ชนิดทีแ่ ทบไม่เคยปรากฏมาก่อน ขณะที่อเมริกันชนส่วนใหญ่ที่ไม่สามารถ
“เข้าถึง” ผลประโยชน์จากภาคการเงินและ ภาคส่วนเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการเก็งก�ำไร (speculation economy) กลับมีรายได้ที่ แทบไม่ ไ ด้ แ ตกต่ า งไปจากเดิ ม นั บ เมื่ อ พิ จ ารณาจากรายได้ เ ฉลี่ ย ที่ ไ ด้ รั บ ในช่ ว ง ตั้งแต่เริ่มวิกฤตการณ์ซับไพร์มในปลายปี 2008 เป็นต้นมา ไม่ เ พี ย งเท่ า นั้ น ฤทธิ์ เ ดชของ วิกฤตการณ์ซับไพร์มยังได้ส่งผลกระทบต่อ การท�ำงานของอเมริกันชนไม่ใช่น้อย ดัง ปรากฏออกมาให้เห็นจากอัตราการว่างงาน ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เป็น “สองหลัก” ในช่วงหลังเกิด วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งร้ายแรงของ แผ่นดินอินทรีดังกล่าว และกว่าที่สหรัฐจะ สามารถกระตุน้ โอกาสในการจ้างงานให้อยูใ่ น ระดับทีม่ กี ารจ้างงานทีต่ ำ�่ กว่า 6% ในปลายปี 2014 ได้ ก็ตอ้ งใช้เวลากว่าครึง่ ทศวรรษภาย หลังเริม่ เกิดวิกฤตการณ์ดังกล่าวในฤดูใบไม้ ร่วงของปี 2008 และก็ยงั ยากทีจ่ ะแน่ใจได้วา่ ตัวเลขการว่างงานดังกล่าวจะสามารถลดลง ไปต่อไปได้อย่างต่อเนือ่ ง และเพิม่ โอกาสของ ความยั่งยืนของการจ้างงาน (sustainable employment) ได้อย่างยาวนานต่อไป ภายใต้บทบาทและพลานุภาพของเศรษฐกิจทีอ่ งิ กับภาคการเงิน (finance-based economy) ทีม่ งุ่ แสวงหาประโยชน์จากการเก็งก�ำไรหรือ การเพิ่มขึ้นของมูลค่าทุน (capital gain) ดังเช่นที่อยู่ในปัจจุบัน และมีโอกาสที่จะ ขยายตัวเติบใหญ่มากยิง่ ขึน้ อีกในอนาคตอัน ใกล้นี้
Vol.21 No.208 March-April 2015
Finance
47
Q
Marketing & Branding for
uality
New Trend-Update from
อนาคตของชิเซโด ปฏิรูปทางการตลาดอีกครั้ง ชิเซโด
ยั ก ษ์ ใ หญ่ อั น ดั บ หนึ่ ง วงการเครื่ อ งส� ำ อาง ของญี่ปุ่นที่ครองความเป็นหนึ่งในประเทศ มาอย่างยาวนาน เริ่มประสบกับความยาก ล�ำบาก ในช่วงหลาย ๆ ปีที่ผ่านมา ส่วนแบ่ง ตลาดในประเทศก็ถูกคู่แข่งอย่างคาโอ หรือ คาเนโบ้ไล่ตามมาติด ๆ ซ�้ำร้าย ประสบภาวะ ยอดขายลดลงอย่างต่อเนื่อง 7 ปีติดต่อกัน จนถึงปี 2013 ท�ำให้ชิเซโดต้องท�ำการปฏิรูป ขนานใหญ่ สิ่งที่บริษัทจ�ำเป็นต้องท�ำ โดยไม่
เคยท� ำ มาก่ อ น คื อ การแต่ ง ตั้ ง ประธาน กรรมการบริหาร (president) ทีเ่ ป็นผูม้ าจาก ภายนอกบริษทั ซึง่ ในญีป่ นุ่ นัน้ ตามวัฒนธรรม ประเพณีการบริหารแล้ว มักจะต้องแต่งตั้ง จากบุคลากรภายในทีเ่ ติบโตขึน้ มาตามล�ำดับ อาวุโส ยกเว้นบริษัทที่มีเชื้อสายต่างประเทศ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่ไม่ธรรมดาเลยที่บริษัท ต้องตัดสินใจเลือกบุคคลจากภายนอกบริษทั เป็นการท้าทาย และเป็นการตัดสินใจทีเ่ สีย่ ง ไม่น้อย ผู้ที่รับต�ำแหน่งนี้ คือ อุโอะทานิ ที่ เป็นอดีต President ของ Coca Cola Japan ซึ่งแน่นอนย่อมมีแนวคิดแบบตะวันตกอยู่ ไม่น้อย ในช่วงที่อยู่ที่ Coca Cola Japan ได้ แสดงฝีมือพัฒนาเครื่องดื่มชา จนมีชื่อเสียงโด่งดังพร้อมกับ ฟืน้ ธุรกิจกาแฟกระป๋องแบรนด์ “จอร์เจีย” ที่ประสบภาวะตกต�่ำ ให้คืนสภาพอีกครั้งหนึ่ง
ปัญหาของชิเซโดคืออะไร
48
กลางปี 2013 ทีป่ ระชุม ร้านค้าอย่างไม่เป็นทางการที่ ชิมบาชิในโตเกียวมีผู้เข้าร่วม คือ ผู้บริหารรุ่นใหม่ของร้าน เครื่องส�ำอาง ขณะนั้นอุโอะทานิเป็นทีป่ รึกษาของบริษทั ได้ตั้งค� ำถามแก่ผู้บริหาร เหล่านี้ว่า “ทุกท่านท�ำไม จึงอย่างจะขายอัลเปี้ยน
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
(แบรนด์ของคู่แข่ง คือ โคเซ่) มันต่างกับ แบรนด์ของชิเซโดตรงไหนกัน” ปฏิกริ ยิ าของ ผู้บริหารรุ่นใหม่เหล่านั้นก็คือ แปลกใจมาก เพราะแต่เดิมผู้บริหารของชิเซโด ไม่เคยเปิด โอกาสฟังความคิดเห็นของเขาเหล่านั้นเลย และด้วยความภาคภูมิใจสูงในแบรนด์ของ ตัวเอง จึงไม่เคยทีจ่ ะเอ่ยถึงแบรนด์ของคนอืน่ ครั้งนี้ แตกต่างกันไป อุโอะทานิ เข้าเป็น President ใน ช่วงต้นปี 2014 เป็นครั้งแรกของชิเซโดตั้งแต่ ก่อตัง้ บริษทั มา ทีม่ อบหมายการบริหารให้แก่ คนอื่ น ที่ ม าจากภายนอก และไม่ เ คยเป็ น กรรมการบริหารมาก่อน และหากว่าไม่ท�ำ เช่นนีช้ เิ ซโดคงจะถูกรุกมากขึน้ กว่านี้ ยอดขาย ในประเทศ เมือ่ ปิดงบประมาณเดือนมีนาคม 2013 ปรากฏว่ายอดขายลดลง 7 ปีซ้อน ใน ระหว่างนั้นได้ตลาดในต่างประเทศเข้ามา ช่วย แต่ตลาดใหญ่ คือ จีน ในปี 2012 ญี่ปุ่น เกิดกรณีพพิ าทกับจีนเรือ่ งหมูเ่ กาะเซงคาคุ จึง ท�ำให้ยอดขายตกต�่ำลงอย่างมาก ประกอบ กับต้องจัดการบริษทั ทีซ่ อื้ มาจากสหรัฐอเมริกา ในปี 2010 จึงท�ำให้สิ้นเดือนมีนาคม 2013 ต้ อ งประสบกั บ ภาวะขาดทุ น ในงบก� ำ ไร ขาดทุนรวม เป็นครั้งแรกในรอบ 8 ปี และ ยิ่งในเดือนมีนาคม ปี 2014 เป็นช่วงที่ก่อน จะขึ้นภาษีบริโภค จึงมียอดขายเพิ่มขึ้น แต่ ยอดขายรวมในประเทศยังเป็นเพียง 80% ของเมื่อ 10 ปีที่แล้ว และสภาพที่แท้จริง ที่หน้าร้านการขายในประเทศนั้น มีความ เลวร้ายกว่าตัวเลขขาดทุนเสียอีก
การเคลื่อนไหวที่เชื่องช้า จากการ ส�ำรวจของบริษัทในปี 2013 พบว่า ปัญหา การบริหารการขายภายในประเทศเริม่ ปรากฏ ให้เห็นชัดขึ้นมาเรื่อย ๆ จากรายงานท�ำให้ ผู้บริหารที่รับผิดชอบต้องปวดหัวอย่างมาก จากการประชุมผู้รับผิดชอบการขายที่บริษัท ขายในแต่ละภูมภิ าค พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการ ท�ำงานทีม่ าจากการชีแ้ นะ หรือค�ำสัง่ ทีม่ าจาก ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชาเท่ า นั้ น ความเห็ น ที่ ม าจาก ผู้ปฏิบัติหน้างานนั้นแทบจะไม่มีเลย จึงเกิด ช่องว่างระหว่างส�ำนักงานใหญ่กับหน้างานที่ ท�ำงานการขายอย่างไม่มคี วามรูส้ กึ เข้าใจ ช่อง ว่างนี้กว้างเกินกว่าการคาดคิดของผู้บริหาร การบิ ด เบี้ ย วขององค์ ก ารภายใน บริษทั มีผลกระทบถึงความสัมพันธ์กบั ร้านค้า อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้บริหารร้านค้าเครื่องส�ำอางบางแห่งถึงกับออกปากว่าส�ำนักงาน ของชิ เ ซโดนั้ น ยิ่ ง กว่ า ที่ ท� ำ การเขตเสี ย อี ก เป็นต้นว่า ได้ปรึกษาหารือว่าอยากจะแจก ตัวอย่างที่หน้าร้าน แบรนด์อื่นใช้เวลาเพียง สัปดาห์เดียว แต่ที่ชิเซโดใช้เวลาถึง 1 เดือน การตัดสินใจนั้นช้ากว่าที่ท�ำการเขตเสียอีก นอกจากนีจ้ ากเสียงผูร้ บั ผิดชอบเครือ่ งส�ำอาง ของร้าน Drug Store ที่มีสาขาทั่วประเทศ ก็ พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ถึงแม้ว่าจะได้เสนอ เรื่องการส่งเสริมการขายให้กับผู้รับผิดชอบ การขายของบริษัท แต่ก็ถูกปฏิเสธว่า “เรื่องนี้ ไม่ตรงกับนโยบายของบริษัทจึงท� ำไม่ได้” เป็นต้น
การปฏิรูปที่มาจากภายในบริษัท มีขีดจำ�กัด
ซิเซโด ก็ไม่ใช่วา่ ไม่ให้ความสนใจกับ ยอดขายที่ไม่ดีของธุรกิจภายในประเทศ ใน ช่วง President คนก่อน ๆ ก็มีการปฏิรูปเช่น เดียวกัน นั่นคือ ในปี 2005 ที่ มาเอดะ ขึ้นมา เป็น President มาเอดะพยายามเพิ่มความ มุง่ มัน่ ของหน้างานจึงได้ยกเลิกเป้าหมายขาย ของพนักงานขาย หรือพนักงานความงาม ส�ำหรับพนักงานความงามได้น�ำเอาระบบ ประเมินเข้ามาใช้ เช่น รายละเอียดการดูแล ลูกค้าต่าง ๆ พนักงานขายสามารถรักษา หรือ เพิ่มพื้นที่ขายในร้านค้าได้มากน้อยเพียงใด หรือว่ามีการจัดสัมมนาร้านค้า จ�ำนวนกี่ครั้ง
เป็นต้น การยกเลิกเป้าหมายมีอกี จุดมุง่ หมาย หนึง่ คือ การก�ำจัด “สต็อกส่วนเกิน” ทีเ่ ปรียบเสมือนมะเร็งร้าย เพราะการท�ำเป้าหมาย ท�ำให้ในทุก ๆ ครัง้ ทีจ่ ะปิดงบการขาย พนักงาน ขาย หรือฝ่ายขาย จะยัดเยียดสินค้าให้กับ ร้านค้า ท�ำให้สต็อกส่วนเกินเกิดขึ้น ในขณะเดียวกันการปฏิรูปที่มาเอดะ ด�ำเนินการ คือ การลดแบรนด์ที่เพิ่มมากจน เกินไปให้ลดน้อยลง แล้วหันมาใช้กลยุทธ์ “Mega Brand” ที่ ร วมศู น ย์ ค ่ า ใช้ จ ่ า ยการ โฆษณาประชาสัมพันธ์ เป็นต้นว่า ในปี 2006 ได้วางจ�ำหน่าย Hair Care Product ชื่อ แบรนด์ “Tsubaki” โดยใช้ดาราภาพยนตร์เป็น
พรีเซนเตอร์ทมุ่ งบประมาณส่งเสริมการขายที่ สูงสุดเป็นประวัติการณ์ ถึง 5,000 ล้านเยน กลยุทธ์ Mega Brand เป็นการตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงของช่องทางการขาย นั่นก็คือ ในปี 2003 ยอดขายของร้านค้าเครื่องส�ำอาง มี 35% แต่ผ่านมา 10 ปี ลดลงเหลือเพียง 20% ยอดขายที่เติบโตขึ้นมาแทนก็คือ Drug Store ซึง่ การแข่งขันกับคาโอ หรือ P&G ให้ได้ ในช่องทางเช่นนี้ กลยุทธ์ Selection and Concentration จึงเป็นกลยุทธ์ที่ขาดไม่ได้ ยอดขายของ Tsubaki ในปีแรกที่ วางจ�ำหน่ายนัน้ เป้าหมายขายทัง้ ปีที่ 10,000 ล้านเยน สามารถบรรลุเป้าหมายโดยใช้เวลา เพียงครึง่ ปีเท่านัน้ แต่ในปีตอ่ มายอดขายก็เริม่ ตก ทั้งนี้เพราะว่ารสนิยมของผู้บริโภคมีความ หลากหลาย ผลลัพธ์จาก Mass Advertising จึงไม่ยืนยาว ทั้งนี้เพราะว่ายังขาดกลยุทธ์ที่ว่าจะ
สร้ า งแบรนด์ ที่ เ ลื อ กสรรนั้ น ให้ เ ติ บ โตได้ อย่างไร บริษัทจะสร้างความแข็งแกร่งของ แบรนด์ได้อย่างไร สิ่งที่บริษัทท�ำคือ การใช้ แบรนด์ชิเซโด ไม่เพียงแต่สินค้าเครื่องส�ำอาง เท่านั้น แต่สินค้าแชมพูก็ยังใช้แบรนด์และ โลโก้ (ตราสัญลักษณ์) เดียวกันอีกด้วย ท�ำให้ ความรู้สึกว่าเป็นสินค้าระดับสูง (high class image) ลดลง ท�ำให้ Brand Power ของ ชิเซโดลดน้อยถอยลง ผู้บริหารสรุปว่าถ้าจะ เอา Tsubaki เป็น Mega Brand ก็น่าจะน�ำ โลโก้ชิเซโดออก อย่างไรก็ตาม ก็ยงั ไม่สามารถสรุปได้ ว่า จะน�ำแบรนด์ไหนไปขายในช่องทางไหน ทางด้านคูแ่ ข่งอย่างโคเซ่ สินค้าระดับสูงอย่าง แบรนด์ “อัลเปี้ยน” จะไม่วางขายตาม Drug Store จะขายเฉพาะร้านขายเครื่องส�ำอาง เท่านัน้ แต่ทางด้านชิเซโดกลับวางสินค้าระดับ สูงในร้านซุปเปอร์มาร์เก็ตอีกด้วย คือ การวาง สินค้าแบรนด์เดียวกันในหลาย ๆ ช่องทาง ซึ่ง เป็นต้นเหตุให้ Brand Power ลดต�่ำลง การคาดการณ์ที่จะลดสต็อกก็ผิดเพี้ยนไป ถึงแม้ว่าฝ่ายขายจะไม่มีเป้าหมาย ควบคุมก็ตาม แต่บริษัทขายก็ยังมีเป้าหมาย ขายอยู ่ สภาพการณ์ จึ ง ไม่ เ ปลี่ ย นแปลง พนักงานขายก็ยงั ต้องไปขอร้องให้รา้ นค้าช่วย รับสต็อกในปลายงวดอยู่เหมือนเดิม การปฏิรูป “จากภายใน” ไม่สามารถ สะท้อนสภาพที่แท้จริงของหน้างาน หรือร้าน ค้าแต่อย่างใด มาเอดะจึงต้องขอลงจากเก้าอี้ ส่งมอบให้ซึเอกาว่า เพื่อฟื้นสภาพการขาย ภายในประเทศอีกครั้งหนึ่ง แต่ซึเอกาว่าก็อยู่ ได้เพียง 2 ปีเท่านั้น มาเอดะ ต้องกลับมาอีก ครั้งในปี 2013 เพื่อปรับทิศทางใหม่ และเน้น ปัญหาความเข้มงวดเรื่องสต็อก นั่นคือ การ ยกเลิกการตั้งงบประมาณของบริษัทขาย แต่ ดู จ ากแผนการขายของหน้ า ร้ า นเป็ น หลั ก เพราะหากไม่ มี ง บประมาณของผู ้ จั ด การ บริษทั ขายแล้ว ก็ไม่มเี หตุผลในการเพิม่ สต็อก ให้ ม ากขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น ก็ มุ ่ ง ที่ จ ะเพิ่ ม ยอดขายทีห่ น้าร้านไปพร้อมกับร้านค้า นัน่ คือ การสร้างความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันมากขึ้น ระหว่างร้านค้ากับบริษทั ดังนัน้ จึงต้องส่งมอบ หน้าทีก่ ารฟืน้ สภาพอย่างจริงจังให้กบั อุโอะทานิ
Vol.21 No.208 March-April 2015
Marketing & Branding
49
Marketing & Branding
Vol.21 No.208 March-April 2015
บุคคลที่อยู่เบื้องบน
50
อุโอะทานิ เริม่ ต้นจากการสร้างความ คุ้นเคยและความเชื่อมั่นกับพนักงานในฝ่าย ต่าง ๆ เพื่อลดช่องว่างระหว่างส�ำนักงานใหญ่ กับที่หน้างานการขาย นั่นคือ จุดส�ำ คัญที่ อุโอะทานิมองเห็นเมื่อครั้งเป็นที่ปรึกษา และ มองเห็นว่าปัญหาใหญ่สดุ ของบริษทั คือ “การ ที่ไม่สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลง ของพฤติกรรมการซือ้ ของตลาด หรือผูบ้ ริโภค” นัน่ เอง ซึง่ มาจากทีว่ า่ ฝ่ายขายทีค่ วรจะอยูใ่ กล้ กับผูบ้ ริโภคมากทีส่ ดุ ไม่ได้มกี ารประสานงาน อย่างใกล้ชิดกับฝ่ายวางแผนผลิตภัณฑ์หรือ การตลาด คติพจน์ของอุโอะทานิ คือ “การ ตลาดก็คอื การบริหารธุรกิจ” ปรัชญาของการ ตลาด ก็ คื อ การบู ร ณาการเป็ น หนึ่ ง เดี ย ว ทางการบริหารตั้งแต่การวิจัยพัฒนา การ ออกแบบสินค้า จนถึงการบริหารการขายและ บริหารหน้าร้าน ซึง่ เป็นปรัชญาทีเ่ ชือ่ มัน่ ตัง้ แต่ ในยุคที่อยู่ Coca Cola Japan โดยจะน�ำมา ใช้กับชิเซโด ดังนั้น สิ่งที่ต้องปฏิรูป คือ การ ท�ำลาย การบริหารการขายของหน้างานที่ คุ้นเคยกับการรอรับค�ำสั่งเท่านั้น ในการเยีย่ มบริษทั ขายในภาคตะวันออกของญีป่ นุ่ ได้รบั การร้องเรียนจากพนักงาน ขายรุ่นใหม่ว่า ชิเซโดมีสินค้าที่ดีอยู่มากมาย แต่เดี๋ยวนี้การตลาดไม่สามารถสื่อสารสิ่งที่ดี ไปให้แก่ลูกค้าได้ ซึ่งอุโอะทานิเห็นด้วย จึงสั่ง การให้ส่งรายงานปัญหาต่าง ๆ มาทันที การ บริหารการขายทีต่ อ้ งสัมพันธ์กบั ลูกค้าจะต้อง เป็นหลักของการตลาด การเคลื่อนไหวของอุโอะทานิเริ่มมี ความเคลื่อนไหวที่ดีจากหน้างานทีละเล็กละ น้ อ ย ในการประชุ ม นโยบายแบรนด์ ไ ด้ มี กลยุทธ์ที่เป็นรูปธรรมจากผู้รับผิดชอบการ ตลาดว่า “ในช่องทางนี้ยังอ่อนแอกว่าคู่แข่ง อย่างอัลเปี้ยนจึงจะด�ำเนินกลยุทธ์ทางการ ตลาดเพือ่ เอาชนะให้ได้” ทีผ่ า่ นมามีแต่คำ� สัง่ ว่า “ได้ผลิตสินค้าทีด่ ไี ว้ให้แล้ว จงเอาไปขาย” สถานการณ์เริม่ เปลีย่ นไป ความเห็นจากฝ่าย ขาย พนักงานขาย เริ่มมีมากขึ้น หน้างานการ ขายเริ่มมีบทบาทในการฟื้น Brand Power ผูร้ บั ผิดชอบทางด้านการตลาดก่อนวางสินค้า ใหม่ต้องออกไปสอบถามความเห็นพนักงาน
ความงามหลาย ๆ ครัง้ รับฟังความคิดเห็นจาก พนักงานความงามที่สัมผัสกับลูกค้าโดยตรง มากขึ้น สินค้าแบรนด์ใหม่ที่จะวางจ�ำหน่าย ปลายปี 2014 ได้มีการพิจารณาว่า หากไม่ใช่ สินค้าเครื่องส�ำอางจะไม่ให้น�ำเอาโลโก้ของ ชิเซโดมาใช้ ความเห็นของอุโอะทานิ เห็นว่า ปัญหาส�ำคัญของบริษทั คือ สินค้าทุกอย่างใส่ โลโก้ของชิเซโดทั้งหมด ในช่วงที่มีแต่สินค้า เครือ่ งส�ำอาง ชือ่ บริษทั กับชือ่ แบรนด์เป็นหนึง่ เดียวกัน แต่ระยะหลังสินค้า Toiletry เช่น แชมพู ก็ใช้แบรนด์หรือโลโก้เดียวกัน ท�ำให้ คุณค่าของแบรนด์ (brand value) ของชิเซโด กระจายตัวออกไป จึงต้องหันมาให้ความ เข้มงวดและชัดเจนกับการใช้แบรนด์หรือโลโก้ ให้ ม ากขึ้ น ในการฟื ้ น สภาพธุ ร กิ จ ภายใน ประเทศจะต้องมีการทบทวนจากมุมมองของ ลูกค้าทั้งหมด ไม่ว่าเป็นเรื่องขององค์การ หรือบรรจุภัณฑ์ของสินค้า ปัจจุบันองค์การ ที่ ท� ำ การขายมี อ ยู ่ ห ลากหลายตามจ� ำ นวน สินค้าที่มีมากมาย เช่น Toiletry ซึ่งหากท�ำให้ ผู้บริโภคสับสน ก็คงต้องมีการเปลี่ยนแปลง ทางด้านบรรจุภัณฑ์ก็เช่นเดียวกัน ต้องท�ำให้ สามารถทีจ่ ะขายตัวมันเองได้โดยไม่ตอ้ งมีคน อธิบาย ทางด้านการบริหารการส่งเสริมการ ขายก็ ต ้ อ งแก้ ไ ขปั ญ หาความต้ อ งการของ ร้านค้าที่ต้องการให้มีของแถม หรือจัด Event ให้สามารถตัดสินใจได้ในเวลาที่รวดเร็ว โดย มีการแบ่งหน้าที่ให้ชัดเจน โดยเฉพาะ Brand Manager จะดูแลทั้งหมดของแบรนด์ รวมทั้งการรับผิดชอบในเรื่องก�ำไรขาดทุนของ แบรนด์ด้วย ทางด้ า นอั ต ราส่ ว นการขายที่ ต ้ อ ง พึ่งพาธุรกิจในต่างประเทศมากกว่า 50% ก็
ต้องสร้างเสริมแบรนด์ให้มีความแข็งแกร่ง มากขึน้ การลงทุนท�ำแบรนด์หนึง่ ขึน้ มาก็ตอ้ ง ขยายผลผลิตภัณฑ์ใหม่ให้สามารถเข้าขายใน ทัว่ ทุกประเทศให้ได้ ในขณะเดียวกันจะต้องมี การสร้างแบรนด์ให้เหมาะสมทีส่ ดุ สอดคล้อง กับพืน้ ที่ ภูมภิ าคนัน้ ๆ การเสริมสร้างบุคลากร จึงเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญ การสร้าง Localization โดย มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ให้สอดคล้องกับ ภูมิภาค โดยที่ยังรักษาคุณค่าของแบรนด์นั้น อยู่ก็เป็นเรื่องที่ส�ำคัญ นั่นคือ การผสมผสาน ค�ำว่า “Think Global, Act Local” ไปใช้ใน กลยุทธ์นั่นเอง อย่างไรก็ตาม ยุทธศาสตร์ทางการ บริหารของอุโอะทานิจะประสบผลส�ำเร็จหรือ ไม่นั้นยังเป็นปัญหา ที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงระบบโครงสร้างการบริหารของชิเซโด บ่อยครั้ง แต่ผ่านไปเพียงไม่กี่ปีก็กลับคืนสู่ สภาพเดิม สาเหตุหนึ่งอาจจะมาจากวัฒนธรรมองค์การทีเ่ กรงกลัวต่อความผิดพลาด แต่ ที่ส�ำคัญ การที่จะเปลี่ยนแปลงองค์การที่มี ความเข้มแข็งเช่นนี้ ไม่ใช่เป็นเรื่องที่ง่าย อีก ด้านหนึ่ง ในช่วงนี้ผู้รับผิดชอบดูแลแบรนด์ โดยรวมเริ่มทยอยเกษียณอายุไป แต่จาก มุมมองของร้านค้าที่เป็นลูกค้าเห็นว่าถ้าไม่ เปลี่ยนเวลานี้ ก็คงจะหมดโอกาสแล้ว ความ คาดหวังต่ออุโอะทานิจึงมีสูง หากไม่สร้างในประเทศให้เป็นฐานที่ แข็งแกร่ง การลงทุนจะพึง่ พาเพียงตลาดต่างประเทศก็คงจะอยูไ่ ม่ได้ ดังนัน้ หัวเลี้ยวหัวต่อ ของบริษทั ก็คอื การไม่ลงั เลในการด�ำเนินการ ปฏิรูป โดยให้คนที่มาจากภายนอกเป็นผู้ด�ำเนินการ จะท�ำได้จริงหรือไม่ เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ ง ทดสอบกันพอสมควร
▼ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างช่องทางการจำ�หน่ายที่สำ�คัญของตลาดเครื่องสำ�อาง
(เปรียบเทียบยอดขายแยกตามช่องทาง) ช่วง 10 ปี (หน่วย %) ปี 2003 2013
ร้านเฉพาะ เครื่องสำ�อาง 35 20
Drug Store 30 45
ซุปเปอร์มาร์เก็ต ขนาดใหญ่ 15 15
ห้างสรรพสินค้า
อื่น ๆ
10 10
10 10
Q
Marketing & Branding for
AEC
uality
ดร.ธเนศ ศิริกิจ
ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาการวางแผนกลยุทธ์การตลาด อาจารย์ในระดับปริญญาโทหลายสถาบัน นักวิชาการ และวิทยากรทั้งภาครัฐและเอกชน Email : s_thaneth @yahoo.com
กับกลยุทธ์ธุรกิจ ที่ต้องเตรียมความพร้อม
วัน
นี้เราคงไม่ต้องถามว่าอะไรคือ AEC และก�ำลังจะเกิดอะไร คงจะต้องมาดูกันเลย อะไรที่จะเป็นธุรกิจที่น่าจะเป็นสิ่งที่ ส� ำ คั ญ เมื่ อ เกิ ด ASEAN Community แบบเต็ ม รู ป แบบ แน่ น อน ส�ำหรับวันนี้และขณะนี้คงมองได้เลยว่าธุรกิจที่มาแรงเมื่อเปิดเขต เศรษฐกิจการค้า 1. ธุรกิจท่องเทีย่ ว+ผลิตภัณฑ์ประจ�ำท้องถิน่ ท�ำไมถึงมองว่า เป็นธุรกิจท่องเทีย่ ว+ผลิตภัณฑ์ประจ�ำท้องถิน่ การท่องเทีย่ วในปัจจุบนั นั้นคงไม่ใช่การท่องเที่ยวอย่างเดียว แต่ผู้ที่มาท่องเที่ยวต้องการ ประสบการณ์และสัญลักษณ์กลับไปเพื่อเก็บความทรงจ�ำนอกจาก ภาพถ่ายรูปต่าง ๆ ดังนั้น นอกจากธุรกิจท่องเที่ยวแล้ว ของฝากประจ�ำ ท้องถิ่นจึงเป็นสิ่งที่ต้องมาควบคู่กับการท่องเที่ยว ดังนัน้ ธุรกิจท่องเทีย่ วจะเข้าไปรวมกับการสร้าง Story เรือ่ งราว ต่าง ๆ ที่ได้สัมผัสด้วยการท่องเที่ยว นอกจากจะต้องตอบโจทย์ใน เรือ่ งการได้สมั ผัสสถานทีต่ า่ ง ๆ แล้ว การได้มขี องฝากสัญลักษณ์ทเี่ ป็น สินค้าประจ�ำท้องถิ่นก็จะเป็นการสร้างความทรงจ�ำได้ดี และถ้าสินค้า ประจ�ำท้องถิ่นนั้นสามารถสร้าง Brand ได้ดี เช่น เป็นสินค้าที่แตกต่าง และสะท้อนให้เห็นความเป็นเอกลักษณ์กย็ งิ่ ท�ำให้เกิดกระแสได้ดี และ ต่อยอดให้เกิดวัฒนธรรมทางเศรษฐกิจ (economics culture) คงถึงเวลาที่สินค้าไทยจะสร้างวัฒนธรรมทางเศรษฐกิจได้ดี
คงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ เนื่องจากความเด่นในเรื่องฝีมือของคนไทย และ ชื่อเสียงด้านพืช ผัก ผลไม้ไทย หรือการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 2. ธุรกิจโรงแรม ที่พัก ธุรกิจโรงแรม ที่พัก ไม่ใช่เพียงแค่ โรงแรมหรือรีสอร์ทอย่างเดียว แต่รวมถึงบ้านพักตากอากาศ Homestay ซึ่งคงต้องเริ่มพัฒนาระบบบริการให้เป็นมาตรฐานทั้งการบริการและ บุคลากร แน่นอน จะเชื่อมโยงไปกับอาหารซึ่งเป็นสิ่งที่ไทยได้เปรียบใน เรื่องลักษณะ Service Mind และความเป็นไทย เนื่องจากเป็นธุรกิจ บริการ ความเชื่อมั่นเชื่อถือเกิดจากตัวบุคลากรที่ให้บริการนั่นเอง ธุรกิจโรงแรมนั้นจะรองรับกลุ่มที่ต้องการมาพักอาศัยในระยะ ยาว เนือ่ งจากในอนาคตจะเกิดยุค Aging Society คือ สังคมผูส้ งู วัย ใน แถบ Asean เพราะวิวัฒนาการทางการแพทย์ท�ำให้อายุยืน ดังนั้น อีก ไม่กี่ปีจะเกิดสังคมผู้สูงวัย ผู้สูงอายุจึงมองหาที่พักราคาไม่แพง ซึ่งเป็น สิ่งที่ไทยได้เปรียบ นั่นเพราะความโดดเด่นด้านสถานที่และราคา 3. ธุรกิจคมนาคมขนส่ง แน่นอน การเดินทางไปมาหาสู่กัน เมื่อง่ายมากขึ้น ธุรกิจคมนาคมจึงเป็นสิ่งที่จะเกิดขึ้นต่อไป การไปมา หาสู่ง่ายขึ้น ซึ่งการคมนาคมของไทยค่อนข้างมีหลายวิธีให้เลือกและ for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
51
Marketing & Branding
Vol.21 No.208 March-April 2015
สะดวก นี่ก็เป็นอีกเหตุผลที่ท�ำให้เป็นแม่เหล็กดึงดูดได้ การเตรียมความพร้อมการคมนาคม ไม่เพียงแต่การคมนาคม อย่างเดียว แต่ยงั หมายถึงความปลอดภัย อุบตั เิ หตุ และอาชญากรรม ด้วย และธุรกิจทีร่ องรับต่อระบบขนส่งทีจ่ ะเข้ามาก็คอื อุตสาหกรรม รถยนต์ ชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ อะไหล่ ช่างฝีมือ อู่ซ่อม ศูนย์บริการ ศูนย์ซ่อมก็จะเป็นธุรกิจที่รองรับต่อมา
52
4. ธุรกิจอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือประกอบอาชีพ ต่างๆ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องมือการเกษตร สิ่งเหล่านี้ในแถบ ประเทศเพื่อนบ้านเรายังมีความต้องการเป็นอย่างมาก เนื่องจาก ลักษณะการด�ำรงชีวิตคล้ายคลึงกับไทย โดยเฉพาะกลุ่ม CLMV (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนม่าร์ เวียดนาม) ดังนัน้ ความต้องการเครือ่ งมือประกอบอาชีพจึงเป็นสิง่ จ�ำเป็น ในการด�ำรงชีพ ความโดดเด่นของไทยในเรื่องของเครื่องมือต่าง ๆ ทางการเกษตรก็มีอยู่มากมาย 5. ธุรกิจการแพทย์พยาบาล เมื่อมีการเดินทางเข้ามา ความ เจ็บป่วยเป็นสิ่งที่เลี่ยงไม่ได้ ซึ่งไทยเป็นประเทศที่เรื่องการแพทย์นั้น ค่อนข้างมีราคาไม่แพง และแพทย์มคี วามเชีย่ วชาญ แต่สงิ่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ เมือ่ เปิดการค้าเศรษฐกิจก็คอื โรคติดต่ออาจเกิดขึน้ ได้งา่ ย ทัง้ นีร้ ฐั บาล จะต้องมีระบบควบคุมดูแลตรวจสอบและเพิ่มงบประมาณด้านความ ช่วยเหลือการแพทย์และพยาบาล นี่คงเป็นแนวทางคร่าว ๆ เพื่อให้เกิดการสะท้อนให้เห็น แต่ ที่ส�ำคัญอยากฝากไว้ คือ ต้องให้เกิดความเชื่อมั่น ไม่ว่าสินค้าหรือ ภาพลักษณ์ ธุรกิจเมื่อมีโอกาสแล้วต้องพยายามหากลยุทธ์เพื่อไม่ให้ โอกาสนั้นหลุดลอยไป
Q
Marketing & Branding for
uality
Rebranding
ตอนที่
3
เคล็ดไม่ลับปรับแบรนด์ ให้เจ๋ง การ
ศึกษาวิจัยเรื่องกลยุทธ์การ Rebranding ทีมนักศึกษา ปริ ญ ญาโทสาขาการตลาดของวิ ท ยาลั ย การจั ด การ มหาวิทยาลัยมหิดลได้ลงพื้นที่ไปเก็บข้อมูล โดยมีการคัดเลือกกรณี ศึกษาของบริษัทต่าง ๆ ที่ได้มีการน�ำกลยุทธ์ Rebranding มาใช้ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น ลูกอมโบตัน และธนาคารกรุงศรีอยุธยา ดังที่ได้ น�ำเสนอไปในตอนก่อนหน้านี้ ยังมีอีกกรณีศึกษาหนึ่งที่น่าสนใจ คือ บาร์บีคิว พลาซ่า ซึ่ง คุณนิติ บัวศรี ได้เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ผูป้ ระกอบการ และร่วมกับทีมวิจยั ซึง่ ประกอบด้วย คุณปัญจมา รัชตนันทิ คุณภัทรพล นวลใย คุณมนิสรา โตวิทยา คุณกิตติศักดิ์ เฮงเจริญ คุณยศวัฒน์ จิรพรธนวิทย์ คุณนที ไทยเมืองทอง คุณปรินทร์ญาดา ด่านอภิรักษ์สกุล คุณปิยะดา อารียาพันธุ์ และ คุณปิยะนุช โสภาสิณ ในการส�ำรวจความคิดเห็นของลูกค้าจ�ำนวน 200 คน และการท�ำ Focus Group กับลูกค้า 30 คน พบกลยุทธ์การ Rebranding ที่น่าสนใจดังนี้
กำ�เนิดบาร์บีคิว พลาซ่า
จุดเริ่มต้นของบาร์บีคิว พลาซ่า เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ.2530 โดย คุณชูพงศ์ ชูพจน์เจริญ ได้ประยุกต์มาจากบาร์บีคิวสไตล์ญี่ปุ่นที่เคย โด่งดังในอดีต บาร์บีคิว พลาซ่าเป็นร้านอาหารสไตล์ปิ้งย่างแนว มองโกเลียผสมสไตล์ญี่ปุ่น เป็นร้านอาหารของคนไทยที่เป็นผู้น�ำธุรกิจ อาหารประเภท Self Cooking ได้ดำ� เนินการเปิดสาขาแรกที่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลลาดพร้าว ด้วยวัตถุดิบที่มีคุณภาพและน�้ำจิ้มที่เป็น เอกลักษณ์เฉพาะตัว ท�ำให้บาร์บีคิว พลาซ่าได้รับความนิยมมาจน ปัจจุบนั โดยขณะนีเ้ ปิดบริการ 90 สาขา ในไทยและ 7 สาขาในมาเลเซีย แม้จะวางต�ำแหน่งทางการตลาด (positioning) ของตัวเอง แตกต่างกับอาหารปิง้ ย่างสไตล์ญปี่ นุ่ และเกาหลีทมี่ อี ยูใ่ นตลาด แต่เมือ่ มีร้านอาหารในห้างสรรพสินค้าเกิดขึ้นมากมาย ผู้บริโภคมีทางเลือก หลากหลายมากขึ้น “บาร์บีคิว พลาซ่า” จึงต้องปรับภาพลักษณ์ของ for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
53
Marketing & Branding
แบรนด์ จากเดิมที่มีภาพลักษณ์นิ่ง เงียบ ไม่น่าสนใจ ไม่มีอะไรแปลก ใหม่ และมีกิจกรรมร่วมกับลูกค้าน้อย จึงน�ำไปสู่การท�ำให้แบรนด์ “บาร์บีคิว พลาซ่า” ให้ดูสดใสและมีชีวิตชีวาในที่สุด
จุดเริ่มต้นของการทำ� Rebranding
เริ่มต้นที่ทาง บริษัท บาร์บีคิว พลาซ่า ได้ส�ำรวจตัวเองและ พบว่า Business Life Cycle ของธุรกิจได้มาถึงจุด Maturity Stage และก�ำลังเข้าสู่ Decline Stage โดยบริษัทได้สังเกตจากยอดขาย พบว่า ยอดขายของบริษัทมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง แต่การเติบโต
จะไม่สูงมากเหมือนอยู่ในภาวะ Growth Stage ประเด็นที่สอง คือ กลุ่มลูกค้าของบาร์บีคิว พลาซ่า คือ กลุ่ม ครอบครัวเป็นหลัก ซึ่งลูกค้ากลุ่มนี้เติบโตมาพร้อมแบรนด์บาร์บีคิว พลาซ่า โดยลูกค้ากลุ่มนี้รับประทานมาตั้งแต่สมัยเป็นนักศึกษา ลูกค้า กลุม่ นีเ้ ติบโตมามีครอบครัว ความถีใ่ นการรับประทานบาร์บคี วิ พลาซ่า ก็ลดลง ขณะเดียวกันลูกค้ากลุ่มใหม่ที่เกิดขึ้น เช่น คนท�ำงานและ กลุ่มวัยรุ่นที่มีก�ำลังซื้อเติบโตมากขึ้นกลายมาเป็นกลุ่มลูกค้าหลักที่ใช้ ชีวิตในห้างสรรพสินค้า ทั้งชอปปิ้ง รับประทานอาหาร ซึ่งร้านอาหาร บาร์บีคิวพลาซ่า ส่วนใหญ่ก็จะอยู่ในห้างสรรพสินค้าด้วยเช่นกัน ประเด็นที่สาม ในแง่ผลิตภัณฑ์ (product) ของบาร์บีคิว พลาซ่า มองว่าถึงแม้บริษทั จะมีจดุ แข็งในเรือ่ งปิง้ -ย่าง ซึง่ เป็นแบบฉบับ ของตนเอง ซึ่งไม่เหมือนแบรนด์อื่น แต่ถ้าบริษัทอิงที่ตัวผลิตภัณฑ์ (product) อย่างเดียว โดยไม่ได้ท�ำแบรนด์ บริษทั อาจถูกลอกเลียนแบบ ผลิตภัณฑ์ได้ง่าย
Vol.21 No.208 March-April 2015
วิสัยทัศน์สู่การลงมือปฏิบัติ
54
บริษทั บาร์บคี วิ พลาซ่า มีวสิ ยั ทัศน์ทชี่ ดั เจนว่าอยากเป็น Top of Mind และ Top of Heart ซึง่ เป็นความตัง้ ใจของบริษทั ทีจ่ ะอยูใ่ นการ จดจ�ำของลูกค้าและอยู่ในใจลูกค้า ในขณะเดียวกันด้านมุม Top of Mind ส่วนใหญ่ลกู ค้าเดิมจะนึกถึงอยูแ่ ล้ว แต่ในมุมมองลูกค้าใหม่ตอ้ ง ท�ำให้ลูกค้ารู้จักและนึกถึงและรับประทานบาร์บีคิว พลาซ่า สุดท้าย ด้าน Top of Mind ก็จะแปลงเป็นยอดขาย และทางบริษทั มองว่ามีเพียง แค่ Top of Mind ยังไม่เพียงพอ แต่ต้องเป็น Top of Heart ด้วยเพื่อ สร้างความรักความผูกพันให้เกิดในใจลูกค้า เกิดความจงรักภักดีต่อ แบรนด์ (brand loyalty) ซึง่ จะก่อให้เกิดความยัง่ ยืนกับแบรนด์ในทีส่ ดุ บริษัทได้เริ่ม Rebranding โดยท�ำการสัมภาษณ์กลุ่ม (focus
Marketing & Branding ส่วนร่วมกับกิจกรรมของแบรนด์ด้วย และตัวชี้วัดที่เรียกว่า Talking about This มีการเติบโต 129% ส�ำหรับการปรับโฉม บาร์บีกอน มีการสื่อสารผ่านการโฆษณา ทางโทรทัศน์ว่าเสี่ยเส็งขโมยบาร์บีกอนไปและมาเฉลยว่าเป็นการ ปรับโฉมเป็นบาร์บีกอนที่ดูสดใส ซึ่งการปรับโฉมนี้ให้คุณ Masako Okamura และ Yosuke Kojima ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านคาแรกเตอร์ ของเดนท์สุ โตเกียว ส�ำหรับบาร์บีกอนไม่เพียงแต่เป็นทรัพย์สินของ บริษัทแต่ยังเป็น Brand Ambassador ของแบรนด์บาร์บีคิว พลาซ่า และการที่บาร์บีคิว พลาซ่าเป็นคาแรกเตอร์ ท�ำให้ง่ายในการสื่อสาร กับลูกค้าและลูกค้าจับต้องแบรนด์ได้อย่างเป็นรูปธรรม การปรับโฉม บาร์บีกอนครั้งนี้ ท�ำให้บาร์บีกอนดูเข้าถึงง่าย น่ารัก ดูเด็กลง และ เป็นมิตร
การใช้ CBBE Model วิเคราห์บาร์บีคิวพลาซ่า
จากข้อมูลทีไ่ ด้จากการวิจยั เชิงปริมาณแบรนด์บาร์บคี วิ พลาซ่า จะพบว่า หลังจากที่บาร์บีคิวพลาซ่าได้ทำ� Rebranding ไปแล้ว และ พบว่าบาร์บคี วิ พลาซ่ากลายมาเป็นแบรนด์แรกทีล่ กู ค้านึกถึงและจดจ�ำ ได้หากเอ่ยถึงอาหารปิ้งย่างสูงถึง 35% ซึ่งเป็นอันดับ 1 หากเทียบกับ แบรนด์ในกลุ่มเดียวกัน ทางด้านภาพลักษณ์ที่ลูกค้ารับรู้ก็คือ ภาพลักษณ์ที่ดูบ้าน ๆ เข้าถึงได้ง่ายและร่าเริง ซึ่งเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับแบรนด์ร้านอาหาร
ปัญหาและอุปสรรคในการ Rebranding
1. การเลือกแนวทางการท�ำกิจกรรมการตลาด การมีขอ้ มูลที่ มากเกินไปและเชื่อข้อมูลจากแหล่งใดแหล่งหนึ่ง ท�ำให้ไม่กล้าเป็น แบรนด์ที่แตกต่างและโดดเด่น แต่การที่เป็นแบรนด์ที่แตกต่างและ โดดเด่นนัน้ ต้องมีขอ้ มูลมารองรับและต้องสามารถรับความเสีย่ งได้ดว้ ย
Vol.21 No.208 March-April 2015
group) เพื่อสอบถามว่าลูกค้ามีความรู้สึกอย่างไรกับแบรนด์บาร์บีคิว พลาซ่า โดยลูกค้าส่วนมากจะมองบาร์บีคิว พลาซ่าเป็นคนที่ใจดี นิ่ง ๆ เรียบ ๆ ง่าย ๆ เรื่อย ๆ ซึ่งมีมุมมองที่ดีอยู่ แต่อาจจะไม่มีความสดใส แปลกใหม่พอทีจ่ ะแข่งขันกับแบรนด์ใหม่ ๆ นอกจากท�ำการสัมภาษณ์ กลุ่มแล้วยังมีการให้พนักงานลงพื้นที่จริง ๆ เพื่อให้เห็นว่าลูกค้าเรา คือใคร สามารถท�ำอะไรเพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้บา้ ง เพื่อให้พนักงานท�ำกิจกรรมการตลาดได้ตรงจุด นอกจากสอบถามความคิ ด เห็ น ของผู ้ บ ริ โ ภค ทางบริ ษั ท บาร์บคี วิ พลาซ่ายังมีการวางต�ำแหน่งทางการตลาดในอนาคตว่าลูกค้า หลักในอนาคตคือกลุ่มครอบครัวและกลุ่มวัยรุ่น โดยวางภาพลักษณ์ ของแบรนด์วา่ เป็นแบรนด์ทสี่ ดใส ทันสมัย เป็นร้านอาหารทีม่ เี สียงเฮฮา ของกลุ่มเพื่อน การ Rebranding ของบริษัท บาร์บีคิว พลาซ่า ได้เริ่มจากการ ปรับเปลีย่ นโลโก้บาร์บคี วิ พลาซ่าให้ทนั สมัย ใช้สที เี่ ป็น Identity ชัดเจน คือ สีเขียว รวมถึงยังมีการปรับเปลีย่ นจานชามให้ดู Premium บวกด้วย ฟังก์ชั่นการใช้งานที่ดีขึ้น คือ จานชามที่เป็นแบบ Stackable สามารถ ซ้อนกัน ประกอบกันได้ และจานชามเป็นแบบโมดูลาร์ ซึ่งท�ำให้ไม่ เกะกะบนโต๊ะอาหารและพนักงานเสิร์ฟได้ง่ายขึ้น นอกจากนั้นในด้านของการสื่อสารการตลาดได้มีการปรับ Tone and Voice ให้ออกมาทันสมัย มีความเป็นวัยรุ่น ตอบโจทย์กลุ่ม วัยรุ่นและครอบครัว ออกมาเป็นโฆษณาและกิจกรรมการตลาดต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น ล่าไข่บาร์บีกอน กินอย่างเต๋อ การ แจกสติ๊กเกอร์ Line Sticker เมื่อสั่งอาหารชุดบาร์บีกอน การสือ่ สารผ่าน Social Media สือ่ สารไปยังลูกค้ากลุม่ Young Adult มากขึน้ เช่น Facebook, Instaram, YouTube โดยใน Facebook แฟนเพจมีการเติบโตถึง 155% และเป็นแฟนเพจที่มีคุณภาพ คือ มี
55
Marketing & Branding 2. การสื่อสารภายในองค์การ พนักงานทุกคนในองค์กรต้อง รับรู้ว่ามีการ Rebranding เพื่อที่จะได้ไม่ท�ำคนละทิศละทาง ต้องบอก พนักงานว่า สถานการณ์ตอนนี้เป็นอย่างไร พฤติกรรมผู้บริโภคตอนนี้ เป็นอย่างไร จะท�ำการ Rebranding อย่างไรและไปทิศทางไหน ต้องมี การสื่อสารภายในองค์กรที่ชัดเจนตลอดเวลา เพื่อให้พนักงานทุกคน เข้าใจ มีส่วนร่วม และด�ำเนินไปในทิศทางเดียวกัน ทุกฝ่าย ทุกแผนก ขององค์กร
Key Success ของการทำ� Rebranding
Vol.21 No.208 March-April 2015
ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ คุณชาตยา ชูพจน์เจริญ พบว่า ปัจจัยที่จะท�ำให้การรีแบรนด์ประสบความส�ำเร็จ ได้แก่ 1. Teamwork เนื่ อ งจากที ม งานที่ ท� ำ การ Rebranding บาร์บีคิว พลาซ่า มาจากหลายฝ่าย ท�ำให้เกิดการรวมประสบการณ์ จากหลายฝ่ายเข้าด้วยกัน ร่วมช่วยกันคิดทุกฝ่ายท�ำให้ช่วยแก้ไขจุด บกพร่องทีม่ ี จึงจะท�ำให้การ Rebrand ประสบความส�ำเร็จ รวมทัง้ ต้อง มีการสือ่ สารภายในองค์การด้วย เพือ่ ให้การรีแบรนด์เป็นไปในทิศทาง เดียวกัน สอดคล้องกันทั้งองค์การ 2. Passion ทีม่ ตี อ่ แบรนด์บาร์บคี วิ พลาซ่า ทีมงานทีเ่ ลือกมา จากหลายฝ่ายต่างมีความเชื่อมั่นในตัวสินค้าและบริการ แม้ว่าจะมี อุปสรรคและปัญหา แต่กท็ ำ� ให้ทมี งานทุกคนมีความพยายามในการท�ำ Rebranding บาร์บีคิว พลาซ่า และเชื่อว่าการท�ำ Rebranding บาร์บีคิว พลาซ่า จะประสบความส�ำเร็จ รวมทั้งพนักงานที่มีส่วนร่วม ในการรีแบรนด์ยังต้องลงพื้นที่จริงอีกด้วย ไม่ใช่อยู่แต่ในส�ำนักงาน ท�ำให้เห็นลูกค้าจริง ๆ ว่าลูกค้าหน้าตาเป็นอย่างไร กลุ่มไหน และมี
56
ความต้องการอย่างไร ซึ่งถ้าพนักงานไม่มี Passion แล้ว การรีแบรนด์ ก็คงไม่ประสบความส�ำร็จ 3. การสื่อสาร ทางบาร์บีคิวพลาซ่าเลือกช่องทางการสื่อสาร ได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย คือ เน้นช่องทาง Social Media เช่น Facebook และ YouTube ซึ่งตรงกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มวัยรุ่น และสื่อทาง โทรทัศน์ เช่น โฆษณา โดยเน้นบูรณาการการสือ่ สารครอบคลุมทุกช่องทาง เช่น ตอนปรับโฉมบาร์บีกอน มีการออกโฆษณาทางโทรทัศน์ก่อนโดย มีเนื้อเรื่องว่าเสี่ยเส็งเกลียดเด็กอยากท�ำลายความสุขของเด็กจึงจับ บาร์บีกอนไป ต่อมาเมื่อบาร์บีกอนหายไปก็มีคลิปวิดีโอตอนต่อไปใน YouTube และน�ำไปสู่กิจกรรมการเปิดตัวบาร์บีกอนโฉมใหม่ในที่สุด นอกจากนั้นแล้วการปรับเปลี่ยน Tone and Voice ยังสามารถท�ำให้ เข้าถึงลูกค้ากลุ่มวัยรุ่นได้ดีขึ้น เช่น การใช้พรีเซนเตอร์เป็นเต๋อ ฉันทวิชช์ ธนะเสวี ท�ำให้ภาพลักษณ์ที่ออกมาโดนใจกลุ่มวัยรุ่นที่เป็นลูกค้า เป้าหมาย ในตอนหน้าติดตามอีกหนึ่งตัวอย่างของการท�ำ Rebranding ที่ประสบความส�ำเร็จกับธนาคารกสิกรไทยกัน
อ่านต่อฉบับหน้า
Q
People for
uality
วิกฤตการณ์จะทำ�ให้มนุษย์กล้าแกร่ง
และยอมรับเพื่อความอยู่รอด
ตอนที่ 26
ศาสตราจารย์ ดร.เรวัตร์ ชาตรีวิศิษฏ์ ประธานสถาบันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ HRDI
ต่อจากฉบับที่แล้ว
ฉบับ
นี้ จ ะน� ำ เสนอสรุ ป การสั บ เปลี่ยนโยกย้ายในโตโยต้า และให้เป็น Localization to Globalization
ประเด็นสำ�คัญของการสับเปลี่ยนโยกย้าย
การสับเปลี่ยนโยกย้ายที่อาจจะเห็น ว่าประสบความส�ำเร็จนั้นก็ยังคงมีประเด็น ปัญหาพื้นฐานอยู่ 2 ประเด็น คือ 1. การสับเปลี่ยนโยกย้ายเป็นการ ลดต�ำแหน่งนั้นเอง ในความเป็นจริงนี่เป็น ปัญหาใหญ่ที่อยู่ในใจของคนไทยมานาน โดยการตีความว่าการสับเปลี่ยนโยกย้าย เป็นการลดต�ำแหน่งเป็นความคิดที่คนไทยมี
อยู่ตามปกติและสืบเนื่องมาเป็นเวลานาน เนื่ อ งจากในอดี ต ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ชามั ก จะใช้ ความรู้สึกส่วนตัวที่ไม่ชอบผู้ใต้บังคับบัญชา คนใดคนหนึ่ ง หรื อ เมื่ อ เห็ น ว่ า ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บัญชาคนใดไม่มีความสามารถ ก็จะย้ายไป ยังหน่วยงานอื่นทันที หรือในกรณีที่ร้ายกว่า นั้น พนักงานก็อาจจะถูกเลิกจ้าง ความคิด เช่ น นี้ เ ป็ น ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ใ นทุ ก บริ ษั ท ไม่ว่าจะเป็นบริษัทยุโรป จีน หรือญี่ปุ่น คนไทยมักจะไม่คดิ ว่างานของตัวเอง จะมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นหากสอนและชี้น�ำ ผู้ใต้บังคับบัญชา เนื่องจากมีความคิดว่าจะ ถูกผู้ใต้บังคับบัญชาแย่งงานของตัวเองไป
เช่น หากมีเทคนิคในงานของตัวเองก็มักจะ ไม่ถ่ายทอดให้ลูกน้อง แม้แต่การสอนเรื่องที่ ตัวเองทราบให้แก่ลูกน้องก็เป็นเรื่องที่มักจะ ไม่ค่อยท�ำกันในสังคมไทยที่มีการแบ่งชนชั้น ไม่ใช่เพียงแค่ความสัมพันธ์ในระดับบนล่าง ระหว่างเจ้านายกับลูกน้องเท่านัน้ การติดต่อ ในแนวนอนระหว่างพนักงานในระดับเดียวกัน ก็เช่นเดียวกัน ดังนัน้ คนไทยจึงไม่คอ่ ยเก่งใน เรื่องการรายงาน การติดต่อและหารือที่จะ ช่วยท�ำให้การสื่อสารระหว่างผู้ที่อยู่ในระดับ เดียวกันดีขึ้น เมื่ อ มี ค� ำ สั่ ง โยกย้ า ย พนั ก งานมั ก แสดงความไม่พอใจ หรือแสดงสีหน้าไม่เห็น for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
57
Vol.21 No.208 March-April 2015
People
58
ด้วย ทั้งนี้ไม่ใช่เพราะปัญหาเรื่องตัวงาน แต่ กลับเป็นเรือ่ งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น ผู้อ�ำนวยการของฝ่ายที่ตนจะย้ายไปจบการ ศึกษารุ่นหลังตัวเอง หรือเคยเป็นผู้ใต้บังคับ บัญชาของตนมาก่อน หรือตัวเองจบปริญญาโท แต่ผู้บังคับบัญชาใหม่จบแค่ปริญญาตรี หรือฐานะทางสังคมของตระกูลของตัวเองดี กว่า ฯลฯ กรณีตา่ ง ๆ ส่วนใหญ่มกั มีเรือ่ งชนชัน้ ตามระบบเจ้าขุนมูลนายในอดีตเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างเห็นได้ชดั ซึง่ นีเ่ ป็นเรือ่ งในสังคมไทย ที่บริษัทญี่ปุ่นมีความกังวลใจ เพราะจะท�ำให้ การปรับปรุงบริษัทต่างชาติ รวมทั้งโตโยต้า ประเทศไทย ให้มีความทันสมัย เป็นเรื่องที่ ยากล�ำบากและห่างไกล 2. คนไทยไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ที่ ย กขึ้ น มาเป็ น ประเด็ น ปั ญ หาในการสั บ เปลีย่ นโยกย้ายนัน้ เนือ่ งจากคนไทยส่วนใหญ่ มี ค วามรู ้ สึ ก ไม่ ส บายใจที่ จ ะต้ อ งย้ า ยจาก หน่วยงานทีอ่ ยูม่ านานจนมีความคุน้ เคยไปยัง หน่วยงานใหม่ที่ไม่ค่อยจะรู้จัก ซึ่งเมื่อมอง จากด้านวัฒนธรรมไทยทีป่ ระเทศไทยมีความ อุดมสมบูรณ์ ไม่ต้องแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน จึงหล่อหลอมให้กลายเป็นลักษณะนิสยั อย่าง หนึ่งของคนไทย ส�ำหรับวิธีการแก้ไขประเด็นปัญหา 2 ข้อข้างต้นนั้นมีแนวทางดังนี้ วิธีการแก้ไขข้อ 1 และข้อ 2 Toyota ไม่ ย กเลิ ก การสั บ เปลี่ ย น โยกย้ายที่ท�ำอยู่ในปัจจุบันไม่ว่าจะมีปัญหา เช่นไร ในทางตรงกันข้ามควรจะด�ำเนินการ ต่อไปอย่างจริงจัง โดยรูส้ กึ ว่าการฟืน้ ฟูให้เกิด ความเชื่อถือที่มีต่อบริษัทและการสร้างเสริม ความมั่ น ใจของพนั ก งานเป็ น สิ่ ง ที่ ดี ก ว่ า นอกจากนั้นยิ่งต้องรับฟังว่าผู้บริหารไทยมี ความคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับการสับเปลี่ยน โยกย้ายนี้ ซึ่งจะเป็นการเชื่อมโยงไปสู่การ ปรับปรุงนโยบายของบริษทั อย่างถูกต้อง ควร จะอธิบายว่าการสับเปลี่ยนโยกย้ายเป็นสิ่ง จ�ำเป็นในการสร้างแรงจูงใจภายในบริษทั และ การพัฒนาความสามารถของพนักงานแต่ละ คน โดยเป็นนโยบายของบริษัท และหาก พนักงานยังไม่เข้าใจจะต้องแสดงข้อเท็จจริง ให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม
เมื่อคิดถึงการสับเปลี่ยนโยกย้ายใน อนาคต แม้จะมีการวางแผนในเรื่องการใช้ คนที่ เ หมาะสมในจุ ด ที่ เ หมาะสมร่ ว มกั บ ระบบเลื่อนต�ำแหน่ง ก็อาจจะไม่มีบุคลากรที่ เหมาะสมที่สามารถจะปฏิบัติงานที่มีความ หลากหลายและมีการขยายงานมากขึน้ ได้ ใน กรณีของประเทศไทยได้พยายามด�ำเนินการ โดยใช้บุคลากรภายในเท่าที่จะท�ำได้ แต่ใน กรณีที่ไม่มีผู้ที่มีความสามารถที่เหมาะสมก็ จะต้องคิดถึงการแต่งตั้งบุคคลภายนอกโดย จะต้องด�ำเนินการอย่างเหมาะสมด้วย การ สับเปลีย่ นโยกย้ายและการเลือ่ นต�ำแหน่งโดย การแต่งตั้งบุคคลภายนอกนั้นอาจท�ำให้เกิด ความขัดแย้งกับบุคลากรภายในได้ง่าย หาก การด�ำเนินการไม่รอบคอบ อาจท�ำให้เกิด ความไม่เชื่อถือซึ่งกันและกันภายในบริษัท
และท�ำให้เกิดอุปสรรคในการปฏิบตั งิ านต่อไป ได้ ซึง่ เรือ่ งแบบนีม้ กั จะได้ยนิ จากบริษทั ญีป่ นุ่ อื่น ๆ ด้วยเช่นเดียวกัน
การปรับการบริหารจัดการ ให้เป็นของท้องถิ่น
การปรับการบริหารจัดการให้เป็นของ ท้องถิ่น เป็นนโยบายพื้นฐานอย่างหนึ่งของ โตโยต้าประเทศไทยที่ได้ด�ำเนินการมาเป็น เวลานาน โดยมีเป้าหมาย คือ การบริหาร จั ด การบริ ษั ท อย่ า งมั่ น คงโดยไม่ มี ป ั ญ หา เรื่องความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม โดย การสร้างผู้บริหารไทย มอบอ�ำนาจในการ ด�ำเนินงานและความรับผิดชอบให้ โดยในปี ค.ศ.1987 โตโยต้ า ประเทศไทยได้ ตั้ ง ชื่ อ
นโยบายนีเ้ ป็นภาษาอังกฤษว่า “ไทยไนเซชัน่ (Thainization)” ซึ่งก็คือการให้คนไทยเข้ามา บริหารจัดการบริษัท และหลังจากนั้นก็ใช้ ค�ำศัพท์นี้เรื่อยมา แต่การด�ำเนินการอย่าง จริงจังเป็นระบบนั้นเริ่มเมื่อปี ค.ศ.1992
ประเด็นปัญหาในการปรับการบริหารจัดการ ให้เป็นของท้องถิ่น
เป็ น เรื่ อ งที่ ล ะเอี ย ดอ่ อ นและต้ อ ง ระมัดระวังทีม่ กี ารบอกกล่าวจากพนักงานไทย ก็คือ การที่มีคนญี่ปุ่นมาประจ�ำในบริษัทเป็น จ�ำนวนมาก ท�ำให้ไม่สามารถปรับการท�ำงาน ให้เป็นของคนไทยได้อย่างแท้จริง โดยมีความ ไม่พอใจแอบแฝงอยู่มาก จากการที่คนญี่ปุ่น ส่วนหนึ่งเปลี่ยนฐานะมาเป็นผู้ประสานงาน จากที่เคยอยู่ในสายงาน แล้วไม่ยอมมอบ อ�ำนาจให้คนไทย แต่สว่ นมากกลับท�ำงานนัน้ เอง ตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งปัญหา เหล่านี้ปรากฏให้เห็นในทุกฝ่ายของบริษัท การมุ่งประเด็นว่าสาเหตุของปัญหา มาจากการที่มีคนญี่ปุ่นเป็นจ�ำนวนมากนั้น อาจมีส่วนถูก จากการดูกิจกรรมของแต่ละ ฝ่ายทั้งบริษัทในอดีต เนื่องจากการที่มีคน ญีป่ นุ่ มากเกินไปท�ำให้คนไทยทีม่ นี สิ ยั ถ่อมตน อยู่แล้ว ยิ่งไม่แสดงออก และยากที่จะใช้ อ�ำนาจได้อย่างถูกต้อง ดังเช่นมีน้อยครั้งที่ คนไทยจะแสดงความคิดเห็นในการประชุม ตัวแทนจ�ำหน่าย และการที่คนไทยมีท่าที ที่ ส งบเสงี่ ย มเรี ย บร้ อ ย แตกต่ า งจากชาว ตะวันตกทีส่ ว่ นใหญ่มกั จะยืนยันความคิดเห็น ของตัวเอง และแสดงความคิดเห็นของตัวเอง อย่างชัดเจน ท�ำให้คนญี่ปุ่นไม่ได้รับรู้และ ตระหนักว่าเกิดปัญหาขึ้น ดังนั้น คนญี่ปุ่นจึง ไม่มองข้ามลักษณะนิสัยที่เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะของคนไทย และเฝ้ า ติ ด ตามดู ก าร ตอบสนองของคนไทยอย่างต่อเนื่อง เป็นเพราะเขาลงทุนเป็นตัวเงินไว้ มากมาย แต่ พี่ ไ ทยยั ง รั บ จ้ า งไปเรื่ อ ยๆ สมควรปรับความคิดไหม ? ใกล้จบตอนแล้ว จากกรณีศึกษางานวิจัยของ TOYOTA
อ่านต่อฉบับหน้า
Q
People for
uality
ทำ�ไมงานไม่สัมฤทธิ์ผล ตามเป้าหมาย รศ.สุพัตรา สุภาพ
อาจารย์อาวุโส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ช่วงเศรษฐกิจชะลอตัว คนไม่น้อยจะเครียด ไม่ว่านายหรือ ลูกน้อง บางครัง้ อาจมีผลต่อร่างกาย หรืออาจไปท�ำร้ายจิตใจคนอืน่ ได้ โดยรู้ตัวและไม่รู้ตัว ดร.เจมส์ พี. เฮนรี (James P. Henry) นักกายภาพบ�ำบัด บอก ว่า นี่คือ อาการของคนกลัวการสูญเสีย ไม่ว่าการงาน ความหวัง ความ รัก เป็นต้น ยิง่ คนทีร่ บั ผิดชอบสูง มีภาระทีจ่ ะต้องดูแล เช่น การงาน การ หาลูกค้า การแก้ปญ ั หา ฯลฯ จะยิง่ ท�ำให้กงั วลใจมากขึน้ ถ้าคิดมากเกิน กว่าเหตุ หากเป็นแบบนีน้ าน ๆ เข้า อาจท�ำให้อารมณ์เสีย เพราะอารมณ์ เข้ามาครอบง�ำแทนสติ จึงท�ำให้ความสามารถในการท�ำงานลดลง เราจึงต้องควบคุมตัวเอง ฝึกมีสติ รูจ้ กั ผ่อนคลาย และดูสาเหตุ ว่า เราเครียดหรือกังวลเรื่องอะไร เป็นการหาสาเหตุ จะได้ปล่อยวาง เพื่อกลับมาสู่ทิศทางที่ถูกต้อง ก็อารมณ์คือศัตรูของร่างกาย ไม่มีใคร แก้ปญ ั หาได้ ถ้าเราไม่คดิ แก้ไขเอง โดยเฉพาะอย่าให้อารมณ์มาครอบง�ำ จนการงานเสียหายเพราะทุกอย่างมีได้มเี สีย และไม่ใช่เราคนเดียวทีม่ ี
ปัญหาเรือ่ งการงาน ทัว่ โลกทัง้ ในและนอกประเทศก�ำลังประสบปัญหา การท�ำธุรกิจ หรือท�ำงาน หรืออะไรก็ตาม อย่าลืม ทุกอย่างมีได้มีขึ้นมีลง เปรียบเสมือนมีมืดก็ต้องมี สว่าง ขอแค่เราไม่ทอ้ แต่ตอ้ งเข้มแข็งสูก้ บั สิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ไม่วา่ ดีหรือ ร้าย ยิง่ ไปกว่านัน้ การท�ำงานเป็นเรือ่ งของเทคนิค ใช่วา่ ทุกคนจะ ท�ำได้ตามหวัง ขอแค่เรารู้จักสังเกต มีไหวพริบ มีความรู้ให้ทันยุคสมัย ธุรกิจ จะด�ำเนินต่อไปได้ หากเราอดทน ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค กล้าคิดกล้าท�ำ สิง่ ใหม่ ๆ รวมทัง้ ยอมรับว่าช่วงนีอ้ ำ� นาจการซือ้ ต�ำ่ จึงต้องร่วมแรงร่วมใจ ร่วมมือกันท�ำงานเพื่อให้องค์การของเราอยู่รอดได้ และอยู่รอดได้ดี เป็นการอยู่รอดอย่างมีคุณภาพ ไม่ใช่บริหารหรือท�ำงานแบบกลัวอยู่เรื่อย จนท�ำให้งานไม่เป็น งาน for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
59
People
นายแพทย์ดอน ดัดลีย์ (Don Dudley) ผู้เชี่ยวชาญด้าน พฤติกรรมมนุษย์ยุคไอทีเตือนว่า ถ้าใครกังวลมาก ๆ จะเกิดโรคได้ ตัวอย่างเช่น คุณปัน้ คิดว่า นายจะปรับโครงสร้างเพือ่ ไล่เธอออก ท�ำให้ เธอนอนไม่หลับ อ่อนเพลีย กล้ามเนื้อท�ำงานได้ไม่เต็มที่ พอเธอไปหา แพทย์ก็ได้ความว่า เธอกังวลและคิดไปเองทั้ง ๆ ที่ร่างกายก็แข็งแรงดี การบริหารงานหรือการท�ำงานในปัจจุบันเป็นเรื่องของจังหวะ โอกาส และกลยุทธ์ที่เหนือใคร ความส�ำเร็จในการบริหารธุรกิจหรือการท�ำงานจึงเป็นเรื่อง ต้องใฝ่รู้ มีประสบการณ์ มีไหวพริบ และรูจ้ กั ปรับเปลีย่ นและวางแผน ให้เข้ากับสถานการณ์
Vol.21 No.208 March-April 2015
มีกลยุทธ์ ในการบริหารงาน
60
ทุกองค์การอยากให้ธุรกิจด�ำเนินหรือด�ำรงอยู่ได้ ไม่มีใคร อยากให้ล้มเหลว เดนิส จี แมคคาร์ที (Denis G. McCarthy) แต่งหนังสือ The Loyalty: How Loyal Employees Create Loyal Customers ให้ความ เห็นในเรื่องนี้ว่า อย่าบริหารงานด้วยความกลัว หรือไม่กล้าจะเปลี่ยนแปลงอะไร ซึ่งมีแต่ท�ำให้ธุรกิจไม่ได้ดีเท่าที่ควร ไอลีน ซี. แชบปิโร (Eeileen C. Shapiro) เขียน Fad Surfing in Bordroom: Reclaimg the Courage to Manage in the Age of Instant
Answers เสริมว่า การบริหารงานไม่ใช่ทำ� แบบสัญชาตญาณ หรือท�ำ ผิดซ�ำ้ ๆ ซาก ๆ แต่ควร 1. ทบทวนทิศทางที่ควรจะเป็นไป โดยต้องดูว่าโครงการ ต่าง ๆ ที่องค์การมีอยู่ว่า โครงการใดน่าจะไปได้ดีหรือไม่ เพียงไร และ พนักงานเข้าใจและรักที่จะท�ำแค่ไหน 2. เข้าใจพฤติกรรม ไม่ว่าจะท�ำอะไรควรคิดให้รอบคอบว่า คนจะโต้ตอบ (respond) อย่างไร เมื่อท�ำงานเป็นกลุ่ม (work in a group) มากกว่าวิธี (way) ทีค่ นโต้ตอบตอบกลับมาตามสิง่ ทีค่ วรปฏิบตั ิ หรือตามทฤษฎี 3. ส่งเสริมการกระจายอ�ำนาจ การให้อ�ำนาจใครไปท�ำอะไร ต้องท�ำให้เป็นจริงไม่ใช่แค่คำ� พูด (words) เป็นการให้คนมาร่วมกันคิด ร่วมกันท�ำร่วมกันมีอ�ำนาจตัดสินใจ (decision-making power) รวมทั้งส่งเสริมให้คนมีอ�ำนาจในการตัดสินได้อย่างเหมาะสม (หาก ยังลังเลหรือไม่กล้าตัดสินใจ) งานจะได้รวดเร็วขึ้น 4. ต้องรู้ว่าลูกค้าต้องการอะไร เป็นการพยายามศึกษา หาความรู้ ไม่ว่าการวิจัย สังเกต พูดคุย เป็นต้น แม้อาจจะยากที่จะท�ำ ก็ตาม เพือ่ จะได้ปรับเปลีย่ นสินค้าและบริการให้ตรงใจลูกค้ามากทีส่ ดุ เท่าที่จะเป็นไปได้ ความส�ำเร็จจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อองค์การต้องมุ่งมั่นตั้งใจที่ ฝ่าฟันอุปสรรค หรือก�ำแพงที่ลูกค้าสร้างไว้ การเอื้ออาทร มีไมตรีจิต ใส่ใจลูกค้าอย่างจริงจังและจริงใจในการบริหารจัดการ ทุกอย่างอาจ ได้ผลตามที่ต้องการได้ 5. ลงมือท�ำ หากสิ่งที่คิดจะท�ำพิสูจน์แล้วว่าดีก็รีบลงมือ ปฏิบัติ อย่ารีรอ เพราะคู่แข่งอาจแซงหน้าเราไปท�ำก่อน นี่คือ ศิลปะ ของกลยุทธ์การบริหารจัดการให้เป็นจริง 6. มีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ ซึง่ อาจจะเป็นผลดีแก่หลาย องค์การ แต่การปรับปรุงโครงสร้าง (reengineering) จะเป็นจริงได้ผล
ก็ต่อเมื่อผู้บริหารระดับสูงเห็นด้วย เท่านั้นไม่พอ ระดับล่างต้องร่วมมือ ด้วย อย่างไรก็ตาม การปรับโครงสร้างไม่ได้หมายความว่าทุก องค์การจะประสบความส�ำเร็จเสมอไป ถ้าไม่มกี ารบริหารงานทีเ่ ข้มแข็ง มีประสิทธิภาพพอ ขณะเดียวกันการปรับปรุงโครงสร้าง ไม่จ�ำเป็นต้องได้ผลกับทุก องค์การ หรือจ�ำเป็นต้องใช้ในทุกสถานการณ์เสมอไป ถ้าเหตุการณ์ไม่ อ�ำนวย นอกจากนี้การปรับโครงสร้างก็อาจจะเหมาะกับบางองค์การ ซึ่งผู้สนับสนุนเรื่องนี้ คือ ไมเคิล แฮมเมอร์ (Michael Hammer) กับ เจมส์ แซบปี้ (James Champy) แต่งหนังสือ Reengineering the Corporation อ้างว่า การปรับปรุงโครงสร้างเป็นความหวังเดียวทีจ่ ะช่วย การบริหารงานที่ขาดประสิทธิภาพ ซึ่งหลายท่านก็ไม่เห็นด้วย เพราะ งานไม่ได้ผลตามเป้าหมายอาจมีสาเหตุหลายประการที่ไม่คาดคิด ไม่วา่ เป็นความเสีย่ งหรือผลประโยชน์อนื่ ใด แม้การปรับโครงสร้างจะมี ประโยชน์ แต่ไม่ใช่หนทางเดียวที่ท�ำให้ธุรกิจรุ่งเรืองขึ้นหรือต้องได้ผล เสมอ สิ่งที่กล่าวมาทั้งหมด ก็แค่เตือนใจการบริหารในยุคปัจจุบัน ที่สื่อสารกว้างไกล เรียกว่า องค์การท�ำอะไร องค์การอื่นรับรู้ไม่มากก็ น้อยเสมอ กลยุทธ์การบริหารจึงต้องปรับเปลี่ยนให้ทันคู่แข่ง
ข้อควรระวัง
ธุรกิจไม่น้อยงานหลักจะเน้นการบริหารงานในเรื่องการ สื่อสาร ประสบการณ์ ทีมงาน คู่แข่ง เป็นต้น แต่ ต ้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ เรื่ อ งความจริ ง (truth) ในเรื่ อ งนี้ เจมส์อาร์ ลูคัส (James R. Lucas) เขียน Fatal Illusions เน้นเรื่อง “ความจริง” เขาเชื่อว่า ความจริง คือ กุญแจสู่ความส�ำเร็จ “ภาพลวงตา” (illusion) คือ หนทางสูค่ วามด้อยประสิทธิภาพ ความจริงช่วยให้เข้าใจสิ่งที่เป็นจริง ทีมงาน ความสัมพันธ์ และอาชีพ เพราะความส�ำเร็จต่าง ๆ จะต้องอิงกับความเป็นจริง ซึ่งหมายถึง เราจะก้าวไปทางใด ตลาดอยู่ที่ไหน ลูกค้าคือใคร และต้องการอะไร เรามีความสามารถทางไหน เรามีข้อจ�ำกัดอะไร พนักงานคิดอะไรอยู่ ส่วนนี้ คือ “ภาพลวงตา” คือ สิ่งที่เราคิดว่าเป็นจริง ทั้ง ๆ ที่แค่ จริงบางส่วน หรือไม่จริง ผลก็คือ ท�ำให้เกิดความหวังลม ๆ แล้ง ๆ เรา จึงต้องขจัดภาพลวงตา หากอยากท�ำงานให้ได้ผลทัง้ ในระดับอาชีพและ การด�ำรงชีวิต อย่างไรก็ตาม ภาพลวงตาไม่เลวร้ายเสมอไป บางอย่างก็ไม่ ได้มีผลเสียหรือเป็นพิษเป็นภัย เช่น “ถ้าได้ท�ำงานชิ้นนี้ เราคงสุขใจ” “ถ้าเราท�ำผมแบบนี้ คงมีคนเคารพนับถือเรามากขึ้น”
“เขาไม่ชวนเราไปงานปาร์ตี้ของบริษัท ท�ำให้เราได้พักผ่อน” แต่ภาพลวงตาบางอย่างอาจอันตราย และเป็นอุปสรรคต่อ ความสามารถและพลังในการบรรลุเป้าหมาย แม้จะพอได้บา้ งก็ตาม เพราะเสมือนเมฆที่บดบังท้องฟ้า ท�ำให้มองอะไรได้ไม่ชัด ไม่ว่าจะ เป็นการงานหรือการใช้ชีวิต เช่น “ส่งงานช้าหน่อย นายคงไม่ว่า” “เราจะฝันหวานมากไป ที่ต้องท�ำให้เสร็จวันนี้” “การออกก�ำลังกายไม่ใช่สิ่งจ�ำเป็นแก่ชีวิต” ถ้าเรามีแต่ภาพลวงตาทีเ่ สียหาย ในระยะสัน้ หรือยาว (short-or long-term) อาจท�ำให้เสียลูกค้า ส่วนแบ่งตลาด การขายตกลง ก�ำไร หดหาย หรือมีปัญหาส่วนตัว ภาพลวงตาที่เป็นภัยต่อธุรกิจหรือองค์การ คือ 1. วิสัยทัศน์ลวงตา (vision illusion) 2. ลวงตาเรื่องควรท�ำอะไรก่อน-หลัง (priority illusion) 3. คุณภาพลวงตา (quality illusion) 4. ลวงตาการเปลี่ยนแปลง (change illusion) 5. เปรียบเทียบลวงตา (comparison illusion) 6. มองคนไม่เป็น (people illusion) 7. ให้ข้อมูลไม่ถูกจังหวะ (openness illusion) 8. ชักจูงใจไม่ถูก (incentive illusion) ดีน อาร์ สปิทซ์เซอร์ (Dean R. Spitzer) แต่งหนังสือ Super Motivation เน้นว่า การจะลบภาพลวงตาต่าง ๆ อยูท่ วี่ า่ เราเปิดใจให้ใคร ได้หรือไม่ โดยพยายามดูว่าคนรอบตัวเราไม่ว่าในที่ท�ำงานหรือที่ไหน คิดอะไร แล้วเราพอจะตอบสนองเขาได้แค่ไหน อย่าลืม เราจะรับความจริงหรือไม่ก็อยู่ที่เราเอง เปรียบเสมือน ถ้าเราเจ็บป่วยและต้องกินยา แม้จะขม แต่จะง่ายขึ้นถ้าเรารีบกลืน ลงไป นี่คือ ความจริง สิ่งที่ผู้เชี่ยวชาญต่าง ๆ ให้ข้อคิดก็อาจเป็นประโยชน์ได้ไม่มาก ก็น้อย แต่จะใช้กับองค์การใดมากน้อยแค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับความชอบ ทรัพยากร บรรยากาศ สถานการณ์ของแต่ละแห่ง แต่การรู้ไว้ ใช่วา่ ใส่บา่ แบกหาม
Vol.21 No.208 March-April 2015
People
61
Q
People for
uality
ท่ามกลางการแข่งขัน
ทางการค้า ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล
ผู้จัดการฝ่ายบริหารงานกลาง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
ธุร
กิจการค้าในปัจจุบนั ถูกบังคับให้ตอ้ ง แข่งขันแม้ไม่อยากจะแข่งขันแต่ไม่มี ทางเลือก การแข่งขันทางการค้าเป็นกลไก ตลาดโลกที่มีการจัดการโดยชาติมหาอ�ำนาจ ทางเศรษฐกิจ ดังที่รับรู้กันทั่วไป และรู้อีกว่า การค้าธุรกิจอุตสาหกรรมตกอยู่ภายใต้ระบบ ทุนนิยมเสรีที่ให้ความส�ำคัญกับกลไกตลาด มากกว่าที่จะให้มีการจ�ำกัดการแข่งขันแบบ สังคมนิยมและได้พิสูจน์แล้วว่ากลไกตลาด เสรีมอี ทิ ธิพลเหนือกลไกอืน่ ทีพ่ ยายามจะสร้าง ขึ้นมาต่อกรกับกลไกตลาดของโลกเสรี ไม่ว่า จะเป็ น สหภาพโซเวี ย ตรั ส เซี ย ในอดี ต จี น
62
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
เวียดนาม ในที่สุดต้องผ่อนคลายนโยบาย กฎกติกาเปิดกว้างรับแนวคิดการค้าเสรีมาก ขึ้น โดยพื้นฐานพ่อค้า นักอุตสาหกรรม ไม่ชอบการแข่งขัน ชอบที่จะผูกขาดตัดตอน และพร้อมทีจ่ ะผูกขาดได้ทกุ เวลาเมือ่ มีโอกาส แต่ดว้ ยแนวคิดกลไกตลาดเสรีประโยชน์จะตก แก่ ป ระชาชนผู ้ บ ริ โ ภค รั ฐ บาลจึ ง ใช้ ก ลไก ตลาดในการกระจายสินค้าอุปโภคบริโภคไป ยั ง ประชาชนผ่ า นกิ จ กรรมการค้ า การขาย ประเด็นจึงอยูท่ วี่ า่ รัฐบาลมีความสามารถทีจ่ ะ ให้มกี ารแข่งขันอย่างสมบูรณ์หรือไม่ เพียงใด
เท่านั้นเอง การแข่งขันนอกจากผู้บริโภคได้ ประโยชน์จากตลาดการแข่งขันสินค้าและ บริ ก ารที่ ไ ด้ รั บ มี คุ ณ ภาพราคาสมเหตุ ผ ล ตลาดการแข่ ง ขั น จะเป็ น เวที คั ด เลื อ กผู ้ ประกอบการทีเ่ ข้มแข็ง ผูท้ มี่ ขี ดี ความสามารถ ในการจัดการองค์การธุรกิจเท่านั้นจะอยู่รอด แม้ไทยไม่อยากแข่งขันแต่จะไม่สามารถทาน ต่อกระแสทุนนิยมเสรีของโลกได้ เนื่องจาก ประเทศไทยไม่มพี นื้ ทีแ่ ละความสามารถเพียง พอที่จะผลิตค้าประเภทเทคโนโลยีได้เองต้อง พึ่งพาแลกเปลี่ยนสินค้ากับต่างประเทศเพื่อ อุปโภคบริโภคและพัฒนาประเทศ แน่นอน
People
ลักษณะองค์การที่มีความพร้อมจะแข่งขัน
ใช่ว่าที่ผ่านมาไม่มีการแข่งขัน เพียง แต่มุมมองต่อองค์ประกอบที่เห็นว่าได้เปรียบ ในการแข่งขันไม่เหมือนกัน ก่อนศตวรรษที่ 20 องค์การที่ได้เปรียบในการแข่งขันได้ให้ความ ส�ำคัญกับการจัดการที่มีประสิทธิภาพ (efficiency) และขนาดของธุรกิจ (business
scale) ใครมีทุนมากย่อมได้เปรียบ ปัจจุบัน แนวคิ ด นี้ ยั ง ใช้ ไ ด้ ดี กั บ ธุ ร กิ จ การเงิ น การ ธนาคารและธุรกิจประกันภัย แต่มีแนวโน้มที่ จะได้เปรียบในการแข่งขันยากขึ้น เราเห็น ธุรกิจเหล่านี้หารายได้จากบริการอื่น ๆ เช่น ค่าบริการ ค่าธรรมเนียมจากธุรกรรมที่มิใช่ การเงินมากขึ้น ไม่หวังก�ำไรจากดอกเบี้ยเงิน ที่ปล่อยกู้เท่านั้น ต่อมามีการพูดถึงปัจจัยที่ ท�ำให้ได้เปรียบในการแข่งขัน ไม่ใช่มีเฉพาะ ประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด การและขนาด สิ น ทรั พ ย์ ยั ง มี ก ารพู ด ถึ ง ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ ความยืดหยุ่น การ ผ่อนคลายกฎระเบียบ การกระจายอ�ำนาจ ในการตัดสินใจ อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการ กระจายอ�ำนาจตัดสินใจอย่างเต็มที่ และยังมี การควบคุ ม นโยบายและการเงิ น จากส่ ว น
กลางหรือส�ำนักงานใหญ่ การที่จะดูว่าพนักงานที่มีคุณสมบัติ อะไรที่เหมาะสมกับองค์การในยุคศตวรรษ ที่ 21 (หลังยุคใหม่) ที่เกมการแข่งขันเข้มข้น รุนแรงและไร้พรมแดน คุณสมบัติประการ หนึ่งของพนักงานในยุคนี้คือต้องรู้องค์ประกอบที่จ�ำเป็นส�ำหรับองค์การที่มีความพร้อม จะแข่งขันในช่วงหลังยุคใหม่ (postmodern) เมื่ อ รู ้ ว ่ า องค์ ก ารที่ จ ะแข่ ง ขั น ในศตวรรษ ที่ 21 มีหน้าตาอย่างไร ผู้ที่รับผิดชอบงาน HRM ต้องปรับตัวตามด้วย หากไม่ปรับตัวจะ ท�ำให้เกิดความอึดอัด สับสน และไม่เป็นที่ ต้องการขององค์การ แนวโน้มองค์การในศตวรรษที่ 21 จะ มีการพัฒนาองค์ประกอบและปัจจัยทีม่ งุ่ เน้น ไปในเรื่องดังต่อไปนี้ (Cascio,1995 :4)
ปัจจุบัน
องค์ประกอบ
ศตวรรษที่ 21
สายการบังคับบัญชา มีอิสระต่อกัน มีพรมแดนของตนเอง ความมั่นคงในงาน ความเหมือนกันทางวัฒนธรรม เน้นปัจเจกบุคคล ภายในประเทศ ต้นทุนค่าใช้จ่าย กำ�ไร ทุน คณะกรรมการ พยายามประกัน สั่งการ
การจัดระบบงาน โครงสร้าง ความคาดหวังของพนักงาน กำ�ลังคน การทำ�งาน ตลาด ผลประโยชน์ จุดเน้น ทรัพยากร การปกครอง คุณภาพ ภาวะผู้น�ำ
แบบเครือข่าย พึ่งพาอาศัยกัน การเติบโตในสายงาน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม กลุ่มคณะ ตลาดโลก เวลา ลูกค้า ข้อมูลสารสนเทศ สถาบัน ไม่ประกัน สร้างความหวังใหม่
การทีอ่ งค์การจะพัฒนาเปลีย่ นแปลง จากสภาพความคุ้นเคยกับลักษณะงานใน ปั จ จุ บั น เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นไปสู ่ อ งค์ ก ารที่ จ ะ มีหน้าตาเหมาะสมในศตวรรษที่ 21 คน HR ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี คิ ด วิ ธี ก ารท� ำ งานของ ตนเอง ยอมรับการแข่งขันเป็นปกติทางการค้า ธุรกิจ พนักงานจึงมีหน้าที่ร่วมมือกันสร้าง ขีดความสามารถขององค์การเพื่อความได้ เปรียบในการแข่งขัน
Vol.21 No.208 March-April 2015
สภาพการแข่งขันดังกล่าวย่อมกระทบต่อ แนวคิดและวิธีการจัดการองค์การธุรกิจไทย และการจัดการทรัพยากรบุคคลขององค์การ อย่างเลี่ยงไม่ได้ ขอพักไว้แค่นี้ก่อน มาดูว่า การแข่ ง ขัน ทางการค้ ามี ผ ลต่ อ การจั ดการ ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management: HRM) อย่างไร องค์การต้องแข่งขัน จึงต้องการพนักงานที่มีความพร้อมที่จะแข่งขัน การจัดการ พนั ก งานอย่ า งไร และคน HR มี บ ทบาท อย่ า งไรจึ ง มี ค วามพร้ อ มที่ จ ะแข่ ง ขั น เป็ น ประเด็นทีผ่ เู้ ขียนขอน�ำเสนอในบทความนี้ โดย ต้องการชี้ให้เห็นว่าเมื่อองค์การต้องแข่งขัน พนักงานต้องเห็นพ้องต้องกันด้วยและมอง การแข่งขันทางธุรกิจเป็นเรื่องปกติ เมื่อใด ก็ตามทีพ่ นักงานไม่อยากแข่งขัน ผลทีต่ ามมา ธุรกิจย่อมล้มเหลวในที่สุด ก่อนที่จะท�ำความ เข้าใจการจัดการพนักงานและบทบาทคน HR ทีม่ สี ว่ นสนับสนุนองค์การในสนามการแข่งขัน ทางการค้าควรท�ำความใจสภาพองค์การที่มี ความพร้อมจะแข่งขันเป็นเบื้องต้นก่อน
63
People
Vol.21 No.208 March-April 2015
บทบาทผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง
64
ผูป้ ระกอบการและผูบ้ ริหารสูงสุดต้อง ผลักดันผ่านผู้ที่รับผิดชอบงาน HRM เพื่อ ท�ำการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการท�ำงานและ ทัศนคติพนักงาน เพือ่ ให้คนขององค์การเข้าใจ สภาพการแข่งขันทางการค้าหลังยุคสมัยใหม่ พัฒนาพนักงานให้มีความรู้ความสามารถใน ธุรกิจใหม่ และแน่นอนการจะท�ำได้มิใช่เป็น ไปในลักษณะของการบังคับ หากแต่ตอ้ งสร้าง โอกาสในความก้าวหน้าเพื่อเป็นแรงจูงใจว่า ภารกิจใหม่นั้นพนักงานทุกคนมีโอกาสที่จะ เติบโตไปพร้อมกับการเติบโตขององค์การ คน HR ที่เป็นที่ต้องการขององค์การ ต้ อ งเป็ น ผู ้ น� ำ การเปลี่ ย นแปลง (change agent) และต้องเป็นคู่คิดในเชิงกลยุทธ์ธุรกิจ ขององค์การ กล่าวคือ คน HR ต้องมีความ เข้าใจแผนกลยุทธ์ธุรกิจขององค์การ เมื่อ เข้าใจดีแล้วสามารถทีจ่ ะวางแผนกลยุทธ์การ พัฒนาบุคลากรขององค์การให้มีส่วนเสริม แผนกลยุทธ์ธุรกิจองค์การประสบผลส�ำเร็จ อย่างไรก็ดี การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ ทัศนคติของพนักงานมิใช่ทำ� ได้งา่ ยนัก ต้องใช้
เวลา และเครือ่ งมือทีจ่ ะท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง เช่น การให้การศึกษา การฝึกอบรม ฯลฯ เป้าหมายในการแข่งขันขององค์การ แม้จะบอกว่ามุง่ ไปทีก่ ารท�ำให้ลกู ค้าเกิดความ พึงพอใจ แต่เป้าหมายที่ซ่อนอยู่คือก�ำไรของ การประกอบการอยู่ดี เพราะเชื่อกันว่า เมื่อ ลูกค้าซือ้ ผลิตภัณฑ์แล้วเกิดความพึงพอใจจะ มีความยัง่ ยืนและเก็บเกีย่ วก�ำไรได้ในระยะยาว อย่างไรก็ดี ก�ำไรเป็นความคาดหวังผลเลิศ คนในองค์การเท่านั้นที่จะท�ำให้เป็นจริงได้ ชัยชนะของเกมการแข่งขันทางการค้าอยู่ที่ ความสามารถในการท�ำก�ำไรได้อย่างต่อเนือ่ ง ในทางปฏิบัติการจัดการงานทรัพยากรมนุษย์เป็นการจัดการเกีย่ วกับทุนมนุษย์ ผลการปฏิบัติงาน ข้อมูลสารสนเทศ และงาน
ซึง่ ถือเป็นโครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ ง่ ผลกระทบต่อ พนักงานลูกจ้าง ลูกค้า ผูบ้ งั คับบัญชาต้นสังกัด (line manager) และผู้ลงทุน การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ต้องมีความเชื่อมโยงแผน กลยุทธ์ธรุ กิจขององค์การ HRM ต้องเชือ่ มโยง แนวคิดแนวทางของแผนกลยุทธ์ธุรกิจ เป็น แผนกลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ โดยต้องมีการล�ำดับความคิด ดังนี้ 1. ปรัชญา ต้องคิดว่าจะจัดการและ สร้างคุณค่าให้กับพนักงานได้อย่างไร 2. นโยบาย ก�ำหนดทิศทางในการ ปฏิบัติที่มีความสัมพันธ์กับธุรกิจขององค์การ และสร้างคุณค่าให้กับพนักงานไปพร้อมกัน 3. แผน/โครงการ ที่ต้องปรับเปลี่ยน ที่จะให้พนักงานมีส่วนร่วมในกิจการธุรกิจ 4. การปฏิบัติ จูงใจให้พนักงานปฏิบัติในบทบาทที่มีส่วนสนับสนุนธุรกิจ 5. กระบวนการ ก�ำหนดกิจกรรมที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ โดยทุ ก กิ จ กรรมสนั บ สนุ น ให้ ปรัชญาเป็นจริง ทั้ ง หมดนี้ คื อ เป้ า หมายที่ ค วรบรรลุ ก่อนทีจ่ ะท�ำให้เกิดก�ำไร ต้องท�ำให้บรรลุให้ได้
ต้องปรับปรุงหรือเพิม่ เติมให้เกิดขึน้ เพือ่ ให้เกิด ผลลัพธ์ที่เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตการ ท�ำงาน ผลิตภาพ (productivity) ความพึงพอใจของพนักงานที่มีต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาบุคลากร การเปลีย่ นแปลงงานและกระบวนการท�ำงาน การจะ ท�ำงานให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้ คน HR นอกจากรู้และเข้าใจหน้าที่พื้นฐานในการ วางแผนการจั ด การทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ การ สรรหา การคัดเลือก การพัฒนา การบริหาร ค่าจ้างค่าตอบแทนและประโยชน์เกือ้ กูลแรงงานสัมพันธ์ สุขอนามัยและความปลอดภัย และการวิจยั พัฒนางาน HRM ยังต้องมีความ รูค้ วามเข้าใจในแผนกลยุทธ์ธรุ กิจขององค์การ โครงสร้างอุตสาหกรรมของประเทศและโลก รู้ ว่าธุรกิจมีความจ�ำเป็นอะไรในการผลิต ให้ ความสนใจในพนักงานสายผลิต สามารถคิด วิเคราะห์ต้นทุนในการผลิตและการจัดการ ฯลฯ จะเห็นว่าคน HR ในยุคหลังสมัยใหม่ ต้อง เรียนรู้เกี่ยวกับธุรกิจในเชิงการจัดการมากขึ้น กล่าวโดยสรุป การจะท�ำงานในหน้าที่ HRM ได้ดีต้องมีพื้นฐานความรู้ด้านธุรกิจ การเงิน และการค้าด้วย
HRM เพิ่มโอกาสในการแข่งขัน
การแข่งขันที่จะได้เปรียบคู่แข่ง สิ่งที่ คน HR จะท�ำได้เป็นอันดับแรก คือ การลด ต้นทุนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรในระยะยาว และเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานให้กับ
พนั ก งานขององค์ ก าร ถ้ า พนั ก งานทุ ก คน ท�ำงานหน้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ ย่อมส่งผล ให้องค์การมีกำ� ไรเพิม่ หรือสามารถขายสินค้า และบริการราคาที่แข่งขันกับคู่แข่งได้ งานที่ คน HR ท�ำให้องค์การมีความสามารถในการ แข่งขัน มีดังนี้ 1. ลดเวลาการลาหยุดงาน ออกแบบ งานใหม่ ตัดงานที่ไม่จำ� เป็นออกไป 2. ลดเวลาปฏิ บั ติ ง านนอกเวลา (over time) และให้พนักงานท�ำงานในเวลา ปกติอย่างเต็มที่ โดยใช้เกณฑ์ผลิตภาพ 3. ออกแบบงานให้ เ หมาะสมกั บ ลักษณะงาน มิใช่ออกแบบงานตามหน้าที่ที่ เป็นการทั่วไป 4. ลดอัตราการเข้าออกจากงาน เพือ่ ให้งานมีความต่อเนื่อง ไม่มีผลกระทบให้ กระบวนการผลิตต้องหยุดชะงัก 5. สร้างระบบสุขอนามัยและความ
ปลอดภัย เพื่อลดปัญหาการผลิตที่เกิดจาก การขาดงาน ลางานเนื่องจากเจ็บป่วยหรือ อุบัติเหตุ 6. จั ด การพั ฒ นาพนั ก งานให้ มี ความรู้ในงาน (job knowledge) และทักษะ ในการท�ำงาน 7. ลดเงื่อนไขหรือขจัดเงื่อนไขที่จะ ท�ำให้พนักงานเข้าใจผิดน�ำไปสู่ความขัดแย้ง ความไม่พอใจในหน้าที่การงาน 8. สรรหาคนที่ มี ศั ก ยภาพในการ ท�ำงาน เพือ่ ป้องกันปัญหาจ้างคนมากกว่างาน ชึ่งจะก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายในระยะยาว 9. พัฒนาและรักษาความสามารถใน การแข่งขันในเรือ่ งค่าจ้างสวัสดิการเพือ่ รักษา พนักงานที่มีความสามารถให้อยู่กับองค์การ นาน 10. กระตุ้นเตือนพนักงานให้ศึกษา วิเคราะห์วา่ งาน กิจกรรมใดก่อให้เกิดค่าใช้จา่ ย ไม่จ�ำเป็น ถ้าลดหรือตัดกิจกรรมที่ไม่จ�ำเป็น หรือสามารถท�ำคู่ขนานกันได้ เพื่อลดเวลา และค่าใช้จ่าย 11. พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล สารสนเทศของ HRM ให้เป็นปัจจุบนั ผูบ้ ริหาร สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ตามต้องการ 12. ออกแบบงานให้ ท� ำ หน้ า ที่ ไ ด้ มากกว่าหนึ่งหน้าที่ (cross functions) 13. น�ำแนวคิดการออกแบบโครงสร้างองค์การแบบเมทริกซ์มาประยุกต์ใช้ มองในภาพรวมเป็นการลดค่าใช้จา่ ย ด้านบุคลากรได้เป็นอย่างดี เมื่อค่าใช้จ่ายลด ลงแม้มรี ายได้เท่าเดิมก็ทำ� ให้กำ� ไรเพิม่ ได้ ฝ่าย งาน HRM นอกจากลดค่าใช้จ่ายด้วยวิธีการ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว อีกด้านหนึ่งต้องท�ำคู่ ขนานกัน คือ พัฒนาพนักงานให้มีความรู้ ความสามารถในงานเพิ่ ม พู น ขึ้ น ท� ำ ให้ พนักงานท�ำงานได้เร็ว ถูกต้องแม่นย�ำ ไม่ตอ้ ง แก้ ไ ข ปรั บ แต่ ง หรื อ ท� ำ งานซ�้ ำ อี ก เท่ า กั บ เป็นการลดเวลาในการท�ำงานและลดค่าใช้จา่ ย ทางอ้อม
Vol.21 No.208 March-April 2015
People
65
viboon@gmail.com
Q
Idol & Model for
uality
พีซีเอส ประเทศไทย ตอกย�้ำผู้น�ำบริหารจัดการอาคารครบวงจรด้วยกลยุทธ์
All in One กองบรรณาธิการ
บริษัท
พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ พีซเี อส (PCS) เป็นบริษทั ในเครือของโอซีเอส กรุ๊ป (OCS Group) จากประเทศอังกฤษ พีซีเอส เป็นผู้น�ำด้าน บริหารจัดการอาคารแบบครบวงจรมาตัง้ แต่ พ.ศ.2510 มีประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจมานานกว่า 47 ปี ให้บริการลูกค้าหลากหลายภาคธุรกิจกว่า 5,000 รายทั่วประเทศไทย ได้รับการสนับสนุนด้านการ พัฒนาเทคโนโลยี การฝึกอบรมบุคลากรและการสร้างสรรค์นวัตกรรมจาก โอซีเอส กรุ๊ป เครือบริษัท เอกชนผู้ให้บริการดูแลอสังหาริมทรัพย์ระดับสากล ซึ่งมีฐานการด�ำเนินงานในประเทศอังกฤษ มี จ�ำนวนพนักงานในประเทศไทยมากกว่า 26,000 คน พีซีเอส ได้รับการรับรองมาตรฐานระบบการ จัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2004 ในส่วนกิจกรรมในส�ำนักงานซึง่ สนับสนุนการให้บริการลูกค้า ในด้านบริการท�ำความสะอาด บริการรักษาความปลอดภัยทัง้ โดยเจ้าหน้าทีแ่ ละ รปภ. และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ บริการสุขอนามัยภัณฑ์ บริการด้านการบริหารอาคารแบบครบวงจร และการรับรอง มาตรฐานระบบการบริหารจัดการ ISO 9001:2008 ความส�ำเร็จที่ผ่านมาของ พีซีเอส เกิดขึ้นจากแนวทางการบริหารจัดการด้วยกลยุทธ์ All in One หรือบริหารเบ็ดเสร็จในหนึ่งเดียว เน้นบริหารส่วนงานที่ไม่ใช่งานหลักของลูกค้า ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการประหยัดเวลาและบริหารต้นทุน พร้อมโซลูชั่นที่ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าครบวงจร เพื่อตอกย�้ำการเป็นผู้นำ� บริหารจัดการอาคารครบวงจร Total Facilities Management (TFM) ในไทยที่มีมูลค่าตลาดรวมกว่า 20,000 ล้านบาท ▲
คุณธนา ถิรมนัส
66
กรรมการผู้จัดการ บริษัท พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จำ�กัด for Quality Vol.21 No.208 March-April 20151
Idol & Model ต่อปี และยังเดินหน้าขยายฐานลูกค้าในกลุ่ม ธุรกิจสถานพยาบาล ตั้งเป้ารายได้เติบโตทุก กลุม่ ธุรกิจปีนที้ ี่ 10% หรือกว่า 7,400 ล้านบาท เล็งเพิ่มฐานลูกค้าสถานพยาบาล 20% คุณธนา ถิรมนัส กรรมการผู้จัดการ บริษัท พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วิสเซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ พีซีเอส ได้กล่าว กับ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการ เพื่อมุ่งสู่ความส�ำเร็จ รวมทั้งแผนในอนาคต เพื่อเป็นต้นแบบให้กับผู้ประกอบการอื่น ๆ ได้ น�ำไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้น่าสนใจยิ่ง
การบริหารเชิงกลยุทธ์สไตล์พีซีเอส
ทางธุรกิจของตลาดในประเทศ “การบริหาร จัดการอาคารแบบครบวงจร หรือ Total Facilities Management: TFM เป็นการบริหาร เชิงกลยุทธ์ดว้ ยมาตรฐานการท�ำงานทีค่ ำ� นึงถึง ความปลอดภัยด้านสุขภาพของพนักงานและ ลูกค้า (health) ความปลอดภัยระหว่างการ ปฏิ บั ติ ง านทั้ ง ของพนั ก งานและลู ก ค้ า ณ อาคารสถานที่ท�ำงาน (safety) รวมไปถึงสิ่งแวดล้อม (environment) ทีเ่ กีย่ วข้องหรือเรียก โดยรวมว่า HSE นอกจากนั้นยังปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานกฎระเบียบต่าง ๆ อย่างครบ ถ้วน (compliance) พีซีเอส ให้บริการ TFM แบบ All in One คือ บริการเบ็ดเสร็จ พร้อม โซลูชั่นครบวงจรในส่วนงานที่ไม่ใช่งานหลัก ของลูกค้าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทั้งด้านเวลา และการบริหารต้นทุน อาทิ เช่น ระบบรักษา ความปลอดภัย การดูแลความสะอาดโดย ทั่วไปและความสะอาดที่ต้องการนวัตกรรม และความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง บริการสุขอนามัยภัณฑ์ การซ่อมบ�ำรุง การดูแลด้าน วิศวกรรมเครื่องกลและงานไฟฟ้า การก�ำจัด
แมลง การตรวจนับสินค้า การดูแลภูมิทัศน์ สวน สระว่ายน�้ำ หรือแม้แต่การบริหารงาน ด้านโภชนาการอาหารและการจัดเลี้ยง (catering) ภายใต้การควบคุมโดยทีมงานพีซีเอส ที่ มี ป ระสบการณ์ ช่ ว ยลดภาระและเพิ่ ม ประสิทธิภาพสูงสุดในการด�ำเนินกิจการหลัก ของลูกค้า” จากผลการด� ำ เนิ น งานที่ มี คุ ณ ภาพ อย่างต่อเนื่องส่งผลให้ในปี 2557 ที่ผ่านมา พีซีเอส ได้รับรางวัลองค์กรผู้ให้บริการบริหาร จัดการอาคารยอดเยี่ยมแห่งปี หรือ Thailand Facilities Management Company of the Year จากองค์กรให้ค�ำปรึกษาและวิจัยระดับ โลก Frost & Sullivan ซืง่ พีซเี อสถือเป็นองค์กร แรกและหนึ่ ง เดี ย วในประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ รางวัลสาขาในครั้งนี้
การตลาดที่มุ่งเน้นเรื่อง Health Care
ในปี 2558 พีซีเอส มีแผนรุกขยาย ฐานลูกค้ากลุ่มธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนและ ภาครัฐ โดยช่วงสามปีทผี่ า่ นมาบริษทั ฯ มีอตั รา Vol.21 No.208 March-April 2015
คุ ณ ธนา เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งเป็น กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พีซเี อส (ประเทศไทย) เพือ่ เป็นหัวหน้าคณะท�ำงานซึง่ มีหน้าทีส่ ง่ เสริม สถานะทางการตลาดของพีซเี อส ในฐานะผูน้ ำ� ธุรกิจการให้บริการบริหารจัดการอาคารแบบ ครบวงจร (Total Facilities Management: TFM) ของเมืองไทย โดยความรับผิดชอบหลัก ของคุณธนา คือ การน�ำความเติบโตและความ ส�ำเร็จมาสู่องค์กร รวมถึงการยกระดับสถานะ และคุ ณ ภาพในงานบริ ก ารรั ก ษาความ ปลอดภัยแบบครบวงจร บริการดูแลความ สะอาด บริการด้านวิศวกรรมเครื่องกล และ งานไฟฟ้า บริการสุขอนามัยภัณฑ์ บริการดูแล สวน บริการก�ำจัดแมลง บริการด้านโภชนาการ บริการตรวจนับสินค้าคงคลัง และบริการด้าน บุคลากร ด้วยประสบการณ์และความทุ่มเท เพือ่ พัฒนาการท�ำงานทัง้ ในด้านการตลาดและ การบริหารการด�ำเนินงานมานานกว่า 20 ปี คุณธนาได้น�ำความรู้ ความเข้าใจในเชิงลึก ตลอดจนทักษะด้านการบริหารองค์กร และ การตลาดมาปรับปรุงคณะท�ำงานของพีซีเอส เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็ง และความเติบโต
67
Idol & Model
Vol.21 No.208 March-April 2015
การเติบโตกว่า 20-30% ปีต่อปี (year-onyear) ในกลุม่ ธุรกิจสถานพยาบาลหรือ Health Care Sector ทั้งนี้ลูกค้าปัจจุบันที่บริษัทฯ ให้ บริการ อาทิ กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ กลุ่ม โรงพยาบาลสมิตเิ วช กลุม่ โรงพยาบาลพญาไท กลุ่มโรงพยาบาลรามค�ำแหง โรงพยาบาล บี เอ็น เอช โรงพยาบาลพระรามเก้า โรงพยาบาล วิ ภ าวดี โรงพยาบาลศิ ริ ร าช ปิ ย มหาราชการุณย์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ อาคารภูมสิ ริ ิ มังคลานุสรณ์ ฯลฯ เป็นต้น “ธุรกิจสถานพยาบาลในประเทศไทย เป็นธุรกิจทีม่ ศี กั ยภาพสูงด้วยมูลค่าการตลาด กว่า 100,000 ล้านบาท และจากการส�ำรวจ โดย LH Bank ในปี 2556 พบว่า มีโรงพยาบาล เอกชน 336 แห่ง หรือ 33,698 เตียงทัว่ ประเทศ ธุรกิจในกลุ่มนี้มีการขยายตัวมากขึ้นเรื่อย ๆ เพือ่ รองรับการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในขณะเดียวกันสถานพยาบาลก็เน้นความ ส�ำคัญเรื่องมาตรฐานคุณภาพ HA (Hospital Accredited) ภายใต้การรับรองมาตรฐาน ระดับโลก เช่น JCT (The Joint Commission International) โดยสถาบัน JCI องค์กรอิสระ ที่ไม่หวังผลก�ำไรของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับการ ยอมรับมานานกว่า 75 ปี ปัจจุบนั มีโรงพยาบาล ที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI กว่า 300 แห่ง ใน 39 ประเทศทั่วโลก ส�ำหรับประเทศไทยมี
68
โรงพยาบาลที่ผ่านการรับรองมาตรฐาน JCI เพียง 38 แห่ง โดย 20 แห่ง หรือ 5,178 เตียง เป็ น ลู ก ค้ า ของพี ซี เ อส ไม่ นั บ รวมสถาน พยาบาลอื่น ๆ อีกกว่า 20 แห่งหรือประมาณ 7,212 เตียง รวมทั้งหมดที่พีซีเอสให้บริการใน โรงพยาบาลทั่วประเทศกว่า 12,390 เตียง” คุณธนา กล่าวเพิม่ เติมว่า “ปัจจัยหลัก ของการเติบโตในส่วน Health Care Sector ของพีซีเอส มาจากคุณภาพมาตรฐานบริการ และความเชี่ยวชาญแบบครบวงจรที่เรามอบ ให้ลูกค้าบนพื้นฐานของความเป็นพันธมิตร ทางธุรกิจ บริษัทฯ ได้รับการรับรองมาตรฐาน ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001: 2004 ในส่วนกิจกรรมในส�ำนักงานซึ่งสนับสนุ น การให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ในด้ า นบริ ก ารท� ำ ความสะอาด บริการรักษาความปลอดภัยทั้ง โดยเจ้าหน้าที่และ รปภ. และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ บริการสุขอนามัยภัณฑ์ บริการด้าน การบริหารอาคารแบบครบวงจร และได้รับ การรับรองมาตรฐานระบบการบริหารจัดการ ISO 9001: 2008 นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีการ ฝึกอบรมทีมงานให้มีความรู้ความเข้าใจเพื่อ ให้สามารถปฏิบัติงานให้ลูกค้าได้ตรงตาม มาตรฐาน JCI ในสถานพยาบาล โดยพีซีเอส ในฐานะผู้ให้บริการสนับสนุน จะเกี่ยวข้องใน หมวด Facility Management and Safety (FMS) หมวด International Patient Safety Goals (IPSG) และ หมวด Prevention and Control of Infections (PCI) โดยทีมงานของบริษทั ฯ ต้องมี การตรวจสอบคุณสมบัตติ ามมาตรฐาน Staff Qualification & Education
(SQE) ที่ โ รงพยาบาลก� ำ หนดไว้ ใ นแต่ ล ะ ต�ำแหน่งงาน ซึ่งจุดเด่นของพีซีเอสดังกล่าว ถือเป็นส่วนส�ำคัญในการจรรโลงมาตรฐาน JCI ของโรงพยาบาลทั้งด้านภาพลักษณ์และ ความเชื่อมั่นให้แก่สถานพยาบาลนั้น ๆ ทั้งนี้ ภารกิจหลักของเรา คือ การแบ่งเบางานใน ส่วนที่ไม่ใช่ภารกิจหลักของลูกค้า และด้วย กลยุทธ์การให้บริการแบบ All in One ใน การบริหารจัดการอาคารครบวงจรดังกล่าว บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าจะสามารถขยายฐานลูกค้า ในกลุ่ม Health Care Sector ได้เพิ่มขึ้น 20% ตามเป้าหมายที่กำ� หนดไว้ภายในปีหน้านี้”
บริหารบุคลากรสไตล์พีซีเอส
เนื่องด้วยบริษัทในกลุ่ม โอซีเอส กรุ๊ป มี บ ริ ษั ท ลู ก อยู ่ ใ นประเทศไทยหลายบริ ษั ท ได้แก่ บริษทั พรอพเพอร์ตี้ แคร์ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ พีซีเอส (PCS) ให้ บริการบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจรที่ ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย บริษัท แคนนอน เพสต์ เมเนตเมนท์ จ�ำกัด คือ บริษัทร่วมทุน ระหว่าง พีซีเอส กับ บริษัท แคนนอน เพสต์ คอนโทรล อินเดีย จ�ำกัด (PCI) ผู้ให้บริการ ก�ำจัดแมลงและสัตว์รบกวนที่ใหญ่ที่สุดใน อินเดีย ตัง้ แต่ปี 2497 ให้บริการด้วยผลิตภัณฑ์ ทีผ่ า่ นการรับรองจากส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยาสหรัฐ พร้อมด้วยความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ที่ สั่ ง สมมากกว่ า 50 ปี แคนอน ไฮยีน คือ แบรนด์ในเครือโอซีเอส ซึ่ง มี ชื่ อ เสี ย งด้ า นบริ ก ารสุ ข อนามั ย ในห้ อ งน�้ ำ มอบประสบการณ์ในห้องน�้ำที่ดีกว่าให้แก่ ลูกค้ามายาวนานกว่า 50 ปี ด้วยบริการที่ครบ
Idol & Model พร้อมกับมีระบบการบริหารจัดการบุคลากร “บริษัทฯ ได้แบ่งทีม Operation และทีม Specialist อาทิ ทีม Health Care ก็จะเป็นทีม Specialist ซึ่ ง จะต้ อ งเข้ า ไปโฟกั ส ในโรงพยาบาล และยังมีทีมที่เข้าไปดูแลในโรงงาน อุตสาหกรรม รวมไปถึงทีมเฉพาะทางที่เข้าไป ดูแลในส่วนอื่น ๆ นั่นคือ หากลูกค้ารายใด ต้องการความพิเศษ บริษทั ฯ ก็จะมีทมี เฉพาะทางเข้าไปดูแล การบริการก็จะขึน้ อยูก่ บั ความ ต้องการของลูกค้านั่นเอง ซึ่งทีมเฉพาะทางก็ จะเป็ น เหมื อ นพี่ เ ลี้ ย งที่ จ ะต้ อ งคอยพั ฒ นา ทักษะให้กับทีม Operation ด้วย ทุกวันนีแ้ รงงานในประเทศขาดแคลน ไม่ใช่เฉพาะพีซีเอสเท่านั้น การเปิดประชาคม อาเซียนน่าจะช่วยให้อุปสรรคนี้คลี่คลายได้ โดยเฉพาะแรงงานวิชาชีพทางด้านงานช่าง งานวิศวกรรม ซึ่งในวันนี้พีซีเอสก็เริ่มที่จะเปิด โอกาสให้ช่างหรือแม้กระทั่งพนักงานดูแล ความสะอาดทีม่ าจากประเทศเพือ่ นบ้าน อาทิ เวียดนาม กัมพูชา เมียนม่าร์ เข้ามาร่วมงาน กั บ บริ ษั ท ฯ เนื่ อ งจากพี ซี เ อสมี ธุ ร กิ จ อยู ่ ใ น ประเทศเพื่อนบ้านที่บุคลากรต่างได้รับการ ฝึกอบรมมาแล้ว จึงสามารถท�ำงานภายใต้ มาตรฐานเดียวกันทั่วโลก” ทั้งนี้แรงงานระดับกลางของบริษัทฯ ก็มีอัตราการ Turn over ค่อนข้างสูง ท�ำให้ พีซเี อส จะต้องปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการ บริหารบุคลากรอย่างต่อเนื่อง “เมื่ออัตราการ Turn over ของพนักงานสูง เนื่องจากธุรกิจ บริการต่างใช้แรงงานในกลุม่ คนเดียวกันตลาด การแข่งขันจึงสูงเพราะทุกคนต่างต้องการ แรงงานเหมือนกันหมด บริษัทฯ จึงพัฒนาใน
เรื่ อ งสวั ส ดิ ก ารที่ ดี และมี โ ปรแกรมหลาย ประเภท อาทิ Long Service Award รวมไปถึงมีรางวัลเพื่อกระตุ้นแรงจูงใจในการ ท�ำงาน รางวัลพิเศษ เช่น หากพนักงานดูแล ความสะอาดเก็บของคืนเจ้าของ และทีส่ ำ� คัญ ที่สุด คือ บริษัทฯ มีแนวทางการเติบโตใน สายงานที่ชัดเจน อาทิ พนักงานดูแลความ สะอาดมี 5 เกรด พนั ก งานรั ก ษาความ ปลอดภัยมี 5 เกรด ก็จะเติบโตขึ้นมาเรื่อย ๆ ตามระดับเกรด พนักงานทุกคนจึงมีโอกาส เติบโตในงานอย่างแน่นอน”
แผนด�ำเนินงาน
“บริษทั ฯ วางแผนไว้วา่ ภายใน 3 ปี เรา คงแตะที่ 1 หมื่นล้านบาท กลยุทธ์ที่มุ่งสู่ความ เจริญเติบโต คือ Total Facilities Management: TFM นั่นคือ บริษัทฯ จะเน้นหนักที่การ บริหารจัดการให้มากขึ้น เนื่องจากงานบริการ ของเราเป็นงานทีม่ งุ่ สร้างภาพลักษณ์ให้กบั ตัว องค์กรของเราเอง รวมไปถึงองค์กรของลูกค้า การบริหารจัดการที่ดีก็จะส่งเสริมให้พันธกิจ ของบริษัทชัดเจนและครอบคลุมมากขึ้น” คุณธนา ยังได้กล่าวถึงหลักในการ ด�ำเนินงานขององค์กรอีกว่า “ในปีนแี้ ละปีหน้า ถือว่าเป็น Challenge ของบริษัทฯ พอสมควร แต่นจี่ ะเป็นข้อดี เนือ่ งจากว่าหากธุรกิจต้องการ ที่จะเติบโตอย่างรวดเร็ว จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะ ต้องหา Partner พีซีเอส มีความพร้อมที่จะ เติบโตไปพร้อมกับพันธมิตร เรามองเห็นว่า ธุรกิจของเราทั้งในประเทศและต่างประเทศ อาทิ ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย เวียดนาม กัมพูชา ทีเ่ ปิดด�ำเนินการแล้ว และทีก่ �ำลังเปิด ด�ำเนินการในประเทศเมียนม่าร์ ฟิลปิ ปินส์ ต่าง มีโอกาสที่จะเข้าสู่การแข่งขันในอนาคตและ บรรลุเป้าประสงค์ที่เราได้วางแผนไว้”
Vol.21 No.208 March-April 2015
วงจรและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ห ลากหลาย ตั้ ง แต่ อุปกรณ์ฆ่าเชื้อและดับกลิ่นไปจนถึงบริการ ก�ำจัดผ้าอนามัย โคมิน เอเชีย คือ ผูใ้ ห้บริการ ด้ า นวิ ศ วกรรมในระดั บ สากล ซึ่ ง มี ธุ ร กิ จ ครอบคลุ ม ทั่ ว ทั้ ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉียงใต้ ก่อตั้งในประเทศกัมพูชา เมื่อปี 2535 ปัจจุบันมีพนักงานที่เปี่ยมด้วยความรู้และ ความเชี่ยวชาญกว่า 1,600 คน เพื่อให้บริการ ซ่อมบ�ำรุงทั้งในด้านเครื่องกลไฟฟ้าแก่อาคาร ทุกประเภท ใน 5 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา เวียดนาม ลาว พม่า และไทย ฟู้ดเฮ้าส์ ผู้ให้ บริ ก ารด้ า นโภชนาการแบบครบวงจรแก่ หน่วยงานชัน้ น�ำกว่า 150 แห่งในอังกฤษ ก่อตัง้ เมื่อปี 2533 ฟู้ดเฮ้าส์ในประเทศไทย เกิดจาก การร่วมทุนระหว่าง พีซีเอสกับบริษัท เอส แอนด์ พี ซินดิแคท จ�ำกัด (มหาชน) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้บริการแก่ลูกค้าภายในประเทศ ด้วยคุณภาพและมาตรฐานสูงสุดในระดับ เดี ย วกั น “ที่ ผ ่ า นมาด้ ว ยความผั น ผวนจาก สภาวะเศรษฐกิ จ และสั ง คม ส่ ง ผลให้ เ กิ ด แนวโน้มของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ไม่ แน่นอน แต่มีอยู่ธุรกิจหนึ่งที่มีแนวโน้มความ เจริญเติบโตอย่างเห็นได้ชัด นั่นคือ ธุรกิจการ แพทย์และสุขภาพ เนือ่ งจากทีผ่ า่ นมารัฐบาล แทบทุ ก สมั ย ผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศไทยเป็ น Medical Hub และยั ง ส่ ง เสริ ม ถึ ง การเป็ น ศู น ย์ ก ลางในอาเซี ย น เพราะฉะนั้ น ธุ ร กิ จ โรงพยาบาลจึ ง มี แ นวโน้ ม ที่ มี ค วามเจริ ญ เติบโตที่แน่นอน เพราะทุกวันนี้คนเริ่มใส่ใจใน สุขภาพเพิ่มมากขึ้น” ดังนั้น บริษัทฯ จึงเริ่มผลักดันธุรกิจที่ เกี่ยวข้องกับ Health Care อย่างต่อเนื่อง
69
viboon@gmail.com
Q
Idol & Model for
uality
รางวั ล คุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ ดัชนีชี้วัดความสำ�เร็จที่ยั่งยืนขององค์กร สถาบัน
เพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ในฐานะส�ำนักงาน รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ได้ประกาศรายชื่อ 4 องค์กรคุณภาพ ทั้งองค์กรเอกชนในภาคผลิตและภาคบริการ และ องค์กรรัฐในภาคการผลิต ทีส่ ามารถคว้ารางวัล “การบริหารสูค่ วามเป็น เลิศ หรือ Thailand Quality Class (TQC)” ประจ�ำปี 2557 เพื่อยืนยัน ความเป็นเลิศในการบริหารจัดการองค์กรที่ทัดเทียมระดับมาตรฐาน สากล โดยในปีนไี้ ม่มอี งค์กรใดก้าวผ่านเกณฑ์และสามารถพิชติ “รางวัล คุณภาพแห่งชาติ” (Thailand Quality Award-TQA) ได้สำ� เร็จ คุณสมภพ อมาตยกุล ประธานคณะกรรมการรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ กล่าวว่า การพิจารณาให้รางวัลคุณภาพแห่งชาติ และรางวัล การบริหารสู่ความเป็นเลิศได้ด�ำเนินการมาครบรอบ 13 ปี แล้วในปี พ.ศ.2557 ซึ่งผลการตรวจประเมินองค์กรที่สมัครขอรับรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ (TQA) ประจ�ำปี 2557 มีองค์กรที่ได้รับรางวัล ดังต่อไปนี้ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ หรือ Thailand Quality Award (TQA) ซึ่งต้องได้รบั คะแนนการตรวจประเมินสูงกว่า 650 คะแนนขึน้ ไป ยังไม่มี องค์กรใดผ่านเกณฑ์การตรวจประเมิน รางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ หรือ Thailand Quality Class (TQC) ซึง่ ต้องได้รบั คะแนนการตรวจประเมินสูงกว่า 350 คะแนน มีจำ� นวน 4 องค์กร ได้แก่ 1. บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จ�ำกัด 2. ธุรกิจ 7-Eleven บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) 3. บริษัท ปตท.สผ. สยาม จ�ำกัด 4. สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแห่งประเทศไทย
70
for Quality Vol.21 No.208 March-April 20141
กองบรรณาธิการ
ประธานคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ กล่าวว่า “ในนามของคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ผมขอแสดงความ ยินดีกบั องค์กรทีไ่ ด้รบั รางวัลคุณภาพแห่งชาติในปีนี้ ซึง่ เป็นรางวัลระดับ ชาติที่ผู้บริหารหรือองค์กรต่าง ๆ ให้ความสนใจและเข้ามามีบทบาท สนับสนุน ด้วยความหวังว่ารางวัลนีจ้ ะเป็นแรงบันดาลใจทีส่ ำ� คัญในการ กระตุน้ ให้องค์กรหรือธุรกิจมีความสามารถในการแข่งขันเพิม่ ขึน้ ด้วยการ ยกระดับการบริหารจัดการสู่ระดับสากล ส�ำหรับทั้ง 4 องค์กร ที่ได้รับ รางวัล TQC ในปีนี้ มีทั้งเป็นองค์กรเอกชนในภาคผลิตและภาคบริการ และองค์กรรัฐในภาคการผลิต ซึง่ เป็นองค์กรใหม่ในปีนี้ นับว่าเป็นเรือ่ งดี ทีร่ างวัลคุณภาพแห่งชาติสามารถผลักดันองค์กรภาครัฐได้สำ� เร็จ โดยทัง้ 4 องค์กรดังกล่าวเป็นองค์กรที่มีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิผล มีการเรียนรู้และปรับปรุงการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง สามารถระบุจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง เพื่อมาใช้ในการพัฒนา ศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถขององค์กร อันน�ำไปสู่การเตรียม ความพร้อมเพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นองค์กรระดับมาตรฐานโลก คือ ได้รบั รางวัล คุณภาพแห่งชาติ หรือ TQA ในอนาคตได้” ดร. สันติ กนกธนาพร ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการรางวัลคุณภาพแห่งชาติ กล่าวว่า “ปี พ.ศ.2557 มีองค์กรทีส่ นใจสมัครขอรับรางวัลคุณภาพแห่งชาติจำ� นวน 31 องค์กร โดยมีองค์กรภาคบริการสมัครมากทีส่ ดุ คิดเป็นร้อยละ 45 รอง ลงมาเป็นภาคการผลิต ร้อยละ 42 ภาคการบริการสุขภาพร้อยละ 6.5 และภาคการศึกษาร้อยละ 6.5 ในรอบปีทผี่ า่ นมา บทบาทของส�ำนักงาน รางวัลคุณภาพแห่งชาติทมี่ ตี อ่ การส่งเสริมและผลักดันให้ภาคส่วนต่าง ๆ น�ำเกณฑ์ TQA ไปประยุกต์ใช้ อาทิ รางวัลสุดยอด SMEs ส�ำหรับกลุ่ม ผูป้ ระกอบการ SMEs และรางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิม่ ผลผลิต ส�ำหรับกลุม่ อุตสาหกรรม ซึง่ เป็นอีกก้าวหนึง่ ในการเตรียมความพร้อมไป สู่รางวัลคุณภาพแห่งชาติ เรียกได้ว่าเป็นความส�ำเร็จอย่างต่อเนื่อง” ส�ำหรับปี พ.ศ.2558 รางวัลคุณภาพแห่งชาติจะครบรอบ 13 ปี ซึง่ ยังคงด�ำเนินกิจกรรมทีส่ ง่ เสริม เผยแพร่ให้องค์กรต่าง ๆ น�ำเกณฑ์เพือ่ การด�ำเนินการที่เป็นเลิศไปใช้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยมีการเปลีย่ นแปลงเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพือ่ การด�ำเนินการ ที่เป็นเลิศปี 2557-2558 ซึ่งสิ่งส�ำคัญที่สุดและเป็นพื้นฐานของการบรรลุ ความส�ำเร็จ คือ ความต่อเนื่องของเกณฑ์ โดยเกณฑ์พัฒนาขึ้นจาก พื้นฐานของวิธีปฏิบัติที่ประสบความส�ำเร็จและเป็นแบบอย่างที่ดีของ
Idol & Model
คุณวีรเดช อัครผลพานิช
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จำ�กัด
“จากที่ได้รางวัล TQC มาหลายปี แต่ยังคงมีความมุ่งมั่นต่อไป นีเ่ ป็นค�ำถามทีเ่ กิดขึน้ กับเรามาโดยตลอด ในชีวติ ขององค์กรของเรา เรา อยู่กับความยาก เพราะฉะนั้นจะต้องแจ้งเรียนว่าความยากของเกณฑ์ รางวัลคุณภาพแห่งชาติที่มีการเปลี่ยนแปลงของเกณฑ์ตลอดเวลา ขอ เรียนว่าเรากลับชอบ เพราะหากไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลย เราคงไม่ สามารถเดินมาได้ถงึ ทุกวันนี้ สิง่ ทีเ่ ป็นแรงผลักดัน คือ เรายังคงยืนอยูบ่ น วิถแี ห่งความเชือ่ จนเกิดเป็นความศรัทธา กาลเวลาทีผ่ า่ นไปส่งผลต่อกรรม ที่เป็นเครื่องส่อเจตนาท�ำให้เราและพนักงานในองค์กรทยอยที่จะเรียนรู้ และเริม่ เข้าใจ และเกิดเป็นศรัทธาทัว่ ทัง้ องค์กรว่า การยึดถือและปฏิบตั ิ ภายใต้เกณฑ์เพื่อไปบรรลุซึ่งความเป็นองค์กรที่เป็นเลิศ คือ หนทางที่ พิสจู น์ทราบให้เรารูว้ า่ จะสามารถน�ำพาองค์กรนีฟ้ นั ฝ่าคลืน่ ลมและมรสุม ต่าง ๆ ไปได้ ในรอบ 5-7 ปีที่ผ่านมา เราอยู่ในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
▲
ต่าง ๆ ในทุกมิติ เพราะฉะนัน้ หากเราทราบถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจ และคิดว่าจะท�ำอย่างไรให้องค์กรนีอ้ ยูร่ อดได้ เกณฑ์นคี้ อื ค�ำตอบ เพราะ องค์กรอยู่รอด เติบโต และเป็นการเติบโตอย่างก้าวกระโดด พนักงาน ทุกคนที่เป็นผู้ปฏิบัติได้มีการพัฒนาตนเอง เกิดการทบทวนตนเอง เรียนรู้พัฒนาวิธีคิด วิธีปฏิบัติ จึงเกิดระบบงานและการปฏิบัติงานที่ สอดคล้องกัน รวมกันเป็นหนึ่งเดียวได้ ก็ส่งผลย้อนกลับไปสู่ลูกค้าและ ตลาดที่ดำ� เนินอยู่ในธุรกิจของเรา บริษัท เคาน์เตอร์เซอร์วิส จ�ำกัด ถือ เป็นองค์กรทีไ่ ม่มอี งค์กรต้นแบบ ทุกย่างก้าวทีเ่ กิดขึน้ และน�ำสูต่ ลาดเป็น สิ่งที่เราจะต้องพยายามสร้างสรรค์และคิดออกมาเพื่อตอบลูกค้าและ ตลาด ทุกวันนี้บริษัทฯ ยังดูแลครัวเรือนกว่าครึ่งประเทศ ท�ำอย่างไรที่ จะท�ำให้ครัวเรือนเข้าถึงบริการที่เรามี จึงเกิดเป็นการพัฒนาและคิดค้น วิธแี ละออกมาเป็นบริการและผลิตภัณฑ์ ตรงนีจ้ งึ เกิดเป็นนวัตกรรมของ ค�ำว่าบริการนั่นเอง มีส่วนที่จะได้ประโชน์ นั่นคือ ลูกค้า พนักงาน และ องค์กร ต่อยอดสู่ความยั่งยืนต่อไป”
คุณพูลสวัสดิ์ เผ่าประพัธน์ รองกรรมการผู้จัดการ สำ�นักพัฒนาองค์กรคุณภาพ และความยั่งยืน ธุรกิจ 7-Eleven บริษัท ซีพี ออลล์ จำ�กัด (มหาชน)
“7-Eleven เติบโตขึ้นทุกปี แต่ด้วยวิสัยทัศน์ของท่านผู้น�ำ โดยเฉพาะ คุณก่อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ปัจจุบันท่านด�ำรงต�ำแหน่ง Chairman ของ กลุ่มบริษัท ซีพี ออลล์ จ�ำกัด (มหาชน) ทุกวันนี้ธุรกิจของเราที่เติบโตขึ้น มาได้อย่างต่อเนื่องจะยั่งยืนไม่ได้หากเรามองอนาคตไม่ออก แต่เกณฑ์
Vol.21 No.208 March-April 2015
▲
องค์กรต่าง ๆ ทั้งนี้จุดมุ่งเน้นเชิงกลยุทธ์ของเกณฑ์รางวัลคุณภาพ แห่งชาติ มีประเด็นหลัก 3 ข้อ โดยมุ่งเน้นไปถึงอนาคตซึ่งจะสะท้อน “ความอยู่รอดและยั่งยืนขององค์กร” ประกอบด้วย (1) การออกแบบ และใช้ระบบงานที่แข่งขันได้ ซึ่งเน้นสมรรถนะหลักองค์กรที่เป็นการ ตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ อันเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของผู้น�ำระดับสูง อีกทั้งยังเป็นเรื่องหลักในการสร้างกลยุทธ์ (2) การปลูกฝังและจัดการ นวัตกรรม โดยประเด็นทีจ่ ะพัฒนาโอกาสของความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ไปเป็นความยั่งยืน คือ นวัตกรรมและการจัดการ ดังนั้น ผู้บริหารระดับ สูงต้องสร้างสภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุนให้เกิดบรรยากาศ รวมทั้งต้องมี กระบวนการในการหาโอกาสเชิงกลยุทธ์ (strategic opportunity) และ ต้องมีการตัดสินใจเรื่อง Intelligent Risks Taking ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ กลยุทธ์ และ (3) ความสามารถจัดการสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งกลไกการ บริหารจัดการที่ดีที่สุด คือ การมีค่านิยมองค์กรที่เข้มแข็ง อันเป็นส่วน หนึ่งของเกณฑ์ดังกล่าวด้วย ทั้ง 4 องค์กรที่ได้รับรางวัลในปีนี้ต่างเป็นองค์กรที่แข็งแกร่งและ เป็นที่รู้จักเป็นอย่างดี แต่ยังคงเล็งเห็นความส�ำคัญของการพัฒนา คุณภาพของตนเองให้ยงั่ ยืนและต่อยอดโดยยังเป็นต้นแบบให้กบั องค์กร อื่น ๆ ได้รับเกียรติจากท่านผู้บริหารทั้ง 4 บริษัท แสดงทัศนะ เกีย่ วกับการมุง่ มัน่ พัฒนาตนเอง และเป้าหมายทีไ่ ด้รบั เพือ่ มีสว่ นในการ กระตุ้นให้ทุกภาคส่วนได้ใช้เป็นแบบอย่าง
71
Idol & Model
องค์กรที่ว่า เราต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป และด้วยหลักเกณฑ์รางวัลนี้ท�ำให้เราสามารถ ปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์ได้ เราตัง้ ปณิธานว่า เราจะขับเคลือ่ น ให้องค์กรมุ่งสู่ความยั่งยืน เอื้อประโยชน์ต่อสังคมประเทศชาติ และไม่ ท�ำลายสิ่งแวดล้อม”
▲
ของรางวัลคุณภาพแห่งชาติชว่ ยให้เรามองได้ครบ โดยเฉพาะมุมมองทาง ด้านสังคม ซึ่ง 7-Eleven ก็ให้ความส�ำคัญกับเรื่องนี้เป็นอย่างมาก และ ส่งผลให้เกิดแรงผลักดันให้บริษัทฯ ด�ำเนินกิจกรรมหลายอย่าง โดยเรา มองถึง 3 ประโยชน์ คือ บริษทั ประชาชน และประเทศชาติ ซึง่ สอดคล้อง กับนโยบายของเครือบริษทั ฯ กล่าวได้วา่ ธุรกิจจะอยูไ่ ม่ได้ถา้ 3 ประโยชน์ นี้เดือดร้อน ทั้งนี้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติมีการปรับปรุงให้ดีขึ้นทุกปี อาทิ เรื่องโลกร้อน ซึ่งประเด็นนี้กระทบกับคนหมู่มากและส�ำคัญมาก องค์กรขนาดใหญ่ตอ้ งมีสว่ นเข้ามาดูแล เพราะฉะนัน้ เราจึงต้องตระหนัก ในเรื่องสังคมโดยรวมให้มากขึ้น พร้อมกับการพัฒนานวัตกรรมที่ตอบ โจทย์ความต้องการของสังคมและประเทศชาติ โดยร่วมมือกับภาครัฐ สร้างสมดุลให้กบั ภาคธุรกิจ ปลาใหญ่จะไม่กนิ ปลาเล็ก แต่เปลีย่ นแปลง ไปเป็นปลาใหญ่จะน�ำพาปลาเล็กไปหากินในที่ที่เหมาะสม”
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานโครงการต่างประเทศ บริษัท ปตท.สผ. สยาม จำ�กัด
Vol.21 No.208 March-April 2015
“บริษัท ปตท.สผ. สยาม จ�ำกัด มีวัตถุประสงค์ คือ จะต้องมี ความเจริญเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง และพัฒนาโดยปราศจากจุดบกพร่องที่ เกิดขึ้นตามแต่ละช่วงเวลา และจะต้องก้าวทันต่อเทคโนโลยี ด้วย วัตถุประสงค์นที้ ำ� ให้เราค้นหาเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสม และพิจารณาแล้วว่า หลักเกณฑ์ของรางวัลคุณภาพแห่งชาติ เป็นหลักเกณฑ์ที่จะช่วยให้เรา ก้าวไปถึงจุดนัน้ ได้ จนกระทัง่ เป็นวัฒนธรรมองค์กรในกลุม่ ปตท. ว่า เรา ทุกคนจะต้องก้าวไปสู่จุดนั้นโดยอาศัยหลักเกณฑ์ของรางวัลคุณภาพ แห่งชาติ ปีที่ผ่านมาเราได้เข้าร่วมตรวจสอบรางวัลนี้ ซึ่งผลที่ได้แม้ว่าเรา จะได้รับเพียงรางวัล TQC แต่ผลประเมินที่ได้รับเป็นกระจกส่องให้เรา เห็นว่ามีอะไรบ้างที่เราต้องปรับปรุง ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
72
▲
ดร.วินิตย์ หาญสมุทร
ดร.วรพร ตั้งสง่าศักดิ์ศรี
ผู้ช่วยผู้ว่าการสายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแห่งประเทศไทย
“ในฐานะทีเ่ ป็นองค์กรน้องใหม่ทไี่ ด้รบั รางวัลการบริหารสูค่ วาม เป็นเลิศ หรือ Thailand Quality Class (TQC) เป็นปีแรก แรงจูงใจที่ เข้าร่วมกับกิจกรรมนี้ คือ แรงจูงใจทีเ่ กิดขึน้ จากภายในองค์กร นัน่ เพราะ ในความเป็นจริงแล้ว วัฒนธรรมองค์กรของเรามุ่งเน้นถึงความเป็นเลิศ อยู่ตลอดเวลา คือ เรามีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา ที่ ผ่านมาองค์กรจึงพยายามหาเครื่องมือที่เหมาะสมมาใช้ และเราก็ได้ เลือกใช้เครือ่ งมือทีห่ ลากหลายแทบทุกอย่างทีม่ อี ยูใ่ นประเทศ รวมไปถึง มาตรฐาน ISO และ Integrated Management System: IMS เข้าใจว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย น่าจะเป็นองค์กรภาครัฐแห่งเดียวที่ได้รับ มาตรฐานนี้ และยังพยายามหาเครื่องมือที่จะช่วยพัฒนาตัวเองอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งเกณฑ์ของ TQA เป็นไปตามที่เราต้องการ เพราะเกณฑ์นี้ จะเป็น Guideline ที่จะช่วยให้เราเดินไปได้อย่างต่อเนื่อง และน�ำเราสู่ ความเป็นเลิศที่เราต้องการจะเป็น”
Q
of Life for
uality
Relax
Special Issue
for
Q
uality
Relax
“สัมผัสประสบการณ์พักผ่อนที่ไม่เหมือนใคร กับกลิ่นอายของธรรมชาติ ป่าเขา และน�้ำตก ได้ท ี่ Khaoyai Paradise on Earth”
74
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
Khaoyai Paradise on Earth เป็นรีสอร์ท เล็ก ๆ ท่ามกลางธรรมชาติบนเขาใหญ่ ทีจ่ ะให้คณ ุ พักผ่อน สบาย ๆ ในบ้านพักส่วนตัว ตกแต่งสไตล์ Tropical Modern ที่เน้นการผสมผสานอย่างลงตัวระหว่างความ ทันสมัยและธรรมชาติ และออกแบบภายใต้แนวคิด Family Party จึงเหมาะส�ำหรับผู้ที่ต้องการมาสังสรรค์ กับกลุ่มเพื่อน คู่รัก หรือมาเป็นครอบครัว เราเน้นการให้ บริการแบบใส่ใจลูกค้า และท�ำให้ลูกค้ารู้สึกอบอุ่น และ รู้สึกเป็นกันเองเหมือนได้มาพักผ่อนที่บ้านพักตากของ ตนเอง ซึ่งทุกคนที่ได้มาเยือนจะได้สัมผัสกับความสุข สบายในนิ ย ามของค� ำ ว่ า Warm Welcome & Welcome Back Khaoyai Paradise on Earth มีห้องพัก ให้เลือกหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น Pool Villa, Deluxe, Superior, และ Standard ซึง่ แต่ละบ้านพัก ได้ถูกออกแบบให้แตกต่างกัน ซึ่งให้ความรู้สึกในการ
Relax มาพั กผ่อนที่แตกต่างกันไป เช่น President House เป็ น บ้ า นพั ก ขนาดใหญ่ ริ ม น�้ ำ ตก ถู ก ออกแบบให้มองเห็นทัศนียภาพทัง้ วิวสวน วิวน�ำ้ ตก และสระว่ายน�้ำ การตกแต่งโอ่โถง เพิ่มความ บันเทิงและการสังสรรค์ด้วยคาราโอเกะภายใน ตั ว บ้ า น มี พื้ น ที่ ใ ช้ ส อยกว้ า งขวาง ตอบสนอง ทุกกิจกรรมเหมาะส�ำหรับวันพักผ่อนอย่างแท้จริง นอกจากบ้าน President House ยังมี บ้าน Pool Villa เช่น Scenic House, Cascade House, Riverside House, Waterfall House, Fragrant Wood House ซึ่งให้พักผ่อนและ ผ่อนคลายได้อย่างเต็มที่ กับสระว่ายน�้ำถึง 2 ที่ และล�ำธารจากน�้ำตกเหวสุวัต ที่จะให้ทุกคนได้ สนุกสนานกับการเล่นน�ำ้ และสังสรรค์รมิ สระว่ายน�ำ้ และน�้ ำ ตก และให้ คุ ณ ได้ พั ก ผ่ อ นใกล้ ชิ ด กั บ ธรรมชาติ ม ากขึ้ น กั บ ศาลาและที่ นั่ ง พั ก สุ ด ชิ ล ล์ ท่ามกลางต้นไม้นานาพันธุ์และริมล�ำธารจากน�้ำตก เหวสุวัตที่ได้ขึ้นชื่อว่าเป็นน�้ำตกที่สวยอีกแห่งหนึ่ง ของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ที่ทั้งใสและเย็นชื่นใจ
Facilities & Activities
How to Get There
88 Moo 1, Tumbol Moosi, Aumphur Pak Chong, Nakorn Rachasrima 30130 Tel: (0) 81 918 1212, (0) 86 013 6464 Website : www.khaoyaiparadiseonearth.com Facebook: https://www.facebook.com/khaoyaiparadise Email: khaoyai.paradise@gmail.com
Khaoyai Paradise on Earth
Vol.21 No.208 March-April 2015
Khaoyai Paradise on Earth มี กิจกรรมน่าสนุกและผ่อนคลายท่ามกลางธรรมชาติ เช่น พายเรือคายัค ปาร์ตี้ BBQ ปาร์ตี้ริมสระว่าย น�้ำ ปั่นจักรยาน คาราโอเกะกลางแจ้ง งานเลี้ยง สังสรรค์รมิ น�ำ้ ตก นอกจากนีเ้ รายังเพิม่ ความสะดวก สบายด้วย Free Wi-Fi ครอบคลุมทั่วทั้งรีสอร์ท ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนในรีสอร์ทก็สามารถเล่น Wi-Fi ได้อย่างไม่ติดขัด พูดได้เต็มปากว่าเป็นที่พักผ่อนสบาย ๆ ที่ ให้บรรยากาศการพักผ่อนอย่างแท้จริง
75
Q
Movement for
uality
Book Guide Movement
Q
Book Guide for
uality
เครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้ากระแสสลับ
(Alternator) “เครือ่ ง
ก�ำเนิดไฟฟ้ากระแส สลั บ (ALTERNATOR)” รหัสวิชา 2104-2105 เล่มนี้ ตรงตาม หลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ (ปวช.) พุ ท ธศั ก ราช 2556 ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อหาครอบคลุมตามหลักสูตรการเรียนการ สอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาช่างไฟฟ้า เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในเรือ่ ง ➲ โครงสร้าง และหลักการท�ำงาน ของเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ➲ วิธก ี ารพันขดลวดอาร์เมเจอร์แบบ ต่าง ๆ ของเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟส และ 3 เฟส ➲ การควบคุมแรงดันไฟฟ้า และการ ขนานเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ➲ การบ�ำรุงรักษา และถอดประกอบ เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
รหัสวิชา 2104-2105 ผู้เขียน ไชยชาญ หินเกิด จำ�นวน 56 หน้า ราคา 180 บาท เหมาะสำ�หรับ นักศึกษาระดับ ปวช. สาขาช่างไฟฟ้า รวมทั้งบุคคลทั่วไป ที่สนใจศึกษาเรื่องเครื่องกำ�เนิดไฟฟ้ากระแสสลับ สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
77
Q
Movement for
uality
C ongratulations บริษัท ทูฟ ซูด (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดย Mr.Peter Porzler: Vice President และ คุ ณ ปริ วั ต ร อั ค รพิ ม าน: MHS Manager มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งในการมอบใบรับรอง ระบบมาตรฐาน ISO 13485:2003 ให้แก่ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะวัสดุแห่งชาติ (MTEC) โดยมี รศ.ดร.วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ให้เกียรติรับมอบ ส�ำหรับมาตรฐานที่ได้รับนั้นเป็นมาตรฐาน สากล ที่ระบุถึงข้อก�ำหนดส�ำหรับระบบการจัดการคุณภาพขององค์กรและด้านความปลอดภัย โดยเฉพาะส�ำหรับโรงงานผูผ้ ลิตเครือ่ งมือแพทย์ วัตถุประสงค์ของมาตรฐานนีค้ อื การน�ำข้อก�ำหนด ในมาตรฐานมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในองค์กรในทุก ๆ ด้าน เช่น ด้านกระบวนการ ผลิต ด้านการบริหารและการจัดการ และความปลอดภัย ดังนั้น ลูกค้าหรือผู้ใช้บริการในองค์กรที่ได้รับรองมาตรฐาน ISO 13485 นั้น สามารถ มั่นใจได้ว่าท่านจะได้รับผลิตภัณฑ์ที่ซึ่งสอดคล้องต่อความต้องการและเปี่ยมไปด้วยคุณภาพและความปลอดภัย
E vent กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) เดินครื่องยกระดับอุตสาหกรรมเครื่องส�ำอางตั้ง คลัสเตอร์อุตสาหกรรมเครื่องส�ำอาง (Thai Cosmetic Cluster) รับมือกับการแข่งขันในตลาดเสรี ทีท่ วีความรุนแรงมากขึน้ เมือ่ เข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างสมบูรณ์ในปลายปี 2558 เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องส�ำอางไทยให้มีความ เข้มแข็งและประสานความร่วมมือกันในการหาแนวทางในการเพิ่มศักยภาพร่วมกัน อย่างไรก็ดี เพื่อเป็นการเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งด้านวิชาการและ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การค้าและการลงทุน รวมทั้งการพัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงได้จัดพิธี ลงนามความร่วมมือด้านวิชาการและด้านอุตสาหกรรมเครื่องส�ำอาง 3 ภาคี คือ กลุ่มคลัสเตอร์อุตสาหกรรมเครื่องส�ำอางไทย มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง และผู้ประกอบการซัพพลายเออร์เครื่องส�ำอาง โดยมี คุณอาทิตย์ วุฒิคะโร อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นประธานสักขีพยาน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนบุคลากร สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้และงานวิจัย ตลอดจนการร่วมมือกันพัฒนาหลักสูตรทั้งภาค ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ รวมทั้งการต่อยอดการพัฒนาสร้างนวัตกรรมให้เกิดมูลค่าเพิ่มและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ซึ่งจะก่อให้เกิดความร่วมมือใน ระดับโซ่อปุ ทาน (supply chain) ส่งผลให้การประกอบธุรกิจเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและตอบโจทย์กระแสความต้องการของผูบ้ ริโภคใน ตลาดสากล พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ (ที่ 2 จากขวา) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลแก่สถานประกอบการที่ปฏิบัติตามมาตรการใน การรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิง่ แวดล้อมและมีการจัดสภาพแวดล้อมดีเด่นประจ�ำปี 2557 (EIA Monitoring Awards 2014) รวม 83 โครงการ ซึ่งจัดโดยส�ำนักนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยมี คุณเกษมสันต์ จิณณวาโส (ที่ 3 จากขวา) เลขาธิการส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ให้การต้อนรับ ภายใน งานมีการจัดเสวนาพิเศษ “ปฏิรปู ระบบ EIA?” รวมถึงจัดแสดงนิทรรศการ “การจัดการและรักษา สภาพแวดล้อมโครงการต่าง ๆ ของสถานประกอบการ” จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ได้รับรางวัล ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย์ราชการและ คอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ ติดตามรายละเอียดข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.Facebook.com/EIAMonitoringAwards
78
for Quality Vol.21 No.208 March-April 2015
Movement
E vent คุณพิชัย วงศ์ไวศยวรรณ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ คุณชนะ สัมพลัง ประธานจัดงานสถาปนิก’58 และ คุณชาตรี มรรคา กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด แถลงข่าวการเตรียมความพร้อมการจัดงานสถาปนิก’58 งานแสดงศักยภาพทางการออกแบบของสถาปนิกไทย ASA NEXT | ตัวตน คนไทย และงาน แสดงเทคโนโลยีสถาปัตยกรรมใหญ่ที่สุดในอาเซียน ระหว่างวันที่ 28 เมษายน-3 พฤษภาคม 2558 ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้าอิมแพค เมืองทองธานี โดยมี ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ คุณถวัลย์ วงษ์สวรรค์ คุณอนุชา ยูสานนท์ และ คุณสุรัสดา นิปริยาย ให้เกียรติ ร่วมงาน ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บีอีซี-เทโร มิวสิค (#BecTeroMusic) สานต่อความแข็งแกร่งและผู้น�ำด้านภาพยนตร์ คอนเสิร์ตจากปี 2557 เดินหน้ากลยุทธ์ Synergy Partners ด้วยการผนึกพันธมิตรยักษ์ใหญ่ รุก เติมเต็มประสบการณ์บันเทิงชั้นน�ำระดับโลกแบบเอ็กคลูซีฟบนจอขนาดยักษ์ในโรงภาพยนตร์ ครอบคลุมทุกความต้องการยิ่งขึ้น ล่าสุดประกาศจับมือ เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ (MajorCinePlex) ถ่ายทอดสดคอนเสิร์ต “LOVELIVE 5th μ’s Go→Go! LoveLive! 2015~Dream Sensation!~” ซึ่งเป็นการถ่ายทอดสดผ่านดาวเทียมศิลปินสุดฮอตวงไอดอลอนิเมะจากประเทศญี่ปุ่นให้แฟน เพลงชาวไทยได้รับชมแบบสด ๆ เต็มรูปแบบเสมือนนั่งชมแบบชิดติดขอบเวทีในญี่ปุ่น โดยเปิด ให้รับชมพร้อมกันทั่วเอเชีย 2 รอบ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2558 เวลา 16.00 น. และเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 14.00 น. ทีผ่ า่ นมา โดยมัน่ ใจการผนึกก�ำลังครัง้ นีจ้ ะได้รบั การตอบรับจากแฟนเพลงชาวไทยเป็นอย่างดี พร้อมดันธุรกิจ คอนเสิร์ตในโรงภาพยนตร์ปี 2558 เติบโตต่อเนื่อง
คุณศิรินทร์ อาศน์ศิลารัตน์ ผู้จัดการแผนกการพัฒนาอย่างยั่งยืน อิเกีย ประเทศไทย (ที่ 3 จากซ้าย) พร้อมด้วยทีมงานจากอิเกีย มอบปุ๋ยบ�ำรุงต้นไม้ที่ผ่านการรีไซเคิลจากต้นสนสด อิเกีย ให้กับโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว เพื่อใช้ดูแลบ�ำรุงต้นไม้บริเวณโรงเรียนให้เติบโตงอกงาม ต่อไป โดยมี คุณบุญชู หวิงปัด ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนราชวินติ บางแก้ว (ที่ 3 จากขวา) และตัวแทน นักเรียนเป็นผู้รับมอบ ที่ผ่านมาอิเกียได้จ�ำหน่ายต้นสนสดกลิ่นหอมสดชื่นจากสวีเดน ระหว่าง วันที่ 26 ธันวาคม 2014 - 14 มกราคม 2015 และเชิญชวนให้ลูกค้าที่ซื้อต้นสนสดไปน�ำต้นไม้มา คืน พร้อมรับบัตรของขวัญแทนเงินสดมูลค่าครึ่งหนึ่งของราคาต้นไม้ จากนั้นอิเกียจึงน�ำต้นสนที่ น�ำมาคืนนั้นไปบดย่อยเป็นปุ๋ยบ�ำรุงต้นไม้ โดยในปีนี้อิเกียได้รับต้นสนคืนจากลูกค้าทั้งหมด 479 ต้น ซึ่งสามารถน�ำไปท�ำเป็นปุ๋ยได้ทั้งหมด 2,395 กิโลกรัม
Vol.21 No.208 March-April 2015
สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางอาหารแห่งประเทศไทย (FoSTAT) ร่วมกับ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) รวมถึงองค์กรอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง กับมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ นักวิทยาศาสตร์อาหาร (ด้านความปลอดภัยอาหาร) ได้ ด�ำเนินการจัดท�ำมาตรฐานอาชีพ นักวิทยาศาสตร์อาหาร (ด้านความปลอดภัยอาหาร) ระดับ 4 ระดับ 5 และระดับ 6 ส�ำเร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประกอบการทั้งในและต่างประเทศ เชื่อมั่นในความรู้ความสามารถ พร้อมทั้งส่งเสริมนักวิทยาศาสตร์อาหารให้มีการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนือ่ งและเป็นระบบ และเป็นทีย่ อมรับของผูป้ ระกอบการ ซึง่ มีการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลรายละเอียดโครงการฯ ผ่านทางเว็บไซต์ www. fostat.org ท่านที่สนใจสามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ที่ cfop@fostat.org
79
Movement
E vent
สายการบินเจ็ทสตาร์ แปซิฟิก (JetStar Pacific Airlines) ของเวียดนามซึ่งเป็นหนึ่งใน สมาชิกของกลุม่ เจ็ทสตาร์ (JetStar Group) ได้เปิดให้บริการเทีย่ วบินรายวันระหว่างนครโฮจิมนิ ห์ และกรุงเทพฯ การเปิดให้บริการเที่ยวบินครั้งใหม่นี้เป็นการเพิ่มความแข็งแกร่งในการให้บริการ ของกลุม่ เจ็ทสตาร์ 90 เทีย่ วบินไป-กลับต่อสัปดาห์ นับเป็นการเชือ่ มเส้นทางบินโดยกลุม่ เจ็ทสตาร์ ระหว่างกรุงเทพฯ เพื่อไปยังนครโฮจิมินห์ และต่อไปที่เมลเบิร์น (ออสเตรเลีย) ฟูกูโอกะ (ญี่ปุ่น) และสิงคโปร์ คณะกรรมการบริหารและทีมบริหารจาก ASHRAE Thailand Chapter ให้เกียรติเข้า เยี่ยมชม Data Center Demo Room ของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค โดยมี คุณธนัตถ์ เตชะธนบัตร รองประธานกรรมการ ธุรกิจไอที (ที่ 4 จากซ้ายแถวหน้า) ให้การต้อนรับ พร้อม คุณวิรัณ เชิงชวโน ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ (ขวาสุดแถวหน้า) เป็นผู้บรรยายเกี่ยวกับความส�ำคัญของ ระบบท�ำความเย็นในห้องดาต้าเซ็นเตอร์ทจี่ ะช่วยลดการใช้พลังงานในระยะยาว ณ อาคารรุง่ โรจน์ ธนกุล เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษทั เทพผดุงพรมะพร้าว จ�ำกัด น�ำโดย คุณจรีพร เทพผดุงพร (ที่ 5 จากขวา) ประธาน กรรมการบริหาร พร้อมด้วยคณะผู้บริหารระดับสูง มอบเงินทุนสนับสนุนแก่คณะแพทยศาสตร์ ศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เข้ากองทุนก่อสร้างอาคารนวมินทรบพิตร ๘๔ พรรษา ซึ่ง เป็นศูนย์การแพทย์แห่งใหม่ที่ให้บริการทางการแพทย์เฉพาะทางแก่ผู้ป่วยสามัญ และกองทุน พัฒนาแพทยศาสตร์ศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตร์ของไทย ให้สอดรับกับ วิวฒ ั นาการทางการแพทย์ในระดับสากล รวม 5,000,000 บาท โดยมี ศ.คลินกิ นพ.อุดม คชินทร (ที่ 3 จากซ้าย) อธิการบดี มหาวิทยาลัมหิดล ให้เกียรติเป็นผู้แทนรับมอบ ณ โรงพยาบาลศิริราช
Vol.21 No.208 March-April 2015
บริษัท โสสุโก้ แอนด์ กรุ๊ป (2008) จ�ำกัด ผู้ด�ำเนินการตลาดและการขายกระเบื้อง เซรามิกปูพนื้ และบุผนังตราโสสุโก้ พาคณะผูแ้ ทนจ�ำหน่ายทีม่ ยี อดขายโดดเด่น เดินทางสูป่ ระเทศ สวิตเซอร์แลนด์ เยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ปราสาทเก่าแก่ในเมืองกรูแยร์ เมืองเวอเว่ย์ซึ่งเป็นที่ตั้งของโรงงานช็อคโกแลตชื่อดัง ทะเลสาบเจนีวา น�้ำพุเจ็ทโด ยอดเขาเอกุยย์ กรุงเบิร์น ปิดท้ายด้วยการช้อปปิ้งที่ถนนบาห์นฮอฟ เมืองซูริก เพื่อเป็นขวัญก�ำลังใจในการสร้าง ผลงานต่อไปในปีหน้า โดยปัจจุบันโสสุโก้มีตัวแทนจ�ำหน่ายทั่วประเทศไทยกว่า 2,000 ราย
80
ทรู ไอดีซี เผยวิสัยทัศน์และแผนธุรกิจปี 2558 ตอกย�้ำผู้น�ำดาต้าเซ็นเตอร์และมุ่งสู่ผู้ให้ บริการคลาวด์อันดับ 1 ในไทย พร้อมก้าวขึ้นติดอันดับท็อป 5 ในภูมิภาคอาเซียน ประกาศจับมือ ผู้ให้บริการคลาวด์ระดับโลก อาทิ กูเกิล ไมโครซอฟท์ และ อเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส ยกระดับ บริการคลาวด์เต็มรูปแบบ ขานรับนโยบายเศรษฐกิจดิจทิ ลั ของภาครัฐ ชูกลยุทธ์ One Stop Shop เจาะกลุ่มลูกค้าเอสเอ็มอีและองค์กรธุรกิจ สยายปีกรุกตลาดอาเซียน ทั้งอินโดนีเชีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และพม่า พร้อมผนึก Switch เตรียมสร้างศูนย์ดาต้าเซ็นเตอร์แห่งใหม่มาตรฐานระดับ โลก อีกทั้งจัดทัพผู้บริหารใหม่ เดินหน้าขับเคลื่อนกลยุทธ์ ตั้งเป้ารายได้เติบโต 40% ในปีนี้ และ มากกว่า 1,000 ล้านบาท ภายใน 2 ปี
Movement
S how PROMAX PROLITE-57 เครื่องวัดแสงของสายไฟเบอร์ออปติก รุ่นราคาประหยัด ส�ำหรับงานติดตั้ง FTTx PROLITE-57 เป็นเครื่องวัดก�ำลังแสงของไฟเบอร์ออปติกขนาดมือถือ ออกแบบมาส�ำหรับงาน FTTx ที่ใช้เทคโนโลยี Passive Optical Network หรือ PON วัดได้ 3 ความยาวคลืน่ 1310nm, 1490nm และ 1550nm ส�ำหรับงานสัญญาณเสียง ข้อมูล และวิดีโอ พร้อมกันในสายเส้นเดียวกัน ➢ เหมาะส�ำหรับงานทดสอบภาคสนามและในห้องแล็บ ➢ ใช้วัดสัญญาณแบบปกติและการวัดแบบ Pass/Fail ที่ตั้งค่าได้ตาม ต้องการ ➢ ตรวจจับและวัดสัญญาณ Upstream Burst ที่ 1310nm ➢ ใช้ได้กับเน็ตเวิร์ก APON, BPON, EPON และ GPON ➢ มีสัญญาณแจ้ง Pass, Fail และ Warning ที่สังเกตได้ง่าย ➢ ท�ำงานด้วยแบตเตอรี่ Ni-MH ได้ต่อเนื่อง 20 ชั่วโมง หรือใช้อแดปเตอร์ ➢ อินเตอร์เฟส USB ➢ มีนาฬิกาในตัวแบบ Real-Time สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อ: คุณวิชิต ชำ�นาญการค้า โทร.08-1832-7016 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com, E-mail: info@measuretronix.com
บริษัท เมเชอร์ โทรนิกซ์ จำ�กัด
เลอโนโวเปิดตัวผลิตภัณฑ์ที่น�ำเสนอเทคโนโลยีน่าสนใจหลาก หลายผลิตภัณฑ์ที่ CES 2015 ประกอบไปด้วย LaVie โมบายพีซี รุ่นใหม่ที่สร้างนิยามใหม่ให้กับแล็ปท็อปน�้ำหนักเบา ด้วยน�้ำหนัก น้อยกว่าขวดน�้ำ 32 ออนซ์ YOGA Tablet 2 ขนาด 8 นิ้วบนระบบ Windows ที่มาพร้อมเทคโนโลยี Lenovo AnyPen ซึ่งเป็นนวัตกรรม ใหม่ที่ท�ำให้คุณสามารถใช้ปากกาประเภทใดก็ได้ในการเขียนบน YOGA Tablet 2 ขนาด 8 นิ้วของคุณ และกล้อง B50 3D Camera ที่ นับเป็นครั้งแรกที่คอมพิวเตอร์เดสก์ท็อปของเลอโนโวได้มีการรวม RealSense 3D Camera ของ Intel ไว้ด้วย บาง เบาแรง และดัดแปลงพร้อมรับมือทุกสถานการณ์ LaVie Z HZ750 คอนเวิร์ททิเบิลพีซีขนาด 13 นิ้วที่น�้ำหนักเบา ที่สุดในโลก น�ำเสนอมากกว่าความสะดวกสบายในการพกพา ด้วย ความยืดยุน่ ในการปรับจอแสดงผลทีส่ งู ถึง 360 องศา พร้อมกับบานพับ ที่ถูกพัฒนาโดยเลอโนโวส�ำหรับคอมพิวเตอร์รุ่นดังอย่าง YOGA จึง สามารถมั่นใจในประสิทธิภาพการดัดแปลงหน้าจอได้อย่างแน่นอน นอกจากน�้ำหนักที่เบาแล้ว LaVie Z ยังมีรูปลักษณ์ที่บางเฉียบเพียง 16.9 มิลลิเมตร อีกทั้งยังแข็งแรงทนทานอย่างไม่น่าเชื่ออีกด้วย เพราะ
ตัวเครือ่ งประกอบด้วยแมกนิเซียม-ลิเธียม (MG-Li) รวมไปถึงเทคโนโลยี พิเศษที่น�ำแมกนิเซียมลิเธียมมาเป็นกรอบด้านหลัง โดยวัสดุดังกล่าว มีน�้ำหนักเบากว่าอะลูมิเนียมถึง 50% และมีลักษณะแข็งแรงทนทาน เท่ากับแล็ปท็อปแมกนิเซียมอัลลอยอีกด้วย คอมพิวเตอร์รนุ่ HZ750 นัน้ เชือ่ มต่อระบบทัชสกรีนอย่างสมบูรณ์แบบ โดยใช้ฟลิ ม์ แทนวัสดุโคเวอร์ กล๊าสบนหน้าจอแสดงผล
Vol.21 No.208 March-April 2015
Lenovo
81
Vol.21 No.208 March-April 2015
Sumipol Co., Ltd. Technology Instrument Co., Ltd.
82
Pressure
Temperature & Huminity
etc.
pH Meter
Mass
Length
Hardness
Force
Electric
✗
✗
✗
✗
TQM
etc.
✗
Six Sigma
5S
✗
✗
✗
etc.
✗
✗
TIS/OHSAS 18001
✗
SA 8000
✗
✗
Training
Cover Inside Front Cover, 1 4 6
✗
✗
✗
Testing
Page
✗
Software
17
✗
ISO/TS 16949
Page
✗
ISO 14001
✗
ISO 9001
✗
Services
Measuretronix Ltd.
✗
Measurement
Products
✗
✗
Equipment
CCT Square Co., Ltd.
✗
ISO 17025
Consultancy & Training
2, 3 4 6
Calibration
Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. Sumipol Co., Ltd. Technology Instrument Co., Ltd.
Page
HACCP
Lab Calibrations
Dimension
Advertiser’s Index
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗
✗ ✗
✗
หมายเหตุ* Advertiser’s Index ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหาชื่อของบริษัทต่าง ๆ ที่ลงโฆษณาในนิตยสารฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด ๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณา หากเกิดความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ�ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
ศูนยรวมการออกแบบ
ผลิตส�อสรางสรรคครบวงจร *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, Website, ผลิตรายการโทรทัศน, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน
เราพรอมสงมอบผลงานคุณภาพ ไดมาตรฐาน รวดเร็ว ในราคาเปนกันเอง ทุกส�อสรางสรรคไวใจเรา
0-2258-0320# 1750 สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)
Available Now!
ครบเคร�องทุกเร�อง
ธุรกิจและอุตสาหกรรมที่คุณ
กับ
อยากรู
3 นิตยสารออนไลน
อานได ทุกที่ ทุกเวลา ผาน
3 ชองทาง
www.tpaemagazine.com www.tpa.or.th/publisher/journal.php TPA Bookshelf Application
ดาวนโหลดฟรี!!! ไดแลววันนี้ Search ทาง App Store และ Google Play