TN 255 -November-December 2017 Vol.44 No.255

Page 1

Technology Promotion and Innomag Magazine

Techno

November-December 2017 Vol.44 No.255

logy

Leadership of all Industrial Enterprise Magazine

Lead

www.tpaemagazine.com

INNOMag Gates to Inspiration of Innovation

the Country

to Thailand

with Innovation

INTRODUCE สารสนเทศการจัดการความรู  คลีนฟูด อยางเดียวไมพอ ตองใสอินโนเวชั่นดวย! ไอเดียธุรกิจสุดล้ำจากนักศึกษาลูกแมโดม  เทคโนโลยีจัดการพลังงาน เปลี่ยนอาคารธรรมดาใหเปนอาคารอัจฉริยะ 


ศูนยรวม

การออกแบบผลิตสื่อ สรางสรรคครบวงจร

MMP โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย

SERVICE *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

โทรศัพท 0-2258-0320-5

ตอ 1730 (คุณียากร) ตอ 1750 (คุณบุษบา) โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย


&

November-December 2017, Vol.44 No.255

Innovation Worldwide

35

4 การจัดการความรู้: กรณีศกึ ษา ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตอนที่ 4

โดย ดร.โชคดี เลียวพานิช

11 สารสนเทศการจัดการความรู้

โดย โกศล ดีศีลธรรม

Focus

16 คลีนฟู้ด อย่างเดียวไม่พอ ต้องใส่ อินโนเวชั่นด้วย ! ไอเดียธุรกิจสุดล�้ำ จากนักศึกษาลูกแม่โดม

โดย กองบรรณาธิการ

18 ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ ความท้าทายในการสร้าง Smart Cities ในเอเชียแปซิฟิก และความพร้อมของประเทศไทย ในยุค 4.0

โดย กองบรรณาธิการ

Inspiration

20 นวัตกรรมฟองน�้ำเช็ด ท�ำความสะอาดคราบน�้ำมัน และ แผ่นเช็ดเครื่องส�ำอางจากเส้นใยนุ่น

โดย กองบรรณาธิการ

22 สร้างมูลค่าเพิ่มใบสับปะรด ผลิตเส้นใยเซลลูโลสนวัตกรรมใหม่ ขนาดนาโน

Report

23 ฟิลาเจน นวัตกรรมเส้นใยหมดปัญหากลิ่น ร้อน ผิวแห้ง แดดเผา

โดย กองบรรณาธิการ

Technology 26 หลักสูตรลดใช้สารท� ำลายโอโซน เพื่อลดโลกร้อน

โดย กรกมล เอี่ยมศิริ และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ

35 GGC เผยนวัตกรรมการผลิต ตอกย�้ ำ ความเป็ น ผู ้ น� ำ ในธุ ร กิ จ ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม

โดย กองบรรณาธิการ

โดย กองบรรณาธิการ

Life Style

28 เทคโนโลยีจัดการพลังงาน เปลี่ยนอาคารธรรมดาให้เป็น อาคารอัจฉริยะ

30 แนวทางการน�ำก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ประโยชน์

Site Visit

Energy & Environmental

Production

39 Book Guide 41 Show & Share

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

โดย กองบรรณาธิการ

4

20 16 23


Editor

Message from

&

November-December 2017, Vol.44 No.255

กว่า 4

ทรรศวรรษที่นิตยสาร Techno & InnoMag อยู่คู่กับผู้อ่านภาค อุตสาหกรรมมาอย่างยาวนาน ช่วงเวลาทีผ่ า่ นมาเราได้พฒ ั นาและ ปรับปรุงการน�ำเสนอให้ตอบโจทย์ผอู้ า่ นด้วยเป้าหมายสูงสุด นัน่ คือ การมอบความรู้ ถ่ายทอดผ่านตัวอักษรจากผูเ้ ขียนประจ�ำแต่ละคอลัมน์ รวมไปถึงกองบรรณาธิการ ที่พยายามคัดสรรรายงานพิเศษเท่าทันต่อสถานการณ์รอบตัวที่เปลี่ยนแปลงไป การยอมรับและให้การสนับสนุนจากผู้อ่านท�ำให้เราอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แต่ด้วยสภาวการณ์ที่ปรับเปลี่ยน เราจึงต้องผันตัวเองสู่การถ่ายทอด ความรู้ให้เป็นไปในรูปแบบอื่น ๆ ที่เป้าหมายยังคงเดิม คือ ผู้ได้รับการถ่ายทอด จะได้ความรูค้ รบถ้วนเช่นเดิม นิตยสารฉบับนีจ้ งึ เป็นฉบับสุดท้ายของเราและยังเป็น ฉบับส่งท้ายปีเก่า ปี 2560 ซึ่งผู้อ่านจะยังคงได้รับความรู้ผ่านบทความที่เราคัดสรร และรังสรรค์เพื่อทุกท่าน ขอขอบคุณผูอ้ า่ นทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์มาโดยตลอด หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าจะ ได้รับการสนับสนุนจากทุกท่านผ่านกิจกรรมอื่น ๆ ของสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ต่อไป

ขอขอบพระคุณอย่างสูง

Published by:

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http://www.tpa.or.th

Advisors:

ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์

Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant:

พรามร ศรีปาลวิทย์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1707 e-mail: forquality@tpa.or.th

Art Director:

เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th

Production Design:

ประครอง ไชยศรีทา ณัฐวัตร วิวาสุขุ นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1733 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nuttawat@tpa.or.th, nara@tpa.or.th

ที่ผ่านมา สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) หรือ ส.ส.ท. ได้ดำ�เนินกิจกรรมผลิต นิตยสาร Techno&InnoMag เป็นระยะเวลา 44 ปี นิตยสาร For Quality Management เป็นระยะ เวลา 24 ปี ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาทางทีมงานได้มีการปรับปรุงเนื้อหาสาระ องค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารด้านเทคโนโลยีรอบด้าน การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานสินค้า บริการและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการจัดการด้านทรัพยากรบุคคลอย่างครอบคลุม รวมไปจนถึงการพัฒนารูปแบบจากนิตยสารรูปเล่มให้เป็น e-Magazine มาเป็นระยะเวลาหนึ่ง จาก การพัฒนาดังกล่าวทางนิตยสารได้เล็งเห็นช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลความรู้ผ่านช่องทางการสื่อสาร อื่น จึงมีนโยบายที่จะปรับปรุงรูปแบบจาก e-Magazine เป็นการเผยแพร่ผ่านช่องทาง Youtube: TPAOfficial เพื่อให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ด้วยเหตุนกี้ องบรรณาธิการจึงจำ�เป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบเผยแพร่ ใหม่ดงั กล่าวเพื่อสนอง ตอบต่อสภาวการณ์และลูกค้าใหม่ ในอนาคต ดังนัน้ ทางกองบรรณาธิการจึงขอยกเลิกการผลิตนิตยสาร ในรูปแบบ e-Magazine ตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นไป ในโอกาสนี้ ใคร่ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ติดตาม นิตยสารตลอดมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะติดตามกิจกรรมอื่น ๆ ของเราต่อไป

PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Advertising:

บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

ภาพประกอบบางส่วนจาก: www.shutterstock.com

เป็นนิตยสารออนไลน์ราย 2 เดือน เผยแพร่ทุกต้นเดือนมกราคม มีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคม กันยายน และพฤศจิกายน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด & แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และการจัดการภายในองค์การผลิตในสาขาต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนนักวิชาการในการเผยแพร่ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศ บทความและข้อความในนิตยสารออนไลน์นี้ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว และลิขสิทธิ์ของผู้เขียน จึงไม่มีส่วนผูกพันกับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) อีกทั้งข้อมูลต่าง ๆ อาจมีความผิดพลาด จึงควรตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนใช้อ้างอิง กรณีที่ผู้อ่านเห็นว่า บทความใดได้มีการลอกเลียน หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง หรือทำ�ให้เข้าใจผิดว่า เป็นผลงานของผู้เขียน กรุณาแจ้งให้สมาคมฯ ทราบ จักเป็นพระคุณยิ่ง


Innovation

Worldwide Focus Inspiration Report


&

Worldwide

การจักรณีดการความรู : ้ ศกึ ษาธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตอนที่

ดร.โชคดี เลียวพานิช

ภาควิชาไอที คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ http://youtube.com/c/KnowledgeSociety http://facebook.com/chokde

4

ต่อจากฉบับที่แล้ว การจัดการนวัตกรรม

การจัดการนวัตกรรม (innovation management) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ 1. คนคิดไอเดีย 2. การน�ำเอาแนวคิดไปปฏิบัติ 3. การประเมินผลเพื่อวัดค่าได้ว่าสิ่งที่เขาคิดค้นเกิดมูลค่าอย่างไร จะต้องเริม่ จากมีคนคิดไอเดีย ตรงกลางมีคนน�ำไปท�ำ และเกิด มูลค่าให้กบั องค์กร ดังนัน้ ขัน้ ตอนการสร้างไอเดียจะต้องอาศัย Expert Mentor ที่ต้องได้รับการอบรมมา จากประสบการณ์หลายปีทผี่ า่ นมามีการคิดไอเดียเสร็จน�ำไป ประกวด ได้รางวัลเสร็จแล้วไอเดียพวกนัน้ ก็หายไป เพราะฉะนัน้ จึงได้ ปรับปรุงกระบวนการใหม่ คือ ต่อไปนี้คุณน�ำไอเดียมาพัฒนาต่อได้ที่ บ้านบ่มเพาะ ซึ่งจะมีฝ่ายไอทีอยู่ประจ�ำ มี Facilitator มี Mentor มี งบประมาณให้ สมมติว่าใครคิด Application อะไรสักอันหนึ่ง ซึ่งเขา อาจจะไม่รู้ว่า Application นี้ต้องสร้างอย่างไร ก็จะมี Mentor ด้าน ไอที ด้านความเสีย่ ง ด้านบัญชี ด้านสินเชือ่ เข้ามาช่วยแล้วก็ปน้ั ไอเดีย ออกมา ปั้นจนเหมือนกับว่าได้เป็นรูปเป็นร่างแล้ว และคณะในบ้าน บ่มเพาะจะน�ำเอาแนวคิดพวกนี้ รวมทั้งการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ มาดูวา่ คุม้ ค่าหรือไม่ แล้วน�ำเสนอเข้าคณะกรรมการ KM เพือ่ ตัดสินใจ ว่าเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้สมควรเอาไปท�ำเพื่อให้เกิดประโยชน์หรือไม่ ถ้าสมควรเอาไปท�ำ Prototype ก็จะน�ำเอาไปปฏิบัติ ซึ่งต้องผ่าน MC อีกทีและมีการติดตามผล เพราะว่าเรื่องท�ำนวัตกรรมเป็นการทดลอง มันอาจจะส�ำเร็จหรือล้มเหลวก็ได้ ซึง่ ต้องมีการลงทุน แต่วา่ การลงทุน จะคุม้ หรือไม่ ผูบ้ ริหารจะตัดสินใจ แต่เรามีสถานทีใ่ ห้คณ ุ ทดลองและ มีพี่เลี้ยงให้ >>>4

November-December 2017, Vol.44 No.255


&

Worldwide

แผนพัฒนาคนเพื่อมุ่งสู่ Innovation

ธอส. มีแผนงานเพื่อพัฒนาคนขึ้นไปเรื่อย ๆ จาก CoP -> Expert -> Mentor -> Innovation ปีที่แล้วคนที่อยู่ใน CoP ได้รับการ อบรมเรื่อง 4 Learn เป็นเบื้องต้น คนที่เป็น Expert ก็เข้าอบรมเพื่อ พัฒนาให้เป็น Mentor จากนั้นก็พัฒนาขึ้นไปอีกขั้นโดยอบรมเรื่อง Innovation Process เกีย่ วกับเรือ่ ง Idea Generation การจะคิดไอเดีย ในเรื่องของนวัตกรรมต้องท�ำอะไรบ้าง เพราะฉะนั้นคนที่อยู่ใน CoP จะมีความรูค้ วามเข้าใจว่า วัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ คุณถูก ตั้งมาเพื่ออะไร พอมาปีนี้คุณรู้ว่าคุณเป็น Expert คุณสามารถสอน งานให้คนอืน่ ได้ และขัน้ ถัดไปคนทีเ่ ป็น Expert ต้องรูว้ า่ ธนาคารก�ำลัง มุ่งสู่นวัตกรรม คนกลุ่มนี้มาช่วยกันรวมกลุ่มกันคิดนวัตกรรมซึ่ง เรียกว่า Inno Project ยกตัวอย่าง CoP Back Office ที่เป็น Branch Manager คัดคนระดับผู้จัดการสาขาที่เป็นหัวกะทิ มารวมกับคนที่เป็น Expert ของ CoP ปีนแี้ ผนงานคือว่าเขาต้องรูแ้ ล้วว่าการคิดไอเดีย Innovation คือท�ำอะไร แล้วก็มาร่วมกันคิด หลังจากที่ได้ระดมความคิดแล้ว ก็จะ มีข้อเสนอเยอะมาก คณะกรรมการก็น�ำไอเดียทั้งหมดสรุปและกรอง มาได้ประมาณ 3 เรื่องที่จะเอาไปเข้าสู่บ้านบ่มเพาะ

นวัตกรรมที่มาจากผู้บริหารและจากพนักงาน

ทีม่ านวัตกรรมอาจจะมาจากกลยุทธ์โดยผูบ้ ริหารจะเป็นแบบ Top-down คือ คิดว่ายุทธศาสตร์จะเป็นแบบนี้ จะต้องเกิดนวัตกรรม แบบนี้ เช่น ตอนนี้เราก�ำลังไปจับมือร่วมกับบริษัทอื่นเป็นหุ้นส่วนกัน ในเรื่องให้หุ้นส่วนช่วยหาลูกค้ามาให้เรา คือ แทนที่ ธอส. จะต้องไป ตั้งบูทเพื่อหาลูกค้า มันจะเกิดต้นทุน แต่ถ้าจับมือกัน แล้วหุ้นส่วนเขา มี Application ที่ดึงดูดให้กับคนที่สนใจเรื่องการกู้ดอกเบี้ยถูก แล้ว โผล่ขนึ้ มามีลงิ ค์มาที่ ธอส. เพราะฉะนัน้ ธอส. ก็จะจับลูกค้าได้อกี กลุม่

หนึง่ กรณีนเี้ ป็นเรือ่ งทีผ่ บู้ ริหารคิดเป็นนโยบายออกมา แต่ถา้ เป็นพวก Everyday Innovation เป็นสิ่งที่พนักงานทุกคนสามารถที่จะคิด นวัตกรรมได้ทกุ วัน อันนีก้ จ็ ะเป็นอีกแนวหนึง่ แต่ทงั้ หมดนีจ้ ะเข้าสูบ่ า้ น บ่มเพาะที่จะเกิดขึ้นต่อไป ทั้งหมดนี้เป็น Framework ที่ ธอส. จะก้าวต่อไป เพราะฉะนั้น มันเป็นขั้นตอนไปเรื่อย ๆ เรารู้ Learn to Share, Learn to Connect แต่ว่าบั้นปลายแล้วเราต้องท�ำนวัตกรรมให้เกิดขึ้นจริง ๆ ถ้าถามว่า ทุกวันนี้มีเรื่องราวความส�ำเร็จอะไรเรื่องนวัตกรรมไหม มันอ้างได้ไม่ ร้อยเปอร์เซ็นต์เพราะว่าความหมายของนวัตกรรมจริง ๆ มันจะต้อง เป็นการค้นพบที่ยิ่งใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถาบันทางการเงิน ด้านธุรกิจการบริการจะท�ำนวัตกรรมค่อนข้างยากที่จะออกไปในเชิง เทคโนโลยี อย่างทุกวันนีจ้ ะออกไปในทาง Fintech ซึง่ ธอส. ก็ตอ้ งตาม มิฉะนั้นจะล้าหลังและแข่งขันกับคนอื่นไม่ได้

นวัตกรรมเชิงบริการ

นวัตกรรมของ ธอส. ในเชิง Banking จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ Process, Product, Service นวัตกรรมของธนาคารจะไม่ได้เป็น แบบพวกภาคการผลิตสิ่งของ แต่ ธอส. ไปในแง่ของการให้บริการ เช่น โครงการ Smart Receipt คือ โหลดใบเสร็จลง Mobile App ทุกสิ้นเดือน แทนที่จะส่งใบเสร็จเป็นกระดาษ ตัว Same Day การรับช�ำระผ่านเคาน์เตอร์ของเซเว่น ซึ่ง ที่ผ่านมาของธนาคารจะเป็น T+1 ซึ่งจะพบปัญหาเป็นหนี้ค้างขึ้นมา จึงได้พัฒนาระบบให้เป็น T+0 ได้ ก็ถือว่าเป็นนวัตกรรมอีกตัวหนึ่ง คือ ถ้ามองประเด็นนวัตกรรมแบบง่าย ๆ อาจจะมองว่า เป็นการปรับปรุงสิ่งที่ท�ำอยู่ให้ดีขึ้น ไม่จ�ำเป็นที่จะต้องสร้างนวัตกรรม ที่เกิดผลกระทบแรง ๆ

สร้างบรรยากาศและวัฒนธรรมในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์

ในเบื้องต้นจะต้องสร้างบรรยากาศให้ได้ก่อน เรื่องนี้เป็นเรื่อง ของจิตใจคน ต้องขึ้นอยู่กับว่าพนักงานมีขวัญก�ำลังใจในการที่จะ พัฒนาตัวเองอย่างไร ถ้าสร้างบรรยากาศไม่ได้มนั จะเกิดยาก เขาก็จะ ท�ำงานตามหน้าทีไ่ ม่ได้มจี ติ วิญญาณทีจ่ ะท�ำอะไรให้ตวั เองดีขนึ้ ถาม คนที่อยู่มายี่สิบกว่าปีว่าอยากจะท�ำอะไรใหม่ขึ้นมาไหม บางทีความ ฮึกเหิมมันก็หายไป บางทีเราก็รู้สึกว่าท�ำไมเราไม่พัฒนาก้าวหน้า เหมือนชาวบ้านเขาบ้าง มันไม่สามารถเอาคนเข้าไปร่วมกับความรูส้ กึ เหล่านี้ได้ง่ายๆ มันต้องใช้เวลาหลายปีในการสั่งสมก่อนที่จะไปถึง Innovation แต่พื้นฐานคือจะต้องมีระบบให้พนักงานใช้ ต้องสร้าง CoP ให้ ทุกปีจะมี KM Day เพือ่ กระตุน้ ให้พนักงานรูว้ า่ อย่าลืมนะเรือ่ ง พวกนี้เรายังต้องมีอยู่ ถ้ามีวัฒนธรรมแบบหัวหน้าเจ้านายลูกน้อง เจ้านายสั่งอย่าง November-December 2017, Vol.44 No.255

5 <<<


&

Worldwide

เดียว ลูกน้องพูดอะไรเสนออะไรก็ไม่ได้ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จะ ไม่มี อยากให้ท�ำอะไรก็สั่งมาแล้วท�ำตามแค่นั้นก็พอ วัฒนธรรม คนไทยอาจจะรูส้ กึ ว่ามียศฐาบรรดาศักดิ์ ความอาวุโส เวลาลูกน้องน�ำ อะไรมาเสนออาจจะถูกปิดกั้น แต่ KM จะเป็นวัฒนธรรมแบบนี้ไม่ได้ เราต้องสร้างวัฒนธรรมที่ดีซึ่งเอื้ออ�ำนวยต่อการคิดสร้างสรรค์ต่อไป เรื่อย ๆ

ระบบไอทีเพื่อสนับสนุนการจัดการความรู้

ตอนเริ่มแรกจะมองว่าการจัดการความรู้ คือ กระบวนการที่ เราจัดการความรู้ของเราเองว่าท�ำอย่างไรให้มันเป็นระบบก่อน แล้ว ค่อยหาระบบไอทีเข้ามาช่วยให้มนั ใช้งานง่ายขึน้ และปลอดภัย เพราะฉะนั้นเรื่องระบบไอทีจึงน�ำมาใช้สนับสนุน แต่ไม่ใช่ระบบไอทีมาก่อน การจัดท�ำ KM ระบบไอทีเพือ่ สนับสนุนการท�ำ KM ด�ำเนินการพัฒนาโดยฝ่าย วิชาการและเผยแพร่ที่ดูแลในด้านเนื้อหาข้อมูลของอินเทอร์เน็ตและ อินทราเน็ตในฝั่งที่เป็นเว็บทั้งหมด แต่ว่ามีทีมพัฒนาระบบไอทีที่อยู่ ภายในทีมนีด้ ว้ ย เพราะฉะนัน้ จะมีความยืดหยุน่ ในเรือ่ งของการพัฒนา ไอที ดังนั้น ในช่วงที่มีการจัดตั้งคณะกรรมการ KM Inno ทางฝ่าย วิชาการและเผยแพร่ได้เข้าไปเป็นทีมเลขา เดิมจะเป็นการพัฒนาบนเว็บระบบใครระบบมันแบบแยกส่วน อยู่บนอินทราเน็ต จนกระทั่งปี พ.ศ.2556 ทางทริสเริ่มเข้ามาประเมิน ตามเกณฑ์ซปี า้ แล้วแนะน�ำว่าควรจะมีระบบการจัดเก็บ ตอนนัน้ เป็น ระบบเว็บทีก่ ระจัดกระจาย เราใช้วธิ สี ร้างเว็บ Portal ขึน้ มาเพือ่ รวบรวม เว็บต่าง ๆ เหล่านั้นโดยท�ำเป็นเว็บลิงค์ไปยังเว็บต่าง ๆ เท่านั้นเอง >>>6

November-December 2017, Vol.44 No.255

จนกระทั่งปี พ.ศ.2557 ที่ ธอส. เริ่มเดินหน้าอย่างจริงจัง ใน ช่วงนั้นมีการจัดจ้างบริษัทเข้าพัฒนาระบบซึ่งยังเป็นเว็บบนเดสก์ท็อป อยู่ โดยใช้ PHP โดยที่สถาปัตยกรรมของระบบจะเขียนอิงกับทฤษฎี 4 Learn มีเรื่องของ CoP การจัดเก็บองค์ความรู้ต่าง ๆ รูปแบบการจัดเก็บความรู้แบ่งตาม CoP แต่ละ CoP มีการ เก็บในลักษณะเป็นโฟลเดอร์ย่อย ๆ เป็นรากไม้ลงไป ซึ่งถ่ายทอดมา จาก Mind Map ที่สร้างขึ้นมา ในแต่ละโฟลเดอร์จะมีองค์ความรู้ของ แต่ละ CoP ตาม Job Function โดยที่จะมี Expert กับ Admin ของ แต่ละ CoP เป็นผู้ดูแล ในปี พ.ศ.2557 ทุกอย่างเริ่มมีรูปร่าง เริ่มมอง เห็นทิศทาง เราใช้ระบบตรงนี้เป็นตัวขับเคลื่อนและเริ่มใช้ไปทั่วทั้ง องค์กรไปยังสาขาต่าง ๆ ของธนาคาร แต่มขี อ้ จ�ำกัดเรือ่ งของความเร็ว ในการตอบสนองการเข้าถึงยังไม่ดีนัก เนื่องจากว่าเป็นระบบ Back Office เพราะฉะนัน้ ความเร็วในการวิง่ บนระบบเครือข่ายอาจจะไม่สงู มากนัก และอีกประเด็นหนึง่ ก็คอื ในแง่ของผูท้ ปี่ ฏิบตั งิ านหน้างาน คือ โอกาสที่จะเข้ามาในระบบ Back Office นั้นค่อนข้างยาก โดยเฉพาะ พนักงานหน้าเคาน์เตอร์ซึ่งจะต้องท�ำงานกับระบบที่ให้บริการลูกค้า เราจึงน�ำโจทย์ตรงนี้มาเพื่อออกแบบในระยะที่ 2

ระยะที่ 2 การพัฒนาให้ใช้งานง่าย

ในระยะที่ 2 ปี พ.ศ.2558 มีการปรับเปลี่ยนในเรื่อง User Interface (UI) จากเดิมทางผู้ใช้แนะน�ำว่ามันดูยาก ใช้งานไม่สะดวก จึงมีการพัฒนา UI ให้ดูง่าย เพื่อตอบสนองพนักงาน 4,000 คน เลย เกิดไอเดียว่าเลือกเอาระบบโซเชียลมีเดียที่พนักงานทั่วไปคุ้นเคย อยู่แล้วมาเป็นต้นแบบ จึงกลายมาเป็นหน้าตาของ UI ในเฟสที่ 2


&

Worldwide ซึ่งแทบจะไม่ต้องอบรมผู้ใช้เพิ่มเติมเลยเพราะผู้ใช้รู้จักและใช้งาน โซเชียลมีเดียก็จะรู้จักว่ามีไอคอน มีการไหลของข้อมูลแบบอย่างไร และมีการเพิ่มอีกหนึ่งฟังก์ชั่น คือ Mobile App เพื่อจะตอบ โจทย์กรณีผใู้ ช้ทอี่ ยูต่ ามสาขา ซึง่ ตลอดทัง้ วันทุกวันต้องให้บริการลูกค้า ไม่มีเวลามาดูเดสก์ท็อปหรือเข้าเดสก์ท็อปก็อาจจะเปิดใช้งานไม่ สะดวก เราจึงพัฒนาขึ้นมาโดยมีทั้งระบบ iOS และ Android ใช้ชื่อ G H Bank KM โดยผนวก Desktop Version กับ Mobile Version ที่ จะต้องมีการน�ำเสนอข้อมูลที่มีรูปแบบหน้าตาคล้าย ๆ กัน

การล็อคอินที่ยุ่งยาก

เรื่องของการล็อคอิน ปกติธนาคารก�ำหนดว่านโยบายความ ปลอดภัยในการตั้ง Username Password จะต้องเป็น Strong Password มีอักขระพิเศษ ก็จะเจอปัญหาผู้ใช้บ่นมาว่าจ�ำไม่ได้ ใช้งานยาก ต้องเปลีย่ น Password ทุก 6 เดือน ผลสุดท้ายจึงต้องเปลีย่ นวิธกี ารใหม่ โดยเอารหัสพนักงานใช้เป็น Username และใช้เลข 6 ตัวท้ายของบัตรประชาชนมาเป็น Password เพื่อความปลอดภัยและจดจ�ำได้ง่าย

โดยปกติสาขาของธนาคารทั่วประเทศจะมีการท�ำ Morning Brief เราจึงเอาเรื่อง KM Branch แทรกเข้าไปใน Morning Brief ของ เขาโดยมีเครื่องมือเข้าไปช่วย เพื่อป้อนข้อมูลให้เป็นแนวทางส�ำหรับ การไปท�ำ Morning Brief คนที่จะป้อนข้อมูล Morning Brief จะเป็น ทีมฝ่ายวิชาการและเผยแพร่ อย่างเช่น Policy ก็จะได้รับข้อมูลจาก กรรมการผู้จัดการ เหมือนกับการประกาศข่าวขององค์กรทุกเช้า เช่น ตอนนี้ธนาคารมีนโยบายอะไร ให้ผู้จัดการสาขาเอาข้อมูลที่ถูก ป้อนเข้าไปน�ำไปเป็นหัวข้อในการประชุม โดยปกติการ Morning Brief จะไม่มีการบันทึก แต่ด้วยระบบ KMS อันใหม่ เวลาเขาคุย Morning Brief กับลูกน้องเสร็จแล้วพบ ปัญหา เขาก็จะสะท้อนผลลัพธ์กลับมา โดยที่ผู้จัดการสาขาเป็นคน สะท้อนผลลัพธ์เข้ามา และมีคณะท�ำงานย่อยที่เรียกว่า KM Branch เก็บข้อมูลพวกนี้มาป้อนเข้ากับคณะกรรมการ KM Inno ชุดใหญ่เพื่อ ทีจ่ ะเอาไปด�ำเนินการต่อว่าเรือ่ งทีเ่ ป็นประเด็นส�ำคัญก็จะเอาไปด�ำเนิน การหาทางแก้ไขต่อ หรือบางเรื่องที่เป็นกรณีศึกษาที่ได้ผลดี ก็จะเอา มาแชร์กัน ซึ่งถือว่า KMS มีส่วนช่วยในการขับเคลื่อน KM

ระยะที่ 3 การค้นหาข้อมูล

ระยะที่ 3 ในปี พ.ศ.2559 ธอส. ได้โจทย์จากผูป้ ระเมินข้อหนึง่ ว่าผู้ใช้ควรจะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้แบบ Full Text Search แต่ เอกสารที่ใส่เข้าไปในระบบจะมีหลายประเภท เช่น ไมโครซอฟท์เวิร์ด รูปภาพ PDF ซึง่ เราได้ทำ� การติดตัง้ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ Search Engine และตัว Bot ของกล่องค้นหา เข้าไปกวาดข้อมูลที่เป็นเว็บเบส ข้อมูล ในอินทราเน็ต ระเบียบค�ำสัง่ ระเบียบปฏิบตั คิ มู่ อื ต่าง ๆ ซึง่ คาดหวังว่า จะท�ำให้การค้นหาข้อมูลและองค์ความรู้จะมีประสิทธิภาพมากกว่า เดิม เพราะว่าการที่เราท�ำ KMS ในช่วงแรกเป็นการเข้าถึงแบบรากไม้ ซึ่งพนักงานที่จะมาใช้จะต้องรู้โครงสร้างระบบของเรา แต่ถ้าเป็น Full Text Search คุณอยากทราบอะไรก็ใส่ในช่อง Search แล้วมันจะ แสดงผลจัดอันดับมาให้เหมือนเราใช้กูเกิ้ลข้างนอก แต่ว่าเราต้องมี Subject Heading ซึง่ ต้องเดาใจผูใ้ ช้วา่ เค้าจะใช้ค�ำค้นอะไรบ้าง บางที ใช้ค�ำที่เป็นทางการ ผู้ใช้ก็อาจจะหาไม่พบ

ระบบ KMS เพื่อสนับสนุนการ Morning Brief

ในปีที่ผ่านมาได้รับค�ำแนะน�ำว่า จะพิสูจน์ได้อย่างไรว่า องค์ความรูถ้ กู น�ำไปใช้งานจริงถึง End User ระดับสาขา เพราะฉะนัน้ ในปีนี้จึงมีการออกแบบและป้อนเนื้อหาหลัก คือ 4P, 1C และ 1O ให้ สาขาผ่านระบบ KMS ประกอบด้วย Policy Product Project Problem Compliance และ Other และให้สาขาเข้าถึงโดยใช้แอพฯ บนมือถือว่า ช่วงนีเ้ รามีผลิตภัณฑ์หรือโปรโมชัน่ อะไรใหม่ ๆ เพือ่ ใช้ในการให้บริการ แก่ลูกค้า ท�ำให้สาขาได้รับความสะดวกมากขึ้น

▲ รูปที่

5 KMS on Mobile ปัญหาและอุปสรรค

November-December 2017, Vol.44 No.255

7 <<<


&

Worldwide การสร้างภาระเพิ่ม

การที่จะสอดแทรก KM เข้าไปในระบบงานยังเป็นปัญหาอยู่ อาจจะมองว่าเป็นการสร้างภาระเพิม่ ให้กบั พนักงานโดยมีเสียงบ่นมา บ้างว่าท�ำงานประจ�ำก็แย่แล้ว พอจะให้เขียน AAR ก็จะเริม่ บ่น ซึง่ ต้อง พยายามสร้างบรรยากาศให้มันเป็นส่วนหนึ่งของงานให้แทรกเข้าไป กับงานทีท่ ำ� อยู่ จะแนะน�ำพนักงานว่างานแต่ละวันทีท่ ำ� อยูม่ นั ก็คอื การ จัดการความรู้อยู่แล้วแต่อาจจะท�ำไม่ถูกต้อง อาจจะมีปญ ั หาบ้างว่างานของสาขายุง่ เวลาจะขอตัวพนักงาน เข้ามาท�ำกิจกรรม KM จากส่วนภูมภิ าค ก็อาจจะได้รบั การปฏิเสธโดย บอกว่าช่วงนี้ต้องท�ำเป้า และยิ่งถ้าเป็นช่วงปลายปี ไตรมาสสุดท้าย งานก็จะมาก ดังนั้น ก็ต้องดูช่วงเวลาให้เหมาะสมไม่ให้ไปตรงกับช่วง ทีม่ งี านมากของแต่ละหน่วยงาน โดยจะมีการปรับเปลีย่ นโดยการเก็บ องค์ความรู้ตั้งแต่ต้นปี

การหวงความรู้

ความรู้สึกของพนักงานที่ว่าถ้าตัวเองให้ความรู้ออกไปแล้ว ตัวเองจะหมดความส�ำคัญ หรือคนอื่นเอาไปลอกเลียนแบบแล้วได้ ผลงานมากกว่าตัวเอง ประเด็นนี้ต้องพยายามสร้างแนวคิดใหม่ คน สมัยก่อนจะสร้างความส�ำคัญให้กับตัวเองว่าตัวเองต้องรู้มาก ถ้าคุณ รู้มากแล้วคุณไม่บอกใครคุณก็ก้าวหน้าต่อไปไม่ได้ เพราะว่าไม่มีใคร มาแทนคุณ ต้องพยายามบอกว่าองค์ความรู้ตอนนี้ทุกคนจะต้อง พยายามจัดเก็บให้เป็นมาตรฐาน มีคมู่ อื วิธปี ฏิบตั งิ านเพือ่ ให้คนทีเ่ ข้า มาใหม่สามารถท�ำงานได้ คือ เก็บความรู้ไว้ใน KMS ซึ่งต้องขึ้นอยู่กับ หัวหน้างานด้วย ถ้าคนนีข้ าดงานไปหาคนทดแทนไม่ได้จะท�ำอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น ถ้าหากแชร์เทคนิคในการท�ำเป้าสินเชื่อแล้ว จะท�ำให้ลกู ค้าของผูแ้ ชร์ลดลงไหม จริง ๆ แล้วความรูก้ จ็ ะอยูก่ บั ตัวเขา และเทคนิคในการท�ำงานก็มวี ธิ ที หี่ ลากหลาย ผูอ้ า่ นก็ตอ้ งอ่านหลายๆ เทคนิคแล้วเลือกเอาไปใช้ในส่วนทีต่ รงกับงานของเขา และยังมีความ รู ้ ที่ เ ป็ น เทคนิ ค ที่ ถึ ง แม้ บ อกออกมาก็ ใ ช่ ว ่ า คนอื่ น จะท� ำ ตามหรื อ ลอกเลียนแบบได้ทงั้ หมด อีกทัง้ ลูกค้าในแต่ละภูมภิ าคก็จะไม่เหมือน กัน หนึ่งจังหวัดมีแค่สาขาเดียว จะไม่มีการแข่งขันกัน การที่แชร์ไป ก็เหมือนธนาคารได้ แต่ละเขตมีลักษณะไม่เหมือนกัน เช่น ทางภาคอีสานไม่มีหมู่บ้านจัดสรร ในกรุงเทพฯ มีโครงการบ้านจัดสรรมาก การหาลูกค้าก็จะเป็นอีกแบบหนึ่ง แต่ในภูมิภาคจะเน้นมีที่ดินและ ปลูกสร้างเอง เพราะฉะนั้นการหาสินเชื่อก็ต้องไปติดต่อกับร้านวัสดุ ก่อสร้าง ให้ร้านวัสดุแนะน�ำให้มาใช้บริการ ธอส.

ปัจจัยที่ต้องคำ�นึงถึง

1. มีโครงสร้างแผนที่ความรู้ที่ชัดเจน ธอส. มองว่าองค์ความรูท้ มี่ อี ยูม่ ากมายควรจะจัดการความรู้ โดยอ้างอิงกับกระบวนการ >>>8

November-December 2017, Vol.44 No.255

ท�ำงานขององค์กรเป็นหลัก ดังนั้น จึงรวมคนจัดกลุ่ม CoP ตาม กระบวนการท�ำงาน ยกตัวอย่างเช่น กระบวนการสินเชือ่ ก็จะรูไ้ ด้ทนั ที ว่ากระบวนการดังกล่าวมีความเกี่ยวโยงกัน 10 ฝ่าย สมาชิกที่อยู่ใน CoP จึงต้องมาจาก 10 ฝ่ายนี้และน�ำมารวมกันเพื่อเขียนอธิบายว่า งานหลัก ๆ คืออะไร องค์ความรูใ้ นแต่ละเรือ่ งคืออะไร จึงเกิดเป็นแผนที่ ความรู้ (knowledge map) ขึน้ มาจากการท�ำงานของทัง้ 14 CoPs ซึง่ แต่ละค็อบต้องได้รับการอบรมว่าให้เอาองค์ความรู้ใน CoP ของคุณ มาเขียนเป็น Mind Map ให้มาอยู่ในระบบ โดยที่การจัดเก็บข้อมูลใน ระบบ KMS ก็จะอ้างอิงกับ Mind Map เหล่านี้ ถ้ามองทัว่ ๆ ไปอาจจะเป็นว่า ใครทีม่ คี วามสนใจเรือ่ งเดียวกัน ก็จะเกาะกลุ่มกันตามความสนใจ แต่ว่าของ ธอส. ไม่ได้มองว่าคุณ สนใจเรื่องอะไรแล้วมาเจอกัน เราจะมีโครงสร้างให้คุณมาเกาะตาม การจัดการความรู้จึงมีระบบมีโครงสร้างชัดเจน เริ่มจากข้างบนลงมา เพือ่ ให้ทกุ คนรูว้ า่ มี CoP ทีอ่ งิ กับกระบวนการท�ำงานอยู่ ส่วนคนทีเ่ ป็น สมาชิกใน CoP จะเข้าหรือจะออกจากกลุ่มจึงไม่เป็นปัญหา แต่ CoP ต่าง ๆ ก็ยงั คงอยูแ่ ละมีกจิ กรรมต่อไปได้ และเมือ่ มีการพัฒนาไปเรือ่ ย ๆ ซึ่งอาจจะใช้เวลาเป็นสิบปีถึงจะเกิดนวัตกรรมขึ้นมา แต่ไม่ใช่ว่าคนนี้ เลิกสนใจแล้วก็ไม่ต้องท�ำ ก็ออกไป ไม่รู้ว่าความรู้ที่จ�ำเป็นอยู่ที่ไหน 2. การสร้างบรรยากาศ การสร้างบรรยากาศส่วนมากจะไป อบรมตามต่างจังหวัด ซึง่ สามารถใช้ชมรมสันทนาการของธนาคารก็ได้ แล้วสอดแทรกองค์ความรู้เข้าไป ยกตัวอย่างเช่น ชมรมมีการเดินทาง


&

Worldwide

ไปเที่ยว ท�ำบุญในช่วงเช้า เราก็ใช้โอกาสในช่วงบ่ายให้ดูวิดีโอตอบ ค�ำถาม เช่น เห็นวิดีโอนี้แล้วเห็นว่าการบริการเป็นอย่างไร ให้ช่วยกัน ระดมความคิด เวลาจะเชิญไปจะมีการคัดเลือกก่อนว่าเป้าหมายทีจ่ ะ ให้ไปนั้นเราอยากได้ผู้จัดการกลุ่มไหน ให้ส่งมาฝ่ายละ 2 คน เพื่อไป แล้วก็เก็บข้อมูลมาว่าสิ่งที่เขาอยากได้ หรือการให้บริการของเขาเป็น อย่างไร แล้วก็มาแชร์ 3. ท�ำให้ผู้บริหารรู้สึกคล้อยตาม การที่จะท�ำ KM ในระดับ องค์กรจะต้องท�ำให้ผบู้ ริหารเข้าใจและคล้อยตาม มิฉะนัน้ โครงการจะ ขับเคลื่อนได้ยาก เพราะ KM เกิดมาจากทีม ๆ หนึ่ง ซึ่งต้องท�ำให้ ผู้บริหารเห็นว่ามันเป็นประโยชน์จริง ๆ ปีแรกก็จะเอาสาขามาแชร์ให้ฟงั ผูบ้ ริหารบางคนไม่รวู้ า่ สาขา ท�ำแบบนี้ มียุทธวิธีแบบนี้ถึงได้ลูกค้า สมมติว่าจะปล่อยสินเชื่อให้ ลูกค้าทางภาคอีสาน แต่ทางภาคอีสานไม่ค่อยมีการสร้างบ้านแบบ หมู่บ้านก็จะปล่อยสินเชื่อไม่ได้ เพราะว่าพฤติกรรมของลูกค้าจะ สร้างบ้านเอง ไม่มีซัพพลายสร้างหมู่บ้าน เขาก็จะเรียนรู้จากพื้นที่ว่า ท�ำแบบนี้ดีกว่า แล้วก็เอามาแชร์ให้สาขาในแถบนั้น ก็เลยเป็นไอเดีย ขึ้นมาได้ ซึ่งจากการแชร์ถ้าผู้บริหารฟังและเก็บมาต่อยอดมันก็จะได้ วิสยั ทัศน์เกิดประโยชน์ จะรูว้ า่ เรือ่ งนีท้ ำ� ให้องค์กรดีขนึ้ ผูบ้ ริหารบางคน ก็จะเข้าใจ ซึ่งตอนนี้ ธอส. มีกรรมการผู้จัดการใหม่เชิญท่านมาร่วมใน งาน KM Day เพื่อให้ท่านเป็นหลักในการผลักดัน และอย่างน้อยก็

ท�ำให้องค์กรรู้ว่ากรรมการผู้จัดการก็สนใจเรื่องนี้ 4. ผลักดันให้ CoP ขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเอง ที่ผ่านมาการ ขับเคลื่อน CoP จะด�ำเนินการและถูกผลักดันจากส่วนกลาง ซึ่งขั้น ต่อไปจะมีการผลักดันให้ประธานของแต่ละ CoP วางแผนว่าจะ ขับเคลื่อน CoP ตัวเองอย่างไร ต้องเชิญมาคุยว่าเราจะขับเคลื่อน อย่างไรให้เกิดการแชร์ความรู้เพิ่มขึ้น 5. ปัจจัยความส�ำเร็จ ปัจจัยความส�ำเร็จที่ทาง ธอส.คิดว่า จะท�ำให้โครงการ KM ขับเคลื่อนไปได้ด้วยดี คือ เรื่องผู้บริหารและ วิธีการ ตอนนี้ ธอส. ยังไม่ถือว่าประสบความส�ำเร็จ แต่สามารถ ขับเคลื่อนไปได้บางส่วน แต่สิ่งหนึ่ง คือ การได้รับความร่วมมือจาก ผู้บริหารและพนักงานซึ่งจะต้องมีทิศทางที่ธนาคารจะไปด้วยกัน ผู้บริหารระดับสูงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุด ถ้าผู้บริหารเห็นด้วย ออกเป็น ตัวชี้วัด ออกเป็นวิธีการว่าคุณต้องท�ำ วัดเป็นรายบุคคล คิดนวัตกรรม ใครคิดก็ได้คะแนนไป ตอนนีก้ เ็ ริม่ จากแต่ละฝ่ายก่อน หนึง่ ฝ่ายคิดหนึง่ เรือ่ ง ให้ผบู้ ริหารและพนักงานให้ความส�ำคัญตรงนี้ และปัจจัยทีท่ ำ� ให้ ธอส. สามารถขับเคลื่อนโครงการไปได้เร็ว คือ เครือข่ายของจิตอาสา ที่นี่ค่อนข้างแข็งแรงทุกคนมีใจที่จะช่วยกันขับเคลื่อน 6. การประเมินผลความก้าวหน้า ธอส. ได้นำ� แบบสอบถาม ของ Dr.Marquart เพื่อดูว่าถ้าเป็นองค์กรชั้นน�ำขององค์กรแห่งการ เรียนรู้แล้วควรจะมีคะแนนอยู่ที่เท่าไหร่ จะมีการท�ำแบบส�ำรวจเพื่อ วัด LO Score แล้วน�ำมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายทีว่ างไว้ ซึง่ ตอนแรก ที่เริ่มท�ำ KM ธอส.ได้คะแนนอยู่ที่ 57.7 หลังจากนั้นเราก็ตั้งเป้าไว้ว่า เราจะได้คะแนน 80 เมื่อใด และในปี พ.ศ.2561 ซึ่งตั้งเป้าหมายว่าจะ ต้องเป็นปีแห่งองค์กรนวัตกรรมควรที่จะได้คะแนนเท่าไหร่ ต้องมีการ ส�ำรวจติดตามเพราะว่าในแต่ละกิจกรรมของแผนที่เราท�ำไป อย่าง น้อยต้องมีการวัดผลได้ว่าสิ่งที่เราได้ใส่กิจกรรมในแต่ละปีมีผลลัพธ์ เป็นอย่างไร ปัจจุบันคะแนนควรจะอยู่ประมาณระดับไหน

November-December 2017, Vol.44 No.255

9 <<<


&

Worldwide แต่ในส่วนของการวัดเป็น KPI รายบุคคลยังไม่มกี ารด�ำเนินการ อย่างชัดเจน การวัดการน�ำองค์ความรู้ใน KMS ไปใช้ของแต่ละคน แต่ละสาขาก็ยังตอบไม่ได้ชัดมากนัก เพียงแต่ว่าอันไหนที่ดีก็เอามา แชร์กัน อย่างไรก็ตาม สถานะในปัจจุบัน คือ เรื่องประเด็นปัญหาที่ ต้องการให้ปรับปรุงจะเริม่ ชัดขึน้ มา เรือ่ งทีจ่ ะให้ไปคิดนวัตกรรมก็กำ� ลัง เดินหน้าไป การสอดแทรก KM ให้เป็นส่วนหนึง่ ของงานก็ยงั เป็นความ ท้าทายอยู่ และการขับเคลื่อนส่วนใหญ่จะมาจากส่วนกลาง

ผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรมจากการทำ� KM

1. การบริการลูกค้าที่รวดเร็ว CoP เฟสบุ้คและ CoP ไลน์ที่ ใช้ในการสือ่ สารกับลูกค้าได้รบั การชืน่ ชมจากลูกค้ามาก เพราะหลังจาก ลูกค้าโพสข้อความลงเฟสบุ้คไม่ถึงสิบนาที จะมีพนักงานโทรกลับไป หาลูกค้า บางทีหลังเลิกงานช่วงค�ำ่ แล้วพนักงานก็ยงั โทรติดตามลูกค้า ถึงแม้ว่ามีลูกค้าสอบถามเข้ามาแต่ละเดือน 1,500 ราย อาจจะมีแค่ 50 รายที่ท�ำนิติกรรม พนักงานก็ไม่ปฏิเสธที่จะตอบค�ำถาม 2. ผลประโยชน์ที่เป็นรูปธรรม วันนี้ถ้ามีค�ำสั่งมาว่าให้ ยกเลิกการท�ำ KM ไม่ต้องมีระบบ KMS จะเกิดอะไรขึ้น ถ้ามองในแง่ การสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า มันจะตกลงทันที เพราะกลไกจาก ระบบ KM สามารสร้างความพึงพอใจขึน้ มาได้มากพอสมควร ถามว่า งานยังท�ำต่อได้ไหมถ้าไม่มี KM ตอบว่าท�ำได้ แต่การที่ธอส.จะรักษา ตัวเองให้อยู่รอดถ้ามีคู่แข่งเข้ามาจะค่อนข้างล�ำบาก แสดงว่าระบบ การจัดการความรูม้ ผี ลจริง ๆ ท�ำให้กระบวนการการท�ำงานขององค์กร ดีขึ้นในการที่จะตอบสนองลูกค้า โดยเฉพาะการแชร์เรื่องของ Best Case ของสาขาที่มีความโดดเด่น 3. CoP เป็นช่องทางสื่อสารไปสู่ผู้บริหาร CoP ที่สร้างขึ้น ไม่ใช่มแี ค่พนักงานทัว่ ไปเท่านัน้ แต่ยงั มีรองกรรมการผูจ้ ดั การ ผูช้ ว่ ยกรรมการผู้จัดการ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย/ส�ำนักเข้ามามีส่วนร่วมด้วย สิ่งหนึ่งคือเราจะไม่มีการด่าว่ากัน มีแต่ส่งเสริมเริมให้ก�ำลังใจกัน ถ้าผู้บริหารที่อยู่ CoP เห็นอะไรที่ดีก็จะช่วยผลักดันให้ ดังนั้น CoP จึงเป็นการสื่อสารอีกช่องทางหนึ่งที่ท�ำให้ผู้บริหารได้เห็นสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นและน�ำไปสู่การแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาได้ จากเดิมที่การ ท�ำงานของพนักงานอาจจะยากที่ผู้บริหารจะลงมาเห็นได้ 4. ปลูกฝังความยั่งยืน ถึงแม้ว่า ธอส. เป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นมา นาน สามารถช่วยให้คนไทยได้มีบ้านตามความฝันของแต่ละคนและ สร้างก�ำไรสูอ่ งค์กรได้มากมาย แต่โลกทุกวันนีม้ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วด้วยอิทธิพลของเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร การที่จะท�ำให้องค์กรแห่งนี้สามารถเดินหน้าต่อไปได้ คงมิใช่แค่การ ตั้งเป้าเพื่อแสวงหาก�ำไรเพียงส่วนเดียวโดยเพิกเฉยกับมิติอื่น ๆ จึงไม่ >>>10

November-December 2017, Vol.44 No.255

สามารถรับประกันได้วา่ องค์กรจะสามารถเดินหน้าต่อไปได้ในอนาคต อย่างมัน่ คง การสร้างกระบวนการท�ำงานทีย่ งั่ ยืน การน�ำความรูท้ มี่ อี ยู่ และที่จะต้องสร้างขึ้นใหม่เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับองค์กรเป็น สิ่งส�ำคัญ และสิ่งหนึ่งที่ ธอส. ต้องปลูกฝังแนวคิดก็คือ องค์กรต้องอยู่ อย่างยั่งยืน ขอขอบคุ ณ คณะกรรมการการจั ด การความรู ้ ธ นาคาร อาคารสงเคราะห์ คุณอรฑา เจริญศิลป์ (ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานการเงิน และบัญชี) ผู้ร่วมริเริ่มก่อเกิด KM ในองค์กร คุณสายพิน สันติพนั ธุ์ (ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายธุรกรรมการเงิน) ประธาน CoP คุ ณ ประทานพร ธาระวานิ ช (หั ว หน้ า ส่ ว นพั ฒ นาระบบ ประเมินผลองค์กร) บุกเบิกและรับผิดชอบงาน KM คุณนิติ วิเศษประสิทธิ์ (หัวหน้าส่วนข้อมูลอินเทอร์เน็ต) รับผิดชอบงานด้านระบบ Knowledge Management System: KMS คุณอารี บุญพิพัฒน์ (ผู้ช่วยหัวหน้าส่วนวิทยบริการ) KM Facilitator คุณเยาวนี ศรีสาคร (รักษาการผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการและ เผยแพร่) เลขานุการคณะกรรมการ KM-Inno คุณอภิสุดา เผือกขาวผ่อง (หัวหน้าส่วนวิทยบริการ) ผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการ KM-Inno


&

Worldwide

สารสนเทศการจัดการความรู้ โกศล ดีศีลธรรม

koishi2001@yahoo.com

การพัฒนาเทคโนโลยีได้มบี ทบาทสนับสนุนให้การด�ำเนินงาน เกิดผลิตภาพที่ไม่เพียงแค่มุ่งลดต้นทุน แต่ต้องสามารถตอบสนอง ความต้องการทีห่ ลากหลายของลูกค้าและความรวดเร็วในการสูต่ ลาด ที่ ถื อ เป็ น ปั จ จั ย หลั ก สนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งาน โดยน� ำ เทคโนโลยี สารสนเทศและเครือข่ายการสื่อสารสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยน ข้อมูลเพือ่ ยกระดับศักยภาพองค์กร ทัง้ ยังสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุง กระบวนการธุรกิจและเกิดการร่วมใช้ขอ้ มูลระหว่างทีมงาน ท�ำให้การ จัดการความรู้เป็นประเด็นหลักในเศรษฐกิจยุคใหม่เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน โดยเฉพาะความรู้และความสามารถหลัก ขององค์กร (knowledge and competency) ถือเป็นสินทรัพย์ทกี่ อ่ ให้ เกิดการพัฒนาธุรกิจและสร้างความมัง่ คัง่ ให้กบั องค์กรและพัฒนาให้ เกิดการสร้างนวัตกรรมเหนือกว่าคู่แข่งขันในตลาด ท�ำให้ความรู้และ ความสามารถหลักขององค์กรเป็นเสมือนศูนย์กลางผลิตผลและ สินทรัพย์เชิงกลยุทธ์ ดังนัน้ ปัจจัยความส�ำเร็จขององค์กรยุคเศรษฐกิจ ฐานความรู้ คือ ความสามารถในการรวบรวมข้อมูลเพื่อการพัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้ รวมถึงการร่วมใช้สารสนเทศและความรู้ บุคลากร โดยมีระบบสารสนเทศเป็นปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ได้แก่ ระบบส�ำนักงานอัตโนมัติ (office automation

systems) สนับสนุนการไหลสารสนเทศทั้งองค์กร ระบบงานความรู้ (knowledge work systems) ช่วยสนับสนุนกิจกรรมของบุคลากร ระดับวิชาชีพทีม่ คี วามรูแ้ ละทักษะความเชีย่ วชาญเฉพาะเพือ่ สร้างองค์ ความรูใ้ หม่และจัดเก็บไว้เป็นสินทรัพย์องค์กร รวมถึงระบบการท�ำงาน กลุม่ ร่วมกัน (group collaboration) สนับสนุนการสร้างและแลกเปลีย่ น ความรู้ระหว่างบุคลากรในทีมงาน ดังนั้น การจัดท�ำระบบสารสนเทศ ดังกล่าวจะต้องมีการจัดท�ำฐานความรูอ้ งค์กร (organization's knowledge base) อาทิ ➢ โครงสร้างความรู้ภายใน (structured internal knowledge) ได้แก่ คู่มือผลิตภัณฑ์ รายงานการวิจัย ➢ ความรู้ภายนอก (external knowledge) ได้แก่ ข้อมูล คู่แข่ง ข้อมูลทางการตลาด ➢ ความรูภ ้ ายในทีไ่ ม่เป็นทางการ (informal internal knowledge) หรือ Tacit Knowledge ถูกเก็บอยูใ่ นตัวสมาชิกหรือพนักงาน แต่ละคน แต่ไม่ได้น�ำมาเรียบเรียงเป็นเอกสารที่เป็นทางการ โดยทั่วไปงานข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับความรู้ระดับองค์กร ซึ่ง ส่วนใหญ่มักถูกน�ำมาใช้ในระบบงานส�ำนักงานที่มีบทบาทในการ ประสานการเชือ่ มโยงสารสนเทศทัง้ องค์กร ได้แก่ การจัดการประสาน November-December 2017, Vol.44 No.255

11 <<<


&

Worldwide

เทคโนโลยี + ข้อมูล + ซอฟต์แวร์ + บุคลากร ➠ ระบบสารสนเทศ

องค์ประกอบระบบสารสนเทศ

ส่วนระบบโซลูชั่นที่ถูกใช้สนับสนุนการจัดการความรู้ ได้แก่ ➢ Collaborative Computing Technologies เป็นเครื่องมือ สนับสนุนการท�ำงานร่วมกันและการถ่ายทอดความรู้แบบ Tacit Knowledge ภายในองค์กร ➢ Knowledge Management Suites เป็นโซลูชั่นแบบครบ ชุดที่รวมฟังก์ชั่น การสื่อสาร การท�ำงานร่วมกันและเทคโนโลยีการ จัดเก็บซึ่งสามารถเข้าถึงแหล่งฐานข้อมูลและเสริมสมรรถนะการ พัฒนาระบบการจัดการความรู้ ➢ Enterprise Knowledge Portals: EKPs เปรียบเหมือน ประตูเข้าสู่ระบบการจัดการความรู้ที่มีการพัฒนาจากแนวคิดระบบ สารสนเทศผู้บริหาร (executive information system) ระบบฐาน ข้อมูลและเว็บบราวเซอร์ โดยมีการท�ำงานแบบบูรณาการข้อมูลและ ท�ำงานร่วมกัน ขณะที่การจัดการความรู้ถูกด�ำเนินการโดยเซิร์ฟเวอร์ ซึ่ง EKPs จะรวบรวมข้อมูลและกระจายสู่ผู้ใช้งาน ทั้งยังมีการอัพเดท ข้อมูล ท�ำให้เป็นเสมือนชุมชนวิจัยภายในองค์กร ➢ Electronic Document Management Systems: EDM เป็นระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ด้วยรูปแบบการท�ำงานร่วม ทีส่ นับสนุนให้ผใู้ ช้สามารถเข้าถึงเอกสารทีต่ อ้ งการผ่านเว็บบราวเซอร์ บนอินทราเน็ตองค์กร ดังนั้น ระบบ EDM ช่วยให้การจัดการเอกสาร และการไหลของงานในองค์กรเป็นไปอย่างราบรื่น ➢ Knowledge Management Systems in Extensible Markup Language: XML เทคโนโลยี ดังกล่าวไม่เพียงแค่ลดงาน เอกสารกระดาษเท่านั้น แต่ได้ผนวกการถ่ายทอดความรู้และการ >>>12

November-December 2017, Vol.44 No.255

ท�ำงานร่วมระหว่างคู่ค้าภายใต้โครงสร้างข้อมูลมาตรฐานแบบ XML สามารถสือ่ สารกับระบบทีห่ ลากหลาย ท�ำให้ขจัดขอบเขตการเชือ่ มโยง ข้อมูลระหว่างองค์กร ➢ Knowledge Server ประกอบด้วย ซอฟต์แวร์หลักของการ จัดการความรู้ที่ช่วยสืบค้นและเข้าถึงสารสนเทศแหล่งต่าง ๆ อาทิ อินทราเน็ตองค์กร อินเทอร์เน็ต ฐานข้อมูล และระบบไฟล์ข้อมูล Coordination Sharing of Knowledge

Creation of Knowledge

Collection and Storage of Knowledge

Oganization Boundary

งานระหว่างแรงงานข้อมูลกับแรงงานความรู้ การเชื่อมโยงงาน บุคลากรด้านสารสนเทศกับบุคลากรฝ่ายงานต่าง ๆ ทุกระดับและ การประสานความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับหน่วยงานภายนอก ส่วนพนักงานหรือเจ้าหน้าทีภ่ ายในองค์กร อาทิ พนักงานขาย ผูจ้ ดั การ เจ้าหน้าที่ธุรการได้มีกิจกรรมและหน้าที่หลัก ดังนี้ ➢ การจัดการเอกสาร การเผยแพร่สารสนเทศ รวมถึงการ จัดเก็บและการสืบค้นข้อมูล ➢ ก� ำ หนดการท� ำ งานทั้ ง รู ป แบบส่ ว นตั ว และการจั ด การ ทีมงาน ➢ การสื่อสารและสั่งการในรูปแบบเอกสารงานหรือสื่อทาง ดิจิทัลให้กับสมาชิกกลุ่ม ➢ การจัดการข้อมูลรายวัน อาทิ ข้อมูลพนักงาน ลูกค้า และ คู่ค้าธุรกิจ

Knowledge Update

ขอบเขตการจัดการความรู้องค์กร

เนื่องจากแหล่งข้อมูลเป็นเสมือนวัตถุดิบในการสร้างความรู้ ส่วนการจัดการความรู้เปรียบเหมือนการสร้างคลังสารสนเทศ ซึ่ง รูปแบบการจัดหาและสังเคราะห์ความรูข้ ึ้นกับการเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสม ดังนั้น การจัดการความรู้จะเริ่มด้วยการจ�ำแนกระหว่าง ข้อมูลสารสนเทศและความรู้โดยผู้มีส่วนร่วมหลักในกระบวนการ ความรู้ ได้แก่ ➢ ผูส ้ ร้างความรู้ (knowledge generators) คือ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ที่สร้างความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ธุรกิจ ➢ นักวิเคราะห์ความรู้ (knowledge analysts) คือ บุคลากร ที่น�ำผลลัพธ์ของผู้สร้างความรู้มาวิเคราะห์และยืนยันความถูกต้อง ➢ ผู้ใช้ความรู้ (knowledge consumers) เป็นบุคคลทั่วไป ที่ต้องการใช้ความรู้ในการด�ำเนินงานให้เกิดประสิทธิผล Decision Making Synthesizing

Knowledge

Analyzing Summarizing Organizing Collecting

ปิรามิดลำ�ดับชั้นความรู้

Information Data

โดยปัจจัยส�ำคัญในการจัดการความรู้ให้เกิดประสิทธิผล คือ การจัดการที่ระดับล่างสุดของปิระมิดหรือการจัดการข้อมูล (data management) โดยเน้นการจัดการเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์


&

Worldwide และการเข้าถึงระบบไฟล์ขอ้ มูล แต่ประเด็นส�ำคัญในการจัดการข้อมูล คือ การจัดเก็บข้อมูลภายใน โดยธุรกรรมและการจัดการเอกสารมัก ด�ำเนินการระดับพีซีมากกว่าระดับเซิร์ฟเวอร์เครือข่ายที่มีการร่วมใช้ ฐานข้อมูลและไฟล์ข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งมีเว็บเซิร์ฟเวอร์เป็นที่เก็บ รวบรวมเอกสาร โดยสามารถแบ่งประเภทการจัดเก็บข้อมูลเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ข้อมูลแบบไม่เป็นโครงสร้าง (unstructured data) แสดงรูปแบบไฟล์ ภาพ เสียงและอักษร ส่วนข้อมูลที่เป็นโครงสร้าง (structured data) แสดงรูปแบบตารางฐานข้อมูลหรือรูปแบบเอกสาร XML (Extensible Markup Language) โดยทัว่ ไปข้อมูลภายในองค์กร จะถูกแสดงในรูปแบบระบบไฟล์ขอ้ มูลหรือฐานข้อมูล ส่วนแหล่งข้อมูล จากเว็บไซต์จะเป็นข้อมูลทัง้ แบบทีเ่ ป็นโครงสร้างและไม่เป็นโครงสร้าง โดยให้บคุ ลากรร่วมใช้สารสนเทศผ่านระบบอินทราเน็ต องค์กรความรู้ ยังคงเป็นทรัพยากทางกลยุทธ์หลักที่มีความจ�ำเป็นต้องพัฒนาเพื่อ สร้างความสามารถ สร้างผลก�ำไร และแสดงถึงมูลค่าสารสนเทศที่ ถูกจัดเก็บ ดังนัน้ องค์กรจะมุง่ จัดหาและจัดการสารสนเทศทีต่ อ้ งการใช้ ซึ่งเป็นการเชื่อมั่นว่าทรัพยากรทางความรู้และสารสนเทศทั้งหมด จากบุคลากรจะถูกจัดเก็บเป็นทางการเพื่อสร้างนวัตกรรมต่อไป คลังสารสนเทศ ข้อมูลวิเคราะห์

เสียง

เอกสาร

ภาพ

แหล่งข้อมูล ERP

CRM

ไฟล์ข้อมูล

เว็บเพจ

ตัวอย่างแหล่งข้อมูลและคลังสารสนเทศ

ตามที่ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker) กล่าวว่า ความรู้ คือ แหล่งนวัตกรรมที่ส�ำคัญ เนื่องจากการประยุกต์ความรู้ได้ก่อให้เกิด นวัตกรรมและเมือ่ ความรูใ้ หม่ถกู สร้างขึน้ ในองค์กรท�ำให้เกิดทรัพยากร และแหล่งความรู้ ดังนัน้ การประยุกต์ความรูส้ ะท้อนถึงความสามารถ องค์กรและผลลัพธ์ก่อให้เกิดนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการพัฒนาความ สามารถการแข่งขันที่ยั่งยืน โดยความรู้กับนวัตกรรมมีความสัมพันธ์ ดังนี้ ➢ ความรู้ คือ แหล่งก�ำเนิดนวัตกรรม (knowledge is a source of innovation) ➢ นวัตกรรม คือ แหล่งความรู้ใหม่ (source of new knowledge) ความสัมพันธ์ดังกล่าวก่อให้เกิดวงจรพัฒนาความรู้และ นวัตกรรม ท�ำให้เกิดแหล่งความรูใ้ หม่และการประยุกต์ใช้ความรู้ โดย ทั่วไปความส�ำเร็จทางนวัตกรรมขึ้นกับกระบวนการตัดสินใจ นั่นคือ การสร้างแนวความคิดซึง่ จัดว่าเป็นวัตถุดบิ ทีใ่ ช้พฒ ั นาผลิตภัณฑ์และ นวัตกรรม การวิเคราะห์เพื่อตรวจสอบความเป็นไปได้ของนวัตกรรม การตัดสินใจปรับใช้และการน�ำไปปฏิบตั ิ ปัจจุบนั เทคโนโลยีเครือข่าย และเครื่องมือทางซอฟท์แวร์ได้มีบทบาทในการสนับสนุนสภาพ แวดล้อมให้เกิดการท�ำงานร่วมกันเป็นทีม ท�ำให้สมาชิกในทีมสามารถ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและท�ำงานร่วมในโครงการทีไ่ ด้รบั มอบหมาย แม้อยู่คนละส�ำนักงานหรือต่างสถานที่ก็สามารถท�ำงานร่วมกันได้ ทั้งยังสนับสนุนระบบการเรียนรู้ขององค์กรที่ท�ำงานบนมัลติมีเดีย

November-December 2017, Vol.44 No.255

13 <<<


&

Worldwide

การประมวลผล

สารสนเทศ

ผู้บริหาร

การตัดสินใจ

ข้อมูลป้อนกลับ

กระบวนการสารสนเทศเพื่อตัดสินใจ

ส�ำหรับกระบวนการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์เป็นปัจจัย หลักที่ขับเคลื่อนให้เกิดนวัตกรรม ดังนั้น ประสิทธิผลกระบวนการ ออกแบบควรประกอบด้วยการศึกษาคุณลักษณะหรือข้อก�ำหนด เฉพาะตามความต้องการลูกค้าและลดระยะเวลาการออกแบบ โดย กระบวนการออกแบบจะเริ่มจากการศึกษาความต้องการลูกค้าเพื่อ จัดท�ำข้อก�ำหนดผลิตภัณฑ์ (product specification) ซึง่ พนักงานวิจยั ตลาดจะส�ำรวจลูกค้าและหากตลาดมีศกั ยภาพเพียงพอก็จะวิเคราะห์ ทางเศรษฐศาสตร์เพื่อประเมินต้นทุนการผลิตและก�ำหนดราคาขาย แต่ ก ารวิ เ คราะห์ ค วรค� ำ นึ ง ถึ ง ความเสี่ ย งการลงทุ น ในการออก ผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น การวิเคราะห์จุดแข็งและความสามารถด้านการ ผลิต หลังจากได้ดำ� เนินการศึกษาความเป็นไปได้กจ็ ะจัดท�ำข้อก�ำหนด สมรรถนะตามแนวคิดผลิตภัณฑ์ (product concept) ข้อก�ำหนด ดังกล่าวได้อธิบายลักษณะการใช้งานที่สร้างความพึงพอใจให้กับ ผู้บริโภคซึ่งวิศวกรออกแบบจะมีบทบาทจัดท�ำข้อก�ำหนดทางเทคนิค การด�ำเนินการช่วงนี้ประกอบด้วยการสร้างโปรโตไทป์ (prototype) การทบทวนรายละเอียดและทดสอบขัน้ สุดท้าย รวมถึงด�ำเนินโครงการ น�ำร่องการผลิตและปรับแต่งก่อนการออกแบบขั้นสุดท้าย(final design) โดยข้อมูลช่วงการออกแบบสุดท้าย ได้แก่ รายละเอียดของแบบ (detail drawing) ข้อก�ำหนดผลิตภัณฑ์ การอธิบายลักษณะงาน (job description) วิธกี ารท�ำงานและโปรแกรมควบคุมเครือ่ งจักร ส่วนการ ออกตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ (product launch) จะมีการประสานความ ร่วมมือกับคู่ค้า โดยเฉพาะการจัดท�ำแผนการตลาดต้องประสานงาน ร่วมกับฝ่ายผลิต ซึ่งแนวทางออกแบบที่มีประสิทธิผลจะมุ่งให้ความ ส�ำคัญตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นการออกแบบและทบทวนทุกองค์ประกอบที่ ใช้ในกระบวนการผลิตด้วยโปรโตไทป์ (prototype) ท�ำให้วิศวกรเห็น ผลกระทบและจุดบกพร่องในกระบวนการออกแบบเพื่อด�ำเนินการ แก้ไขซึ่งส่งผลให้เกิดการลดชิ้นส่วนและระยะเวลาในงานประกอบ รวมทั้งลดต้นทุนแรงงานและวัสดุสิ้นเปลือง ดังนั้น การให้ค�ำแนะน�ำ บุคลากรฝ่ายผลิตในช่วงต้นกระบวนการออกแบบเป็นปัจจัยหลักใน การปรับปรุงคุณภาพการออกแบบ โดยช่วงแรกวิศวกรการผลิตจะถูก มอบหมายให้มีส่วนร่วมในกลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ หลังจากนั้นฝ่าย วิศวกรรมจะถูกมอบหมายให้มีส่วนร่วมด�ำเนินการ ท�ำให้เกิดการ ถ่ายทอดข้อมูลระหว่างฝ่ายออกแบบกับฝ่ายผลิตมากขึ้น รวมถึงการ >>>14

November-December 2017, Vol.44 No.255

ลูกค้า การตลาด

การออกแบบขั้นต้น

R&D

การสร้าง แนวความคิด การศึกษา ความเป็นไปได้

คู่แข่ง แนวคิดผลิตภัณฑ์ ข้อกำ�หนดสมรรถนะ

การศึกษา ความเป็นไปได้ การแก้ไขและทดสอบต้นแบบ

การออกแบบ การใช้งาน ข้อกำ�หนดการออกแบบ

ทดสอบการใช้งาน การออกตัว ผลิตภัณฑ์

กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์

การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ข้อกำ�หนด การผลิต

ข้อมูล

พัฒนาคุณภาพการออกแบบขัน้ สุดท้ายและพัฒนาสูค่ วามมีสว่ นร่วม การผลิต โดยมีการท�ำงานร่วมกันระหว่างฝ่ายงานในขณะเดียวกัน (concurrent team) ซึ่งมีการร่วมระดมสมองเพื่อร่างรายละเอียด ข้อก�ำหนดและเกิดการประสานความร่วมมือกับคู่ค้า ผู้ส่งมอบ

แพลตฟอร์มซึ่งพนักงานสามารถสร้างปฏิสัมพันธ์ขณะฝึกอบรม (interactive training)

การออกแบบขั้นสุดท้าย และการวางแผนกระบวนการ

ดังกรณีผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ อาทิ ไคร์สเลอร์ เจนเนอรัล มอเตอร์ และฟอร์ดมอเตอร์รว่ มกันจัดตัง้ เครือข่ายความร่วมมือระหว่าง คู่ค้ากับผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ผ่านเครือข่ายเสมือนส่วนตัว (virtual private network) เพื่อการโอนถ่ายข้อมูลและด�ำเนินธุรกรรมระหว่าง องค์กร (B2B) ทัง้ ยังท�ำงานร่วมกันแบบเรียลไทม์ ท�ำให้สามารถลดต้นทุน การสือ่ สารข้อมูลและรอบเวลาการออกแบบ ส่วนกรณีเดมเลอร์ไคร์สเลอร์ (Daimler Chrysler) สามารถเปิดตัวรถสปอร์ตโดยใช้เวลาตัง้ แต่ ช่วงการออกแนวคิดจนถึงการผลิตเสร็จสิ้นน้อยกว่า 3 ปี ท�ำให้


&

Worldwide

ประหยัดงบประมาณได้มาก โดยแต่ละทีมงานท�ำงานด้วยการใช้ เทคโนโลยีสนับสนุนการสื่อสาร ซึ่งวิศวกรของฟอร์ดจะแลกเปลี่ยน ข้อมูลรายละเอียดการออกแบบเพื่อให้ผู้ผลิตภูมิภาคอื่นสามารถ วางแผนและท�ำงานร่วมกันได้ ส่วนวิศวกรอังกฤษสามารถส่งไฟล์ รายละเอียดแบบ (drawing) ให้วิศวกรออกแบบในอเมริกาและส่ง ข้อมูลผ่านต่อไปยังฝ่ายผลิตเพื่อด�ำเนินการผลิตซึ่งเป็นรูปแบบการ ท�ำงานร่วมกันระหว่างทีมงานโดยไม่จ�ำกัดสถานที่ ท�ำให้ลดช่วงเวลา น�ำการออกแบบและลดความบกพร่องในการออกแบบ รวมทั้งลด ระยะเวลาการออกตัวผลิตภัณฑ์ เอกสารอ้างอิง 1. George M. Marakas, Decision Support Systems in the 21st century, Prentice Hall International, 2003. 2. Gilbert Probst, Steffen Raub and Kai Romhardt, Managing Knowledge : Building Blocks for Success, John Wiley & Sons, 2000. 3. Kenneth C. Laudon, Jane P. Laudon, Essentials of Management Information Systems, Prentice-Hall, 2014. 4. Michael Marquardt and Angus Reynolds, The Global Learning Organization, Irwin Professional Publishing, 1994.

5. Peter Senge, The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning Organization, Currency Doubleday, 1990. 6. Stewart McKie, E-Business Best Practices: Leveraging Technology for Business Advantage, John Wiley & Sons, 2001. 7. Turban, McLean, Wetherbe, Information Technology for Management : Transforming Business in the Digital Economy, John Wiley & Sons, 2008. 8. โกศล ดีศีลธรรม, การจัดการความรู้แห่งโลกธุรกิจใหม่, ศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC), 2546. 9. โกศล ดีศลี ธรรม, นวัตกรรมเทคโนโลยีสนับสนุนการด�ำเนินงานแห่ง สหัสวรรษ, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC), 2548. 10. โกศล ดีศลี ธรรม, พัฒนาสูค่ วามเป็นเลิศตามวิถไี คเซ็น, ส�ำนักพิมพ์ เพื่อนอุตสาหกรรม, 2557

November-December 2017, Vol.44 No.255

15 <<<


&

Focus

คลีนฟู้ด อย่างเดียวไม่พอ ต้องใส่อินโนเวชั่นด้วย! ไอเดียธุรกิจสุดล�้ำจากนักศึกษาลูกแม่โดม กองบรรณาธิการ จากแนวความคิดทีห่ นักแน่นในเรือ่ งการต่อยอดความรูส้ ธู่ รุ กิจในฝัน พร้อมกับตัง้ เป้าหมายในชีวติ ที่ชัดเจนว่าจะไม่ท�ำงานออฟฟิศอย่างแน่นอน และถึงแม้การเริ่มต้นธุรกิจในฝันของบุคคลที่ไม่มี พืน้ ฐานครอบครัวด้านบริหารธุรกิจจะเป็นเรือ่ งยาก แต่กไ็ ม่เกินความสามารถของคนทีห่ มัน่ เติมเต็ม ความรูแ้ ละสัง่ สมประสบการณ์ทมี่ ากพออย่าง น้องเกด หรือการะเกด สิงห์ทอง นักศึกษาคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หนึ่งในเยาวชนคนรุ่นใหม่ ที่ขณะนี้ ก�ำลังวิง่ ไล่ตามความฝันอย่างเต็มก�ำลัง ด้วยการเก็บเกีย่ วทุกความรูท้ เี่ กีย่ วข้องทัง้ ในและนอก ห้องเรียน น้องการะเกด สิงห์ทอง นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์อุตสาหการและการจัดการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. เล่าว่า ตัง้ แต่ชว่ งทีต่ นก�ำลังศึกษาอยูใ่ นชัน้ มัธยมศึกษา ตอนปลาย ซึง่ ถือได้วา่ เป็นหนึง่ ในช่วงหัวเลีย้ วหัวต่อของชีวติ ทีจ่ ะเลือกคณะ และมหาวิทยาลัย ที่จะศึกษาต่อนั้น ตนมีความคิดอย่างมุ่งมั่นว่า หลังจากเรียนจบแล้วต้องการจะประกอบธุรกิจ ของตนเอง ดังนั้น จึงเริ่มคิดทบทวนจากสิ่งที่ตนเองสนใจ และท�ำให้สรุปออกมาเป็น 3 สิ่งที่วัยรุ่นเจนซี (Gen Z) ต้องรู้ หากต้องการเริ่มต้นธุรกิจ ดังนี้ 1. รู้สิ่งที่ตนเองสนใจ และสิ่งที่ตนเองถนัด การเริ่มต้นที่ดีที่สุด ส�ำหรับการหาไอเดียธุรกิจ คือ การเริม่ พิจารณาถึงสิง่ ทีส่ นใจและจุดแข็งที่ เป็นสิง่ ถนัดของตนเอง เนือ่ งจากจะเป็นสิง่ กระตุน้ ทีท่ ำ� ให้มแี รงผลักดันใน การท�ำธุรกิจอย่างเต็มทีโ่ ดยไม่ยอ่ ท้อ ส�ำหรับตนเองแล้วสิง่ ทีต่ นเองถนัด คือ ความรู้วิทยาศาสตร์ด้านเคมี เนื่องจากประทับใจในความพิเศษ ของศาสตร์ดังกล่าวที่สามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนานวัตกรรม และต่อยอดทางด้านธุรกิจมากมาย เช่น ได้ศกึ ษาถึงเมนูอาหาร ทีท่ านแล้วไม่อว้ น และสามารถเก็บได้นานโดยไม่ตอ้ งแช่เย็น

น้องเกด หรือการะเกด สิงห์ทอง นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

>>>16

November-December 2017, Vol.44 No.255


&

ด้วยการเติมสารไคโตซาน ซึง่ ไม่มผี ลกระทบต่อสุขภาพ โดยจุดนีน้ เี่ อง ที่เป็นการจุดประกายถึงช่องทางในการพัฒนาธุรกิจของตนเอง 2. รู้เทรนด์ และกระแสธุรกิจ เพราะเทรนด์และกระแส ต่าง ๆ เป็นสิ่งส�ำคัญที่ผู้ประกอบการต้องใส่ใจเพื่อให้ธุรกิจที่จะสร้าง นั้นตอบโจทย์ผู้บริโภคได้อย่างตรงความต้องการ โดยส�ำหรับตนเอง ได้ท�ำการศึกษาข้อมูลเรื่องเทรนด์ และเทคนิคการท�ำธุรกิจจนได้ ข้อสังเกตว่า ขณะนี้กระแสรักสุขภาพก�ำลังได้รับความนิยมเป็น อย่างมากในประเทศไทย อันเห็นได้จากหลากหลายธุรกิจที่เกี่ยวข้อง มีความเติบโตขึ้นเป็นอย่างมาก ทั้งธุรกิจฟิตเนส ธุรกิจเสื้อผ้ากีฬา/ อุ ป กรณ์ กี ฬ า ธุ ร กิ จ ฟาร์ ม ผั ก ไฮโดรโปนิ ก ส์ และล่ า สุ ด กั บ ธุ ร กิ จ ร้านอาหารเพือ่ สุขภาพอย่าง เอ็มเค ไลฟ์ (MK Live) ฯลฯ จึงเป็นผลให้ เกิดแรงผลักดันและมีความสนใจที่จะท�ำธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพอย่าง จริงจัง 3. รูน้ วัตกรรม และเทคโนโลยี ในยุคปัจจุบนั นวัตกรรมและ เทคโนโลยี ถือเป็นตัวแปรส�ำคัญส�ำหรับธุรกิจ ซึง่ ถือว่าเป็นข้อได้เปรียบ ของวัยรุ่นเจนซี ที่ถือได้ว่ามีความคุ้นเคยกับนวัตกรรมมาตั้งแต่เด็ก โดยหัวใจส�ำคัญของการรู้นวัตกรรรมดังกล่าว คือ การเลือกประยุกต์ ใช้นวัตกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม และสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ธุรกิจได้อย่างมีศักยภาพ อาทิเช่น การเลือกใช้เทคโนโลยี Active Packaging ส�ำหรับยืดอายุผักหรือผลไม้สด ให้สามารถวางขาย/ ส่งออกต่างประเทศได้ ฯลฯ

Focus

อย่างไรก็ตาม 3 ข้อส�ำคัญข้างต้นเป็นทั้งสิ่งที่สามารถหาได้ ภายในห้องเรียน คือ การเลือกเรียนต่อยอดสิ่งที่ตนเองสนใจ คือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการเลือกเรียนพื้นฐานความรู้ทาง ธุรกิจ รวมไปถึงการหาประสบการณ์นอกห้องเรียน ซึ่งตนเองได้หา ประสบการณ์นอกห้องเรียน ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเติมเต็มความรู้ ในการพัฒนาธุรกิจอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ การเข้าร่วมแข่งขันประกวดแผน ธุรกิจ เมื่อปี 2559 ที่ผ่านมา เพื่อทดสอบความรู้ความสามารถในการ วางแผนธุรกิจ และพัฒนาตัวเองไปในตัว โดยล่าสุด เมื่อต้นปี 2560 ที่ผ่านมา ยังได้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่ประเทศ เวียดนาม โดยมีโอกาสไปสัมผัสย่านธุรกิจสตาร์ทอัพ ดื่มด�่ำรสชาติ กาแฟออแกนิคที่มีกลิ่นหอมกรุ่น และอาหารพื้นเมืองของเวียดนาม ที่ส่วนใหญ่เป็นเมนูอาหารเพื่อสุขภาพทั้งสิ้น จึงท�ำให้ได้ไอเดียมา ต่อยอดธุรกิจกาแฟออแกนิค (organic cafe) เป็นอย่างมาก ซึ่งตน ตัง้ ใจให้เป็นพืน้ ทีข่ องการพบปะสังสรรค์ของคนเมือง ในบรรยากาศที่ อบอวลไปด้วยกลิ่นกาแฟที่ช่วยผ่อนคลาย และเมนูอาหาร/เครื่องดื่ม ที่ได้จากธรรมชาติ 100% รวมถึงเป็นพื้นที่ที่เปิดให้เลือกซื้อผักไฮโดรโปนิกส์กันแบบสด ๆ จากพื้นที่ของเกษตรกร น้องการะเกด กล่าว ทัง้ นีภ้ ายหลังจากเรียนจบ ตนตัง้ ใจรวบรวมทุกความรูท้ ไี่ ด้ทงั้ ในด้านวิทยาศาสตร์-บริหาร (SCI+BUSINESS) วางแผนธุรกิจร้าน กาแฟออแกนิคที่ตนวาดฝันไว้ให้ส�ำเร็จ ควบคู่ไปกับออกเดินทางไป แรงบันดาลใจ และประสบการณ์ใหม่ ๆ เพิ่มเติม เพื่อให้สามารถพัฒนาธุรกิจให้มีความโดดเด่น แปลกใหม่ และแตกต่างจากที่อื่น

November-December 2017, Vol.44 No.255

17 <<<


&

Focus

ฮิความท้ตาทายในการสร้ าชิ ดาต้ า ซิ ส เต็ ม ส์ าง Smart Cities ในเอเชีย แปซิฟิก และความพร้อมของประเทศไทยในยุค

4.0

กองบรรณาธิการ

มร.

เชื่อมต่อข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เข้ามายังฐานข้อมูลขององค์กร หาก แต่การน�ำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจและสังคมยังมีน้อย มาก ด้วยข้อจ�ำกัดของเทคโนโลยีทแี่ ตกต่างกัน การขาดการบูรณาการ และเชื่อมต่อข้อมูลอย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังขาดเครื่องมือในการ วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงลึกเพือ่ น�ำมาประมวลผลแบบเรียลไทม์ จนสามารถ น�ำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้สูงสุด ที่ผ่านมา ฮิตาชิ ฯ ได้เร่งพัฒนาความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เพื่ อ ให้ พ ร้ อ มส� ำ หรั บ ความต้ อ งการของโลกอนาคต ซึ่ ง Hitachi

คี ท รอสคาเรล ผู ้ อ� ำ นวยการด้ า นความปลอดภั ย สาธารณะและเมืองอัจฉริยะ ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็ม พีทีอี ลิมิเต็ด กล่าวว่า ปัจจุบันนี้ เมืองใหญ่ทวั่ เอเชียแปซิฟกิ ต่างเร่งวางโครงสร้างพืน้ ฐานส�ำหรับเตรียม พร้อมการเกิดขึ้นของเขตเศรษฐกิจใหม่ในภูมิภาคเอเชีย เนื่องจากมี การคาดการณ์ว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า จะมีการเปลี่ยนแปลงการไหล ของเงินทุนจากทั่วโลกจะเข้ามายังเศรษฐกิจเกิดใหม่ในเอเชีย ส่งผล ให้ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคนี้เกิดการขยายตัวของพื้นที่เมือง จ�ำนวน ประชากรในเขตเมืองจะเพิ่มขึ้น และขนาดเศรษฐกิจของเมืองใน ประเทศก�ำลังพัฒนาจะมีขนาดใหญ่ขนึ้ ตามไปด้วย และเพือ่ ให้บริหาร จัดการเมืองที่มีประชากรมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้หลาย ประเทศต่างต้องการเดินหน้าสร้างเมืองอัจฉริยะ (smart city) เพื่อ รองรับการเติบโตของเศรษฐกิจในอนาคต อย่างไรก็ดี แม้ว่าในหลายเมืองใหญ่ที่มีความพร้อมเรื่อง สาธารณูปโภค เทคโนโลยี ระบบอินเทอร์เน็ต และการทุ่มเม็ดเงิน ลงทุนเพื่อวางระบบส�ำหรับอินเทอร์เน็ตออฟธิงส์อย่างครอบคลุมเพื่อ

มร.คีท รอสคาเรล (ซ้าย)

ผู้อ�ำนวยการด้านความปลอดภัยสาธารณะและเมืองอัจฉริยะ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็ม พีทีอี ลิมิเต็ด

ดร.มารุต มณีสถิตย์ (ขวา) กรรมการผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย และพม่า บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ พีทีอี ลิมิเต็ด >>>18

November-December 2017, Vol.44 No.255


& Visualization Suite (HVS) เป็นซอฟต์แวร์แพลตฟอร์มทีท่ ำ� งานได้บน ระบบไฮบริดคลาวด์ สามารถผสานรวมข้อมูลทั่วไปและข้อมูลจาก วิดีโอหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ (Internet of Things) จากระบบความ ปลอดภัยสาธารณะที่แยกออกจากกันของแต่ละหน่วยงานเข้าไว้ ด้วยกัน และข้อมูลที่ได้จะถูกน�ำมาวิเคราะห์เพื่อแสดงผล ซึ่งจะช่วย ให้องค์กรภาครัฐและเอกชนได้รับข้อมูลและเข้าใจในสถานการณ์ จากข้อมูลเชิงลึก ท�ำให้สามารถวางแผนจัดการได้อย่างดีเมื่อเกิด เหตุการณ์ที่ส่งผลต่อความปลอดภัยของประชาชน อาทิ หน่วยจัดส่ง ความช่วยเหลือ 911 ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ตัวอ่านป้ายทะเบียน เซนเซอร์กระสุนปืน ฯลฯ ในแบบเรียลไทม์ และน�ำเสนอให้ ภาพข้อมูลในรูปแบบภูมสิ ารสนเทศเชิงพืน้ ที่ HVS จะช่วยให้หน่วยงาน บังคับใช้กฎหมายได้รับข้อมูลเชิงลึกที่ส�ำคัญส�ำหรับใช้ในการเสริม ความเชี่ยวชาญในการด�ำเนินงาน ยกระดับความสามารถด้านการ สืบสวนสอบสวน และเพิ่มประสิทธิภาพด้านการปฏิบัติการต่าง ๆ พร้อมด้วยคุณสมบัตขิ องการบันทึกข้อมูลเหตุการณ์แบบเรียลไทม์จาก เซนเซอร์ ดร.มารุต มณีสถิตย์ กรรมการผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย และพม่า บริษทั ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ พีทอี ี ลิมเิ ต็ด กล่าวว่า ส�ำหรับ ประเทศไทยเองทั้งภาครัฐและเอกชนต่างก็มีความต้องการสร้าง Smart City ให้เกิดขึ้น เพื่อประโยชน์ทั้งในแง่ความมั่นคง ความ ปลอดภัย และประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ซึง่ ตอนนีม้ นี โยบายประเทศไทย 4.0 เข้ามาผลักดันในเรื่องความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานด้าน เทคโนโลยี ส่งผลในทั้งภาครัฐและเอกชนหลายแห่งมีการลงทุนเพื่อ วางระบบต่าง ๆ เพื่อรองรับการเกิดขึ้นของ Smart Cities ในอนาคต และสามารถใช้ประโยชน์จาก Big Data ทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยเทคโนโลยีส�ำหรับการสร้าง Smart Cities ของฮิตาชิฯ อย่าง HVS สามารถแสดงภาพข้อมูลภูมิสารสนเทศเชิงพื้นที่เกี่ยวกับ ข้อมูลอาชญากรรมทีผ่ า่ นมาในอดีตหลากหลายรูปแบบ ซึง่ ครอบคลุม ถึงเขตพื้นที่ความเสี่ยงอาชญากรรม (heat map) ด้วย HVS เป็น แพลตฟอร์มที่มีความสามารถในการปรับขนาดได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะ

Focus

ช่วยให้องค์กรภาครัฐและเอกชนสามารถรวบรวมเหตุการณ์จ�ำลอง หลายร้อยรายการส�ำหรับการสร้างภาพและการเฝ้าติดตามเชิงพื้นที่ HVS ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับการบูรณาการและรวมจุดต่าง ๆ ที่ใช้ โดยเมือง องค์กร และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยสาธารณะ จากการที่ HVS มีมุมมองแบบแผนที่เดียว ซึ่งรวมข้อมูลวิดีโอข้อมูลการปฏิบัติงานการขนส่ง GPS และการติดตามยานพาหนะ ข้อมูลอาคาร และ โครงสร้างพื้นฐาน สื่อสังคมออนไลน์ และแหล่งข้อมูลอื่น ๆ นอกจากนี้ ยังมีการวิเคราะห์พื้นเมืองและเวิร์กโฟลว์อัตโนมัติ เพื่อช่วยให้องค์กร ทุกประเภทมีความชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น “HVS นับเป็นเครื่องมือแรกที่ใช้โซเชียลมีเดีย และฟีดข้อมูล จากอินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ ร่วมกับการวิเคราะห์ขั้นสูงที่มีความ ละเอียดและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เพือ่ เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงลึกและ ยกระดั บ ความปลอดภั ย สาธารณะในรู ป ของการน� ำ เสนอข้ อ มู ล พยากรณ์การเกิดอาชญากรรมที่มีความแม่นย�ำสูง ทั้งนี้ Hitachi Visualization เป็นหนึง่ ในโซลูชนั่ ของ Hitachi Social Innovation ทีช่ ว่ ย พัฒนาโครงการเมืองอัจฉริยะ (smart cities) และออกแบบขึ้นเป็น พิเศษเพือ่ ยกระดับแนวคิดด้านความปลอดภัยสาธารณะของเมืองและ เทศบาลต่าง ๆ ผ่านทางการใช้การวิเคราะห์ขั้นสูงเชิงพยากรณ์และ การเข้าถึงข้อมูลวิดีโอ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ จากระบบความปลอดภัย สาธารณะได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ” ดร.มารุต กล่าวทิ้งท้าย

November-December 2017, Vol.44 No.255

19 <<<


&

Inspiration

นวัตกรรมฟองน�้ำเช็ดท�ำความสะอาดคราบน�้ำมัน

และแผ่นเช็ดเครื่องส�ำอางจากเส้นใยนุ่น

เส้น

ใยนุ่นเป็นเส้นใยธรรมชาติจากฝักของต้นนุ่น ปราศจาก ยาฆ่ า แมลงและสิ่ ง สกปรก นุ ่ น มี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษ เฉพาะตัวที่สามารถดูดซับน�้ำมัน และย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ จากจุดเด่นดังกล่าว คุณชุติพนธ์ ลิ้มนิวัติกุล คุณจิรัฐติกาล แดงด้วง คุณภูวนัตถ์ รัตนเสถียร และ คุณธนาคาร จันทราคีรี นักศึกษาภาค วิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) น�ำเส้นใยนุ่นมาวิจัย และ พัฒนาให้เกิดประโยชน์จะสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั เส้นใยนุน่ ได้ จนเป็นผลงาน ฟองน�้ำเช็ดท�ำความสะอาดคราบน�้ำมันบนภาชนะ และเครื่องครัว (SuperClean Sponge: Oily-Utensil Cleaning

▲ ผศ.ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี

อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.

>>>20

November-December 2017, Vol.44 No.255

กองบรรณาธิการ Material) และ แผ่นเช็ดท�ำความสะอาดผิว (NViro Pad: Biodegradable Cosmetic Pad) โดย คุณฉัตรชัย กล่อมแก้ว คุณธนธรณ์ เผือกวิสุทธิ์ คุณปริวรรต บุญยะไทย และ คุณวุฒิสิทธิ์ กิจเกรียงไกร นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. ซึง่ เป็นผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลในงานประกวดนวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ The 3rd World Invention Innovation Contest (WiC 2017) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี ผลงาน SuperClean Sponge คว้า รางวัล Gold Medal 1 รางวัล ถ้วยรางวัลพิเศษจาก WIA และรางวัลพิเศษจาก TISIAS Special Award ส่วน NViro Pad คว้า Gold Medal 1 รางวัล และถ้วยรางวัลพิเศษจาก KINEWS คุณชุตพิ นธ์ กล่าวว่า “เส้นใยนุน่ มีสารเคลือบผิวตามธรรมชาติ หรื อ แว็ ก ซ์ ซึ่ ง จะป้ อ งกั น น�้ ำ ท� ำ ให้ เ ส้ น ใยนุ ่ น ไม่ เ ปี ย กน�้ ำ และมี คุณสมบัติป้องกันแมลง ไรฝุ่น และเชื้อรา ทีมวิจัยน�ำเส้นใยนุ่นมา ลอกแว็กซ์ และเคลือบสาร 2 ชนิด คือ สารทึบน�้ำ และสารลดแรงตึงผิว จะได้เส้นใยนุ่นที่มีคุณสมบัติไม่เปียกน�้ำแต่มีคุณสมบัติดูดซับน�้ำมัน ได้ จึงออกแบบส�ำหรับการใช้งาน 2 ลักษณะ คือ แผ่นท�ำความสะอาด ภาชนะ เครื่องครัว และใช้ดูดซับน�้ำมันจากอาหารทอด เส้นใยพิเศษ ของนุ่นที่มีคุณสมบัติดูดซับน�้ำมันที่บรรจุใน SuperClean Sponge จ�ำนวน 20 กรัม สามารถดูดซับน�้ำมันได้ 50 เท่าของน�้ำหนักเส้นใย SuperClean สามารถก�ำจัดคราบน�ำ้ มันบนภาชนะโดยไม่ตอ้ งใช้นำ�้ ยา ล้างจาน ดังนั้น การท�ำความสะอาดเครื่องครัวจะใช้น�้ำน้อยลงด้วย เวลาที่สั้น แต่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยใช้ SuperClean Sponge เช็ดทีผ่ วิ ของในภาชนะ และล้างด้วยน�ำ้ อุน่ ภาชนะและเครือ่ งครัวก็จะ สะอาด หากใช้ SuperClean ดูดซับน�้ำมันจากอาหารทอด เส้นใยนุ่น


&

Inspiration

รับรางวัลในงานประกวดนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ์ The 3rd World Invention Innovation Contest (WiC 2017) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี

สามารถท�ำให้อาหารทอดคายความร้อนได้ช้า น�้ำมันจะออกมาจาก อาหารได้มาก อาหารจะไม่อมน�้ำมันและคงความกรอบ ส่วนน�้ำมัน ถูกดูดซึมบน SuperClean Sponge สามารถบีบออกได้ง่าย สามารถ ใช้ซำ�้ ได้มากกว่า 10 ครัง้ เทียบกับการดูดซับน�ำ้ มันได้ถงึ 10 ลิตร น�ำ้ มัน เหล่านี้สามารถใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้” ผศ.ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. ที่ปรึกษาทั้ง 2 ผลงาน กล่าวว่า “เส้นใยนุ่นเป็นไฟเบอร์ที่เป็นท่อสั้น และผนังบาง จึงสร้าง ความสมดุลระหว่างความนุ่ม และความยืดหยุ่น เหมาะส�ำหรับการ ท�ำความสะอาดผิวที่บอบบาง พื้นที่ผิวของ NViro Pad จะเก็บกัก ความชื้น คายตัวได้ดี จึงลดปริมาณการใช้คลีนซิ่งและโทนเนอร์ และ ยาฆ่าเชือ้ โรค สามารถน�ำกลับมาใช้ซำ�้ ได้ โดยล้างท�ำความสะอาดด้วย การต้มในน�้ำเดือด แล้วน�ำมาผึ่งในสภาพอากาศปกติเพียง 30 นาที เส้นใยจะแห้ง ซึง่ แผ่นเส้นใยนุน่ ทีใ่ ช้แล้วสามารถย่อยสลายได้ภายใน 60 วัน กลายเป็นสารอินทรียวัตถุ หรือปุ๋ยในดินได้” ผศ.ดร.ธิดารัตน์ กล่าวทิ้งท้ายว่า “นอกเหนือจากการท�ำ โปรเจกส์ของนักศึกษา ภาควิชายังต้องการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ที่น�ำไปสู่การตอบโจทย์ของสัมคมได้จริง ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม

กลุ่มอาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยท�ำหน้าที่สอนนักศึกษาและ ท�ำวิจัยเพื่อให้ได้องค์ความรู้ใหม่ กลุ่มผู้ประกอบการที่เป็นนักลงทุน ผูท้ ำ� หน้าทีผ่ ลิต ได้ผลงานวิจยั ทีเ่ ป็นผลิตภัณฑ์ทนี่ ำ� ไปผลิตได้จริง และ ได้ทรัพยากรบุคคลที่จะเข้าไปท�ำงานกับบริษัท และกลุ่มนักศึกษาที่ ร่วมเรียนรู้การท�ำวิจัยที่ตอบโจทย์จริงของสังคมและมีคุณค่าผลิตได้ จริง โดยเมื่อนักศึกษาจบจะมีสถานประกอบการรอรับเข้าไปท�ำงาน เพราะเป็นส่วนหนึ่งในการท�ำผลงาน การท�ำโปรเจกส์ลกั ษณะนีน้ กั ศึกษาได้ใช้ความรูแ้ บบบูรณาการ ท�ำให้นกั ศึกษาได้คดิ และมองครบทุกด้าน เนือ่ งจากผลงานนีไ้ ม่ใช่เป็น งานวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเพียงอย่างดียว ต้องเกี่ยวกับงานชุมชน และเกษตรกรรมด้วย และสามารถพัฒนาต่อยอดเพื่อการแก้ปัญหา ระดับโลก เช่น เส้นใยนุน่ ดูดซับน�้ำมันทีร่ วั่ ไหลในทะเล หรือผ้าอ้อมเด็ก ที่ย่อยสลายได้”

November-December 2017, Vol.44 No.255

21 <<<


&

Inspiration

สร้างมูลค่าเพิ่มใบสับปะรด

ผลิตเส้นใยเซลลูโลสนวัตกรรมใหม่

ขนาดนาโน

ประ

เทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม จึงมีวัสดุเหลือใช้ จ�ำนวนมากที่ถูกละเลยหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต ทางการเกษตร เช่น ใบสับปะรด ฟางข้าว หรือชานอ้อย เป็นต้น จาก การวิจยั พบว่าเส้นใยจากพืชนัน้ มีคณ ุ สมบัตทิ นี่ า่ สนใจหลายประการ เช่น น�้ำหนักเบา แข็งแรง และทนทาน ดร.สุภโชค ตันพิชัย อาจารย์ประจ�ำสถาบันการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) กล่าวว่า “สับปะรดเป็นสินค้าเศรษฐกิจที่ส�ำคัญชนิดหนึ่งของประเทศไทย ใน แต่ละปีจะมีใบสับปะรดทีถ่ กู ทิง้ หรือท�ำลายหลังจากการเก็บเกีย่ วเป็น จ�ำนวนมาก โดยไม่ได้มีการน�ำไปใช้ประโยชน์ใด ๆ ทั้งนี้เส้นใยที่ได้ จากใบสับปะรดนัน้ มีความแข็งแรงของเส้นใยทีส่ งู เมือ่ เทียบกับเส้นใย ธรรมชาติประเภทอื่น ๆ จึงเหมาะแก่การน�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้น ในกระบวนการเตรียมเส้นใยเซลลูโลสขนาดนาโน ซึ่งเป็นวัสดุที่ ค่อนข้างใหม่ส�ำหรับประเทศไทย แต่มีกระบวนการท�ำที่ไม่ซับซ้อน มากนัก โดยงานวิจัยนี้ใช้ใบสับปะรดเป็นสารตั้งต้นในการเตรียม เส้นใยเซลลูโลสขนาดนาโน ผ่านกระบวนการระเบิดด้วยไอน�ำ้ แรงดันสูง เพื่อท�ำลายพันธะที่ยึดเกาะกันระหว่างเส้นใยเซลลูโลสระดับไมโคร จนได้เป็นเส้นใยขนาดนาโนที่มีการกระจายตัวแยกออกจากกัน ซึ่งมี ความแข็งแรงสูง น�้ำหนักเบา ความทนทานต่อสารเคมี สามารถย่อย สลายได้เองตามธรรมชาติ มีลักษณะโปร่งแสง ยากต่อการมองเห็น ด้วยตาเปล่า จึงสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในด้านอืน่ ๆ ได้หลากหลาย เช่น การปรับปรุงสมบัตบิ างประการของฟิลม์ บรรจุภณ ั ฑ์ให้ดขี นึ้ โดยที่ ยังคงความใสของฟิล์มไว้ได้ เช่น สมบัติเชิงกล สมบัติทางความร้อน หรือสมบัติการแพร่ผ่านของก๊าซ เป็นต้น นอกจากนี้เส้นใยเซลลูโลส ขนาดนาโนยังสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ทางด้านวัสดุทางการแพทย์ อีกด้วย เช่น ผ้าปิดแผล หรือหลอดเลือดเทียม หรือใช้ในงานทางด้าน >>>22

November-December 2017, Vol.44 No.255

กองบรรณาธิการ

การกรองสารพิษจากน�้ำ หรืออากาศอีกด้วย ผลส�ำเร็จของงานวิจัยนี้ คาดหวังว่าจะมีสว่ นช่วยให้เกษตรกรสามารถน�ำวัสดุทเี่ หลือใช้ทางการ เกษตรมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั วัสดุเหล่านัน้ และ เป็นการเพิ่มรายได้ในครัวเรือนให้กับเกษตรกรได้อีกทางหนึ่งด้วย นอกจากนีง้ านวิจยั นีย้ งั เป็นการเตรียมองค์ความรูเ้ พือ่ น�ำส่งให้กบั ทาง ภาคอุตสาหกรรมที่มีความต้องการใช้ประโยชน์จากเส้นใยเซลลูโลส ขนาดนาโน เช่น อุตสาหกรรมกระดาษ หรืออุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์” ดังนัน้ เส้นใยสับปะรดจึงเป็นเส้นใยธรรมชาติทมี่ ศี กั ยภาพสูง มีโอกาสในการพัฒนาเป็นเส้นใยในเชิงอุตสาหกรรมได้จริงในอนาคต ลดการพึ่งพาวัสดุสังเคราะห์ทางเคมี แล้วหันมาใช้ประโยชน์จากวัสดุ ทดแทน และยั ง เป็ น การน� ำ เอาเศษวั ส ดุ ที่ เ หลื อ ทิ้ ง จากการปลู ก สับปะรดมามีสว่ นช่วยในการท�ำให้เกิดการเพิม่ มูลค่าให้สงู ขึน้ อีกด้วย

▲ ดร.สุภโชค ตันพิชัย

อาจารย์ประจ�ำสถาบันการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)


&

Report

ฟิลาเจน

นวัตกรรมเส้นใยหมดปัญหากลิ่น ร้อน ผิวแห้ง แดดเผา เป็น

กองบรรณาธิการ

ความจริงทีว่ า่ เมือ่ มนุษย์เติบโตจนถึงช่วงเวลาหนึง่ แล้ว ผิวพรรณทีเ่ คยเต่งตึงก็จะเริม่ หย่อนคล้อยหรือมีรวิ้ รอย เกิดขึ้นตามอายุ แต่ด้วยคุณสมบัติของคอลลาเจนที่ช่วยให้ผิวพรรณ ทีห่ ย่อนคล้อยกลับมากระชับและเต่งตึง ท�ำให้คอลลาเจนเปรียบเสมือน “ยาอายุวัฒนะ” ที่มีความโดดเด่นและดึงดูดใจผู้บริโภคเสมอมา ซึง่ นับเป็นอีกก้าวส�ำคัญของวงการคอลลาเจนในการฉีกกฎการบริโภค เดิม ๆ คุณเซิ่น จุ้น ซิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท จีอีพี สปิ่นนิ่ง จ�ำกัด เปิดเผยว่า ล่าสุดได้มีการเปิดตัว “ฟิลาเจน” นวัตกรรรมเส้นใย คอลลาเจนครั้งแรกในไทยที่ได้ผสมผสานสารสกัดคอลลาเจนจาก ปลาทะเลน�ำ้ ลึกเข้ากับเส้นใยผ้า เพิม่ ทางเลือกใหม่ให้กบั ผูบ้ ริโภคจาก แค่เพียงกินหรือทาผลิตภัณฑ์คอลลาเจน ซึง่ เมือ่ ผสมผสานคอลลาเจน เข้าสู่เส้นใยฟิลาเจนแล้วนั้น ท�ำให้มีคุณสมบัติสามารถปกป้องกลิ่น กาย ป้องกันรังสียวู ี ให้อณ ุ หภูมผิ วิ สัมผัสทีเ่ ย็น และให้ความชุม่ ชืน้ แก่ ร่างกาย เพียงแค่สวมใส่ หรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเส้นใยฟิลาเจน

เส้นใยดังกล่าวถือเป็นทางเลือกให้กบั ผูค้ นทุกเพศทุกวัยทีต่ า่ ง หันมาให้ความส�ำคัญกับเรื่องของสุขภาพและความงามกันมากขึ้น อันสังเกตได้จากการเติบโตขึน้ ของตลาดผลิตภัณฑ์อาหารเสริมใหม่ ๆ แต่ฟิลาเจนได้เข้ามาต่อยอดและเติมเต็มให้กับช่องว่างของธุรกิจ สุขภาพและความงาม โดยการท�ำให้เครื่องนุ่งห่มที่แทบไม่น่าเชื่อว่า จะสามารถผสมผสานกับสารสกัดคอลลาเจนให้เกิดขึ้นจริงได้ โดย จากการมุ่งมั่นวิจัยโดยผู้เชี่ยวชาญด้านนาโนเทคโนโลยีจากประเทศ ไต้หวัน พบว่า สารสกัดคอลลาเจนที่ได้จากเกล็ดปลาทะเลน�้ำลึกมี คุณภาพดีกว่าคอลลาเจนทีส่ กัดจากวัว จึงได้เลือกใช้สารสกัดดังกล่าว ผสมผสานเข้าไปในเส้นใยวิสโคสเรยอน ให้กลายเป็นเส้นใยเพื่อ สุขภาพและความงาม ทั้งนี้ได้มีการทดลองกับมะเขือเทศ ซึ่งมีผิวที่บอบบางและมี น�้ำภายในผิวคล้ายกับผิวคนเรามากที่สุด โดยการน�ำมะเขือเทศที่ ห่อหุม้ ด้วยผ้าฟิลาเจนกับผลไม้ทหี่ อ่ หุม้ ด้วยผ้าแบบธรรมดาเป็นระยะ เวลา 30 วัน พบว่า มะเขือเทศที่ห่อหุ้มด้วยผ้าฟิลาเจนผิวยังคงเต่งตึง ในขณะทีม่ ะเขือเทศทีห่ อ่ หุม้ ด้วยผ้าธรรมดากลับมีผวิ ทีส่ ญ ู เสียความ

November-December 2017, Vol.44 No.255

23 <<<


Report

& ชุ่มชื้น เหี่ยวย่นกว่ามะเขือเทศที่ห่อหุ้มด้วยผ้าฟิลาเจน จึงพิสูจน์ได้ว่า คอลลาเจนในเส้นใยผ้ามีคุณสมบัติช่วยถนอมผิวสัมผัสและยืดอายุ เซลล์ ถือว่าเป็นการเปิดมิติใหม่ให้กับวงการอุตสาหกรรมสิ่งทออย่าง ที่ไทยไม่เคยมีมาก่อน โดยคุณสมบัติของผ้าที่ใช้เส้นใยจากฟิลาเจน นอกจากจะคงทน ไม่ เ สื่ อ มสลายแม้ ผ ่ า นการซั ก ล้ า งแล้ ว ยั ง มี คุณสมบัติที่โดดเด่นกว่าสิ่งทอชนิดอื่น ๆ ตรงที่ให้ผิวสัมผัสที่เย็นพอ เหมาะกับร่างกาย ป้องกันรังสียวู ไี ด้สงู สุดถึง *UPF50 ปกป้องกลิน่ กาย และให้ความชุม่ ชืน้ แก่ผวิ พรรณตามแบบฉบับคอลลาเจน ถือเป็นทาง เลือกใหม่ที่น่าสนใจแก่กลุ่มคนที่ใส่ใจสุขภาพและความงามที่ยังคง ได้ประโยชน์ของคอลลาเจนโดยทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องทาหรือรับประทานให้ เสียเวลาอีกต่อไป ทั้งยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพราะเป็นวัสดุที่ผลิต จากธรรมชาติ 100% นอกจากจะเป็นผู้น�ำในการบุกเบิกธุรกิจเส้นใยคอลลาเจน แล้ว ฟิลาเจนยังรุกหน้าโดยการจับมือกับแบรนด์เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ชั้นน�ำหลากหลาย เช่น อินไนน์ บาย วาโก้ พาซาญ่า (PAZAYA) แกรนด์สปอร์ต (Grand Sport) ฯลฯ โดยตั้งเป้าว่าจะตีตลาดส่งออก ในหลายประเทศอาเซียนและเอเชีย โดยเฉพาะไต้หวันกับญี่ปุ่น ซึ่งมีความนิยมในคอลลาเจนมาอย่างยาวนาน ซึ่งการเปิดตัวเส้นใย ฟิลาเจนครั้งนี้ ถือเป็นปรากฏการณ์ที่น่าจับตามองทั้งในฐานะธุรกิจ สิ่งทอน้องใหม่ผู้เข้ามาเชื่อมสิ่งทอเข้ากับสารสกัดที่เคยเป็นเพียงแค่ อาหารเสริมซึ่งในอนาคตอาจเป็นธุรกิจที่สร้างมูลค่าการส่งออกได้ไม่ น้อยเลยทีเดียว ทัง้ ยังเป็นเครือ่ งแสดงให้เห็นถึงความก้าวล�ำ้ ของวงการ อุตสาหกรรมบ้านเราที่มีสินค้าอันเกิดจากกระบวนการผลิตด้วย นวัตกรรมอย่างชัดเจนอีกด้วย

UPF ย่อมาจาก Ultraviolet Protection Factor เป็นตัวก�ำหนดความสามารถในการป้องกันแสงแดดของวัสดุสิ่งทอ เพื่อเป็นการ บอกว่าสิ่งทอ หรือผ้าชนิดต่าง ๆ สามารถกันรังสียูวีเอ และยูวีบีได้ดีแค่ไหน โดย UPF จะมีค่าอยู่ที่ 15 ถึง 50 โดยค่า UPF จะวัดจากปริมาณ รังสียูวีที่ผ่านเนื้อผ้ามาสู่ผิวหนัง โดยปกติผ้าที่มี UPF สูงจะเป็นการบอกว่ามีความสามารถในการป้องกันยูวีได้ดีกว่า ผ้าที่มีค่า UPF ต�่ำ โดยค่า UPF 15 หรือ 20 จะจัดว่าช่วยป้องกันแดดได้ดี ส่วนถ้าค่า UPF เท่ากับ 25, 30 หรือ 35 จะกันแดดได้ดีมาก และถ้าค่า UPF เท่ากับ 40, 50 หรือ 50+ จะกันแดดได้ยอดเยี่ยม วัสดุสิ่งทอที่ใช้ป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลตนั้นนอกจากเสื้อผ้าสวมใส่แล้ว ยังรวมถึงเครื่องใช้อื่น เช่น หมวก รองเท้า และร่มกันแดด เป็นต้น ค่า UPF = 50 (หรือ 50+) หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลตได้สูงสุด ค่า UPF = 40-49 หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลตได้ยอดเยี่ยม (ปริมาณรังสีที่ป้องกันได้อยู่ในช่วง 97.5%) ค่า UPF = 25-39 หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลตได้ดีมาก (ปริมาณรังสีที่ป้องกันได้อยู่ในช่วง 96.0-97.4%) ค่า UPF = 15-24 หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสีอัลตราไวโอเลตได้ดี (ปริมาณรังสีที่ป้องกันได้อยู่ในช่วง 93.3-95.9%) (อ้างอิง: http://www.thaitextile.org) >>>24

November-December 2017, Vol.44 No.255


Technology

Energy & Environmental Production Site Visit


&

Energy & Environmental

หลักสูตรลดใช้สารท�ำลายโอโซน เพื่อลดโลกร้อน

กรม

โรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม จับมือ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ ส่งเสริมการลดและเลิกใช้สารท�ำความเย็น HCFC ซึ่งเป็นสารท�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซน โดยเตรียมจัดท�ำ หลักสูตรฝึกอบรมบุคลากรอาชีวศึกษา Train-the-Trainer Workshop ในสาขาการเรียนที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบเครื่องปรับอากาศ พร้อมจัดหาชุดเครื่องมือพื้นฐานส�ำหรับการติดตั้งและบ�ำรุงรักษา เครื่องปรับอากาศที่ใช้สารทดแทน เพื่อฝึกปฏิบัติงานจริงตามเทคนิค ของวิศวกรผู้เชี่ยวชาญให้แก่บุคลากรของสถาบันการอาชีวศึกษาได้ เรี ย นรู ้ ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ จ� ำ นวน 200 กว่ า สถานศึ ก ษา ทั่วประเทศ ด้วยงบประมาณกว่า 5.5 ล้านบาท โดยในปี 2561 กรมโรงงานอุตสาหกรรมตั้งเป้าให้ประเทศไทยลดปริมาณการใช้ สาร HCFCs ลดลงไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 15 ซึง่ การด�ำเนินโครงการ ดั ง กล่ า วเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ จ ะท� ำ ให้ ล ดปริ ม าณการใช้ ส าร HCFCs และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 1.7 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อปี

คุณมงคล พฤกษ์วัฒนา

อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (ซ้าย)

คุณสาโรจน์ ขอจ่วนเตี๋ยว

ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี รักษาการในต�ำแหน่งที่ปรึกษาด้านมาตรฐานอาชีวศึกษาช่างอุตสาหกรรม (ขวา) >>>26

November-December 2017, Vol.44 No.255

กองบรรณาธิการ

ความตื่นตัวของประเทศไทยกับปัญหาด้านมลพิษ

คุณมงคล พฤกษ์วัฒนา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กล่าวว่า “ปัจจุบันประเทศไทยให้ความตื่นตัวกับปัญหาด้านมลพิษที่ ส่วนใหญ่ต้องยอมรับว่ามาจากการขยายตัวและการผลิตของภาค อุตสาหกรรมที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งแน่นอนว่าสารหรือก๊าซบางตัวที่ ระเหยออกมาก่อให้เกิดการท�ำลายชัน้ บรรยากาศโอโซนและยังส่งผล กระทบในวงกว้างกลายเป็นปัญหาสภาวะโลกร้อนที่ปัจจุบันทวี


&

Energy & Environmental ความรุนแรงขึ้น โดยกรมโรงงานฯ ได้รับเงินสนับสนุนจากกองทุน พหุภาคีภายใต้พิธีสารมอนทรีออลให้ด�ำเนินโครงการลดและเลิกใช้ สารไฮโดรคลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรือ HCFCs เพื่อช่วยเหลือ ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศในการปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีสารท�ำความเย็น HCFC-22 ไปเป็นสาร HFC-32 โดยทีผ่ า่ น มาประเทศไทยได้ออกกฎหมายในการควบคุมการผลิต การน�ำเข้า อย่างจริงจัง เพื่อให้การด�ำเนินการโดยภาพรวมของประเทศเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ได้ดำ� เนินการให้ความรูโ้ รงงานผลิตเครือ่ ง ปรับอากาศที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าวกว่า 11 โรงงาน”

การให้ความรู้ความเข้าใจถึงการรักษาชั้นบรรยากาศ

คุณมงคล กล่าวต่อว่า “ในปี 2560 กรอ. ได้ขยายความรูค้ วาม เข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีการใช้สารท�ำความเย็น HFC-32 ในเครื่อง ปรับอากาศแก่บุคลากรทางการศึกษาของประเทศโดย กรมโรงงานฯ ได้ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การด�ำเนินงานเพื่อลดและเลิกใช้ สารท�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อส่งเสริมบุคลากรอาชีวศึกษาให้ มีความรูค้ วามเข้าใจและตระหนักถึงการรักษาชัน้ บรรยากาศโอนโซน ในการปรับเปลี่ยนสารท�ำความเย็นอย่างถูกต้อง โดยความร่วมมือ ดังกล่าว กรมโรงงานฯ และ สอศ. จะร่วมกันจัดท�ำหลักสูตรฝึกอบรม บุคลากรอาชีวศึกษา Train-the-Trainer Workshop ในสาขาที่ เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบเครื่องปรับอากาศ พร้อมจัดหาชุด เครื่องมือพื้นฐานส�ำหรับการติดตั้งและบ�ำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ที่ใช้สารทดแทน จ�ำนวน 150 รายทั่วประเทศ ด้วยงบประมาณกว่า 5.5 ล้านบาท เพือ่ ฝึกปฏิบตั งิ านจริงตามเทคนิคของวิศวกรผูเ้ ชีย่ วชาญ ให้แก่บคุ ลากรของสถาบันการอาชีวศึกษาได้เรียนรูท้ งั้ ภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ” อย่างไรก็ดี ส�ำหรับความร่วมมือดังกล่าว จะเป็นการเตรียม ความพร้อมภาคการบริการซ่อมบ�ำรุงเครื่องปรับอากาศและพัฒนา บุ ค ลากรอาชี ว ศึ ก ษาให้ มี ฝ ี มื อ คุ ณ ภาพ มี ค วามเชี่ ย วชาญตาม มาตรฐานเพื่ อ สามารถไปประกอบอาชี พ ได้ ทั้ ง นี้ ใ นปี 2561 กรมโรงงานอุตสาหกรรมตั้งเป้าให้ประเทศไทยลดปริมาณการใช้

สาร HCFCs ลดลงไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 15 ซึง่ การด�ำเนินโครงการดังกล่าว เป็นส่วนหนึ่งที่จะท�ำให้ลดปริมาณการใช้สาร HCFCs และลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ประมาณ 1.7 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์ ต่อปี

ความร่วมมือของภาครัฐ

ด้าน คุณสาโรจน์ ขอจ่วนเตีย๋ ว ผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยเทคนิค สุพรรณบุรี รักษาการในต�ำแหน่งทีป่ รึกษาด้านมาตรฐานอาชีวศึกษา ช่างอุตสาหกรรม กล่าวว่า “การร่วมมือในครัง้ นีโ้ ดยวิทยาลัยในสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จะด�ำเนินการถ่ายทอด องค์ความรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษา ที่เรียนสาขาวิชาด้านเครื่องปรับ อากาศ เครือ่ งท�ำความเย็น ได้เรียนรูเ้ กีย่ วกับสารท�ำความเย็น HCFCs ที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรมแต่เป็นสารที่ท�ำลายบรรยากาศโอโซน ซึ่งจะ ต้องควบคุม ลด เลิกการใช้ และปรับเปลี่ยนไปใช้สารทดแทนอื่นที่ ไม่ท�ำลายชั้นบรรยากาศ นอกจากนี้ยังเป็นการเตรียมความพร้อมใน การเชื่ อ มโยงเข้ า สู ่ ก ารท� ำ งานจริ ง อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในภาค อุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ ที่ยังมีอุตสาหกรรมหลายประเภทยัง ใช้สารดังกล่าวในการผลิต อีกทั้งเป็นการเพิ่มขีดความสามารถให้กับ นักเรียน นักศึกษา หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับภาคอุตสาหกรรม เครื่องปรับอากาศของไทยอีกด้วย” ทั้งนี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ร่วมกับ ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดพิธีลงนามความร่วมมือการด�ำเนินงาน เพื่อลดและเลิกใช้สารท�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซน โดยมี คุณมงคล พฤกษ์วัฒนา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม และ คุณสาโรจน์ ขอจ่วนเตี๋ยว ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี รักษาการ ในต�ำแหน่งที่ปรึกษาด้านมาตรฐานอาชีวศึกษาช่างอุตสาหกรรม เป็นผู้ลงนาม เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

November-December 2017, Vol.44 No.255

27 <<<


&

Energy & Environmental

เทคโนโลยีจัดการพลังงาน เปลีย่ นอาคารธรรมดาให้เป็นอาคารอัจฉริยะ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

การ

“กุญแจสำ�คัญที่ทำ�ให้อาคารมีความฉลาดขึ้น มี 3 สิ่ง คือ เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ และนวัตกรรม”

พิสจู น์วา่ อาคารนัน้ เป็นอัจฉริยะหรือไม่ สามารถดูได้วา่ อาคารสามารถปรับอุณหภูมิ และอากาศหมุนเวียนใน แต่ละชั่วโมงได้โดยอัตโนมัติ ตามจ�ำนวนผู้ใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นใน แต่ละห้องหรือส�ำหรับอาคารทั้งหมดก็ตาม วิธีการนี้จะช่วยประหยัด พลังงานได้ และท�ำให้ทงั้ โรงเรียน อาคารส�ำนักงานและอาคารต่าง ๆ ไม่เพียงแต่ได้รับความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น ผลลัพธ์ต่อมาที่ได้ คือ การลดค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินการ บางครัง้ ลดค่าใช้จา่ ยลงได้มาก โดยตามรายงานจากการส�ำรวจผูพ้ กั อาศัยในอาคาร มีความพึงพอใจ มากขึ้นถึง 27% จากประสิทธิภาพที่ได้รับจากการระบายอากาศ การควบคุมความร้อน และแสงสว่างของอาคารทีช่ ว่ ยให้ผอู้ าศัยอยูใ่ น อาคารท�ำงานได้เกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้น >>>28

November-December 2017, Vol.44 No.255

สิง่ ทีท่ ำ� ให้อาคารมีความเป็นอัจฉริยะมากขึน้ คือ ระบบจัดการ พลังงานส�ำหรับอาคาร หรือ BEMS (building energy management systems) โดยสถาบันวิจัย Navigant Research ได้ให้นิยามเรื่อง ดังกล่าวไว้ในรายงานว่า “เป็นโซลูชั่นที่ใช้ฐานไอทีมาขยายความ สามารถในเรื่องของการตรวจจับ (sensing) การควบคุม รวมถึง ฮาร์ดแวร์ในระบบอัตโนมัติ (Automation Hardware) มาควบคุมการ ด�ำเนินงานของระบบ และ/หรือปรับปรุงงานทีต่ อ้ งท�ำเองให้ดำ� เนิน ไปได้ในแบบอัตโนมัติด้วยการน�ำข้อมูลที่มาจากหลายทางมาช่วย ในเรื่องดังกล่าว” มีการคาดการณ์ถึงตลาดระบบจัดการอาคารในส่วนของ ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์และการบริการทั่วโลกว่า จะมีการเติบโต


&

Energy & Environmental อย่างรวดเร็ว จาก 2.7 พันล้านในปัจจุบนั เป็น 12.8 พันล้าน ในปี 2025 คิดเป็นอัตราการเติบโตประจ�ำปีที่ 18.2 เปอร์เซ็นต์ โดย Navigant Research กล่าวว่ารายได้กว่า 90 เปอร์เซ็นต์ มาจากการขาย ซอฟต์แวร์ และบริการ ซึ่งเป็นเหตุเป็นผล เนื่องจากกิจกรรมทั้งหมด จะเป็นเรื่องของการปรับปรุงและอัพเกรดอาคารเดิม รวมถึงระบบ การจัดการอาคาร ซึ่งถ้าตัวเซ็นเซอร์ แอคทูเอเตอร์ (actuator) และ วาล์ว ยังคงใช้งานได้อยู่ ก็ไม่ต้องท�ำอะไรกับมันแค่เปลี่ยนซอฟต์แวร์ อย่างเดียวก็พอ เมือ่ พูดถึงเทคโนโลยีการบริหารจัดการพลังงานส�ำหรับอาคาร หรือโซลูชนั่ BEMS ก็จะมีอยูห่ ลากหลายโซลูชนั่ แต่องค์ประกอบทัว่ ไป ไม่ทิ้งห่างจากสิ่งเหล่านี้ ➠ การผสานรวมการท�ำงานผ่าน BACnet ➠ การเก็บข้อมูลโดยอาศัยการสือ ่ สารผ่านระบบไร้สาย และ โมบายอินเทอร์เน็ต ➠ มีซอฟต์แวร์วเิ คราะห์ทท ี่ ำ� งานบนคลาวด์ ทีส่ ามารถเข้าถึง ผ่านเว็บหรืออุปกรณ์สื่อสารได้ ➠ มีศูนย์กลางปฏิบัติการเครือข่าย ผูใ้ ห้บริการรายใหญ่บางรายมีการน�ำเสนอโซลูชนั่ ครบวงจรที่ สร้างขึ้นโดยใช้องค์ประกอบดังกล่าวเหล่านี้ ส่วนบางบริษัทที่มีขนาด เล็กกว่า อาจจับมือกับพาร์ทเนอร์ หรือซัพพลายเออร์ เพือ่ สร้างโซลูชนั่ ครบวงจร หนึ่งในความท้าทายที่ผู้ผลิตต้องพบคือทั้งเทคโนโลยีและ กรณีการใช้งานที่ต้องมีการพัฒนาอยู่ตลอด การใช้งานสิง่ เหล่านีม้ อี ะไรบ้าง ซึง่ โดยธรรมชาติสงิ่ เหล่านีจ้ ะ รวมเรื่องของการจัดการพลังงานเข้ามาด้วย (ซึ่งก็คือระบบบริหาร จัดการพลังงานที่อยู่ในโซลูชั่นการบริหารจัดการพลังงานในอาคาร) การลงทุนดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงการประหยัดค่าใช้จ่ายด้านระบบ

สาธาณูปโภค เป็นการวัดที่เห็นได้ง่ายเรื่องประสิทธิภาพที่ดีขึ้น กรณี การใช้งานอื่น ๆ คือ การเพิ่มความคล่องตัวในเรื่องการซ่อมและ บ�ำรุงรักษา รวมถึงการปรับปรุงด้านการจัดการสินทรัพย์ได้ดีขึ้น ผลที่ ตามมา คือ การลดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการและลดช่วงดาวน์ไทม์ ลงได้ นอกจากนี้อาจมีกรณีการใช้งานอื่น ๆ ได้ เช่น การเน้นการใช้ พืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยดูจากข้อมูลติดตามเรือ่ งพืน้ ทีว่ า่ ง เมือ่ พบพืน้ ทีซ่ งึ่ ถูกปล่อยว่างและสามารถน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เรือ่ ง นีจ้ ะเป็นประโยชน์ โดยเฉพาะส�ำหรับพืน้ ทีธ่ รุ กิจส�ำนักงาน และหน่วย งานรัฐบาลซึ่งอาจเป็นพื้นที่ที่มีราคาแพง แนวโน้มสุดท้ายที่เป็นตัวขับเคลื่อนนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี และซอฟต์แวร์ จะเกี่ยวกับเรื่องการมีส่วนร่วมของผู้เช่าในอาคาร เนือ่ งจากกลุม่ Gen M ปัจจุบนั เป็นกลุม่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในบรรดาคนท�ำงาน คนเหล่านี้รู้สึกสะดวกสบายกับการใช้สมาร์ทโฟนและแอพพลิเคชั่น ทัง้ หลายทีเ่ กีย่ วข้อง คนเหล่านีค้ าดหวังพฤติกรรมบางอย่างจากระบบ อัตโนมัติ รวมถึงระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร การจะให้ความ สามารถเหล่านี้แก่อาคารได้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงในการจัดการ ระบบบริหารจัดการอาคารนั่นเอง และทีก่ ล่าวมาทัง้ หมด ก็คอื ภาพรวมของระบบบริหารจัดการ พลังงานในอาคาร ซึ่งเป็นตลาดที่มีการขยายตัวและมีพัฒนาการใน เรือ่ งฟีเจอร์หลัก รวมถึงปัจจัยขับเคลือ่ นทัว่ ไป โดยพืน้ ฐานแล้วอาคาร จะมีความเป็นอัจฉริยะมากขึน้ ตามเหตุและผลในเชิงเศรษฐกิจ ทัง้ ใน แง่ของการประหยัดเงินและเพิ่มผลิตผลในการท�ำงาน

November-December 2017, Vol.44 No.255

29 <<<


&

Production

แนวทางการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มาใช้ประโยชน์

กรกมล เอี่ยมศิริ และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการเชิงคำ�นวณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปัญหาและความสำ�คัญ ของการนำ�ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้งาน

โดยทั่วไปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถถูกปลดปล่อยทั้ง จากกระบวนการหายใจ (respiration) ของสิง่ มีชวี ติ และจากกิจกรรม ต่าง ๆ ของมนุษย์ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นส่วนนึงจะถูกน�ำ ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช (photosynthesis) บาง ส่วนจะปะปนอยู่ตามแหล่งน�้ำ (ในรูปของฝนกรด และคงอยู่ได้ด้วย สมดุลการละลาย) และที่เหลือจะกระจายอยู่ในบรรยากาศ วัฏจักร ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะสมดุลได้ก็ต่อเมื่อปริมาณการปลด ปล่อยเท่ากับปริมาณการใช้ไป แต่ในปัจจุบนั ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปลดปล่อยเนื่องมาจากกิจกรรมของมนุษย์นั้นเพิ่มขึ้น มาก รวมถึงปริมาณพื้นที่ป่าไม้ทั่วโลกที่ลดลงอย่างรวดเร็ว โดย กิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็น อย่างมาก คือ การเผาไหม้เชื้อเพลิง (สาเหตุโดยตรง) และการตัดไม้ เพื่อน�ำที่ดินมาใช้งาน (สาเหตุโดยอ้อมเนื่องจากการตัดไม้ส่งผลให้ อัตราส่วนของต้นไม้ต่อปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง ท�ำให้ >>>30

November-December 2017, Vol.44 No.255

วัฎจักรของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดความไม่สมดุล) ส่งผลให้ ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถกู สะสมเพิม่ มากขึน้ และเกิดปัญหา โลกร้อนตามมา จากปัญหาที่เกิดขึ้นท�ำให้ในปัจจุบันมีการศึกษาวิธีการลด การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยเฉพาะจากแหล่งก�ำเนิด แบบชัดเจน (point source) เช่น โรงงานที่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง หรือโรงงานผลิตที่มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นผลิตภัณฑ์ข้างเคียง การจัดการกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ขัน้ ตอนหลัก ขั้นตอนแรกจะเกี่ยวข้องกับการดักจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Capture and Storage: CCS) ส่วนขั้นตอนที่สองที่จะน�ำ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ดักจับได้ไปกักเก็บ หรือน�ำไปใช้ประโยชน์ (Carbon Capture and Utilization: CCU) ในอดีตกระบวนการ CCS จะเป็นทีน่ ยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลาย มากกว่ า CCU เนื่ อ งจากปริ ม าณก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ที่ ถู ก ปลดปล่อยมีมากเกินกว่าจะน�ำไปใช้ได้หมด นอกจากนี้กระบวนการ และเทคโนโลยีในการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้งานยังมีจำ� กัด


&

Production โดยหลักการของกระบวนการ CCS คือ การน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทีด่ กั จับได้ไปกักเก็บไว้ในสถานทีท่ กี่ า๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่สามารถ กลับเข้าสู่บรรยากาศได้ (รูปที่ 1)

▲ รูปที่

1 กระบวนการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ [1]

โดยทัว่ ไปการกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทถี่ กู ปลดปล่อย ออกมานั้น จ�ำเป็นต้องลงทุนในส่วนของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องและมี ค่าใช้จ่าย หรือต้นทุนในการจัดการเพิ่มขึ้นจากกระบวนการดั้งเดิม ปัจจุบันจึงได้มีการศึกษากระบวนการในการน�ำเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทตี่ อ้ งการกักเก็บมาใช้ให้เกิดประโยชน์ รูปที่ 2 แสดงตัวอย่าง กระบวนการที่สามารถน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งมีทั้งการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้โดยไม่มีการเปลี่ยนรูป (non-conversion) และการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปเปลี่ยนรูป เป็นสารอื่น (conversion) เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป

▲ รูปที่

2 แนวทางในการนำ�ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ประโยชน์ [2]

การนำ�ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ โดยไม่มีการเปลี่ยนรูป (non-conversion CO2 utilization)

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่น�ำไปใช้งานโดยตรงนั้น มักจะถูก ใช้เป็นตัวท�ำละลาย (solvent) สารท�ำงาน (working fluid) และสาร ถ่ายเทความร้อน (heat transfer fluid) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์จาก สมบัติทางกายภาพของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และด้วยลักษณะ การใช้งานดังกล่าว ท�ำให้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ทจี่ ะน�ำมาใช้จะต้อง มีความบริสุทธิ์และมีปริมาณที่มากพอ ดังนั้น จึงเป็นทางเลือกที่ดีใน การจัดการกับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปลดปล่อยจากแหล่ง ก�ำเนิดแบบชัดเจน ทีม่ กี ารปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา มาก ตัวอย่างการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไปใช้ในกระบวนการ โดยตรงที่มีอยู่ในอุตสาหกรรมปัจจุบัน ได้แก่ 1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในรูปของไหลยิ่งยวด (supercritical CO2)[3] เป็นการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้เป็นตัวท�ำ ละลายในขณะที่อยู่ในสภาพของไหลภายใต้สภาวะวิกฤตยิ่งยวด ซึ่ง เกิดจากการเพิ่มอุณหภูมิและความดันจนสูงกว่าจุดวิกฤต (critical point) ณ สภาวะนั้น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะมีสมบัติอยู่ระหว่าง ทั้งของเหลวและก๊าซ (ความหนาแน่นจะใกล้เคียงกับของเหลว ส่วน สมบัตกิ ารแพร่และความหนืดจะใกล้เคียงกับก๊าซ) จากสมบัตนิ ที้ ำ� ให้ สารอินทรีย์สามารถละลายในของไหลภายใต้สภาวะวิกฤตยิ่งยวด ได้ดี อีกทั้งสมบัติของของไหลภายใต้สภาวะวิกฤตยิ่งยวดนั้นจะ ตอบสนองต่อการเปลี่ยนความดันและอุณหภูมิได้อย่างรวดเร็ว ซึ่ง สะดวกต่อการแยกออกจากผลิตภัณฑ์ ท�ำให้ในปัจจุบันมีการน�ำก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ทดแทนตัวท�ำละลายของเหลว (liquid

November-December 2017, Vol.44 No.255

31 <<<


&

Production

solvents) ที่มักจะเป็นกลุ่มของสารอินทรีย์ระเหยง่าย (volatile organic solvent) ซึง่ จัดเป็นสารพิษต่อสิง่ มีชวี ติ และยังท�ำให้เกิดปัญหา โลกร้อนตามมา 2. กระบวนการช่วยเพิม่ ปริมาณการผลิตน�ำ้ มัน (enhanced oil recovery) เป็นกระบวนการที่ช่วยในการน�ำน�้ำมันขึ้นมาจากหลุม ภายหลังจากทีไ่ ด้มกี ารผลิตตามธรรมชาติ (การขุดเจาะครัง้ แรก น�ำ้ มัน จะสามารถไหลขึ้นมาจากหลุมได้เองด้วยแรงดันภายในหลุม) [4] ขั้นตอนนี้จะเป็นการอัดน�้ำหรือก๊าซเข้าไปในแหล่งกักเก็บ เพื่อให้น�้ำ หรือก๊าซนั้นไปแทนที่น�้ำมันดิบ และไล่น�้ำมันดิบมาเข้าหลุมผลิต ดังรูปที่ 3 ซึ่งก๊าซสามารถใช้ได้ทั้งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซธรรมชาติ และไนโตรเจน แต่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะเป็นที่นิยม มากทีส่ ดุ เนือ่ งจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เมือ่ ผสมอยูก่ บั สารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนจะช่วยลดความหนืด และยังมีราคาถูกกว่ามาก แต่ ข้อจ�ำกัด คือ ก๊าซที่อัดลงไปจะต้องอยู่ในสภาพเป็นของไหลภายใต้ สภาวะวิกฤตยิ่งยวด เพื่อให้สามารถละลายเป็นเนื้อเดียวได้ ดังนั้น โดยทั่วไปกระบวนการอัดก๊าซมักจะใช้ได้ดีกับหลุมที่มีความลึก มากกว่า 2,000 ฟุต และน�้ำมันดิบที่ถูกดันขึ้นมาได้ส่วนใหญ่จะเป็น น�้ำมันชนิดเบาและชนิดหนักปานกลางเพราะใช้ก๊าซซึ่งมีน�้ำหนักเบา เป็นตัวดัน >>>32

November-December 2017, Vol.44 No.255

3 กระบวนการ Enhanced oil Recovery โดยใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ [5]

▲ รูปที่

3. สารถ่ายเทความร้อนจากพลังงานความร้อนใต้พิภพ (geothermal fluid) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จะถูกน�ำมาใช้งานเป็น ตัวกลางในการถ่ายเทความร้อนจากพลังงานความร้อนใต้พิภพเพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า โดยปกติแล้วความร้อนใต้พิภพจะถูกน�ำมาใช้ได้


&

Production โดยการอัดน�ำ้ ลงไปให้สมั ผัสกับหินร้อนใต้ดนิ เมือ่ น�ำ้ ได้รบั ความร้อน จะระเหยกลายเป็นไอเกิดเป็นแรงดันขึ้นมาและไปหมุนกังหันผลิต ไฟฟ้าได้ 4. เครื่ อ งดื่ ม และอาหาร (beverages and food) ใน อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม มีการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาอัดลงไป ในผลิตภัณฑ์จำ� พวกน�ำ้ อัดลมหรือโซดา เพือ่ ให้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ละลายเป็นกรดอยู่ในเครื่องดื่ม ท�ำให้เมื่อรับรสจะรู้สึกซ่า นอกจาก การอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในเครือ่ งดืม่ โดยตรงแล้ว ส�ำหรับ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มและอาหารที่ต้องอาศัยความเย็นในการเก็บ รักษาสภาพ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก็มักจะถูกใช้ในการผลิตเป็น น�ำ้ แข็งแห้ง (dry ice) ซึง่ จะมีอณ ุ หภูมติ ำ�่ ถึง -79 องศาเซลเซียส ท�ำให้ มีประสิทธิภาพทั้งในการรักษาความสด และยับยั้งการเติบโตของ แบคทีเรียในอาหารหรือในกระบวนการหมักต่าง ๆ ได้

อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักในการน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มาใช้เป็นสารตัง้ ต้นในการผลิตสารอืน่ ๆ คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารประกอบทีค่ อ่ นข้างเสถียร ท�ำให้เกิดปฏิกริ ยิ าเคมีได้ยาก ดังนัน้ การแก้ปญ ั หาส่วนใหญ่มกั จะเลือกผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามเสถียรมากกว่า หรือเลือกสารตั้งต้นที่ไม่ค่อยมีความเสถียรมาท�ำปฏิกิริยากับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ โดยกระบวนการเกิดปฏิกิริยาถูกแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ กระบวนการทางชีวภาพ และกระบวนการทางเคมี ซึ่งแต่ละประเภทจะเกิดปฏิกิริยาได้อีกหลายแบบดังแสดงในรูปที่ 4

การนำ�ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ โดยมีการเปลีย่ นรูปเป็นสารอื่น (conversion CO2 utilization)

เนื่องจากปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นมีมาก เมือ่ เทียบกับปริมาณทีจ่ ะน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ตามกระบวนการต่างๆ ที่ได้กล่าวไปข้างต้น ดังนั้น การเปลี่ยนรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่สามารถน�ำไปใช้งานต่อ หรือสามารถ เป็นแหล่งเก็บพลังงานได้ ย่อมท�ำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถูกน�ำ มาใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น

▲ รูปที่

4 แผนผังการจำ�แนกกระบวนการ ในการเปลี่ยนรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ [6]

November-December 2017, Vol.44 No.255

33 <<<


&

Production ทิศทางของกระบวนการ ในการนำ�ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไปใช้งาน

จากวิ ธี ก ารในการน� ำ ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ปใช้ ง าน ที่กล่าวไปข้างต้น ปัจจุบันมีเพียงบางกระบวนการเท่านั้นที่สามารถ น�ำมาใช้ในลักษณะอุตสาหกรรมได้ จากรูปที่ 5 จะเห็นว่ากระบวนการ ทีใ่ ช้ได้จริงในปัจจุบนั จะเป็นการน�ำเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ โดยไม่มกี ารเปลีย่ นรูป (non-conversion CO2 utilization) ทัง้ สิน้ แต่ ในระยะสั้นจะเห็นได้ว่าการเปลี่ยนรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้แก่ การใช้สาหร่าย และการเติมไฮโดรเจน จะเริ่มเข้ามามีบทบาทและมี การพัฒนากระบวนการจนมีแนวโน้มที่จะน�ำมาประยุกต์ใช้ในระดับ อุตสาหกรรม ส่วนวิธีการที่เหลืออื่น ๆ นั้น ยังจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนา ทัง้ ในด้านเทคโนโลยี วัสดุ หรือวิธกี ารทีช่ ว่ ยให้ปฏิกริ ยิ าเกิดได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ก่อนทีจ่ ะสามารถน�ำมาใช้จริง นอกจากนีป้ ระเด็นส�ำคัญ ทีต่ อ้ งค�ำนึงถึง คือ การน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาเปลีย่ นให้อยูใ่ น รูปสารอืน่ นัน้ ไม่จ�ำเป็นว่าจะช่วยให้ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลดลงเสมอไป ถ้าหากกระบวนการนั้นมีการใช้พลังงานสูงเนื่องจาก จะส่ ง ผลให้ เ กิ ด ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ม ากเช่ น กั น ทั้ ง นี้ ก ๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ที่ถูกปลดปล่อยจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อน�ำ มาผลิตพลังงานมีปริมาณมากกว่าปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ถูกน�ำมาใช้ได้ ดังนั้น เพื่อให้การใช้ประโยชน์จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถช่วยแก้ปญ ั หาการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้จริง แหล่งพลังงานที่ใช้ทั้งหมดก็ควรน�ำมาจากพลังงานทดแทน

▲ รูปที่

>>>34

5 แนวโน้มของการใช้ประโยชน์จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ผ่าน กระบวนการต่าง ๆ ในปัจจุบัน ระยะสั้น กลาง และยาว[7]

November-December 2017, Vol.44 No.255

เอกสารอ้างอิง 1. Power Plant CCS. Geological Sequestration. Available at: URL: http://www.powerplantccs.com/ccs/sto/conv/geo/geo.html. Accessed May 29, 2017. 2. Dodge, E. Renewables and Natural Gas are Partners, Part II: Proof of Concept. 2013. Available at: URL: http://www.edwardtdodge. com/2013/12/06/renewables-and-natural-gas-are-partners-part-ii-proofof-concept/. Accessed Jun 1, 2017. 3. Lozowski, D. SUPERCRITICAL CO2: A GREEN SOLVENT. Chemical Engineering. 2010; unpaged. 4. พูลพงษ์ พงษ์วทิ ยภานุ. Oil and Gas Vocabulary and Glossary. Available at: URL: https://pulpong.files.wordpress.com/2011/11/vocab. pdf. Accessed Jun 1, 2017. 5. Muhammad, I. Water alternating gas (WAG) Injection: An Enhanced Oil recovery Technique. 2015. Available at: URL: https://www. linkedin.com/pulse/water-alternating-gas-wag-injection-enhanced-oilibrahim-muhammad. Accessed Jun 1, 2017. 6. Chery, D., Lair, V., Cassir, M. Overview on CO2 valorization: challenge of molten carbonates. Frontiers in Energy Research. 2015; 3:43. 7. Grasser, J. ADVANCED CONCEPTS. Available at: URL: http://www.geogreen.eu/advanced-concepts.html. Accessed Jun 15, 2017.


&

Site Visit

GGC เผยนวัตกรรมการผลิต ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำในธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม

กองบรรณาธิการ

บริษัท

โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC บริษทั แกนน�ำ (green flagship) ในธุรกิจ ผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อมของกลุม่ PTTGC น�ำสือ่ มวลชนเยีย่ มชม ศักยภาพของโรงงานผลิตเมทิลเอสเตอร์ และแฟตตี้แอลกอฮอล์ของ GGC ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) และ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม PTTGC ในจังหวัดระยอง และประกาศ ความพร้อมในการขยายการลงทุนเพื่อเสริมศักยภาพการผลิต มุ่งสู่ การเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมแห่งอนาคต New S-Curve ร่วมขับเคลือ่ น เศรษฐกิจชีวภาพ (bioeconomy) เดินหน้าผลักดันโครงการไบโอ คอมเพล็กซ์ (biocomplex) ที่จังหวัดนครสวรรค์ ร่วมกับ KTIS คาด แล้วเสร็จและสามารถเริ่มด�ำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ในปี 2562 คุณจิรวัฒน์ นุริตานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC กล่าวว่า “การเยี่ยมชม โรงงานของ GGC และศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรม PTTGC ในครั้งนี้ เป็นการเปิดโอกาสให้สื่อมวลชนได้ท�ำความเข้าใจกระบวนการผลิต รวมทัง้ นวัตกรรมขัน้ สูงในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อม ▲

คุณจิรวัฒน์ นุริตานนท์

กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC

November-December 2017, Vol.44 No.255

35 <<<


&

Site Visit

ซึง่ โรงงานของ GGC ได้ใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์จากผูผ้ ลิตชัน้ น�ำใน ระดับสากล ซึ่งเมื่อประกอบกับความรู้ความช�ำนาญทางเทคนิคที่ บริษัทฯ พัฒนาขึ้นภายในองค์กร จึงสามารถท�ำการผลิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้อย่างสม�ำ่ เสมอ โดย ในปี 2559 บริษัทฯ สามารถผลิตเมทิลเอสเทอร์ได้ 247,857 ตัน และ ผลิตแฟตตี้แอลกอฮอล์ได้ 97,850 ตัน นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีความ ได้เปรียบในด้านท�ำเลที่ตั้ง ซึ่งอยู่ในบริเวณที่ใกล้เคียงกับลูกค้า รายใหญ่จ�ำนวนหนึ่งของบริษัทฯ เช่น กลุ่มโรงกลั่นน�้ำมันที่ส�ำคัญ ได้แก่ PTTGC, ESSO, Thai Oil, SPRC และ IRPC ซึ่งล้วนมีความ ต้องการน�ำเมทิลเอสเทอร์ไปผสมกับน�้ำมันดีเซลพื้นฐานที่ผลิตได้” โรงงานของ GGC มุง่ เน้นในการคัดเลือกและพัฒนาเทคโนโลยี ทีม่ ปี ระสิทธิผลมาใช้ เพือ่ ต่อยอดแนวคิดการบริหารจัดการก�ำจัดขยะ จนไม่มีขยะเหลือเป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม หรือที่เรียกว่า แนวคิด ขยะเหลือศูนย์ (zero waste management) โดยน�ำมาประยุกต์ใช้ ทั้งในกระบวนการผลิตและการวิจัยและพัฒนา พร้อมยึดหลักการ ที่ว่า “ขยะเป็นของที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ สามารถกลับมาใช้ใหม่ หรือน�ำไปวิจยั และพัฒนาต่อยอดเพือ่ เพิม่ มูลค่าได้” การด�ำเนินการ ตามแนวคิดขยะเหลือศูนย์ของ GGC ประกอบด้วย 1. ลดปริมาณ ของเสียทีจ่ ะทิง้ ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ (minimizes residual waste) 2. การ ใช้ทรัพยากรทางการเกษตร ซึ่งเป็นทรัพยากรที่สามารถสร้างขึ้นใหม่ ได้ (renewable resource) 3. การผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ใช้ พลังงานน้อยลง เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต หลีกเลี่ยงการใช้ สารเคมีอนั ตราย และ 4. การพัฒนาการน�ำขยะกลับมาแปรรูปใช้ใหม่ ได้มากที่สุด เช่น การน�ำขยะอินทรีย์มาแปรรูปเป็นปุ๋ย หรือพัฒนา ต่อยอดของเหลือใช้ในกระบวนการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าสูงขึน้ คุ ณ จิ ร วั ฒ น์ กล่าวเพิ่มเติมเกี่ยวกับความคืบหน้าในการ พัฒนาโครงการเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจชีวภาพว่า “GGC ได้ร่วมมือ กับ บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชัน่ แนล ชูการ์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ KTIS เสนอโครงการไบโอคอมเพล็กซ์เข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งของการด�ำเนินโครงการเศรษฐกิจชีวภาพ (bioeconomy) ของรัฐบาล โดยโครงการจะประกอบไปด้วยธุรกิจที่ผลิตเชื้อเพลิง ชีวภาพ (biofuel) กระแสไฟฟ้าและไอน�้ำจากวัตถุดิบชีวมวล (biomass) และผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ (bioplastic) และเคมีชวี ภาพ (biochemical) โดยคาดว่าจะตั้งอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์” “แผนงานในการพัฒนาโครงการไบโอคอมเพล็กซ์จะแบ่งเป็น 2 ระยะ โดยระยะทีห่ นึง่ ประกอบด้วย (1) โรงผลิตน�ำ้ อ้อยและน�ำ้ เชือ่ ม จากอ้อย (2) โรงงานเอทานอล ที่ใช้น�้ำอ้อยหรือน�้ำเชื่อมที่ผ่าน กระบวนการจากโรงหีบเป็นวัตถุดบิ (3) โรงงานไฟฟ้าชีวมวลและผลิต ไอน�ำ้ ความดันสูง เพือ่ ใช้ในโครงการฯ รวมทัง้ สามารถจ�ำหน่ายปริมาณ การผลิตส่วนเกินให้แก่บุคคลภายนอก และ (4) โครงสร้างสาธารณูป>>>36

November-December 2017, Vol.44 No.255

โภคเพื่ อ รองรั บ โครงการ Biocomplex ส่ ว นระยะที่ ส องจะเป็ น การพัฒนาโรงงานผลิตพลาสติกชีวภาพและเคมีชีวภาพ คาดว่าจะ เริ่มการก่อสร้างในไตรมาสที่ 4 ปี 2560 และคาดว่าจะสามารถ เริ่มด�ำเนินการผลิตเชิงพาณิชย์ได้ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2562” คุณจิรวัฒน์ กล่าวเสริม ส�ำหรับธุรกิจพลังงานชีวภาพ GGC มีแผนที่จะสร้างโรงงาน ผลิ ต เมทิ ล เอสเทอร์ แ ห่ ง ที่ 2 ที่ อ� ำ เภอหนองใหญ่ จั ง หวั ด ชลบุ รี ซึ่งมีก�ำลังการผลิต 200,000 ตันต่อปี เพื่อรองรับการเติบโตของ อุตสาหกรรมไบโอดีเซลในประเทศไทย ซึ่งได้ด�ำเนินการก่อสร้างไป แล้วและคาดว่าจะสามารถเริ่มด�ำเนินการผลิตได้ในปี 2561 ด้วย เทคโนโลยีใหม่จะท�ำให้เกิดความยืดหยุ่นในการจัดสรรวัตถุดิบและ สามารถปรับก�ำลังการผลิตระหว่างโรงงานแห่งที่ 1 และ 2 ให้มีความ เหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุด ท�ำให้สามารถลดต้นทุนการผลิต ได้ ซึ่งคาดว่าการสร้างโรงงานผลิตเมทิลเอสเทอร์แห่งที่ 2 นี้ จะใช้เงิน ลงทุนทั้งสิ้นประมาณ 1,650 ล้านบาท โดยจะใช้เงินลงทุนส่วนหนึ่ง จากการเสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไป ซึ่งได้ด�ำเนินการยื่นแบบ แสดงรายการข้อมูลต่อส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ไปแล้ว

เกี่ยวกับ GGC บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC (ชือ่ เดิมบริษทั ไทยโอลีโอเคมี จ�ำกัด) ผูบ้ กุ เบิกด้านการผลิตผลิตภัณฑ์ โอลีโอเคมีในประเทศไทยมากว่าหนึ่งทศวรรษ ภายใต้วิสัยทัศน์แห่ง การเป็นผู้น�ำด้านโอลีโอเคมีในตลาดโลก พร้อมกับการส่งเสริมความ สามารถในการแข่งขันของธุรกิจปลายน�้ำที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่น อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สารลดแรงตึงผิว (surfactants) ตลอดจนผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขอนามัยทีผ่ ลิตจากวัตถุดบิ จากธรรมชาติ เพือ่ สร้างความยัง่ ยืนให้กบั ภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ภายในประเทศ


&

Site Visit

คุณจิรวัฒน์ นุริตานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) น�ำสื่อมวลชนเยี่ยมชมศักยภาพของ โรงงานผลิตเมทิลเอสเตอร์ และแฟตตีแ้ อลกอฮอล์ของ GGC ในนิคม อุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) ในจังหวัดระยอง และ ประกาศความพร้อมในการขยายการลงทุนเพือ่ เสริมศักยภาพการผลิต มุง่ สูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมแห่งอนาคตร่วมขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ชีวภาพ (bioeconomy) ตัวอย่างผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ

ผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อมซึง่ ผลิตจากน�ำ้ มันปาล์ม ประกอบด้วย เมทิลเอสเทอร์ (ซึ่งเป็นส่วนผสมในน�้ำมันไบโอดีเซล) แฟตตี้แอลกอฮอล์ และกลีเซอรีนบริสุทธิ์ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ

นอกจากธุรกิจเชือ้ เพลิงชีวภาพและผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมีแล้ว GGC มีความมุง่ หมาย ทีจ่ ะขยายไปยังธุรกิจเคมีชวี ภาพและพลาสติกชีวภาพ ทีจ่ ะเป็นก�ำลังส�ำคัญของการ เติบโตของ GGC ในอนาคต

ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรม PTTGC ในจังหวัดระยอง

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ November-December 2017, Vol.44 No.255

37 <<<


Life Style

Book Guide Show & Share


&

Book Guide

ฟิสิกส์ ฉบับการ์ตูน ตอน คลื่น

ผู้เขียน Taku Koinuma ผู้แปล ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ จ�ำนวนหน้า 216 หน้า ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 ราคา 225 บาท ระดับผู้ใช้ นักเรียนมัธยมปลาย และครู ส�ำนักพิมพ์ ส.ส.ท. เรียนฟิสิกส์ มัธยมปลาย แบบเข้าใจง่ายพร้อมกับเจ้ากระรอก ผ่านบทเรียนเรื่อง คลื่น แสนสนุก โดยศาสตราจารย์แห่งโรงเรียนจักรวาล ผู้มุ่งมั่นที่จะสอนเจ้ากระรอก อดีตนักเรียนสอบตก ให้เก่งฟิสิกส์ให้ได้ ฟิสิกส์ ฉบับการ์ตูน ตอน คลื่น เล่มนี้จะอธิบายเรื่อง ลักษณะเฉพาะของคลื่น ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เลนส์ การสะท้อนและการหักเห ของแสง และการแทรกสอดของคลื่น

November-December 2017, Vol.44 No.255

39 <<<


&

Book Guide

ภาษาซีและ Arduino ผู้เขียน จำ�นวนหน้า ราคา ระดับผู้ใช้ สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.

ผศ.ดอนสัน ปงผาบ 216 หน้า 295 บาท นักศึกษา ระดับ ปวส. ถึงปริญญาตรี และผู้สนใจ

หนังสือเล่มนีใ้ ช้ส�ำหรับประกอบการเรียนการสอนในวิชาทีเ่ กีย่ วกับการเขียนโปรแกรมภาษาซีในงานควบคุมไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino ซึ่งเป็นไมโครคอนโทรลเลอร์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน เนื้อหาประกอบด้วย: ความรู้พื้นฐานภาษาซี ➲ การเขียนโปรแกรม DEV-C++ ➲ ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino UNO ➲ ดิจิทัลและอะนาล็อกอินพุต-เอาต์พุต ➲ การควบคุมมอเตอร์ ➲ ระบบควบคุมแบบ PID ➲ พื้นฐานหุ่นยนต์และแขนกล

แถมฟรี ! โครงสร้างชุดทดลองการควบคุมต�ำแหน่งแบบ PID

>>>40

November-December 2017, Vol.44 No.255


Show

&

Show & Share

ซัมซุงเผยโฉม “กาแลคซี่ โน้ต 8”

ครั้งแรกของโลกผ่านไลฟ์สดตรงจากนิวยอร์ก ตอบโจทย์ทุกความต้องการไลฟสไตล์คนยุคใหม่ ภายใต้แนวคิด “Do Bigger Thing” ซัมซุง กาแลคซี่ โน้ต 8 นับเป็นสมาร์ทโฟนรุ่นเรือธงในซีรีย์ โน้ตทีด่ ที สี่ ดุ ทีเ่ คยมีมา ตอบโจทย์ทกุ ไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่ อัดแน่น ด้วยลูกเล่นและฟีเจอร์สุดคูลใหม่ ๆ มากมาย ด้วยไฮไลท์ดังนี้ S Pen ปากกาอัจฉริยะทีเ่ พิม่ ลูกเล่นใหม่ ๆ สุดเจ๋ง ด้วยปลายปากกาของ S Pen ทีถ่ กู ปรับปรุงให้ดขี นึ้ ใกล้เคียงกับปากกาจริงด้วยขนาด เพียง 0.7 มิลลิเมตร พร้อมพัฒนาระบบรับรู้แรงกด พร้อมด้วย ฟีเจอร์ใหม่ Live Message ที่สามารถแชร์ข้อความในรูปแบบแอนนิเมชั่น หรือใช้ แชร์รปู วาดพร้อมข้อความสัน้ ๆ บนแพลตฟอร์มต่าง ๆ ในรูปแบบไฟล์ Animated GIF (AGIF) เพือ่ เพิม่ ชีวติ ชีวาให้การแชทและสือ่ สารกับเพือ่ นๆ อย่างไม่น่าเบื่อ ฟีเจอร์ Always On Display รับทราบการแจ้งเตือนต่าง ๆ โดยไม่จ�ำเป็นต้องปลดล็อคหน้าจอ พร้อม ฟีเจอร์ Screen Off Memo ช่วยให้ผู้ใช้จดบันทึกข้อความลงบนหน้าจอได้แบบทันทีที่ดึง S Pen ออกจากเครื่อง สูงสุดมากถึง 100 หน้า โดยไม่ต้องปลดล็อคหน้าจอ อีกทั้ง ยังสามารถปักหมุดบันทึกข้อความไว้บนหน้าจอ Always On Display และแก้ไขข้อความได้โดยตรงอีกด้วย ฟีเจอร์การแปลภาษา สามารถแปล ภาษาต่าง ๆ ได้ทั้งประโยค ครอบคลุมได้มากถึง 71 ภาษา พร้อมแปลงค่ามาตราวัดต่าง ๆ รวมถึงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และ เหมาะสุด ๆ ส�ำหรับการพกพาไปในทริปท่องเที่ยวต่าง ๆ เพื่อเก็บและแบ่งปันเรื่องราวแสนประทับใจได้ในทุกแง่มุม กล้องคู่ Dual Camera ดีที่สุด ความละเอียด 12MP สองตัว พร้อมระบบป้องกันการสั่นสะเทือน OIS (Optical Image Stabilization) ทั้งสองเลนส์ ประกอบด้วย เลนส์มุมกว้าง (wide-angle lens) F 1.7 และเลนส์เทเลโฟโต้ (telephoto lens) F 2.4 ซึ่งสามารถซูมแบบ Optical ได้ถึง 2 เท่า ฟีเจอร์ Live Focus ส�ำหรับสาย Portrait สามารถควบคุมระยะชัดลึกของภาพได้ตามต้องการ โดยสามารถปรับการใส่เอฟเฟกต์โบเก้ (bokeh effect) ทั้งในโหมดพรีวิวและหลังเสร็จสิ้นการถ่ายภาพ ให้รูปที่ได้เป็นสไตล์หน้าชัดหลังเบลอในระดับที่คุณพอใจ โหมด Dual Capture ที่สามารถแชะภาพทีเดียวแต่ได้ถึงสองรูป โดยกล้องหลังทั้งสองเลนส์จะเก็บภาพพร้อมกันและบันทึกไว้ทั้งสองภาพภายในช็อตเดียว ทั้งภาพ แบบระยะใกล้จากเลนส์เทเลโฟโต้ และภาพมุมกว้างจากเลนส์ไวด์ โดยจะได้ภาพ Portrait สวย ๆ หรือภาพพร้อมวิวเป็นแบ็คกราวนด์ที่เล่า เรื่องราวได้มากขึ้น และเลนส์ไวด์ยังมีระบบเซนเซอร์ Dual Pixel พร้อมระบบออโต้โฟกัสแบบทันที ท�ำให้เก็บภาพที่คมชัดมากขึ้นแม้ใน สภาพแสงน้อย กล้องหน้าความละเอียด 8MP ที่โฟกัสหน้าอัตโนมัติด้วยฟังก์ชั่น Smart Auto Focus Front – Facing เพื่อทุกการถ่ายเซลฟี่และ วิดีโอแชทที่คมชัดยิ่งขึ้น

เต็มตายิ่งขึ้นกับจอภาพไร้กรอบ Infinity Display

จอภาพไร้กรอบขนาด 6.3 นิ้ว คมชัดระดับ Quad HD+ Super AMOLED แสดงผลได้เต็มตามากขึ้น รองรับทุกการอ่าน วาด เขียน และ มีพื้นที่ส�ำหรับการใช้งานแบบ Multi-Tasking โดยมีฟีเจอร์ใหม่ “App Pair” ที่จะช่วยจับคู่แอพพลิเคชั่นที่ใช้ด้วยกันบ่อย ๆ ให้พร้อมเรียกใช้งาน ได้ทันทีจากบนขอบหน้าจอ (edge panel) ไม่ว่าจะดูวิดีโอพร้อมกับส่งข้อความหาเพื่อน ๆ หรือเช็คข้อความในโซเชียลพร้อมกับค้นหาข้อมูลใน เว็บไซต์พร้อมกัน

มั่นใจในความปลอดภัยของแบตเตอรี่

ซัมซุงสานต่อปณิธานการยึดมั่นพันธสัญญาด้านความปลอดภัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมด้านความ ปลอดภัยของแบตเตอรี่ โดยแบตเตอรี่ของกาแลคซี่ โน้ต 8 ผ่านการตรวจสอบความปลอดภัยอย่างละเอียดถึง 8 จุด นับว่าเป็นมาตรฐานที่ เข้มงวดที่สุดในอุตสาหกรรมสมาร์ทโฟนปัจจุบัน November-December 2017, Vol.44 No.255

41 <<<


&

Show & Share

Share

บริษัท

ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เปิดโรงงานต้อนรับสื่อมวลชน พาชมนวัตกรรม เหล็กเส้นขึ้นรูปตัดและดัด (Cut & Bend) ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพงาน ก่อสร้าง และชมการทดสอบเหล็กเส้นข้ออ้อยคุณภาพสูง “ทาทา ทิสคอน เอส ซุปเปอร์ ดั๊กไทร์” ที่มีคุณสมบัติต้านแรงสั่นสะเทือน แผ่นดินไหว โดยมี คุณวันเลิศ การวิวฒ ั น์ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ คุณอรุน คูมาร์ ชอว์ดารี ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ - โรงงาน ชลบุรี บริษทั ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ให้การต้อนรับ ณ โรงงานเอ็น.ที.เอส. สตีล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรม เหมราช อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

แพ็ค

พริน้ ท์ อินเตอร์เนชัน่ แนล 2017 งานจัดแสดงสินค้า เพือ่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ชนั้ น�ำ ได้ กลับมาจัดแสดงที่ประเทศไทยเป็นครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 20-23 กันยายน ที่ ผ่านมา ซึ่งได้รับการจัดแสดงตามงานแสดงสินค้าชั้นน�ำอันดับหนึ่งของ โลกอย่างงานดรูป้า และอินเตอร์แพ็ค จัดขึ้นโดยความร่วมมือไตรภาคี ระหว่างสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย สมาคมการพิมพ์ไทย และเมสเซ่ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย >>>42

November-December 2017, Vol.44 No.255

Event เมื่อ

วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 13.38 น. สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จลง ณ อาคาร ชัยพัฒนา สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระราชทานพระราชวโรกาส ให้ รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ นายกสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) น�ำคณะผู้บริหารสมาคมฯ คณะกรรมการวิชาการและ ตัดสินหุ่นยนต์ ส.ส.ท. ชิงแชมป์ประเทศไทย ประจ�ำปี 2560 ชิงถ้วย พระราชทานของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ ผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันฯ เฝ้าทูลละอองพระบาท กราบบังคม ทูลรายงานผลการด�ำเนินงานจัดการแข่งขันฯ และทูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายเงิน เพื่อสมทบทุนมูลนิธิเทพรัตนเวชชานุกูล

บริษัท

รักษาความปลอดภัย พีซเี อส และ ฟาซิลติ ี้ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ในเครือโอซีเอส กรุป๊ ประเทศอังกฤษ โดย คุณมนันส์ สรรค์คณ ุ ากร ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายบริหารทรัพยากรบุคคล บริษัท รักษาความปลอดภัย พีซีเอส และฟาซิลิตี้ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด เดินหน้าน�ำเข้าแรงงานอาเซียนแก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน เสริมทัพ ธุรกิจให้บริการรักษาความสะอาดด้วยคุณภาพ ที่ยังคงมีความต้องการ เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยตั้งเป้าจ้างแรงงาน 3,000 คน ภายใน 2 ปี


&

Show & Share

สถา

บันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เร่งปรับโครงสร้างหลักสูตรแก้ปัญหาประเทศ ชี้หากไทยต้องการปฏิรูปการศึกษาให้ทัดเทียมนานาชาติ ต้องอาศัย “การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม” เป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมเผยผลงานตลอด 1 ปีที่ผ่านมา ตามแผนยุทธศาสตร์ 3 ข้อ คือ 1. สร้างความร่วมมือ 2. พัฒนาและเพิ่ม หลักสูตร โดยจัดตัง้ วิทยาลัยใหม่ 3 วิทยาลัย ได้แก่ วิทยาลัยแพทยศาสตร์ นานาชาติ วิ ท ยาลั ย อุ ต สาหกรรมการบิ น นานาชาติ วิ ท ยาลั ย วิ จั ย นวัตกรรมทางการศึกษา โดยมี “โรงเรียนสาธิตนานาชาติพระจอมเกล้า” (KMIDS) อยู่ภายใต้การบริหารจัดการ และผลักดันโครงการจัดตั้ง วิทยาลัยวิศวกรรมอวกาศและระบบโลก และ 3. การบริการวิชาการ มุ่งเดินหน้าสู่เป้าหมายการขึ้นเป็นอันดับหนึ่ง สถาบันด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของอาเซียน ภายในปี 2563

งาน

ไวเออร์ เซ้าท์อสี ท์เอเชีย 2017 งานแสดงสินค้านานาชาติ อุตสาหกรรมลวดและเคเบิลแห่งภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครั้งที่ 12 และงานทูป เซ้าท์อีสท์เอเชีย 2017 งานแสดงสินค้า นานาชาติอตุ สาหกรรมท่อและท่อร้อยสายแห่งภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ครั้งที่ 11 ซึ่งเป็นงานแสดงสินค้าที่ครอบคลุมอุตสาหกรรมหลัก 4 ภาคส่วน ทั้งลวด เคเบิล ท่อ และท่อร้อยสาย พร้อมน�ำเสนอนวัตกรรม ใหม่ ๆ จากบริษัทชั้นน�ำกว่า 400 ราย จาก 30 ประเทศทั่วโลก โดยมี ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม ผูจ้ ดั จ�ำหน่าย ผูผ้ ลิต วิศวกร และผูจ้ ดั ซือ้ จาก ทั่วโลก เข้าเยี่ยมชมงานมากถึง 7,000 ราย งานในครั้งนี้ยังคงความ โดดเด่นด้วยการสร้างโอกาสการพบปะพูดคุยทางธุรกิจ ระหว่างผู้ออก แสดงสินค้าและผู้เข้าชมงาน เพื่อความสัมพันธ์ทางธุรกิจในระดับ ภูมภิ าค การติดตามข้อมูลด้านแนวโน้มของอุตสาหกรรม เครือ่ งจักรและ เทคโนโลยีใหม่ล่าสุด รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์เพื่อความร่วมมือทาง ธุรกิจใหม่ ๆ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค (BITEC) เมื่อ วันที่ 19-21 กันยายน ที่ผ่านมา

โอซี

ไกลคอล ผู้ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตวัตถุดิบตั้งต้นของการผลิตภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง มีการจัดการที่มีนโยบายชัดเจน และการน�ำ เทคโนโลยีมาเป็นเครือ่ งมือเพิม่ ขีดความสามารถ และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน รวมถึงประยุกต์ใช้ในการจัดการด้านโลจิสติกส์ฯ ให้สอดคล้องและเหมาะสมจะท�ำให้ สามารถลดต้นทุนเพิ่มประสิทธิภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร สร้างความเชื่อมั่น ให้แก่ลูกค้า พร้อมเตรียมแผนรับมือและรองรับการแข่งขันในตลาดโลก คุณพรศักดิ์ มงคลตรีรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีโอซี ไกลคอล จ�ำกัด หรือ TOCGC กล่าวว่า บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับการผลิต ผลิตภัณฑ์เอทิลนี ออกไซด์บริสทุ ธิ์ (EOP) ผลิตภัณฑ์ เอทิลีนไกลคอล (EG) และผลิตภัณฑ์เอทานอลเอมีน (EA)ซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้นของการ ผลิตผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง เช่น กลุ่มผลิตภัณฑ์เส้นใยและสิ่งทอ กลุ่ม ผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ขวด PET น�้ำดื่มและกลุ่มเครื่องดื่ม กลุ่มผลิตภัณฑ์แผ่นฟิล์ม พลาสติก PET และกลุ่มผลิตภัณฑ์ครัวเรือนและสุขอนามัย เป็นต้น

November-December 2017, Vol.44 No.255

43 <<<


&

Show & Share

ศาสตรา

จารย์คลินิกเกียรติคุณ นายแพทย์ ปิ ย ะสกล สกลสั ต ยาทร (กลาง) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข เยีย่ มชมบูธกลุม่ ธุรกิจสนับสนุน โรงพยาบาล บริษัทกรุงเทพดุสิตเวชการ จ�ำกัด (BDMS) โดยมี คุณธารี เคียงศิริ (ที่ 4 จากซ้าย) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ โรงพยาบาลกรุงเทพ และ ทนพ.ญ. กัญจนา สาเอีย่ ม (ที่ 2 จากขวา) ผู้อ�ำนวยการห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ทางการแพทย์ บริษัท เนชัน่ แนลเฮลท์แคร์ ซิสเท็มส์ (N Health) ให้การต้อนรับ ภายในงาน ประชุมวิชาการ “BDMS Annual Academic Meeting 2017” ณ โรงแรม อินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพมหานคร

บริษัท

จอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน (ไทย) จ�ำกัด เดินหน้า สานต่อโครงการ “ครอบครัวปลอดภัย รูท้ นั ป้องกัน ไข้เลือดออก” สู่ภาคใต้ เพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของโรค ไข้เลือดออก โรคระบาดทีม่ ากับยุงซึง่ ท�ำให้มผี เู้ สียชีวติ ในประเทศไทยถึง 49 ราย ในปี 2560 โดย มร.นีราจ โกยาล ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัทจอห์นสันแอนด์จอห์นสัน ประเทศไทย จ�ำกัด (กลาง) สานต่อ โครงการร่วมลงใต้สู่จังหวัดสงขลา โดยมี คุณอนุรัฐ ไทยตรง รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา (ที่ 3 จากขวา) ให้การต้อนรับ

Congratulations

ร่วม

ให้การต้อนรับ...รองผู้อ�ำนวยการคนใหม่ของส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า (DEPA) หน่วยงานในสังกัดกระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.) ที่ล่าสุดดีป้าได้แต่งตั้งคนรุ่นใหม่ไฟแรงอย่าง ดร.รัฐศาสตร์ กรสูตร เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่ง รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั กลุม่ สังคมและก�ำลังคนดิจทิ ลั เพือ่ ขับเคลือ่ นองค์กรให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมและนวัตกรรม ดิจิทัลยิ่งขึ้น งานนี้ตัดสินไม่ยากเพราะทั้งประสบการณ์ ความรู้ และความสามารถด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมหรือกิจการด้านเศรษฐกิจดิจิทัล ตรงกับคุณวุฒิ คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ขององค์กร

>>>44

November-December 2017, Vol.44 No.255


อีสามารถเข กหนึ่งาถึชงอสาระความรู งทาง คทีูความบั ่คุณนเทิ!!ง

tpa o

fficia l


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.