www.tpaemagazine.com
For
Quality Management
March-April 2017 Vol.23 No.220
Magazine for Executive Management
ใช ใชไไฟฟ ฟฟาาอย อยาางไรให งไรใหคคุมุมคคาา และลดค และลดคาาไฟฟ ไฟฟาา เคร�องมือตรวจวัดคุณภาพไฟฟา ราคาประหยัด ไมวาหนวยงานไหนก็เปนเจาของได
แมนยำ ปลอดภัย มั่นใจเม็ตเทรล
ทำประหยัดพลังงานใหประสบผลสำเร็จ ดวยการตรวจวัดพลังงานและคุณภาพ ไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ
Class A Metrel MI 2892 Power Master
• สำหรับผูรับผิดชอบดานพลังงาน ประจำโรงงานควบคุม • ชางไฟฟาผูดูแลระบบไฟฟา ซอมบำรุง และ Facility • ผูดูแลระบบไฟฟา ชางผูชำนาญการ
ดวย Feature สุดเดน
เคร�องวิเคราะหการใชพลังงานและแกไขคุณภาพ ไฟฟา 3 เฟสสำหรับงาน Energy Saving และงานซอมบำรุงตามมาตรฐาน EN50160 และ IEC61000-4-30 Class A Standard
ทุกรุน
แถมฟรี
หนาจอสีแสดงผลชัดเจน ทั้งตัวเลข, กราฟ และเฟสเซอร ไดอะแกรม
วิเคราะหปญหาตัวประกอบกำลัง (PF & DPF) ไดทั้งแบบ Fundamental และ Harmonics
วัด Harmonics พรอม Cursor ดูแรงดันและกระแส
ตรวจจับแรงดันไฟฟาผิดปกติ Dip Swell Interruption
Memory แบบ SD Card 8 GB เพิ่มไดสูงสุด 32 GB บันทึกไดนานถึง 1 ป
Record คาพรอมๆ กัน ในการกดบันทึกเพียงครั้งเดียว
ถุงมือปองกันไฟฟาแรงสูง หมดเขต 30 มิถุนายน 2017
Class S Metrel MI 2885 Master Q4, Metrel MI 2883 Energy Master
พรอม Software วิเคราะหและรายงานผล ใชงานงาย Export ขอมูลไดทั้งเปนภาพ และตาราง Excel
รุนใหม ราคาสุดคุม บันทึกและวิเคราะหการใชพลังงานไฟฟา 3 เฟส สำหรับงานอนุรักษพลังงานและงานซอมบำรุง
สนใจติดตอ
คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณสิทธิโชค 084-710-7667 www.metrelthailand.com
การประยุกต ใชระบบ ISO 9001:2015 รวมกับระบบ ISO 13485:2016 การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment)
ปฏิสัมพันธระหวางญี่ปุนและสหรัฐ ภายใต “Donald Trump” เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก
ME A
และเคร�องสอบเทียบอุปกรณวัดคุมในกระบวนการผลิต Fluke Modular Pressure Controller/Calibrator
V
ติดตั้งงาย เซ็ตอัพงาย ทำงานงาย ชวงความดันกวางครอบคลุมทุกงานในเคร�องเดียว ดวยระบบโมดูลใหเลือก เปลี่ยนโมดูลไดงาย ไมตองปดเคร�อง ไมตองเซ็ตอัพใหม ทำไดจากดานหนา ระบบปองกันปนเปอน ดวยทอทิศทางเดียว ลดโอกาสทำงานผิดพลาด มีใหเลือก 2 รุน ตามความแมนยำของงาน
Fluke 2271A
PASSED ER
I F I C AT I O
N
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
PROCESS CALIBRATOR
มิติ ใหม ในงานสอบเทียบอุปกรณวัดความดัน • • • • •
R RE T ONIX SU
D. LT
เคร�องสอบเทียบความดันสำหรับงานแล็บ
Fluke 7526A
PROCEDIRES AVAILABLE
Precision Process Calibrator เคร�องสอบเทียบกระบวนการผลิต ความเที่ยงตรงสูง สามารถจายคาและวัดคาไดพรอมกัน ทั้งแรงดันดีซี, กระแส, ความตานทาน, RTDs และเทอร โมคัปเปล, วัดความดันสูงถึง 10,000 PSI, วัดกระแสหลูป 4-20 mA, จาย ทรานสมิตเตอรหลูป 24 V dc, ใชงานกับ MET/CAL® Plus
ความแมนยำ 0.02% FS ติดตั้งโมดูลได 2 โมดูล พรอมกัน มี HART Protocol สำหรับสอบเทียบ ไดอั ล เกจ, สวิ ต ช ค วามดั น , ทรานส ม ิ ต เตอร ความดั น , ดิ จ ิ ต อลเกจ และใช ในโรงงาน ผลิตเกจวัดความดัน
FLUKE 754 Documenting Process Calibrator - HART Confidence Interval 99.7% (K=3) มีอนิ เตอรเฟส HART Protocol ในตัว สอบเทียบไดตามมาตรฐาน ISO 9000, FDA, EPA และ OSHA ครอบคลุม อุปกรณวดั คุมในทุกกระบวนการผลิตของโรงงาน
สอบเทียบไดทั่วโรงงานอยางงายดาย ภายใน 3 ขั้นตอน
Fluke 6270A
ความแม น ยำ 0.01% Reading, 30%-100% span ติ ด ตั ้ ง โมดู ล ได พ ร อ มกั น 5 โมดู ล สำหรั บ หองสอบเทียบมาตรวิทยา, งานวิจัย และพัฒนา งานสอบเทียบขั้นสุดทาย และงานตรวจรับรองคุณภาพ
1
ดาวนโหลดขัน้ ตอน การสอบเทียบเขาเคร�อง
2
ดำเนินการสอบเทียบ ตามขัน้ ตอนแนะนำในเคร�อง
3
กลับมาอัพโหลดผลลัพธ และออกใบรับรองไดทนั ที
PRESSURE CALIBRATOR หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับนานาชาติ (National Metrology Institute Lab)
2465A Gas Piston Gauge Uncertainty better than 3 ppm; Range -14.5 to 1,000 psig
PG7302 Oil Piston Gauge Accuracy ± 5 ppm or 1 mg; Range 14.5 psi to 75,000 psi
PG9607 Gas Piston Gauge Uncertainty ± 5 ppm or 1mg; Range 1.6 psi to 72,500 psi
หองปฏิบัติการสอบเทียบในโรงงาน (Working Standard Lab)
M3800 Series High Pressure Hydraulic Deadweight Testers Accuracy 0.02% to 0.015%; Range 500 to 60,000 psi
P3031, P3032
P3100, P3200
Pneumatic Deadweight Testers Hydraulic Deadweight Testers (Oil or Water Operated) Accuracy ±0.015%; Max pressure 300 psi to 90% vacuum Accuracy ±0.015%; Ranges to 20,000 psi
หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับอางอิง (Reference Standard Lab) Auto Range
E-DWT-H Electronic Deadweight Tester (Hydraulic) Uncertainty ± 0.02% to 0.025%; Range upto 30,000 psi
PPC4 Pneumatic Pressure Controller/Calibrator Uncertainty ± 0.010 % to ± 0.008%; Range vacuum to 2,000 psig
7252 Dual Output Digital Pressure Controllers Uncertainty ± 0.003%; Range 5 to 2,500 psig
Fluke 2700G Series
Reference Pressure Gauges ความแมนยำสูง 0.02% FS เก็บบันทึกคาวัดได ใชงานโดยลำพังได หากใชรวมกับ ป ม รุ น 700PTPK หรื อ 700HTPK ก็ จ ะได เ ป น ชุ ด สอบเทียบความดันแบบมือถือ หรือใชกบั เคร�องสอบเทียบ P5510, P5513, P5514, P5515 จะไดเปนชุดสอบเทียบ ความดันแบบ Bench Top ที่มีสมรรถนะสูง
Fluke 3130
Portable Pneumatic Pressure Calibrator สำหรับสอบเทียบเซ็นเซอร ความดัน และเกจวัดความดัน วัดและกำเนิดความดัน ตัง้ แต สุญญากาศ จนถึง 2 MPa (300 psi, 20 bar) ความ แมนยำ 0.025 % FS วัด และจายกระแส 4 - 20 mA และแรงดัน 24 โวลต สำหรับ สอบเทียบหลูป
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ pressure-process-cal
Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี ความแมนยำ DC 0.0024% เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได
I F I C AT I O
N
ME A
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได
Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้ Fluctuation Harmonics Dips and Swells Multi Phase Operation
Compatible
ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม
ER
Compatible
เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล
PASSED
Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น
Fluke 5522A Multi-Products Calibrator
V
D. LT
เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง
R RE T ONIX SU
Compatible
Fluke 5320A
Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible
Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source
Compatible
Compatible
DC Volts
DC Current
AC Volt
ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได
Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง
เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ Multifunction insulation tester Portable appliance tester Insulation resistance testers Continuity testers and earth resistance testers Ground bond testers and loop/line impedance testers Hipot testers เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ
เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ
Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible
มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่ วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025% ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A) แสดงผลแบบกราฟก โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V
เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด
2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com
http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator
ชุดที่ 1 ฉบับที่
ใบสั่งซื้อนิตยสาร
1-3
ฉบับยอนหลัง
135 บาท ชุดที่ 2 ฉบับที่
4-15
480 บาท
ชุดที่ 3 ฉบับที่
16-27
480 บาท
ชุดที่ 4 ฉบับที่
28-39
480 บาท
ชุดที่ 5 ฉบับที่
40-51
480 บาท
ชุดที่ 6 ฉบับที่
ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง แผนก/ฝาย บริษัท ที่ตั้ง โทรศัพท
โทรสาร
อีเมล รายการที่สั่งซื้อ คานิตยสาร Creative & Idea Kaizen ยังไมรวมคาจัดสง สั่งซื้อชุดที่
เปนเงิน
คาจัดสง ชุดละ 50 บาท (คาจัดสงแบบพัสดุ)
52-63
วิธีการชำระเงิน
ชุดที่ 7 ฉบับที่
ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3 ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-23923-3
480 บาท
64-75
480 บาท
ชุดที่ 8 ฉบับที่
76-87
550 บาท
โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)
กรุณาสงหลักฐานการโอนเงิน (Pay in)
กลับมายัง หมายเลขโทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail : maz_member@tpa.or.th
สนใจสอบถามไดที่ คุณจารุภา และคุณบุษบา
โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 และ 1750 โทรสาร 0-2662-1096 E-mail : maz_member@tpa.or.th, http//www.tpa.or.th/publisher, http//www.tpaemagazine.com
ชุดที่ 9 ฉบับที่
88-99
550 บาท
ชุดที่ 10 ฉบับที่
100-111 550 บาท
Contents
Quality Management Vol.23 No.220 March-April 2017
28
Cover Story
9
ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้คุ้มค่า และลดค่าไฟฟ้า เครื่องมือตรวจวัดคุณภาพไฟฟ้า ราคาประหยัด ไม่ว่าหน่วยงานไหนก็เป็นเจ้าของได้ โดย บริษทั เมเซอร์โทรนิกส์ จ�ำกัด
Quality System Quality Trend 18 การประยุกต์ใช้ระบบ ISO 9001:2015 ร่วมกับระบบ ISO 13485:2016 ตอนที่ 1 โดย นายคุณภาพ
Quality Tools 20 การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) ตอนที่ 4 โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์
Quality of Life 23 ภาวะความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด
โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว 24 ลดน�้ำหนักผิดวิธีส่งผลร้ายกว่าที่คิด โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
Quality Report 31 Front Runner – Pixta
พัฒนาและบริหารเว็บไซต์จ�ำหน่ายผลงาน ดิจิทัล โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ 33 อุตสาหกรรมตั้งเป้าดัน SMEs พื้นที่ตะวันตกรับดีมานด์ปี 60 โดย กองบรรณาธิการ
Quality Marketing & Branding 35 สร้าง Health Biz
ติดตลาดด้วย Smart Content Marketing ตอนที่ 4 โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์
Quality Management Quality Finance 26 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นและสหรัฐ ภายใต้ “Donald Trump”
Quality People 38 CEO หญิงเอเชีย รวยที่สุดในอเมริกา
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
โดย รศ.สุพตั รา สุภาพ
Quality Strategy 28 เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก
(The Impact of Disruptive Technologies on Business Model and Competition) ตอนที่ 1 โดย ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี
Quality Idol & Model 41 SAS กับการปรับตัวเพื่อรองรับ “ประเทศไทย 4.0” โดย กองบรรณาธิการ
Special Scoop 44
เศรษฐกิจในยุค Connected Society ภายใต้บริบทของสังคมไทย Lif 48 การตลาดในยุค Connected Marketing โดย กองบรรณาธิการ
23
Editor’s Talk การ
แข่งขันที่เข้มข้นในอดีตเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากยุคเก่าเข้ามาสู่ยุคดิจิทัล การค้าการลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศมีรูปแบบที่แตกต่างไปจาก เมือ่ ก่อน ทุกอย่างเบ็ดเสร็จอยูใ่ นบิก๊ ดาต้า มีเครือ่ งมือทีใ่ ช้อ�ำนวยความสะดวกในการติดต่อ การค้าการลงทุนแค่ผ่านสมาร์ทโฟนเพียงเครื่องเดียว กลไกทางการตลาดเริ่มผันเปลี่ยน ใครที่ล่าช้าอาจไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความผันผวนที่เกิดขึ้น ฉบับที่ 220 เดือนมีนาคม-เมษายน 2560 จึงเลือกที่จะถ่ายทอดทัศนะของกูรูทางด้านเศรษฐศาสตร์ และการตลาดมาน�ำเสนอแนวคิดและแนวทางในการพัฒนาธุรกิจสูก่ ารแข่งขันในยุค Connected Society เพราะหลายต่อหลายท่านน่าจะก�ำลังค้นคว้าหาองค์ความรู้และความคิด เห็นจากผู้เชี่ยวชาญเพื่อน�ำมาปรับตัวและปรับธุรกิจของตนเองให้เหมาะสมและเท่าทัน นอกจากนี้เรายังมีบทความคุณภาพรอทุกท่านเช่นเคย อาทิ Quality System ขอเสนอบทความเรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบ ISO 9001:2015 ร่วมกับระบบ ISO 13485:2016 บทความเรื่อง การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) ตอนที่ 4 General Full Factorial Design ส�ำหรับ Quality Management ขอเสนอบทความเรื่อง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างญี่ปุ่นและ สหรัฐภายใต้ “Donald Trump” บทความเรื่อง เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก (The Impact of Disruptive Technologies on Business Model and Competition) บทความเรื่อง Front Runner – Pixta พัฒนาและบริหารเว็บไซต์จ�ำหน่ายผลงานดิจิทัล โปรดติดตามภายในเล่ม พบกันใหม่ฉบับหน้า
Published by
Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย
Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant
พรามร ศรีปาลวิทย รถจณา เถาวพันธ จารุภา มวงสวย
Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708
PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Marketing Service
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Advertising
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Member
จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com
วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง
LED2017_85x115Inches1.pdf 1 10/11/2016 9:59:10 AM
ผูจัดงาน
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
พฤษภาคม 2560 ชาเลนเจอร 1
ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี
Line ID : @ledexpo
+66 (0) 2 833 5328 LED Expo Thailand
panvisutb@impact.co.th www.ledexpothailand.com
ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”
ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ
CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง
ISO 14001
ISO/IEC 17025
ISO 9001 TQM
Consultancy Services and Training
ISO/TS 16949
Consult
QS 9000
HACCP
TIS 18001
5S
Pre-assessment Audit
QCC
ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา
CCT SQUARE CO., LTD.
1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com
In-house Training
Q
Cover Story for
uality
ใช้ไฟฟ้าอย่างไรให้คุ้มค่า และลดค่าไฟฟ้า
เครือ่ งมือตรวจวัดคุณภาพไฟฟ้า ราคาประหยัด ไม่วา่ หน่วยงานไหนก็เป็นเจ้าของได้ เครื่องวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้าคุณภาพสูงจากยุโรป ซึ่งถูกใช้อย่างแพร่หลายใน ประเทศอังกฤษและเยอรมัน พร้อมให้คุณเชื่อมั่นในคุณภาพและการรับประกัน โดยเมเชอร์โทรนิกซ์ Metrel มั่นใจทุกค่าที่วัดด้วยมาตรฐาน ระดับ IEC61000-4-30 Class A
แม่นย�ำ ปลอดภัย มั่นใจเม็ตเทรล
ทำ�ประหยัดพลังงานให้ประสบผลสำ�เร็จ ด้วยการตรวจวัด พลังงานและคุณภาพไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ● สำ�หรับผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน ประจำ�โรงงานควบคุม ● ช่างไฟฟ้าผู้ดูแลระบบไฟฟ้า ซ่อมบำ�รุง และ Facility ● ผู้ดูแลระบบไฟฟ้า ช่างผู้ชำ�นาญการ
รุ่น Top
ทุกรุ่น แถมฟรี ถุงมือป้องกันไฟฟ้าแรงสูง หมดเขต 30 มิถุนายน 2017
Metrel MI 2892 Power Master วัดและวิเคราะห์ ค่าทางไฟฟ้าที่จำ�เป็นทุกค่าตามมาตรฐาน EN50160 IEC61000-4-30 Class S ตรวจวัดค่าและบันทึกผลเพื่อนำ�มาวิเคราะห์ผล และทำ�รายงานผ่าน Software
หม่
หม่ รุ่นใ
รุ่นใ
Metrel MI 2885
Metrel MI 2883
ติดต่อกับระบบ Internet ผ่าน WIFI Router
บันทึกผลการวัดใส่ USB Flash Drive ได้
มีหลากหลายรุ่นให้เลือกตามความเหมาะสมด้านการใช้งาน และงบประมาณในการจัดซื้อ
สนใจติดต่อ : คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณสิทธิโชค 084-710-7667
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com
www.metrelthailand.com
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
9
Cover Story ปัจจุบันพลังงานเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในการด�ำรงชีวิต ระบบ องค์กรไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ก็ล้วนแต่ใช้พลังงานทั้งสิ้น พลังงานที่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คงหนีไม่พน้ พลังงานทางไฟฟ้า หลาย ๆ องค์กรตระหนักใน เรื่องนี้ดี และมีมาตรการในการประหยัดพลังงานไฟฟ้ามากมาย ไม่ว่า จะเป็นการลดปริมาณการใช้กระแสไฟฟ้า เปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ สิ้นเปลืองพลังงานน้อยลง รวมไปถึงการหาพลังงานทดแทนมาใช้
เครื่อง MI 2892 จะท�ำการวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าตาม IEEE1459 เนื่ อ งจากว่ า Load เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ในปั จ จุ บั น มี ก าร เปลี่ยนแปลงไปเป็น Non-Linear Load เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งท�ำให้เกิด ผลเสีย คือ มี Harmonics มากมายเกิดขึ้นในสถานประกอบการ แต่ อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์ปญ ั หาคุณภาพฟ้าตามแบบ Basic Fundamental ทีม่ กี ารแก้ไขแล้วหรืออาจเกิดขึน้ ใหม่ไม่วา่ จะเป็น Unbalance หรือ Reactive Power
มาตรการต่าง ๆ จะส�ำเร็จลุล่วงได้ สิ่งจ�ำเป็นที่สุดก็คือ การวัด และวิเคราะห์การใช้พลังงาน เพื่อประมวลผลผ่านค่าพารามิเตอร์ทาง ไฟฟ้า เครื่องมือวิเคราะห์ค่าพลังงานไฟฟ้าจึงมีความจ�ำเป็นในการ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ในระหว่างด�ำเนินการได้อย่างตรงจุด รวมถึง ประเมินผลความส�ำเร็จหลังจากท�ำมาตรการต่าง ๆ ตามนโยบาย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางวิศวกรรมที่เกิดขึ้นในระบบ การเฝ้า ระวังการใช้กระแสไฟฟ้าของเครือ่ งใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า เก่าและกินไฟมากขึ้น รวมไปถึงการวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้าให้เป็นไป ตามมาตรฐานก็ล้วนแล้วแต่มีความจ�ำเป็นที่ต้องใช้เครื่องมือวัดและ วิเคราะห์ให้เหมาะสมทั้งสิ้น ทางบริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ จะน�ำเสนอสินค้าเครือ่ งมือวัดยีห่ อ้ Metrel ซึง่ เป็นเครือ่ งมือวัดคุณภาพ สูงจากยุโรป การันตีคณ ุ ภาพโดยบริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด ทีส่ ำ� คัญ “ราคาไม่เป็นอุปสรรค” อีกต่อไป
Vol.23 No.220 March-April 2017
MI 2892 Power Master เครื่องมือวัดและวิเคราะห์ค่าพลังงานไฟฟ้า 3 เฟส
10
ดังนั้น การวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าควรมีความเข้าใจ ปัญหาและแยกแยะปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้อย่างชัดเจน ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าเบื้องต้น (Fundamental Power) ➲ P : Power Active ➲ Q : Power Reactive ➲ S : Appearant Power ➲ DPF : Fundamental Power Factor แยกปัญหาเฉพาะก�ำลังไฟฟ้าสูญเสียด้าน Harmonics ➲ SN : Harmonics Appearant Power ➲ Di and Dv : Voltage and Current Distortion Power (VAR) ➲ PH : Harmonics Power (KW) รวมปัญหาทั้งหมดเข้าด้วยกันเพื่อให้เห็นภาพรวม ➲ P : Active Power ➲ N : Non-Active Power (ผลรวมค่าสูญเสีย KVAR ของ สัญญาณไฟฟ้า ทั้ง Fundamental และ Harmonics) ➲ PF : ค่าผลรวม Power Factor (ทั้ง Fundamental และ Harmonics)
Cover Story คุณสมบัติที่โดดเด่นของ MI2892 ●
ตัวเครือ่ งมาพร้อมสายวัดกระแสแบบ Flex วัดกระแสสูงสุด 6000A จ�ำนวน 4 เส้น (วัดกระแสในสาย Neutral จริง) ● หน้าจอแบบสี พร้อมปุ่มลูกศรเข้าถึงเมนูโดยง่าย ● วัดและบันทึกค่าก�ำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า ฮาร์โมนิกส์ th (50 ) Flicker รวมไปถึงความผิดปกติทางแรงดันไฟฟ้า (Dip, Swell) ในเวลาเดียวกัน ● ค่ า ที่ วั ด มี ค วามแม่ น ย� ำ ตามมาตรฐานเครื่ อ งมื อ วั ด IEC61000-4-30 Class A ● ตัวเครื่องเป็นแบบมือถือและน�้ำหนักเบา ● ได้มาตรฐานความปลอดภัยตาม EN61010 : CAT IV, 600V ● วิเคราะห์พลังงานไฟฟ้าตามมาตรฐาน IEEE1459 เพื่อน�ำ ไปค�ำนวณหาค่าสูญเสียในระบบไฟฟ้าได้ทั้งแบบ Fundamental, Harmonics, Unbalance ● ตัวเครื่องสามารถ Monitor ผ่านระบบ Network ได้
Harmonics : แสดงค่าความสูญเสียของ Distortion Power บ่งบอกค่าสูญเสียที่เกิดขึ้นจากสาเหตุของ Harmonics โดยเฉพาะ ซึ่งสามารถแสดงผลได้ทั้งในหน่วยวัด KVAR และ KW ท�ำให้ผู้ใช้งาน สามารถน�ำไปค�ำนวณหาค่าสูญเสียเป็นหน่วยวัดทางไฟฟ้า (Units) ต่อไปได้
Power Measurements Summary Power Measurements Summary (fundamental) (combined)
Detailed Power Measurements at Phase L1
Detailed Power Measurements
แสดงเครื่องหมายน�ำหน้าตัวแปร + และ – เพื่อท�ำให้สามารถ แยกแยะปัญหาง่ายขึ้นว่าปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นมีผลต่อแหล่งจ่าย (Generated Power) หรือเกิดจากการกินกระแสผิดปกติจากฝั่ง Load (Consumed)
วิเคราะห์ปญ ั หาด้านการประหยัดพลังงานผ่านตัวแปรคุณภาพไฟฟ้า ตามมาตรฐาน IEEE1459
ตัวเครื่องสามารถแสดงผลรวมของค่าก�ำลังไฟฟ้าได้ทั้งแบบ Fundamental (เฉพาะสัญญาณความถี่มูลฐาน 50Hz), Combined (ค่าก�ำลังไฟฟ้าที่รวมผลของ Harmonics และ Fundamental)
หน้าจอแสดงการวิเคราะห์พลังงานไฟฟ้า
วัดและบันทึกพลังงานได้ทงั้ แบบแยกเฟสและแสดงค่าผลรวม ซึง่ ผูใ้ ช้งานสามารถวิเคราะห์คา่ พลังงานที่ Load ใช้งานจริง (Generate Power) ได้ทันที
หน้าจอแสดงผลรวมของพลังงานไฟฟ้า
Vol.23 No.220 March-April 2017
สามารถมอนิเตอร์และดาวน์โหลดข้อมูลผ่านระบบ Networks และใช้ร่วมกับ Metrel Server เพื่อรีโมทผ่านอินเทอร์เน็ตได้จากทุกที่ ด้วยซอฟต์แวร์ Power View
11
Cover Story แสดงผลค่าพลังงานไฟฟ้าในหน่วย Wh ได้ทงั้ แบบผลรวมและ แยกเฟส พร้อมแสดงกราฟแนวโน้มประกอบ (Energy Trend Graph)
เมื่อเราท�ำการบันทึกค่า ค่าทางไฟฟ้าทั้งหมด Harmonics ทุก ล�ำดับจะถูกเก็บบันทึกไปพร้อม ๆ กัน เพื่อลดความยุ่งยากที่เกิดขึ้นกับ ผู้ใช้งานที่จะต้องมาเลือกบันทึกค่าต่าง ๆ ไปทีละค่า
EN50160 Electrical Standard Compliance
Harmonics and Interharmonics (METER) Screens
วิเคราะห์ปญ ั หาสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้าได้ทงั้ : Harmonics และ Inter Harmonics สูงสุดถึงล�ำดับที่ 50
Harmonics Histogram Screen
โดย Harmonics และ Inter Harmonics สามารถแสดงผล ได้ทั้งแบบตัวเลขและ Bargraph เพื่อให้ง่ายต่อการวิเคราะห์ผล ทั้ง แรงดันและกระแส
สามารถวิเคราะห์ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าตามมาตรฐานสากล EN50160 โดยเมื่อท�ำการปรับตั้งค่าในส่วนของ Interval ให้ตรงตาม มาตรฐานที่ต้องการ ตัวเครื่องจะท�ำการบันทึกค่าพารามิเตอร์เพื่อ เปรียบเทียบกับมาตรฐาน EN50160 โดยอัตโนมัติโดยตัวเครื่อง สามารถบันทึกผลและ Load ลง Computer PC เพื่อวิเคราะห์ปัญหา วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าด้าน Harmonic
วิ เ คราะห์ ปั ญ หาคุ ณ ภาพแรงดั น ผ่ า นกราฟ แสดงสถิติ หรือกราฟมาตรฐาน CBMA/ITIC
แสดงกราฟแนวโน้ม (Trend) ในทุก ๆ Parameter ที่ทำ�การวัด
วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพไฟฟ้า ในรูปแบบของ Flicker
วิเคราะห์ปัญหา Unbalance แบบ Phase Diagram ทั้งแรงดันและกระแส
Phase Diagram Screen
Vol.23 No.220 March-April 2017
แสดงมุมเฟสของปริมาณแรงดันและกระแสในแต่ละเฟส โดย แยกให้เห็นอย่างชัดเจนทั้งตัวเลขและ Graphic Phaser Diagram
12
Harmonics and Interharmonics Trend Screen
Cover Story วิเคราะห์ Unbalance แบบ IEC คือ Unbalance ที่เกิดจาก รวมผลของ Harmonics
วิ เ คราะห์ ป ั ญ หา Flicker (ไฟกระพริ บ ) ซึ่ ง เป็ น ไปตาม มาตรฐาน IEC-61000-4-15 Pinst : ค่าไฟกระพริบที่เกิดขึ้นในขณะนั้น (ทุก ๆ 10 วินาที) Pst (1 min) : ค่าไฟกระพริบในช่วงเวลา 1 นาที Pst : ค่าไฟกระพริบในช่วงเวลาสั้น (10 นาที) Plt : ค่าไฟกระพริบในช่วงเวลายาว (2 ชั่วโมง)
การบันทึกและแสดงผลสัญญาณทางไฟฟ้า Waveform
Unbalance Diagram Screen
U+, I+ : Voltage and Current Possitive Sequence Harmonics Component Uo, Io : VAI Zero Sequence Harmonics U-, U- : V&I Negative Sequence Harmonics Waveform Recorder Capture Screen
แสดงผลรูปสัญญาณแบบ Real Time ทั้งแรงดันและกระแส แบบรวมและแยกเฟส
Symmetry Trend Screen
Unbalance Trend วิเคราะห์ผลของ Unbalance System ใน ช่วงเวลาต่าง ๆ ผ่าน Trend Graph
Flickers Table Screen Captured Waveform Recorder Screen
Vol.23 No.220 March-April 2017
Real Time Waveform V&I Screen
13
Cover Story ตรวจจับสัญญาณแรงดันและกระแสที่ผิดปกติ ทั้ง Transient, Dip, Swell, Interuption และ Inrush Current โดยสามารถบันทึกได้ สูงสุดต่อเนือ่ ง 50 คาบเวลา ท�ำให้ผใู้ ช้งานสามารถวิเคราะห์สาเหตุการ เกิดและผลหลังจากเกิดปัญหาคุณภาพแรงดันและกระแสผิดปกติ ชั่วขณะได้อย่างแม่นย�ำ ด้วยความถี่ในการตรวจจับสูงสุด 51.2KHz Sampling Rate โดยสามารถตรวจจับสัญญาณ Transient ได้ทั้งแบบ Envelop และ Level
Envelope Voltage Level
เครื่องบันทึกและวิเคราะห์ปัญหาทางไฟฟ้ารุ่นอื่น ๆ Metrel MI 2885 Master Q4 เครื่องวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า 4 แชนเนล
Absolute Trigger Level in Voltage
การบันทึกค่าการวัด (General Recorder)
General recorder setup screen
Vol.23 No.220 March-April 2017
ตัวเครื่องสามารถท�ำการบันทึกค่าทางไฟฟ้าทั้งหมด เช่น V, A, Hz, Power, Event และ Harmonics ทุกล�ำดับ รวมไปถึงเหตุการณ์ ผิดปกติของแรงดันไฟฟ้า เช่น ไฟตก ไฟเกิน ไฟกระพริบ ไปพร้อม ๆ กัน ต่อการ Record ค่าใน 1 ครั้ง
14
จุดเด่น : ระหว่างผูใ้ ช้ทำ� การบันทึกค่า ผูใ้ ช้สามารถทีจ่ ะย้อนไป วัดค่าหรือดูพารามิเตอร์อื่น ๆ ได้ โดยไม่ขัดจังหวะการบันทึก ค่าทีถ่ กู บันทึกลงใน SD Card ขนาด 8GB แบบ Micro SD และ ผู้ใช้งานสามารถเพิ่มได้เองสูงสุด 32GB ซึ่งจะสามารถ Download ผลการวัดลงไปที่ Computer PC และน�ำค่ามาใช้เพื่อท�ำการวิเคราะห์ และท�ำรายงานผลผ่าน Software PowerView 3
ใหม่ล่าสุด Metrel MI 2885 Master Q4 เป็นเครื่องวิเคราะห์ พลังงานและคุณภาพไฟฟ้าจอสีรุ่นใหม่จาก Metrel ที่เน้นราคาที่ ย่อมเยากว่า MI2892 ทีเ่ ป็นรุน่ Top โดยเน้นไปทีง่ านบันทึกเหตุผดิ ปกติ ของระบบไฟฟ้าเพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหา สามารถตั้ง Trigger เพื่อ จับความผิดปกติที่ต้องการบันทึกได้มากถึง 7 รูปแบบพร้อมกัน ข้อมูล ที่บันทึกได้ในหน่วยความจ�ำขนาดใหญ่พร้อมรูปคลื่นที่ผิดปกติ เช่น ไฟตก ไฟเกินต่าง ๆ (Sag & Swell) การปรับปรุงที่ส�ำคัญในรุ่นใหม่นี้ คือ การแสดงผลด้วยจอสี ที่ท�ำให้การอ่านค่าต่าง ๆ ง่ายขึ้น เช่น ตรวจล�ำดับเฟส ฮาร์โมนิกส์ และ รูปคลื่นผิดปกติแบบต่าง ๆ รวมทั้งการปรับปรุงส่วนของเมนูต่าง ๆ ให้ ใช้ง่ายขึ้น เช่นปุ่ม Quick Sets และ Function Keys ต่าง ๆ ท�ำให้การ ปรับตั้งต่าง ๆ และเรียกดูผลลัพธ์ง่ายและรวดเร็ว ยิ่งไปกว่านั้น ยังปรับปรุงให้รับงานบันทึกที่ยาวนานขึ้น เพิ่ม หน่วยความจ�ำ Micro SD ได้เองโดยผู้ใช้มากถึง 32GB ตัวเครื่อง ครบชุดมาพร้อมซอฟต์แวร์ Power View3 บน PC ส�ำหรับวิเคราะห์/ ค้นหาสิง่ ผิดปกติตา่ ง ๆ ทีบ่ นั ทึกได้ พิมพ์เอกสารรายงานอย่างมืออาชีพ รวมทั้งอุปกรณ์ประกอบที่จ�ำเป็นต่าง ๆ ครบครันในกระเป๋าสะพาย
Cover Story อย่างดี มีให้เลือกทั้งรุ่นที่มาพร้อมกับ Flex Clamp 3000A จ�ำนวน 4 ตัวในชุด Euro Set และแบบไม่รวม Flex Clamp ในชุด Standard Set ที่ราคาถูกกว่า คุณสมบัติเด่น ● แสดงผลหน้าจอ LCD แบบสี ● เครื่ อ งวิ เ คราะห์ คุ ณ ภาพไฟฟ้ า 3 เฟส ระดั บ Class S (IEC61000-4-30) ● บันทึกค่าก�ำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า Harmonics Flicker แรงดันไฟตกไฟเกินได้พร้อม ๆ กันในการบันทึกครั้งเดียวสูงสุดถึง 7 Parameters ● สามารถ Monitor ระบบผ่านระบบ Ethernet ได้ผ่าน Port RJ45 และมีออปชั่น Time Sync กับ GPS Receiver (A1355) ได้ ● มาพร้ อ ม Software เพื่ อ วิ เ คราะห์ ผ ลและท� ำ รายงาน เชื่อมต่อ PC ผ่าน USB ● ค� ำ นวณค่ า ก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า ตามมาตรฐานการวิ เ คราะห์ IEEE1459 ● วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพไฟฟ้าตามมาตรฐาน EN50160 ● บันทึกผลวิเคราะห์ ท�ำรายงานผลผ่าน Software Power View 3 ● มีชอ ่ งต่อ Micro SD และให้ 8GB Micro SD มาพร้อมเครือ่ ง
เครื่องมือส�ำหรับตรวจวัดบันทึกผลและวิเคราะห์ค่าพลังงาน ไฟฟ้าแบบ 3 เฟส ราคาสุดคุม้ แสนประหยัด ครอบคลุมงานด้านอนุรกั ษ์ พลังงานและซ่อมบ�ำรุง คุณสมบัติเด่น ● วัดแรงดันไฟฟ้า 3 เฟส ได้สูงสุด 1000V (rms) พร้อมทั้ง แสดงล�ำดับเฟส ● วัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 3000A ด้วย Flexible Clamp ได้ 4 เฟส ทั้ง Line1 Line2 Line3 รวมถึงสาย Neutral ● วัด Harmonics ได้ 50 ล�ำดับ ● วิเคราะห์ค่าสูญเสียพลังงานตามมาตรฐาน IEEE1459 (Active, Reactive, Apperant Power & Energy, Power Factor, Harmonics ● ตรวจวัดก�ำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า (KW, KVAR, KVA, Kwh, KVARh, PF, DPF) Unbalance ● บันทึกผลการวัดตามมาตรฐานระบบไฟฟ้า EN50160 ● บันทึกข้อมูลได้ต่อเนื่องมากกว่า 1 ปี ด้วยหน่วยความจ�ำ แบบ Micro SD Card ขนาด 8GB (สามารถเพิ่มได้ถึง 32GB) ● พร้อม Software ส�ำหรับวิเคราะห์และท�ำรายงานผลด้าน พลังงาน คุณสมบัติใหม่
Metrel MI 2883 Energy Master เครื่องวัดบันทึกผลและวิเคราะห์ค่าพลังงานไฟฟ้า 3 เฟส
ติดต่อกับระบบ Internet ผ่าน WIFI Router
Vol.23 No.220 March-April 2017
บันทึกผลการวัดใส่ USB Flash Drive ได้
15
Cover Story ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของแต่ละรุ่น FEATURES/Description
MI 2892 Power Master
MI 2885 Master Q4
MI 2883 Energy Master
Class A 0.1% (Independent certificate)
Class S
Class S
4 4
4 4
4 3
• • • • • • • • • • • •
• • • • • • • • • • • •
• • • • • • • • • • • •
• • •
• • •
• • •
• • •
• •
• • •
• • With optional sensor
• • With optional sensor
•
•
•
• GPS receiver only • • • Optional
• GPS receiver only • • • Optional
•
CLASS IEC 61000-4-30 Class A / Class S / Class B
Vol.23 No.220 March-April 2017
INPUTS Number of current measuring inputs Number of voltage measuring inputs PERIODICS TRMS Voltage measurement (Min., Max., Avg.) TRMS Current measurement (Min., Max., Avg.) Current in neutral conductor Power Factor and cos j Power measurement (W, VA, VAr) Energy measurement THD and harmonics analysis Frequency measurement Flicker measurement Voltage events (sags, swells, interruptions) Unbalance EN 50160 Analysis ON LINE Scope function Phase diagram Harmonics measurement SPECIAL TOOLS Transients measurement Waveform recording Inrush currents OTHER Interharmonics analysis Signalling Temperature measurement PC SW PC SW PowerView3 (free of charge) COMMUNICATION PORTS MicroSD memory card RS232 USB Ethernet GPS time synchronisation Remote instruments control (3G/WiFi)
16
•
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด ยังมีสินค้า Metrel ที่เป็นเครื่องมือวัดและทดสอบส�ำหรับงานอื่น ๆ อีก อาทิ ดิจิทัลมัลติมิเตอร์ แคลมป์มเิ ตอร์ เครือ่ งวัดกราวด์ เครือ่ งวัดฉนวนไฟฟ้า เครือ่ งทดสอบในงานติดตัง้ ไฟฟ้า เครือ่ งทดสอบความปลอดภัยเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เครือ่ งทดสอบ ในงานไฟฟ้าแรงสูง เป็นต้น สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่: คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณสิทธิโชค 084-710-7667
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com
Q
System for
uality
Trend Tools of Life
Q
Trend for
uality
การประยุกต์ ใช้ระบบ ISO 9001:2015 ร่วมกับระบบ ISO 13485:2016 1 ตอนที่
นายคุณภาพ
เนื่อง
จากมาตรฐาน ISO 13485:2016 Medical Device Management Systems ซึ่งเป็นข้อก�ำหนดที่ประยุกต์ ใช้สำ� หรับผูผ้ ลิตเครือ่ งมือแพทย์และองค์ทสี่ นใจใน Supply Chain ของ ผู้ผลิตเครื่องมือแพทย์ เช่น ผู้ผลิตวัตถุดิบ ส่วนประกอบ การบริการ ติดตัง้ ขนส่ง การเก็บรักษา สามารถประยุกต์ใช้มาตรฐานนีไ้ ด้ มาตรฐาน ISO 13485:2016 ได้มกี ารปรับเปลีย่ นมาตรฐานจาก ISO 13485:2003 เมื่ อ วั น ที่ 1 มี น าคม ค.ศ.2016 ในเวลาใกล้ เ คี ย งกั บ ระบบ ISO 9001:2015 Quality Management System เมือ่ วันที่ 15 กันยายน ค.ศ. 2015 ซึง่ หลายองค์การในประเทศไทยได้มกี ารประยุกต์ใช้ขอ้ ก�ำหนดนี้ ร่วมกัน (integrate management system) ซึ่งข้อแนะน�ำแนวทางใน การปรับเปลี่ยนสามารถด�ำเนินการได้ดังนี้
การศึกษารายละเอียดของข้อกำ�หนด จุดแตกต่าง สิง่ ทีต่ อ้ งดำ�เนินการเพิม่ เติม (gap analysis) ของทัง้ สองมาตรฐาน
วิธีการนี้ คือ การศึกษาข้อก�ำหนดทั้ง 2 มาตรฐาน โดยหลัก ส�ำคัญของการเปลีย่ นแปลงข้อก�ำหนด ISO 9001:2015 คือ การก�ำหนด บริบทองค์การและการชี้บ่งความต้องการและความคาดหวังของผู้มี
18
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
ส่วนได้ส่วนเสีย และการประเมินชี้บ่งความเสี่ยงและโอกาส และมีการ ปรับปรุงรายละเอียดในข้อก�ำหนดย่อย ๆ หรือการปรับเปลีย่ นค�ำเพือ่ ให้ เกิดความเข้าใจและแนวปฏิบัติที่ชัดเจนมากขึ้น เช่น การจัดท�ำแผน เพื่ อ ให้ บ รรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ คุ ณ ภาพ สภาพแวดล้ อ มกระบวนการ องค์ความรู้องค์การ การจัดท�ำแผนการสื่อสาร การควบคุมทรัพย์สิน ลูกค้าและผู้ส่งมอบ การควบคุมผู้จัดหาจากภายนอก การทบทวนฝ่าย บริหาร เป็นต้น ส�ำหรับข้อก�ำหนดมาตรฐาน ISO 13485:2016 Medical Devices ยังคงใช้โครงสร้างข้อก�ำหนดตามมาตรฐาน ISO 9001:2008 ซึ่งประกอบด้วยข้อก�ำหนดหลักข้อที่ 4-8 ในการประยุกต์ใช้
Trend
การประยุกต์ ใช้ร่วมกันของข้อกำ�หนด ที่สามารถดำ�เนินการแบบประยุกต์ ใช้แบบรวมระบบร่วมกันได้
จากมาตรฐานที่เราได้ศึกษาแล้ว เราจะพบว่า เราสามารถ อ้างอิงระเบียบปฏิบตั ทิ งั้ 2 ระบบทีเ่ ป็นแนวปฏิบตั แิ บบทัว่ ไป (generic procedure) เข้ากันได้ เช่น การควบคุมเอกสาร การควบคุมบันทึก นโยบายและวัตถุประสงค์คุณภาพ การตรวจติดตามภายใน การ ทบทวนฝ่ายบริหาร โดยยึดถือข้อก�ำหนดทีม่ รี ายละเอียดและแนวปฏิบตั ิ ที่เข้มงวดมากที่สุด และดูความเข้ากันได้และความสอดคล้องของ ข้อก�ำหนด เช่น การจัดเก็บบันทึกคุณภาพและการชี้บ่ง สอบกลับ ควร ด�ำเนินการตามมาตรฐาน ISO 13485:2016 และการทบทวนฝ่าย บริหาร ควรเป็นตาม ISO 9001:2015 เป็นต้น
การกำ�หนดบริบทองค์การและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
แนวปฏิบัติข้อก�ำหนดนี้ คือ การตอบสนองต่อข้อก�ำหนด ISO 9001:2015 เมื่อน�ำมาประยุกต์ใช้ร่วมกับการผลิตเครื่องมือแพทย์ จุด ส�ำคัญของบริบทองค์การ คือ การผลิตทีม่ คี วามสะอาดและการควบคุม การป้องกันการปนเปื้อนตามข้อก�ำหนดเครื่องมือแพทย์ เพื่อให้ผู้ใช้ ผลิตภัณฑ์มคี วามปลอดภัยจากการติดเชือ้ เป็นต้น และกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสีย ควรพิจารณาครอบคลุมถึงบุคลากรทางการแพทย์และคนไข้ เป็ น ต้ น ซึ่ ง เป็ น ทั้ ง ผู ้ ใ ช้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละผู ้ รั บ ผลกระทบจากการใช้ ผลิตภัณฑ์ รวมทั้งการพิจารณาภาครัฐผู้ออกกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ เครื่องมือแพทย์
การกำ�หนด Quality Policy และ Quality Objective
การก�ำหนดนโยบายคุณภาพและวัตถุประสงค์คุณภาพ ควร สั ม พั น ธ์ กั บ บริ บ ทองค์ ก ารต้ อ งเกี่ ย วข้ อ งกั บ ความปลอดภั ย ของ ผลิตภัณฑ์ โดยมีค�ำอธิบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความเสี่ยงของ ผลิตภัณฑ์ และการควบคุมป้องกันการปนเปื้อน เป็นต้น ส่วนการ ก�ำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพ ควรมีประเด็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับด้าน ผลิตภัณฑ์เช่นเดียวกัน เช่น การก�ำหนดวัตถุประสงค์ที่สามารถวัดผล ได้ ใ นเรื่ อ งข้ อ ร้ อ งเรี ย นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ความปลอดภั ย ของการใช้ ผลิตภัณฑ์ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น ตัวอย่าง: วัตถุประสงค์คุณภาพตามมาตรฐาน ISO 13485: 2016 ➲ ข้อร้องเรียนเรื่องบรรจุภัณฑ์เครื่องมือแพทย์รั่ว หรือผนึก ไม่สนิท ไม่เกิน 0.01% ➲ รายงานผลการทดสอบการปลอดเชือ้ ภายในห้องปฏิบตั กิ าร ต้องผ่าน 100% ➲ การได้รับข้อร้องเรียนด้านอันตรายจากเครื่องมือแพทย์ เป็น 0%
อ่านต่อฉบับหน้า
Vol.23 No.220 March-April 2017
จุดส�ำคัญของมาตรฐานนี้ คือ การชี้บ่งเฉพาะเจาะจงกับการ บริหารจัดการระบบคุณภาพที่เกี่ยวข้องกับการผลิตเครื่องมือแพทย์ ตัวอย่างเช่น ➲ การจั ด เก็ บ เอกสารที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงแก้ ไ ขและอายุ บันทึกคุณภาพ ทีต่ อ้ งมีอา้ งอิงอย่างน้อยตามอายุผลิตภัณฑ์ หรืออ้างอิง ตามกฎหมายของประเทศที่เกี่ยวข้อง ➲ การก�ำหนดนโยบายและวัตถุประสงค์คุณภาพ ที่เกี่ยวข้อง เฉพาะเจาะจงกับข้อก�ำหนดผลิตภัณฑ์และข้อก�ำหนดทางกฎหมายที่ ประยุกต์ใช้ และสอดคล้องกับบริบทองค์การ ➲ การควบคุมป้องกันการปนเปือ้ น โดยเฉพาะเครือ่ งมือแพทย์ ทีต่ อ้ งมีการฆ่าเชือ้ (sterile) โดยโรงงานผูผ้ ลิต เช่น เครือ่ งมือแพทย์แบบ ใช้ครั้งเดียวทิ้ง ได้แก่ เข็มฉีดยา สายน�้ำเกลือ ถุงเก็บเลือด เป็นต้น อุปกรณ์แพทย์ที่ใส่ภายในร่างกาย วิธีการควบคุมป้องกันการปนเปื้อน สามารถประยุกต์ใช้แนวทาง GMP เช่น การควบคุมสุขลักษณะ ส่วนบุคคล การท�ำความสะอาด การป้องกันการปนเปื้อนข้าม การ ฆ่าเชื้อ เป็นต้น ➲ การประเมินความเสีย่ งตามแนวทาง ISO 14791:2007 โดย นิยามของความเสี่ยงมีความแตกต่างกับนิยามของ ISO 9001:2015 และแนวปฏิบตั นิ นั้ เน้นในเรือ่ ง การประเมินความเสีย่ งด้านอันตรายของ เครื่องมือแพทย์ ➲ การชี้บ่งสอบกลับ กรณีเครื่องมือแพทย์แบบสวมใส่ใน ร่างกายมนุษย์ (implantable medical devices) ต้องมีการชี้บ่งสอบ กลับในแต่ละ Part ชิ้นส่วนและผู้ผลิตชิ้นส่วนนั้น ๆ ➲ กระบวนการในการจั ด การผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตาม ข้อก�ำหนด ก่อนและหลังการส่งมอบ เช่น การมีระบบการเรียกคืน ผลิตภัณฑ์ ระบบการ Rework ผลิตภัณฑ์ เป็นต้น เมื่อได้ศึกษาและประเมินจุดแตกต่าง (Gap Analysis) ของ ข้อก�ำหนดแล้ว การด�ำเนินการต่อไป คือ การปรับปรุงระบบใหม่ ให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดใหม่นั้น
19
Q
Tools for
uality
การออกแบบการทดลอง
(Design of Experiment) General Full Factorial Design วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com
ตอนที่
4
ต่อจากฉบับที่แล้ว
ใน
บทความฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้น�ำเสนอวิธีในการออกแบบการทดลอง รวมถึงรูปแบบของการออกแบบการทดลองไปแล้ว ในบทความ ฉบับนี้ผู้เขียนจะน�ำเสนอวิธีการออกแบบการทดลองซึ่งเรียกว่า General Full Factorial Design โดยอาศัยโปรแกรม Minitab 17 ในการ ออกแบบและวิเคราะห์ข้อมูล General Full Factorial Design เป็นการออกแบบที่ง่ายที่สุด และเป็นพื้นฐานในการออกแบบแบบอื่น ๆ โดยการออกแบบด้วย General Full Factorial Design นั้น สามารถใช้กับกรณีที่มีปัจจัยที่สนใจตั้งแต่ 2 ปัจจัยขึ้นไป และแต่ละปัจจัยจะมีกี่ระดับก็ได้ ลองมาดูตัวอย่างการออกแบบการทดลองผ่านกรณีศึกษากัน โรงงานแห่งหนึ่งท�ำการผลิตชุดใบมีดตัดโลหะที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม พบว่า มีค�ำร้องเรียนจากลูกค้าว่าชุดใบมีดมีอายุการใช้งานที่ แตกต่างกัน วิศวกรฝ่ายออกแบบมีความสงสัยว่าชนิดของวัสดุที่ใช้ท�ำใบมีดและความเร็วรอบของการตัดน่าจะส่งผลต่ออายุการใช้งานของใบมีด จึง ได้ท�ำการออกแบบการทดลองโดยก�ำหนดปัจจัยดังนี้
20
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
Tools ➲ ชนิดของวัสดุในการท�ำใบมีด: มี 2 ชนิด คือ X และ Y ➲ ความเร็วในการตัด: ก�ำหนดไว้ 3 ระดับ ได้แก่ 20, 30
และ 40 รอบ/วินาที โดยให้แต่ละชุดการทดลองท�ำซ�้ำ 4 ซ�้ำ จากการก�ำหนดระดับปัจจัยดังกล่าวจึงใช้การออกแบบการ ทดลองแบบ General Full Factorial Design ซึ่งมีวิธีในการออกแบบ ดังนี้ 1. เลือกค�ำสั่ง Stat > DOE> Factorial> Create Factorial Design จะได้หน้าต่างดังแสดงในรูปที่ 1 เลือกชนิดของการออกแบบ เป็น General Full Factorial Design พร้อมระบุจ�ำนวนปัจจัยทีต่ อ้ งการ ออกแบบในช่อง Number of Factors ซึ่งในที่นี้ คือ 2 ▲ รูปที่
2 หน้าต่างสำ�หรับการกำ�หนดค่าตัวแปร
3. กดปุ่ม Factors จากหน้าต่างหลัง จะได้หน้าต่างส�ำหรับ ก�ำหนดค่าของระดับในการออกแบบดังแสดงในรูปที่ 3 ท�ำการกรอก ระดับของตัวแปรในช่อง Level Values หลังจากนั้นกดปุ่ม OK เพื่อ กลับไปยังหน้าต่างหลัก
1 หน้าต่างสำ�หรับการออกแบบการทดลอง
2. กดปุม่ Designs จะได้หน้าต่างส�ำหรับก�ำหนดรายละเอียด ในการออกแบบปัจจัยดังแสดงในรูปที่ 2 ท�ำการกรอกชื่อตัวแปร ในช่อง Name พร้อมระดับของตัวแปรในช่อง Number of Levels และจ�ำนวนการทดลองซ�้ำในช่อง Number of Replicates ดังแสดง ในรูป หลังจากนั้นกดปุ่ม OK เพื่อกลับไปยังหน้าต่างหลัก
▲ รูปที่
3 หน้าต่างสำ�หรับการกำ�หนดระดับของตัวแปร
4. กดปุ่ม OK ที่หน้าต่างหลัง โปรแกรมจะท�ำการออกแบบ การทดลอง ดังแสดงในรูปที่ 4
Vol.23 No.220 March-April 2017
▲ รูปที่
21
Tools
▲ รูปที่
4 ผลการออกแบบการทดลองแบบ General Full Factorial Design
จากรูปที่ 4 พบว่า ล�ำดับของการทดลองที่เรียงในช่อง C5 และ C6 ไม่เรียงตามค่าของชนิดหรือความเร็ว ทั้งนี้เป็นเพราะโปรแกรม ท� ำ การออกแบบตามหลั ก การสุ ่ ม ซึ่ ง เป็ น หลั ก การส� ำ คั ญ ในการ ออกแบบการทดลอง และจะแตกต่างกันทุกครัง้ เมือ่ มีการสร้างแผนการ ทดลองใหม่ ดังนั้น หากผู้อ่านท�ำการออกแบบเองก็จะได้ผลลัพธ์ของ การออกแบบไม่ตรงกับตัวอย่างที่ผู้เขียนแสดงไว้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ ล�ำดับการทดลองจะไม่เหมือนกันแต่หากท�ำการทดลองครบทัง้ 24 การ ทดลองก็จะได้รูปแบบของการทดลองที่เหมือนกัน ในการทดลองก็ให้ท�ำการทดลองเรียงล�ำดับตามที่โปรแกรม ก�ำหนดไว้ในช่อง C2-RunOrder ได้เลย โดยที่ไม่ต้องไปท�ำการสุ่มการ ทดลองเอง ซึง่ จากผลการออกแบบในครัง้ นี้ ให้เริม่ ทดลองจากวัสดุชนิด X และความเร็ว 30 รอบ/วินาที เมื่อท�ำการทดลองเรียบร้อยแล้วให้กรอก ผลการทดลองซึ่งในที่นี้ คือ อายุการใช้งานลงในช่อง C7 หลังจากนั้น ให้ท�ำการทดลองในล�ำดับถัดไปเรื่อย ๆ จนครบทุกการทดลอง เพียงเท่านี้ก็เสร็จสิ้นการออกแบบการทดลองแบบ General Full Factorial Design แล้ว แต่การออกแบบการทดลองยังไม่ได้สนิ้ สุด เพียงแค่นี้ เพราะหลังจากได้ท�ำการทดลองจนครบทุกการทดลองแล้ว ขั้นต่อไปก็คือ การน�ำข้อมูลจากผลการทดลองมาท�ำการวิเคราะห์ ซึ่ง จะต้องมีล�ำดับวิธกี ารในการวิเคราะห์อย่างไรนัน้ คงต้องติดตามกันต่อ ในฉบับหน้า
Vol.23 No.220 March-April 2017
อ่านต่อฉบับหน้า
22
Q
of Life for
uality
ภาวะความเสีย่ งต่อ โรคหัวใจและหลอดเลือด
หัว
ใจนับว่าเป็นอวัยวะที่ท�ำงานหนักมากที่สุด เพราะต้อง ท�ำงานตลอดเวลาโดยไม่มกี ารหยุดพัก เพือ่ ท�ำหน้าทีส่ บู ฉีด โลหิตให้หมุนเวียนทั่วร่างกายอย่างต่อเนื่อง แต่กลับได้รับการดูแล และใส่ใจน้อยที่สุด โดยยืนยันได้จากอัตราผู้เสียชีวิตจาก “โรคหัวใจ และหลอดเลือด” ที่พุ่งสูงเป็นอันดับต้น ๆ สาเหตุของโรคหัวใจ และหลอดเลือดเกิดจากการที่มีไขมันจับที่ผนังของหลอดเลือดหัวใจ เรียกว่า พลัค (plaque) ส่งผลให้ผนังหลอดเลือดแข็ง หนา รูในหลอดเลือดจึงตีบแคบลง เลือดจึงหล่อเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง เกิดเป็น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ท�ำให้มีอาการแน่นหน้าอกและเหนื่อย ง่ายเวลาออกแรง หยุดพักแล้วดีขึ้น ในผู้ป่วยบางราย พลัค (plaque) ทีจ่ บั บริเวณผนังหลอดเลือดมีการอักเสบและแตกออก (plaque rupture) กระตุน้ ให้เกิดการจับตัวเป็นก้อนของเกร็ดเลือดท�ำให้หลอดเลือด อุดตันทันที ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอกอย่างรุนแรง เหงื่อแตก ตัวเย็น อาจถึงขั้นท�ำให้หัวใจหยุดเต้น และถึงขั้นเสียชีวิตได้ ปัจจัย เสี่ยงส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้แก่ เพศชาย อายุ
นายแพทย์สุรพงษ์ วรสุวรรณรักษ์ ศูนย์หัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลหัวเฉียว
มากกว่า 45 ปี และเพศหญิง อายุมากกว่า 55 ปี โรคเบาหวาน โรค ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และสูบบุหรี่ ผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นโรคหัวใจ และหลอดเลือด นอกจากการรับประทานยาตามค�ำแนะน�ำของแพทย์ แล้ว ยังต้องมีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมร่วมด้วย ได้แก่ การรับประทาน อาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง หมั่นออกก�ำลังกาย ลดความเครียด งดการสูบบุหรี่ เป็นต้น ส�ำหรับการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หรือตัน ท�ำได้โดยวิธีการฉีดสีสวนหัวใจ (coronary angiography) เพือ่ ดูหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตันทีจ่ ดุ ใด ก่อนทีจ่ ะตัดสินให้การรักษา ต่อไป ได้แก่ การท�ำบอลลูน หรือใส่ขดลวดเพือ่ ขยายหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งสามารถด�ำเนินการต่อเนื่องหลังการฉีดสีสวนหัวใจเลยก็ได้ for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
23
Q
of Life for
uality
ลดน�ผิดำ้ วิหนัธสี ง่ กผลร้ายกว่าทีค่ ดิ
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์
“หลายคนอาจเคยทดลองลดน�ำ้ หนักด้วยตนเอง โดยดูเคล็ดลับ จากอินเทอร์เน็ต หรือลดตามความพอใจของตัวเองจนประสบกับการมี น�ำ้ หนักขึน้ ๆ ลง ๆ อยูเ่ สมอ คุณรูห้ รือไม่วา่ สิง่ ทีค่ ณ ุ ก�ำลังปฏิบตั อิ ยูอ่ าจ เป็นบ่อเกิดของโรคร้ายและท�ำลายสุขภาพของคุณได้” นายแพทย์ สมบูรณ์ รุง่ พรชัย แพทย์ดา้ นเวชศาสตร์ชะลอวัย เวชศาสตร์การกีฬา และการลดน�้ำหนัก สูตินรีเวชวิทยา ฮอร์โมนและสุขภาพทางเพศ ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ กล่าว “ปัจจุบนั ปัญหาเรือ่ งความอ้วนมีความสลับซับซ้อนมากขึน้ ทัง้ นี้ เพราะมีความเกี่ยวโยงกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของคนในปัจจุบัน เห็นได้จากข้อมูลข่าวสารทางอินเทอร์เน็ตและโฆษณาอาหารมากมาย ที่อาจท�ำให้เกิดความเข้าใจผิด จนอาจเกิดผลร้ายต่อสุขภาพของ ผู้บริโภค ทั้งนี้เพราะการโฆษณาชวนเชื่อดังกล่าวอาจไม่เหมาะสม ต่อสุขภาพของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน หรืออาจเป็นการปฏิบัติที่ผิดวิธี” นายแพทย์สมบูรณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า “การลด น�ำ้ หนักเป็นปัญหาของคนทุกวัย เนือ่ งจากความอ้วนเป็นสัญญาณของ ความแก่ ซึ่งไม่ใช่เพียงแก่แค่อายุเท่านั้น แต่ยังหมายถึงสภาพร่างกาย ที่แก่ชราลง และนั่นยังหมายถึงความเสี่ยงต่อการเป็นโรคต่าง ๆ ที่เพิ่ม มากขึ้นอีกด้วย โดยปัญหาการลดน�้ำหนักในแต่ละช่วงวัยมีมุมมองที่ แตกต่างกัน” กลุ่มเด็กอ้วน ปัญหาของคนกลุ่มนี้ คือ โภชนาการที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่จึงไม่ควรตามใจลูก ควรให้ลูกทานอาหารอย่าง เหมาะสม ทั้งนี้อาจขอความร่วมมือจากทางโรงเรียนให้ช่วยดูแลและ แนะน�ำเด็กในการรับประทานอาหารอีกทางหนึง่ เนือ่ งจากอาหารทีไ่ ม่มี ประโยชน์ยังมีขายทั่วไปตามรั้วโรงเรียน และเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าใน ปัจจุบันยังท�ำให้เด็กหันมาเล่นเกมมากกว่าการออกก�ำลังกาย ดังนั้น ผู้ปกครองควรพาลูก ๆ เล่นกีฬามากขึ้น เพื่อใช้เวลาเล่นเกมให้น้อยลง
24
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
กลุ่มคนท�ำงาน ปัญหาหลักของคนกลุ่มนี้มาจากความเครียด การออกก�ำลังกายผิดวิธี การรับประทานอาหารในปริมาณมากโดย เฉพาะเครื่องดื่ม นอกจากนี้กลุ่มคนที่ชอบท�ำน�้ำหนักตัวเด้งขึ้นเด้งลง หรือที่เรียกว่า Weight Cycling เช่น ปฏิบัติตามสูตรลดน�้ำหนักโดย ไม่ระมัดระวัง เพราะคิดว่าสุดท้ายก็จะลดน�้ำหนักใหม่ได้ ท�ำให้ระบบ เผาผลาญของร่างกายเสียหาย จนอาจป่วยเป็นโรคไขมันพอกตับ หรือ บางรายอาจมีนำ�้ หนักตัวขึน้ ทัง้ ๆ ทีไ่ ม่ได้รบั ประทานอาหารปริมาณมาก กลุม่ คนอายุ 35 ปีขนึ้ ไป คุณผูห้ ญิงกลุม่ นีอ้ ยูใ่ นวัยหมดประจ�ำ เดือน ส่วนคุณผู้ชายก็เป็นวัยท�ำงานที่ต้องเผชิญกับความเครียดสูง ปัญหาการลดน�้ำหนักมีความเกี่ยวข้องกับระดับฮอร์โมน ซึ่งส่งผล กระทบโดยตรงต่ อ ระบบเผาผลาญของร่ า งกาย ท� ำ ให้ ค นกลุ ่ ม นี้ น�้ำหนักขึ้นง่าย ประกอบกับการออกก�ำลังกายน้อยเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว นายแพทย์สมบูรณ์ ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า “การลด น�้ำหนักที่ถูกวิธี คนไข้ควรได้รับค�ำปรึกษาจากแพทย์ และรับการ ตรวจร่างกายเพื่อทราบถึงเหตุปัจจัยที่ท�ำให้เกิดความอ้วนที่แท้จริง อาทิ โภชนาการไม่ครบถ้วน ขาดสารอาหารบางชนิด ระดับฮอร์โมนปกติ หรือไม่ เพราะคนไข้แต่ละคนมีอายุและสาเหตุของความอ้วนแตกต่าง กัน วิธกี ารลดน�ำ้ หนักจึงขึน้ อยูก่ บั ปัญหาของแต่ละบุคคลด้วย นอกจาก การออกก�ำลังกายและการควบคุมอาหารแล้ว คนไข้ควรก�ำจัดสารพิษ ออกจากร่างกายด้วยการท�ำขจัดสารพิษออกจากกระแสเลือด เพราะ เมื่อน�้ำหนักเพิ่มขึ้น ร่างกายจะสะสมสารเคมีต่าง ๆ เช่น สารกันบูด พลาสติก ยาฆ่าแมลง ไว้ในชั้นไขมัน แต่เมื่อน�้ำหนักตัวหรือปริมาณ ไขมันในร่างกายลดลง สารเคมีที่ถูกกักเก็บในชั้นไขมันจะถูกผลักกลับ เข้าสู่กระแสเลือด” นายแพทย์สมบูรณ์ กล่าวสรุป
Q
Management for
uality
Finance Strategy Report Marketing & Branding People Idol & Model
Q
Finance for
uality
ปฏิสมั พันธ์ระหว่าง ญีป่ นุ่ และสหรัฐ
ภายใต้ “Donald Trump”
รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
เมื่อ
ต้นเดือนธันวาคม 2016 ภายหลังจากที่ “Donald Trump” ประสบกับชัยชนะในการ เลือกตั้งประธานาธิบบดีได้เพียงไม่ถึงเดือน ตึก “Trump Tower” ที่ตั้งตระหง่านอยู่ ในมหานครนิวยอร์ค ก็มีโอกาสต้อนรับอาคันตุกะนักธุรกิจต่างชาติรายหนึง่ นัน่ ก็คอื “Masayoshi Son” “CEO” ของอาณาจักร “Softbank” อันโด่งดังของแดนซามูไรนั่นเอง มีข้อที่น่าสังเกตว่า อาคันตุกะชาวอาทิตย์อุทัยไม่ว่าจะเป็นจากฝ่ายรัฐบาลหรือเอกชน จะเป็น “แขก” รายแรก ๆ ของ “Trump” ซึง่ ยังเป็นเพียง “ว่าทีป่ ระธานาธิบดี” ในช่วงเวลาดังกล่าว โดย “ชินโซ อาเบ” นายกรัฐมนตรีญปี่ นุ่ คือ ผูน้ ำ� ต่างชาติทมี่ โี อกาสเข้าเยีย่ มพบ “Trump” ภายหลังการเลือกตั้งเพียงสัปดาห์เศษ (17 พฤศจิกายน 2016) ตามด้วย “Masayoshi Son” ซึ่ง ก็เป็นเอกชนต่างชาติรายแรก ๆ ที่เข้าเยี่ยมคารวะ Trump ที่อาณาจักร “Trump Tower” เช่นกัน การพบกันของ Trump กับ Son ดูจะเป็นข่าวคราวเกรียวกราวเป็นพิเศษ และดูเหมือน ทาง “Trump Tower” เองก็ตั้งใจให้เป็นข่าวด้วย
26
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
ส่วน “เจ้าของ” “Softbank” อย่าง Masayoshi Son ก็คงไม่ต้องสงสัยว่า การตก เป็นข่าวดังกล่าวได้สร้างผลพวงทางด้านบวก ให้แก่ตัว Son เองและ Softbank อย่างไรบ้าง ดังนั้น การพบกันระหว่างบุรุษร่าง อวบที่เป็นผู้ฝ่าด่านชนะเลือกตั้งชนิด “หั ก ปากกาเซียน” อันส่งผลให้ “ปากกา” ต้องขาด ตลาด เพราะถูก “เซียน” ทัว่ โลกน�ำไปใช้เขียน และต้อง “หัก” คามือกันอย่างทั่วถ้วนหน้า ดังกล่าวกับ “Son” จึงเป็นกลยุทธ์แบบ “ต่างคนต่างได้” (win-win strategy) ที่สร้างสีหน้า อิ่มเอิบเบิกบานแก่ทั้งคู่นั่นเอง
เพราะ Trump เอง สามารถ “โดยสาร” ข่าวดังกล่าวเพือ่ ป่าว ประกาศให้เห็นว่า ตนได้ทำ� งาน “เชิงรุก” ในการสนองนโยบายหลักทีส่ ดุ หลักหนึง่ ทีต่ นได้รณรงค์ไว้ในช่วงหาเสียงเลือกตัง้ ประธานาธิบดีสหรัฐ ใน ช่วงก่อนหน้าวันที่ 8 พฤศจิกายน 2016 อันเป็นวันลงคะแนนเลือกตัง้ ผูน้ ำ� แห่งอาณาจักรอินทรีนนั่ เอง ถ้าลองแยกแยะดูแล้ว กล่าวได้วา่ นโยบายทีเ่ ป็น “หัวใจ” ส�ำคัญ และเป็นนโยบายทีท่ ำ� ให้ Trump สามารถคว�ำ่ Hillary Clinton “ตัวเก็ง” ในการชิงต�ำแหน่งประมุขท�ำเนียบขาว (White House) เมื่อต้นเดือน พฤศจิกายนปีที่ผ่านมาก็คือ นโยบายการเพิ่มการจ้างงานหรือการน�ำ “งาน” จากต่างประเทศกลับสูแ่ ผ่นดิน “ลุงแซม” โดยการประกาศว่า ใน ช่วงประมาณทศวรรษข้างหน้านี้ จะต้องมีการจ้างงานใหม่ ๆ ในอาณาจักร อินทรี เพิม่ ขึน้ ถึง 25 ล้านต�ำแหน่งงาน หรือ 2.5 ล้านต�ำแหน่งงานต่อปี นัน่ เอง นโยบายดังกล่าวได้ทงั้ “เข้าหู” และ “เข้าตา” บรรดาผูใ้ ช้แรงงาน ในรัฐต่าง ๆ ทีเ่ ป็น “Swing States” ของสหรัฐ ไม่วา่ จะเป็นรัฐมิชแิ กนที่ เมือง Detroit ตัง้ อยูร่ ฐั วิสคอนซิล รัฐแพนซินวาเนีย รัฐโอไฮโอ ฯลฯ ที่ ส่งผลให้ Trump สามารถชนะเลือกตัง้ แบบ “Electoral College Vote” ชนิดค่อนข้างขาดลอยและน�ำแบบ “ม้วนเดียวจบ” ในวันที่ 8 พฤศจิกายน ปีทแี่ ล้ว แม้วา่ ใน “Popular Vote” นัน้ “Hillary Clinton” จะชนะ Trump อยูก่ ว่าสองล้านเสียงก็ตาม เพราะตามกติกาทางการเมืองของสหรัฐนัน้ ผูท้ ชี่ นะใน “Electoral Vote” คือ ผูท้ กี่ ำ� ชัยจากการเลือกตัง้ ทีแ่ ท้จริงนัน่ เอง “ศักดา” ทางการเมืองที่ Trump มีบทบาทส�ำคัญครัง้ นี้ ก็คอื การ ที่พรรค Republican ได้ชัยชนะแบบ “3R’s” นั่นก็คือ นอกจากชนะ เลือกตัง้ ในต�ำแหน่งประธานาธิบดีแล้ว ยังชนะทัง้ การเลือกตัง้ ผูแ้ ทนทัง้ ใน สภาล่างและสภาสูง อันเป็นปรากฏการณ์ที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนักใน สาระบบการเมืองแดนอินทรี ทีม่ กั นิยมการเมืองแบบ “ถ่วงดุล” เพือ่ ไม่ให้ พรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึง่ มีอำ� นาจ “เบ็ดเสร็จ” เกินไปนัน่ เอง เมื่อ Trump ที่เป็นสมาชิก “หน้าใหม่” ของพรรครีพับลิกัน และ มีปัญหามากมายกับบรรดาผู้น�ำพรรคหลายคนหลายระดับในพรรค
อย่างต่อเนื่องกันมา จนถึงขนาดที่หลายคนประกาศตนไม่ยอมร่วม “สังฆกรรม” กับ Trump ในช่วงก่อนการเลือกตัง้ สามารถแสดงบทบาท น�ำพาพรรคชนะเลือกตัง้ ชนิด “กวาด” ทุกกระดานดังกล่าว สิง่ ที่ Trump จะต้องด�ำเนินการในระดับแรก ๆ ก็คือ การขับเคลื่อนนโยบายหลัก ๆ ที่ท�ำให้พรรคชนะเลือกตัง้ ในครัง้ นี้ ชนิดท�ำงาน “เชิงรุก” ก่อนทีจ่ ะมีการ เลือกตัง้ ทัง้ สภาสูงและสภาล่างใหม่ทจี่ ะเกิดขึน้ ทุก ๆ สองปีในแผ่นดิน อินทรีในครั้งต่อไป การพบปะกันระหว่าง Trump กับ Masayoshi Son แห่ง “Softbank” ในต้นเดือนธันวาคม อันเป็นช่วงที่ Trump ยังไม่ได้สาบานตนเข้า รับต�ำแหน่งประธานาธิบดีที่จะท�ำกันในวันที่ 20 มกราคมในปีแรกหลัง การเลือกตั้ง และกลายเป็นข่าวคราวออกไปทั่วโลก จึงเป็นปฏิบัติการ “เชิงรุก” ทางการเมืองของ Trump ทีป่ ระกาศนโยบายในช่วงหาเสียงไว้ ว่า สหรัฐจะต้องมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 2.5 ล้าน ต�ำแหน่งงาน ในช่วงที่ตนด�ำรงต�ำแหน่งผู้น�ำอยู่นั่นเอง โดย “CEO” ของ “Softbank” ประกาศว่าจะลงทุนภายในสหรัฐ คิดเป็นมูลค่าถึง 50,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และจ้างงานในเมือง “ลุงแซม” เพิ่มขึ้นอีก 50,000 ต�ำแหน่ง 4 ปี ข้างหน้านี้ อันเป็นช่วงที่ Trump ด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดีนั่นเอง การที่ “Son” สามารถ “ได้” หรือ “Win” จากการปฏิบัติข้างต้น ไปด้วย ที่เห็นอย่างชัดเจนและรวดเร็วทันใจ ก็คือ การที่หุ้นของ “Softbank” ได้พงุ่ ทะยานขึน้ อย่างทันตาเห็น ภายหลังจากการพบปะระหว่าง Trump และ Son ได้เกิดขึ้นในช่วงต้นธันวาคม 2016 ดังกล่าว โดย เพิ่มขึ้นไปถึง 5% แต่สำ� หรับผูท้ ตี่ ดิ ตามการเคลือ่ นไหวของ “Son” และ “Softbank” มาอย่างต่อเนื่องแล้ว ก็คือ ความกระหยิ่มยิ้มย่องในใจของ “Son” เอง ที่เคยพยายามขยายฐานการลงทุนของตนในสหรัฐมาแล้วหลายปี แต่ก็ยังไม่สามารถด�ำเนินการได้ดังใจหมาย เพราะถูกหน่วยงานรัฐที่ เกี่ยวข้องในแดนอินทรีเองท�ำตัวเป็น “จระเข้” ขวางคลองมาตลอด ในหลายขวบปีทผี่ า่ นมานี้ Son ได้เข้าไปลงทุนในสหรัฐ โดยซือ้ บริษัทที่ท�ำธุรกิจโทรศัพท์มือถือที่มีชื่อว่า “Sprint” ด้วยมูลค่านับหมื่น ล้านดอลลาร์ และต้องการซือ้ ธุรกิจประเภทเดียวกัน ทีม่ ขี นาดรองลงมา คือ “T-Mobile US” เพื่อที่จะเพิ่มขนาดการประกอบการในแดนอินทรี อันจะสามารถท�ำให้แข่งขันกับผูน้ ำ� ในธุรกิจนี้ คือ “AT&T” และ “Verizon” ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ก็ถูกขัดขวางกับองค์กรผู้คุมกฎ คือ “The US Federal Communications Commission” มาตลอด การเคลือ่ นไหวของ “Masayoshi Son” ครัง้ นี้ ไม่เพียงท�ำให้ราคา หุน้ ของ “Sprint” พุง่ ขึน้ ถึง 7% ภายหลังการพบกันของ Trump และ Son เท่านั้น หากแต่ยังท�ำให้ความหวังในการขยายเครือข่ายธุรกิจโทรศัพท์ ไร้สายของตนในสหรัฐเพิ่มสูงขึ้นด้วย
Vol.23 No.220 March-April 2017
Finance
27
Q
Strategy for
uality
ตอนที่ 1
(The Impact of Disruptive Technologies on Business Model and Competition)
เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี ผู้บริหารและชำ�นาญการด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ อาจารย์พิเศษและวิทยากรหลายสถาบัน dr.chatchai.thnarudee@hotmail.com
โม
เดลทางธุรกิจ (business model) และการแข่งขันทางธุรกิจใน ปัจจุบันเป็นสิ่งที่ปฎิเสธไม่ได้เลยว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปใน ทิศทางที่รวดเร็วและรุนแรงมากขึ้น หลาย ๆ ธุรกิจถ้าไม่ปรับตัวก็ต้อง หายสาบสูญไป ดังนั้น หลาย ๆ บริษัทจึงจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนรูปแบบ การท�ำธุรกิจไปในรูปแบบใหม่เพื่อรับมือกับคู่แข่ง (คู่แข่งที่ปรับตัวได้) และกับผู้เล่นรายใหม่ที่เข้ามาในตลาดมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้อง ปรับตัวเพื่อรองรับกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก (เช่น Gen Y) ปัจจัยส�ำคัญในการที่ท�ำให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไป อย่างมากในยุคนี้ จนส่งผลให้โมเดลทางธุรกิจและการแข่งขันทางธุรกิจ ต้องเปลีย่ นแปลงตามก็คอื เทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึง่ สามารถสร้าง
28
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
ความแตกต่างให้กับธุรกิจ (differentiation strategy) และเพิ่ม ประสิทธิภาพในการลดต้นทุนได้อย่างเป็นเลิศ (cost leadership strategy) ในเวลาเดียวกันได้อย่างลงตัว ค�ำที่ท่านผู้อ่านได้ยินมากขึ้น และบ่อยมากขึ้นในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ก็คือ Disruptive Technology หรือ Disruptive Innovation จะเห็นได้ว่า Disruptive Technology หรือ Disruptive Innovation นี้เองได้เป็นศูนย์กลางในการเปลี่ยนแปลงของ อุตสาหกรรมและธุรกิจในหลาย ๆ เรื่องหลาย ๆ ประเด็น ไม่ว่าจะเป็น ด้าน FinTech, InsureTech, EdTech, RetailTech, HealthTech และ EnergyTech การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมรอบทีส่ ี่ (The Fourth Industrial Revolution) หรือแม้แต่ Thailand 4.0 ทีเ่ ป็นทีก่ ล่าวขานอย่างมาก ในยุคนี้
Strategy
Gartner
Top 10 Strategic Technology Trends 2017 Intelligent
Applied AI & Advanced Machine Learning
Intelligent Apps
Intelligent Things
Digital
Virtual & Augmented Reality
Digital Twins
Blockchains and Distributed Ledgers
Mesh
Conversational Systems
Mesh App and Service Architecture
Digital Technology Platform
Adaptive Security Architecture
gartner.com/SmarterWithGartner
Gartner ▲ รูปที่
1 Top 10 Strategic Technology Trends 2017 (ที่มา: Gartner)
Vol.23 No.220 March-April 2017
ปั จ จุ บั น Disruptive Technology หรือ Disruptive Innovation เป็นศัพท์ใหม่ที่ยัง ไม่มคี ำ� นิยามในภาษาไทยอย่าง ชัดเจน แต่ก็มีหลายบทความที่ ได้ขยายความและยกตัวอย่าง เพือ่ ให้สงั คมเข้าใจมากขึน้ ซึง่ จะ ว่าไปจริง ๆ แล้วค�ำนี้ถึงแม้จะ เป็ น ค� ำ ใหม่ แ ต่ สั ง คมและโลก ของเราได้ มี ป ระสบการณ์ กั บ เทคโนโลยีพลิกธุรกิจและชีช้ ะตา โลกมาหลายครั้งแล้วตั้งแต่ยุค การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมรอบที่ หนึ่ง จนมาถึงปัจจุบันก็คือยุค การปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ (สามารถอ่ า นเพิ่ ม เติ ม ได้ จ าก For Quality Magazine ใน คอลัมน์ Quality Strategy ในปี 2559 ที่ผ่านมา บทความเรื่อง การปรั บ เปลี่ ย นองค์ ก รไปสู ่ ความเป็ น เลิ ศ เพื่ อ รองรั บ การ ปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมรอบที่ สี่ ) ผู้เขียนจึงขอเรียก Disruptive Technology หรือ Disruptive Innovation ว่าเป็นเทคโนโลยี พลิกธุรกิจและชี้ชะตาโลก ซึ่ง ทาง Gartner ได้ออกมาเปิดเผย ถึงทิศทางเทคโนโลยี 10 อย่างใน ปี 2560 (Top 10 Strategic Technology Trends 2017) ซึ่ง แบ่งออกมาได้หลัก ๆ อยู่ 3 ด้าน คือ ด้านความฉลาดของเทคโนโลยี (intelligent) ด้านดิจิทัล (digital) และ ด้านการเชื่อมต่อ ระหว่างคน กระบวนการท�ำงาน สิ่งต่าง ๆ และระบบนิเวศของ ดิ จิ ทั ล (mesh) ดั ง แสดงใน รูปที่ 1
29
Vol.23 No.220 March-April 2017
Strategy
30
➧ ด้านความฉลาดของเทคโนโลยี (intelligent) 1. AI & Advanced Machine Learning 2. Intelligent Apps 3. Intelligent Things ➧ ด้านดิจิทัล (digital) 1. Virtual & Augmented Reality 2. Digital Twin 3. Blockchain ➧ ด้านการเชือ่ มต่อระหว่างคน กระบวนการท�ำงาน สิง่ ต่างๆ และระบบนิเวศของดิจิทัล (mesh) 1. Conversational Systems 2. Mesh App and Service Architecture 3. Digital Technology Platforms 4. Adaptive Security Architecture เทคโนโลยีเหล่านี้เป็นพื้นฐานและเป็นจุดเริ่มต้นที่ส�ำคัญ ที่ส่งเสริมความส�ำเร็จของการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ สามารถ เกิดขึ้นได้อย่างลงตัวและรวดเร็ว และมีศักยภาพในการขับเคลื่อน
การเปลี่ยนแปลงที่ส�ำคัญในหลายอุตสาหกรรม รวมถึงสามารถส่ง ผลกระทบข้ามอุตสาหกรรมและธุรกิจกันได้ และเป็นตัวขับเคลือ่ นและ สร้างการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคในยุคปัจุบันและใน อนาคต ซึง่ แน่นอนทีส่ ดุ ธุรกิจใดทีไ่ ม่สามารถปรับตัวและน�ำเทคโนโลยี พลิกธุรกิจและชี้ชะตาโลก (disruptive technologies) มาปรับกับ โมเดลทางธุรกิจของบริษทั ตนเอง ธุรกิจนัน้ ๆ อาจจะต้องหายสาบสูญ ไปในที่สุด ! ในฉบับหน้าเราจะมาพูดคุยให้ละเอียดขึ้นถึงเทคโนโลยีพลิก ธุรกิจและชี้ชะตาโลก (disruptive technologies) ที่ทาง Gartner ได้ คาดคะเนไว้และเทคโนโลยีและนวัตกรรมดังกล่าวจะสามารถพลิก ธุรกิจและชี้ชะตาโลกได้อย่างไร และทางผู้เขียนจะวิเคราะห์ให้ฟังว่า เทคโนโลยี พ ลิ ก ธุ ร กิ จ และชี้ ช ะตาโลกนั้ น จะส่ ง ผลอย่ า งไรต่ อ อุ ต สาหกรรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมการเงินและการธนาคาร อุตสาหกรรมประกันภัย อุตสาหกรรมการศึกษา อุตสาหกรรมขายปลีก อุตสาหกรรมสุขภาพและการแพทย์ และการข้ามอุตสาหกรรมที่ แตกต่างกัน รวมถึงต่อทิศทาง Thailand 4.0 อย่างไร... พบกันใหม่ ฉบับหน้า !
อ่านต่อฉบับหน้า
Front Runner
Q
Report for
uality
– Pixta พัฒนาและบริหารเว็บไซต์ จ�ำหน่ายผลงานดิจทิ ลั
ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น orbusiness@hotmail.com
บริษัทนี้ได้รวบรวมภาพถ่ายหรือภาพวาดของช่างภาพสมัคร เล่น และน�ำมาจ�ำหน่ายทางเว็บไซต์ น�ำเสนอผลงานที่มีคุณภาพระดับ มืออาชีพในราคาทีต่ ำ�่ สร้างความนิยมให้แก่ภาคธุรกิจและคนทัว่ ไปเป็น อย่างมาก เว็บไซต์นี้ชื่อ “iemo” ที่น�ำเสนอข่าวสาร Interior และ Reform เป็นที่นิยมของแม่บ้านวัย 20-30 ปีเป็นอย่างมาก เมื่อคลิกเข้าไปดูจะ พบภาพถ่ายบรรยากาศที่สดใสของเฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า พร้อม ค�ำอธิบาย ซึ่งในเว็บไซต์นี้ มีภาพถ่ายเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และต้องการ ภาพถ่ายจ�ำนวนมากที่เหมาะสมมาเพิ่มเติม โดยเมื่อต้นปีที่ผ่านมาได้ เว็บไซต์บริการที่ให้สามารถซื้อภาพถ่ายที่มีคุณภาพดี ในราคาที่ต�่ำได้ ทางอินเทอร์เน็ต ซึ่งผู้น�ำเสนอบริการนี้ คือ บริษัท Pixta แม่บ้านที่ ต้องการตกแต่งบ้าน สามารถหาภาพที่ต้องการได้ด้วยราคาประหยัด เพราะหากเป็นภาพของมืออาชีพแล้วอย่างน้อยอาจต้องเสียค่าภาพถึง ใบละ 1 หมืน่ เยนเลยทีเดียว แต่ Pixta จ�ำหน่ายให้ในราคาเพียง 39 เยน หากท�ำสัญญาเป็นปี และมีสญ ั ญาว่าซือ้ ได้วนั ละไม่เกิน 25 ใบ นอกจาก บุคคลทั่วไป หรือเว็บไซต์ iemo แล้ว บริษัทน�ำเที่ยวอย่าง Jalpack ก็ ยังซือ้ ภาพจาก Pixta มาใส่ในแผ่นปลิวโฆษณาของบริษทั ตนเองอีกด้วย บริษัทที่ใช้บริการของ Pixta เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เป็นต้นว่า พนักงาน บริษทั ต้องการภาพถ่ายไปเป็นข้อมูลน�ำเสนอให้แก่ลกู ค้า ก็ซอื้ ภาพถ่าย มาใช้เช่นเดียวกัน ในปีหนึ่ง ๆ จึงมีจ�ำนวนลูกค้า (account) ที่มาใช้ บริการจ�ำนวนถึง 1.7 แสนราย for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
31
Vol.23 No.220 March-April 2017
Report
32
บริษทั Pixta เริม่ ก่อตัง้ ในปี 2005 โดย Furumata Daisuke และ ได้เริ่มต้นบริการในปี 2006 Furumata ได้รับอิทธิพลจากบิดามารดา ของตนเองทีบ่ ริหารบริษทั หลายแห่ง ในช่วงนักศึกษาก็มคี วามสนใจใน การบริหารธุรกิจ โดยได้เริ่มต้นสนใจธุรกิจ e-Commerce จากนั้นได้ เริ่มต้นธุรกิจการพิมพ์ ในช่วงหนึง่ มีความนิยมการใช้กล้องถ่ายรูปมืออาชีพอย่างมาก การบริการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตก็แพร่หลาย จึงนึกถึงการด�ำเนิน ธุรกิจทีจ่ ำ� หน่ายภาพถ่ายดิจทิ ลั ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง วัสดุตา่ ง ๆ เช่น ภาพถ่าย หรือภาพวาด มาจากศิลปินสมัครเล่น ทีเ่ รียกว่า “Creator” ทีข่ นึ้ ทะเบียน กับ Pixta โดยจะต้องผ่านการพิจารณาผลงานจากทีมงานของบริษัท เสียก่อนว่ามีคณ ุ ภาพดีหรือไม่ อัตราส่วนการขายได้นนั้ มีสงู ถึง 70-80% เมื่อขายได้ก็จะจ่ายค่าตอบแทนให้กับเจ้าของผลงาน ส่วนการจ่ายนั้น ก็มตี งั้ แต่ 20% ของยอดเงินทีข่ ายได้ และเคยจ่ายสูงสุดถึง 60% จ�ำนวน Creator ที่ขึ้นทะเบียนก็มีถึง 1.73 แสนคน ยอดภาพที่จ�ำหน่ายได้มีถึง 13.8 ล้านภาพ ส่วนลิขสิทธิ์ของผลงานนั้นจะเป็นของเจ้าของผลงาน ที่ผ่านมามี Creator บางคนสามารถท�ำเงินได้ถึงเดือนละแสน เยน ซึ่งได้ส่งภาพถ่ายนิ่งถึง 3,000 ใบ และภาพเคลื่อนไหวกว่า 700 เรื่อง ส่วนรายได้รวมของบริษัทนั้น ในปี 2014 สามารถท�ำได้ถึง 1,000 ล้านเยน ท�ำก�ำไรในรอบ 4 ปี ในปีนี้ ตั้งเป้าหมายที่ก�ำไร 110 ล้านเยน
เพิ่มขึ้น 12% แล้ว เพื่อเตรียมตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์ ในขณะเดียวกัน ก็เตรียมตัวขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ โดยสร้างฐานไว้เรียบร้อยแล้ว ที่สิงคโปร์ และไต้หวัน เปิดโอกาสให้คนในต่างประเทศสามารถสร้าง ผลงานส่งมาขึ้นทะเบียนได้ แม้แต่ในประเทศไทยและสิงคโปร์เองก็มี Creator ขึ้นทะเบียนหลายร้อยคน แม้แต่จากยุโรปก็มีเพิ่มขึ้นเช่นกัน ประเด็นปัญหาในอนาคตก็คอื การยกระดับคุณภาพของผลงาน ทีส่ ง่ มา สร้างระบบการตรวจผลงานทีส่ งู ขึน้ รวมทัง้ การจัดสัมมนาสอน การถ่ายภาพในที่ต่าง ๆ เพิ่มความสามารถของ Creator มือสมัครเล่น ให้เทียบเท่ามืออาชีพ และในอนาคตราคาผลงานเหล่านัน้ จะสร้างความ ล�ำบากให้มืออาชีพอย่างแน่นอน
Q
Report for
uality
อุตสาหกรรมตัง้ เป้าดัน SMEs พืน้ ทีต่ ะวันตกรับดีมานด์ปี 60
กองบรรณาธิการ
ส�ำอาง ด้วยการใช้ข้อได้เปรียบจากความ หลากหลายทางทรัพยากร ความเพียบพร้อม ในระบบคมนาคมขนส่ง มาพัฒนาเพื่อการ ส่งออกและขยายการลงทุน คุณพรเทพ การศัพท์ รองอธิบดีกรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า “การส่งออก สินค้าอุตสาหกรรมของไทย มีอตั ราการขยาย ตัวที่สูง รวดเร็ว และอยู่ในระดับที่ต่อเนื่อง เนื่องจากความได้เปรียบทางด้านทรัพยากร รวมถึงคุณภาพของสินค้าและผลิตภัณฑ์ทอี่ ยู่ ในเกณฑ์ดีได้มาตรฐานสากล จึงท�ำให้การ
▲
กระทรวงอุตสาหกรรม เดินหน้าผลัก ดันผู้ประกอบการ SMEs ในภาคตะวันตกรับ การเติบโตเศรษฐกิจของสหภาพเมียนม่าร์ หลังพบมีการขยายตัวของ GDP ในปีที่ผ่าน มากว่าร้อยละ 7.8 พร้อมเตรียมส่งเสริม 5 กลุ่มอุตสาหกรรมที่ประเทศเมียนมาร์มีความ ต้องการจากภูมิภาคดังกล่าวของไทยอย่าง ต่อเนื่อง ได้แก่ อุตสาหกรรมเพื่อการก่อสร้าง และสาธารณู ป โภค อุ ต สาหกรรมอาหาร แปรรูป อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร และอุตสาหกรรมเครื่อง
คุณพรเทพ การศัพท์
รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
33
Report
Vol.23 No.220 March-April 2017
ส่ ง ออกสิ น ค้ า ของไทยสามารถเข้ า สู ่ ก าร แข่งขันในตลาดโลกได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะ สหภาพเมียนม่าร์ถือเป็นประเทศที่ผู้ประกอบการต่างให้ความสนใจและนิยมส่งออก สินค้าไปยังพืน้ ทีด่ งั กล่าวเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยขณะนีถ้ อื เป็นประเทศทีน่ า่ ลงทุนมากทีส่ ดุ ในภูมิภาคอาเซียน เนื่องด้วยการเติบโตของ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ หรือ GDP ที่มีการเติบโตในปีที่ผ่านมากว่าร้อยละ 7.8 รวมถึงพื้นที่ของประเทศที่ยังมีทรัพยากร จ�ำนวนมาก การคมนาคมที่สะดวกต่อการ ขนส่งในเขตชายแดน ประกอบกับนโยบาย การพัฒนาประเทศและอัตราการเพิ่มขึ้นของ ประชากร จึงท�ำให้ความต้องการสินค้าทีผ่ ลิต และมีคุณภาพต่าง ๆ จากประเทศไทยได้รับ อานิสงส์จากความต้องการในด้านเหล่านีเ้ พิม่ มากขึ้นตามไปด้วย” คุณพรเทพ กล่าวต่อว่า “ประเทศไทย มีภาคอุตสาหกรรมการผลิตกว่า 5 แสนราย ดั ง นั้ น การจะประกอบธุ ร กิ จ และการค้ า ระหว่างประเทศกับเมียนม่าร์จึงยังสามารถ ท� ำ ได้ อี ก มาก ซึ่ ง จะช่ ว ยประหยั ด ในเรื่ อ ง ค่ า แรงงานที่ ล ดลง รวมถึ ง ส่ ง ผลดี ใ นเรื่ อ ง ช่องทางการจ�ำหน่ายสินค้าที่จะเกิดขึ้นใน ระยะยาว พร้อมทัง้ เป็นการสร้างพันธมิตรทาง ธุรกิจ ที่จะก่อให้เกิดความร่วมมือและการ ช่วยเหลือกันได้ตอ่ ไป ขณะเดียวกันประเทศไทย
34
ก็ มี ก ลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมในภู มิ ภ าคตะวั น ตก ที่ ร องรั บ และสนั บ สนุ น ต่ อ ความต้ อ งการ เหล่านั้นได้อย่างดีเยี่ยม ด้วยปัจจัยที่เอื้ออ�ำนวยและได้เปรียบกว่าประเทศคู่แข่งอื่นที่ อยูไ่ กล ประกอบกับการมีแหล่งทรัพยากรและ ระบบการคมนาคมขนส่งเป็นหัวใจหลัก ซึ่งใน อนาคตจะส่งผลดีตอ่ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศและเป็ น เส้ น ทางสู ่ ก ารลงทุ น อีกทั้งยังสามารถพัฒนาสู่การเป็นฐานการ ผลิตหลักทีม่ ศี กั ยภาพรองรับผูบ้ ริโภคได้อย่าง ทั่วถึง” นายพรเทพ ยังได้กล่าวเพิม่ เติมอีกว่า “ในปัจจุบันภาคตะวันตกมีจ�ำนวน SMEs มากกว่า 230,000 กิจการ (ที่มา สสว.) ใน จ�ำนวนนี้มีอุตสาหกรรมที่ก�ำลังเติบโตและ เป็นทีต่ อ้ งการในเมียนมาร์ทงั้ หมด 5 อุตสาหกรรม ประกอบด้วย 1.อุตสาหกรรมเพื่อการ ก่อสร้างและสาธารณูปโภค 2. อุตสาหกรรม
อาหารแปรรูป 3. อุตสาหกรรมเครือ่ งใช้ไฟฟ้า 4. อุ ต สาหกรรมเพื่ อ การเกษตร และ 5. อุตสาหกรรมเครื่องส�ำอาง ซึ่งสินค้าเหล่านี้มี อัตราการผลิตและเติบโตเป็นจ�ำนวนมากใน ภูมิภาคตะวันตก และผู้บริโภคส่วนใหญ่ใน เมียนม่าร์ให้การยอมรับในด้านคุณภาพและ น�ำเข้าสินค้าเหล่านี้จากประเทศไทย โดย ตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมาไทยมีมูลค่า ส่งออกเพิ่มขึ้นทุกปี และในปีที่ผ่านมาไทยมี มูลค่าส่งออกไปยังพม่าได้กว่า 1 แสนล้านบาท (กรมการค้าต่างประเทศ) จากจ�ำนวน ประชากรของพม่าในปัจจุบันที่มีมากกว่า 60 ล้านคน ซึ่งถือเป็นสัญญาณทางการค้าที่ดี ทีจ่ ะช่วยให้ชอ่ งทางในการส่งออกสินค้า มีการ ขยายตัวไปในตลาดใหม่ ๆ นอกเหนือจาก ตลาดเดิม และถือเป็นกลยุทธ์ส�ำคัญที่ต้อง ผลักดันเพื่อให้เกิดยอดขายที่เพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มีความเชือ่ มัน่ ว่า กลุม่ SMEs ในภาคตะวันตก จะสามารถพัฒนาเป็นศูนย์กลางและฐานการ ผลิ ต เพื่ อ รองรั บ และมี ส ่ ว นเอื้ อ ให้ ส ามารถ ขยายการส่งออกสินค้าจาก 5 อุตสาหกรรม ดังกล่าวในตลาดเมียนม่าร์ได้เพิม่ ขึน้ ด้วยการ ใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบที่มีในภูมิภาค ทัง้ ทรัพยากรทีเ่ พียบพร้อมศักยภาพและก�ำลัง ในการผลิตที่เข้มแข็ง และการดึงประโยชน์ จากการเป็นเขตติดต่อชายแดนในการขนส่ง สินค้าน�ำมาพัฒนาเพื่อการส่งออก และมุ่ง ขยายสู่การลงทุนต่อไปได้ในอนาคตอันใกล้” คุณพรเทพ กล่าวปิดท้าย
Q
Marketing & Branding for
uality
สร้าง Health Biz ตอนที่ 4 ติดตลาดด้วย Smart Content Marketing ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ต่อจากฉบับที่แล้ว
นอก
จากรูปแบบและประเภทของ Content Marketing ที่ ทีมวิจัยการตลาดวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัย มหิดล ประกอบด้วย คุณสหพล เจนธนสาร คุณดิษญา โกวิทยามงคล คุณภัททิยา ผุดผ่อง คุณญาญนทุ์ โตเลิศมงคล คุณวริษา สุระพัฒน์ คุณศศิธร ศิรเิ สรีมงคล คุณเมจุฑา พัฒนมุข คุณฉัตร์ฐติ า วิรยิ นิธเิ จริญ และคุณพิมพ์รพี สุรสนธิ พบว่า ส�ำคัญแล้ว จากการวิจัยตลาดกับ ผู้บริโภคอายุ 19-60 ปี จ�ำนวน 600 คน พบว่า คนแต่ละวัยสนใจใน รูปแบบเนื้อหาที่ต่างกัน
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
35
Marketing & Branding
Vol.23 No.220 March-April 2017
ส�ำหรับคนกลุ่มเจน Y นั้น เป็นกลุ่มที่สนใจในการดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมการออกก�ำลังกาย และเลือกรับประทานอาหารมีประโยชน์ โดยสื่อที่ใช้ในการหาข้อมูลสินค้าด้านสุขภาพมาจาก Facebook และ Line เป็นหลัก ส�ำหรับสาว ๆ เจนวาย การอ่านนิยายเป็นอีกหนึ่งแรง บันดาลใจในการกระตุ้นให้หันมาสนใจเรื่องสุขภาพด้วย ส�ำหรับหนุ่ม เจน Y มองว่า สุขภาพแข็งแรงต้องมาจากการออกก�ำลังกาย ส�ำหรับคนเจน X นัน้ นอกจาก Social Media อย่าง Facebook และ Line แล้ว สือ่ ในรูปแบบเดิมอย่างหนังสือก็เป็นอีกแหล่งข้อมูลเพือ่ ค้นหาสินค้าด้านสุขภาพ จากผลการวิจัย พบว่า เจน X หญิง กับ เจน X ชาย มีมุมมองในเรื่องสุขภาพแตกต่างกัน สาวเจน X มองว่า การดูแล สุขภาพจะช่วยให้ตนเองดูดีกว่าคนในวัยเดียวกัน ในขณะที่หนุ่มเจน X มองว่า การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องส�ำคัญและจ�ำเป็น ทั้งนี้เพราะการ
36
เป็นเสาหลักของครอบครัว สุขภาพดียอ่ มหมายถึงความสามารถในการ ท�ำงานที่มากขึ้นเพื่อคนในครอบครัว โดยจุดขายของสินค้าอาหาร เครื่องดื่มสุขภาพนั้น สาวเจน X ถูกใจมากหากจะช่วยท�ำให้สาวเจน X ดูดี ส�ำหรับคนเจน BB หรือ Baby Boomer เราพบว่าทันสมัยไม่แพ้ กับเจนอื่น ๆ โดยช่องทางการรับข่าวสารก็เป็น Line และ Facebook เหมือนกัน แต่พฤติการการสือ่ สารข้อมูลการตลาดด้านสินค้าหรือบริการ ด้านสุขภาพของคนเจน BB กลับพบว่ามากกว่าเจนเนอเรชั่นอื่น ๆ อีก โดยคนกลุม่ นีม้ องว่า การดูแลเลือกซือ้ สินค้าสุขภาพจะช่วยในการดูแล ตัวเองได้ดีขึ้น โดยเฉพาะเพศชายมองว่า สุขภาพแข็งแรง จะท�ำให้ ตัวเองไม่เป็นภาระกับผู้อื่น
Marketing & Branding แม้ผลการวิจัยจะพบว่า Line และ Facebook จะมาแรง ทีม วิจัยยังพบประเด็นที่น่าสนใจเพิ่มเติมว่า แต่ละเจนชอบรูปแบบของ การน�ำเสนอที่ต่างกันดังนี้
เห็นผลข้อมูลวิจัยแบบนี้แล้ว สินค้าของบริษัทไหน อยาก เจาะกลุ่มลูกค้ากลุ่มใด เลือกใช้ Content ที่โดนสิ่งที่อยากได้ในใจ กับรูปแบบทีใ่ ช่ รับรองว่าจะช่วยให้สนิ ค้าเข้าไปนัง่ ในใจลูกค้าได้แน่นอน
Vol.23 No.220 March-April 2017
หากเป็นเรื่องที่บริษัทอยากน�ำเสนอในเชิงอารมณ์ เทคนิค ต่าง ๆ ในการน�ำเสนอของเจน X อาจเหมือนกับการให้ความรู้ แต่สำ� หรับ เจน Y และ เจน BB กลับต้องเปลี่ยนไปดังนี้
37
Q
People for
uality
CEO หญิงเอเชีย รวยทีส่ ดุ ในอเมริกา รศ.สุพัตรา สุภาพ อาจารย์อาวุโส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การที่เป็นผู้หญิงจะประสบความส�ำเร็จด้านธุรกิจ ไม่ใช่ ของง่าย โดยเฉพาะในภาวะเศรษฐกิตที่แข่งขันสูง ที่ทุก ๆ วัน จะมี คู่แข่งมาแย่งตลาดของเราไปเมื่อไรก็ได้ ยิ่งเป็นผู้หญิงต่างถิ่น ยิ่งต้องใช้ทักษะความสามารถสูงกว่า ปกติ ซึ่งการจะท�ำธุรกิจให้ได้ดี จึงต้องเรียนรู้ให้มาก เป็นการหา ประสบการณ์ก่อนจะท�ำธุรกิจของตนเอง เข้าท�ำนองรู้เขา รู้เรา อย่าง น้อยก�ำชัยไปกว่าครึ่ง นี่คือ สิ่งที่ “ไทย ลี” (Thai Lee) ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้หญิงชาวเอเซีย ที่ร�่ำรวยที่สุดในอเมริกาจากการท�ำธุรกิจของตนเอง ไทย เป็นหญิงวัย 56 ปี ที่นิตยสารฟอร์บส์รายงานว่า เธอเป็น เจ้าของ SHI International Corp. ร้อยละ 60 มูลค่าประมาณ 36,000 ล้านบาท ไทย เกิดในกรุงเทพฯ พ่อเป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวเกาหลี ชือ่ ดัง ทีเ่ ดินทางไปทัว่ โลก เพือ่ ส่งเสริมและพัฒนาสาธารณะเกาหลีใต้ หลังสงคราม ไทย เป็นลูกสาวคนที่สองที่มีพี่สาว น้องสาวและน้องชาย อย่างละคน ส่วนใหญ่ ไทย จะอยู่ในเกาหลีใต้ ตั้แต่เล็ก เธอได้ชื่อว่า เป็นคนมีความคิดอ่านดี ขยัน และมักจะวางแผนเพื่ออนาคต
38
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
เซาลสท์ น้องสาวของ ไทย เล่าว่า พีส่ าวมักจะเล่นด้วยกัน และ พีส่ าวชอบวางแผน เพือ่ ความอยูร่ อด เธอมีความแน่วแน่ในสิง่ ทีค่ ดิ และ ท�ำ รวมทั้งเคยคิดว่า ถ้าเกาหลีเหนือบุกเกาหลีใต้จะเกิดอะไรขึ้น จุดพลิกผันของชีวติ ไทย เกิดขึน้ เมือ่ มาร์กาเร็ต พีส่ าวและเธอ ย้ายไปอยู่อเมริกากับเพื่อนบ้านเธอ โดยเข้าเรียนที่ Amherst College ในรัฐแมสซาชูเซตส์ จนเธอได้ปริญญาตรี 2 ใบ ทั้งชีววิทยา และ เศรษฐศาสตร์ เป็นการเรียนที่มุ่งหวังจะท�ำธุรกิจของตนเอง หลังจบปริญญาตรี ไทย กลับเกาหลีใต้ โดยไม่ละทิ้งความคิด จะท�ำธุรกิจของตนเอง แต่จะท�ำได้ตอ้ งหาประสบการณ์ดา้ นธุรกิจจาก บริษัทใหญ่ ๆ อย่างน้อยได้เงินและได้ความรู้ เช่น Daesung Industrial Co., Ltd. ในเซอูล ซึ่งท�ำให้เธอมีเงินพอเรียนปริญญาโท ไม่กี่ปี ต่อมา พ.ศ.2526 ไทย กลับไปเรียนที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ในรัฐ แมสซาชูเซตส์ (คณะบริหารธุรกิจ) อายุ 30 ปี ไทย เตรียมตัวก่อนจะท�ำธุรกิจของตนเองด้วย การท�ำงานหาความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และประสบการณ์จากบริษทั ต่าง ๆ ที่ Procter & Gamble อยู่ 2 ปี และ American Express อีก 2 ปี อายุ 40 ปี ไทย ตั้งบริษัทและแต่งงานมีลูก ๆ กับ Mr.Leo Koguan ทนายความ ซึ่งจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโคลัมเบียที่
ช่วยให้เธอมีบริษัทซอฟต์แวร์ในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ซึ่งมีแผนกย่อย ๆ ชื่อ Software House ทีข่ ายประกาศนียบัตรธุรกิจ (เป็นโปรแกรมคล้ายกับ โลตัส 1-2-3) ถึงแม้จะมีลูกค้าไม่กี่ราย แต่ลูกค้าส่วนใหญ่อยู่ในระดับ ต้น ๆ เช่น AT&T และยังมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้ขาย เช่น IBM การลงทุนเปิดบริษัทในวงเงิน 33 ล้านบาท ซึ่งเป็นเงินจากการ ออมและการกู้ยืมเล็กน้อย ต่อมาทั้งคู่ได้ผลักดัน Software House ให้ กลายเป็นการค้าระดับโลกในชื่อ Software House International ไทย กับ Mr.Leo มีลกู วัยรุน่ สองคน แต่ตอ้ งหย่าร้างกันใน พ.ศ. 2545 แต่เขายังเป็นประธานบริษัท โดยไม่มีหน้าที่บริหารงาน และยัง มีหุ้นร้อยละ 40 ใน SHI หากย้อนกลับไปดูผู้หญิงเก่งคนนี้จะต้องทึ่งที่ ไทย สามารถ ท�ำให้บริษทั เล็ก ๆ ท�ำซอฟต์แวร์ใกล้จะปิดตัวทีม่ พี นักงานแค่ 5 คน กลับ เจริญรุ่งเรืองเกือบ 2 แสนล้านบาท ยิ่งไปกว่านั้น ไทย ไม่ชอบออกสื่อ แม้แต่นติ ยสารฟอร์บส์ชอื่ ดัง ขอสัมภาษณ์กว่าเธอจะยอมให้สมั ภาษณ์ ว่า ประสบความส�ำเร็จเป็นผู้หญิงที่รวยที่สุดได้อย่างไร ไทย บอกว่า เธอบริหารงานและให้เกียรติทุกคน จะเห็นได้ว่า ไม่มที จี่ อดรถ หรือค่าตอบแทนพิเศษส�ำหรับผูบ้ ริหาร หลายคนคงสงสัย ที่ ไทย มีบริษัทขายซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เธอท�ำได้อย่างไร ทั้ง ๆ ที่เธอ ไม่มคี วามรูด้ า้ นเทคโนโลยีเลย ไม่วา่ จะเป็นการใช้คอมพิวเตอร์สว่ นตัว แต่เมือ่ เธอต้องมีบริษทั ด้านเทคโนโลยีของตนเอง เธอจึงต้องศึกษาเพือ่ จะได้ลงทุนอย่างถูกต้อง เมลิ ซ า เกรแฮม รองประธาน SHI พั ฒ นาธุ ร กิ จ ใหม่ ใ ห้ สัมภาษณ์นิตยสารฟอร์บส์อย่างไม่ปิดบังว่า ตอนนั้น SHI ไม่มีอะไร จริง ๆ แถมเงินมีไม่มาก ประชาสัมพันธ์ก็น้อย เธอเองเป็นคนแรกที่มา ท�ำงาน แต่เธอทุ่มใจเต็มทีเ่ มื่อเห็นไทยมุง่ มั่นตั้งใจท�ำงานแบบใจถึงใจ กับลูกน้อง ไทย บอกลูกน้องว่า ใครอยากท�ำอะไร ก็ตัดสินใจเองในการที่ จะติดต่อกับลูกค้าอยู่เธอจะมองดูอยู่ห่าง ๆ โดยให้ทุกคนเป็นประธาน ของตนเอง เมลิซา กล่าวว่า การให้อำ� นาจลูกน้องแบบนีม้ สี ว่ นส�ำคัญท�ำให้ ทุกคนท�ำงานด้วยใจเช่นกัน Antony Andreou หัวหน้าของ Dun & Bradstreet ที่เป็นลูกค้า ของ SHI มากว่า 15 ปี เสริมว่า นโยบายของ ไทย แบบนี้ ท�ำให้ลูกค้า รู ้ สึ ก เป็ น หุ ้ น ส่ ว น มากกว่ า การเป็ น ลู ก ค้ า ท� ำ ให้ ลู ก ค้ า มี ค วามรั ก และจงรักภักดี ไม่อยากไปรับบริการที่อื่น โดยเฉพาะถ้าผู้ขายบริการ ลูกค้าอย่างดียิ่งอย่าง SHI ซึ่ง ไทย เป็นผู้น�ำที่น่าทึ่ง ฉลาด สุภาพ และตั้งใจบริการอย่างเต็มที่ เมลิซา เสริมต่อว่า เธอจ�ำได้ว่าในบ่ายวันศุกร์หนึ่ง มีลูกค้า ซอฟต์แวร์ SHI รายใหญ่ที่สุด โทรมาบอกว่า บริษัทได้ซื้อคอมพิวเตอร์ หลายร้อยล้านบาทกับบริษทั อืน่ แต่ทางบริษทั อยากเปลีย่ นมาซือ้ ที่ SHI แทน โดยเริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่จะถึง
เมลิซา บอกว่า เธอไม่รู้ว่า SHI เคยขายคอมพิวเตอร์มาก่อน หรือไม่ แต่บริษทั ยักษ์ใหญ่นนั้ เป็นลูกค้าของบริษทั เธอ ลูกน้องบางคน จึงปรึกษา ไทย และบอก ไทย ว่านี่คือโอกาสที่ดี ไทย บอกว่า ท�ำไปเลย ทุกคนจึงช่วยกันหาทางเพื่อขาย คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ให้ได้ ซึ่ง 15 ปีต่อมา บริษัทยักษ์ใหญ่นั้นเป็น ลูกค้าหนึ่งในสามบริษัทที่ส�ำคัญและยิ่งใหญ่ที่สุด ไทย จะใช้ผู้ที่มีความช�ำนาญจากหลายสาขาและเพื่อเพิ่ม ความแข็งแกร่งให้กับ SHI เธอจึงจ้าง ฮอลล์ แจคเกอร์ ผู้ช�ำนาญด้าน การขายซอฟต์แวร์มมาเป็นรองประธานแผนกการตลาด เขาเสนอแนะ ว่าควรมีแผนกใหม่ที่บริการบริษัทเล็ก ๆ ในช่วงเศรษฐกิจถดถอยเมื่อ พ.ศ.2551 อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าเศรษฐกิจจะเป็นอย่างไร SHI ไม่กระทบ กระเทือน แต่ ไทย ก็ยอมรับความคิดของฮอลล์ที่ตั้งแผนกใหม่ ซึ่ง เป็นการเสี่ยงที่ต้องใช้จ่ายเพิ่ม แต่ 7 ปีต่อมาหน่วยงานฮอลล์ท�ำก�ำไร ถึง 52,800 ล้านบาท โดยไม่กระทบกระเทือนค่าใช้จ่ายส่วนรวม นอกจากนี้ใน 7 ปีนี้ บริษัทในเครือไม่ว่าภายในหรือนอก ประเทศก็เพิ่มขึ้นเท่าตัว ไทย ให้ข้อคิดว่า แม้บริษัทจะเจริญแค่ไหน ก็ อย่าหยุดแค่นั้น ถ้ามีศักยภาพพอ ซึ่งเธอเห็นว่า บริษัทของเธอยังไปได้ ไกล อนาคตอยากจะท�ำไอทีให้ครบวงจร เช่น CDW เทคโนโลยีการวิจยั เป็นต้น โลกปัจจุบันมีการคาดคะเนว่าคนจะใช้เงินส�ำหรับไอทีถึงนับ แสน ๆ ล้าน ๆ ล้านบาท และแต่ละปีก็เพิ่มมากขึ้น SHI จึงไม่อยากปล่อยโอกาสนี้ให้หลุดลอยไป และพยายาม พัฒนาสายธุรกิจใหม่ ๆ เป็นการหาซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ แม้จะยากก็ต้อง ท�ำและใฝ่รู้ และท�ำให้ผู้บริโภคง่ายต่อการซื้อหา เช่น ดาวน์โหลด โครงการจากอินเทอร์เน็ต และจ่ายด้วยบัตรเครดิต SHI ขายซอฟต์แวร์ปี พ.ศ.2527 ได้ถึง 115,500 ล้านบาท นอกจากนี้บริษัทยังท�ำเงินกับบริหารทรัพย์สินด้านไอทีให้กับลูกค้าใน หลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะการแฮทข้อมูล ไวรัส การคุกคามด้านไอที
Vol.23 No.220 March-April 2017
People
39
People เป็นการให้บริการแทบจะครบวงจรด้านไอที จนคูแ่ ข่งด้านให้คำ� ปรึกษา ขนาดใหญ่ ไม่ว่า Accenture, Capgemini และ Deloitte เริ่มหวั่นไหว ไทย ให้สัมภาษณ์ว่า เธอคาดว่า พ.ศ.2562 จะขายได้ถึง 33,000 ล้านบาท เพราะสิบปีที่ผ่านมายอดขายก็เพิ่มเป็นสองเท่า ตลอดมา จึงไม่เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งกังวล หรือหาผูร้ ว่ มลงทุน การเป็นเจ้าของ คนเดียวจะช่วยให้คิดหรือท�ำอะไรใหม่ หรือท้าทายแค่ไหนก็ง่ายขึ้น ส�ำหรับอนาคต เธอจึงไม่อยากท�ำงานกับใคร ไทย บอกต่อว่า เธอมีอะไรหลายอย่างมากมายอยากท�ำ แต่ก็ อยากหางานอดิเรกพักสมองบ้าง เช่น อ่านหนังสือ นอกจากนี้เธออุทิศ ชีวิตให้กับสองครอบครัว คือ ลูก ๆ ของเธอ และพนักงาน 3,000 คน ไทย เป็นคนไม่ฟุ้งเฟ้อ เธอใช้ชีวิตเรียบง่ายมาตลอด เป็นการ อยู่บ้านเดิมในเลบานอน นิวเจอร์ซี มา 20 ปี แถมท�ำงานอาทิตย์ละ 7 วัน แต่เธอก็เจียดเวลาไปท�ำการกุศลด้านการศึกษา และสนับสนุนการ วิจยั ด้านมะเร็ง อาจจะมีแรงบันดาลใจจาก มาร์กาเร็ต พีส่ าวคนโตเป็น มะเร็งและยังมีชีวิตอยู่
เคล็ดลับความสำ�เร็จ
Vol.23 No.220 March-April 2017
CEO ไทยประสบความส�ำเร็จสูงแทบจะเรียกได้วา่ หาผูห้ ญิง เอเซียเก่ง ๆ อย่างเธอยาก กลยุทธ์ของเธอ คือ 1. ท� ำ ในสิ่ ง ไม่ เ คยท� ำ ที่ ท ้ า ทาย แบบไม่ ก ลั ว แต่ ก ล้ า จะ เดินหน้าต่อไป
40
2. ดูแลพนักงานทุกคน ไม่ว่าสูงหรือต�่ำแบบครอบครัว ไม่มี ใครมีอภิสิทธิ์เหนือกว่าใคร 3. มีการกระจายอ�ำนาจให้ทุกคนมีสิทธิ์ตัดสินใจในชิ้นงาน ของตน 4. มีการสร้างเครือข่ายใหม่ ๆ ให้ทันกับไอที 5. มีการน�ำคนเก่งในทุกด้านมาช่วยงานในบริษัท 6. ให้ทกุ คนรูส้ กึ เป็นเจ้าของบริษทั เพือ่ สร้างขวัญก�ำลังใจ โดย ให้ผลตอบแทนตามความสามารถ 7. มีความคิดริเริ่มใหม่ ๆ รวมทั้งยอมรับความคิดของผู้ใต้บังคับบัญชาที่ดีกว่า 8. บริการลูกค้าให้ดีที่สุด ให้ลูกค้ารู้สึกมีคุณค่า มีความจงรัก ภักดีต่อ SHI 9. มีวิสัยทัศน์ มีความกล้าเสี่ยงกล้าท�ำในสิ่งที่ไม่คาดคิด ท�ำให้พนักงานมีขวัญก�ำลังใจสูง 10. เรียนรู้และศึกษาธุรกิจถึง 20 ปีก่อนจะสร้างธุรกิจของ ตนเอง โดยยอมรับความรู้ใหม่ ๆ ในโลกไอที ยก 10 นิว้ ให้เลยว่าเธอเก่งเหนือหญิงมากมายในอเมริกาและ โลก
Q
Idol & Model for
SAS กับการปรับตัวเพื่อรองรับ
“ประเทศไทย 4.0”
uality
กองบรรณาธิการ
ส�ำหรับในปี 2017 เราจะมีบริการ ใหม่ ๆ ทางด้ า นไอที ที่ เ หมาะสมกั บ ประเทศไทย ซึ่งที่ผ่านมาบริการของเราจะ ตอบสนองธุรกิจแบงกิ้งค่อนข้างมาก นั่นคือ ตัวเลขอยู่ที่ 80 เปอร์เซ็นต์ของยอดขาย แต่ โซลูชั่นของเรามิได้ตอบสนองเฉพาะธุรกิจ แบงกิง้ แต่เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ เรายังอยูใ่ น แทบทุ ก ตลาดไม่ ว ่ า จะเป็ น แบงกิ้ ง รี เ ทล ออยล์แอนด์แก๊ส แม้กระทั่ง Utility ต่าง ๆ รวมไปถึงกลุม่ งานภาครัฐ เพราะเราเล็งเห็นว่า ธุรกิจและองค์กรที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ล้วนเป็น ตลาดที่เราสามารถเข้าไปช่วยเหลือทางด้าน Analytics ได้”
กลยุทธ์การดำ�เนินงาน
▲
คุณณัฐพล อภิลักโตยานันท์
Managing Director บริษัท SAS Software (Thailand) Co., Ltd.
หนึ่ง
บริษัทผู้น�ำด้านซอฟต์แวร์โซลูชั่นอย่าง SAS ที่หลายคนรู้จัก ได้อ้าแขนต้อนรับ ผูบ้ ริหารคนใหม่อย่าง คุณณัฐพล อภิลกั โตยานันท์ Managing Director บริษทั SAS Software (Thailand) Co., Ltd. เข้ามาเป็นแม่ทัพในการขับเคลื่อนองค์กรการแข่งขันใน ยุคดิจิทัล การด�ำเนินงานและผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่าอยู่ในระดับแอดวานซ์และตอบโจทย์นโยบาย ภาครัฐ น่าจะท�ำให้ SAS อยู่ในตลาดได้อย่างสบายตัว แต่ไม่เป็นเช่นนั้น เพราะผู้บริหารไฟแรง ไม่ขอหยุดอยู่กับที่ และยังพร้อมที่จะเพิ่มศักยภาพให้พร้อมตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าในตลาดใหม่ ด้วยความคาดหวังสู่การขยายตัว 2 เท่าในระยะเวลา 3 ปี เรามาร่วมพูดคุยกับผู้บริหารท่านใหม่ ถึงแนวทางการบริหารจัดการองค์กรตามเป้าหมายกัน
ธุรกิจของ SAS
คุณณัฐพล กล่าวเริ่มต้นถึงการด�ำเนินงานของ SAS คร่าว ๆ ว่า “SAS ประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2001 นั่นคือ กว่า 15 ปีแล้วที่ SAS ก่อตั้งขึ้นในประเทศไทย โดยเราด�ำเนินธุรกิจ เกี่ยวกับเรื่อง Advanced Analytics ซึ่งบริษัทแม่ที่ North Carolina ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งมายาวนานกว่า 40 ปี ซึ่งถือว่ายาวนานมากส�ำหรับธุรกิจประเภทนี้
ด้ ว ยการก้ า วเข้ า มาบริ ห ารองค์ ก ร SAS อย่างเต็มตัว คุ ณ ณั ฐ พล จึงได้วาง กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจในปีนี้ว่า “ในปี 2017 เราได้วางกลยุทธ์ในการด�ำเนินงานที่ เรียกว่า Beyond Banking, Beyond FSI โดย พนักงานก็เริ่มที่จะเน้นการขายเชิงรุก ด้วย แนวทางการเน้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ต อบโจทย์ นโยบายภาครัฐ คือ “ประเทศไทย 4.0” และ “บิ๊กดาต้า” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการที่ภาครัฐ ก�ำลังขับเคลื่อนอยู่ นอกจากนี้ยังมีเรื่อง “Internet of Things: IoT” ในภาคธุรกิจ ส่วนใน ภาครัฐ SAS เน้นผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องของความมั่นคงของชาติและการก่อการ ร้ า ย และเรื่ อ งการศุ ล กากรที่ จ ะเข้ า มาใน ประเทศ ทั้งนี้นโยบายในการสนับสนุนของ ภาครัฐที่เกิดขึ้นสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ที่เรา มี ท�ำให้เราเป็นส่วนหนึง่ ในการสนับสนุนภาครัฐ และภาคธุรกิจได้บ้างไม่มากก็น้อย ส�ำหรับการขยายงานบริการที่นอกเหนื อ จากธุ ร กิ จ ธนาคารนั้ น เรามองเห็ น for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
41
Idol & Model หนทางเจริญเติบโตในธุรกิจออยล์แอนด์แก๊ส ธุรกิจเทเลคอม และในภาครัฐ เราจะเพิ่มงาน บริ ก ารกลุ ่ ม เป้ า หมายทางด้ า นสถิ ติ เช่ น ส�ำนักงานสถิติแห่งชาติ กรมศุลกากร เป็นต้น นี่จะเป็นกลุ่มเป้าหมายที่เราจะเข้าไปรุกในปี นี้ โดยเราจะแบ่งสัดส่วนธุรกิจแบงกิ้งและ อืน่ ๆ เป็น 50/50 ในปีนแี้ ละปีตอ่ ๆ ไป” ส�ำหรับ ช่องทางเพื่อการปรับเปลี่ยนตลาด สิ่งแรก ที่ SAS ด�ำเนินการ คือ ตั้งทีมงานขึ้นมา และ รับฝ่ายการตลาดเฉพาะทีมที่จะเข้ามาเจาะ ตลาดกลุม่ ราชการ เพือ่ ความใกล้ชดิ กับลูกค้า นอกจากนี้ เ รายั ง เพิ่ ม จ� ำ นวนพาร์ ท เนอร์ มากขึ้น โดยเราตั้งทีมงานที่มีความพร้อมใน การดูแลพาร์ทเนอร์โดยเฉพาะ ตามนโยบาย Partner Centric
Vol.23 No.220 March-April 2017
กิจกรรมที่ตอบโจทย์สภาวการณ์ ของประเทศ
42
“สิง่ ทีเ่ ป็นรูปธรรมทีเ่ ราด�ำเนินการเพือ่ รองรับการพัฒนาประเทศในอนาคต อาทิ เรา ด�ำเนินกิจกรรม CSR ทางด้านวิชาการ นั่น หมายความว่า เรามีทีมงานที่จะเข้าไปร่วม งานกับทางภาคการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยเราน�ำซอฟต์แวร์ไปสนับสนุนการเรียนการ สอนในหลักสูตรการวิเคราะห์ ซึ่งนักศึกษาที่ จบออกมาจะต้องมีความรูท้ างด้าน Analytics ที่เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม เช่น โปรแกรม JAVA โปรแกรม Python นอกเหนือจากนี้ ยังมีโครงการที่ท�ำงานร่วมกันกับมหาวิทยาลัยในการรับนักศึกษาจบใหม่เข้ามาท�ำงาน กับเรา และกระจายนักศึกษาเหล่านี้ไปยัง หน่วยงานภาคเอกชนและภาครัฐที่ต้องการ พนักงานที่มีทักษะทางด้านนี้ ซึ่งได้รับการ ฝึกฝนจากเราเป็นอย่างดี นอกจากนี้เรายังมี เครือข่ายคณาจารย์จากมหาวิทยาลัยที่เรา ประสานงานกันอยู่เข้ามาเป็นวิทยากรในการ อบรมให้ความรู้แก่พนักงานของเรา เพราะสิ่ง ส�ำคัญที่สุดที่จะท�ำให้ธุรกิจเติบโตได้และมี ส่วนในการสนับสนุนสังคม นั่นคือ ต้องสร้าง เครือข่ายในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน ให้ ม ากที่ สุ ด เพื่ อ เป้ า หมายสู ่ ก ารพั ฒ นา ประเทศร่วมกันนั่นเอง” คุณณัฐพล กล่าวถึง กิจกรรมที่เป็นรูปธรรมในการสร้างเครือข่าย
การด�ำเนินงานของ SAS ซึ่งเป็นเรื่องที่ส�ำคัญ ต่อการด�ำเนินธุรกิจในปัจจุบัน “เสียงสะท้อน จากนักศึกษาที่น�ำไปใช้งานในการเรียนและ การท�ำงานในชีวิตจริงอาจมีความผิดแผก แตกต่างไป เพราะนักศึกษารุ่นใหม่จะคุ้นเคย กับงานกราฟิกมากกว่ารุ่นเก่า แต่การเขียน โปรแกรมของเราอาจเป็นไปในลักษณะที่มี โคดดิ้งมาก ซึ่งอาจไม่เหมือนกับที่นักศึกษา เคยเรียนมาก่อนที่จะเข้ามหาวิทยาลัย เพียง แต่นักศึกษาจะต้องเรียนรู้และศึกษาวิธีการ เพิ่มขึ้นอีกนิดหน่อยก็จะไม่เป็นอุปสรรคใน การใช้งานจริง เมือ่ ใช้งานจริงก็มเี สียงสะท้อน อีกว่าท�ำไมเราถึงไม่ท�ำหน้าตาของโปรแกรม ให้ดึงดูด ซึ่งเราก็จะมีทีมงานเฉพาะที่มีหน้าที่ อินเทอร์เฟสและแคปเจอร์งานให้สวยงาม และง่ายขึ้น แต่ในแง่ของฟีเจอร์และฟังก์ชั่น เราลงลึกอยู่แล้ว นี่คือสิ่งที่เราตอบสนองผู้ใช้ งานในชีวิตจริง”
การเปลี่ยนแปลงภายใต้การบริหาร
“เราปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อการเป็น ไดเรกเซล และสร้ า งเครื อ ข่ า ยการบริ ก าร รวมถึงให้ความส�ำคัญกับการสร้างพาร์ทเนอร์ นั่นเพราะเราต้องการปรับตัวเพื่อรองรับการ แข่งขันในอนาคต เฉกเช่นเดียวกันกับ SAS ใน ภูมิภาคเอเซียอาคเนย์ที่มีการปรับตัวตาม สภาวการณ์ ต้นแบบจากประเทศต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ น มาเลเซี ย สิ ง ค์ โ ปร์ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง
ประเทศฟิลปิ ปินส์ ซึง่ เป็นตลาดยักษ์ใหญ่แห่ง วงการซอฟต์แวร์ ซึ่งหากมองตลาดฮาร์ดแวร์ จะเล็กกว่าประเทศไทย ส่วนการแข่งขันทีเ่ กิด ขึ้ น ประเทศที่ น ่ า จั บ ตามองใน AEC คื อ ประเทศเวียดนาม ส่วนประเทศใน CLMV นัน้ ขณะนี้อยู่ในช่วงการวางระบบโครงสร้างใน ประเทศ จึงยังไม่เติบโตมากนัก”
เป้าหมายการดำ�เนินงาน
ในตอนท้ายของบทสัมภาษณ์ คุณ ณั ฐ พล กล่ า วสรุ ป ถึ ง การด� ำ เนิ น งานของ องค์กรว่า “เราวางเป้าหมายในการขยายตัว 2 เท่าตัวทั้งธุรกิจการเงินการธนาคารและ อื่น ๆ อย่างก้าวกระโดดในระยะเวลา 3 ปี ส�ำหรับเทรนด์ทเี่ ราขาดไม่ได้ในยุค 4.0 นัน่ คือ ระบบ Cloud โดยเรามุง่ เน้นไปที่ Cloud Base Solution ในการรองรับการพัฒนาประเทศ และเพิม่ ความสะดวกให้กบั ลูกค้าทีใ่ ช้โซลูชนั่ ” คุณณัฐพล กล่าว
Q
Special Scoop for
uality
Special Scoop
Special Issue
Q
Special Scoop for
uality
เศรษฐกิจในยุค Connected Society ภายใต้บริบทของสังคมไทย กองบรรณาธิการ
กูรู
ด้านเศรษฐศาสตร์อันดับต้น ๆ ของ ประเทศ ให้เกียรติคพูดคุยกับเราถึง สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจและการ ลงทุนที่ผ่านมาในปี 2016 ต่อเนื่องถึงปี 2017 โดยเฉพาะในยุคที่ภาครัฐเร่งขับเคลื่อนสู่การ เป็น Thailand 4.0 เรามาดูกนั ว่าความเป็นไป ได้ทจี่ ะเกิดความเจริญเติบโตในประเทศทัง้ ใน ระยะสั้นและระยะยาวมีทิศทางเป็นอย่างไร นั ก ลงทุ น และผู ้ ป ระกอบการควรเตรี ย ม ความพร้อมอย่างไร ผ่านการวิเคราะห์จาก รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ โปรดติดตาม
คาดการณ์เศรษฐกิจปี 2017
“สิ่งทีเ่ ราจะต้องจับตามองในปี 2017 นี้ นั่นคือ ปัจจัยจากนอกประเทศ ส่วนปัจจัย ภายในประเทศนั้นเป็นการขับเคลื่อนที่ต่อ เนื่องมาจากปี 2016 จึงไม่มีสิ่งใดน่าเป็น ห่วงมากนัก และปีนี้ก็น่าจะสานต่ออย่าง จริงจังเป็นพิเศษเนื่องจากเป็นช่วงท้าย ของ Roadmap เพราะฉะนั้ น หลาย โครงการทีย่ งั คัง่ ค้างอยู่ อาทิ โครงการ ก่อสร้าง หรือกระทั่ง Infrastructure ต่าง ๆ ทั้งรถไฟฟ้าบนดิน รถไฟฟ้าใต้ดิน รถไฟรางคู่ น่ า จะเห็ น ผลคื บ หน้ า มาก ขึน้ ในปีนี้ ขณะเดียวกันเรือ่ ง
▲
รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
44
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
Special Scoop ของ ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor: EEC หรือ Eastern Seaboard เฟส 2 การจัดแบ่ง Thailand 4.0 ก็จะเห็นความชัดเจนมากขึ้น ซึ่ง ตั ว แปรต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ น ่ า จะท� ำ ให้ GDP ปี 2017 ไม่ต�่ำกว่าปีที่แล้ว นั่นคือ 3-3.5%” รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ กล่าวเริ่มต้น ถึงสัญญาณดีที่จะเกิดขึ้นต่อเศรษฐกิจและ การลงทุนของไทยในปี 2017
นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร. สมภพ ยังได้กล่าวเพิม่ เติมถึงปัจจัยทีส่ ง่ ผลให้ ความเจริญเติบโตในปีทผี่ า่ นมามีการชะลอตัว ว่ า “ปี ที่ ผ ่ า นมา ด้ ว ยปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ท� ำ ให้ เศรษฐกิจของประเทศชะลอตัว ซึ่งปัจจัยที่ ส่งผลเกิดจาก ภาคการเกษตร นั่นเพราะ ประเทศไทยประสบปัญหาอุทกภัยอย่างหนัก สินค้าเกษตรราคาตกต�่ำ และผันผวน เมื่อ ภาคการเกษตรเกิดภาวะตกต�ำ่ ส่งผลให้กำ� ลัง ซื้อในประเทศอ่อนตัวลง ภาคการส่งออก ใน 10 เดือนแรกของปี 2016 ภาคการส่งออกตัว เลขติดลบ เพิ่งจะมากระเตื้องในช่วง 3 เดือน หลัง ซึ่งตลอด 3 ปีที่ผ่านมา เราติดลบตลอด ทัง้ ปี มีปที ผี่ า่ นมาทีเ่ ติบโตขึน้ มาบ้าง แต่กเ็ ป็น เพียงตัวเลขเล็กน้อยแค่ 0.45% การบริโภค ภายในประเทศ ที่ผ่านมาการบริโภคภายใน ประเทศยังไม่คอ่ ยดีนกั และปัจจัยเดียวทีด่ ี คือ การใช้จ่ายของรัฐบาล ที่ตัวเลขบวกเพิ่มขึ้น มาเป็นตัวเลขถึงสองหลัก และอีกตัวที่ช่วย ส่งเสริม คือ การท่องเที่ยว ที่โตขึ้นกว่า 10% ตั ว แปร 2 ตั ว นี้ จึ ง มี บ ทบาทค่ อ นข้ า งมาก
เนื่องจากในปีที่ผ่านมาการลงทุนภาคเอกชน ก็ตดิ ลบไม่นอ้ ย การบริโภคก็ยงั ขยายตัวเพียง เล็กน้อย เพราะรายได้ของเกษตรกรไม่เพิม่ ขึน้ แม้กระทัง่ รายได้ของคนในเมืองก็ไม่ได้เพิม่ ขึน้ ตัวเลขการว่างงานจาก 0.8-0.9% ก็เพิม่ ขึน้ มา เป็น 1% ในภาพรวมก็ยังดีกว่าหลายปีที่ผ่าน มา แต่กย็ งั ต�ำ่ กว่าเป้าทีค่ วรจะเป็นมาก เพราะ GDP ของไทยโตขึน้ เพียงครึง่ หนึง่ ของอาเซียน แม้แต่ประเทศหลัก ๆ ที่เปิดอาเซียนพร้อมกัน ก็เติบโตมากกว่าเรา เช่น ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อิ น โดนี เ ซี ย แต่ ที่ โ ตใกล้ เ คี ย งกั บ เราก็ คื อ ประเทศสิงคโปร์ ส่วน CLMV นั้น เติบโตกว่า เราเยอะมาก”
การก้าวสู่ที่หนึ่งใน CLMV
“เราจะอยูใ่ นอันดับต้น ๆ ของภูมภิ าค ได้นั้นเป็นเป้าหมายส�ำคัญ สิ่งที่จะท�ำให้เรา ก้าวไปถึงจุดนั้นได้ คือ เราต้องเป็น Hub ให้ได้ ปัญหา คือ เราจะเป็น Hub ได้หรือไม่ ซึง่ การเป็นจุดศูนย์กลางของภูมภิ าคประกอบ ด้วยหลายปัจจัย 1. ความพร้อมของ Infrastructure ไม่เพียงแต่การเชื่องโยงกับประเทศ เพือ่ นบ้าน แต่ภายในประเทศของเราเองก็ตอ้ ง ท�ำให้ชัดเจนและครอบคลุม ที่ผ่านมารัฐบาล มีโครงการดี ๆ มากมาย เพียงแต่ว่ามีการ ขับเคลื่อนช้าเกินไป หวังเพียงว่าในอนาคต
รัฐบาลจะท�ำให้รวดเร็วมากขึ้น เรามีโอกาส หลายประการเมื่อพิจารณาจากข้อได้เปรียบ คือ ตัวแปรเศรษฐกิจมหภาคของเราค่อนข้าง มั่ น คงกว่ า เพื่ อ นบ้ า น ไม่ ว ่ า จะเป็ น เงิ น ทุ น ส�ำรองต่างประเทศ ซึง่ มีมากกว่าครึง่ หนึง่ ของ GDP ในขณะเดียวกันเรายังมีหนี้สาธารณะ น้อย เพียง 4.3-4.4% ของ GDP และขณะ เดียวกันหนี้ภาคเอกชนจากต่างประเทศก็ต�่ำ โดยเฉพาะอย่างยิง่ หนีร้ ะยะสัน้ จึงท�ำให้ปจั จัย เสี่ยงจากต่างประเทศมากระทบกับประเทศ เรามีน้อย นี่เป็นข้อได้เปรียบของเรา แต่ขณะ เดียวกันเราไม่มีโครงการที่เป็นรูปธรรมที่จะ ผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนประเทศอย่าง จริงจัง 2. ความชัดเจนของนโยบาย เช่น เมื่อต่างชาติต้องการใช้ประเทศเป็นเกตเวย์ เชื่อมต่อไปยังประเทศเพื่อนบ้าน และนักลงทุนไทยก็มีแรงจูงใจที่จะเข้าไปลงทุนใน ประเทศเพื่อนบ้านด้วย เราก็ต้องวางแผน นโยบายทีช่ ดั แจน ให้ตา่ งชาติเห็นว่าเรามีการ เชือ่ มซัพพลายเชนทีเ่ อือ้ ประโยชน์แก่นกั ลงทุน เข้ า สู ่ ป ระเทศเพื่ อ นบ้ า นเหล่ า นั้ น ได้ เรามี นโยบายอย่างไร ต้องตอบให้ได้ นั่นเพราะ เศรษฐกิจระหว่าง CLMV รวมถึงประเทศไทย เป็นธุรกิจที่มีความเกื้อกูลกันมากกว่าการ แข่งขันกัน แต่ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ เราไม่ สามารถสร้างความเกื้อกูลได้อย่างจริงจัง ไม่
Vol.23 No.220 March-April 2017
อุปสรรคที่ส่งผลต่อความเจริญเติบโต ในปี 2016
45
Vol.23 No.220 March-April 2017
Special Scoop
46
ว่าจะเป็นการเกือ้ กูลทางการลงทุน การเกือ้ กูล ทางการค้า และการเกื้อกูลทางภาคบริการ นัน่ คือ การเปิดเสรีใน AEC ได้แก่ การเคลือ่ นย้ายเสรีทางด้านการค้า การเคลื่อนย้ายเสรี ทางด้านการลงทุน การเคลื่อนย้ายเสรีทาง ด้านบริการ ที่ยังเกิดขึ้นไม่มากนัก เห็นได้ ชั ด เจน คื อ ธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วที่ น ่ า จะมี ก าร เชื่ อ มโยงกั น ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วได้ มี โ อกาส ท่องเทีย่ วได้สะดวก เมือ่ มาท่องเทีย่ วไทยก็ไป ประเทศกัมพูชาหรือลาวได้ต่อเนื่อง ขณะ เดียวกันในเรือ่ งการประกันภัยหรือประกันชีวติ ซึ่งประเทศไทยถือว่าเป็นศูนย์กลางก็ยังไม่ เชื่อมโยงมากเท่าที่ควร หรือแม้แต่เรื่องการ เงินการธนาคารก็เชื่อมโยงได้เพียงแค่ระดับ หนึ่ง ยิ่งในเรื่อง การเคลื่อนย้ายทางการเงิน อย่างเสรี ยิ่งน่าจะต้องใช้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางมากกว่าประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ นอกจากนี้ ยั ง มี เ รื่ อ งของ การเคลื่ อ นย้ า ย แรงงานฝีมือ ก็ไปได้เพียงแค่ระดับหนึ่ง ซึ่ง ส่วนใหญ่จะเป็นการเคลื่อนย้ายแรงงานขาด ฝีมือ” รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ กล่าว แสดงทัศนะถึงการเจริญเติบโตของไทยใน ระดับอาเซียน
ผลที่ไทยได้รับ จากการเปลี่ยนแปลงผู้น�ำสหรัฐ
“ประเทศไทยได้ รั บ ผลกระทบเป็ น อย่างมาก เพราะปัจจัยภายนอกประเทศเป็น
สิ่งที่เราควบคุมไม่ได้ ในปีนี้ปัจจัยด้านการ เกษตรของไทยเริม่ ดีขนึ้ มาบ้าง ในช่วงนี้ ไม่วา่ จะเป็นข้าว ยาง มันส�ำปะหลัง มีทิศทางว่า ตลาดจะโตขึ้นมาบ้าง ส่วนด้านการท่องเที่ยว ก็นา่ จะดีตอ่ เนือ่ ง การลงทุนภาครัฐก็นา่ ทีจ่ ะมี ผล และการลงทุนในภาคเอกชนก็น่าจะมี โอกาสมากขึ้ น แต่ ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น จากตั ว แปร ภายนอกประเทศ เพราะหากตัวแปรไม่ดกี อ็ ย่า คาดหวังเลยว่าเศรษฐกิจไทยจะดีขึ้นมาได้ เพราะเพียงการส่งออก GDP เพียง 60-70% และน�ำเข้าอีก 60% รวมแล้ว 130% เพราะฉะนั้นหากการค้าระหว่างประเทศมีปัญหา เศรษฐกิจไทยก็จะมีปัญหา ส�ำหรับการลงทุน ระหว่างประเทศ ซึ่งขณะนี้อยู่ในภาวะปกติ เพราะเมื่ อ ปี ที่ ผ ่ า นมามี ต ่ า งชาติ เ ข้ า มาขอ ส่งเสริมการลงทุนจากไทยมากขึ้น แต่ขณะ เดียวกันต่างชาติจะลงทุนจริงหรือไม่ เมื่อไหร่ เรื่องนี้ส�ำคัญ เพราะต่างชาติจะลงทุนหรือไม่ ต้องแน่ใจว่าผลิตแล้วจะมีตลาด นอกจากนี้ การลงทุนไม่ว่าจะเป็นการสร้างโรงงานต่าง ๆ ต้องใช้เวลานานหลายปีกว่าจะขายได้ ดังนั้น จึ ง ต้ อ งมี ค วามชั ด เจนทั้ ง ตั ว แปรภายใน ประเทศและภายนอกประเทศ ตัวแปรภายนอก ประเทศ เช่ น ภายใต้ ก ารดู แ ลของทรั ม ป์ เราคาดเดายากมาก เนือ่ งจากมีความขัดแย้ง กับข้าราชการ ศาล ประชาชน สือ่ มวลชน หรือ แม้แต่พรรรคการเมืองเดียวกันเอง การจัดการ ความขัดแย้งของสหรัฐ จึงต้องมีการน�ำมาใช้
เราจึงต้องจับตามองว่าผู้น�ำสหรัฐ คนนี้จะ จัดการกับปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อย่างไร ซึง่ ช่วงเวลา ที่ทั่วโลกจับตามองจะเป็นช่วงเวลาที่น่ากลัว ทีส่ ดุ เพราะคนจะไม่ตดั สินใจท�ำอะไรเลย การ ลงทุนอย่างจริงจังจึงไม่เกิดขึ้น แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น บริษัทญี่ปุ่นที่พร้อมขยายตัวในสหรัฐ ก็มีการ ขยายตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากได้รับแรงจูงใจใน การลงทุน” ตัวแปรและอุปสรรคจากปัจจัย ภายนอกประเทศน่าจะส่งผลให้ประเทศไทย ได้รับผลกระทบ ดังนั้น ภาครัฐและเอกชนจึง ต้องวางแผนนโยบายให้ดี เพื่อก้าวผ่านความ ไม่แน่นอนเหล่านี้ไปให้ได้ “ปัจจัยเสี่ยงที่เกิด ขึ้นมาจากปัจจัยเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ และ ปัจจัยที่ไม่เกี่ยวพันกับเศรษฐกิจ เช่น เรื่อง การเมืองและความมั่นคง ส่งผลให้ธุรกิจต้อง ใส่เกียร์ว่าง แต่ทรัมป์จะท�ำให้คนเหล่านั้น ท�ำงานอย่างไร หรือท�ำงานให้สอดคล้องกับ นโยบายของตัวเองอย่างไร เป็นสิ่งที่ต้องคิด ต่อ”
Special Scoop
รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ กล่าว ถึงเรือ่ งนีว้ า่ “Connected Society จะมีอทิ ธิพล กับการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในภาพรวม อย่างมหาศาล เรามีกฎเกณฑ์ที่จะพัฒนา อย่างต่อเนื่องได้มากแต่อยู่ที่จะพัฒนาได้ หรือไม่ อย่างไร เพราะประเทศไทยสามารถ เคลื่อนภาคการผลิตมาสู่ภาคการบริการได้ หลากหลาย แต่เราต้องท�ำให้ดี ตัวอย่างเช่น เรื่องการแพทย์และสุขภาพ ซึ่งไม่เพียงแต่ เป็นการรักษาโรคเพียงอย่างเดียวแต่ต้องมี การวิจัยด้วย หรือมีกิจกรรมต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมยา กิจกรรมเครื่องมือเครื่องใช้ทางการ แพทย์ หรือแม้กระทั่งการวิจัยโรคเมืองร้อน นอกจากนี้เราอาจมีการพัฒนาการกีฬาให้ เป็นเชิงพาณิชย์ พัฒนาธุรกิจบันเทิง อาหาร การกินนอกบ้าน ตัวแปรด้านดิจิทัลเริ่มมีเพิ่ม มากขึ้น เราจึงต้องพัฒนาต่อเนื่องเพื่อมุ่งไปสู่ Internet of Thing: IoT บิ๊กดาต้า และคลาวด์ คอมพิวติ้ง ไปสู่สังคมที่มุ่งใช้เงินสดน้อยลง แม้แต่ตลาดเงินและตลาดทุนเองก็ตาม เราก็ สามารถเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านได้ อีกทัง้ เรือ่ งการประกันภัยและประกันชีวติ ทีเ่ รา เป็นศูนย์กลางของภูมิภาคนี้ เราก็ควรที่จะ ครอบคลุ ม ทั้ ง ภู มิ ภ าคได้ เ พี ย งแต่ เ ราต้ อ ง ท�ำงานในเชิงรุกให้มากยิ่งขึ้น”
การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการ สู่ยุค Connected Society
“ผูป้ ระกอบการไทยจะต้องเรียนรูท้ จี่ ะ มี การบริหารความเสีย่ งอย่างมีประสิทธิภาพ จากที่ ไ ด้ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ปั จ จั ย ความไม่ แน่นอนมีสงู ความเสีย่ งในเรือ่ งของดีมานด์ไซส์ และซัพพลายไซส์ เช่น ความเสี่ยงเรื่องการ บริหารต้นทุน ความเสี่ยงเรื่องการบริหารการ ตลาด ความเสีย่ งเรือ่ งการบริหารการเงิน การ มองแนวโน้มของธุรกิจให้ออก ตีโจทย์ให้ แตก ตีโจทย์ให้เป็น เพราะในความไม่แน่นอน นั้น ไม่ได้มีเฉพาะปัญหาหรือความเสี่ยงแต่ เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังมีโอกาสด้วย นั่นคือ ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยคุกคาม และโอกาส มักจะมาด้วยกัน เราต้องมองให้ออกและปรับ ความเสี่ยงให้เป็นโอกาสให้ได้ นั่นคือ ผู้ประกอบการต้ อ งมี วิ สั ย ทั ศ น์ พร้ อ มรั บ ความ เปลี่ ย นแปลงอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ก าร เตรียมตัวรับมือกับปัจจัยภายนอกประเทศ ซึง่ ส�ำคัญต่อไทยเป็นพิเศษ เนือ่ งจากเราอยูใ่ น ยุคเศรษฐกิจทีเ่ ปิดกว้างมาก และยังเปิดกว้าง ในทุกประตู ไม่ว่าจะเป็นการค้า การลงทุน และภาคบริการ” รองศาสตราจารย ดร. สมภพ กล่าวแนะน�ำผู้ประกอบการที่จะมุ่งสู่ การแข่งขันภายใต้ยุค IoT
การขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ Thailand 4.0
“ภาพประเทศไทย 4.0 ตามที่รัฐบาล วางนโยบายไว้นนั้ ในวันนีเ้ รายังไม่เห็นเด่นชัด มากนัก สิง่ ทีเ่ ห็นว่ามีการขับเคลือ่ นน่าจะเกิดขึน้ จากภาคเอกชนท�ำเอง เช่น 4G เพราะฉะนั้น แรงผลักดันของรัฐบาลเอง ทีม่ สี ว่ นผลักดันให้ เกิดขึ้นได้รวดเร็วจึงส�ำคัญมาก ซึ่งที่เห็นอยู่ ทุกวันนี้ คือ รัฐบาลมีแผนวางไว้มากมาย นั่ น เป็ น เรื่ อ งที่ ถู ก ต้ อ ง แต่ เ กิ ด ปั ญ หา คื อ รัฐบาลมีค�ำว่า What และ Why คือ ท�ำอะไร ท�ำเพราะอะไร แต่รัฐบาลยังไม่มีค�ำว่า How, When, Where, Who นั่ น คื อ ท� ำ อย่ า งไร เมื่อไหร่ ที่ไหน โดยใครที่ชัดเจน ท�ำให้การ ผลักดันโครงการให้เป็นรูปธรรมเกิดขึน้ ได้ยาก ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด คื อ ขณะนี้ รั ฐ และ เอกชนมีโอกาสร่วมมือกันได้ดี เพียงแต่วา่ การ ท�ำงานจะต้องมีความกระตือรือร้น ไม่เช่นนั้น ทุกอย่างที่วางเอาไว้จะล่าช้าไปเสียหมด การ ท�ำงานอย่างเชื่อมโยงและมีเอกภาพระหว่าง ภาครั ฐ และเอกชนน่ า จะเป็ น ส่ ว นช่ ว ยให้ ประเทศพัฒนาไปตามเป้าหมายได้” ในตอน ท้ายบทสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. สมภพ ยังกล่าวฝากถึงผู้ประกอบการไว้สั้น ๆ ว่า “ผู้ประกอบการจ�ำเป็นจะต้องรู้เขารู้เรา เพราะไม่เช่นนั้นจะบริหารความเสี่ยงไม่ได้ และยังไม่สามารถฉกฉวยโอกาสที่มาพร้อม กับความเสี่ยงได้ดีเท่าที่ควร”
Vol.23 No.220 March-April 2017
สังคม Connected Society กับการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย
47
Q
Special Scoop for
uality
การตลาดในยุค Connected Marketing กองบรรณาธิการ
นอก
เหนือจากภาคเศรษฐกิจและการลงทุนที่ผู้ประกอบการ และนั ก ลงทุ น จะต้ อ งมี ข ้ อ มู ล แล้ ว การตลาดก็ เ ป็ น อีกประเด็นหนึ่งที่จะต้องศึกษาเช่นเดียวกัน ส�ำหรับการตลาดในยุค ดิจิทัลนี้ เราขอให้นิยามว่าเป็นการตลาดในยุค Connected Marketing ซึ่ ง หลายท่ า นอาจยั ง สงสั ย และอยากจะทราบว่ า กลไกการตลาด ในปัจจุบันมีแนวโน้มและทิศทางการเจริญเติบโตอย่างไร ไทยเราจะมี โอกาสเป็นผู้น�ำได้ในอนาคตหรือไม่ อย่างไร วันนี้เรามาร่วมพูดคุยกับ ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์ อาจารย์ประจ�ำสาขาการตลาดวิทยาลัย การจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งท่านเป็นนักวิจัยและสร้างแบรนด์ ที่มีแง่มุมทางด้านการตลาดที่น่าสนใจ และสามารถน� ำไปต่อยอด ได้เป็นอย่างดี โปรดติดตาม
▲
ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์
อาจารย์ประจำ�สาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
48
for Quality Vol.23 No.220 March-April 2017
Special Scoop
ผศ.ดร.พัลลภา กล่าวถึงการตลาด ในยุ ค ก่ อ นและยุ ค ปั จ จุ บั น เป็ น การเริ่ ม ต้ น บทสนทนาในวันนี้ว่า “สังเกตได้ว่าทุกวันนี้ รูปแบบการจับจ่ายซื้อของเปลี่ยนไปมาก ใน ยุคก่อนเห็นได้ง่าย ๆ ว่าหากเราไม่มีเงิน เราก็ จะไม่ อ อกไปข้ า งนอกบ้ า น แต่ ใ นปั จ จุ บั น ผู้บริโภคอยู่ที่บ้านก็สามารถชอปปิ้งได้มาก กว่าอยู่ข้างนอกเสียอีก กล่าวได้ว่าการตลาด ในยุ ค ปั จ จุ บั น เป็ น การตลาดของผู ้ บ ริ โ ภค โดยตรง นั่นเพราะตัวเลือกทางการตลาดมี มาก เว็ บ ไซต์ ที่ จ ะเอื้ อ ให้ เ กิ ด การบริ โ ภคมี หลากหลายและยังมีการเปรียบเทียบให้เห็น ราคาได้แบบ Real Time เพื่อเอื้อให้เกิดการ ซื้อ-ขายที่ง่ายขึ้น ผู้บริโภคจึงมีข่าวสารเยอะ มาก เพราะฉะนัน้ หากมองในมุมของผูบ้ ริโภค ถือว่าเป็นโอกาสที่ดี และในปัจจุบนั นีห้ ากถามเด็กรุน่ ใหม่ ทีก่ ำ� ลังศึกษาอยูใ่ นระดับอุดมศึกษา ทัง้ ระดับ ปริ ญญาตรี ปริ ญญาโท หลายคนมี ความ ใฝ่ฝันที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจมากกว่าท�ำงาน ตามสาขาวิชาที่ได้ร�่ำเรียนมา แต่จะเปลี่ยน จากเทรนด์ ที่ ต ้ อ งการเปิ ด ร้ า นกาแฟมา เป็นการขายสินค้าออนไลน์ เพราะท�ำได้ง่าย และปัจจุบนั ระหว่างเรียนก็ทำ� อยูด่ ว้ ย แต่กท็ ำ� แบบงู ๆ ปลา ๆ ไม่รู้ว่าจะท�ำอย่างไรดี การ ตลาดในยุคปัจจุบนั นีจ้ งึ เริม่ ปรับตัวจากออฟไลน์ มาเป็นออนไลน์มากขึน้ และสิง่ ทีน่ า่ สนใจ คือ การตลาดที่เรียกว่า Instar In Store ซึ่งเป็น เทรนด์การตลาดที่น่าสนใจมาก ค�ำนี้มาจาก ค�ำว่า Instagram in Store นัน่ คือ ในสมัยก่อน
การค้าขายจะต้องมีหน้าร้านจึงจะขายได้ แต่ ในระยะหลังผู้ค้าค้าขายในเฟสบุ้ค ไลน์ หรือ อินสตาแกรมก็ได้ และในปัจจุบันยังมีเทรนด์ ใหม่ล่าสุดที่เกิดขึ้นและเห็นเป็นรูปธรรมแล้ว คือ ในละแวกสยามสแควร์มีการให้เช่าพื้นที่ ขายสินค้าเป็นแบรนด์ของตัวเอง โดยเจ้าของ พื้นที่จะเลือกและเชิญสมาชิกที่ขายของใน ระบบออนไลน์แต่ยงั ไม่มหี น้าร้านได้เข้ามาใช้ พืน้ ที่ และยังท�ำการตลาดให้ดว้ ย ท�ำให้เจ้าของ สิ น ค้ า มี พื้ น ที่ ห น้ า ร้ า นเพิ่ ม ขึ้ น มา ซึ่ ง นี่ เ ป็ น แนวคิดในการน�ำคลัสเตอร์ในภาคอุตสาหกรรม เข้ามาใช้เป็นกิจกรรมทางการตลาด พื้นที่เช่า ก็เปรียบเสมือนโชว์รูมที่มีคนท�ำการตลาดให้ เทรนด์นไี้ ด้เริม่ เข้ามามากขึน้ และเป็นกิจกรรม ที่น่าสนใจ”
การขยายตัวของการตลาดออฟไลน์ สู่ออนไลน์
ไม่ เ พี ย งแต่ ก ารตลาดออฟไลน์ จ ะ ขยายตัวสู่ออนไลน์จะมีอยู่แค่ในเมืองหลวง เท่านั้น แต่ยังได้ขยายตัวไม่ทั่วทั้งประเทศ “การขยายตัวเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดย-
เฉพาะหั ว เมื อ งใหญ่ เช่ น นครราชสี ม า ขอนแก่น นี่จึงเป็นโมเดลที่น่าจับตามองและ เกิดข้อสังเกตว่า อะไรที่เป็นกระแสก็จะขยาย ตัวกลายเป็นเทรนด์ได้ไม่ยากในการตลาด ปัจจุบัน แต่สิ่งที่น่ากังวล คือ การตลาดใน รูปแบบนี้จะไม่มีความยั่งยืน เปรียบเหมือน วงจรชี วิ ต เพี ย งแต่ จ ะมี ค วามรุ น แรงและ รวดเร็ ว มากกว่ า เดิ ม เพราะข้ อ มู ล มี ก าร ถ่ายทอดได้อย่างรวดเร็ว แต่เป็นที่น่ายินดีที่ แบรนด์สินค้าในปัจจุบันทั้งแบรนด์เล็กและ ใหญ่มีการปรับตัว และยังสร้างจุดขายของ ตัวเองให้มากขึ้น อีกทั้งยังมีการท�ำในสิ่งที่ เรียกว่า Customize มากขึ้น ซึ่งเป็นหนึ่ง เทรนด์ทนี่ า่ สนใจของการตลาดในยุคปัจจุบนั ทีเ่ ป็นการสร้างปฏิสมั พันธ์กบั ลูกค้าเพือ่ ให้เกิด ความเข้าใจถึงความต้องการเฉพาะของลูกค้า แต่ ล ะกลุ ่ ม แต่ ล ะบุ ค คล และยั ง เป็ น การ วิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ของลู ก ค้ า แต่ ล ะกลุ ่ ม ตาม ประโยชน์ ที่ ลู ก ค้ า ต้ อ งการจากสิ น ค้ า และ บริการ และสิ่งส�ำคัญ คือ มีการปรับเปลี่ยน สินค้าหรือบริการตามความต้องการเฉพาะ ของลูกค้าแต่ละกลุม่ แต่ละบุคคลอีกด้วย เช่น
Vol.23 No.220 March-April 2017
การตลาดในยุคปัจจุบัน
49
Special Scoop
Vol.23 No.220 March-April 2017
การท�ำกระเป๋าและปักชื่อเจ้าของ ท�ำเสื้อยืด แล้วปักชื่อ เป็นต้น มีกรณีศึกษาที่น่าสนใจ มาก คือ นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยมหิดล ที่ บ้านมีธุรกิจผลิตกางเกงยีนส์ ไม่ต้องการท�ำ ธุรกิจกับทีบ่ า้ น แต่มคี วามชืน่ ชอบกางเกงยีนส์ เพราะคลาสิกและเป็นอมตะ น้องนักศึกษาจึง ได้ น� ำ กางเกงยี น ส์ ข องที่ บ ้ า นมาฟอกขาย ปัจจุบันมีราคาจ�ำหน่ายอยู่ที่ตัวละสองหมื่น บาท สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ มาจากน้องได้นำ� องค์ความรู้ ที่มีอยู่จากประสบการณ์ที่บ้านมาต่อยอดให้ กางเกงยีนส์ธรรมดากลายมาเป็นกางเกงยีนส์ จากผ้ า ที่ ม าจากต่ า งประเทศและตั ด ตาม สั ด ส่ ว นเจ้ า ของกางเกงแต่ ล ะคน ตามแต่ เจ้าของแต่ละคนจะออกแบบเป็นของตัวเอง เสมือนเป็นกางเกงยีนส์ของเจ้าของคนเดียว ในโลก การตลาดแบบ Customize จึ ง มี ความแตกต่างจากการตลาดแบบ Personalize ที่เป็นการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมทางการ ตลาดทั้งสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับ ความพึ ง พอใจของลู ก ค้ า แต่ ล ะคนโดยมี เป้าหมายที่จะสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า แต่ละคน โดยหวังว่าลูกค้าแต่ละคนจะรู้สึก
50
ได้ถึงความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของ แบรนด์ที่มีต่อลูกค้าได้มากขึ้น ซึ่งเป็นการ ตลาดที่ใช้อยู่เป็นส่วนมากในปัจจุบัน ความ แตกต่างของทัง้ สองรูปแบบ คือ การโฟกัสและ Impact ของการที่จะท�ำได้ในปริมาณมาก การปรับตัวของการสร้างแบรนด์ในยุคนี้จึง เป็นไปในลักษณะนี้”
นโยบายของภาครัฐ กับการเอื้อกิจกรรมการตลาด
“การทีเ่ ราจะท�ำอะไรได้หลาย ๆ อย่าง หากภาครัฐให้การสนับสนุนก็จะเป็นส่วนช่วย ได้มาก แต่ก็ต้องตระหนักถึงความยั่งยืนที่จะ เกิดขึน้ ด้วย หากพูดถึงกิจกรรมทางการตลาด ในประเด็นที่ภาครัฐให้การสนับสนุน เราควร
ที่จะต้องแบ่งก่อนว่าธุรกิจในปัจจุบันมีกี่แบบ ไม่ว่าจะเป็นสตาร์ทอัพหรือพาราไดม์ใหม่ ๆ ก็ต้องแบ่งให้ชัดเจน สิ่งที่จะเอื้อให้เกิดการ พัฒนาและต่อยอดเป็นสิ่งส�ำคัญ รัฐบาลเอง ก็ต้องมองให้ออกว่าจะขับเคลื่อนประเทศไป ในทิศทางใด และจะให้ความส�ำคัญไปยัง คลัสเตอร์ใด” ผศ.ดร.พัลลภา ยังได้กล่าว วิเคราะห์ถึงนโยบายภาครัฐที่มีต่อการสนับสนุนกิจกรรมการตลาดในปัจจุบัน
การตลาดแบบ Connected Marketing
ผศ.ดร.พัลลภา ขยายนิยามของค�ำว่า Connected Marketing ด้วยว่า “ค�ำนี้ท�ำให้ นึ ก ถึ ง ค� ำ ว่ า Gen Connect ในสมั ย ก่ อ น เป็นการแบ่งเป็นยุค เช่น ยุคเบบีบ้ มู เมอร์ Gen X, Gen Y, Gen Z ซึง่ เป็นการแบ่งตามช่วงอายุ ของคน แต่ในปัจจุบันเราไม่แบ่งแบบนี้ก็ได้ เพราะมี ก ารแบ่ ง ตามพฤติ ก รรมของคน เรียกคนกลุม่ นีว้ า่ Gen Connection สังเกตได้ ว่าคนไทยในปัจจุบันมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป คนวัยชราบางคนเล่นโซเชียลไลน์ได้ทั้งวัน แสดงว่าการแบ่งกลุม่ เป้าหมายทางการตลาด ไม่มองแต่เพียงเรื่องของช่วงวัยเท่านั้น แต่
Special Scoop
การปรับตัวของผู้บริโภค ในยุค Connected Marketing
“ผู้บริโภคจ�ำเป็นจะต้องมีการปรับตัว เจ้าของสินค้าก็จะต้องมีหน้าที่มอนิเตอร์ ซึ่ง ปัจจุบันมีระบบที่เข้ามาช่วย ยกตัวอย่างเช่น ตลาดดอทคอม ทีส่ ามารถติดตาม Feedback งานโฆษณาประชาสัมพันธ์และงานทางการ ตลาดของบริษัทได้ แต่ก็ยังมีข้อจ�ำกัด เพราะ การอ่านผ่านออนไลน์ไม่สามารถทราบถึง อารมณ์จริงและโทนเสียงของผู้บริโภคได้ว่า ชื่นชอบเราจริงหรือไม่ เจ้าของสินค้าก็ต้องมี การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลด้วย ไม่ เช่นนั้นแล้วอาจได้ข้อมูลที่คลาดเคลื่อน”
การปรับตัวของผู้ประกอบการ ในยุค Connected Marketing
“แม้การตลาดจะเข้ามาอยูใ่ นออนไลน์ มากขึน้ ผูป้ ระกอบการเองก็ตอ้ งไม่ลมื ผูบ้ ริโภค ทีอ่ ยูห่ ลังออนไลน์ ทุกคนย่อมมีความคาดหวัง นอกจากนีค้ นยังไม่ชอบการรอคอย ผูป้ ระกอบการจึงต้องตระหนักถึงการรักษาความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ขายและผู้ซื้อให้อยู่อย่างยาวนาน ที่สุด และยังต้องมีความจริงใจกับผู้บริโภค” บางกรณณีศกึ ษาจะเห็นว่าผูป้ ระกอบการบาง รายเปิดขายสินค้าออนไลน์และเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง นั่นเพราะผู้ประกอบการเหล่านั้น มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ น ค้ า บริ ก าร และ ความรู ้ สึ ก ของผู ้ บ ริ โ ภคเป็ น ส� ำ คั ญ นี่ เ ป็ น อี ก หนึ่ ง จุ ด ขายที่ ผศ.ดร.พั ล ลภา ฝากถึ ง ผู้ประกอบการ
การเลือกรับสินค้าและบริการ
ในตลาดการค้ายุคนี้ ผูบ้ ริโภคเองก็จะ ต้องมีความเท่าทันต่อการเปลีย่ นแปลง ไม่เช่น นัน้ แล้วอาจได้รบั สินค้าและบริการทีไ่ ม่ตรงใจ
“ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการค้าในยุคนี้ มาก เพราะมีตัวเลือกให้เลือกสรรเยอะ แต่ใน บางครั้งผู้บริโภคก็ต้องมีความระมัดระวังใน การเลือกผู้ขาย ซึ่งต้องไว้วางใจได้ มีตัวตน ตรวจสอบย้อนกลับได้” ผศ.ดร.พัลลภา กล่าว ฝากถึงผู้บริโภค
แนวโน้มการตลาดในยุคอนาคต
ผศ.ดร.พั ล ลภา ยั ง ได้ วิ เ คราะห์ สถานการณ์และรูปแบบการตลาดในอนาคต อย่างเข้าใจง่ายเป็นการสรุปปิดท้ายว่า “การ ตลาดในอนาคตน่าจะเป็นรูปแบบออนไลน์อยู่ แต่การตลาดก็จะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ โลกในอนาคตคือโลกทีอ่ ยูบ่ นออนไลน์ โลกที่อยู่บน WiFi เทรนด์นี้ก็จะยังคงอยู่ แต่ก็ น่าจะเพิม่ เป็นออฟไลน์ คือ มีหน้าร้านเพิม่ เข้า มา นัน่ คือ Instagram in Store นัน่ เพราะท�ำเล ที่ตั้งร้านค้าก็ยังมีความส�ำคัญอยู่ และระบบ คลั ง สิ น ค้ า หรื อ โลจิ ส ติ ก ส์ ก็ ยั ง ต้ อ งมี อ ยู ่ ” ผศ.ดร.พัลลภา กล่าวสรุป
Vol.23 No.220 March-April 2017
เป็นการแบ่งตามพฤติกรรมของคน โดยใน กลุม่ พฤติกรรมก็จะสามารถแบ่งเป็นกลุม่ แยก ย่อยได้อีก และก่อให้เกิดเป็นอาชีพได้ด้วย เช่น บางคนชอบเขียนหนังสือ หรือรีวิวการกิน เที่ยว ก็จะเป็นกลุ่มที่เรียกว่า Content Generation บางกลุ่มชอบอ่านเพียงอย่างเดียว บางกลุ่มชอบแชร์ความคิดเห็น เป็นต้น”
51
l a i c e SpPromotion for a Limited
Time Only
สมัครสมาชิก
1,550.หรือ ตออายุ 2 ป 24 ฉบับ รับทันที กระเปาผา Mr.Kaizen สุดชิค 1 ใบ
สมัครสมาชิก
790.-
หรือ ตออายุ 1 ป 12 ฉบับ
รับทันที ที่รองแกวน้ำ Mr.Kaizen 1 อัน + นิตยสาร 1 เดือน
ตั้งแต่วันนี้ หรือจนกว่าสินค้าจะหมด ประเภท
บุคคล นิติบุคคล
สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส)............................................
อัตราคาสมาชิก
ชื่อ-นามสกุล.............................................ตำแหนง............................................ ฝาย/แผนก......................................บริษัท......................................................... ที่ตั้ง.................................................................................................................... โทรศัพท......................โทรสาร.........................E-mail......................................
วิธีการชำระเงิน
ขอมูลสมาชิกนิตยสาร
ที่อยูออกใบเสร็จรับเงิน เลขประจำตัวผูเสียภาษี
■ สำนักงานใหญ
■ สาขาที่.....................
บริษัท..............................................ที่ตั้ง........................................................... .................................................................รหัสไปรษณีย.................................... ตัวแทนรับใบเสร็จรับเงิน (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) (ชื่อ-นามสกุล).................................................................................................... ● จัดสงใบเสร็จรับเงิน
ตามที่อยูจัดสงนิตยสาร ตามที่อยูออกใบเสร็จรับเงิน DOWNLOAD Application www.tpaemagazine.com/ibook/applyForm.php
1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท เริ่มตนเดือน................ 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริ่มตนเดือน............. (ไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7%)
■ เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ชื่อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ■ ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ■ ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3 สอบถามรายละเอียด หรือสงใบสมัครสมาชิกมาที่ : เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) เลขที่ 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th
www.tpaemagazine.com | www.tpa.or.th/publisher | www.facebook.com/TPAeMagazine | YouTube : TPA Official
AD Kaizen 2__ TN.pdf
1
3/7/17
9:12 AM
ดวน!! เล�อนวัน ... แตเวลาและสถานที่เดิม
r a n i m e S e v i s u l c x E
น ู ง่ ิ ไมไ ด ย อ า ร เ ให ั น ด ั ก ล ผ ั น ข ง ข แ ร า ะก ดว ยสภาพเศรษฐกจิ แล กภายใน า จ ร า ก ิ จ ก น ฟ ิ ก ล พ ธ ุ ท ย ล ก า ห ุ กำลงั มอง หากคณ
พบกับกิจกรรมสัมมนา
C
M
Y
ที่นี่มีคำตอบ
KAIZEN สัญจร ค ร ั ้ ง ท ี ่ 2 ห ัวขอ KAIZEN FOR WASTE REDUCTION: e FSErMeINAR Keyword to Sustainable Growth ณ Cape Racha Hotel อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
CM
วันพุธที่ 19 กรกฎาคม 2560 เวลา 09.00-16.00 น
MY
CY
แลวคุณจะพบวา...
CMY
K
ความสูญเปลา (Waste) มีผลตอการลมสลายขององคกรอยางไร ● และ KAIZEN จะเขามาชวยขจัด Waste ใหสิ้นซากไดอยางไร ● รวมตอกย้ำศักยภาพของ KAIZEN โดย 3 องคกรอุตสาหกรรมชัน ้ นำ ที่ประยุกตใช KAIZEN จนประสบความสำเร็จ ●
… ะ า พ ฉ เ ษ ศ ิ เ พ ้น ผูประกอบการ ผูบริหาร หัวหนางานในพื้นที่จังหวัดชลบุรีเทานั รับจำนวนจำกัดเพียง 80 ทาน บริษัทละไมเกิน 2 ทาน
สมัครกอน รับสิทธิ์ิกอน !!!
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ 0-2258-0320-5 ตอ 1710, 1730, 1750 www.tpa.or.th www.tpaemagazine.com
Organized by www.facebook.com/TPAeMagazine TPA official TPA official