Technology Promotion and Innomag Magazine
Techno
logy
Leadership of all Industrial Enterprise Magazine
July-August 2017 Vol.44 No.253
www.tpaemagazine.com
INNOMag Gates to Inspiration of Innovation
Technology
and
Innovation Leading
to
Industry 4.0
INTRODUCE การจัดการความรูองคกร 4.0 ระบบโทรคมนาคม (ลมแลวลุก) อีกครั้ง การเพิ่มประสิทธิภาพเชิงพลังงานของกระบวนการผลิตดวยเคร�องปฏิกรณชนิดออโตเทอรมัล ค็อกเน็กซตอบโจทยการเปลี่ยนผานสูยุคการผลิตแบบออโตเมชั่น
ศูนยรวม
การออกแบบผลิตสื่อ สรางสรรคครบวงจร
MMP โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย
SERVICE *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
โทรศัพท 0-2258-0320-5
ตอ 1730 (คุณียากร) ตอ 1750 (คุณบุษบา) โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย
&
July-August 2017, Vol.44 No.253
Innovation Worldwide
4 การจัดการความรู้: กรณีศึกษา ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตอนที่ 2
โดย ดร.โชคดี เลียวพานิช
21
7 การจัดการความรู้องค์กร 4.0 ตอนที่ 1
โดย โกศล ดีศีลธรรม
Focus
10 ระบบโทรคมนาคม (ล้มแล้วลุก) อีกครัง้
Technology
โดย เกียรติศักดิ์ ศรีพิมานวัฒน์
Inspiration
Energy & Environmental
12 มจธ. คิดอุปกรณ์อุดผนังหัวใจ โดยไม่ต้องผ่าตัด
16 พลาสติกชีวภาพ กับการแก้ปัญหาขยะ
Report
Production
โดย กองบรรณาธิการ
โดย มร.เกรก เนียรีเมน
4
18 การเพิ่มประสิทธิภาพเชิงพลังงาน ของกระบวนการผลิตด้วย เครือ่ งปฏิกรณ์ชนิดออโตเทอร์มลั ตอนที่ 1
21 ณ น่าน จากต้นน�้ำและขุนเขา สูส่ งั คมเกษตรกรรมแห่งแรกของโลก
โดย กองบรรณาธิการ
Report
โดย กองบรรณาธิการ
13 การน�ำ Hitachi Content Platform มาช่วยองค์กรแปรรูปสู่ระบบดิจิทัล
Site Visit
โดย กุลนันทน์ วีรณรงค์กร และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ
24 ค็อกเน็กซ์ตอบโจทย์การเปลีย่ นผ่าน สู่ยุคการผลิตแบบออโตเมชั่น โดย กองบรรณาธิการ
Life Style 29 Book Guide 31 Show & Share
10
16
Editor
Message from
&
July-August 2017, Vol.44 No.253
Published by:
ไม่
เพียงแต่องค์กรขนาดเล็กทีต่ อ้ งสร้างองค์ความรูใ้ ห้ครอบคลุมทุกด้าน องค์กร ขนาดใหญ่เองทุกวันนีใ้ นยุคดิจทิ ลั ยังต้องปรับเปลีย่ นตัวเองให้เท่าทันกับการ เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะเป็นการจัดการองค์ความรู้ การพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม รวมไปถึงการสื่อสารที่ทุกภาคส่วนต้องเข้าสู่ค�ำว่า Social Network อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ภายใต้ความเจริญเติบโตที่ไร้ขีดจ�ำกัด ผู้ประกอบการเอง ก็คงต้องทบทวนจุดอ่อนจุดแข็งของตัวเอง เพือ่ การวางแผนกลยุทธ์การด�ำเนินงาน ให้ราบรื่นและเท่าทัน นิตยสาร ฉบับที่ 253 เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2560 & เรายั ง คงนำ�เสนอบทความด้ า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ บทความเรื่อง การจัดการความรู้องค์กร 4.0 บทความเรื่อง ระบบโทรคมนาคม (ล้มแล้วลุก) อีกครั้ง บทความเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพเชิงพลังงานของ กระบวนการผลิตด้วยเครือ่ งปฏิกรณ์ชนิดออโตเทอร์มลั บทความเรือ่ ง ค็อกเน็กซ์ ตอบโจทย์การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคการผลิตแบบออโตเมชั่น โปรดติดตาม
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http://www.tpa.or.th
Advisors:
ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์
Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant:
พรามร ศรีปาลวิทย์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1707 e-mail: forquality@tpa.or.th
Art Director:
เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th
Production Design:
ประครอง ไชยศรีทา ณัฐวัตร วิวาสุขุ นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1733 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nuttawat@tpa.or.th, nara@tpa.or.th
PR & Advertising Supervisor:
พบกันใหม่ฉบับหน้า
ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Advertising:
บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
ภาพประกอบบางส่วนจาก: www.shutterstock.com
เป็นนิตยสารออนไลน์ราย 2 เดือน เผยแพร่ทุกต้นเดือนมกราคม มีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคม กันยายน และพฤศจิกายน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด & แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และการจัดการภายในองค์การผลิตในสาขาต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนนักวิชาการในการเผยแพร่ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศ บทความและข้อความในนิตยสารออนไลน์นี้ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว และลิขสิทธิ์ของผู้เขียน จึงไม่มีส่วนผูกพันกับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) อีกทั้งข้อมูลต่าง ๆ อาจมีความผิดพลาด จึงควรตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนใช้อ้างอิง กรณีที่ผู้อ่านเห็นว่า บทความใดได้มีการลอกเลียน หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง หรือทำ�ให้เข้าใจผิดว่า เป็นผลงานของผู้เขียน กรุณาแจ้งให้สมาคมฯ ทราบ จักเป็นพระคุณยิ่ง
Innovation
Worldwide Focus Inspiration Report
&
Worldwide
การจักรณีดการความรู : ้ ศกึ ษาธนาคารอาคารสงเคราะห์ ตอนที่
ดร.โชคดี เลียวพานิช
ภาควิชาไอที คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ http://youtube.com/c/KnowledgeSociety http://facebook.com/chokde
2
ต่อจากฉบับที่แล้ว KM Roadmap ยุทธศาสตร์เชิงระบบ
ส�ำหรับในปีนแี้ ผนงานหลัก ๆ ในแต่ละเสา คือ KMS, Innovation, KM, OL, CoP จะมีการจัดท�ำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น แบบบันทึก ความรู้ AAR การจัดท�ำ KMS on Mobile คือ เป็น Application บนมือถือเพื่อให้พนักงานสามารถที่จะเข้าสู่ความรู้ได้สะดวกขึ้น การท�ำ Benchmarking กับองค์กรอื่น การพัฒนา Expert ให้เป็น Mentor คือ ในปีแรก ๆ ที่ ธอส. มี CoP ก็มีการสร้าง Expert เหมือนกัน แต่ไม่รู้ว่า Expert จะท�ำงาน อย่างไร เราก็ให้ Expert เข้าอบรมเพื่อให้รู้ว่า Expert มีหน้าที่อย่างไร อันทีส่ อง คือ คุณต้องมีหน้าทีเ่ ป็นพีเ่ ลีย้ งสอนงานอะไรบ้างให้ Expert มารวมเป็นทีม Inno Project ขึ้นมา เนื่องจาก KM ที่ท�ำอยู่ตอนแรกจะถูกขับเคลื่อนโดย CoP ซึ่ง เป็นงานจิตอาสา แต่ว่าในระดับฝ่าย ระดับสาขา หรือว่าผู้บริหารอาจ จะยังไม่ได้เข้ามามีส่วนร่วม เพราะฉะนั้นก็เลยมีการจัดการ KM ทุก >>>4
July-August 2017, Vol.44 No.253
ระดับ ตั้งแต่ระดับสาขา ระดับฝ่าย ในช่วงแรกของการด�ำเนินการ ก�ำหนดให้หนึ่งฝ่ายมีหนึ่งองค์ความรู้และให้เขาน�ำองค์ความรู้มาใช้ ในการคิด Inno Project ขึ้นมา อีกส่วนหนึ่ง คือ มีการจัดตั้งศูนย์บ่มเพาะนวัตกรรมขึ้นมา รวมถึงท�ำคู่มือนวัตกรรมด้วยว่าจะมีกระบวนการหรือขั้นตอนอย่างไร ที่จะพัฒนาจากความคิดไปสู่นวัตกรรม
KM เรื่องของกลยุทธ์
ก่อนหน้าปี พ.ศ.2557 ได้มีการจัดท�ำ KM ในฝ่าย พบร. ภายใต้สายงานทรัพยากรบุคคล มีเรื่อง e-Learning ด้วย แต่เป็น เหมือนจุดเล็ก ๆ มากกว่า ซึ่งเรียนรู้โดยไม่มีคณะกรรมการที่จะ ขับเคลื่อนและไม่มีทิศทาง และเป็นแค่แผนงานในฝ่ายงาน พบร. เท่านั้นโดยเป็นเพียงกลุ่มเล็ก ๆ ที่เข้ามาเรียนรู้ในแต่ละครั้ง เรียนรู้ เสร็จแล้วก็จบไป ไม่มีการน�ำไปปฏิบัติต่อ
&
Worldwide พอเป็นคณะกรรมการจะเป็นการท�ำงานแบบ Cross Functional คือ ท�ำให้แต่ละสายงานได้เข้ามาร่วมกันระดมสมอง บูรณาการ องค์ความรู้ และใช้ประโยชน์ข้ามสายงานได้ด้วย คือ ทุกฝ่ายงานมี ส่วนร่วมในการท�ำ KM สมมติว่าสินเชื่อมีปัญหากับเงินฝากเราก็จะมี การแก้ปัญหาร่วมกันได้ เรื่องของ KM เป็นข้อควรปรับปรุงที่ได้รับจากส�ำนักงาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) มาหลายปีแล้ว ซึง่ มีเกณฑ์ พื้นฐาน คือ จะต้องมีการจัดการความรู้ด้าน CSR การจัดการความรู้ เรือ่ งลูกค้า หรือการจัดการความรูเ้ รือ่ งอืน่ ๆ เพราะฉะนัน้ การทีเ่ อาเรือ่ ง การจัดการความรู้มาอยู่ภายใต้แผนงาน Training ไม่สามารถที่จะ ขับเคลื่อนได้ ธอส.จึงต้องดึงเรื่องนี้มาไว้ที่กลยุทธ์ มาอยู่กับคนที่ท�ำ คือ ฝ่ายเลขา ที่ท�ำซีป้ามาตั้งแต่ต้น ดังนัน้ ธอส.จึงต้องปรับกระบวนทัศน์ใหม่ คือ มองการจัดการ ความรู้เป็นการจัดการเชิงกลยุทธ์ ไม่ได้มองว่าเรื่องนี้เป็นแค่การ ฝึกอบรม เพราะฉะนั้นเรื่องของการจัดการความรู้ทั่วทั้งองค์กรเป็น เรื่องเกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย ผู้บริหารต้องผลักดัน จะต้องจบด้วยการ ให้ผู้บริหารในระดับรองกรรมการผู้จัดการมาเป็นคณะกรรมการ KM ต้องใช้พลังระดับสูงในการขับเคลือ่ น แค่ระดับหน่วยงาน เล็ก ๆ ใน HR ไม่พอที่จะขับเคลื่อนระบบนี้ออกไป ในช่วงแรกมีความ คิดเห็นในเรือ่ งการบริหารจัดการ KM ทีแ่ ตกต่างกัน บางคนจะมองว่า ฝ่าย HR จะต้องเป็นผูด้ แู ลเรือ่ งการจัดการความรู้ เพราะเป็นเรือ่ งของ การจัดการคน ต้องพัฒนาคนให้ได้ แต่เราก็พยายามที่จะบอกว่า ถ้า จะมองแนวในเรือ่ งของคนอย่างเดียวแต่ไม่ได้มองว่าจัดการความรูใ้ น เชิงกลยุทธ์ มันจะจบแค่การอบรมแล้วก็จบกันไป ไม่มีความต่อเนื่อง
การทำ� CoP จัดการ CoP ตามกระบวนการท�ำงาน ธอส. สร้าง CoP ขึ้นมา 15 CoPs เพื่อสนับสนุนการพัฒนากระบวนการท�ำงาน (work process) ที่มีอยู่ในระบบงานของธนาคาร (work system) แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 14 กระบวนการหลัก คือ 1. กลุ่มกระบวนการด้านการจัดการ (Management Process: MP) ประกอบไปด้วย ➠ MP1 คือ ก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ➠ MP2 คือ ก�ำหนดยุทธศาสตร์องค์กร 2. กลุ่มกระบวนการด้านธุรกิจหลัก (Core Process: CP) ธอส. ถูกตั้งภารกิจมาเพื่อการให้คนไทยมีบ้าน คือ การปล่อยสินเชื่อ เป็นหลัก ประกอบไปด้วย ➠ CP1 การจัดหาทุน ➠ CP2 การให้กู้ ➠ CP3 การจัดการ NPL/NPA
3. กลุม่ กระบวนการด้านการสนับสนุน (Support Process: SP) คือ กระบวนการต่าง ๆ ที่สนับสนุนให้สามารถปล่อยสินเชื่อได้ ประกอบไปด้วย ➠ SP1 บริหารและพัฒนาบุคลากร ➠ SP2 จัดการเทคโนโลยี/สารสนเทศ ➠ SP3 จัดการบัญชี/การเงิน ➠ SP4 จัดการด้านกฎหมาย/บังคับคดี ➠ SP5 จัดการด้านพัสดุ ระบบสนับสนุนอ�ำนวยความสะดวก ส�ำนักงานและสภาพแวดล้อม ➠ SP6 จัดการด้านตรวจสอบ ➠ SP7 จัดการความเสี่ยง/Compliance ➠ SP8 จัดการความรู้/ปรับปรุง/นวัตกรรม ➠ SP9 จัดการ CG/CSR ทุกกระบวนการล้วนแต่เป็นกระบวนงานส�ำคัญทีส่ ร้างคุณค่า ให้แก่ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนห่วงโซ่อุปทาน ดังนั้น เราจึงน�ำ เครื่องมือในการบริหารจัดการความรู้ภายในองค์กร ในรูปแบบที่ไม่ เป็นทางการ ทีเ่ รียกว่า CoP มาใช้เพือ่ พัฒนาให้เกิดเป็นชุมชนแห่งการ เรียนรู้โดยมีผู้เชี่ยวชาญในแต่ละ CoP มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้าง มาตรฐาน แนวทางปฏิบัติที่เป็นเลิศของแต่ละกระบวนการ และ ต่อยอดการเรียนรูเ้ พือ่ ท�ำให้ ธอส. เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning organization) ต่อไป CoP จะเกาะไปตาม Process ของธนาคาร และในแต่ละ CoP จะมีการจัดเก็บองค์ความรู้ตามแผนที่ความรู้ (knowledge map) ซึ่งจะเป็นองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับความรู้ที่ใช้ในงานของพนักงานเอง ความรู้ที่พนักงานได้จาก Best Practice ความรู้ที่ได้จาก Expert ความรูท้ เี่ กิดจากประสบการณ์ กระบวนการแต่ละอันจะมีองค์ความรู้ รองรับ โดยที่การจัดการความรู้จะต้องมีการวิ่งผ่านกลยุทธ์ระดับ สายงาน ระดับองค์กร และไปสู่เป้าหมายระดับองค์กรด้านบน July-August 2017, Vol.44 No.253
5 <<<
&
Worldwide ●
องค์ประกอบของสมาชิกใน CoP การจัดตัง้ CoP นัน้ ก่อน อื่นจะต้องมีการจัดอบรมพนักงานเพื่อให้ความรู้ในการท�ำ CoP ก่อน หลังจากที่อบรมเสร็จ แต่ละกลุ่มจะมีการคัดเลือกประธานกับเลขา กันเอง ซึ่งเป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับจากกลุ่มว่าเหมาะสม อีกส่วน คือ Expert ซึ่งทุกฝ่ายงานจะต้องจัดส่งมา และมี คุณสมบัติในการท�ำงานอย่างน้อย 5 ปี มีการท�ำท�ำเนียบ Expert เพื่อ ที่ว่าเวลาน้องใหม่มาอยากจะรู้เรื่องอะไร ก็สามารถเข้ามาดูข้อมูลใน ท�ำเนียบนี้เพื่อที่จะเข้าไปสอบถามความรู้กับ Expert ได้ ตามค�ำแนะน�ำของ กพร.ที่ใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 จะเรียก ชือ่ สมาชิกใน CoP ว่า คุณเอือ้ คุณอ�ำนวย คุณกิจ มีประธาน Sponsor, Leader และ Facilitators ซึ่งทาง ธอส. ก็มีองค์ประกอบใน CoP ที่ สอดคล้องกัน ซึ่งเราพยายามที่จะจัดคนมาเข้าในต�ำแหน่งต่าง ๆ ให้ ครบถ้วน เพื่อที่ว่า CoP จะสามารถด�ำเนินภารกิจต่อไปได้อย่างเต็มที่ ● การขับเคลื่อน CoP โดยมี Facilitator คอยกระตุ้น หลัง จากทีม่ กี ารแบ่งเป็น 15 CoPs อย่างชัดเจน เราจะท�ำการจัดการอบรม แต่ละกลุ่ม พอเวลาไปอบรมมันจะเกิดบรรยากาศหนึ่งขึ้น คือ จะไม่มี ผู้บริหาร มีแต่วิทยากร แล้วเรามาช่วยกันคิดไอเดีย จะได้รู้ว่าต้องมี การปรับปรุงงานอะไรบ้าง วิธีการที่จะอยู่ร่วมกัน ก็คือ สร้างกลุ่มไลน์ ขึ้นมา เวลาใครมีอะไรก็เอามาแชร์กัน เขียนอะไรไปก็ได้ (แต่ห้ามไป ต�ำหนิกัน) หรืออยากจะท�ำอะไร ก็ถามเข้ามาได้ จะมีผู้รู้ที่อยู่ใน CoP ไลน์ช่วยกันตอบ พอมีการตอบตรงนี้ขึ้นมาก็เลยรู้สึกว่ามันดีนะ CoP นี้เป็นประโยชน์ ปัจจัยหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ คือ จะต้องมี KM Facilitator ทีก่ ระตือรือร้น เพื่อคอยกระตุ้น ถ้าสร้างกลุ่มขึ้นมา แต่ไม่มีการกระตุ้น CoP ก็จะ หายไป Facilitator ของ ธอส.ที่เป็นบรรณารักษ์มักจะหาหนังสือที่ตัด ค�ำสัน้ ๆ เข้ามาใส่ในนีว้ า่ วันนีเ้ ราอยากเสนอองค์ความรูเ้ รือ่ งอะไร ใคร มีเรื่องมาแชร์ ก็จะต้องเข้าไปกระตุ้นในนี้ตลอดไม่ให้มันเงียบไปเลย
พอทุกคนเห็นว่าบรรยากาศแบบนีใ้ ช้ได้ สาขาทีอ่ ยูห่ า่ งไกลเมือ่ มีลกู ค้า มาถามอะไร หาค�ำตอบไม่ทนั ก็จะถามเข้ามาในกลุม่ ใครตอบได้กจ็ ะ รีบตอบไป ก็จะมีการสร้างกลุม่ ไลน์ขนึ้ มาหลายกลุม่ มาก ไม่วา่ จะเป็น สาขา ผู้จัดการ ภูมิภาค ใน กทม. และจะมี Expert ต่าง ๆ เข้ามาอยู่ ในนีด้ ว้ ย และฝ่ายไอทีกต็ อ้ งให้เข้ามาอยูด่ ว้ ยกรณีระบบติดขัดตรงไหน ถ้าเราใช้อีเมลอาจจะไม่มีคนอ่าน แต่ว่าใน CoP มีเป็นหลักร้อยคน เข้าไปดูว่าข้อนี้ไม่มีใครตอบ ให้ช่วยเขาหน่อยเขาเดือดร้อน ก็จะ เป็นการช่วยกระตุ้น ● ประสบการณ์ในการท�ำ CoP ที่ผ่านมา หลังจากที่ทาง ธนาคารได้ท�ำการอบรมในเรื่อง 4 Learn เสร็จแล้วก็จะมีการตั้ง ประธาน เลขา จากการไปอบรมที่พัทยาซึ่ง KM Facilitator รู้สึกว่า บรรยากาศได้ และคนทีไ่ ปก็เป็นกันเองสนุกสนานมาก จึงมองว่าเหล็ก ยังร้อนอยูต่ อ้ งรีบตี จึงเริม่ สานต่อตัง้ แต่ในรถช่วงขากลับจากการอบรม เลยว่า ต่อไปนี้ทุกคนจะมาช่วยกัน มีอะไรก็จะมาแชร์ จนกระทั่งเป็น CoP Original ในปี พ.ศ.2557
อ่านต่อฉบับหน้า
>>>6
July-August 2017, Vol.44 No.253
&
Worldwide
การจัดการความรู้องค์กร 4.0 ตอนที่
1
โกศล ดีศีลธรรม
ต่อจากฉบับที่แล้ว
การ
ด�ำเนินธุรกิจภายใต้ปัจจัยพลวัตรการแข่งขันยุคใหม่ได้ ก�ำหนดให้สารสนเทศเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อน การด�ำเนินงาน ท�ำให้องค์กรทุกภาคส่วนตระหนักถึงความส�ำคัญใน การพัฒนาสร้างองค์ความรู้ โดยค�ำนึงถึงสินทรัพย์หลักขององค์กร ได้แก่ บุคลากร (people) คู่ค้า (partners) และเทคโนโลยี (technology) โดยองค์กรชัน้ น�ำต่างให้ความส�ำคัญต่อความรูเ้ ป็นตัวขับเคลือ่ น หลักในการสร้างศักยภาพการแข่งขัน ท�ำให้การจัดการความรู้เป็น ประเด็นหลักในโลกเศรษฐกิจยุคใหม่ซึ่งเกิดการพัฒนาตามแนวทาง เศรษฐกิจฐานความรู้ (knowledge-based economy) เพื่อมุ่งสร้าง ความได้เปรียบการแข่งขัน
บทบาทการจัดการความรู้
ปั จ จุ บั น บุ ค ลากรคื อ สิ น ทรั พ ย์ ห ลั ก ที่ ส นั บ สนุ น การสร้ า ง ศักยภาพการแข่งขันให้กับธุรกิจ ดังนั้น การมุ่งบรรลุเป้าหมายองค์กร จะต้องเกิดความมีสว่ นร่วมของพนักงานทุกระดับ หากพนักงานมีสว่ น ร่วมในกระบวนการตัดสินใจก็จะเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา ศักยภาพระยะยาว แต่เนื่องจากบุคลากรจะมีข้อจ�ำกัดในการแลก เปลี่ยนความรู้ระหว่างบุคคลและข้อจ�ำกัดทั้งสถานที่และเวลา ท�ำให้
koishi2001@yahoo.com
องค์กรยุคใหม่พยายามพัฒนาความรู้ที่กระจายอยู่ตามแหล่งต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยมุ่งเน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม (innovation) ซึ่งความส�ำเร็จการ สร้างความสามารถการแข่งขันขึ้นกับคุณภาพความรู้เป็นปัจจัยหลัก โดยเฉพาะการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้องอาศัยความรู้ด้านต่าง ๆ อาทิ อุปสงค์ผู้บริโภค การตลาดและเทคโนโลยีสนับสนุน ดังนั้น สิ่งที่ องค์กรจะเผชิญในการจัดการสินทรัพย์ความรูเ้ พือ่ ศักยภาพการแข่งขัน ยุคใหม่ ได้แก่ ● การแข่งขันที่รุนแรงจากอัตราการพัฒนานวัตกรรมที่เป็น ผลจากการพัฒนาองค์ความรู้ต่อเนื่อง ● การจัดการธุรกิจทีม ่ งุ่ สร้างคุณค่าเพือ่ ตอบสนองต่อลูกค้า ● แรงกดดันจากปัจจัยการแข่งขันทีส ่ ง่ ผลให้เกิดการปรับลด บุคลากรลง ● บุ ค ลากรมี ข ้ อ จ� ำ กั ด ทางเวลาในการสั่ ง สมและสร้ า ง ความรู้ให้กับองค์กรที่ต้องใช้ระยะเวลานาน ● แนวโน้มการเกษียณก่อนก�ำหนดของพนักงานเพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้สูญเสียบุคลากรทางความรู้ July-August 2017, Vol.44 No.253
7 <<<
&
Worldwide
PEOPLE
KM
TECHNOLOGY
PROCESS
ปัจจัยสนับสนุนการจัดการความรู้ยุคใหม่
การปรับกระบวนทัศน์กลยุทธ์ดงั กล่าวส่งผลต่อความสูญเสีย องค์ความรู้ในสาขาเฉพาะทาง ท�ำให้องค์กรชั้นน�ำให้ความส�ำคัญใน การรักษาความรู้หลักขององค์กรและให้ความสนใจแนวคิดมูลค่า สินทรัพย์ทางความรู้ที่มุ่งประสิทธิผล ซึ่งน�ำแนวทางจัดการความรู้มา พัฒนา อาทิ การจัดการปริมาณข้อมูล การจัดการคุณภาพข้อมูล การ จัดหาและสังเคราะห์ความรู้ รวมถึงการเพิ่มมูลค่าสินทรัพย์ความรู้ องค์กร แสดงให้เห็นว่าการจัดการความรู้ไม่เพียงแค่จัดการสินทรัพย์ ความรูเ้ ท่านัน้ แต่ได้มกี ารจัดการกระบวนการหลัก ได้แก่ การพัฒนา ความรู้ การแบ่งปันความรู้และการใช้ความรู้ โดยสินทรัพย์ความรู้มี บทบาทความส�ำคัญไม่น้อยกว่าสินทรัพย์ทางการเงินซึ่งเป็นเสมือน สินทรัพย์เชิงกลยุทธ์ ดังนั้น ความส�ำเร็จของธุรกิจขึ้นกับปัจจัยความ สามารถในการจัดเก็บความรู้เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ รวมทัง้ การร่วมใช้ความรูร้ ะหว่างบุคลากร แต่ปญ ั หาทีม่ กั พบบ่อย คือ มีแนวทางไหนทีจ่ ะน�ำความรูม้ าใช้เพือ่ เพิม่ ศักยภาพให้กบั ธุรกิจอย่าง เหมาะสม ส�ำหรับนโยบายองค์กรส่วนใหญ่มักให้ความส�ำคัญต่อการ ควบคุมสินทรัพย์ทางการเงินและละเลยต่อการบริหารสินทรัพย์ทาง ความรู้ซึ่งเป็นปัญหาต่อการพัฒนาศักยภาพให้กับธุรกิจ ตามผลการ ศึกษาพบว่า SME ส่วนใหญ่ขาดการใช้ประโยชน์ความรูภ้ ายในองค์กร ซึ่งส่งผลต่อปัญหาการบริหารจัดการองค์กร ส่วนการใช้ประโยชน์ ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรจ�ำแนก ดังนี้ 1. รูปแบบตามแนวราบ คือ การถ่ายทอดความรู้หรือข้อมูล ระหว่างแผนกและพนักงานแผนกเดียวกัน
>>>8
July-August 2017, Vol.44 No.253
2. รูปแบบตามแนวตั้ง คือ การถ่ายทอดความรู้หรือข้อมูล จากระดับบนสูร่ ะดับล่างและพนักงานระดับปฏิบตั กิ ารสูร่ ะดับผูบ้ ริหาร เรียกว่า Top-down & Bottom-up 3. การถ่ายทอดตามรอบเวลา คือ การน�ำความรูห้ รือข้อมูล ที่ถูกจัดเก็บตั้งแต่อดีตเข้ามาใช้ประโยชน์ 4. สะดวกต่อการเรียนรู้ คือ ความรู้ที่ถูกถ่ายทอดจะต้องมี ความชัดเจนและง่ายต่อการเรียนรู้ โดยปัญหา 2 รูปแบบแรกสามารถด�ำเนินการด้วยการบริหาร นโยบายตามวงจร PDCA ส่วนรูปแบบที่ 3 ใช้เอกลักษณ์องค์กรและ รูปแบบสุดท้ายใช้หลักการควบคุมด้วยการมองเห็นสนับสนุน ส�ำหรับ สารสนเทศทางความรูท้ มี่ กี ารสัง่ สมมาตัง้ แต่อดีตซึง่ เปรียบเสมือนคูม่ อื ทีม่ คี ณ ุ ค่าต่อผูบ้ ริหารรุน่ ใหม่และบุคลากรทุกระดับเพือ่ ใช้ทบทวนและ เกิดการต่อยอดความรูเ้ พือ่ พัฒนาองค์กรให้กา้ วต่อไปอย่างมัน่ คง อาทิ ● เกิ ด ความหยั่ ง ลึ ก อยู ่ ใ นพฤติ ก รรมองค์ ก ร ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ บุคลากรทุกคนแสดงออกมาและสิง่ ทีแ่ ตกต่างจากคูแ่ ข่งทีไ่ ม่สามารถ ลอกเลียนแบบได้ ● สนับสนุนการวางรากฐานให้เกิดพฤติกรรมการท�ำงาน ที่ดีต่อบุคลากร ● สิ่งที่สื่อให้เห็นถึงวิสัยทัศน์หรือคุณค่าองค์กรต่อพนักงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ● กระตุน ้ ให้บคุ ลากรมีความกระตือรือร้นในการท�ำงานและ ตระหนักร่วมกันถึงคุณค่าองค์กรด้วยตนเอง โดยไม่ต้องถูกสั่งการ จากฝ่ายบริหาร ● สร้างทัศนคติที่ดีและความภาคภูมิใจให้กับบุคลากรใน องค์กร
&
Worldwide
ผลิตภัณฑ์ (Products)
กระบวนการ (Process) ความรู้ (Knowledge)
เทคโนโลยี (Technologies)
กระบวนการธุรกิจ
มูลค่าเพิ่ม และผลกำ�ไร
ตลาด (Market)
องค์ประกอบสินทรัพย์ความรู้ (Knowledge Assets) การพัฒนาระบบการจัดการความรู้ ส�ำหรับการพัฒนาระบบการจัดการความรูจ้ ะต้องมีการจัดตัง้ ทีมงาน ซึ่งผู้มีบทบาทส�ำคัญช่วงต้นในการชี้น�ำการจัดตั้งทีมและ แนวทางด�ำเนินการ คือ เจ้าหน้าที่บริหารอาวุโสทางความรู้ (chief knowledge officer) โดยมีบทบาทหน้าทีหลัก อาทิ ล�ำดับความส�ำคัญ กลยุทธ์การจัดการความรู้ ก�ำหนดขอบข่ายความรู้ภายในองค์กรตาม ภารกิจและเป้าหมายองค์กร การสนับสนุนให้เกิดสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ (learning environment) การจัดการสินทรัพย์ทางปัญญาให้มี มูลค่าสูงสุด รวมถึงการปรับปรุงและจัดการความรูท้ เี่ ปลีย่ นแปลงตาม กระแสยุคใหม่ ดังนั้น การด�ำเนินการเหล่านี้จึงมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ แบบเต็มเวลาเพื่อสนับสนุนและประสานงานกับบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิผล โดยสมาชิกในองค์กรที่มีความสนใจถ่ายทอดหรือ การใช้ความรูจ้ ะจัดตัง้ กลุม่ ชุมชนนักปฏิบตั ิ (community of practice) สมาชิกกลุม่ ดังกล่าวจะมีความรูส้ กึ ความเป็นเจ้าของระบบการจัดการ ความรูอ้ งค์กรและต้องมีความพยายามจากทีมงานทุกคนในการบรรลุ เป้าหมายเพือ่ ให้เกิดวัฒนธรรมความมีสว่ นร่วม รวมถึงการตรวจสอบ ความรู้ถือว่ามีความจ�ำเป็น ซึ่งแสดงความเปลี่ยนแปลงขององค์กร ได้แก่ พฤติกรรมบุคลากร กระบวนการธุรกิจและเทคโนโลยี การ ตรวจสอบลักษณะความรู้ที่มีอยู่ในองค์กรและแนวทางเชื่อมโยง
ความรู้องค์กรเพื่อน�ำความรู้ประยุกต์ในการยกระดับความสามารถ การแข่ ง ขั น และสร้ า งคุ ณ ค่ า สู ง สุ ด ส่ ว นองค์ ป ระกอบหลั ก ใน กระบวนการจัดการความรู้แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ เทคโนโลยีและสังคม กับ วัฒนธรรมและองค์กร โดยองค์ประกอบทั้ง 2 ส่วนนี้จะมีระบบ การจัดการความรู้เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน ซึ่งขั้นตอนการจัดการความรู้ จ�ำแนก ดังนี้ 1. การสร้างและจัดหาความรู้ (knowledge creation & acquisition) ดังกรณีวัฒนธรรมองค์กรญี่ปุ่นที่ให้ความส�ำคัญในการ พัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจระยะยาว โดย เน้นพัฒนาความรูแ้ ต่ละบุคคลที่มิได้แสดงออกในรูปเอกสาร (tacit knowledge) ซึง่ กระตุน้ ให้บคุ ลากรสร้างองค์ความรูเ้ พือ่ พัฒนากลยุทธ์ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กร ทั้งยังส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยน ความคิดและร่วมใช้สารสนเทศทางความรู้ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม รถยนต์ที่สร้างความรู้ในการพัฒนารูปแบบรถ ซึ่งใช้นโยบายการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล อาทิ การสับเปลี่ยนพนักงานให้ท�ำงานใน หน้าที่ต่าง ๆ เพื่อก่อให้เกิด Tacit Knowledge ที่มุ่งพัฒนาบุคลากร ให้เป็น Knowledge Creator ซึ่งองค์กรแบบตะวันตกส่วนใหญ่ยาก ที่จะพัฒนาตามแนวทางวัฒนธรรมองค์กร ดังกล่าวนี้ได้ 2. การจั ด การเพื่ อ จั ด เก็ บ ความรู ้ อ งค์ ก ร (knowledge organization & storage) เป็นการจัดเก็บความรู้ที่ถูกสร้างให้เป็น หมวดหมู่และเก็บในฐานข้อมูล 3. การกระจายความรู้ (knowledge distribution) โดยใช้ เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศทางความรู้จากฐานข้อมูลที่ถูกจัดเก็บ แล้วกระจายสู่หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการใช้งาน 4. การประยุกต์ใช้ความรู้ (knowledge application) การ เชื่อมโยงกิจกรรมหลักต่าง ๆ ผ่านระบบการไหลของงานด้วยระบบ เครือข่ายไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ระบบทำ�งานร่วมกัน
การสร้าง และการจัดหา ความรู้
เครื่องมือค้นหาและสืบค้น
การจัดการ และจัดเก็บ ความรู้
การกระจาย ความรู้
ระบบการไหลของงาน
การประยุกต์ ความรู้ใน การใช้งาน
อ่านต่อฉบับหน้า
July-August 2017, Vol.44 No.253
9 <<<
&
Focus
ระบบโทรคมนาคม (ล้มแล้วลุก) อีกครั้ง จากการซื้อสู่การเริ่มวิจัยและพัฒนา
ระบบโทรคมนาคมไทยเริ่มแรกที่ พ.ศ.2418 กับอดีตระบบ โทรเลขสูก่ ารเริม่ โทรศัพท์ (บ้าน) พ.ศ.2424 ตามด้วยการสือ่ สารไร้สาย ทางแสง ดาวเทียม ใต้น�้ำ จนมาถึงยุคอินเทอร์เน็ต โดยทุกระบบของ เมืองไทยดังว่าเริ่มมากับการ “ซื้อ” เป็นหลัก กระทั่งเกิดแนวทางการ สนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด กิ จ กรรมวิ จั ย เพื่ อ พึ่ ง พาตนเองได้ บ ้ า งผ่ า นการ สนับสนุนของหลายหน่วยงานมาอย่างยาวนาน ทั้ง วช. สกว.* จนมา ต่อ กทช. หรือ กสทช. ในปัจจุบัน** ทว่าการยืนบนขาตนเองใน สาขานี้เห็นทียังคงยากเข็ญยิ่งนัก
จริงหรือ … ที่ใดมีงบที่นั่นเกิดผู้เชี่ยวชาญ ?
อดีตผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ศ.ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ เคยกล่าวไว้ทำ� นองว่า … ระบบโทรคมนาคม ต้องมีหลายส่วนงานมากมาท�ำงานร่วมกัน ต่างจากหัวข้อวิจัยเดี่ยว อื่น ๆ ซึ่งขยายความได้ดั่ง ... โครงการโทรคมนาคมต้องประกอบเป็น ระบบ มีอย่างน้อยถึงเจ็ดส่วนงานที่แตกต่าง (7 OSI layers) ต้องมา เข้าขาท�ำร่วมกัน (synchronization) ทั้งเครื่องไม้เครื่องมือและคนท�ำ เองด้วย จึงเป็นความท้าทายกับประเทศก�ำลังพัฒนาที่ทุกปัจจัย หลักขาดแคลน ทั้ง 1) ก�ำลังคน 2) วิทยาการ 3) งบประมาณและ 4) นโยบายสนับสนุน ท�ำให้ที่ผ่านมาการรวมกลุ่มในเมืองไทยต้อง เร่งสร้าง โครงการจนได้รับบทเรียนมากกับสาขาโทรคมนาคมใน รูปแบบต่างกันไป หากมีสิ่งเหมือนกันก็ตรงที่การจบงานลงไม่สู้ดีนัก ทุกหัวข้อ เรื่อง ดังตัวอย่าง (พ.ศ.2545) โครงการวิจัยระบบโทรคมนาคมเพื่อโทรศัพท์ เคลื่อนที่ยุคที่สาม (3G) อันเป็นโครงการเชิงระบบงานแรกของ เก้าสถาบัน กว่ายี่สิบนักวิจัยพร้อมด้วยผู้ช่วยอีกจ� ำนวนมาก ได้ กลายเป็นโครงการต้นแบบประสบการณ์ให้ได้ศกึ ษากันต่อมา แต่มใิ ช่ ด้านเทคโนโลยีที่ส�ำเร็จ หากเป็นการบริหารคนท�ำงานและทีมวิจัย
เกียรติศักดิ์ ศรีพิมานวัฒน์ www.LED-SmartCoN.Org (ECTI-Telecom & IEEE ComSoc Thailand)
(พ.ศ.2547) อากาศยานไร้คนขับ (UAV) ของ สกว.ร่วมกับ หน่วยงานความมั่นคง เปิดโครงการผ่านวันแรกที่ยิ้มแย้มแต่วันที่ รายงานปิดโครงการห่างนานถึงสิบปีถัดมา พร้อมเสียงวิพากษ์ทั้ง นักวิจัยรับงานซ้อนโครงการอื่นและมีชื่อร่วมแต่มิได้เกี่ยวข้องลงมือ เป็นต้น เป็นที่น่าเห็นใจทีมงานบริหารโครงการเป็นอย่างยิ่ง แม้มี ตัวอย่างจากโครงการรุ่นพี่ 3G ก่อนหน้าให้ได้ศึกษาแล้วก็ตาม กลาย เป็นสิบปีที่ทั้งทรหดไปจรดทรมานของผู้ดูแลงาน (พ.ศ.2555) ดิ จิ ทั ล ที วี จากคาดการณ์ ต ลาดที่ สุ ด โต่ ง นั ก วิ ช าการวิ ศ วกรรมสื่ อ สารก็ ย ้ า ยสาขามารั บ งานพรึ บ พรั บ ทั้ ง ที่ ปรึกษาเทคนิค การจัดประชุมวิชาการ หรือเพียงการรวมประวัติอดีต พัฒนาการกับงบหลักล้านก็กระหึ่ม นายหน้าวิชาการเกณฑ์กลุ่ม
▲ รศ.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม วิศวกรไฟฟ้าสื่อสารอาวุโส
* ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว) ** อดีต - คณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช) : : ปัจจุบัน - ส�ำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช) >>>10
July-August 2017, Vol.44 No.253
&
บุคลากรและแหล่งข้อมูลบูมตาม แต่ในที่สุดการรวมตัวเพียงชั่ววูบก็ สงบเงียบตามการจัดงบที่จบลงตามกระแส คดีฟ้องร้องของฟาก อุตสาหกรรม สื่อก็ตามมาพร้อมเสียงบ่นขาดทุนระเนระนาด วิศวกรดิจิทัล ทีวีที่เคยมาออกสื่อเสนอหลายโครงการทยอยเลือนหาย มุมหลักของ ความเห็นที่ส�ำรวจจากผู้ปฏิบัติ หัวหน้าโครงการ มุมของผู้ประเมิน โครงการ ได้แกนหลักของอุปสรรคส่วนใหญ่มาเหมือนกันที่มิใช่ความ ยากของวิทยาการ งบประมาณไม่พอ หรือขาดนโยบายสนับสนุน … หากยังคงเป็นเรื่องของ “คนกับทีม” โดยเกือบสมบูรณ์ที่มีใจไกลจาก โจทย์วิชาการหรือวิจัยเหล่านั้นอย่างแท้จริง
ภาพอดีตประสบการณ์จากสามผู้คร�่ำวงการ
สอดคล้องกับหลายความเห็นของปรมาจารย์ด้านวิศวกรรม การสื่อสารโทรคมนาคมแถวหน้าของเมืองไทยอันท�ำให้เห็นภาพพอ ท�ำเนา เช่น รศ.ดร.ณรงค์ อยู่ถนอม วิศวกรไฟฟ้าสื่อสารอาวุโส
Focus
หนึง่ ในผูร้ ว่ มบุกเบิกวงการวิศวกรรมไฟฟ้ายุคใหม่ กล่าวในงานฉลอง 125 ปี สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) ว่า “เรา ถางหญ้าถางพงสร้างทางให้คนรุน่ หลัง บาดแผลเต็มตัว คนรุน่ หลัง ที่เ ดินตามมากลับ บอกว่า เราเดินไม่ฉลาด” ส่วน ศ.ดร.โมไนย ไกรฤกษ์ เมธีวิจัยอาวุโสและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ (2554) เปรย สองมุมที่น่าสนใจไว้ว่า … ทุกหน่วยงานที่มาร่วมกันก็อยากเป็น เจ้าภาพ “บริหารผลงาน (KPI)” … อุปสรรคของการท�ำโครงการวิจัย ขนาดใหญ่จึงท�ำให้ต้องบริหารคนร่วมงานมากเพิ่มเป็นพิเศษยิ่งยวด ด้วย “แต่ก็ท�ำให้ได้งานดี ๆ ออกมา (เมื่อส�ำเร็จ)” เป็นมุมแลกกันที่ ต้องชัง่ น�ำ้ หนักด้วยความประนีประนอม เมือ่ มีตวั อย่างดีถงึ สามสีห่ วั ข้อ ก่อนหน้า ความหวังใหม่ต่อมาจึงมีการเริ่มอีกโครงการโทรคมนาคม แห่งอนาคตที่เตรียมภูมิคุ้มกันไว้ พร้อมก่อนแล้วทั้ง “วิ ท ยาการ งบประมาณและนโยบายสนับสนุน” วัตถุประสงค์เพือ่ สร้าง “ก�ำลังคน คนสร้างทีม” สู่หัวข้องาน (พ.ศ.2558) การส่องสว่างข้อมูล (visible light communication: VLC) หรือเทคโนโลยีข้อมูลพ่วงไปในแสงส่องมาจากแอลอีดี ที่ ตั้งใจกันจะส่องสว่างโอกาสไปทั่วไทย แต่เมื่อได้เริ่มโครงการแสงนั้น กลับพลันมืดลง ส่องโฟกัสงบประมาณที่ได้มาจากสาธารณะ สว่าง เพื่อส่วนองค์กรตนเป็นหลักแทนการเดินตามวัตถุประสงค์สาธารณะ กลาง แม้โครงการโทรคมฯ รุ่นพี่ก่อนหน้าที่หกล้มทั้ง UAV และ 3G ถูกยกมาเป็นอุทาหรณ์แบ่งปันในหมูน่ กั วิชาการรุน่ ใหม่ให้ได้ตระหนัก เรื่องทีม ผลยังคงลงเอยที่ภาพเดียวกันตั้งแต่เริ่ม จึงเกิดหนี้วิชาการ สาธารณะสะสมเพิ่มอีกหนึ่งระบบงานที่ต้องช่วยกัน “ตามเก็บงาน ปัจจุบัน แก้ไขอดีตที่สูญเสีย และสร้างโอกาสใหม่ให้อนาคต” … เช่นเดิม เป็นภาพที่ไม่ต่างกันทั้งระบบใหญ่งบระดับร้อยล้าน (UAV) หรือกว่ายี่สิบล้าน (3G) จนมาถึงไม่กี่ล้าน (VLC) ที่ส่งรายงานเพื่อปิด โครงการได้ แต่ผลลึก ๆ คือเช่นเดียวกันอันแทนได้ด้วยประโยค สอนใจแบบเนือย ๆ ของ ศ.ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน์ ผู้อาวุโสของวงการ ว่า … ประเทศเรามีประสบการณ์มากแล้ว ล้มเหลวมามากแล้วในการ ท�ำงานเป็นทีม
สังคมวิชาการและวิจัยไทยอย่าเพิ่งถอดใจ
ยังมีอีกสองงานระบบสื่อสารยุคใหม่รอทีมประเทศไทยอยู่ ข้างหน้าทัง้ “สรรพสิง่ อินเทอร์เน็ต (IoT) และการสือ่ สารเชิงควอนตัม (quantum communication)” ชวนลุกขึน้ แล้วถอดประสบการณ์มาร่วม มือกันต่อแม้ยงั คงมีอปุ สรรคจากทุกปัจจัย ฤ ทีมวอลเล่ยบ์ อลหญิงไทย ควรได้เป็นตัวอย่างให้กับทีมวิชาการโทรคมนาคมว่า อย่างไรก็ยิ้ม ... ผ่านได้ก็ยิ้ม แม้จะล้มก็ยังคงยิ้ม แล้วก็ลุกขึ้นสู้กับหนทางข้างหน้า อย่างเป็นทีม … ต่อไป ▲ ดร.โมไนย ไกรฤกษ์
เมธีวิจัยอาวุโสและนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ (2554)
July-August 2017, Vol.44 No.253
11 <<<
&
Report
การน�ำ Hitachi Content Platform มาช่วยองค์กรแปรรูปสู่ระบบดิจิทัล บทความโดย มร. เกรก เนียรีเมน ประธานฝ่ายกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยี บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น หรือ เอชดีเอส
➢ ต้องสามารถแสดงให้เห็นถึงความคุม ้ ค่าในระยะยาวเพือ่
เมื่อถึงเวลาที่องค์กรต้องแปรรูปกระบวนการท�ำงานให้เป็น ระบบดิจิทัล วัฒนธรรมองค์กรถือเป็นเรื่องส�ำคัญมากกว่าเทคโนโลยี โดยที่การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงนั้นจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับบุคลากร และกระบวนการท�ำงาน การแปรรูปสู่ระบบดิจิทัลไม่สามารถท�ำให้ เกิดขึน้ เพียงชัว่ ข้ามคืนจากนโยบายสัง่ การขององค์กร และขัน้ ตอนการ แปรรูปนั้นไม่สามารถบังคับให้ฝ่ายพัฒนาแอพพลิเคชั่นและฝ่าย ปฏิบัติการด้านไอทีท�ำงานร่วมกันได้ แต่การสร้างวัฒนธรรมองค์กร และน�ำโซลูชั่นที่เหมาะสมมาใช้ จะช่วยให้เกิดวัฒนธรรม DevOps (Development Operation) ที่เป็นการรวมกันของเทคโนโลยีที่ เหมาะสม และทัศนคติของกลุ่มคนท�ำงานที่เกี่ยวข้อง มาช่วยท�ำให้ การพัฒนาและส่งมอบแอพพลิเคชัน่ ธุรกิจมีววิ ฒ ั นาการทีด่ ขี นึ้ กว่าเดิม เพื่อสนับสนุนระบบไอทีในรูปแบบอัตโนมัติเพื่อช่วยธุรกิจได้ แนวทางที่จะผลักดันองค์กรให้ก้าวสู่การแปรรูปเป็นระบบ ดิจิทัลนั้น พื้นฐานส�ำคัญจะอยู่ในการสร้างแพลตฟอร์มที่จะช่วยให้ ระบบไอทีสามารถรองรับระบบการท�ำงานแบบอัตโนมัติ เพื่อช่วย ผลักดันให้เกิดมูลค่าสูงสุดทางธุรกิจอย่างแท้จริง ซึง่ การปรับระบบไอที ให้ทันสมัยเพื่อสร้างมูลค่าให้กับธุรกิจนั้นมักจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับ การบริหารจัดการข้อมูลขององค์กร โดยเทคโนโลยีที่น�ำมาใช้จะต้อง ตอบสนองความต้องการในด้านการบริหารจัดการข้อมูลเหล่านี้ องค์กรขนาดใหญ่มีความชัดเจนในการล�ำดับความส�ำคัญ ของไอทีเชิงกลยุทธ์ และสิ่งที่องค์กรต่าง ๆ ต้องการ คือ
การสนับสนุนกลยุทธ์ทางธุรกิจ ➢ มีแผนการด�ำเนินงานเพื่อน�ำการลงทุนด้านไอทีที่มีอยู่ไป ใช้ให้เกิดประโยชน์ พร้อมความยืดหยุน่ ในการเปลีย่ นแปลงทรัพยากร เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงล�ำดับความส�ำคัญของธุรกิจ ➢ ระบบที่ใช้งานง่าย ➢ สามารถควบคุมข้อมูลเพือ ่ ความปลอดภัยและการปฏิบตั ิ ตามกฎระเบียบ ➢ สามารถใช้ประโยชน์จากระบบคลาวด์สาธารณะ ส่วนตัว และไฮบริดได้ Hitachi Content Platform (HCP) เป็นโซลูชั่นแพลตฟอร์ม และซอฟต์แวร์บริหารจัดการข้อมูล ไฟล์ และเนื้อหา (files and con-
▲
มร. เกรก เนียรีเมน
ประธานฝ่ายกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยี บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น หรือ เอชดีเอส
July-August 2017, Vol.44 No.253
13 <<<
Report
&
tents) แบบ Object-Based Cloud Storage และเป็นหนึ่งใน องค์ประกอบพื้นฐานส�ำหรับการบริหารจัดการข้อมูล ซึ่งได้แสดงให้ เห็นถึงความพร้อมในการสนับสนุนการแปรรูปสู่ระบบดิจิทัลและ เป็นส่วนประกอบส�ำคัญในการผลักดันให้เกิดระบบไอทีแบบอัตโนมัติ ด้วยลูกค้ากว่า 1,500 คนทั่วโลก ซึ่ง HCP ถือเป็นหนึ่งในโซลูชั่นของ บริษัท ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ ที่เติบโตเร็วที่สุดในกลุ่มผลิตภัณฑ์ โดย ลูกค้าองค์กรได้นำ� HCP ไปใช้งานในลักษณะทีแ่ ตกต่างกันตามแต่ละ ธุรกิจและความต้องการขององค์กร ไม่วา่ จะเป็นระบบพืน้ ฐานส�ำหรับ บริการคลาวด์ การท�ำงานในลักษณะเคลือ่ นทีข่ องพนักงาน การรักษา ความปลอดภัย การปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือการเป็นระบบจัดเก็บ ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง โดยพื้นฐานแล้ว ระบบจัดเก็บข้อมูลแบบ Cloud Storage จะต้องมีความสามารถในการด�ำเนินการใน 9 สิ่ง เพื่อช่วยในการ แปรรูปองค์กรสู่ระบบดิจิทัล ดังนี้ 1. ต้องสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลง่ายและมีฟังก์ชั่นรองรับ การท�ำงานประจ�ำวันในรูปแบบอัตโนมัติ 2. ต้องสนับสนุนแอพพลิเคชัน่ ใหม่และทีม่ อี ยูเ่ ดิมตลอดช่วง ระยะเวลาของกระบวนการแปรรูป 3. ต้องสามารถจัดหาและเตรียมการ Provisioning ได้ง่าย 4. ต้องมีประสิทธิภาพคุ้มค่าคุ้มราคา 5. ต้องปกป้องการลงทุนด้านไอทีที่มีอยู่เดิมตามขนาดที่ เปลี่ยนแปลงไป 6. ต้องสามารถเข้าถึงได้อย่างง่ายผ่านชุดโปรโตคอลและ API ที่แพร่หลายมากที่สุด 7. ต้องแสดงให้เห็นถึงความปลอดภัยและการปฏิบัติตาม กฎระเบียบได้อย่างดีเยี่ยม 8. ต้องยืดหยุน่ ในการปรับขยายขนาดได้อย่างอิสระเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานหรือความจุ (หรือทั้งสองอย่าง) 9. ต้องสามารถท�ำงานร่วมกับบริการคลาวด์สาธารณะที่มี อยู่มากมายได้อย่างง่ายดาย การศึกษาล่าสุดจากไอดีซีแสดงให้เห็นว่า Hitachi Content Platform สามารถตอบสนองความต้องการด้านการแปรรูปองค์กรสู่ ระบบดิจทิ ลั เหล่านีท้ งั้ ในด้านแอพพลิเคชัน่ และเวิรก์ โหลดของยุคของ แพลทฟอร์มที่สาม (The 3rd Platform) ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์มือถือ แอพพลิเคชัน่ ต่าง ๆ คลาวด์คอมพิวติง้ การวิเคราะห์ขอ้ มูลขนาดใหญ่ และโซเชียลมีเดีย รวมถึง IoT ซึ่งระบุว่า “มีซัพพลายเออร์ระบบจัดเก็บข้อมูลเพียงไม่กี่รายที่มีโซลูชั่น ที่มีประสิทธิภาพในการผสานรวมข้อก�ำหนดของแอพพลิเคชั่นใหม่ และที่มีอยู่เดิมได้ โซลูชั่นระบบจัดเก็บข้อมูบแบบออบเจ็กต์ Hitachi Content Platform (HCP) เมือ่ ต่อยอดเข้ากับ Hitachi Data Ingestor >>>14
July-August 2017, Vol.44 No.253
(HDI) เพื่อจัดเก็บดูแลข้อมูลตามสาขาต่าง ๆ และ Hitachi Content Platform Anywhere (HCP Anywhere) ไปยังอุปกรณ์เคลื่อนที่ของ พนักงาน ก็จะได้เป็นโซลูชนั่ ประสิทธิภาพสูงทีส่ ามารถตอบสนองการ เข้ามาของแพลตฟอร์มยุคของแพลตฟอร์มทีส่ าม ทัง้ ยังสอดคล้องตาม ข้อก�ำหนดของแอพพลิเคชั่นที่มีอยู่เดิมด้วย”
การสนับสนุนการแปรรูปองค์กรสู่ระบบดิจิทัล
จุดเด่นที่แท้จริงของ HCP คือ ความสามารถในการจัดการ ข้อมูลได้ทุกประเภทและแอพพลิเคชั่นเกือบทั้งหมด รวมทั้งเป็น สินทรัพย์ที่สนับสนุนให้เกิดวัฒนธรรม DevOps ด้วยการท�ำให้งาน ไอทีประจ�ำวันกลายเป็นระบบอัตโนมัตไิ ด้อย่างแท้จริง ระบบนีม้ คี วาม น่าเชื่อถือสูง สามารถปรับขยายได้อย่างมหาศาล และช่วยให้การ เคลือ่ นย้ายข้อมูลเป็นไปอย่างราบรืน่ รวมถึงสามารถจัดเก็บข้อมูลผ่าน บริการคลาวด์แบบส่วนตัวและสาธารณะ รองรับการเข้ารหัส การ ควบคุมสิทธิ์ในการเข้าถึง มีการจัดเตรียมระบบที่ง่ายดาย สามารถ ตรวจสอบย้อนกลับการคิดค่าใช้จ่ายจากผู้ใช้งานจริง และอื่น ๆ
การปรับขยายขนาดได้อย่างมหาศาล และรองรับระบบคลาวด์สาธารณะอย่างครอบคลุม
หัวใจส�ำคัญของ HCP คือ เป็นโซลูชั่นที่สามารถปรับขยาย ขนาดได้อย่างมหาศาล (มากถึง 497 เพตาไบต์ต่อคลัสเตอร์) ส�ำหรับ การจัดเก็บข้อมูลจากหลายแอพพลิเคชั่นและหลายแหล่งข้อมูล ซึ่งต่างจากโซลูชั่นระบบจัดเก็บข้อมูลแบบออบเจ็กต์อื่น ๆ เนื่องจาก ระบบนี้สามารถปรับขยายขนาดได้อย่างอิสระ ไม่ว่าจะเป็นด้าน ประสิทธิภาพการด�ำเนินงานหรือความจุข้อมูล และเมื่อใช้ร่วมกับ โซลูชนั่ Enterprise File Sync-n-Share (HCP Anywhere) และเกตเวย์ คลาวด์ (HDI) กลุ่มผลิตภัณฑ์ HCP ถือเป็นองค์ประกอบพื้นฐานใน การสนับสนุนให้เกิดการแปรรูปสู่ระบบดิจิทัลอย่างแท้จริง ระบบการ ท�ำงานอัตโนมัตติ ามนโยบายช่วยเอือ้ ประโยชน์ในด้านค่าใช้จา่ ยอย่าง มากและช่วยให้การย้ายข้อมูลไปยังระบบจัดเก็บข้อมูลภายในองค์กร ทีม่ รี าคาถูกกว่าหรือการย้ายไปยังผูใ้ ห้บริการระบบคลาวด์สาธารณะ หรือทั้งสองรูปแบบเป็นเรื่องง่าย ส�ำหรับบริการคลาวด์สาธารณะ ซึ่ง เชื่อมต่อได้ทั้ง Microsoft Windows® Azure, Amazon S3, Verizon Cloud , Google Cloud Platform รวมทัง้ ระบบบริการ Cloud-Based Archiving ซึง่ เป็นบริการคลาวด์สาธารณะของ HDS เอง (ปัจจุบนั บริการ ในสหรัฐอเมริกา) หรือสามารถเชือ่ มไปยังบริการคลาวด์สาธารณะของ ผู้ให้บริการในประเทศได้อีกด้วย
&
Inspiration
มจธ. คิดอุปกรณ์อุดผนังหัวใจ โดยไม่ต้องผ่าตัด
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
ผศ.
ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนา ความเป็นสากล และทีมนักวิจยั Smart Lab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เผยผลงานของ Smart Lab มจธ. ว่า “สามารถสร้างอุปกรณ์อดุ ผนังหัวใจเพือ่ ใช้ในการรักษา สามารถปิดรูรวั่ หัวใจได้โดยไม่ตอ้ งผ่าตัดได้สำ� เร็จ ซึง่ งานวิจยั ดังกล่าว เป็นการคิดค้นสร้างอุปกรณ์อุดผนังหัวใจ (occluder) เพื่อท�ำหน้าที่ คล้ายกับเป็นร่ม 2 ชั้นประกบกันเพื่อปิดรูรั่ว โดยการใส่สายอุปกรณ์ ขนาดเล็กเข้าไปทางเส้นเลือดใหญ่บริเวณหน้าขา วิธีการดังกล่าวนับ เป็นหนึ่งในวิวัฒนาการทางการแพทย์ที่ช่วยให้ผู้ป่วยเจ็บตัวน้อยลง และพักฟื้นในโรงพยาบาลเพียง 1-2 วันก็สามารถกลับบ้านได้ ซึ่ง สามารถลดค่าใช้จ่ายค่ารักษาและค่าอุปกรณ์อุดผนังหัวใจที่มีราคา สูงมาก และยังลดการน�ำเข้าจากบริษัทต่างประเทศได้อีกด้วย”
▲ ผศ.ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาความเป็นสากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
>>>12
July-August 2017, Vol.44 No.253
ทัง้ นีโ้ รคผนังกัน้ หัวใจห้องบนรัว่ (Atrial Septal Defect: ASD) เป็นโรคหัวใจแต่ก�ำเนิดชนิดหนึ่งที่มีผนังกั้นหัวใจห้องบนรั่ว ท�ำให้ เลือดไหลออกจากหัวใจห้องบนซ้ายไปยังห้องบนขวาได้ในจังหวะที่ หัวใจบีบตัว ซึ่งพบได้ร้อยละ 10 ของโรคหัวใจแต่ก�ำเนิดทั้งหมด โรค ผนังหัวใจห้องบนรั่วที่พบบ่อยคือประเภทที่มีรูรั่วตรงกลางผนังกั้น หัวใจ (ASD Secundum) ผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้จะมีอาการเหนื่อยเวลา ออกแรง ใจสั่น อาการบวม น�้ำท่วมปอด อัมพาต และหัวใจโต ผศ.ดร.อนรรฆ กล่าวว่า “อุปกรณ์อดุ ผนังหัวใจจากลวดโลหะ ผสมจ�ำรูป ผลิตจากโลหะผสมนิกเกิลไทเทเนียมที่มีสมบัติยืดหยุ่น ยิ่งยวด (superelastic) ที่สามารถควบคุมสมบัติทางกลและทาง ชีวภาพได้ อีกทั้งยังได้พัฒนากระบวนการผลิตที่จะน�ำไปใช้ในทาง อุตสาหกรรมเพือ่ ทีจ่ ะลดการน�ำเข้าอุปกรณ์จากต่างประเทศ ลดราคา ค่ า อุ ป กรณ์ ช่ ว ยให้ ก ารรั ก ษาเข้ า ถึ ง ผู ้ ป ่ ว ยทุ ก คน และนั บ เป็ น วิวัฒนาการทางการแพทย์ที่สามารถปิดรูรั่วของหัวใจได้โดยไม่ต้อง ผ่าตัด”
Technology
Energy & Environmental Production Site Visit Report
&
Energy & Environmental
พลาสติกชีวภาพกับการแก้ปัญหาขยะ
กองบรรณาธิการ
ปัญ
หาขยะมูลฝอยของประเทศไทยนับวันยิง่ ทวีความรุนแรง มากขึ้นทุกปี สาเหตุมาจากขาดการบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพ แม้ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมาได้เริ่มมีการปรับทัศนคติ เกี่ยวกับขยะมูลฝอย โดยมองว่าสามารถน�ำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ ใหม่ได้ และสามารถเพิ่มมูลค่าและรายได้ให้กับประชาชน แต่ ประชาชนยังขาดองค์ความรู้และจิตส�ำนึกเกี่ยวกับปัญหาและการ จัดการขยะ จึงไม่ให้ความส�ำคัญทีจ่ ะลดและคัดแยกขยะตัง้ แต่ตน้ ทาง หรือแหล่งก�ำเนิด เมือ่ นึกถึงขยะ เรามักจะนึกถึงพลาสติกซึง่ เป็นวัสดุสงั เคราะห์ ที่ใช้งานได้หลากหลายและสะดวก ท�ำให้ได้รับความนิยมอย่าง กว้างขวางทั่วโลก ประมาณว่าทุก ๆ นาที ทั่วโลกใช้ถุงพลาสติกกว่า หนึ่งล้านใบ และยังมีผลิตภัณฑ์พลาสติกอื่น ๆ ที่มนุษย์ใช้และทิ้ง อีกมากมาย เนื่องจากพลาสติกย่อยสลายช้ามาก ขยะจากพลาสติก จึงสร้างปัญหาทางสิ่งแวดล้อมชัดเจนขึ้นทุกวัน ไม่เพียงแต่เป็น ปัญหาบนบก แม้ในทะเลพลาสติกก็เป็นปัญหา ปัจจุบันการคัดแยกขยะเพื่อน�ำพลาสติกกลับมาใช้ซ�้ำท�ำได้ เพียงร้อยละ 5 ของพลาสติกที่ผลิตขึ้นมา การผลิตพลาสติกชนิด >>>16
July-August 2017, Vol.44 No.253
ย่อยสลายได้จึงเป็นความหวังที่จะมีพลาสติกที่ให้ความสะดวกแต่ ไม่ ก ่ อ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม พลาสติ ก ชนิ ด นี้ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น ในชื่ อ ว่ า พลาสติกชีวภาพ (bioplastic) บริษัท คอร์เบียน พูแรค (ประเทศไทย) จ�ำกัด มีความ เชี่ยวชาญในการผลิตพลาสติกชีวภาพ (bioplastic) ชนิด Polylactic Acid (PLA) ที่มีคุณสมบัติสามารถย่อยสลายได้ตามมาตรฐานยุโรป (EN13432) เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของ PLA ที่ผลิตจากกรดแลกติกที่ ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้วัตถุดิบที่ได้ จากธรรมชาติเป็นหลัก เช่น น�้ำตาลจากอ้อย เมื่อรวมกับที่โรงงาน ของพูแรคใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมทั้งควบคุมการปล่อยของเสีย รวมทั้งมีการติดตั้งระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีประสิทธิภาพอีกด้วย ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบการผลิตพลาสติกจากฟอสซิลและ PLA แล้ว พบว่า PLA สามารถลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ได้สูงถึง 3,500 กิโลกรัมต่อการผลิตพลาสติก 1,000 กิโลกรัม ซึ่ง เป็นการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึง 70 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้พลาสติกชีวภาพยังเป็นทางเลือกใหม่ในการใช้งานเพื่อ ความยั่งยืนส�ำหรับผู้บริโภค และยิ่งไปกว่านั้น การรีไซเคิลในรูปแบบ
&
Energy & Environmental เก่า เช่น การน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ การน�ำไปท�ำปุ๋ย การย่อยสลาย แบบอนินทรีย์ ซึ่งถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการน�ำโพลิเมอร์ที่ท�ำ จาก PLA กลับมาใช้ใหม่ได้อีก จะเห็นได้ว่าการรณรงค์ให้ผู้บริโภคใน ยุคปัจจุบนั หันมาใช้ผลิตภัณฑ์จากพลาสติกชีวภาพให้มากขึน้ ทดแทน การใช้พลาสติกทีไ่ ด้จากฟอสซิลจะสามารถลดปัญหาขยะล้นเมืองได้ นับตั้งแต่ต้นน�้ำไปจนถึงปลายน�้ำเลยก็ว่าได้ อย่างไรก็ตาม การแก้ปญ ั หาเรือ่ งขยะ มิใช่เรือ่ งของหน่วยงานใด หน่วยงานหนึ่ง และมิใช่เพียงความรับผิดชอบของภาครัฐหรือเอกชน แต่เป็นเรื่องที่ประชาชนคนไทยทุกคนควรตระหนักในความส�ำคัญ และให้ความร่วมมือในการด�ำเนินงาน โดยเริ่มที่การปรับเปลี่ยน ทัศนคติของตน ในการที่จะลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง หรือแหล่งก�ำเนิด เพราะจุดเริ่มต้นที่การลดจ�ำนวนขยะจากเราทุกคน คือ การลดภาระการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ และจะ น�ำพาสังคมไทยไปสู่การบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืนได้ ในที่สุด เพื่อเป็นการช่วยรณรงค์ให้ผู้บริโภค ได้เห็นถึงความส�ำคัญ ของการลดขยะ และรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัท คอร์เบียน พูแรค (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูน้ ำ� ด้านการผลิตกรดแลคติค (lactic acid) และ ผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพที่ใส่ใจต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมจึงได้จับ มือกับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีปิโตรเคมีและวัสดุ (PETROMAT) จัดโครงการประกวดผลงานนวัตกรรม “Bioplastics Innovation Contest 2017” หรือโครงการค้นหานวัตกรรมการเพิ่มมูลค่า
พลาสติกชีวภาพ ภายใต้แนวคิดการใช้งานในวิถีชีวิตยุคใหม่และ สังคมยั่งยืน เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนไทยใช้ความคิดสร้างสรรค์ด้าน เทคโนโลยีเพื่อการตลาดและเสริมสร้างจิตส�ำนึกในด้านการรักษา สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนด้านการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เชิญชวน นิสิตนักศึกษาตั้งแต่ปริญญาตรีถึงปริญญาเอกส่งผลงานสร้างสรรค์ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพชิงเงินรางวัลรวมกว่า 300,000 บาท โครงการนี้สามารถต่อยอดไปได้อีกมากมาย ถ้าเรารณรงค์ ช่วยกันใช้เผลิตภัณท์ที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติให้มากขึ้น ถามตัวเองก่อนว่า ในบ้านของเรา ได้มกี ารคัดแยกขยะให้เป็น หมวดหมู่ง่ายต่อการจัดการแล้วหรือยัง ถ้าเราช่วยกันท�ำทุกบ้าน ก็ เท่ากับว่าเรามีส่วนช่วยลดปัญหาขยะล้นเมืองได้ แล้วท�ำไมเราไม่ท�ำกันซะตั้งแต่เมื่อวาน ! ข้อมูลเพิ่มเติม โครงการ Bioplastics Innovation Contest 2017 โทรศัพท์ 02 218 4141-42 หรือ www.petromat.org/home/bioplasticsinnovation2017/
July-August 2017, Vol.44 No.253
17 <<<
&
Production
การเพิ่มประสิทธิภาพเชิงพลังงานของ กระบวนการผลิตด้วยเครือ่ งปฏิกรณ์ชนิดออโตเทอร์มลั กุลนันทน์ วีรณรงค์กร และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการเชิงคำ�นวณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระบวนการผลิ ต ในอุ ต สาหกรรมเคมี แ ละปิ โ ตรเคมี มั ก ประกอบด้วยหน่วยปฏิบัติการ (unit operation) จ�ำนวนมากที่ท�ำงาน ร่วมกัน โดยหน่วยปฏิบัติการเหล่านี้จะถูกออกแบบให้ท�ำหน้าที่ จ�ำเพาะหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่ง โดยมีการท�ำงานแยกออกจากกันอย่าง ชัดเจน เช่น เครื่องปฏิกรณ์ (reactors) เป็นอุปกรณ์ที่ภายในจะเกิด ปฏิกิริยาเคมีขึ้น เพื่อเปลี่ยนสารตั้งต้นให้เป็นผลิตภัณฑ์หอกลั่น (distillation columns) มีหน้าที่กลั่นแยกสารผสมออกจากกัน หรือ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน (heat exchangers) ท�ำหน้าที่เพิ่ม อุณหภูมิของสารตั้งต้นหรือลดอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการผลิตที่มีขนาดใหญ่ กระบวนการผลิตมักมี ความซับซ้อน ประกอบด้วย หน่วยปฏิบัติการที่ท�ำงานร่วมกันจ�ำนวน มาก ดังนั้นเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนและการด�ำเนินงานของ กระบวนการผลิต การออกแบบหน่วยปฏิบัติการที่ท�ำงานหลาย ๆ >>>18
July-August 2017, Vol.44 No.253
ตอนที่
1
หน้าที่เข้าด้วยกัน จะช่วยลดจ�ำนวนหน่วยปฏิบัติการลง อีกทั้งยังช่วย เพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์ในด้านต่าง ๆ เครื่องปฏิกรณ์ เป็นหน่วยปฏิบัติการหนึ่งที่เป็นหัวใจส�ำคัญ ของกระบวนการผลิตทางด้านวิศวกรรมเคมี ท�ำหน้าที่เปลี่ยนสาร ตั้งต้นไปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ โดยทั่วไปแล้วมักท�ำงานร่วมกับ เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ซึ่งจะท�ำหน้าที่ในการเพิ่มอุณหภูมิของ สารตั้งต้นให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการก่อนป้อนเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์ นอกจากนี้ในระหว่างการด�ำเนินการ เครื่องปฏิกรณ์จ�ำเป็นต้องใช้ พลังงานความร้อนจากภายนอกถ้าปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นภายในเป็น ปฏิกิริยาดูดความร้อน หรืออาจจ�ำเป็นต้องถ่ายเทความร้อนออกจาก เครื่องปฏิกรณ์ถ้าปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็นปฏิกิริยาคายความร้อน ทั้งนี้ เพื่อควบคุมอุณหภูมิภายในเครื่องปฏิกรณ์ให้เหมาะสมกับการเกิด ปฏิกิริยาที่ต้องการ การรวมกระบวนการแลกเปลี่ยนความร้อนกับ
&
Production กระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมีไว้ภายในอุปกรณ์เดียวกันเป็นแนวทาง หนึ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยลดเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานของกระบวนการ ดังกล่าว ดังนั้น แนวความคิดเกี่ยวกับเครื่องปฏิกรณ์ออโตเทอร์มัล (autothermal reactor) ซึง่ เป็นเครือ่ งปฏิกรณ์ทมี่ กี ารจัดการความร้อน ภายในอุปกรณ์ โดยไม่ต้องอาศัยแหล่งพลังงานจากภายนอกจึงเป็น แนวความคิดที่น่าสนใจ ในระยะแรกเครือ่ งปฏิกรณ์ชนิดออโตเทอร์มลั ถูกออกแบบเพือ่ น�ำมาใช้งานกับปฏิกริ ยิ าคายความร้อนทีไ่ ม่รนุ แรง (weakly exothermic reactions) เพือ่ ใช้ประโยชน์จากพลังงานทีเ่ กิดจากปฏิกริ ยิ าคาย ความร้อนส�ำหรับเพิ่มอุณหภูมิของสารตั้งต้น ปัจจุบันมีการประยุกต์ ใช้เครื่องปฏิกรณ์ชนิดออโตเทอร์มัลส�ำหรับแก้ปัญหาความต้องการ พลังงานของปฏิกิริยาดูดความร้อน โดยการท�ำให้ปฏิกิริยาดูดความ ร้อนเกิดร่วมกับปฏิกริ ยิ าคายความร้อนภายในเครือ่ งปฏิกรณ์เดียวกัน (coupling endo- and exothermic reactions) [1] 1. เครือ่ งปฏิกรณ์ออโตเทอร์มลั ส�ำหรับปฏิกริ ยิ าคายความ ร้อนที่ไม่รุนแรง (autothermal reactor for weakly exothermic reactions) เครื่องปฏิกรณ์ออโตเทอร์มัลส�ำหรับปฏิกิริยาคายความร้อนที่ ไม่รุนแรงเป็นเครื่องปฏิกรณ์ที่ประกอบด้วย ส่วนที่มีการแลกเปลี่ยน ความร้อน และ ส่วนที่เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน โดยออกแบบให้ สารตัง้ ต้นทีอ่ ณ ุ หภูมติ �่ำสามารถแลกเปลีย่ นความร้อนกับผลิตภัณฑ์ที่
มีอณ ุ หภูมสิ งู ภายในเครือ่ งปฏิกรณ์ได้ ลักษณะการออกแบบของเครือ่ ง ปฏิกรณ์ออโตเทอร์มลั ส�ำหรับปฏิกริ ยิ าคายความร้อนทีไ่ ม่รนุ แรง ได้แก่ 1.1 เครื่องปฏิกรณ์แบบไหลสวนทางกัน (countercurrent reactor) เป็นเครื่องปฏิกรณ์ที่มีลักษณะคล้ายเครื่องแลกเปลี่ยน ความร้อนแบบไหลสวนทางกัน (countercurrent heat exchanger) กล่าวคือ ภายในเครือ่ งปฏิกรณ์สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีและเกิดการ แลกเปลี่ยนความร้อนพร้อมกัน โดยสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีการ ไหลสวนทางกัน ภายในเครือ่ งปฏิกรณ์จะบรรจุตวั เร่งปฏิกริ ยิ าส�ำหรับ เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน (รูปที่ 1) เมื่อสารตั้งต้นที่อุณหภูมิต�่ำไหล เข้าสูเ่ ครือ่ งปฏิกรณ์ทางด้านล่าง จะเกิดการแลกเปลีย่ นความร้อนกับ ผลิตภัณฑ์ที่มีอุณหภูมิสูงที่ไหลในทิศทางตรงกันข้าม สารตั้งต้นจึงมี อุณหภูมสิ งู ขึน้ จนถึงอุณหภูมทิ เี่ กิดปฏิกริ ยิ าได้ (ignition temperature) และเกิดปฏิกิริยาเคมี ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีอุณหภูมิสูงส�ำหรับเป็นแหล่ง ความร้อนให้กับสารตั้งต้น ข้อดีของเครือ่ งปฏิกรณ์รปู แบบนี้ คือ เมือ่ ความเข้มข้นของสาร ตั้งต้นเกิดการเปลี่ยนแปลง เครื่องปฏิกรณ์สามารถปรับระยะทางใน การแลกเปลี่ยนความร้อนของสารตั้งต้นกับผลิตภัณฑ์ได้ ท�ำให้ อุณหภูมขิ องเครือ่ งปฏิกรณ์ไม่สงู เกินไป เช่น หากความเข้มข้นของสาร ตัง้ ต้นเพิม่ ขึน้ เป็นสองเท่า พลังงานทีไ่ ด้จากปฏิกริ ยิ าคายความร้อนจะ มากขึน้ และถ่ายโอนไปยังสารตัง้ ต้น ท�ำให้สารตัง้ ต้นมีอณ ุ หภูมเิ พิม่ ขึน้
July-August 2017, Vol.44 No.253
19 <<<
&
Production จนถึงอุณหภูมิที่สามารถเกิดปฏิกิริยาได้เร็วและเกิดปฏิกิริยาได้ทันที โดยไม่ตอ้ งมีการแลกเปลีย่ นความร้อนต่อจนครบระยะทางเหมือนกับ กรณีทใี่ ช้เครือ่ งแลกเปลีย่ นความร้อนทีม่ รี ะยะทางในการแลกเปลีย่ น ความร้อนคงที่ อย่างไรก็ตาม เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนความร้อนของ สารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ได้ดี ต้องมีการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ให้มี พื้นที่ของการแลกเปลี่ยนความร้อนมาก เช่น ออกแบบให้มีลักษณะ เป็นเครื่องปฏิกรณ์ชนิดไมโคร (micro reactor) [2]
1 เครื่องปฏิกรณ์แบบไหลสวนทางกัน สำ�หรับปฏิกิริยาคายความร้อนที่ไม่รุนแรง [2] ▲ รูปที่
ก่อนจะไหลออกจากเครื่องปฏิกรณ์ทางด้านขวา (หมายเลข 3) และ ไหลออกจากกระบวนการ (หมายเลข 4) ในรอบการด�ำเนินการถัดมา สารตั้งต้นจะถูกเปลี่ยนทิศทางการป้อนสารเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์ โดยสารจะถูกป้อนเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์ทางด้านขวา (หมายเลข 2’) เพื่อรับความร้อนจากเบดตัวกลางที่กักเก็บความร้อนจากผลิตภัณฑ์ ไว้กอ่ นหน้านี้ ท�ำให้อณ ุ หภูมขิ องสารตัง้ ต้นเพิม่ สูงขึน้ จนถึงอุณหภูมทิ ี่ เหมาะสมส�ำหรับเกิดปฏิกริ ยิ า ผลิตภัณฑ์ทอี่ ณ ุ หภูมสิ งู จะถ่ายเทความ ร้อนไปยังเบดตัวกลางและไหลออกจากเครื่องปฏิกรณ์ทางด้านซ้าย (หมายเลข 3’) และไหลออกจากกระบวนการ การท�ำงานของเครื่อง ปฏิกรณ์ชนิดไหลย้อนกลับจะมีการสลับทิศทางการไหลของสาร เช่นนี้ไปทุกรอบ ดังนั้น บริเวณทางออกทั้งสองฝั่งของเครื่องปฏิกรณ์ รูปแบบนีจ้ ะท�ำหน้าทีเ่ ป็นเครือ่ งแลกเปลีย่ นความร้อนแบบรีเจนเนอเรทีฟ (regenerative heat exchanger) คือ เครื่องแลกเปลี่ยนความ ร้อนที่ต้องอาศัยตัวกลางในการแลกเปลี่ยนความร้อน ข้อดีของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดไหลย้อนกลับ คือ รูปแบบการ ท�ำงานไม่ซับซ้อน หากปรับความเร็วของการเปลี่ยนทิศทางการไหล ของสารให้เร็วขึ้น จะท�ำให้มีประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความร้อน เทียบเท่ากับเครือ่ งปฏิกรณ์แบบไหลสวนทาง จึงมักใช้เครือ่ งปฏิกรณ์ รูปแบบนี้กับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ปัจจุบันมีการใช้เครื่องปฏิกรณ์ ชนิดไหลย้อนกลับส�ำหรับปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2 oxidation) ในกระบวนการผลิตกรดซัลฟิวริก และกระบวนการ เผาไหม้สารไฮโดรคาร์บอนที่อยู่ในอากาศเสีย (exhaust air) [3]
1.2 เครือ่ งปฏิกรณ์แบบไหลย้อนกลับ (reverse flow reactor) [1,2] เป็นเครื่องปฏิกรณ์ที่มีการสลับทิศทางการไหลของสารตั้งต้น และผลิตภัณฑ์ในแต่ละรอบ แสดงดังรูปที่ 2 ในรอบแรกของการ ด�ำเนินการ สารตัง้ ต้น (หมายเลข 1) ไหลเข้าสูเ่ ครือ่ งปฏิกรณ์ทางด้าน ซ้าย (ต�ำแหน่งหมายเลข 2) และเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนภายใน เครื่องปฏิกรณ์ที่มีการบรรจุตัวเร่งปฏิกิริยา ท�ำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ อุณหภูมิสูงและเกิดการถ่ายเทพลังงานความร้อนไปยังเบดตัวกลาง
▲ รูปที่
2 เครื่องปฏิกรณ์ชนิดไหลย้อนกลับ สำ�หรับปฏิกิริยาคายความร้อนที่ไม่รุนแรง [4]
อ่านต่อฉบับหน้า >>>20
July-August 2017, Vol.44 No.253
ณ น่าน
&
Site Visit
จากต้นน�้ำและขุนเขาสู่สังคมเกษตรกรรมแห่งแรกของโลก
จาก
กองบรรณาธิการ
ที่เราเคยพาผู้อ่านเข้าเยี่ยมชมโรงงานอุตสาหกรรมมาอย่างโชกโชน วันนี้เรา เปลีย่ นบรรยากาศการเยีย่ มชม หนีความวุน่ วายจากเมืองกรุงมุง่ สูจ่ งั หวัดหนึง่ ในภาคเหนือ จังหวัดน่าน ที่หลายคนอาจเคยมาท่องเที่ยวเยี่ยมชมความสวยงามและติดอก ติดใจในมนต์ขลังทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมกันมาแล้ว แต่อีกหลายคนยังไม่ทราบว่า ภายใต้เสน่หอ์ นั น่าดึงดูดยังแฝงไปด้วยความเจริญงอกงามในภูมปิ ญ ั ญาทัง้ แนวคิดและความ เป็นอยู่ หนึ่งในความน่าสนใจ นั่นคือ ที่นี่มีความเจริญทางด้านเกษตรกรรมและงานวิชาการ โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี ที่มอบหมายให้นักวิชาการและนักวิจัยได้เข้าไป ฝังตัวและเรียนรู้สู่การพัฒนาชุมชนด้วยเป้าหมายสู่สังคมเกษตรกรรมที่ยั่งยืนตามพระราชด�ำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในวันนี้เราขอพาทุกท่านเดินทางสู่จังหวัดน่านกัน
July-August 2017, Vol.44 No.253
21 <<<
&
Site Visit
เสมอ และเนื่องด้วยน�้ำพระทัยของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระราชทานพื้นที่ในศูนย์ภูฟ้าพัฒนา ต�ำบล ภูฟ้า อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน จ�ำนวน 800 ไร่ จากทั้งหมด 2,000 ไร่ เพื่อให้เป็นสถานที่บ่มเพาะการใช้ชีวิตปรับตัวเข้ากับโลก โดยมีความ เป็นตัวตนของมละบริพฒ ั นา และสร้างเป็นรูปแบบการพัฒนาบนฐาน ภูมิปัญญาของมละบริอย่างยั่งยืน ตามพระราชด�ำริ “พัฒนาให้เขา เป็นเขา รู้เท่าทันโลก โดยยังคงรักษาความเป็นมละบริไว้ได้ดังเดิม”
ดำ�เนินงานตามแนวทางพระราชดำ�ริ ▲ คุณนรชาติ วงศ์วันดี
นักวิจัยและผู้ประสานงาน ศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการตามพระราชด�ำริ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน
จากชนเผ่าเร่ร่อนสู่สังคมเกษตรกรรม
เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยพระจอมเกล้าธนบุรลี งฝังตัว ในพื้นที่ภูฟ้า มุ่งปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มมละบริภูฟ้า (แต่ ก่อนเราจะเรียกว่าผีตองเหลือง ปัจจุบนั เรียกชนเผ่านีว้ า่ กลุม่ มละบริ) ที่ต�ำบลภูฟ้า อ�ำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ตามพระราชด�ำรัสสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เข้าส่งเสริมและพัฒนา ขีดความสามารถชนเผ่า หยุดเร่ร่อน เปลี่ยนวิธีคิดจากเก็บของป่า ล่าสัตว์ หันมาอยู่กับที่ ด�ำรงชีพด้วยการท�ำเกษตรปราณีต ปลูกข้าว และเลีย้ งสัตว์แห่งแรกของโลก ซึง่ เป็นอีกหนึง่ ผลงานของมหาวิทยาลัย พระจอมเกล้าธนบุรี หรือ มจธ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ชาวมละบริ ภูฟ้าให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับสังคมปัจจุบันได้อย่างเสมอภาค เมื่อ 50 ปีก่อน มละบริกลุ่มชาติพันธุ์เร่ร่อนอาศัยอยู่ในเขต ชายแดนระหว่างป่ากับเมืองกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ราว 400 คน พื้นฐานของชาวมละบริจะไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง แต่จะย้ายถิ่นฐานทั้ง เครือญาติไปเรื่อย ๆ ตามความสมดุลของป่า หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ด�ำรงชีวิตอยู่ด้วยการล่าสัตว์ เก็บของป่ามาขายหรือแลกของ บ้าง รับจ้างใช้แรงงาน ซึ่งชาวมละบริมักจะถูกเอาเปรียบจากนายจ้างอยู่
>>>22
July-August 2017, Vol.44 No.253
คุณนรชาติ วงศ์วนั ดี นักวิจยั และผูป้ ระสานงานศูนย์สง่ เสริม และสนับสนุนมูลนิธิโครงการหลวงและโครงการตามพระราชด�ำริ สถาบั น พั ฒ นาและฝึ ก อบรมโรงงานต้ น แบบ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน กล่าวว่า เป็ น เวลาเกื อ บ 10 ปี แ ล้ ว ที่ มจธ. ได้ มี โ อกาสปฏิ บั ติ ง านตาม พระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน การเข้าไปส่งเสริมและร่วมเรียนรู้ในการสร้างความสามารถในการ เพาะปลูกพืช เลีย้ งสัตว์ และประกอบอาชีพเสริมแทนการเก็บของป่า ล่าสัตว์ ช่วยยกระดับความเป็นอยูข่ องชาวมละบริทอี่ อกจากป่ามาอยู่ ในพื้นที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา เพื่อให้อยู่ร่วมกับสังคมเมืองปัจจุบันได้ อย่างเสมอภาค “เราเข้าไปท�ำงานกับมละบริภฟู า้ ประมาณ 78 คน ซึง่ เป็นเพียง กลุ ่ ม หนึ่ ง ของประเทศเท่ า นั้ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ ของการท� ำ งานกั บ กลุ ่ ม ชาติพันธุ์ คือ เราต้องเข้าใจเรื่องมนุษยวิทยา สังคมวิทยาของเขาด้วย เพราะเขาไม่ชอบท�ำตามค�ำสัง่ และไม่ชอบถูกบังคับ ดังนัน้ สิง่ ที่ มจธ. ท�ำเป็นอันดับแรก คือ การเข้าไปฝังตัวร่วมท�ำงานไปกับชาวมละบริ ไปท�ำความเข้าใจในตัวเขา เรียนรู้วิธีคิด และเรียนรู้ธรรมชาติของเขา มจธ. ใช้เวลาอยู่กับเรื่องนี้เป็นปี ๆ และให้เขารวบรวมสิ่งที่อยากท�ำ มากที่สุด แล้วน�ำมาพัฒนาให้เป็นอาชีพที่เหมาะกับมละบริ เริ่มจาก การสร้างสิ่งที่เป็นแรงจูงใจที่จะท�ำให้เขาใช้ชีวิตอยู่เป็นหลักแหล่ง เหมือนคนทัว่ ไปให้ได้ ต้องเพิม่ ความสามารถในการท�ำงานให้เขา และ ท�ำให้เขาคิดเองเป็น ท�ำงานเป็น วางแผนเป็น และเมื่อเขามีความ สามารถมากขึน้ เขาก็ตอ้ งบอกได้วา่ สิง่ ทีท่ ำ� อยูน่ นั้ ผิดถูกอย่างไรเพือ่ ที่
&
Site Visit
จะเรียนรู้และแก้ปัญหาต่อไป เพราะถ้าวันไหนที่เราไม่อยู่เขาก็ต้อง ด�ำรงชีวติ ต่อกันเองได้ ซึง่ ตอนนีช้ าวมละบริทศี่ นู ย์ภฟู า้ พัฒนาเก่งขึน้ และเรียนรู้ที่จะปรับตัวอยู่เสมอ” คุณนรชาติ กล่าวต่ออีกว่า ตอนนี้ชาวมละบริที่ศูนย์ภูฟ้า พัฒนาประกอบอาชีพที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นลูกจ้างจากหน่วย งานต่าง ๆ ในพืน้ ที่ ส่วนเวลาทีว่ า่ งเว้นจากการเป็นลูกจ้างก็ทำ� เกษตร ประณีต ท�ำนา ปลูกผักตามฤดูกาลหลากชนิด และปลูกสตรอร์เบอร์รี่ ซึ่งสตรอว์เบอร์รี่ของที่นี่มีความแตกต่างจากที่อื่นเพราะช่วงเวลาใน การออกผลนั้นจะเร็วกว่าที่อื่น ซึ่งจะตรงกับช่วงเทศกาลท่องเที่ยว ปีใหม่พอดีเป็นผลจากการรับเอาเทคโนโลยีจาก มจธ. ไปปรับใช้ นอกจากนั้นยังมีการเลี้ยงปลา เลี้ยงไก่ พัฒนาเรื่องหัตถกรรม ซึ่ง มจธ. เองก็พยายามหาตลาดและเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของ ชาวมละบริ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องคุณภาพ และบรรจุภัณฑ์
นำ�เทคโนโลยีและองค์ความรู้สู่เกษตรที่ยั่งยืน
ปัจจุบนั ชาวมละบริมกี ารแต่งตัง้ กรรมการหมูบ่ า้ น และมีการ แบ่งกลุ่มกันดูแลการผลิต โดยผลผลิตทางการเกษตรต่าง ๆ ทั้งการ ท�ำนา การปลูกผักปลอดสารพิษ และการเลีย้ งสัตว์ อาทิ เลีย้ งไก่ และ เลีย้ งปลา น�ำมาขายกันเอง ท�ำให้เงินหมุนเวียนภายในหมูบ่ า้ น แตกต่าง จากก่อนหน้านี้ที่มละบริต้องซื้อข้าวจากนอกหมู่บ้านปีละประมาณ 10 ตันส�ำหรับคนทั้งหมู่บ้านเป็นเงินรวมกว่า 130,000 บาทต่อปี แต่ 2 ปีที่ผ่านมานี้ชาวมละบริได้รับเอาเทคโนโลยีที่ มจธ. ถ่ายทอดให้ ผสมผสานกับความตั้งใจท�ำให้ชาวมละบริมีฝีมือในการท�ำเกษตร ประณีตท�ำให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น และล่าสุดชาวมละบริที่ศูนย์ภูฟ้า พัฒนายังสามารถปลูกข้าวกินเอง ได้ผลผลิตข้าวสูงถึง 9 ตันต่อปี ท�ำให้เสียเงินซื้อข้าวเพิ่มอีกเพียงแค่ 1 ตันเท่านั้นก็เพียงพอที่จะกินกัน ได้ทั้งหมู่บ้าน ซึ่งหลังจากที่พวก เขาท� ำ บั ญ ชี ร ายรั บ รายจ่ า ย แล้วพบว่าสามารถประหยัด ค่าใช้จ่ายต่อปีไปได้อีกมาก “มจธ. น�ำองค์ความ รู ้ ด ้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีเข้าไปประยุกต์ให้ เข้ากับวิถชี วี ติ ของชาวมละบริ โดยเฉพาะเรื่ อ งการเกษตร
ปลูกผัก ปลูกข้าว เป็นสิ่งที่ชาวมละบริไม่เคยท�ำมาก่อนเลยในชีวิต ชาวมละบริจะรับองค์ความรู้ที่เราป้อนให้ได้ดีกว่าชาวบ้านทั่วไป เพราะมละบริเริม่ ต้นจากศูนย์ฯ จึงไม่มขี อ้ โต้แย้งแต่เขาพร้อมทีจ่ ะเรียน ผิดเรียนแก้ไปพร้อมกับเรา ปัจจุบันชาวมละบริที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนาไม่ หนีเข้าป่าแล้ว และยังถือเป็นครัง้ แรกของโลกทีช่ าวมละบริสามารถ ท�ำการเกษตรเพือ่ พึง่ พาตนเองได้ เปลีย่ นการเก็บของป่าแลกอาหาร และสิ่งของมาเป็นเงินแทน อย่างน�้ำผึ้งป่าของดีอีกอย่างของมละบริ ทีน่ กี่ เ็ ก็บมาบรรจุขวดขายให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว เรียนรูท้ จี่ ะท�ำงานหาเงิน เรียนรู้วิธีการบริหารจัดการกันเองภายในหมู่บ้าน และการจัดท�ำ รายรับ-รายจ่ายของหมู่บ้าน อีกประเด็นหนึ่งเรื่องที่ มจธ. พยายาม ส่งเสริมและก�ำลังมีแนวโน้มไปในทางที่ดี คือ “การศึกษา” เราย�้ำกับ เขาตลอดว่าหมู่บ้านจะเข้มแข็งและพวกเขาจะพึ่งพาตัวเองได้ตลอด ไปนั้นจะต้องเกิดจากคนภายในหมู่บ้านเองไม่ใช่เพราะ มจธ. หรือ ใครก็ตาม ซึ่งอาวุธส�ำคัญที่จะช่วยพัฒนาตัวเองได้ดีก็คือ ความรู้ ที่จะท�ำให้เอาตัวรอดในสังคมได้โดยไม่ถูกเอาเปรียบ และจากที่ชาว มละบริไม่เคยเรียนหนังสือ แต่วันนี้ชีวิตของชาวมละบริที่ศูนย์ภูฟ้า พัฒนาเปลี่ยนไป เด็กทุกคนได้เข้าโรงเรียน และล่าสุดมีชาวมละบริ ศึกษาถึงระดับปริญญาตรีแล้วถึง 6 คน โดยมี คุณอรัญวา ชาวพนา ไพร เป็นชาวมละบริคนแรกของโลกที่ศึกษาระดับปริญญาตรีได้ ส�ำเร็จ ในสาขาวิชาส่งเสริมการเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช” คุณนรชาติ กล่าวทิ้งท้าย จากนี้ไปชาวมละบริที่เคยใช้ชีวิตเป็นคนป่า ย้ายถิ่นฐานอยู่ ตลอดเวลา ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ชาวมละบริแต่ละ ครอบครัวเริม่ เรียนรูท้ จี่ ะวางแผนอนาคตในทุกเรือ่ งของชีวติ ตัง้ แต่การ ท�ำงานหาเงินมาใช้จ่าย เก็บเงินส่งลูกเรียน และการคุมก�ำเนิด ตลอด จนเรื่องของที่อยู่อาศัย เป็นต้น
▲ คุณอรัญวา ชาวพนาไพร
ชาวมละบริคนแรกของโลกที่ศึกษาระดับปริญญาตรีได้ส�ำเร็จ
July-August 2017, Vol.44 No.253
23 <<<
&
Report
ค็อกเน็กซ์
ตอบโจทย์
การเปลี่ยนผ่านสู่ยุคการผลิตแบบออโตเมชั่น กองบรรณาธิการ
ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชั่น (NASDAQ: CGNX) ผู้น�ำของโลก ด้านแมชชีนวิชั่นเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อต้อนรับการเปลี่ยนผ่านสู่ ยุคการผลิตแบบออโตเมชัน่ ทัง้ ในประเทศไทยและทัว่ โลก โดยมุง่ เน้น การท�ำงานที่ไม่เพียงแต่เพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบคุณภาพ ชิ้นงานเท่านั้น แต่ยังมองไปถึงมาตรฐานระดับโลกที่ลูกค้าต่างก็ เรียกร้องให้ผู้ผลิตได้ตระหนึกถึงในทุก ๆ วงการอุตสาหกรรม ▲
คุณศุภสิทธิ์ เชิดไชยกุล
วิศวกรอาวุโสฝ่ายขาย ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชั่น
>>>24
July-August 2017, Vol.44 No.253
& In-Sight VC200 มัลติสมาร์ทคาเมร่าวิชั่น
กล้องวิชั่นซิสเต็มส์แบบมัลติสมาร์ทคาเมร่าตัวแรกของโลก ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานให้รวดเร็วขึน้ ตามจ�ำนวน กล้องแต่ละตัวที่เพิ่มเข้ามา In-Sight® VC200 ซีรีส์ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ ในตระกูลกล้องวิชนั่ ซิสเต็มส์แบบมัลติสมาร์ทคาเมร่า In-Sight VC200 ซีรีส์เป็นการน�ำเอาประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของ In-Sight วิชั่นซิสเต็มส์มาผนวกรวมเข้ากับการใช้งานกล้องวิชั่นซิสเต็มส์มัลติสมาร์ทคาเมร่า ระบบกล้องมัลติคาเมร่าแบบดั้งเดิมใช้ “ดัมบ์” ของกล้องที่ แชร์รว่ มกับตัวโปรเซสเซอร์เดียวกัน ส่งผลให้ประสิทธิภาพการท�ำงาน ช้าลงเมื่อมีการเพิ่มกล้องเข้ามามากขึ้น เทคโนโลยีนี้จะจ�ำกัดการใช้ งานระบบมัลติคาเมร่าซิสเต็มส์ในปัจจุบนั เมือ่ มีการจับภาพหลายภาพ พร้ อ ม ๆ กั น In-Sight VC200 เอาชนะข้ อ จ� ำ กั ด เหล่ า นี้ เ พราะ ประสิทธิภาพในการประมวลผลกลับจะเพิม่ มากขึน้ ตามจ�ำนวนกล้อง แต่ละกล้องที่เพิ่มเติมเข้ามา พร้อมทั้งเพิ่มขอบเขตการใช้งานในการ ตรวจสอบจากหลายกล้อง ประสิทธิภาพการท�ำงานที่ดีขึ้นนี้จะช่วย รองรับกับสายการผลิตทีม่ คี วามรวดเร็วขึน้ และยังให้ความยืดหยุน่ ใน การแก้ปญ ั หาการใช้งานเกีย่ วกับการตรวจสอบการเรียงล�ำดับไม่ตรง กัน
Report
In-Sight VC200 รวมเอา HMI ที่ใช้งานบนเว็บและปรับแต่ง ได้อย่างเต็มที่ เพื่อให้การเฝ้าดูและควบคุมการเข้าถึงส�ำหรับแต่ละ ระดับผ่านการปกป้องโดยใช้รหัสผ่าน ด้วย In-Sight VC200 ผู้ปฏิบัติ งานสามารถเรียกดูการตรวจสอบ วิศวกรฝ่ายควบคุมสามารถปรับเปลี่ ย นค่ า พารามิ เ ตอร์ และผู ้ จั ด การโรงงานสามารถตรวจสอบ ประสิทธิภาพการท�ำงานเชิงสถิติไปพร้อมๆ กันผ่านระบบปฏิบัติการ iOS®, Android® หรือจากอุปกรณ์ใด ๆ ที่รันบน Windows® ร่วมกับ เว็บบราวเซอร์ “ในขณะที่ลูกค้าของเรามีการขยายการใช้งานระบบแมชชีนวิชั่นเพิ่มขึ้น พวกเขาต่างมองหาวิธีการที่จะท�ำให้กล้องแบบสแตนด์ อโลนท�ำงานร่วมกันในการแก้ปญ ั หาการใช้งานทีก่ ำ� หนดให้ตอ้ งมีการ ตรวจสอบจากหลายมุมมอง” กล่าวโดย เจิร์ค คูเช่น รองประธาน บริหารและผู้จัดการหน่วยธุรกิจผลิตภัณฑ์วิชั่นของค็อกเน็กซ์กล่าว “In-Sight VC200 มี ฟ ั ง ก์ ชั่ น ที่ ต อบโจทย์ นี้ โ ดยอาศั ย ข้ อ ดี ข อง แพลตฟอร์ม In-Sight ซึ่งได้รับการยอมรับว่าผ่านมาตรฐานระดับ โกลด์ส�ำหรับระบบแมชชีนวิชั่น” เช่นเดียวกับ In-Sight วิชั่นซิสเต็มส์ในทุก ๆ รุ่น การตั้งค่าการ ใช้งานมัลติคาเมร่าใน In-Sight VC200 นัน้ ง่ายมากด้วยประสิทธิภาพ ของซอฟต์แวร์ In-Sight Explorer เวิร์คโฟลว์แบบกราฟิกช่วยให้การ ใช้งานระบบวิชั่นเรียบง่ าย โดยระบบจะท�ำการแยกขั้นตอนการ ตรวจสอบลงในทูลส์บล็อก นอกจากนี้ยังสามารถเข้าถึง In-Sight วิชั่นทูลส์ (ที่รวมเอาเทคโนโลยี PatMax Redline, OCRMax และ อื่น ๆ) ผ่านอินเตอร์เฟซแบบสเปรดชีตที่คุ้นเคย
วิชั่นเซนเซอร์ที่เสริมประสิทธิภาพ โดย IN-SIGHT 2000 Series
ผลิตภัณฑ์ In-Sight® 2000 Series รุน่ ใหม่ คือ กลุม่ ผลิตภัณฑ์ ที่รวมเอาประสิทธิภาพของระบบจับภาพ In-Sight ที่ใช้งานในระดับ อุ ต สาหกรรมผนวกเข้ า กั บ ความง่ า ยและราคาที่ ซื้ อ หาได้ ข องตั ว เซนเซอร์จบั ภาพ เป็นผลิตภัณฑ์ทเี่ หมาะอย่างยิง่ กับการใช้งานส�ำหรับ July-August 2017, Vol.44 No.253
25 <<<
Report
&
ระบบพิสจู น์ขอ้ ผิดพลาด โดยตัวเซนเซอร์จบั ภาพเหล่านีเ้ ป็นตัวก�ำหนด มาตรฐานใหม่ในด้านคุณประโยชน์ ความง่ายในการใช้ และความยืดหยุน่ ซึง่ ต้องขอบคุณการรวมกันของเครือ่ งมือจับภาพ In-Sight ทีไ่ ด้รบั การ พิสจู น์ประสิทธิภาพ การตัง้ ค่าอย่างง่าย และการออกแบบแบบโมดูล ที่มีคุณสมบัติพิเศษในเรื่องระบบส่องสว่างและเลนส์ที่สามารถปรับ เปลี่ยนได้ในสถานที่ปฏิบัติงานจริง “เป็นเวลานานกว่า 15 ปี ที่ผู้ผลิตทั่วโลกไว้วางใจใน In-Sight เพือ่ ใช้ปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพิม่ ก�ำลังการผลิต และลดของเสีย ในตอนนี้พวกเขาต้องการวิธีการที่คุ้มค่าการลงทุนเพื่อขยายการใช้ เทคโนโลยีระบบจับภาพไปสู่การใช้งานที่ง่ายที่สุด นั่นคือ การใช้ ซอฟต์แวร์ตั้งค่าอันเดียวกันกับที่พวกเขาใช้เพื่อแก้ปัญหาเรื่องระบบ จับภาพให้ได้มากขึ้น” ค�ำกล่าวของจอร์จ เคอร์เชน รองประธาน กรรมการและผูจ้ ดั การธุรกิจผลิตภัณฑ์ระบบจับภาพ “In-Sight 2000 Series ง่ายต่อการน�ำไปใช้งานโดยการประยุกต์ใช้งานระบบจับภาพ แทบจะไม่ ต ้ อ งปรั บ เปลี่ ย นอะไรเลย ขณะที่ มั น ยั ง สามารถให้ ประสิทธิภาพที่เชื่อถือได้และคาดหวังได้จากระบบจับภาพ In-Sight” In-Sight 2000 Series ประกอบด้วยระบบสร้างภาพประสิทธิภาพสูงที่ถูกรวมไว้ด้วยกัน ซึ่งประกอบด้วยเลนส์แบบปรับเปลี่ยนได้ และหลอดไฟแอลอีดีแบบวงแหวนที่ก�ำลังอยู่ในระหว่างการจดสิทธิบัตรซึ่งท�ำหน้าที่กระจายแสงได้ตลอดพื้นที่ภาพทั้งหมด ช่วยให้ตัด ความจ�ำเป็นในการใช้ระบบการส่องสว่างจากภายนอกที่มีราคาแพง ออกไปได้ ลูกค้ายังสามารถสลับเปลีย่ นเลนส์และเปลีย่ นสีของหลอด ไฟวงแหวนแบบรวมตามความจ�ำเป็นในการใช้งาน โดยการใช้งานร่วมกับ In-Sight Explorer™ EasyBuilder® Interface ช่วยให้การตัง้ ค่าการใช้งานแบบทีละขัน้ ตอนนัน้ ท�ำได้อย่าง รวดเร็ว จึงท�ำให้ผใู้ ช้งานรายใหม่ทใี่ ช้ In-Sight 2000 Series สามารถ ทีจ่ ะปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ได้ประสิทธิภาพการตรวจสอบทีเ่ ชือ่ ถือได้อย่าง มากในเกือบทุกสภาพแวดล้อมการผลิต
>>>26
July-August 2017, Vol.44 No.253
ค็อกเน็กซ์เปิดตัวระบบอ่านข้อมูลป้าย เพื่อจัดการกระเป๋าเดินทางในสนามบิน โดยใช้ภาพเป็นครั้งแรกในอุตสาหกรรม
ความเร็วการอ่านที่สูงท�ำให้มั่นใจได้ถึงการส่งมอบกระเป๋า เดินทางที่รวดเร็วและเชื่อถือได้ ค็อกเน็กซ์ได้เปิดตัวระบบอ่านข้อมูลป้ายเพื่อจัดการกระเป๋า เดินทางในสนามบิน (ABH-ID) ซึง่ เป็นระบบเครือ่ งอ่านป้ายติดกระเป๋า โดยอัตโนมัตจิ ากภาพ (ATR) ทีส่ ามารถเอาชนะข้อจ�ำกัดซึง่ ไม่สามารถ ท�ำได้โดยระบบอ่านข้อมูลป้ายติดกระเป๋าทีใ่ ช้แสงเลเซอร์ทใี่ ช้งานกัน อยู่ปัจจุบัน เทคโนโลยีของค็อกเน็กซ์ยังมีความเร็วการอ่านสูงมาก อย่างเห็นได้ชัดเมื่อเทียบกับระบบที่ท�ำงานด้วยเลเซอร์ จึงช่วยให้ลด ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบกระเป๋าเดินทางที่อาจจะเกิดการ สูญหายหรือเกิดความล่าช้าในการส่งมอบลงได้ การเดินทางโดยสารด้วยเครื่องบินนั้นมีการเติบโตขึ้นร้อยละ 8 ต่อปี ท�ำให้เกิดภาระมากขึ้นในเรื่องระบบการจัดการกระเป๋า เดินทางในปัจจุบัน ซึ่งแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยในช่วง 30 ปี ที่ผ่านมา ระบบ ABH-ID ของค็อกเน็กซ์ใช้เทคโนโลยีที่ได้รับการ ยอมรับและพิสูจน์แล้วในอุตสาหกรรมการบินที่สามารถอ่านรหัส ซึ่ง ระบบที่ใช้งานปัจจุบันนั้นยากที่จะอ่านได้ และมีความเร็วในการอ่าน แม้กระทัง่ บริเวณจุดรอยต่อทีท่ ำ� งานได้ยาก เช่น ระบบล�ำเลียง ซึง่ เป็น จุดทีป่ า้ ยติดกระเป๋าเกิดความเสียหายอยูบ่ อ่ ยครัง้ จากกระบวนการขน กระเป๋าขึ้นเครื่องบินและถ่ายลงจากเครื่องบิน “แม้กระทั่งในปัจจุบันนี้ การอ่านป้ายติดกระเป๋าในระบบ ล� ำ เลี ย งเป็ น สิ่ ง ที่ ย ากเนื่ อ งจากความเสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการที่ กระเป๋าแต่ละใบถูกขนย้ายเปลีย่ นต�ำแหน่งหลายครัง้ เราได้ออกแบบ ระบบอ่ า นข้ อ มู ล และระบบติ ด ตามที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง โดยอิ ง ประโยชน์ของเครื่องอ่านจากภาพที่มีราคาใกล้เคียงกับระบบที่ใช้ เลเซอร์” ค�ำกล่าวของเจย์ บูตัน ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจใหม่ของ
& ค็อกเน็กซ์ ฝ่ายระบบจัดการกระเป๋าเดินทางในสนามบิน “ผ่านการ สาธิตการใช้งานจริงในระบบล�ำเลียงกระเป๋าเดินทางในเส้นทางบิน ระหว่างประเทศ ทางค็อกเน็กซ์สามารถที่จะอ่านข้อมูลได้เร็วขึ้น ร้อยละ 15 เมื่อเทียบกับเครื่องอ่านระบบเลเซอร์ที่มีอยู่เดิม” คุณศุภสิทธิ์ เชิดไชยกุล วิศวกรอาวุโสฝ่ายขาย ค็อกเน็กซ์ คอร์ปอเรชัน่ มาให้พร้อมกับการแสดงทัศนะของสินค้าและผลิตภัณฑ์ ของบริษัทว่า “ประเทศไทยมีนโยบาย Digital Economy และ Thailand 4.0 ทีเ่ น้นให้ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมหันมาใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมในการผลิตสินค้าและให้บริการ ค็อกเน็กซ์ (Cognex) พัฒนา ระบบแมชชีนวิชั่น (machine vision) และระบบออโตไอดี (Auto ID) ที่ตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้เปลี่ยนผ่านไปสู่การตรวจสอบคุณภาพแบบออโตเมชั่น และลดการใช้ระบบแมนวล (manual) ที่ใช้คนในการ QC เพราะการเกิด Human Error สร้างความเสียหาย มหาศาลทั้งในแง่ของมูลค่าสินค้าและชื่อเสียงของบริษัทฯ หากว่า ข้อผิดพลาดในการผลิตสินค้ารุนแรงถึงขั้นต้องเรียกคืนสินค้า ปีที่ผ่านมาการเติบโตของบริษัทฯ ในประเทศไทยสูงราว 10 เปอร์เซ็นต์ ปีหน้ามีการคาดการณ์วา่ จะเติบโตกว่าปีนี้ 50% โดยตลาด Auto ID มีอัตราการเติบโตแบบก้าวกระโดด เนื่องจากราคาที่ถูกลง ประสิทธิภาพที่สูงขึ้นและการเติบโตของอุตสาหกรรมการผลิตแบบ ออโตเมชั่น แต่ค็อกเน็กซ์เน้นทั้ง 2 ผลิตภัณฑ์ ส�ำหรับค็อกเน็กซ์ในปี 2560 มีผลิตภัณฑ์ที่ออกใหม่ อาทิ In-Sight 2000, VC200, Multi Smart Camera และระบบ ABH-ID ซึง่ เป็นระบบเครือ่ งอ่านป้ายบาร์โค้ดติดกระเป๋าเดินทางแบบอัตโนมัติ ที่จะเปิดตัวรองรับภาคอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ รวมถึงจะมีการขยาย ตัวแทนจ�ำหน่ายทางด้านออโตเมชัน่ ให้มากขึน้ ปัจจุบนั มี Distributor 7 ราย ค็อกเน็กซ์ตั้งศูนย์ Technical Center เพื่อฝึกอบรมการใช้งาน ของลูกค้าและพาร์ทเนอร์ รวมถึงเป็นศูนย์ในการทดสอบ การตรวจสอบชิน้ งาน นอกจากนีแ้ ผนการตลาดในประเทศไทยจะมีการออกงาน Industry Exhibition ได้แก่ Propak Asia 2017, Manufacturing Expo 2017, Nepcon 2017, TILOG 2017 และ Metalex 2017” ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ จ ากค็ อ กเน็ ก ซ์ นี้ มี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง เนือ่ งจากมติขอ้ 753 ของสมาคมการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ ทีอ่ อกใหม่ได้แถลงว่า นับตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2561 สายการบิน สมาชิกทั้งหมดจ�ำเป็นต้องสาธิตให้เห็นถึงการรับและการส่งมอบ กระเป๋า 3 จุดของเส้นทางการล�ำเลียงกระเป๋า ได้แก่ ขณะขนขึ้น เครื่องบิน ขณะล�ำเลียง และขณะมาถึงปลายทาง ในแต่ละครั้งนั้น กระเป๋ า จะถู ก เคลื่ อ นย้ า ยโดยมี ป ้ า ยติ ด กระเป๋ า ที่ มี คุ ณ ภาพและ สามารถอ่านป้ายนั้นได้แม้ว่าป้ายนั้นจะสกปรก เกิดรอยขีดข่วน หรือ เกิดความเสียหายเนื่องจากฝนฟ้าอากาศ ระบบ ABH-ID มีความ
Report
สามารถยอดเยีย่ มในการอ่านป้ายทีเ่ กิดความเสียหายได้อย่างรวดเร็ว และเที่ยงตรง การที่ระบบไม่สามารถ “อ่านข้อมูล” ได้สองสามป้าย หมายถึงจะมีกระเป๋าเดินทางพลาดขึ้นเครื่องบินสองสามใบ ซึ่ง จะท�ำให้ประสิทธิภาพของระบบจัดการกระเป๋าโดยรวมนั้นเพิ่มขึ้น ลดการปฏิบัติงานของการอ่านข้อมูลป้ายด้วยคน และท�ำให้ความ พึงพอใจของลูกค้าเพิ่มมากขึ้น ระบบ ABH-ID ของค็อกเน็กซ์น�ำเอาเครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด จากภาพแบบติดตัง้ อยูก่ บั ที่ DataMan® ซึง่ เป็นเครือ่ งอ่านรหัสบาร์โค้ด ชั้นน�ำในอุตสาหกรรม ที่มีการออกแบบโดยไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนที่ ดังนั้น จึงไม่จ�ำเป็นต้องมีการบ�ำรุงรักษา ซึ่งตรงข้ามกับเครื่องสแกน แบบเลเซอร์ที่มีชิ้นส่วนเคลื่อนที่ซึ่งสามารถสึกหรอและขัดข้องได้ นอกจากนั้นผลิตภัณฑ์นี้ยังมีเทคโนโลยี Xpand™ ที่อยู่ระหว่างการ ยื่นจดสิทธิบัตรซึ่งสามารถให้ความยืดหยุ่นในการติดตั้งในสภาพ แวดล้อมที่มีพื้นที่จ�ำกัดได้ เทคโนโลยี Xpand™ นี้ ยังมีระบบส�ำรอง ที่ได้รับการปรับปรุงใหม่และมีขอบเขตการมองเห็นที่เพิ่มขึ้น ท�ำให้ ง่ายต่อการติดตั้งและลดค่าใช้จ่ายของระบบโดยรวมลงได้
July-August 2017, Vol.44 No.253
27 <<<
Life Style
Book Guide Show & Share
&
Book Guide
ฟิสิกส์ ฉบับการ์ตูน ตอน กลศาสตร์
ผู้เขียน Taku Koinuma ผู้แปล ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ จ�ำนวนหน้า 328 หน้า ครั้งที่พิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 ราคา 249 บาท ระดับผู้ใช้ นักเรียนมัธยมปลาย และครู ส�ำนักพิมพ์ ส.ส.ท. เรียนฟิสิกส์ มัธยมปลาย แบบเข้าใจง่าย ผ่านบทเรียนเรื่อง กลศาสตร์ แสนสนุก โดยศาสตราจารย์แห่งโรงเรียนจักรวาล ผู้มุ่งมั่น ที่จะสอนเจ้ากระรอก อดีตนักเรียนสอบตกให้เก่งฟิสิกส์ให้ได้ ฟิสิกส์ ฉบับการ์ตูน ตอน กลศาสตร์ เล่มนี้ จะอธิบายเรื่องการ เคลือ่ นทีข่ องวัตถุและแรงชนิดต่าง ๆ ผ่านบทเรียนสนุก ๆ เริม่ ตัง้ แต่เรือ่ ง ➠ การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง ➠ สมดุลของแรง ➠ โมเมนต์ของแรง
➠
สมการการเคลื่อนที่ ➠ งานและพลังงาน ➠ โมเมนตัมและการดล ➠ การเคลื่อนที่ที่มีแรงเฉื่อย ➠ การเคลื่อนที่แบบวงกลม ➠ แรงดึงดูดระหว่างมวล ➠ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
July-August 2017, Vol.44 No.253
29 <<<
&
Book Guide
เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ผู้เขียน จำ�นวนหน้า ครั้งที่พิมพ์ ราคา ระดับผู้ใช้ สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.
เกียรติศักดิ์ สุทธิปัญโญ 284 หน้า พิมพ์ครั้งที่ 1 79 บาท นักศึกษา ระดับ ปวช. และบุคคลที่เริ่มต้นสนใจในการเขียนแบบ
หนังสือ “เขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้น” รหัสวิชา 2100-1001 เล่มนี้ เนือ้ หาครอบคลุมตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ครั้งที่ 1 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม กลุ่มทักษะวิชาชีพพื้นฐาน เรียนร่วมประเภทวิชา (2100) ล�ำดับที่ 1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง ➠ พัฒนาการของการเขียนแบบ วิธีการใช้และบ�ำรุงรักษาเครื่องมือ-อุปกรณ์ในการเขียนแบบ ➠ มาตรฐานการเขียนแบบ กระดาษเขียนแบบ เส้น ตัวเลข ตัวอักษร มาตราส่วน ➠ การสร้างรูปทรงเรขาคณิต ➠ การก�ำหนดขนาดชิ้นงาน ➠ การเขียนแบบภาพสามมิติ ➠ การเขียนแบบภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ➠ การสเกตช์ภาพ ➠ การเขียนแบบภาพตัด ➠ สัญลักษณ์เบื้องต้นในงานช่างอุตสาหกรรม
>>>30
July-August 2017, Vol.44 No.253
Show
&
Show & Share
Dell
Dell EMC
เปิ ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ใ น กลุม่ SDS (Software-Defined Storage) เพื่ อ ช่ ว ยลู ก ค้ า ยกระดั บ ความทั น สมั ย ให้ แ ก่ ด าต้ า เซ็นเตอร์ของตน ด้วยต้นทุนระบบไอทีที่ถูกกว่า ถึงจุดคุ้มค่า ทางการลงทุนได้เร็วขึ้น พร้อมด้วยคุณสมบัติใหม่มากมาย กลุ่ม ผลิตภัณฑ์อันครอบคลุมของซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารสตอเรจ ยังทำ�งานได้ดียิ่งขึ้นผ่านเซิร์ฟเวอร์ Dell EMC PowerEdge เจเนอเรชั่นที่ 14 ซึ่งให้ประสิทธิภาพและความคล่องตัวในการ ขยายระบบได้มากขึ้นเพื่อรองรับแอปพลิเคชั่นและลักษณะงาน ได้อย่างหลากหลาย การปรับปรุงในส่วนของ ScaleIO, ECS และ IsilonSD Edge ตลอดจนการเปิดตัว Project Nautilus และการขยายความครอบคลุม ในกลุ่ม Ready Node ท�ำให้ลูกค้าได้รับประโยชน์จาก Dell EMC ได้มากยิ่งขึ้นเมื่อเปลี่ยนดาต้าเซ็นเตอร์ดั้งเดิมมาสู่ดาต้าเซ็นเตอร์ยุคใหม่ โดยคุณสมบัติของซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารสตอเรจช่วยมอบโมเดลการติดตั้งใช้งานได้หลากหลาย ซึ่งเป็นสิ่งที่ธุรกิจทุกแห่งต้องการเพื่อรองรับ การเติบโตและการเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ยังท�ำให้สามารถตั้งโปรแกรมบนโครงสร้างระบบในองค์กร เพื่อจัดการงานต่าง ๆ โดยอัตโนมัติ มอบ ความสะดวกในการขยับขยายและการบริหารดูแลได้เหนือกว่าโครงสร้างระบบแบบดั้งเดิม Dell EMC พร้อมน�ำเสนอโซลูชนั่ SDS อันครอบคลุม เพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการทางธุรกิจ แผนงานในอนาคต ระดับทักษะในการใช้งาน และอุปสรรคในการระบุต�ำแหน่งทางภูมิศาสตร์ ทั้งนี้กลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการต่อยอดความสามารถ ประกอบด้วย: Dell EMC ScaleIO.Next ผู้น�ำโซลูชั่นซอฟต์แวร์เพื่อการบริหารสตอเรจแบบบล็อกระดับองค์กร เปิดตัวคุณสมบัติใหม่อย่าง .Next และ ความสามารถอื่น ๆ อีกมากมาย ● ปรับปรุงประสิทธิภาพด้าน Inline Compression เพิม ่ ความสามารถในการ ท�ำสแนปชอต สามารถจัดสรรทรัพยากรได้อย่างละเอียดและพอดียิ่งขึ้น รวมถึง การย้ายข้อมูลได้อย่างราบรื่นที่สุด ● ให้ประสิทธิภาพที่ดีขึ้นและลดปัญหา ความหน่วง (latency) ด้วย เซิร์ฟเวอร์ Dell EMC PowerEdge เจเนอเรชั่นที่ 14 ซึ่งมาพร้อมแฟลชไดรฟ์ NVMe ● จัดการกับ VMware ได้ง่ายกว่าเดิม พร้อมรองรับ VMware Virtual Volumes การปรับปรุงใหม่ใน Dell EMC ECS เปิดเผยการปรับปรุงในหลายส่วนส�ำหรับ แพลตฟอร์มสตอเรจแบบออบเจ็กต์จาก Dell EMC ที่รองรับการขยายขนาดได้อย่างคล่องตัว โดยออกแบบมาเพื่อมอบการเข้าถึงแอปพลิเคชั่น ได้จากทั่วโลก ทั้งแบบดั้งเดิมและแบบใหม่ ภายใต้คุณสมบัติที่รองรับการขยายขนาดของระบบคลาวด์ ● ECS.Next มาพร้อมคุณสมบัติในการปกป้องและจัดการข้อมูลในระดับองค์กร พร้อมด้วยความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นสูง นอกจากนี้ซอฟต์แวร์ EMC ยังได้รับการรับรองว่าสามารถท�ำงานบนเซิร์ฟเวอร์ Dell EMC PowerEdge เจเนอเรชั่นที่ 14 ได้อย่าง ดีเยี่ยมด้วย ● ECS Dedicated Cloud Service ช่วยให้ลูกค้าสามารถใช้ ECS ผ่านโมเดลระบบคลาวด์แบบไฮบริดได้ โดย ECS Dedicated Cloud Service ได้ผสานจุดเด่นด้านการควบคุมดูแลของระบบคลาวด์ส่วนตัว เข้ากับความคล่องตัวและการลดภาระงานของระบบคลาวด์สาธารณะ เข้าด้วยกัน July-August 2017, Vol.44 No.253
31 <<<
&
Show & Share
Share
Event
อะแวร์
คอร์ ป อเรชั่ น ร่ ว มกั บ สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง จัดกิจกรรม Aware Technology Competition Award 2016 ขึ้นเป็นครั้งแรก เพื่อ ส่งเสริมให้นกั ศึกษาได้พฒ ั นาความคิดสร้างสรรค์ในการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ มุมมองทางธุรกิจ เพื่อให้เป็นนักพัฒนาไอทีที่ดีและทันโลกยุคปัจจุบัน โดย การประยุกต์ใช้โมบายแอพพลิเคชั่นในการสร้างแบบจ�ำลองธุรกิจ และ เป็นการช่วยขับเคลื่อนประเทศไทย Thailand 4.0 ส�ำหรับการจัดกิจกรรม “Aware Technology Competition Award 2016” ได้จัดขึ้นเป็นครั้งแรก โดยมีทีมนักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันจ�ำนวน 5 ทีมด้วยกัน ประกอบด้วย 1. ทีม SubSend 2. ทีมมาคนเดียว 3. ทีม Interactive Customer Royalty Kiosk 4. EzStamp และ 5. ทีม 1/500 ซึ่งจากผลการแข่งขันในครั้งนี้ ทีมชนะเลิศ ได้แก่ ทีมมาคนเดียว โดย คุณไตรศักดิ์ ไตรเสนีย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับทุน การศึกษา 15,000 บาท จากการคว้า 2 รางวัล คือ รางวัลชนะเลิศและรางวัลด้านการน�ำเสนอผลงานยอดเยี่ยม (The Best Presentation) จาก โปรเจ็กส์ที่ชื่อว่า QuickPay หรือระบบแอพพลิเคชั่นเพื่อการจัดการรายจ่ายของผู้ปกครอง-นักเรียน-นักศึกษาในโรงเรียน ส่วน อันดับ 2 ได้แก่ ทีม SubSend โดย คุณอมิตา มงคลปรีดาไชย ได้รับทุนการศึกษาจ�ำนวน 5,000 บาท จากโปรเจ็กส์ SubSend ซับเซ้นด์ ระบบโมบายล์ แอพพลิเคชั่นการจัดการธุรกิจซื้อขายสินค้าที่มี Shelf-Life สั้น และผู้บริโภคมักจะซื้อซ�้ำ
บริษัท
นีเวลล์ แบรนด์ส เปิดตัวปากกาเปเปอร์เมท® อิงค์จอย® เจล อย่างเป็นทางการวันนี้ ผลิตภัณฑ์ ใหม่นจี้ ะน�ำความสุข ความสนุกสนาน และนวัตกรรมใหม่ ๆ มาเติมเต็ม ประสบการณ์การเขียน และช่วยผู้บริโภคในประเทศไทยได้แสดงตัวตน และความรู้สึกด้วยความคิดสร้างสรรค์ ปากกาเปเปอร์เมท® อิงค์จอย® เจล มาพร้อม 14 สีสดใสที่แห้งไว และไม่เลอะเปรอะเปื้อน
>>>32
July-August 2017, Vol.44 No.253
ดร.
อุตตม สาวนายน (ที่ 5 จากซ้าย) รัฐมนตรีวา่ การกระทรวง อุตสาหกรรม พร้อมด้วยเครือข่ายพันธมิตรทั้งจากภาครัฐ และเอกชน 67 หน่วยงาน ร่วมแถลงข่าวการปรับคณะท�ำงานประชารัฐ ชุดส่งเสริม SMEs Startup และ Social Enterprise เพื่อวางกรอบการ ส่งเสริมและพัฒนา SMEs ภายใต้กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนว ประชารัฐ 20,000 ล้านบาท และสินเชื่อ SMEs Transformation Loan 15,000 ล้านบาท อย่างครบวงจรในทุกมิติ ส�ำหรับกิจกรรมดังกล่าวจัด ขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ ห้องประชุมบอร์ดรูม 1 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ
&
Show & Share
เมื่อ
เร็ว ๆ นี้ ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA จัดงานแถลงข่าว “ดีป้าขยายช่องทางทุนสู่ดิจิทัล 4.0” เพื่อ ขับเคลือ่ นดิจทิ ลั สตาร์ทอัพผ่าน 4 มาตรการส่งเสริม ประกอบด้วย สนับสนุน ให้ Digital Startup และกลุม่ ผูป้ ระกอบการนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้าถึง การจดแจ้งลิขสิทธิท์ รัพย์สนิ ทางปัญญา ส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดย ร่วมมือกับส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) และการ ขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ โดยงานแถลงข่าวได้รับเกียรติจากผู้บริหาร และ ผู้แทนพันธมิตรเข้าร่วมในงานคับคั่ง ประกอบด้วย คุณมีธรรม ณ ระนอง (ที่ 3 จากซ้าย) รักษาการในต�ำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษปฏิบัติหน้าที่แทน รองผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั คุณฉัตรชัย คุณปิตลิ กั ษณ์ (ที่ 4 จากซ้าย) รักษาการในต�ำแหน่งผู้เชี่ยวชาญพิเศษปฏิบัติหน้าที่แทน รองผู้อ�ำนวยการ และ คุณชัยณรงค์ ฉัตรรัตนวารี (ที่ 5 จากซ้าย) รักษาการ ในต�ำแหน่งผู้จัดการมาตรการส่งเสริม ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ร่วมด้วย ผู้อ�ำนวยการส�ำนักลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการลงทุน ระดับช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม ธนาคารไทยพาณิชย์ ซึ่งงานจัดขึ้น ณ โรงแรมเซ็นทรา บาย เซ็นทารา ศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ
คุณ
กัญญภัทร สุขสมาน ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์และอินเทอร์เน็ต บมจ.โมโน เทคโนโลยี พร้อม ด้วย คุณหทัยทิพย์ หมัดจุย้ หัวหน้าหน่วยธุรกิจดูหนังออนไลน์ บริษทั โมโน ฟิล์ม จ�ำกัด ในเครือโมโน กรุ๊ป และ คุณนิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาด บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำทีมคณะผู้บริหารและพนักงานจัดท�ำโครงการ “Click for Kids - คลิกที่ ใช่ ส่งแรงบันดาลใจให้น้อง” โดยเปิดให้ประชาชนทั่วไป ร่วมท�ำดีโดยการโหวตภาพยนตร์ที่จะช่วยสร้างจินตนาการและแรง บันดาลใจให้แก่น้อง ๆ ผ่านทาง http://clickdeetumdee.mthai.com/ clickforkids เพื่อน�ำไปฉายให้น้อง ๆ ได้ชมผ่านจอทีวี LG ขนาด 55 นิ้ว ที่มอบให้กับโรงเรียน และรายได้จากการโหวตภาพยนตร์ทุกเรื่องจะน�ำ ไปสมทบทุนพัฒนาโรงเรียนวัดดอนยอ จังหวัดนครนายก
ส�ำ
นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ต่อยอด เผยแพร่ความส�ำเร็จของผู้ประกอบการ SMEs ในโครงการ คูปองนวัตกรรมฯ ต่อเนื่อง น�ำเสนอผลงาน บริษัท ไฟไนท เอลิเมน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กับ “หลังคาผ้าใบแรงดึงสูง” เร่งขยายผลตลาดสู่ วงกว้างภายใต้ยทุ ธศาสตร์นวัตกรรมตลาด (market innovation) อีกหนึง่ นวัตกรรมทีโ่ อกาสทางการตลาดสูง ส�ำหรับหลังคาผ้าใบแรงดึงสูง อาศัย หลักการค�ำนวณทางวิศวกรรมชัน้ สูงบวกกับการออกแบบสร้างสรรค์ของ สถาปนิก ท�ำให้ได้รูปทรงที่ดูแปลกตา สวยงามและเป็นเอกลักษณ์ เปรียบเทียบได้กบั งานศิลปะทางด้านสถาปัตยกรรม โดยผ้าใบแรงดึงสูง สามารถประยุกต์ใช้และติดตั้งได้ทุกที่ ไม่ว่าจะเป็นโรงแรม โรงเรียน ห้างสรรพสินค้า Shopping Mall สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สระว่ายน�้ำ สเตเดียม บ้านพักอาศัย โดยผ้าใบมีความทนทานต่อทุกสภาพแวดล้อม และมีอายุการใช้งานมากกว่า 10 ปี นับเป็นอีกนวัตกรรมใหม่ที่มี ศักยภาพ และมีแนวโน้มที่จะได้รับการยอมรับจากโรงงานอุตสาหกรรม ต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศอย่างแพร่หลายในอนาคต July-August 2017, Vol.44 No.253
33 <<<
&
Show & Share
ธนาคาร
ซีไอเอ็มบี ไทย น�ำโดย คุณอดิศร เสริมชัยวงศ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สาย ธุรกิจ รายย่อย จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ “Exclusive Triathlon Training by CIMB Preferred” เพื่อพาลูกค้าก้าวไปอีกขั้นกับ ความท้าทายใหม่ พร้อมกับสุขภาพทีด่ ขี นึ้ ผ่านกิจกรรมการแข่งขันไตร กีฬายอดนิยม ภายใต้ Concept “Preserve Your Asset” ซึ่งนอกจาก ธนาคารจะมอบความมั่งคงทางการเงิน ยังต้องการร่วมสร้างชีวิตที่มี รากฐานมาจากสุขภาพทีแ่ ข็งแรงให้ลกู ค้า ให้สามารถเต็มทีก่ บั ทุกมิติ ของการใช้ชีวิต ไม่ว่าจะเป็นการท�ำงานหรือท่องเที่ยว โดยในช่วง หลายปีทผี่ า่ นมา ซีไอเอ็มบี ไทย ได้จดั โครงการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับสุขภาพ มาอย่างต่อเนื่องทุกปี
Congratulations
ภารกิจ
อย่างหนึ่งที่นักการตลาดในปัจจุบันต่างให้ความส�ำคัญ คือ การน�ำเสนอประสบการณ์ที่มีคุณภาพและเชื่อถือได้ให้กับลูกค้า อย่างต่อเนื่อง และจากข้อมูลการจัดอันดับใหม่ในครั้งนี้ได้ตอกย�้ำให้เห็นถึงความส�ำคัญของภารกิจดังกล่าว เมื่อเทคโนโลยี SAS® Customer Intelligence ได้รับต�ำแหน่ง “Strong Performer” ในรายงาน The Forrester Wave™: Digital Intelligence Platforms, Q2 2017 ซึ่งระบุว่า แซสประสบความส�ำเร็จอย่างมากกับความสามารถด้าน DI (Digital Intelligence) ของตนในรูปของโมดูลเสริมในลักษณะการท�ำงาน แยกส่วนที่พร้อมเข้าไปสนับสนุนการตัดสินใจให้กับนักการตลาดแบบเรียลไทม์ ทั้งการวิเคราะห์ข้อความ การท�ำเหมืองข้อมูล การแสดงภาพข้อมูล และการวิเคราะห์ IoT (Internet of Things) เป็นต้น
>>>34
July-August 2017, Vol.44 No.253
ชุดที่ 1 ฉบับที่
ใบสั่งซื้อนิตยสาร
1-3
ฉบับยอนหลัง
135 บาท ชุดที่ 2 ฉบับที่
4-15
480 บาท
ชุดที่ 3 ฉบับที่
16-27
480 บาท
ชุดที่ 4 ฉบับที่
28-39
480 บาท
ชุดที่ 5 ฉบับที่
40-51
480 บาท
ชุดที่ 6 ฉบับที่
ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง แผนก/ฝาย บริษัท ที่ตั้ง โทรศัพท
โทรสาร
อีเมล รายการที่สั่งซื้อ คานิตยสาร Creative & Idea Kaizen ยังไมรวมคาจัดสง สั่งซื้อชุดที่
เปนเงิน
คาจัดสง ชุดละ 50 บาท (คาจัดสงแบบพัสดุ)
52-63
วิธีการชำระเงิน
ชุดที่ 7 ฉบับที่
ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3 ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-23923-3
480 บาท
64-75
480 บาท
ชุดที่ 8 ฉบับที่
76-87
550 บาท
โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)
กรุณาสงหลักฐานการโอนเงิน (Pay in)
กลับมายัง หมายเลขโทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail : maz_member@tpa.or.th
สนใจสอบถามไดที่ คุณจารุภา และคุณบุษบา
โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 และ 1750 โทรสาร 0-2662-1096 E-mail : maz_member@tpa.or.th, http//www.tpa.or.th/publisher, http//www.tpaemagazine.com
ชุดที่ 9 ฉบับที่
88-99
550 บาท
ชุดที่ 10 ฉบับที่
100-111 550 บาท