www.tpaemagazine.com
For
Quality Management
November-December 2017 Vol.24 No.224 Magazine for Executive Management
Vaisala Indigo 200 Series
ใชกับสมารทโพรบรุน..
เช�อถือไดอันดับหนึ่ง
Vaisala GMP251 โพรบวัดคารบอนไดออกไซด (CO2 ) วัดคาเปน %
สำหรับงานตูอบชีววิทยาศาสตร, ตูแชเย็น, งานเภสัชกรรม Vaisala GMP252 โพรบวัดคารบอนไดออกไซด (CO2 ) วัดคาเปน ppm
สำหรับงานดานการเกษตร, โรงเรือน และงาน HVAC ขนาดใหญ
โฮสตสำหรับสมารตโพรบวัด CO2 , H2O2 , อุณหภูมิ และความชื้น
ตัวเคร�องทนฝุนทนน้ำ IP 65 ทำความสะอาดงาย ใหเอาตพุตอะนาล็อก, ดิจิตอล และรีเลย ตั้งคาการทำงานและดูขอมูลดวยระบบไรสายผานสมารตโฟน ถอดเปลี่ยนโพรบไดงายโดยไมตองเปดฝา หรือปดการทำงาน
สนใจติดตอ
Vaisala HPP270 โพรบวัดไฮโดรเจนเปอร ออกไซด (H2O2), ความชื้น และอุณหภูมิ สำหรับงานฆาเชื้อดวย H2O2, หองปลอดเชื้อ, การบำบัดน้ำเสีย
คุณวิชัย 08-1934-2570
wichai@measuretronix.com
การบริหารจัดการนวัตกรรม ตามแนวทาง CEN-TS 16555-1:2013 10 กลยุทธปรับโฉมธุรกิจสูยุค 4.0
ความขัดแยงทางภูมิรัฐศาสตร (Geopolitics) ในยุโรป และตะวันออกกลาง งานอะไรจะไฉไลในอนาคต
www.measuretronix.com/ vaisala
Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี ความแมนยำ DC 0.0024% เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได
I F I C AT I O
N
ME A
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได
Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้ Fluctuation Harmonics Dips and Swells Multi Phase Operation
Compatible
ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม
ER
Compatible
เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล
PASSED
Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น
Fluke 5522A Multi-Products Calibrator
V
D. LT
เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง
R RE T ONIX SU
Compatible
Fluke 5320A
Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible
Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source
Compatible
Compatible
DC Volts
DC Current
AC Volt
ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได
Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง
เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ Multifunction insulation tester Portable appliance tester Insulation resistance testers Continuity testers and earth resistance testers Ground bond testers and loop/line impedance testers Hipot testers เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ
เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ
Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible
มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่ วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025% ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A) แสดงผลแบบกราฟก โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V
เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด
2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com
http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator
ME A
D. LT
เคร�องสอบเทียบมาตรฐานอุณหภูมิ สำหรับหองแล็บมาตรวิทยา
R RE T ONIX SU
V
PASSED ER
I F I C AT I O
N
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
STANDARD THERMOMETER Fluke 1594A, 1595A SuperThermometer Readouts
Fluke 1586A Super-DAQ
ความแมนยำระดับ primary lab ในราคา secondary lab มั่นใจไดในทุกคาการวัด อยูในคาลิมิต ที่ตองการ • ใชกับโพรบ SPRTs, PRTs, RTDs และ thermistors (0 Ω to 500 kΩ) • ความแมนยำ รุน 1594A : ± 0.00006 °C, 0.8 ppm Ratio accuracy รุน 1595A : ± 0.000015 °C, 0.2 ppm Ratio accuracy • เลือกวัดคาโดยวิธี resistance ratio (Rx/Rs) หรือวิธี absolute resistance ได
Fluke 1523/24 Handheld Thermometer
เครื่องวัดและสอบเทียบอุณหภูมิหลายแชนเนล ความเที่ยงตรงสูง ใชบันทึกขอมูลในงานอุตสาหกรรมและงานสอบเทียบอุณหภูมิอัตโนมัติ • วัดคาเทอรโมคัปเปล, PRTs, เทอรมิสเตอร, แรงดัน dc, กระแส dc และความตานทาน • ความแมนยำการวัดอุณหภูมิสูงสุด PRTs : ± 0.005 °C เทอรโมคัปเปล : ± 0.5 °C เทอรมิสเตอร : ± 0.002 °C • จำนวนอินพุตสูงสุด 40 แชนเนล แยกทางไฟฟา • ความเร็วสแกนสูงสุด 10 แชนเนลตอวินาที
Fluke 1551A Ex/1552A Ex Digital Reference Thermometer
ชุดวัดอุณหภูมิแบบพกพา เหมาะสำหรับ งานภาคสนาม สามารถใชงานไดทั้ง sPRT, PRT, Thermister และ TC มีใหเลือกทั้งแบบ 1 CH และ 2 CH
ใชงานทดแทนเทอรโมมิเตอรแบบปรอทแทงแกว (LIG) โดยใชโพรบกานโลหะ • ความแมนยำ ± 0.05°˚C • ปลอดภัยตอพื้นที่ไวไฟ • Data Logging • ทำงานตอเนื่อง 300 ชั่วโมง
Fluke 1529 Thermometer Chub E4
ชุดเครื่องมือวัดคาทางอุณหภูมิแบบ 4 ชวงวัด สามารถเลือกได • แบบ STD (2PRT, 2TC) • แบบ PRT 4 CH • แบบ TC 4 CH
HEAT SOURCE Fluke 9190A Ultra-Cool Field Metrology Well
เครื่องสอบเทียบอุณหภูมิเย็นจัด สำหรับงานภาคสนาม และสำหรับงาน สอบเทียบอุณหภูมิที่ต่ำมากเปน พิเศษโดยเฉพาะ • ทำอุณหภูมิ จาก 23 Cํ ไปยัง -95 Cํ ไดรวดเร็วภายใน 90 นาที • ทำอุณหภูมิไดกวาง -95°C ถึง 140°C • เสถียรภาพ ±0.015°C • ความแมนยำสูง ±0.05°C • คุณสมบัติสอดคลองตาม EURAMET cg-13 • สำหรับสอบเทียบ RTDs, เทอรโมคัปเปล, เทอรโมมิเตอร และเซ็นเซอรวัดอุณหภูมิแบบอื่นๆ
Fluke 914X Field Metrology Well
ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิ แบบแหง เหมาะสำหรับงานภาคสนาม ดวยขนาดที่เล็กกะทัดรัด สะดวก ตอการพกพา แตยังคงประสิทธิภาพ ดวยชุดอุณหภูมิแบบ Dual Zone และยังเพิ่มขีดความสามารถดวยชุด Readout สำหรับ PRT, RTD, TC และ สามารถบันทึก ผลการวัดอุณหภูมิได Range : -25 to 660°C
Fluke 917X Metrology Well
ชุดเครื่องมือสอบเทียบอุณหภูมิแบบแหง ที่มีประสิทธิภาพระดับ Bath ดวยชุดควบคุม อุณหภูมิแบบ Dual Zone ทำใหไดมาซึ่ง • คา Stabillity ± 0.005 °C • คา Axial Uniformity ± 0.02°C • คา Radial Uniformity ± 0.01 °C • คา Accuracy ± 0.006 °C • คา Loading ± 0.005 °C • คา Hysteresis ± 0.025 °C • Immersion Depth 8 นิ้ว Range : -45 to 700°C
Fluke 6331, 7321, 7341, 7381 Deep Well Compact Calibrator
ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลวเปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิแบบลึก เหมาะสำหรับงานใน หองสอบเทียบ และชุดหัววัดที่มีขนาดยาว ดวย ความลึก ถึง 19 นิ้ว เมื่อใชรวมกับอุปกรณพิเศษ ทำใหสามารถสอบเทียบ LIG ได ชวงการทำ อุณหภูมิ ตั้งแต -45 to 300 °C
PROBE
Fluke 4180 Infrared Calibrator
ชุดสรางอุณหภูมิมาตรฐาน สำหรับ สอบเทียบ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอร ดวยขนาดที่กวางถึง 6 นิ้ว ทำให สามารถสอบเทียบอินฟราเรด เทอรโมมิเตอรไดตามมาตรฐาน และยังสามารถ ปรับคา Emissivity ของเทอรโมมิเตอรได
Fluke 6102, 7102, 7103 Micro Bath ชุดสรางอุณหภูมิชนิดใชของเหลว เปนสื่อในการ ควบคุมอุณหภูมิ เหมาะสำหรับการใชงานใน ภาคสนาม ดวยขนาดกะทัดรัด มีหัวปดเพื่อกัน ของเหลวภายในหก มีชวงการทำอุณหภูมิตั้งแต -30 ถึง 200°C รายละเอียด แตกตางกันในแตละรุน
Fluke 9118A Thermocouple Calibration Furnace เครื่องสอบเทียบเทอรโมคัปเปลอุณหภูมิสูง 300 - 1200 °C
มีหลุมทำความรอนแนวนอนแบบเปด สะดวกใชงาน ทำความรอนไดเร็ว มีความสม่ำเสมอความรอนแนวแกนดี เหมาะสำหรับหอง Lab, งานอุตสาหกรรมเซรามิก, หลอโลหะ, พลาสติก, ยานยนต, พลังงาน
Fluke 6109A/7109A Portable Calibration Baths เครือ่ งสอบเทียบอุณหภูมิ Baths รุน สะดวกเคลือ่ นที่ Primary Probe
ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Primary เหมาะสำหรับ ผูที่ตองการใชเปน Reference ใชในงานสอบเทียบ ทางอุณหภูมิ Range : -200 to 661 °C
Secondary Probe
ชุดหัววัดมาตรฐานระดับ Secondary ใชในงานสอบเทียบทางอุณหภูมิ มีชวงการใชงาน -200 ถึง 661 °C
Industrial Probe
ชุดหัววัดอุณหภูมิมาตรฐานระดับ Industrial ใชในงานอุตสาหกรรม มีชวงการใชงานตั้งแต -200 ถึง 420 °C
มีชอ งเสียบ Tri-Clamp Sanitary Sensors ขนาดใหญ 4 ชอง ความแมนยำอุณหภูมิ ± 0.1 °C รองรับปริมาณงานสูงกวา ครอบคลุมอุณหภูมิยานกวาง 35 °C ถึง 250 °C ในรุน Fluke 6109A และ -25 °C ถึง 140 °C ในรุน Fluke 7109A
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ temperature-calibrator
Contents
Quality Management Vol.24 No.224 November-December 2017
5
Cover Story
Quality Tools 5 Vaisala Indigo 200 Series โฮสต์ส�ำหรับสมาร์ตโพรบวัด CO2, H2O2 อุณหภูมิ และความชื้น
โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
Quality System Quality Trend 16 การบริหารจัดการนวัตกรรม
ตามแนวทาง CEN-TS 16555-1:2013 ตอนที่ 2 โดย นายคุณภาพ 20 อะไรเอ่ย ?…..เกิดที่อเมริกา พัฒนาเติบโตที่ญี่ปุ่น แต่มาตายที่ไทย โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์
Quality of Life 23 ฮอร์โมนทดแทนส�ำหรับสตรีวัยหมดประจ�ำเดือน
โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ (Vitallife Wellness Center)
ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
Quality Management Quality Finance 26 การขับเคี่ยวบนเวทีโลกระหว่างสหรัฐและจีน โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
Quality Strategy 28 Business Strategy Case from Japan
การบริการสไตล์ญี่ปุ่น (ometenashi) จะ Maintain ต่อไปได้หรือไม่ โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ 31 เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก The Impact of Disruptive Technologies on Business Model and Competition ตอนที่ 4 โดย ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี
20
Quality Report 34 ทิศทางอาหารแปรรูปไทยในตลาด CLMV โดย กองบรรณาธิการ
Quality Marketing & Branding 37 Generation C ปรากฏการณ์ใหม่เจนใหม่ จับอินไซต์คนคอนเนค ตอนที่ 4 โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์
Special Scoop 41
เปิดโลกทัศน์ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น สู่ความท้าทายแห่งโลกธุรกิจในอนาคต โดย กองบรรณาธิการ Lif 45 หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ตัวอย่าง Creative Industry Village ในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดย กองบรรณาธิการ
41
Editor’s Talk ฉบับ
นี้เป็นฉบับส่งท้ายปี 2560 และยังเป็นฉบับสุดท้ายของการผลิตนิตยสาร กว่า 24 ปีทเี่ ราพยายามคัดสรรบทความ บทสัมภาษณ์ รวมไปถึงถ่ายทอด เรื่องราวสถานการณ์ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ ทั้งในแง่มุมของการมาตรฐาน การ บริหารจัดการแบบบูรณาการ องค์ความรู้เหล่านี้น่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและ สนับสนุนการท�ำงานของผู้อ่านไม่มากก็น้อย ส�ำหรับ ฉบับที่ 224 เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2560 เรายังคงท�ำหน้าที่ สื่อกลางให้ความรู้อยู่เช่นเคย โดยฉบับนี้มีเนื้อหาอัดแน่นที่ทุกท่านรอคอย อาทิ Quality System น�ำเสนอบทความเรือ่ ง การบริหารจัดการนวัตกรรม ตามแนวทาง CEN-TS 16555-1:2013 บทความเรือ่ ง อะไรเอ่ย ?...เกิดทีอ่ เมริกา พัฒนาเติบโตทีญ่ ปี่ นุ่ แต่มาตายทีไ่ ทย Quality Management เสนอบทความเรื่อง การขับเคี่ยวบนเวทีโลกระหว่างสหรัฐและจีน บทความเรื่อง Business Strategy Case from Japan การบริการสไตล์ญี่ปุ่น (ometenashi) จะ Maintain ต่อไปได้หรือไม่ บทความเรื่อง ทิศทางอาหารแปรรูปไทยในตลาด CLMV ขอให้ทุกท่านมีความสุขตลอดปีและตลอดไป ในโอกาสนี้ขอขอบคุณในความ อนุเคราะห์จากทุกท่านทีต่ ดิ ตามอ่านนิตยสารของเราเรือ่ ยมา หาก สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) มีกิจกรรมดี ๆ ที่น่าสนใจ เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับการสนับสนุนจาก ทุกท่านต่อไป ที่ผ่านมา สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) หรือ ส.ส.ท. ได้ดำ�เนินกิจกรรมผลิต นิตยสาร Techno&InnoMag เป็นระยะเวลา 44 ปี นิตยสาร For Quality Management เป็นระยะ เวลา 24 ปี ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาทางทีมงานได้มีการปรับปรุงเนื้อหาสาระ องค์ความรู้ต่าง ๆ ให้เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารด้านเทคโนโลยีรอบด้าน การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานสินค้า บริการและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการจัดการด้านทรัพยากรบุคคลอย่างครอบคลุม รวมไปจนถึงการพัฒนารูปแบบจากนิตยสารรูปเล่มให้เป็น e-Magazine มาเป็นระยะเวลาหนึ่ง จาก การพัฒนาดังกล่าวทางนิตยสารได้เล็งเห็นช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลความรู้ผ่านช่องทางการสื่อสาร อื่น จึงมีนโยบายที่จะปรับปรุงรูปแบบจาก e-Magazine เป็นการเผยแพร่ผ่านช่องทาง Youtube: TPAOfficial เพื่อให้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ด้วยเหตุนกี้ องบรรณาธิการจึงจำ�เป็นต้องมีการพัฒนารูปแบบเผยแพร่ ใหม่ดงั กล่าวเพื่อสนอง ตอบต่อสภาวการณ์และลูกค้าใหม่ ในอนาคต ดังนัน้ ทางกองบรรณาธิการจึงขอยกเลิกการผลิตนิตยสาร ในรูปแบบ e-Magazine ตั้งแต่ปี 2561 เป็นต้นไป ในโอกาสนี้ ใคร่ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ติดตาม นิตยสารตลอดมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะติดตามกิจกรรมอื่น ๆ ของเราต่อไป
Published by
Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย
Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย
Graphics Art Director Production Design
ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา ณัฐวัตร วิวาสุขุ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1733 nara@tpa.or.th, nuttawat@tpa.or.th
PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Marketing Service
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Advertising
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Member
จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com
วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง
ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”
ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ
CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง
ISO 14001
ISO/IEC 17025
ISO 9001 TQM
Consultancy Services and Training
ISO/TS 16949
Consult
QS 9000
HACCP
TIS 18001
5S
Pre-assessment Audit
QCC
ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา
CCT SQUARE CO., LTD.
1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com
In-house Training
Q
Cover Story for
Vaisala Indigo 200 Series โฮสต์สำ� หรับสมาร์ทโพรบวัด CO2, H2O2 อุณหภูมิ และความชืน้
uality
เชื่อถือได้อันดับหนึ่ง
ใช้ได้กับโพรบวัดหลายรุ่น
Vaisala GMP251 โพรบวัดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) วัดค่าเป็น %
Vaisala GMP252 โพรบวัดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) วัดค่าเป็น ppm
Vaisala HPP270 โพรบวัดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ความชื้น และอุณหภูมิ
ตัวเครื่องทนฝุ่นทนน�้ำ IP 65 ท�ำความสะอาดง่าย ● ให้เอาต์พุตอะนาล็อก ดิจิทัล และรีเลย์ ● ตั้งค่าการท�ำงานและดูข้อมูลด้วยระบบไร้สายผ่านสมาร์ทโฟน ● ถอดเปลี่ยนโพรบได้ง่ายโดยไม่ต้องเปิดฝา หรือปิดการท�ำงาน ●
พร้อมเครื่องมือวัดอื่น ๆ อีกหลายรุ่น บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com
สอบถามเพิ่มเติมติดต่อ : คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com
www.measuretronix.com/ vaisala
การตรวจวัดความเข้มข้นของ Hydrogen Peroxide ในอากาศหายใจ H2O2 คืออะไร
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นสารเคมีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่สลายตัวลงในน�้ำและออกซิเจนหลังจากใช้งาน มีการใช้กันอย่าง แพร่หลายในอุตสาหกรรมสิ่งทอ เยื่อและกระดาษ และอุตสาหกรรม
เครือ่ งหนังส�ำหรับคุณสมบัตกิ ารออกซิเดชัน่ และฟอกสี นอกจากนีย้ งั ใช้ ในอุตสาหกรรมอาหาร ยา และเคมีภัณฑ์ และเพื่อบ� ำบัดน�้ำเสียใน โรงงานอุตสาหกรรมและเทศบาล (เพื่อลดความต้องการออกซิเจนทาง เคมี ความต้องการออกซิเจนทางชีวภาพ กลิ่น และโลหะหนัก)
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
5
Cover Story ในกระบวนการผลิตหรือโรงพยาบาลที่มีพื้นที่ปลอดเชื้อ ห้องที่ คั่นกลางเพื่อปรับสภาพการปลอดเชื้อ (ฆ่าเชื้อโรค) ก็จะใช้ H2O2
ในอดีตเครื่องตรวจวัดก๊าซปลอมปนในอากาศที่สามารถวัด H2O2 นี้มีราคาแพง เสถียรภาพของค่าการวัดต�่ำ และต้องมีการบ�ำรุง รักษาเปลีย่ นเซนเซอร์บอ่ ย สิน้ เปลืองค่าสอบเทียบต่อปีมาก จึงไม่ได้รบั ความนิยมในการน�ำไปติดตั้งเพื่อเตือนภัยในบริเวณที่มีความเสี่ยง ต่อการรัว่ ไหลของ H2O2 เหตุนี้ VAISALA ผูน้ ำ� เครือ่ งตรวจวัดก๊าซต่างๆ ในอุตสาหกรรม จึงได้ทุ่มพัฒนา Sensor ส�ำหรับ H2O2 นี้ขึ้นมา เพื่อให้ สามารถติดตั้งถาวรและวัดแบบ Online ได้
Vaisala HPP270 Series โพรบวัดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ความชื้น และอุณหภูมิ การใช้ตู้ปลอดเชื้อในโรงงานยา มีการใช้ H2O2 ในตู้ดังกล่าว
กระบวนการฆ่าเชื้อโรคของภาชนะใส่อาหารเครื่องดื่มมีการใช้ H2O2
และเนื่องจากมีผู้ปฏิบัติงานอยู่ในบริเวณที่มีการใช้สารเคมี H2O2 จึงต้องมีการตรวจวัดความเข้มข้นในการเจือปนกับอากาศหายใจ ไม่ให้มีปริมาณสูงเกินค่าปลอดภัย คือ 1 ppm มิฉะนั้นความเป็นพิษ เมื่อหายใจเข้าไปอาจเป็นอันตรายต่อมนุษย์ เนื่องจากไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มีฤทธิ์กัดกร่อน การหายใจ เอาสารชนิดนี้เข้าไป อาจท�ำให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ หายใจติดขัด เมื่อ สัมผัสผิวหนัง อาจเกิดผื่นแดง รู้สึกปวดแสบปวดร้อน เมื่อรับประทาน เข้าไป จะเกิดอาการเจ็บคอ ปวดท้อง และอาเจียนได้ และเมื่อสัมผัส ถูกดวงตา จะก่อให้เกิดอาการระคายเคือง ตาแดง ปวดตา สายตาอาจ พร่ามัวได้
โพรบรุ่น HPP270 Series ใช้เซนเซอร์ Vaisala PEROXCAP® วัดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) ความชืน้ และอุณหภูมิ ออกแบบมา ส�ำหรับงานฆ่าเชือ้ ด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ทีต่ อ้ งการค่าวัดทีแ่ ม่นย�ำ มีเสถียรภาพ และวัดซ�้ำได้ เหมาะกับงานหลากหลาย อาทิ ห้องแยก ตู้ขนถ่ายวัสดุ และห้องที่ปลอดเชื้อ
คุณสมบัติ ●
Vol.24 No.224 November-December 2017
●
6
● ●
●
●
ในงานเภสัชกรรมที่ต้องมีการควบคุมการปนเปื้อนในอากาศ รวมถึง H2O2
เป็นโพรบขนาดกระทัดรัด 3-in-1 วัดค่าไอระเหยของ H2O2 ในอากาศ ความชื้น และอุณหภูมิ แบบ Realtime มีเสถียรภาพและความสามารถวัดซ�้ำได้ยอดเยี่ยม พร้อม เทคโนโลยี PEROXCAP® เฉพาะของ Vaisala ตัวโครงเป็นโลหะสแตนเลสทนทานต่อการ กัดกร่อน (IP65) ได้รับการรับรองการสอบเทียบแบบสอบติดตามได้ 2 จุด ส�ำหรับ H2O2, 3 จุดส�ำหรับความชื้น 1 จุดส�ำหรับอุณหภูมิ โพรบใช้งานได้ล�ำพังด้วยดิจิทัลเอาต์พุต Modbus RTU Over RS-485 หรือ 2 อะนาล็อกเอาต์พุต ใช้งานได้กับทรานส์มิตเตอร์ Indigo พร้อม 3 อะนาล็อก เอาต์พุต จอแสดงผล รีเลย์ และยูสเซอร์อินเตอร์เฟสผ่าน สมาร์ทโฟน
Cover Story Vaisala Indigo 200 Series โฮสต์ส�ำหรับสมาร์ทโพรบวัด CO2, H2O2 ความชื้น และอุณหภูมิ
ทรานส์มิตเตอร์ รุ่น Indigo 200 Series เป็นอุปกรณ์ตัวโฮสต์ ส�ำหรับใช้งานกับโพรบวัดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) รุ่น GMP251, GMP252 และโพรบวัดไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) รุ่น HPP272 Vaisala Indigo 200 Series คือ อุปกรณ์ที่เป็นโฮสต์ท�ำหน้าที่ น�ำผลลัพธ์ค่าวัดที่ได้จากโพรบมาแสดงผลที่หน้าจอ พร้อมทั้งแปลง ไปเป็นรูปแบบอื่น ๆ เช่น สัญญาณอะนาล็อกทั้งกระแสและแรงดัน การควบคุมการท�ำงานของรีเลย์ ตัวโพรบเป็นแบบ plug-and-play คือ ถอดเสียบใช้งานได้ทันที เมื่อใช้กับสมาร์ทโพรบของ Vaisala
Probe or cable locking wheel
GMP252 or GMP251 probe
Non Display version
Display
Cable Lead through Wireless (WLAN) configuration interface activation button
LED indicator
Remote probe cable
ตัวโฮสต์มีจอแสดงผลเป็นสี และมีรุ่นไม่มีหน้าจอแต่ใช้ LED แสดงสถานการณ์ท�ำงานให้เลือก
ตัวสมาร์ทโพรบที่ใช้กับ Indigo สามารถต่อโดยตรงที่ตัวโฮสต์ด้วยวงแหวนล็อก หรือต่อผ่านสายเคเบิ้ลก็ได้ตามความเหมาะสมในการติดตั้งใช้งาน
กล่องตัวเครื่องของ Indigo 200 มีพื้นผิวเรียบเงาที่ท�ำความ สะอาดง่าย ทนน�้ำทนฝุ่นและสารเคมี อาทิ H2O2 และน�้ำยาท�ำความ สะอาดที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ การติดตั้งท�ำได้สะดวกง่ายดาย
คุณสมบัติ
ต่อกับโพรบแบบปลั๊กแอนด์เพลย์ของ Vaisala วัดคาร์บอนไดออกไซต์ (CO2) ในรุน่ GMP251 และ GMP252 และ วัดไฮโดเจนเปอร์ออกไซต์ในรุ่น HPP272 ● เชื่อมต่อแบบไร้สายเพื่อการตั้งค่าการท�ำงานและดูข้อมูล ค่าวัด ● ช่วงอุณหภูมิท�ำงาน -40 ถึง +60°C ด้วยจอแสดงผล -20 ถึง +60°C ● จอแสดงผล LCD สี (มีรน ุ่ ไม่มจี อแสดงผลในรุน่ อะนาล็อก) ● ตัวเครื่องทนน�้ำทนฝุ่นที่ IP65 ● ใช้แหล่งจ่ายไฟ 24V ● รุ่น Indigo 201 ให้เอาต์พุตอะนาล็อก 3 เอาต์พุต (mA หรือ V) ● รุ่น Indigo 202 ให้เอาต์พุตดิจิทัล RS485 พร้อม Modbus RTU ● มีรีเลย์ให้ใช้งาน 2 ตัว ตั้งค่าการท�ำงานได้ ●
Vol.24 No.224 November-December 2017
Display version
การตั้งค่าการท�ำงานของ Indigo 200 ท�ำได้สะดวกด้วย ระบบไร้สาย โดยใช้สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อ ไร้สายได้ สามารถตัง้ ค่าการท�ำงานของตัวโฮสต์และโพรบทีต่ อ่ อยู่ และ ดูค่าวัดช่วงเวลาหนึ่งได้
7
Cover Story Vaisala GMP251 โพรบวัดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) วัดค่าเป็น %
● ● ● ●
มีตัววัดอุณหภูมิในตัวส�ำหรับการชดเชยการวัดค่า CO2 มีระบบชดเชยก๊าซแบ็กกราวด์ O2 และความชื้น มีระบบอุ่นหัวเซนเซอร์ป้องกันหยดน�้ำกลั่นตัว เหมาะส�ำหรับงานตู้อบชีววิทยาศาสตร์ ตูแ้ ช่เย็น การขนส่ง ผักและผลไม้
Vaisala GMP252 โพรบวัดคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) วัดค่าเป็น ppm โพรบวัด CO2 ใช้กบั โฮสต์ Indigo ได้ ส�ำหรับงานตูอ้ บชีววิทยาศาสตร์ ตู้แช่เย็น และงานที่ต้องการวัดค่าเป็นระดับ % Vaisala GMP251 ใช้เทคโนโลยี CARBOCAP® เป็นโพรบวัด คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่ชาญฉลาด ใช้งานล�ำพังได้ วัดค่าเป็น ระดับ % ของ CO2 ในตู้อบชีววิทยาศาสตร์ ตู้แช่เย็น การขนส่งผักและ ผลไม้ และในงานทีต่ อ้ งการค่าวัดระดับ % ของ CO2 ทีค่ งทีแ่ ละแม่นย�ำ ตัวเซนเซอร์ภายในของ GMP251 ใช้เทคโนโลยี CARBOCAP® ยุคที่ 2 ที่พัฒนาใหม่ มีสเถียรภาพสูงยิ่งขึ้น โดยใช้ตัวก�ำเนิดแสง อินฟราเรดแทนหลอดไฟแบบเดิม ช่วยเพิ่มอายุการใช้งาน
โพรบวัด CO2 ใช้กบั โฮสต์ Indigo ได้ ส�ำหรับงานด้านการเกษตร การท�ำความเย็น และงานควบคุมอุณหภูมิและถ่ายเทอากาศปริมาณ สูง Vaisala GMP252 ใช้เทคโนโลยี CARBOCAP® เป็นโพรบวัด คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ที่ชาญฉลาด ใช้งานล�ำพังได้ วัดค่าเป็น ระดับ ppm ของ CO2 ในงานด้านการเกษตร การท�ำความเย็น โรงเรือน กระจก และงาน HVAC ปริมาณสูง เหมาะกับวัดค่า CO2 ในสภาพ แวดล้อมทีเ่ ลวร้ายและชืน้ ทีต่ อ้ งการรูค้ า่ CO2 ทีแ่ น่นอนและแม่นย�ำใน ระดับ ppm ตัวเซนเซอร์ภายในของ GMP252 ใช้เทคโนโลยี CARBOCAP® ยุคที่ 2 ที่พัฒนาใหม่ มีเสถียรภาพสูงยิ่งขึ้น โดยใช้ตัวก�ำเนิดแสง อินฟราเรดแทนหลอดไฟแบบเดิม ช่วยเพิ่มอายุการใช้งาน
โพรบ GMP251 สามารถต่อใช้งานกับอุปกรณ์โฮสต์ Vaisala Indigo 200 Series เพื่อขยายคุณสมบัติการใช้งาน เช่น จอแสดงผล ค่าวัด ควบคุมรีเลย์
Vol.24 No.224 November-December 2017
คุณสมบัติ
8
● ●
●
● ● ●
ช่วงวัด CO2 : 0 ถึง 20% ชาญฉลาด ใช้งานล�ำพังได้ ให้เอาต์พุตอะนาล็อก (V, mA) และดิจิทัล (RS485) เสถียรภาพใช้งานยาวนานยิ่งขึ้นด้วยเทคโนโลยี CARBOCAP® ยุคที่ 2 ช่วงอุณหภูมิใช้งานกว้าง -40 ถึง +60°C ทนน�้ำทนฝุ่นระดับ IP65 ชดเชยอุณหภูมิและความชื้นสมบูรณ์แบบ
โพรบ GMP252 สามารถต่อใช้งานกับอุปกรณ์โฮสต์ Vaisala Indigo 200 Series เพื่อขยายคุณสมบัติการใช้งาน เช่น จอแสดงผล ค่าวัด ควบคุมรีเลย์
Cover Story คุณสมบัติ ● ●
●
●
●
ช่วงวัด CO2 : 0 ถึง 10 000 ppm สามารถขยายช่วงวัดได้สงู ขึน้ ถึง 30 000 ppm โดยลดความ แม่นย�ำลงได้ ชาญฉลาด ใช้งานล�ำพังได้ ให้เอาต์พุตอะนาล็อก (V, mA) และดิจิทัล (RS485 พร้อม Modbus) เสถียรภาพใช้งานยาวนานยิ่งขึ้นด้วยเทคโนโลยี CARBOCAP® ยุคที่ 2
● ● ● ● ●
ช่วงอุณหภูมิใช้งานกว้าง -40 ถึง +60°C ทนน�้ำทนฝุ่นระดับ IP65 ชดเชยอุณหภูมิและความชื้นสมบูรณ์แบบ มีตัววัดอุณหภูมิในตัวส�ำหรับการชดเชยการวัดค่า CO2 มีระบบชดเชยก๊าซแบ็กกราวด์ O2 และความชื้น มีระบบอุ่นหัวเซนเซอร์ป้องกันหยดน�้ำกลั่นตัว
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
คาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon dioxide: CO2) คือ ก๊าซที่ไม่มีสี ประกอบด้วยคาร์บอน 1 อะตอม และออกซิเจน 2 อะตอม อยูใ่ นสถานะ ก๊าซทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู กว่า -78.5 Cํ และอยูใ่ นสถานะของแข็ง (ทีร่ จู้ กั กันใน ชื่อน�้ำแข็งแห้ง) ที่อุณหภูมิต�่ำกว่า -78.5 ํC CO2 เปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งเป็นก๊าซโดยการระเหิด ในธรรมชาติ พืชใช้ CO2 ในขบวนการสังเคราะห์แสง ทีซ่ งึ่ CO2 และน�ำ้ ถูกผสมกันโดยมีแสงอาทิตย์เป็นพลังงาน ได้ผลผลิตเป็นน�ำ้ ตาล (และออกซิเจน) เขียนเป็นสูตรเคมีได้ตามนี้ K L
73.0
5.11 1 I
ของแข็ง (Solid)
ของเหลว (Liquid)
J
สังเคราะห์แสง (Photosynthesis) 6CO2 + 6H2O
ก๊าซ (Gas) triple point
-78.5 -58.4
อุณหภูมิ (°C)
31.1
โครงสร้างโมเลกุลของ CO2 และการเปลี่ยนสถานะตามอุณหภูมิและความดัน
มีการใช้คาร์บอนไดออกไซด์ในอุตสาหกรรมหลายชนิด CO2 ในรูปของแข็งและของเหลวถูกใช้ในตู้เย็นและเครื่องท�ำความเย็น ใน อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม CO2 ท�ำให้เกิดฟองในเครื่องดื่ม และป้องกัน ไม่ให้แบคทีเรียและเชื้อราเจริญเติบโตในเครื่องดื่ม ในเบียร์และไวน์ CO2 ที่ฟุ้งกระจายในอากาศเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการ ที่มันไม่ท�ำปฏิกิริยาในธรรมชาติ จึงถูกใช้เป็นก๊าซเฉื่อยในกระบวนการ อุตสาหกรรมต่าง ๆ ใช้ในการบรรจุภณ ั ฑ์ เครือ่ งดับเพลิง และอืน่ ๆ CO2 ยังเกิดจากขบวนการเผาไหม้ของวัสดุที่มีองค์ประกอบของคาร์บอน
C6H12O6 + 6O2
หายใจ (Respiration) ในความเป็นจริง อากาศในเรือนกระจกจ�ำเป็นต้องมี CO2 เพื่อรักษาการเจริญเติบโตของพืช เพราะพืชสามารถเติบโตได้เร็วขึ้น 50% ที่ความเข้มข้นของ CO2 สูง ส่วนปฏิกิริยาที่ตรงข้ามกับการ สังเคราะห์แสง คือ การหายใจ ซึ่งมีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด Vol.24 No.224 November-December 2017
ความดัน (atm)
Supercritical fluid
9
Cover Story ผลกระทบของ CO2
CO2 ในบรรยากาศมีความหนาแน่นประมาณ 350-450 ppm CO2 เป็นก๊าซที่ไม่เป็นพิษ และไม่ติดไฟ แต่ก็ไม่เอื้อต่อการด�ำรงชีวิต และหากได้รับ CO2 ในปริมาณสูงจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อชีวิต ผลกระทบของ CO2 ต่อชีวิตสรุปไว้ในตาราง ความเข้มข้น 350-450 ppm 600-800 ppm 1,000 ppm 5,000 ppm 600-30 000 ppm 3-8% สูงกว่า 10% สูงกว่า 20%
ผลกระทบ ค่าปกติในบรรยากาศ คุณภาพอากาศในอาคารที่ยอมรับได้ คุณภาพอากาศในอาคารที่พอทนได้ รับได้ชั่วเวลาหนึ่ง จำ�กัดไม่เกิน 8 ชั่วโมง ต้องระวัง ได้รับในช่วงสั้นๆ เท่านั้น หายใจถี่ขึ้น วิงเวียนศีรษะ คลื่นใส้ อาเจียน หมดสติ หมดสติอย่างรวดเร็ว ตาย
Vaisala CARBOCAP® เทคโนโลยีของเซนเซอร์ตรวจวัดคาร์บอนไดออกไซด์
Vaisala CARBOCAP® เป็นเซนเซอร์แบบ Non-Dispersive Infrared (NDIR) ทีท่ ำ� จากซิลกิ อน ส�ำหรับการตรวจวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ มีหลักการท�ำงานโดยใช้ NDIR ล�ำแสงเดียว 2 ความยาวคลืน่ แบบเดี ย วกั บ ที่ ใ ช้ ใ นเครื่ อ งวั ด และวิ เ คราะห์ NDIR สมรรถนะสู ง ราคาแพง แต่ใน Vaisala CARBOCAP® แทนทีจ่ านหมุนฟิลเตอร์ดงั้ เดิม ด้วย Fabry-Perot Interferometer (FPI) ซึ่งท�ำจากชิ้นิลิกอนขนาดเล็ก ควบคุมด้วยไฟฟ้าแทน ท�ำให้การวัด 2 ความยาวคลื่น ท�ำได้ง่ายมาก ด้วยโครงสร้าง Solid-State
ผลกระทบของความเข้มข้น CO2 ต่อมนุษย์
ผิวกระจกสะท้อนแสง การดูดกลืน IR ของ CO2 แผ่นปกป้องชิ้นส่วน แหล่งกำ�เนิด IR ตัวกรองคลื่น FPI ตัวตรวจจับสัญญาณ
เครื่องวัด CO2 แบบทรานส์มิตเตอร์รุ่นต่าง ๆ ส�ำหรับติดตั้งในพื้นที่ท�ำงานที่เสี่ยงต่อการรั่วไหลของ CO2
เพือ่ ความปลอดภัยต่อผูท้ ที่ ำ� งานในสถานทีเ่ สีย่ งต่อการรัว่ ไหล ของ CO2 จ�ำเป็นต้องติดตั้งเครื่องวัด CO2 แบบทรานส์มิตเตอร์ ใกล้จุด ที่เสี่ยงให้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ CO2 หนักกว่าอากาศ มันจึงไหลลง ต�่ำและเอ่อค้างอยู่ที่พื้นแทนที่ออกซิเจน การติดตั้งทรานส์มิตเตอร์จึง ควรมีการประเมินความเสี่ยงเสมอ
ลักษณะทางกายภาพของ CO2
Vol.24 No.224 November-December 2017
CO2 มีคณ ุ สมบัตดิ ดู กลืนแสงในย่านอินฟราเรด คุณสมบัตกิ าร ดูดกลืนนีส้ ามารถน�ำมาใช้ในการตรวจวัดปริมาณความเข้มต่อปริมาตร ของ CO2 ได้ เทคโนโลยี CARBOCAP® ของ Vaisala ใช้เซนเซอร์ ชนิด Non-Dispersive Infrared Sensors ทีท่ �ำจากชิน้ ซิลกิ อนในการวัดการ ดูดกลืนของ CO2
10
โครงสร้างของ Vaisala CARBOCAP® Sensor ช่วยให้ได้สมรรถนะดีเยี่ยม เชื่อถือได้ยาวนาน
หลักการท�ำงาน
ตัวก�ำเนิดแสงอินฟราเรดจะส่องแสงผ่านก๊าซแล้วสะท้อนผิว สะท้อนกลับมาที่ฟิลเตอร์และตัวรับ ซึ่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ ปรากฏอยู่ จะดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่นจ�ำเพาะ ตัวกรอง FPI จะถูก จูนด้วยไฟฟ้ายอมให้ความยาวคลืน่ เฉพาะของคาร์บอนไดออกไซด์ผา่ น ไปยังตัวตรวจจับสัญญาณความเข้มอินฟราเรด เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ
แหล่งกำ�เนิด IR ตั ว ตรวจจั บ สั ญ ญาณ และตัวกรอง FPI แผ่นปกป้องชิ้นส่วน
การดูดกลืนย่านแสงอินฟราเรด (IR) ของก๊าซแต่ละชนิด
ผิวกระจกสะท้อนแสง
การดูดกลืน IR ของ CO2
Cover Story
เครื่องวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์รุ่นอื่น ๆ เครื่องวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทุกตัวของ Vaisala เหมาะ ส�ำหรับการตรวจวัดในงานอุตสาหกรรม และงานระบบปรับอากาศ (HVAC) รวมทัง้ งานสิง่ แวดล้อม มีทงั้ แบบติดตัง้ กับที่ แบบมือถือ และ ยังมีแบบโมดูล OEM ด้วย
Vaisala GM70 เครื่องวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แบบมือถือ ส�ำหรับการวัดภาคสนาม
เป็นเครื่องขนาดมือถือส�ำหรับงานตรวจวัดตามสถานที่ต่าง ๆ เช่น ในห้องทดลอง เรือนกระจก และฟาร์มเพาะเห็ด เป็นต้น มีหลาย ช่วงวัดตั้งแต่ระดับ ppm จนถึงระดับเป็นเปอร์เซ็นต์ ® ● ใช้เซนเซอร์ Vaisala CARBOCAP ประสิทธิภาพสูง ● เหมาะส�ำหรับการแก้ปัญหา CO2 ในงานภาคสนาม ● ประกอบด้วย ตัวอ่านค่า (กลาง) และโพรบวัด แบบมือถือ (ซ้าย) และแบบปั๊มป์ (ขวา) ● มีช่วงวัดที่กว้าง ใช้งานง่าย แสดงผลตัวเลขและกราฟิก ● โพรบรุ่น GMP221 ช่วงวัดปริมาณ CO2 สูง 0-2% จนถึง 20%
●
●
โพรบรุ่น GMP222 ช่วงวัดปริมาณ CO2 ต�่ำ 0-2,000 ppm จนถึง 10,000 ppm เก็บข้อมูลการวัดในตัว และส่งไปยัง PC
Vaisala GM20 Series เครื่องวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แบบทรานส์มิตเตอร์ ส�ำหรับงานควบคุมการระบายอากาศ
เป็นทรานส์มิตเตอร์อเนกประสงค์ เหมาะส�ำหรับงานควบคุม การระบายอากาศตามจ�ำนวนผู้ใช้ (demand controlled ventilation) และงานที่เกี่ยวข้อง มีให้เลือกทั้งแบบติดผนัง และแบบติดตั้งกับ ท่ออากาศ ® ● ใช้เซนเซอร์ Vaisala CARBOCAP ประสิทธิภาพสูง ● ช่วงวัด 0-2,000 ppm (สามารถสอบเทียบใช้ช่วงวัดอื่น 5,000, 10,000, 20,000 ppm ได้) ● เสถียรภาพในการใช้งานระยะยาวดีเยี่ยม ● ไม่มีผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ● ติดตั้งได้ง่าย ไม่ต้องการบ�ำรุงรักษา ● ระยะห่างการสอบเทียบยาวนาน 5 ปี ● รุ่น GMW21 แบบติดผนัง พร้อมจอแสดงผล ● รุ่น GMW22 แบบติดผนัง ขนาดเล็ก พร้อมจอแสดงผล ● รุ่น GMD20 แบบติดตั้งกับท่ออากาศ พร้อมจอแสดงผล
Vol.24 No.224 November-December 2017
เซนเซอร์ CARBOCAP จะวัดความเข้มของ IR ที่ความยาวคลื่นไวต่อ CO2 และความยาวคลื่นอ้างอิง
หลังจากนั้น ตัวกรอง FPI จะย้ายค่าไปที่ความยาวคลื่นที่ไม่มี การดูดกลืน เพื่อเป็นค่าสัญญาณอ้างอิง อัตราส่วนของค่าทั้งสอง คือ ค่าสัญญาณที่มีการดูดกลืน กับค่าสัญญาณอ้างอิง แสดงถึงค่าการ ดูดกลืนแสงของก๊าซ ซึ่งก็คือความหนาแน่นของก๊าซ สัญญาณอ้างอิง จะชดเชยผลกระทบที่เกิดจากอายุการใช้งานและการปนเปื้อนที่อาจมี ท�ำให้เซนเซอร์มีเสถียรภาพดีเยี่ยมในระยะยาว Vaisala CARBOCAP® มีเสถียรภาพดีเยีย่ มทัง้ ในด้านเวลาและ อุณหภูมิ ตัวเซนเซอร์มีความแม่นย�ำและทนทาน และขนาดที่เล็ก ช่วย ให้ระบบการตรวจวัดมีขนาดที่เล็กลงได้ ด้วยโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน ท�ำให้เครือ่ งวัดของ Vaisala มีคณ ุ ภาพสูง ในราคาทีย่ อมรับได้ ทีส่ ำ� คัญ ® Vaisala CARBOCAP มีความคุ้มค่าในระยะยาว ประหยัดค่าใช้จ่าย ในการบ�ำรุงรักษานานปี
11
Cover Story Vaisala GMW115 เครื่องวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แบบทรานส์มิตเตอร์ ส�ำหรับงานควบคุมการระบายอากาศ
Vaisala GMP231 โพรบวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CARBOCAP® ส�ำหรับวัดในตู้อบ
เป็นทรานส์มิตเตอร์แบบติดผนังขนาดกะทัดรัด ส�ำหรับงาน ควบคุมการระบายอากาศตามจ�ำนวนผู้ใช้ (demand controlled ventilation) ● ส�ำหรับตรวจวัดระดับ CO2 ในระบบควบคุมอัตโนมัติใน อาคาร ® ● ใช้เซนเซอร์ Vaisala CARBOCAP ประสิทธิภาพสูง ● ช่วงวัด 0-2,000 ppm และ 0-5,000 ppm ● เสถียรภาพสูงในการใช้งานระยะยาว
โพรบวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ CARBOCAP® รุน่ GMP231 ออกแบบมาส�ำหรับติดตั้งในตู้อบฆ่าเชื้อ ให้ความแม่นย�ำการวัดและ ความเชื่อถือได้สูง ทนทานต่อการใช้งานอุณหภูมิสูง ® ● ใช้โพรบ CARBOCAP และตัวก�ำเนิด IR แบบใหม่ ● ทนอุณหภูมิอบฆ่าเชื้อได้สูงถึง +180°C (+356°F) ● ตัวเครื่องสามารถอบฆ่าเชื้อพร้อมโพรบได้ ประหยัดเวลา ลดการปนเปื้อน ● ตัวเซนเซอร์จด ั ท�ำมาให้เหมาะกับปริมาณ CO2 ที่ 5% มีชว่ ง วัดสูงสุด 20% ● วัดอุณหภูมิและความดันได้ในตัว เพิ่มความแม่นย�ำและ เสถียรภาพ ● มีระบบอุ่นหัววัดป้องกันการควบแน่น ● สอบเทียบ 4 จุด NIST แบบสอบย้อนกลับได้ ส�ำหรับ CO2 พร้อมใบรับรอง
Vaisala GMW90 Series เครื่องวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิ และความชื้น แบบทรานส์มิตเตอร์
Vol.24 No.224 November-December 2017
Vaisala GMP343 โพรบวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ส�ำหรับงานตรวจวัดด้านนิเวศวิทยาและสภาพแวดล้อม
12
เป็นทรานส์มติ เตอร์ทวี่ ดั ได้ทงั้ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิ และความชื้น ใช้เทคโนโลยีในการตรวจวัดใหม่ที่ให้ทั้งความเชื่อถือได้ และความแน่นอนของค่าวัดทีด่ กี ว่าเดิม เป็นแบบติดผนังทีต่ ดิ ตัง้ ได้งา่ ย ต้องการการบ�ำรุงรักษาน้อยมาก ● มีรุ่นให้เลือกอย่างหลากหลายตามความต้องการใช้งาน ● มีทั้งรุ่นที่ให้เอาต์พุตเป็นอะนาล็อกและรุ่นเอาต์พุตดิจิทัล ● ช่วงวัด 0-5,000 ppm ความแม่นย�ำ ±2% ● มาพร้อมใบรับรองการสอบเทียบ ● ออกแบบมาให้สะดวกติดตัง้ และใช้งานได้งา ่ ย มีจอแสดงผล ● สอบเทียบได้ง่ายโดยการสลับโมดูลตัววัด หรือใช้เครื่องวัด แบบมือถือรุ่นอื่นอ้างอิง
โพรบวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่แข็งแรง แม่นย�ำสูง ส�ำหรับ การตรวจวัดในงานด้านนิเวศวิทยา ออกแบบการวัดแบบฟุ้งกระจาย ไม่จ�ำเป็นต้องเก็บตัวอย่าง มีรุ่นที่วัดแบบอากาศไหลผ่านด้วย ● ความแม่นย�ำสูงและเสถียรภาพดีเยี่ยม ● ส�ำหรับงานในสภาพแวดล้อมส�ำบุกส�ำบัน ● ช่วงวัด 0-2,000 ppm จนถึง 5,000 ppm และ 0-2% ● ใช้หลักการวัดก๊าซฟุ้งกระจายและไหลผ่าน
Cover Story ● ● ● ● ●
ช่วงอุณหภูมิและความชื้นท�ำงานที่กว้าง มีรุ่นชดเชยอุณหภูมิ ความดัน ความชื้น และออกซิเจน กินไฟน้อย แพร่ความร้อนต�่ำ ใช้เวลาอุ่นเครื่องสั้น ขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา
เครื่องวัดจุดกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำ (Dew Point) Vaisala DMT340 Series เครื่องวัดจุดกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำ และวัดอุณหภูมิ ส�ำหรับบริเวณแห้งจัด
เหมาะส�ำหรับติดตัง้ ในเครือ่ งมือ OEM อืน่ ๆ เช่น เครือ่ งอบแห้ง และระบบท�ำอากาศแห้ง ออกแบบมาส�ำหรับสภาพการท�ำงานแบบ สุดขั้ว ® ● ใช้เซนเซอร์ Vaisala DRYCAP พร้อมซอฟต์แวร์สอบเทียบ อัตโนมัติ ● เหมาะส�ำหรับวัด Dew Point ค่าต�่ำ ในงานอุตสาหกรรม อบแห้ง ● เสถียรภาพระยะยาวที่ Dew Point ต�่ำ ดีเยี่ยม ตอบสนอง รวดเร็ว ● ช่วงวัด Dew Point -60…+60°C (-76…+140°F) ความ แม่นย�ำ ±2°C (±3.6°F) ● ทนทานต่อการควบแน่น ● ตัวเครื่องกันน�้ำและกันฝุ่นระดับ IP65 (NEMA 4) ● สามารถติดตั้งโดยตรงกับระบบที่มีความดันสูงสุด 20 บาร์
Vaisala DMT152 เครื่องวัดจุดกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำที่ระดับต�่ำ แบบทรานส์มิตเตอร์ ส�ำหรับงาน OEM
Vaisala DMT242 เครื่องวัดจุดกลั่นตัวเป็นหยดน�้ำ แบบทรานส์มิตเตอร์ ส�ำหรับงาน OEM
รุน่ ปรับปรุงล่าสุด ออกแบบมาส�ำหรับการวัดจุดกลัน่ ตัวทีต่ ำ�่ ได้ ถึง -80°C ส�ำหรับติดตั้งในเครื่องมือ OEM อื่น ๆ ● ขนาดเล็กกระทัดรัด มีความแม่นย�ำสูง ® ● ใช้เซนเซอร์โพลีเมอร์ ด้วยเทคโนโลยี Vaisala DRYCAP ● วัด Dew Point Down ได้ต�่ำถึง -80°C (-112°F) ● ช่วงห่างระยะเวลาสอบเทียบยาวนาน 5 ปี ประหยัดค่าบ�ำรุง รักษา ● ตอบสนองรวดเร็ว ทนทานต่อการควบแน่น ● สอบเทียบย้อนกลับได้ NIST Vol.24 No.224 November-December 2017
ออกแบบมาส�ำหรับการวัดจุดกลั่นตัวที่ต�่ำกว่า 10% (RH) เหมาะส�ำหรับมอนิเตอร์อากาศแห้ง และเครื่องเป่าพลาสติก มีความ สามารถเสริมท�ำดาต้าล็อกกิ้ง และอินเตอร์เฟสด้วย (W)LAN ● ส�ำหรับวัด Dew Point ค่าต�่ำกว่า 10% (RH) ● มีโพรบวัด 4 แบบ ส�ำหรับการติดตั้งที่แตกต่างกัน ® ● ใช้เทคโนโลยีเซนเซอร์ Vaisala DRYCAP ที่ให้ค่าแม่นย�ำ เชื่อถือได้สูง ตอบสนองรวดเร็ว คงทน มีเสถียรภาพใน ระยะยาว ● ความสามารถเสริม ต่อรีเลย์เตือนภายนอกได้ ● มี Data Logging เก็บค่าที่วัดได้ยาวนานกว่า 4 ปี ● เชื่อมต่อสื่อสารด้วย LAN และ WLAN (อุปกรณ์เสริม)
13
Cover Story
เครื่องวัดความชื้นในอากาศ (Humidity) Vaisala HMT330 Series เครื่องวัดความชื้นในอากาศ และวัดอุณหภูมิ แบบทรานส์มิตเตอร์ ส�ำหรับงานขั้นสูง
ออกแบบมาส�ำหรับสภาพแวดล้อมทีอ่ นั ตราย ตัวทรานส์มติ เตอร์ สามารถติดตั้งในพื้นที่ไวต่อการระเบิดได้โดยตรง ปรับตั้งค่าการท�ำงาน ทรานส์มิตเตอร์ได้ครบถ้วน ● ความปลอดภัยส�ำหรับพื้นที่อันตราย Categery1/Zone0 ● ความแม่นย�ำสูง ● วัดได้ทั้งความชื้น % และ Dew Point Temp ของ Natural Gas ● มีโพรบส�ำหรับวัดอุณหภูมิสูง ● มาพร้อม NIST Certificate ● เหมาะส�ำหรับวัดความชืน ้ ปะปนในท่อส่งก๊าซ ถังเก็บต่าง ๆ
Vaisala HM70 เครื่องวัดความชื้นในอากาศ และวัดอุณหภูมิ แบบมือถือ ส�ำหรับการวัดภาคสนาม เป็นทรานส์มิตเตอร์วัดความชื้นและอุณหภูมิรุ่นสูงสุดส�ำหรับ งานตรวจวัดตามจ�ำนวนผู้ใช้ มีจอแสดงผลตัวเลขและกราฟิกขนาด ใหญ่ ปรับตัง้ ค่าการท�ำงานทรานส์มติ เตอร์ได้ครบถ้วน มีความสามารถ เสริมท�ำดาต้าล็อกกิ้ง และอินเตอร์เฟสด้วย (W)LAN ● รุ่นใหม่ จอแสดงกราฟได้ในตัว ● ส�ำหรับวัดต่อเนื่องในอุตสาหกรรม ● มีรุ่นพิเศษส�ำหรับความดันสูง ● มีรุ่นพิเศษส�ำหรับอุณหภูมิสูง ● ตัวถังโลหะทั้งตัว ทนทาน สมบุกสมบัน ● มาพร้อม NIST Certificate
Vol.24 No.224 November-December 2017
Vaisala HMT360 Series เครื่องวัดความชื้นในอากาศ และวัดอุณหภูมิ แบบทรานส์มิตเตอร์ ส�ำหรับพื้นที่ไวต่อประกายไฟ
14
ส�ำหรับการสอบเทียบทรานสมิตเตอร์ภาคสนาม และการ ตรวจวัดตามจุดต่าง ๆ มีใบรับรองสอบเทียบให้ด้วย ● ช่วงวัดความชื้น 0-100% RH ● แสดงผลการวัดต่อเนื่องเป็นกราฟได้ ® ● ใช้ เ ซนเซอร์ เ ทคโนโลยี Vaisala HUMICAP อั น ทรง ประสิทธิภาพ ● มี 3 โพรบวัด ครอบคลุมช่วงวัดอุณหภูมิ -70 and +180°C ● ใช้กับโพรบวัด Dew Point และ CO2 ได้ ● ต่อโพรบวัดได้ 2 โพรบพร้อมกัน ● แสดงพารามิเตอร์ความชื้นได้หลากหลาย ● พร้อมใบสอบเทียบ NIST สอบย้อนกลับได้
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่: คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com
Q
System for
uality
Trend of Life
Q
Trend for
uality
การบริหารจัดการนวัตกรรม
ตามแนวทาง CEN-TS 16555-1:2013 นายคุณภาพ
ต่อจากฉบับที่แล้ว 5. Leadership for Innovation ผู้บริหารระดับสูงควรก�ำหนด วิสยั ทัศน์ดา้ นนวัตกรรม เพือ่ เป็นทิศทางและความท้าทายของพนักงาน ในการน�ำไปปฏิบตั ิ และเป็นเป้าหมายในการวัดผลความก้าวหน้า รวมทัง้ การทบทวน วิเคราะห์บริบทและความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการขอค�ำปรึกษา การสื่อสาร และมีการก�ำหนดกลยุทธ์ด้าน นวัตกรรม โดยการก�ำหนด ➢ ทรัพยากรและความสามารถด้านนวัตกรรมขององค์การ ➢ การก� ำ หนดนิ ย ามของนวั ต กรรมภายในองค์ ก าร การ ก�ำหนดเกณฑ์และการแยกนวัตกรรมออกจากงานประจ�ำ ➢ การจ�ำแนกชนิดของนวัตกรรม (เช่น ผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ นวัตกรรมด้านรูปแบบธุรกิจ) ➢ นโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรม ➢ นโยบายด้ า นทรั พ ย์ สิ น ที่ จั บ ต้ อ งได้ แ ละทรั พ ย์ สิ น ทาง ปัญญา ➢ นโยบายด้านการมีส่วนร่วม รวมถึงแหล่งที่มาของแนวคิด จากภายนอกองค์การ
16
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
ตอนที่ 2
ผู้บริหารระดับสูงควรแสดงความเป็นผู้น�ำและความมุ่งมั่นต่อ การน�ำระบบบริหารจัดการนวัตกรรมไปปฎิบัติ การขับเคลื่อนด้าน วัฒนธรรมการสร้างนวัตกรรม โดยการด�ำเนินการ ➢ สนับสนุนด้านแนวคิด การสร้างสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานที่เป็นบวกต่อการสร้างแนวคิด การพัฒนาและการมอบรางวัล ส�ำหรับแนวคิดที่ประสบความส�ำเร็จ การสอนพนักงานให้รู้ถึงการ แบ่งปันและส่งเสริมแนวคิดของพนักงาน ➢ การสื่ อ สาร การสนั บ สนุ น ให้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นแนวคิ ด โดยอิสระ และหาทางแก้ไขโดยพนักงาน ➢ การเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม ➢ บางแนวคิดทีอ ่ าจมีความขัดแย้ง ควรมีการอธิบายและการ สร้างสรรค์วิธีการในกระบวนการด้านนวัตกรรม ➢ การยอมรับในความผิดพลาด องค์การต้องยอมรับว่าการ น�ำนวัตกรรมมาปฏิบัติอาจมีความไม่แน่นอนและมีความเสี่ยงเกิดขึ้น การน�ำนวัตกรรมมาปฏิบตั อิ ย่างเป็นมิตร ท�ำให้เกิดการเรียนรูจ้ ากความ ผิดพลาดและการจัดการผลในทางลบที่เกิดขึ้น
Trend
ก�ำหนดวัตถุประสงค์ได้ชัดเจน และสามารถติดตามประเมินผลการ ด�ำเนินโครงการ ➠ การป้องกันและการใช้ประโยชน์ (protection & exploitation) ตามที่องค์การได้ก�ำหนดกลยุทธ์ด้านนวัตกรรม ผลลัพธ์ที่ได้จาก โครงการนวัตกรรมขององค์การควรได้รับการปกป้องและการน�ำไปใช้ อย่างเหมาะสม การปกป้องและการน�ำผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม ทางนวัตกรรมไปใช้ ➠ การแนะน�ำนวัตกรรมสู่ท้องตลาด (market introduction) สามารถด�ำเนินการได้โดยการก�ำหนดตลาดเป้าหมาย การพัฒนา แผนการตลาดและการขาย การระดมทุนและทรัพยากรขององค์การใน การเปิดตลาดและการขยายตลาด การจัดตั้งการผลิต ห่วงโซ่อุปทาน และการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับข้อบังคับ
การประเมินผลด้านนวัตกรรม
ผลส�ำเร็จของการน�ำนวัตกรรมมาปฏิบัตินั้น สามารถวัดผลได้ ทั้งด้านการเงินและไม่ใช่การเงิน องค์การสามารถวัดผลความส�ำเร็จด้านการเงิน เช่น ➢ อัตราการเติบโตของผลก�ำไร และรายได้ ➢ ต้นทุนที่สามารถประหยัดได้ ➢ การเติบโตของผลก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ➢ ผลตอบแทนจากการลงทุนด้านนวัตกรรม ความส�ำเร็จของตัวชี้วัดที่ไม่ใช่การเงิน เช่น ➢ จ�ำนวนแนวคิดที่เสนอมาในกิจกรรมด้านนวัตกรรม ➢ ส่วนแบ่งทางการตลาด ➢ กระบวนการที่มีประสิทธิผลมากขึ้น ➢ ชื่อเสียงและการระลึกถึงแบรนด์ ➢ จ�ำนวนพนักงานที่ได้รับประโยชน์จากกิจกรรมนวัตกรรม ➢ ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้
Vol.24 No.224 November-December 2017
ผู้บริหารระดับสูงควรมีการก�ำหนดบทบาท ความรับผิดชอบ และหน้าที่ การจัดองค์การ การรายงานผลด้านนวัตกรรม 6. Planning for Innovation Success การวางแผนด้านความ ส�ำเร็จของนวัตกรรม องค์การต้องมีการพิจารณาปัจจัยภายนอกและ ภายใน ความต้องการและคาดหวังของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และวิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ด้านนวัตกรรม เพื่อน�ำมาประเมินความเสี่ยง องค์การต้องระบุ ความเสีย่ งและโอกาส การบูรณาการและการปฏิบตั กิ ารเพือ่ จัดการใน ระบบการจัดการนวัตกรรม และการประเมินประสิทธิผลของการจัดการ ในทุกกิจกรรมด้านนวัตกรรม ความเสีย่ งและความไม่แน่นอนต้องได้รบั การพิจารณา องค์ ก ารต้ อ งมี ก ารก� ำ หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ด ้ า นนวั ต กรรมใน หน่วยงานและระดับทีเ่ กีย่ วข้อง และเก็บรักษาเอกสารด้านวัตถุประสงค์ ของนวัตกรรม การวางแผนเพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ผลด้านนวัตกรรม นั้น องค์การต้องก�ำหนดกิจกรรม ทรัพยากร ความรับผิดชอบและระยะ เวลาของกิจกรรมนวัตกรรม และสามารถก�ำหนดการวัด เฝ้าติดตามเป็น ความส�ำเร็จระยะสั้นและระยะยาวได้ 7. Innovation Enablers/Driving Factors ปัจจัยในการ ขับเคลื่อนนวัตกรรมและการสร้างนวัตกร (innovation enablers) นั้น สามารถใช้ปัจจัยสนับสนุนด้านการจัดท�ำระบบ เช่นเดียวกับระบบ บริหารคุณภาพหรือระบบการจัดการอื่น ๆ ได้แก่ ➢ การจัดองค์การด้านบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ➢ การจัดสรรทรัพยากร ➢ ความสามารถของพนั ก งาน บุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ นวัตกรรม ➢ การสร้างจิตส�ำนึก ➢ การสื่อสาร ➢ ระบบเอกสารและข้อมูล ➢ แผนกลยุทธ์ดา้ นทรัพยากรบุคคล การก�ำหนดนโยบายด้าน ทรัพยากรบุคคล ได้แก่ การผลักดันให้เกิดการเรียนรู้ การออกแบบงาน ให้มคี วามหลากหลาย ท้าทาย การสนับสนุนการสือ่ สารทีม่ ปี ระสิทธิผล ➢ ทรัพย์สินทางปัญญาและการจัดการความรู้ ➢ การมีส่วนร่วม 8. Innovation Management Process กระบวนการสร้าง นวัตกรรม ประกอบด้วยกิจกรรม ➠ การบริหารจัดการแนวคิด (idea management) การจัดการ แนวคิด ประกอบด้วย การท�ำให้เกิดแนวคิดใหม่ การเก็บรวบรวม การ ประเมิน และการคัดเลือกแนวคิดใหม่ กระบวนการในการจัดการ แนวคิดอย่างเป็นระบบ ➠ การพัฒนาโครงการนวัตกรรม (develop of project) คือ องค์การสามารถวางแผนรายละเอียดโครงการอย่างเหมาะสม พร้อมกับ
17
Vol.24 No.224 November-December 2017
Trend
18
ด้านสังคมและทางสภาพแวดล้อม (เช่น การลดมลพิษ การ ลดพลังาน การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า สภาพแวดล้อมการท�ำงาน ที่ดีขึ้น เป็นต้น) 9. Performance Assessment of the Innovation Management System การประเมินประสิทธิผลจากระบบบริหารจัดการ นวัตกรรม สามารถก�ำหนดตัวชี้วัดวิธีการและการเฝ้าติดตามเกณฑ์ การประเมินผลได้ดังนี้ ➠ กลยุทธ์ด้านนวัตกรรม การกระจายผลสู่ผู้ผลักดันให้เกิด นวัตกรรม (innovation-enablers) และปัจจัยการขับเคลื่อน ➠ กระบวนการด้านนวัตกรรมและผลทีไ่ ด้รบ ั การประเมินผล ควรด�ำเนินการในเชิงลึกด้วยความเข้าใจด้านการบริหารนวัตกรรมที่ มิติแตกต่างกัน และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องระบบบริหารจัดการ นวั ต กรรม ความถี่ ข องการประเมิ น ขึ้ น กั บ สภาพแวดล้ อ มในการ ขับเคลื่อนนวัตกรรมอย่างมีพลังเช่นเดียวกับความพยายามในการ ปรับปรุงในอนาคตองค์การสามารถใช้วิธีการตรวจติดตามภายในใน การทวนสอบระบบบริหารจัดการนวัตกรรมในองค์การได้ และกรณีที่ องค์การน�ำระบบบริหารอื่น ๆ มาปฏิบัติ (เช่น ISO 9001) สามารถน�ำ มาบูรณาการตรวจประเมินร่วมกันได้ ผู้บริหารระดับสูง ควรทบทวนเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ ➢ ผลการทบทวนโดยฝ่ายบริหารครั้งก่อน ➢ การเปลีย ่ นแปลงบริบทภายนอกและภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับ ระบบบริหารนวัตกรรม ➢ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบบริ ห ารจั ด การ นวัตกรรม
โอกาสในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง องค์การควรเก็บรักษาเอกสารข้อมูลเป็นหลักฐานผลการ ทบทวนโดยฝ่ายบริหาร และผลจากการทบทวนควรมีการสื่อสาร ภายในองค์การ เพื่อช่วยในการปรับปรุงประสิทธิภาพและหลีกเลี่ยง ความผิดพลาดและการท�ำงานซ�้ำ ๆ 10. Improvement of the Innovation Management System องค์การสามารถปรับปรุงความเหมาะสม หรือความมีประสิทธิผลของ ระบบบริหารจัดการนวัตกรรม โดยการใช้วสิ ยั ทัศน์ และกลยุทธ์ ความ เป็นผูน้ ำ� วัตถุประสงค์และการวางแผนด้านนวัตกรรม การประเมินการ ผลักดันให้เกิดนวัตกรรม (innovation-enablers) และปัจจัยการ ขับเคลื่อน การประเมินประสิทธิภาพและการทบทวนของผู้บริหาร ระดับสูง องค์การต้องชี้บ่งการเบี่ยงเบน และการปฏิบัติการแก้ไข เพื่อหาสาเหตุการเบี่ยงเบน และการปรับปรุงประสิทธิผล 11. Innovation Management Technique เทคนิคของการ บริหารจัดการนวัตกรรมมีความหลากหลายในการพัฒนาระบบบริหาร จัดการนวัตกรรม และการมีผลกระทบทางธุรกิจจากกิจกรรมนวัตกรรม เทคนิ ค ต่ า ง ๆ สามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นทุ ก ระดั บ ของระบบบริ ห าร นวัตกรรม ความเข้าใจบริบท การพัฒนากลยุทธ์อนื่ ๆ และทุกโครงการ นวัตกรรมในทุกระดับ การก�ำหนด การเลือกแนวคิดใหม่ การพัฒนา โครงการนวัตกรรม เพื่อให้มั่นใจผลประโยชน์ที่ได้รับ เป็นต้น ตัวอย่างเทคนิคของนวัตกรรมทีส่ ามารถน�ำมาใช้ได้ ตัวอย่าง เช่น ➠ การบริหารจัดการศูนย์ขอ ้ มูลทางกลยุทธ์ (strategic intelligence management) หลักการของการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูล ➢
Trend
การบริหารจัดการความร่วมมือ (collaboration management) การบริหารจัดการความร่วมมือสามารถท�ำให้เกิดการได้รับ ทักษะและความรู้ใหม่ จ�ำเป็นต่อการประยุกต์ใช้นวัตกรรมอย่างมี ประสิทธิผลโดยทั่วไป การมีส่วนร่วมเป็นสิ่งที่ส�ำคัญในการปรับปรุง นวัตกรรมในองค์การ ***สามารถอ้างอิงรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเี่ ครือ่ งมือ CEN/TS 16555-5 ➠ การบริหารจัดการความคิดสร้างสรรค์ (creativity management) การสร้างสรรค์สามารถท�ำให้ส�ำเร็จได้โดยการก�ำหนด หลักการทีช่ ดั เจน และเป็นกระตุน้ ให้เกิดแนวคิดใหม่ เพือ่ การคัดเลือก การพัฒนา และการน�ำนวัตกรรมไปปฏิบัติ แนวคิดการสร้างสรรค์ สามารถท�ำได้โดย ➢ การก�ำหนดกลยุทธ์ทางนวัตกรรม การสร้างแรงผลักดัน ทางนวัตกรรม การจัดการความคิดสร้างสรรค์ การมีสว่ นร่วมสนับสนุน ➢ การสร้ า งแนวคิ ด การชี้ บ ่ ง ปั จ จั ย ขั บ เคลื่ อ น (การวิ จั ย ทางการตลาด เทคโนโลยี สังคม และแนวโน้มทางเศรษฐศาสตร์) ข้อมูล ของลูกค้า การขาย และหุ้นส่วนทางธุรกิจ การเปิดและใช้นวัตกรรม ➢ การจัดท�ำเอกสารนวัตกรรม การบันทึก การทบทวน การ จัดกลุม่ แนวคิดส�ำหรับโครงการระยะกลางและยาว รวมทัง้ การบริหาร จัดการทรัพยากรเพื่อช่วยพัฒนาแนวคิดในอนาคต ***สามารถอ้างอิงรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเี่ ครือ่ งมือ CEN/TS 16555-6 ➠
Vol.24 No.224 November-December 2017
ทางกลยุทธ์ คือ การตัดสินใจจากข้อมูลและทางกลยุทธ์ เพื่อการ ตัดสินใจทางกลยุทธ์ ด้วยการวิเคราะห์คุณค่า ความเข้าใจลูกค้าและ ส่วนแบ่งตลาดในปัจจุบนั และอนาคต และความเข้าใจข้อจ�ำกัด โอกาส และความเสี่ยง การชี้บ่งหุ้นส่วนใหม่ บริการใหม่ ผลิตภัณฑ์หรือ กระบวนการ การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีและกฎระเบียบ ***สามารถอ้างอิงรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเี่ ครือ่ งมือ CEN/TS 16555-2 ➠ แนวคิดนวัตกรรม (innovation thinking) แนวคิดด้าน การน�ำนวัตกรรมมาปฏิบัติ คือ การส�ำรวจปัญหา และการหาโอกาส เพื่อชี้บ่งทางแก้ไขปัญหาที่ดีขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ และความคาดหวัง ในอนาคต การสร้างนวัตกรรมโดยทุกคนในองค์การ แนวคิดนวัตกรรมมาจากเทคนิคการออกแบบ รวมถึงการ ออกแบบทางกายภาพ การด�ำเนินการส�ำรวจโดยทีมงานข้ามสายงาน โดยมาจากความเข้าใจปัญหาเชิงลึกหรือโอกาสในการลดปัญหาลง โดยการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ตัวอย่าง เช่น กระบวนการทางนวัตกรรม (8.1) การน�ำข้อมูลมาแปลงเปลี่ยนเป็นความรู้ที่เหมาะสมในองค์การ การลดความเสี่ยงของความผิดพลาดโดยการทดสอบแนวคิดอย่าง รวดเร็วในกระบวนการ การประยุกต์ใช้เครื่องมือและเทคนิคในระบบ บริหารจัดการนวัตกรรม ***สามารถอ้างอิงรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเี่ ครือ่ งมือ CEN/TS 16555-3 ➠ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา (intellectual property management) ความตระหนักในเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา จ�ำเป็นต่อองค์การทุกประเภทในการจัดการ ปกป้อง และการใช้ ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา ความส�ำคัญของทรัพย์สินทาง ปัญญา และการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาเป็นที่เข้าใจในองค์การ ***สามารถอ้างอิงรายละเอียดเพิม่ เติมได้ทเี่ ครือ่ งมือ CEN/TS 16555-4
19
Q
Trend for
uality
อะไรเอ่ย ?…
เกิดที่อเมริกา พัฒนาเติบโตที่ญี่ปุ่น แต่มาตายที่ ไทย หลาย
คนคงเคยได้ยนิ ประโยคดังชือ่ บทความดังกล่าวมา บ้าง ค�ำตอบก็คือ ระบบบริหารหรือเทคนิคการ บริหารจัดการนั่นเอง จริง ๆ แล้วศาสตร์การบริหารต่าง ๆ เริม่ จากอเมริกาหรือซีกโลก ตะวันตก ตั้งแต่ก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม เช่น เฟดเดอริกซ์ เทย์เลอร์ เป็นคนแรกที่แยกศาสตร์การจัดการออกจากงานฝีมือและได้รับการ ยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการจัดการด้วยวิทยาศาสตร์ นอกจากนี้ยังมี สองสามีภรรยากิลเบธ ท�ำการศึกษาการเคลื่อนไหวผ่านการเรียงอิฐ และสร้าง “Therblig” หรือทีค่ นไทยคุน้ เคย คือ หลักการยศาสตร์ รวมถึง เฮนรี่ แกนท์ ที่พัฒนาแผนภูมิแกนท์ เพื่อใช้ในการวางแผน ถัดมาก็คือ ยุคของการผลิตเชิงมวล หรือที่เรียกว่า Mass Production หรือบางคนเรียกว่า Ford Production System ที่ท�ำการสร้าง ระบบการผลิตในจ�ำนวนมาก ๆ รถรุ่นแรกของฟอร์ดชื่อ Model T ขาย ได้ 15 ล้านคัน หลักจากนั้นจะเป็นยุคของการน�ำสถิติมาใช้ในการควบคุม คุณภาพ ที่รู้จักกันดีก็คือ วอลเตอร์ ชิวฮาร์ท ได้สร้างแผนภูมิควบคุม กระบวนการหรือ SPC ขึ้นมา เพื่อควบคุมกระบวนการ
20
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 อเมริกาส่งปรมาจารย์ 2 ท่านไป ช่วยเหลือญี่ปุ่น คนแรก คือ เอ็ดเวิรด์ เดมมิง่ ได้น�ำความรู้เกี่ยวกับการ ใช้สถิติในการควบคุมคุณภาพมาเผยแพร่ที่ญี่ปุ่น อีกคนคือ โจเซฟ จูราน ได้น�ำความรู้เกี่ยวกับคุณภาพที่ต้องเกิดจากการร่วมมือของ ทุกคนในองค์กรจึงเกิดระบบบริหารงานที่เรียกว่า TQC หรือ CWQC ขึ้นจนภายหลังเปลี่ยนมาใช้ชื่อ TQM
จากตัวอย่างทีก่ ล่าวมา เห็นได้วา่ ปรมาจารย์ดา้ นการบริหารการ ผลิตมาจากอเมริกาทั้งสิ้น แต่เหตุที่ไปพัฒนาที่ญี่ปุ่นเพราะว่าญี่ปุ่นรับ แนวคิดของปรมาจารย์ทงั้ 2 มาประยุกต์ใช้ในการบริหารการผลิตท�ำให้ ในช่วง 1980 ญี่ปุ่นสามารถผลิตสินค้าได้มีคุณภาพเหนือกว่าอเมริกา จนสถานีโทรทัศน์ NBC ของอเมริกาได้น�ำเสนอรายการพิเศษที่ชื่อว่า “If Japan Can, Why Can’t We?” ซึ่งสารคดีดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่า การที่ญี่ปุ่นชนะอเมริกาได้เพราะน�ำแนวความคิดของปรมาจารย์ชาว อเมริกาไปใช้ หลังจากนั้นทางฝั่งอเมริกาก็เริ่มตื่นตัวในการน�ำแนวคิดการ บริหารของปรมาจารย์ทั้งสองไปปรับใช้และน�ำไปสู่การพัฒนาไปเป็น ศาสตร์บริหารต่าง ๆ เช่น ในช่วง 1990 Motorola ภายใต้การน�ำของ ไมเคิล แฮร์รี่ ได้สร้าง Six Sigma ซึ่งเป็นการปรับปรุงงานโดยการท�ำ โปรเจกส์ หรือรัฐบาลอเมริกาในสมัยโรนัลด์ เรแกน ก็ได้ตั้งรางวัล คุณภาพแห่งชาติ (Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) เพื่อเป็นการกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพ ขององค์กร ซึ่งในปัจจุบันมีหลายประเทศได้น�ำเกณฑ์นี้มาใช้ รวมถึง ประเทศไทยด้วยภายใต้ชื่อ Thailand Quality Award: TQA ที่ผู้อ่าน หลายท่านคุ้นเคยกันดี ส่วนคนไทยเราได้รับอิทธิพลจากทั้งฝั่งอเมริกาและญี่ปุ่น จาก การทีม่ บี ริษทั เหล่านีเ้ ข้ามาสร้างฐานการผลิตในเมืองไทยและน�ำระบบ การบริหารการผลิตของตนเองมาใช้ดว้ ย หลังจากนัน้ ก็ขยายไปยังบริษทั ผู้ส่งมอบและลูกค้า ท�ำให้เกิดการแพร่หลายของศาสตร์เหล่านี้ แต่นา่ แปลกใจทีศ่ าสตร์ตา่ ง ๆ ไม่วา่ ของใครพอมาถึงเมืองไทย แล้วกลับล้มหายตายจากไปอย่างรวดเร็ว ย้อนกลับไปประมาณ 10 กว่าปีที่แล้ว เป็นยุคที่ Six Sigma เฟือ่ งฟูในเมืองไทยมาก ช่วงนัน้ ผูเ้ ขียนเดินสายบรรยายแต่หลักสูตร Six Sigma แต่ทุกวันนี้แทบหายไปจากเมืองไทย ก่อนหน้านี้ก็น่าจะมีคน เคยได้ยินการท�ำ Reengineering หรือ 5ส ซึ่งคนไทยรู้จักกันมาหลาย สิบปี เป็นศาสตร์การบริหารที่หน้างานที่ญี่ปุ่นบอกว่าดีมากและเป็น พื้นฐานของศาสตร์บริหารงานของญี่ปุ่น เช่น Total Productive Maintenance: TPM, Just In Time: JIT หรือ Toyota Production System: TPS แต่เมือ่ คนไทยน�ำ 5ส มาท�ำในองค์กร กลับกลายเป็นการท�ำความ สะอาดพื้นที่ท�ำงาน ซึ่งไม่เห็นว่าจะท�ำให้การท�ำงานดีขึ้นอย่างไร แถม เพิ่มภาระอีกต่างหาก สุดท้าย 5ส ก็ค่อย ๆ หายไปจากองค์กร หรือบาง ที่ก็ท�ำ ๆ หยุด ๆ ท�ำอยู่ 3-4 ปี ก็เงียบไปสัก 2-3 ปี แล้วก็กระตุ้นกันใหม่ ก็ท�ำกันใหม่ วนกันอยู่แบบนี้ ท�ำไมศาสตร์ต่าง ๆ ที่ทั่วโลกบอกว่าดีกลับไม่ประสบความ ส�ำเร็จกับคนไทย ค�ำตอบก็คอื เรายังไม่เข้าใจแก่นวิชาของศาสตร์เหล่านั้นอย่าง ถ่องแท้ แค่เพียงท�ำตามรูปแบบที่เห็นหรือรับรู้มาเท่านั้น อีกทั้งยังไม่
ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับวัฒนธรรมขององค์กรตนเอง นอกจากนี้เรายังท�ำ ตามแฟชั่น คืออะไรที่เขาว่าดี เราก็ลองไปทั้งหมด โดยไม่มีจุดยืนของ ตนเอง จะเห็นได้ว่าศาสตร์บริหารต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นของอเมริกาหรือ ญีป่ นุ่ ต่างก็มจี ดุ เริม่ เดียวกัน แต่ถกู น�ำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับวัฒนธรรม ของตนเอง ท�ำให้เกิดศาสตร์การบริหารที่มีวิธีที่แตกต่างกันไป หากลองสังเกตดูจะพบว่า ญี่ปุ่นเรียนรู้ศาสตร์บริหารจาก อเมริกา แต่ไม่ได้น�ำรูปแบบทั้งหมดมาใช้ ญี่ปุ่นได้ท�ำการศึกษาถึงแนวคิดส�ำคัญและน�ำมาปรับใช้ตาม วัฒนธรรมของตนเอง จนเกิดเป็น TQM ในสไตล์ญี่ปุ่นซึ่งแตกต่างจาก อเมริกา หรือตัวอย่างเช่น ในปี 1956 ไทอิชิ โอโนะ เป็นตัวแทนจาก โตโยต้าไปอเมริกาเพื่อศึกษาระบบการผลิตรถยนต์ของฟอร์ด ซึ่งใน ขณะนั้นทั่วโลกให้การยกย่องว่าเป็นระบบการบริหารการผลิตที่ดีที่สุด แต่โอโนะพบว่า ระบบฟอร์ดเป็นระบบที่ดีถ้ามีการผลิตในปริมาณ มาก ๆ และไม่เน้นความหลากหลาย แต่แนวคิดดังกล่าวไม่เหมาะส�ำหรับสังคมญี่ปุ่น สุดท้ายโอโนะจึงไม่น�ำระบบการผลิตแบบฟอร์ด มาใช้กับโตโยต้า แต่หันไปพัฒนาระบบการผลิตของตนเองขึ้น โดย อาศัยแนวคิดของร้านซุปเปอร์มาร์เก็ตที่บังเอิญไปเห็นระหว่างการไป อเมริกา ที่ใช้ระบบการวางของให้ลูกค้าเลือกตามต้องการและจะเติม สินค้าเมื่อสินค้าตัวนั้นใกล้หมดจากชั้นเท่านั้น จนพัฒนามาเป็นการใช้ คัมบัง (kamban) ในการผลิต ซึ่งเป็นแนวคิดส�ำคัญของการผลิตแบบ โตโยต้า หรือ TPS ที่ทุกคนรู้จักในปัจจุบัน หรืออย่างช่วงที่ Six Sigma ก�ำลังดังในเมืองไทยโดยเฉพาะ บริษัทสัญชาติไทย แต่กลับกลายเป็นว่าบริษัทสัญชาติญี่ปุ่นในเมือง ไทยไม่นิยมท�ำ Six Sigma เพราะจุดเด่นของการท�ำ คือ การถอด ผูจ้ ดั การออกจากงานประจ�ำมาท�ำโปรเจกส์ปรับปรุงงาน ท�ำให้สามารถ ลดต้นทุนได้เป็นล้าน ซึ่งแนวคิดนี้ค่อนข้างขัดแย้งกับวัฒนธรรมของ ญี่ปุ่น
Vol.24 No.224 November-December 2017
Trend
21
Trend
Vol.24 No.224 November-December 2017
เฟดเดอริกซ์ เทย์เลอร์
22
ในขณะที่บริษัทไทย ๆ ที่อยากท�ำ Six Sigma บ้าง แต่ไม่กล้า ถอดผู้จัดการมาท�ำโปรเจกส์ จึงปรับเปลี่ยนให้วิศวกรมาท�ำโปรเจกส์ แทน แถมยังต้องท�ำงานประจ�ำคู่ไปด้วยอีก จึงไม่น่าแปลกใจที่สุดท้าย แล้วโปรเจกส์ไม่ส�ำเร็จ เพราะยังไงก็ต้องเอางานประจ�ำก่อน หรือ ถ้าส�ำเร็จก็ไม่สามารถลดต้นทุนได้เป็นล้านตามอย่างที่ฝรั่งกล่าวไว้ ท้ายสุดก็สรุปว่า Six Sigma ไม่ดี จะเห็นได้ว่า การน�ำแนวคิดการบริหารมาใช้กับองค์กรนั้น สิ่ง แรกที่จ�ำเป็น คือ การศึกษา หรือเรียนรู้ถึงแนวคิดและปัจจัยที่จะท�ำให้ ศาสตร์เหล่านีป้ ระสบความส�ำเร็จ และน�ำไปพัฒนาให้เข้ากับวัฒนธรรม ขององค์กร ซึง่ ตรงกับแนวคิด C&D (Copy & Develop) ไม่ใช่ศกึ ษาแต่ รูปแบบในการท�ำและมาท�ำตามอย่างทีเ่ ห็น หรือทีเ่ รียกว่า C&C (Copy & Copy) นอกจากนีแ้ ล้วสิง่ ทีส่ ำ� คัญ คือ จะท�ำอย่างไรให้คนในองค์กรไม่ สับสนกับระบบการบริหารต่าง ๆ ที่มีอยู่มากมาย ผู้เขียนมีเพื่อนหลายคนที่อยู่ในองค์กรขนาดใหญ่ และชอบ มาบ่นให้ฟังเรื่องระบบการบริหารต่าง ๆ ในองค์กรว่า มีเยอะไปหมด แรก ๆ ก็ท�ำ TQM จบแล้วก็หันมาท�ำ Balance Score Card สักพักก็ Six Sigma เดีย๋ วก็ TQA จบแล้วก็ทำ� TPM, ISO ก็ตอ้ งท�ำ ตอนนีก้ ก็ ำ� ลัง ท�ำ Lean จนทุกวันมีระบบต่าง ๆ เต็มไปหมดจนไม่รู้จะท�ำอันไหนดี บางอันก็คล้ายกันแต่กลับเรียกชื่อไม่เหมือนกัน บางอันก็ขัดกับอีกอัน งงไปหมด ผู้เขียนไม่ได้บอกว่าให้เลือกท�ำแค่อย่างเดียว แต่องค์กรควรมี ระบบบริหารหลักเพียงเรือ่ งเดียว และน�ำเอาแนวคิดของระบบอืน่ ๆ เข้า มาเสริม โดยต้องไม่ขัดแย้งและก�ำหนดทิศทางให้ไปในแนวเดียวกับ ระบบบริหารเดิม มีความชัดเจนในการใช้ เพือ่ ไม่ให้คนในองค์กรรูส้ กึ ว่า มันเป็นอีกเรื่องใหม่ที่แยกออกจากเรื่องเดิม เท่านี้การบริหารในองค์กร ก็จะไม่เกิดความสับสน สุดท้ายอย่าลืมว่า ศาสตร์การบริหารเข้ามาช่วยในการท�ำธุรกิจ ดังนั้น ศาสตร์ใดที่ท�ำให้เราท�ำธุรกิจได้ดีขึ้น ล้วนดีทั้งนั้น เพราะเราท�ำ บริหารเพื่อธุรกิจ ไม่ใช่บริหารเพื่อบริหาร
สองสามีภรรยา กิลเบธ
เฮนรี่ แกนท์
วอลเตอร์ ชิวฮาร์ท
เอ็ดเวิร์ด เดมมิ่ง
โจเซฟ จูราน
ไมเคิล แฮร์รี่
ไทอิชิ โอโนะ
รถฟอร์ด Model T
ฮอร์โมนทดแทน
Q
of Life for
uality
ส�ำหรับสตรีวยั หมดประจ�ำเดือน แพทย์หญิงปรียานาถ กำ�จรฤทธิ์
แพทย์ด้านสูตินรีเวชวิทยา ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ (Vitallife Wellness Center) ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์
▲
แพทย์หญิงปรียานาถ ก�ำจรฤทธิ์
แพทย์ด้านสูตินรีเวชวิทยา ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ (Vitallife Wellness Center) ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์
การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทน หรือ Hormone Replacement Therapy: HRT ได้กลายเป็นวิธีที่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายเพื่อ รักษาภาวะการขาดฮอร์โมนส�ำหรับสตรีวัยหมดประจ�ำเดือน การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทน หรือ HRT นั้น ใช้หลักการ ทดแทนฮอร์โมนเอสโตรเจน และโปรเจสเตอโรนในเพศหญิงในวัยหมด ประจ�ำเดือน เพื่อรักษาอาการที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากการขาดฮอร์โมน ดังกล่าว การให้ฮอร์โมนทดแทนนั้น สามารถท�ำได้ทั้งระหว่างหรือหลัง วัยหมดประจ�ำเดือน โดยจะมีผู้หญิงประมาณ 5 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ที่สามารถก้าวเข้าสู่วัยทองโดยไม่ได้รับผลกระทบจากภาวะการขาด ฮอร์โมน แพทย์หญิงปรียานาถ ก�ำจรฤทธิ์ แพทย์ด้านสูตินรีเวชวิทยา ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ (Vitallife Wellness Center) ในเครือ โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์ แนะน�ำวิธกี ารปฏิบตั ติ วั เพือ่ เข้าสูว่ ยั ทองอย่าง มีความสุข “เนื่องจากว่าผู้หญิงแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งทางด้าน ร่างกายและจิตใจ ในทางการรักษาภาวะหมดประจ�ำเดือนนั้น แพทย์ จะต้องน�ำปัจจัยหลาย ๆ อย่างของคนไข้มารวมกัน พร้อมทัง้ ตรวจเลือด เพื่อใช้วิเคราะห์และประเมินแนวทางในการรักษาโดยเฉพาะส�ำหรับ คนไข้แต่ละราย ก่อนการตัดสินใจท�ำการรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทนนัน้ แพทย์จะต้องซักประวัติคนไข้โดยละเอียด และคนไข้จะต้องท�ำความ เข้าใจในเรือ่ งของการรักษา การปฏิบตั ติ วั ในระหว่างรับการรักษา ระยะ เวลาการรักษา และวิธีการหยุดการรักษาอย่างเข้าใจเสียก่อน” for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
23
of Life กรณีศึกษา
Vol.24 No.224 November-December 2017
คุณหมอปรียานาถ อธิบายว่า ผูห้ ญิงทุกคนจะต้องผ่านช่วงอายุ อยู่ 3 ช่วง คือ วัยเด็กก้าวเข้าสู่วัยสาว ซึ่งเป็นช่วงที่ระบบสืบพันธุ์เริ่ม พัฒนาสมบูรณ์ ช่วงทีส่ อง คือ ช่วงโตเต็มวัย โดยเป็นช่วงทีร่ ะบบสืบพันธุ์ พัฒนาอย่างสมบูรณ์ และสามารถมีบุตรได้ และช่วงสุดท้าย คือ ช่วง วัยหมดประจ�ำเดือนหรือวัยทอง ซึ่งผู้หญิงส่วนใหญ่จะประสบปัญหา การปรับตัวทางร่างกายและจิตใจอันเนือ่ งมาจากภาวะการขาดฮอร์โมน นัน่ เอง ทัง้ นีก้ ารปรึกษาแพทย์ถงึ แนวทางการปฏิบตั ติ วั และวิธกี ารรักษา นัน้ จะสามารถท�ำให้ผหู้ ญิงเราก้าวเข้าสูว่ ยั ทองได้อย่างปลอดภัยและมี ความสุข มีหลายอย่างที่ต้องคำ�นึงถึงในการทำ�การรักษาด้วยฮอร์โมน ทดแทน เช่น ในคนไข้รายที่มีการทำ�ทรีตเม้นท์เพื่อรักษามะเร็งรังไข่ หรือผ่าตัดมะเร็งรังไข่นั้น อาจไม่สามารถรักษาด้วยวิธีการให้ฮอร์โมน ทดแทน HRT ได้ และสำ�หรับผูห้ ญิงทีอ่ ายุมากกว่า 60 ปี การให้ฮอร์โมน เพศหญิงทดแทนอาจไม่เหมาะสมเนื่องจากเป็นการเพิ่มปัจจัยเสี่ยงใน การเกิดมะเร็งเต้านม หลอดเลือดอุดดัน และโรคหลอดเลือดหัวใจได้ “ผูห้ ญิงสามารถท�ำได้หลายอย่างเพือ่ ก้าวเข้าสูว่ ยั ทองได้อย่าง ปลอดภัยและมีความสุข ทั้งนี้การหมั่นไปตรวจสุขภาพและตรวจเลือด เพื่อวัดระดับฮอร์โมนอย่างสม�่ำเสมอ เป็นสิ่งที่หมออยากให้ผู้หญิง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป ควรท�ำอย่างต่อเนื่อง
24
เพื่อทราบถึงสภาวะร่างกายและการเตรียมตัวเข้าสู่ภาวะวัยทองอย่าง ปลอดภัย” “นอกจากนีก้ ารรูจ้ กั สังเกตุความผิดปกติของร่างกายตัวเอง จะ สามารถท�ำให้เราป้องกันและตรวจสอบอาการต่าง ๆ ที่อาจก่อให้เกิด โรคมะเร็งหรือโรคอื่น ๆ ได้อย่างทันท่วงที” ในปัจจุบนั ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการรักษาทางการ แพทย์ได้พฒ ั นาอย่างมากมาย ท�ำให้การรักษาด้วยฮอร์โมนทดแทนนัน้ สามารถท�ำได้ง่ายและสะดวกขึ้นกว่าแต่ก่อน การให้ ฮ อร์ โ มนทดแทนนั้ น สามารถทำ�ได้ ห ลายทาง เช่ น การหยดฮอร์โมนทางปาก หรือปิดแผ่นเจลบริเวณผิวหนังก็เป็นอีก วิธีหนึ่งที่สามารถทำ�ได้สะดวก
ข้อมูลความรู้จากอินเทอร์เน็ต
ต้องขอบคุณความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ท�ำให้ ปัจจุบันมีข้อมูลความรู้ทางการแพทย์ต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ เผยแพร่ บนโลกอินเทอร์เนต ซึ่งเป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่ท�ำให้ผู้หญิงมีความ กระตือรือร้นมากขึน้ ในการดูแลตัวเอง และเริม่ มองหาทางเลือกส�ำหรับ สุขภาพ ตลอดจนการปฏิบตั ติ วั เพือ่ ก้าวเข้าสูว่ ยั ทองอย่างปลอดภัยและ มีความสุข
Q
Finance for
uality
การขับเคีย่ วบนเวทีโลกระหว่าง สหรัฐ และ จีน
รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดี สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
โอกาส
ของประธานาธิ บ ดี Donald Trump เพื่ อ ที่จะหาทางตั้งหลัก (reestablish) ตัวเองใหม่ ภายหลังจากที่เผชิญกับสภาวะ “เสียศูนย์” มาอย่างต่อเนื่องดูจะมีอยู่ ไม่มากนัก ตัวอย่างเช่น การใช้ปัจจัยทะเลจีนใต้ในการ “ต่อกร” กับจีน ก็ดูจะค่อนข้าง “แป้ก” เพราะว่าประเทศคู่กรณีหลัก คือ ฟิลิปปินส์ ไม่ ยอมเล่นด้วย ขณะทีส่ มาชิก ASEAN ส่วนใหญ่ (ยกเว้นเวียดนาม) ก็ไม่ ยอมเล่นด้วยเช่นกัน เมื่อเป็นเช่นนี้ “Trump” จึงต้องหันไปเล่น “มุก” อื่น ๆ เพื่อ “ชิ่ง” สู่จีนอีกต่อหนึ่ง “มุก” แรกก็คือ การกล่าวหาจีนว่าเพิกเฉยต่อการร่วมกดดัน เกาหลีเหนือ ที่ตามมาด้วย “มุก” ที่สองก็คือ การให้ ผอ. ของ “USTR” คือ นาย Robert Lighthizer สอบสวนจีนเรื่องความไม่เป็นธรรมด้านการค้าและการ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา โดยการใช้ Section 301 ของกฎหมาย “Trade Act 1974” ในการด�ำเนินการกับจีน
26
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
มีขอ้ ทีน่ า่ สังเกตว่าในช่วงทีผ่ า่ นมา จีนมีทา่ ที “อดกลัน้ ” ต่อสหรัฐ ค่อนข้างมาก โดยอาจมีสาเหตุบางประการ เช่น ประการแรก การที่จีนมีการเกินดุลการค้ากับสหรัฐมาก ท�ำให้ จีนเป็นห่วงเรื่องผลกระทบต่อการส่งออกของจีนไปยังสหรัฐท่ามกลาง สภาวะ “New Normal” ทางเศรษฐกิจของจีน ประการที่สอง คือ การที่ปลายปี 2017 นี้ พรรคคอมมิวนิสต์จีน จะมีการประชุมใหญ่สมัชชาพรรคฯ ครั้งที่ 19 การ “สอบสวนจีน” ภายใต้ค�ำสั่ง Section 301 ของ “USTR” ไม่เพียงเป็นการสร้าง “เครือ่ งมือ” ใหม่ในการบริหารจัดการความ “เสีย ศูนย์” ทางการเมืองของ “Trump” เท่านัน้ หากแต่ยงั เป็นมาตรการ “เขียน เสือให้วัวกลัว” ด้วย โดยการสร้างความหวาดหวั่นและกังวลแก่คู่ค้า อืน่ ๆ ทีม่ กี ารเกินดุลการค้าสหรัฐมาก ๆ เช่นกัน (ทีม่ กี ารประกาศชือ่ ออก มาแล้ว คือ มีอยู่ 16 ประเทศ) ดังนั้น สองปัจจัยหลักที่ Trump จะใช้บริหารจัดการเพื่อความ อยู่รอดและการหาทาง “ตั้งหลักใหม่” ทางการเมืองที่เสียศูนย์มาก ๆ
จนแทบบริหารราชการแผ่นดินไม่ได้ของตน ก็คือ “ปัจจัยเกาหลีเหนือ” และ “ปัจจัยจีน” แต่ดปู ระหนึง่ ว่าเกาหลีเหนือภายใต้การน�ำของ “คิมจองอึน” จะ ไม่ประหวัน่ พรัน่ พรึงต่ออภิมหาอ�ำนาจหมายเลขที่ 1 ของโลก เช่น สหรัฐ ภายใต้การน�ำของ “Donald Trump” และดูประหนึง่ ว่าตนเองมี “ไพ่” อยู่ ในมือที่ไม่น้อยกว่า “Trump” นอกจากนัน้ ในฐานะประเทศทีเ่ ล็กและขาดเกียรติภมู ทิ างสากล เพราะถูกกระท�ำย�่ำยีด้านข่าวสารข้อมูลทางด้านลบแบบกระท�ำข้าง เดียวมาตลอด ท�ำให้ผนู้ ำ� อย่าง “คิมจองอึน” ไม่มอี ะไรจะสูญเสียในการ “ต่อกร” และ “ท้าทาย” อภิมหาอ�ำนาจอย่างสหรัฐภายใต้การน�ำของ “Trump” ดังเช่นที่เป็นอยู่ ยิง่ ถ้าหากเกาหลีเหนือมีระเบิดนิวเคลียร์อยูใ่ นความครอบครอง ด้วยแล้ว “แต้มต่อ” ของ “คิมจองอึน” ก็จะยิง่ มีมากขึน้ ไปอีก ทีท่ ำ� ให้ “Trump” และฝ่ายความมัน่ คงของสหรัฐไม่กล้าใช้ความ “บุ่มบ่าม” กับ เกาหลีเหนือ เมือ่ เป็นเช่นนี้ “เป้า” ทีเ่ หลืออยูแ่ ละถือว่าเป็น “เป้า” ทีใ่ หญ่และ มีนำ�้ หนักมากที่ “Trump” จะใช้บริหารจัดการด้านการเมืองของตัวเองก็ คือ “ปัจจัยจีน” ที่อาจจะมีมาตรการอื่น ๆ ที่ตามมาภายหลังการใช้ มาตรา 301 “เล่นงาน” จีน โดยเริ่มจากการ “สืบสวน” ของ “USTR” ต่อ จีนว่ามีการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของสหรัฐหรือไม่ ค�ำถามมีอยู่ว่าจีนจะมีท่าทีอย่างไร พญามังกรที่เป็นอภิมหา อ�ำนาจหมายเลขที่ 2 ของโลก เช่น จีน จะยอม “อ่อนข้อ” ต่อสหรัฐ ภายใต้การน�ำของ “Trump” อย่างต่อเนือ่ งกันไปอีกหรือไม่ เมือ่ ค�ำนึงถึง ความจริงทีว่ า่ “สีจิ้นผิง” ผู้น�ำจีน ก็ต้องบริหารจัดการทางการเมืองเพื่อ ความ “ด�ำรงอยู่” อย่างมีเกียรติภูมิของตนเช่นกัน สิง่ ทีน่ า่ ติดตามก็คอื การประชุมใหญ่สมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์ ครั้งที่ 19 ในปลายปีเดือนตุลาคมที่ผ่านมา โดยที่ผู้น�ำในปัจจุบันของ จีนสามารถบริหารจัดการความเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งส�ำคัญ ดังกล่าวให้ผ่านพ้นไปแล้ว จีนจะมี “ท่าที” ต่อสหรัฐอย่างไร แต่ทคี่ อ่ นข้างชัดเจนก็คอื การทีส่ หรัฐและจีนจะกลายเป็นคูแ่ ข่ง ทางยุทธศาสตร์ (strategic competitors) ที่เข้มข้นและ “แหลมคม” ยิ่งขึ้นในเวทีสากล แต่ปัจจัยด้านการเมืองและความมั่นคง คงไม่ได้เป็นตัวแปร เดียวที่จะน�ำไปสู่การแข่งขันกันบนเวทีโลกของทั้งสองอภิมหาอ�ำนาจ ดังกล่าว หากแต่ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (economic factor) ก็จะกลาย เป็นตัวแปรทีอ่ าจน�ำไปสูค่ วามขัดแย้งทีเ่ พิม่ มากขึน้ ระหว่างพญาอินทรี และพญามังกร ในหลายทศวรรษทีล่ ว่ งผ่านมา นับตัง้ แต่ที่ “เติง้ เสีย่ วผิง” ได้เปิด ประตูถ�้ำมังกรภายใต้ “Open-Door Policy” เศรษฐกิจของสหรัฐและจีน มีความเกื้อกูลกัน (complementary economy) ในอัตราที่สูง
กล่าวคือ ขณะทีส่ หรัฐเป็นผูล้ งทุน (investor) จีนได้เป็นประเทศ ที่รองรับการลงทุนจากต่างประเทศ เพราะได้ปิดตัวจากโลกภายนอก ติดต่อกันมาหลายต่อหลายทศวรรษ นับตั้งแต่ได้เปลี่ยนแปลงการ ปกครองเป็นระบบสังคมนิยมภายใต้การน�ำของพรรคคอมมิวนิสต์จีน ตั้งแต่ต้นเดือนตุลาคม 1949 เป็นต้นมา นอกจากการลงทุนแล้ว ความเกื้อกูลระหว่างเศรษฐกิจสหรัฐ และจีน ยังปรากฏออกมาให้เห็นจากภาคการค้าและภาคบริการ (trade and services) เพราะทัง้ สองมหาอ�ำนาจดังกล่าว มีความได้เปรียบเชิง เปรียบเทียบ (comparative advantage) ในทางเศรษฐกิจที่แตกต่าง แต่ “เกือ้ กูล” กัน ทีส่ ง่ ผลให้การซือ้ ขายแลกเปลีย่ นสินค้าและบริการ เข้า ข่ายต่างคนต่างได้ประโยชน์หรือเป็นลักษณะ “Win-Win” สภาวการณ์ดังกล่าว ได้ส่งผลให้สหรัฐย้ายและขยายฐานของ ภาคการผลิต (production sector) ออกสูต่ า่ งประเทศ เช่น ไปสูจ่ นี ทีม่ ี ต้นทุนทางการผลิต (costs of production) ทีต่ ำ�่ กว่า ขณะทีส่ หรัฐได้ “ขึ้ น ชั้ น ” ทางเศรษฐกิจไปสู่การเป็นเศรษฐกิจที่อิงกับภาคบริการ (service based economy) และตามด้วยการอิงกับภาคการเงิน (finance based economy) ในช่วงหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม ความ “เกื้อกูล” กันทางเศรษฐกิจระหว่างสหรัฐ และจีนในปัจจุบันได้ลดทอนลง เมื่อจีนได้มพี ฒ ั นาการทางเศรษฐกิจที่ “ไล่กวด” ตามหลังมาอย่าง “กระชั้นชิด” ยิง่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นภาคการผลิต ภาคบริการ ภาคการเงิน หรือแม้แต่เรือ่ งของนวัตกรรม (innovation) ใน ด้านต่าง ๆ ทีส่ ง่ ผลให้ทงั้ สองมหาอ�ำนาจมีความเป็นคูแ่ ข่งทางเศรษฐกิจ กันเพิ่มขึ้น (economic competitors) เมื่อเป็นเช่นนี้ การขับเคี่ยวแข่งขันระหว่างสองอภิมหาอ�ำนาจ โลกข้างต้น จึงมีความเข้มข้นและทวีความแหลมคมยิ่งขึ้นทั้งในเวที เศรษฐกิจและเวทีด้านการเมือง และความมั่นคงระหว่างประเทศ ดังที่ ปรากฏความชัดเจนมากยิ่งขึ้นทุกที่ในปัจจุบัน
Vol.24 No.224 November-December 2017
Finance
27
Q
Management for
uality
Finance Strategy Report Marketing & Branding
Q
Strategy for
uality
Business Strategy Case from Japan: การบริการสไตล์ญี่ปุ่น (ometenashi) จะ Maintain ต่อไปได้หรือไม่ ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น orbusiness@hotmail.com การรักษาลูกค้า ท�ำให้ลูกค้าอยู่กับเรานาน ๆ จะท�ำอย่างไรดี ในตลาดที่เติบโตเต็มที่แล้ว (mature) บริษัทจะเจริญเติบโต ได้นั้น สิ่งที่ขาดไม่ได้ คือ การเพิ่มลูกค้าประจ�ำหรือ Repeater แต่ใน ขณะเดียวกันสินค้าหรือบริการแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกิดขึ้นมาไม่ขาดสาย การทีจ่ ะรักษา (maintain) ลูกค้าแต่ละคนไว้ให้ได้เป็นเรือ่ งทีย่ ากล�ำบาก อย่างยิ่ง ดังนั้น จึงมักจะพบกับสโลแกนที่ว่า “สร้างแฟนคลับ” หรือ “ไปพร้อมกับลูกค้า” ต่าง ๆ อยู่เสมอ แต่หากเพียงแต่ยึดถือสโลแกน เดิม ๆ แล้วท�ำด้วยวิธีการเดิม ๆ คงยากที่จะดึงให้ลูกค้าอยู่กับเราได้ นาน ๆ ด้วยเหตุนี้จึงต้องใช้วิธีการทุก ๆ อย่าง ที่จะท�ำให้ผู้บริโภคต้อง พึ่งพิงสินค้าหรือบริการของบริษัทของตนเองให้ได้
28
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
New Concept “ความสะดวกสบาย” ต้องมาก่อน
Omotenashi (การบริการสไตล์ญปี่ นุ่ ) วิธกี ารทีง่ า่ ย ๆ ทีจ่ ะรักษา ลูกค้าไว้ได้ คือ การเพิ่มความสะดวกสบายให้แก่ผู้ที่มาใช้บริการ ถ้าได้ น�ำเสนอบริการหรือสินค้าทีล่ กู ค้ามีความปลืม้ ปิตจิ ริง ๆ แล้ว Repeater จะต้องเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน แต่ถึงแม้จะเป็นกลยุทธ์ที่ง่าย ๆ แต่บริษัท ญี่ปุ่นที่ท�ำเช่นนั้นได้ ยังมีไม่มากนัก มี ก รณี ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บกั บ บริ ษั ท รถเช่ า ของอเมริ ก าที่ มี ชื่อเสียง คือ Hertz ว่า ขั้นตอนการให้เช่ารถนั้น ต่างกันเพียงไร คือ มีขนั้ ตอนเพียง 1 ใน 7 ของบริษทั ญีป่ นุ่ การเช่ารถ (car rental) ในญีป่ นุ่ นั้นมีถึง 7 ขั้นตอน คือ 1. ไปเข้าแถวที่บูธของบริษัทที่ได้ท�ำการจองไว้ 2. บอกชื่อนามสกุล ตรวจสอบการจอง 3. ด�ำเนินการตามขั้นตอน ที่ได้ก�ำหนดไว้ 4. ตรวจสอบรายละเอียดของสัญญา 5. ตรวจสอบ รายละเอียดของการประกันภัย 6. ตรวจสอบยืนยันเจ้าตัวด้วยบัตร ประชาชน 7. ให้ลงนามในสัญญา รวมแล้วใช้เวลากว่า 1 ชั่วโมง แต่ส�ำหรับ Hertz นั้น ลดขั้นตอน 1-5 และขั้นตอนที่ 7 ไม่จ�ำเป็นต้องไป ที่บูธหรือส�ำนักงาน ตรงไปที่จอดรถ ซึ่งจะมีป้ายสัญญาณไฟฟ้าอยู่ แล้วท�ำการตรวจสอบชื่อและหมายเลขที่จอดรถเท่านั้น เมื่อไปถึง ที่จอดรถที่ก�ำหนดก็จะมีรถจอดอยู่พร้อมกับกุญแจเสียบอยู่พร้อม จากนั้นก็สตาร์ทรถพร้อมขับออกไปที่ประตูทางออก ก็แสดงใบขับขี่ ให้กับเจ้าหน้าที่ตรวจสอบเล็กน้อย ก็สามารถออกจากที่จอดรถนั้นได้
Strategy แทนทีจ่ ะไปเยีย่ มลูกค้าทีห่ อ้ งพัก กลับไปทักทายในงานเลีย้ งอาหารเย็น รินสาเกให้ทกุ ๆ คนร่วมดืม่ ด้วย บางครัง้ ก็รว่ มร้องเพลงเพือ่ ให้ความเป็น กันเอง ไม่ใช้ภาษาทีส่ ภุ าพจนเกินไป ซึง่ วิธกี ารนีเ้ ป็นเรือ่ งทีเ่ ป็นไปไม่ได้ เลยใน Onsen อื่น ๆ เพราะมันตรงกันข้ามกับ Common Sense ของ Omotenashi แต่ลูกค้ากลับชื่นชอบ เพราะรู้สึกว่าสนุกสนาน สบาย ๆ ไม่ต้องเกรงใจ ไม่ต้องระมัดระวังตัว เหมือนได้กลับไปเยี่ยมบ้านเกิด ถ้าเปรียบเทียบกับ Ryokan ระดับสูง (และแพง) ที่แขกเข้ามาพักต้อง เกรงใจทีพ่ กั อยูเ่ สมอ ซึง่ ไปอย่างมากปีละครัง้ ก็เพียงพอแล้ว แต่สำ� หรับ ที่นี่อยากจะมาปีละ 3-4 ครั้งเลยทีเดียว Repeat Ratio จึงสูงถึง 90% การละทิง้ “Omotenashi แบบอนุรกั ษ์นยิ ม” เริม่ มีมากขึน้ ดังนัน้ Onsenryokan แบบดั้งเดิมก็เริ่มประสบกับปัญหาการบริหารมากขึ้น ทุกที จ�ำเป็นต้องปรับ “กระบวนการเพื่อชัยชนะ” เป็นต้นว่า ระบบการ เก็บรองเท้า การน�ำพาไปยังห้องพัก การเสิรฟ์ น�ำ้ ชา รวมทัง้ การปูทนี่ อน ระหว่างรับประทานอาหารเย็น เป็นต้น ซึง่ บริการเหล่านีเ้ ป็นบริการทัว่ ไป ของ Onsen อยู่แล้ว แต่การเก็บรองเท้าท�ำให้แขกผู้มาพักไม่สามารถ ออกไปข้างนอกได้อย่างอิสระ ส่วนการพาไปห้องพักก็รู้สึกเป็นเรื่อง วุ่นวาย ส่วนการปูที่นอน บางคนก็ไม่ชอบให้มีบุคคลที่ 3 เข้าไปในห้อง พักระหว่างทีไ่ ม่อยู่ เป็นต้น ดังนัน้ เมือ่ ยุคสมัยเปลีย่ นแปลงไป ก็อาจจะ เป็น Omotenashi ที่ลูกค้าไม่ต้องการก็ได้
“แยกแยะ” สำ�คัญกว่า “ยุติธรรม”
ในการน�ำเสนอ “บริการที่ผู้บริโภคปลื้มปิติอย่างแท้จริง” คือ การแยกแยะ (แบ่งกลุ่ม) ลูกค้า จะต้องดูแลลูกค้าเฉพาะกลุ่มที่สร้าง ก�ำไรให้กับบริษัท พร้อมกับทุ่มเทสติปัญญาและทรัพยากรการบริหาร ถ้าหากไม่กล้าตัดสินใจเช่นนั้นแล้วก็คงไม่สามารถสร้างความสามารถ ในการแข่งขันได้ กรณีศึกษาของ Alpine Car Navigator เน้นส�ำหรับรถยนต์ เฉพาะรุ่น เช่น Toyota Alphard หรือมินิแวนรุ่นอื่น ๆ เพียง 7 รุ่น ใน ขณะที่ในปี 2015 จ�ำนวนรถใหม่ในญี่ปุ่นมี 2.7 ล้านคัน แต่ส�ำหรับ รถมินแิ วนทีเ่ ป็นเป้าหมายนีม้ เี พียง 5 แสนคัน ในจ�ำนวนนัน้ ส�ำหรับกลุม่ เป้าหมายทีต่ อ้ งมีบตุ รดูแล มีเพียง 1 แสนคัน หรือประมาณ 4% เท่านัน้ หมายความว่า นอกจากจะมีตลาดทั่วไปแล้ว ยังเน้นทุ่มเทการพัฒนา สินค้าที่สร้างความปลื้มปิติที่สุดให้กลุ่มลูกค้านั้น ๆ ได้มีการศึกษาวิจัย อย่างจริงจัง โดยเชิญลูกค้า 1,000 คน ไปทดสอบว่าต้องการจะไปทีไ่ หน บ้าง Car Navigator ที่ว่านี้เหมาะอย่างยิ่งกับคนสูงวัยหรือครอบครัวที่ มีสถานที่ที่ไปจ�ำกัด ในเครื่องจึงก�ำหนดสถานที่ไว้อย่างชัดเจนถึง สถานที่ที่ต้องการไป และหาได้ง่าย Alpine นี้ คือ 1 ใน 3 ของผู้น�ำ Car Navigator ร่วมกับไพโอเนียและพานาโซนิค เดิมมีสาขาอยู่ทั่วประเทศ แต่ประสบกับภาวะขาดทุน จึงได้รวมศูนย์ท�ำให้สามารถท�ำก�ำไรได้ จากการใช้กลยุทธ์การ “แยกแยะ” ตลาด (หรือ segmenatation) เน้นไปพัฒนาธุรกิจเฉพาะส่วนที่สร้างก�ำไรให้กับบริษัทได้ พร้อมกับ
Vol.24 No.224 November-December 2017
ใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีเท่านั้น ความสะดวกสบายนี้ท�ำให้ทุกคนอยาก จะเป็นลูกค้าประจ�ำ (repeater) อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นี่คือตัวอย่าง ที่ดีของการรักษาลูกค้าประจ�ำ ธุรกิจของ Hertz นี้ ท�ำรายได้ปีละกว่า 1 ล้านดอลลาร์ มีจ�ำนวนการใช้บริการกว่า 30 ล้านครั้ง อาวุธที่ส�ำคัญ ในการรักษาลูกค้านั้น คือ Rental System ที่ง่ายที่สุด ที่เรียกว่า “Hertz Gold Plus Reverses” ที่พัฒนาขึ้นในช่วงปี 1980 แนวคิดของความ ส�ำเร็จนี้ไม่ได้อยู่ที่ว่ามีชนิดรถยนต์ให้เลือกมาก หรือมีราคาที่ต�่ำ หรือมี การต้อนรับทีส่ ภุ าพเรียบร้อย ความส�ำเร็จนัน้ ก็คอื เพียงแต่ทำ� ให้ขนั้ ตอน การเช่านั้นง่ายที่สุดเท่านั้นเอง ในทางตรงกันข้าม ระบบ Rental Car ของญี่ปุ่น ยังคงรูปแบบ อนุรักษ์นิยมอยู่ แต่ธุรกิจนี้ในญี่ปุ่นมีการแข่งขันรุนแรงยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ตลาดมีการเติบโตในระดับ 4% แต่ก็ก�ำลังถูกตลาดของ Car Sharing ซึ่งมีอัตราการเติบโตถึง 45% แย่งตลาดอยู่ เพราะว่าลูกค้าเริ่มหลีกหนี ไปมากขึ้นเรื่อย ๆ ระบบของญี่ปุ่นจะใช้เวลาในการอธิบายให้ลูกค้าได้ เข้าใจให้มากที่สุด ซึ่งเป็นที่เข้าใจว่าเป็นการบริการแบบเอาใจใส่ใน สไตล์ญี่ปุ่น (omotenashi) เป็นแนวคิดที่ว่า การเพิ่มความพึงพอใจให้ แก่ลูกค้า ก็คือ การอธิบายรายละเอียดของสัญญา หรือประกันภัย ให้มีความเข้าใจลึกซึ้ง หรือการตรวจสภาพรถก่อนที่จะขับรถออกไป สิ่งเหล่านี้จะเป็นการบริการที่จ�ำเป็น จึงไม่คิดที่จะท�ำให้เป็นเรื่องง่าย ๆ แต่ในปัจจุบันนี้ ผู้บริโภคความรู้มากขึ้น หรือสังคมเริ่มเปลี่ยนแปลงไป ดังนัน้ Omotenashi ในแนวคิดแบบอนุรกั ษ์นยิ ม จึงอาจจะไม่ใช่บริการ ที่ลูกค้าต้องการอย่างแท้จริงอีกต่อไป (ในญี่ปุ่นยังไม่สามารถใช้ระบบ เดียวกันกับ Hertz ได้ด้วยสาเหตุ 3 ประการ ได้แก่ 1. มีปัญหาทาง กฎหมาย ที่ท�ำให้ขั้นตอนนั้นง่ายไม่ได้ 2. ติดปัญหาทางเทคนิค และ 3. คิดว่าลูกค้ายังต้องการขั้นตอนที่สุภาพ และใช้เวลา) ที่ Onsen แห่งหนึ่งในจังหวัดอิชิกาวา เริ่มมีแนวคิดเช่นเดียว กันว่าท�ำอย่างไรจึงจะเพิ่ม Repeater นั่นคือ การน�ำเสนอ “ความ สบายๆ” ที่ไม่มีในที่อื่น ๆ นั่นเอง ปกติเวลาลูกค้าเข้ามา Check in ผู้จัดการหญิงที่แต่งชุดกิโมโนจะน�ำไปยังห้องพัก แต่ผู้จัดการท่านนี้
29
Strategy
Vol.24 No.224 November-December 2017
ทุ่มเทสติปัญญา และทรัพยากรการบริหารลงไป มีศนู ย์รถยนต์มอื สองแห่งหนึง่ เน้นนโยบายการ “แยกแยะ” กลุม่ ลูกค้ามาเป็นอาวุธส�ำคัญ บริษัทนี้มีพนักงานเพียง 30 คน มียอดขาย เพิ่มขึ้นถึง 3 เท่า ใน 5 ปี กลยุทธ์ที่ส�ำคัญ คือ การเลือกกลุ่มลูกค้าที่เป็น “แม่บ้านวัย 25-35 ปี ที่ต้องดูแลบุตร” ที่ไม่ค่อยจะใช้เงิน เดิมบริษัทนี้ เป็นโรงงานซ่อมรถมอเตอร์ไซค์ ต่อมาขยายกิจการเป็นการขยายรถยนต์ มือสองหลากหลายชนิด แต่ต่อมายอดขายตกลงเรื่อย ๆ จึงได้เปลี่ยน กลยุทธ์มาเน้น “กลุม่ ลูกค้าเฉพาะทีจ่ ะมาเรือ่ ย ๆ” การทีเ่ ลือกกลุม่ ลูกค้า ดังกล่าวนั้น เหตุผลก็คือ ศูนย์รถยนต์มือสองโดยปกติแล้ว ผู้หญิง คนเดียวจะเข้าไปค่อนข้างยาก ดังนัน้ จึงได้เปลีย่ นแนวคิดทีว่ า่ “คุณแม่ มาคนเดียวก็ได้” ซึ่งท�ำให้เกิด Repeater ขึ้นอย่างมาก ในบริเวณร้าน มีพนื้ ทีท่ เี่ รียกว่า Kid Room หรือห้องให้นมทารก รวมทัง้ มีสนามเด็กเล่น หลักคิดที่ส�ำคัญ คือ ลูกค้ากลุ่มนี้ไม่ค่อยสนใจที่จะเลือกรุ่นหรือยี่ห้อ รถยนต์ แต่เน้นรถยนต์ทมี่ รี าคาถูก หรือรถทีย่ งั ไม่ถกู ใช้ (แต่ขนึ้ ทะเบียน ไว้แล้ว) ซึ่งดูแล้วยังเหมือนรถใหม่อยู่ และยังไม่ต้องเสียภาษีรถใหม่ อีกด้วย ศูนย์รถยนต์แห่งนี้จึงเป็น “ศูนย์รถยนต์แม่บ้าน” ในการทีจ่ ะรักษาลูกค้าไว้ให้ได้นนั้ สิง่ ทีส่ ำ� คัญ คือ การแยกแยะ ในญี่ปุ่น สโลแกนที่ว่า “ลูกค้าคือพระเจ้า” ก็ยังมีอิทธิพลอยู่ ส�ำหรับ บริษัทจ�ำนวนมากจึงมักจะคิดว่า “ให้ความยุติธรรมแก่ลูกค้าทุกคน” ดังนั้น จึงไม่ค่อยจะเก่งในเรื่องการแยกแยะผู้บริโภค ในอีกมุมมองหนึ่ง การแยกแยะอย่างครึ่ง ๆ กลาง ๆ เป็นเรื่อง ทีอ่ นั ตราย มีสายการบินแห่งหนึง่ มีนโยบายให้ลกู ค้าทีโ่ ดยสารมีจำ� นวน ครัง้ ทีม่ ากจะได้รบั สิทธิให้ขนึ้ เครือ่ งบินก่อน ซึง่ นัน่ ก็เป็นหนึง่ ในการรักษา ลูกค้าจึงได้มกี ารก�ำหนดเงือ่ นไข Top Status ว่าจะได้ขนึ้ เครือ่ งบินก่อน คนอืน่ สุดท้ายสายการบินคิดว่าอยากจะให้ผโู้ ดยสารประจ�ำให้มากเท่า
30
ที่จะมากได้ที่จะได้สิทธิขึ้นเครื่องพิเศษอย่างเท่าเทียมกัน (เป็นต้นว่า ผู้ที่โดยสารที่บินปีละเกินกว่า 100 ครั้ง) ผลลัพธ์ก็คือ ที่สนามบินใน โตเกียวหรือโอซาก้า ล้วนแล้วแต่มผี โู้ ดยสารทีบ่ นิ ปีละเกินกว่า 100 ครัง้ จึงมีผู้มีสิทธิพิเศษเข้าแถวเต็มไปหมด สรุปแล้วไม่มีใครได้สิทธิพิเศษ เลยสักคน อีกตัวอย่างหนึ่งของการแยกแยะแบบครึ่ง ๆ กลาง ๆ ที่ห้างสรรพสินค้าเก่าแก่แห่งหนึ่ง มีการจัดห้องรับรองพิเศษส�ำหรับลูกค้า พิเศษที่ได้ดื่มน�้ำชากาแฟฟรี แต่ห้างต้องการคนให้มาใช้บริการมาก ๆ จึงขยายขอบข่ายกลุ่มลูกค้าเป้าหมายให้กว้างขึ้น ลูกค้าไปถึงมักจะ พบว่าที่นั่งเต็มต้องยืนรอ ลูกค้าคนส�ำคัญ ๆ ขอตัวกลับกันก่อน แทนที่ จะได้กลับต้องเป็นการสูญเสีย นี่คือตัวอย่างของการแยกแยะอย่าง ครึ่ง ๆ กลาง ๆ อย่างไรก็ตาม ในยุคสมัยนี้ต้องเปลี่ยนแปลงจาก “ยุติธรรม” เป็น “การแยกแยะ” มิฉะนั้นคงจะรักษาลูกค้าส�ำคัญ ๆ ที่ เป็นกลุ่มเป้าหมายไว้ไม่ได้ พฤติกรรมการบริการที่ท�ำให้ลูกค้าหลีกหนี ถึงแม้จะเรียกว่า เป็น Omotenashi ที่ประทับใจสไตล์ญี่ปุ่น 1. ระบบเก็บรองเท้า การน�ำไปยังห้องพัก การปูที่นอนของ Onsenryokan (โรงแรมสไตล์ญี่ปุ่นที่มีอองเซ็น) 2. การพูดคุยกับลูกค้าที่ร้านเหล้ามากเกินไป 3. การพูดคุยมากเกินไปในแท็กซี่ หรือร้านเสริมสวย 4. การต้อนรับที่สุภาพมากเกินไป (เช่น แคชเชียร์มีมารยาท มากเกินไป) 5. การห่อของมากเกินไปที่ห้างสรรพสินค้า 6. การเดินตามลูกค้า ในร้านขายเสื้อผ้า ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
Q
Strategy for
uality
ตอนที่ 4
(The Impact of Disruptive Technologies on Business Model and Competition)
เทคโนโลยีพลิกธุรกิจ...ชี้ชะตาโลก
ต่อจากฉบับที่แล้ว
ส�ำ
หรับตอนที่ 3 ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้อธิบายถึงเทคโนโลยีพลิก ธุรกิจและชี้ชะตาโลก ด้านดิจิทัล (digital) ซึ่งหลากหลาย อุตสาหกรรมได้น�ำไปใช้เพื่อรองรับพฤติกรรมผู้บริโภคยุค 4.0 และน�ำ ไปสู่การสร้างความแตกต่างให้กับธุรกิจ (business differentitation) ซึ่งดิจิทัล (digital) ได้มีบทบาทส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวิตของผู้คน รวมทั้งเปลี่ยนแปลงลักษณะในการท�ำธุรกิจและโมเดลทางธุรกิจไป อย่างมาก จะเห็นได้ว่าเส้นแบ่งระหว่างโลกดิจิทัลและโลกทางกายภาพ (physical) เริ่มที่จะแยกกันไม่ออก เช่น ธุรกิจแบบ Click-and-Mortar ที่ผสมผสานการท�ำธุรกิจแบบกายภาพและดิจิทัลเข้าด้วยกัน โดยมีทั้ง ช่องทางการขายแบบ Online และหน้าร้านที่ผสมผสานกันอย่าง ลงตั ว จะเห็ น ได้ ว ่ า การที่ เ ส้ น แบ่ ง ระหว่ า งโลกดิ จิ ทั ล และโลกทาง กายภาพที่แยกกันไม่ออกนี้เองเป็นสิ่งที่ส่งเสริมการสร้างโอกาสทาง
ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี ผู้บริหารและชำ�นาญการด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ อาจารย์พิเศษและวิทยากรหลายสถาบัน dr.chatchai.thnarudee@hotmail.com
ธุรกิจใหม่ ๆ ให้กับธุรกิจในโลกดิจิทัล ส�ำหรับตอนสุดท้ายนี้ ผู้เขียนจะมาอธิบายถึงเทคโนโลยีพลิก ธุรกิจและชี้ชะตาโลก ด้านสุดท้าย คือ ด้านการเชื่อมต่อระหว่างคน กระบวนการท�ำงาน สิ่งต่าง ๆ และระบบนิเวศของดิจิทัล (mesh) ด้านระบบนิเวศของดิจทิ ลั (mesh) ระบบนิเวศส�ำหรับธุรกิจใน ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก (ซึ่งแน่นอนที่สุด เกิดจาก แรงขับเคลือ่ นด้านเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ) สังคมของผูค้ นกับสิง่ แวดล้อม (เช่น กระบวนการท�ำงาน สิง่ ของต่าง ๆ รอบ ๆ ตัว สินค้าและบริการ พันธมิตร และคู่ค้าทางธุรกิจ หรือเพื่อการท�ำบางสิ่งบางอย่างร่วมกัน) มีการ เชื่อมต่อ ท�ำหน้าที่ร่วมกันและมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบมากขึ้น ดังนั้น Gartner ได้แบ่งเทคโนโลยีออกมา 4 อย่างที่อยู่ในด้านระบบ นิเวศดิจิทัล (รูปที่ 1) ดังต่อไปนี้ for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
31
Strategy Gartner
Top 10 Strategic Technology Trends 2017 Intelligent
Applied AI & Advanced Machine Learning
Intelligent Apps
Intelligent Things
Digital
Virtual & Augmented Reality
Digital Twins
Blockchains and Distributed Ledgers
Mesh
Conversational Systems
Mesh App and Service Architecture
Digital Technology Platform
Adaptive Security Architecture
gartner.com/SmarterWithGartner
Gartner ▲ รูปที่
Vol.24 No.224 November-December 2017
32
1 Top 10 Strategic Technology Trends 2017 (ที่มา: Gartner)
1. Conversational Systems ก็คือ ระบบอัจฉริยะที่ท�ำให้ คอมพิวเตอร์สามารถทีจ่ ะสือ่ สารและโต้ตอบกับผูค้ นได้เสมือนจริง เช่น Siri ของค่าย Apple หรือ Google Assistant จาก Google หรือ Alexa จาก Amazon หรือ Cortana จากค่าย Microsoft ซึ่งระบบดังกล่าวนี้ ไม่ได้เน้นแค่การโต้ตอบกับคนจากการรับฟัง แต่จะเน้นการคาดคะเน ความต้องการของมนุษย์จากการสื่อสาร ซึ่งท�ำให้สามารถเข้าใจถึง ความต้องการของผู้คนได้ในระดับลึกขึ้น รวมทั้งยังไม่ได้เน้นแค่การ สือ่ สารทีเ่ กิดจากข้อความหรือเสียงเท่านัน้ (text or voice) แต่จะสามารถ รับรูค้ วามต้องการของมนุษย์จากการสือ่ สารหลาย ๆ ช่องทาง เช่น รูปภาพ วิดีโอ แสงสี หรือแม้แต่การสัมผัส (ยกตัวอย่างเช่น ระบบ Internet of Things sensor ที่ใช้จับชีพจร ก็ถือเป็นการสื่อสารประเภทหนึ่ง) 2. Mesh App and Service Architecture แน่นอนเป็นอย่างยิ่ง ว่าสถาปัตยกรรมของการเขียนโปรแกรมเพื่อรองรับ Conversational Systems และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล (ที่กล่าวมาทั้งหมด) จ�ำเป็นจะต้องมี การปรับและเปลีย่ นแปลงเพือ่ ทีจ่ ะรองรับการท�ำงานจากช่องทางหลายๆ ช่องทางในระบบนิเวศด้านดิจิทัล (เช่น มาจากหลาย ๆ Devices ไม่ว่า จะเป็นจาก Smart Phone รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เนื่องจากอุปกรณ์ ต่าง ๆ มีลักษณะเป็น Internet of Things) ในมุมมองด้านเทคนิค เชิงลึกแล้วการออกแบบสถาปัตยกรรมและโครงสร้างของการพัฒนา โปรแกรมจะเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งรวมถึงบุคลากรด้านการ พัฒนาโปรแกรมจ�ำเป็นจะต้องเข้าใจเครื่องมือในการพัฒนาโปรแกรม ทีส่ ามารถท�ำงานบน Cloud และทีเ่ ป็นลักษณะการเขียนโปรแกรมแบบ Micro-Service เพื่อสร้างสถาปัตยกรรมที่เชื่อมโยงสิ่งต่าง ๆ ในระบบ นิเวศด้านดิจิทัลได้อย่างลงตัว
3. Digital Technology Platforms เป็นการสร้างและเชื่อมต่อ ระบบข้อมูลสารสนเทศ (information systems) ระบบประสบการณ์ ของลูกค้า (customer experience) ระบบการวิเคราะห์และข้อมูล ข่าวสาร (analytics and intelligence) และระบบอินเทอร์เน็ตของ สิง่ ต่าง ๆ (the Internet of Things) เข้าด้วยกันให้ได้อย่างลงตัว (seamless integration) ซึ่ง Mesh App and Service Architecture จะเป็น พื้นฐานในการเชื่อมต่อและสร้าง Digital Technology Platform นี้เอง Adaptive Security Architecture แน่นอนที่สุดสถาปัตยกรรม ของระบบความปลอดภัยเพื่อรองรับเทคโนโลยีด้านดิจิทัลที่กล่าวมา ทัง้ หมดนัน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทีร่ ะบบทุกอย่างจะเชือ่ มต่อกันอย่าง ไม่มีที่สิ้นสุดและไม่มีขอบเขต มีผลต่อระบบรักษาความปลอดภัยด้าน ดิจทิ ลั ทีจ่ ำ� เป็นจะต้องมีการปรับและเปลีย่ นแปลงเพือ่ ทีจ่ ะป้องกันและ ตามทันกับความเสีย่ งด้านไซเบอร์ (cyber risks) ยิง่ ไปกว่านัน้ ทีมรักษา ความปลอดภัยด้านดิจทิ ลั จ�ำเป็นต้องท�ำงานร่วมกับทีมพัฒนาแอพพลิเคชั่น และสถาปนิกขององค์กรเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบรักษา
ความปลอดภัยตั้งแต่ช่วงแรกของการพัฒนาระบบ (หลาย ๆ องค์กร ไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับระบบความปลอดภัยและกว่าจะสนใจด้านนีก้ ็ สายเกินไป) สุดท้ายนี้ผู้เขียนขออนุญาตแนะน�ำโดยอ้างอิงจากประสบการณ์ตรงด้านบริหารเชิงกลยุทธ์ที่ได้บริหารและท�ำมาในหลายบริษัท และหลายอุตสาหกรรมว่า.... การขับเคลื่อนองค์กรในยุคปัจจุบัน... ผูบ้ ริหารจ�ำเป็นต้องยอมรับว่าการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ จากพฤติกรรม ผู้บริโภค เทคโนโลยีที่ทันสมัยที่มีลักษณะที่เชื่อมต่อกันอย่างมาก และ จากการแข่งขันทางธุรกิจข้ามอุตสาหกรรมนั้น เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และผู้น�ำที่ดีจ�ำเป็นที่จะต้องมีความสามารถดังต่อไปนี้ เพื่อสามารถ น�ำพาองค์กรของท่านให้เติบโตและก้าวไปสู่องค์กรที่เข้มแข็งและมี บุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถในการมองและเข้าใจภาพรวม และ Mega Trends รวมถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ได้ (disruptive technologies) 1. ความสามารถในการคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงและหา โอกาสจากการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยงเรื่องราวต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อก�ำหนดวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ที่เหมาะสม 3. ความสามารถในการสร้ า งแรงบั น ดาลใจและท� ำ ให้ พนักงานในองค์กร รวมถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ สามารถเข้าใจถึง วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์กรที่ก�ำลังจะเดินไปสู่จุดหมายร่วมกัน 4. ความสามารถในการพัฒนาบุคลากรให้ขึ้นมาเป็นผู้น�ำ รุ่นต่อรุ่นได้อย่างต่อเนื่อง
Vol.24 No.224 November-December 2017
Strategy
33
Q
Report for
uality
อาหารแปรรูป ไทย ในตลาด CLMV ทิศทาง กองบรรณาธิการ
กสอ. เปิดสูตรปรุงอาหารจานเด็ด 5 ข้อ เผยรสชาติแบบไหนจะพิชิตใจผู้บริโภคปี 61
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) เผยอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปไทยยังคงมีการ เติบโตแม้ในปีที่ผ่านมาจะประสบอุปสรรคเล็กน้อย ชี้การผลิตอาหารแปรรูปในปี 2559 มีปริมาณรวมทั้งหมดกว่า 29.8 ล้านตัน โดยกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่มีการขยายตัวในด้านปริมาณ การจ�ำหน่ายมากที่สุด ได้แก่ ผักผลไม้ ธัญพืชและแป้งและผลิตภัณฑ์นม ส�ำหรับในปี 2560 คาดว่า อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจะยังคงมีทิศทางที่ดีขึ้น โดยมีปัจจัยส่งเสริม อาทิ ทิศทาง ท่องเที่ยวที่เป็นบวก ปัญหาภัยแล้งที่น้อยลง ซึ่งกลุ่มที่คาดว่าจะเติบโตมากที่สุด ได้แก่ กลุม่ อาหารพร้อมรับประทานและอาหารปรุงส�ำเร็จ กลุม่ น�ำ้ มะพร้าว และกลุม่ ขนมขบเคีย้ ว ทัง้ นี้ ยังได้เผยกลยุทธ์ การปรับตัวของผู้ประกอบการที่ต้องอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค 5 ข้อ ได้แก่ 1. เน้นความปลอดภัยและใส่ใจสุขภาพ 2. ใส่ใจบรรจุภัณฑ์ 3. ใช้นวัตกรรมและงานวิจัย 4. ไม่เคยมีสนิ ค้าในท้องตลาดและสามารถแบ่งปันได้ในสังคมออนไลน์ และ 5. กินง่ายมีขาย ทุกที่ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักในเรื่องของอารมณ์และเหตุผลการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า อุตสาหกรรมการแปรรูป อาหารถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมภาคการผลิตของไทยที่มีขีดความสามารถทางการแข่งขันสูง ▲
ดร.พสุ โลหารชุน
อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
34
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
Report อีกทัง้ ยังเป็นหนึง่ ในอุตสาหกรรมเป้าหมาย หรือ S-Curve ทีม่ สี ว่ นส�ำคัญต่อการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ซึ่งรัฐบาลและกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมมุ่งมั่นผลักดันภาคดังกล่าวให้ เป็น Food Hub หรือหุบเขาอาหารของโลก ในปีที่ผ่านมานั้นอุตสาหกรรมอาหารของ ไทยถือว่ายังคงมีศักยภาพในฐานะของประเทศผู้ผลิตและผู้ส่งออก โดยจากสถิติ พบว่า ปริมาณการผลิตโดยภาพรวมมีการหดตัวลงเล็กน้อย โดยมีผลผลิตรวมกว่า 29.8 ล้านตัน ซึ่งจากตัวเลขที่เกิดขึ้นและเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ยังนับว่าปริมาณ การผลิตตามจ�ำนวนดังกล่าวอยู่ในปริมาณที่มาก และเชื่อว่ายังเติบโตและพัฒนาได้ อีก โดยเฉพาะการเพิม่ ในเรือ่ งของการพัฒนาเทคโนโลยีกระบวนการผลิต การชูสนิ ค้า ให้น่าเชื่อถือด้วยนวัตกรรม การเชื่อมโยงงานวิจัยที่ช่วยให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ ตลอดจนการพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ทตี่ อ้ งมีความทันสมัยเพือ่ ให้กา้ วต่อในระดับสากลได้ มากขึ้น ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปที่มีปริมาณการผลิตมากที่สุดสามอันดับ แรก พบว่า อยู่ในสินค้ากลุ่มน�้ำตาลทราย อาหารสัตว์ และธัญพืชและแป้ง สินค้า ที่มีปริมาณการจ�ำหน่ายสูงสุด ได้แก่ น�้ำตาลทราย อาหารสัตว์และผลิตภัณฑ์นม อย่างไรก็ตาม กลุม่ ผลิตภัณฑ์ผกั ผลไม้ ธัญพืชและแป้ง และผลิตภัณฑ์นมกลับพบว่า มีการขยายตัวในด้านปริมาณการจ�ำหน่ายมากทีส่ ดุ โดยขยายตัวได้ 17.31%, 12.87% และ 4.57% ตามล�ำดับ ซึง่ มีสาเหตุสำ� คัญจากการฟืน้ ตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ รวมถึงภาคการท่องเทีย่ วและภาคบริการของไทยทีอ่ ยูใ่ นเกณฑ์ดี นอกจากนีส้ นิ ค้าใน กลุ่มกุ้ง ไก่ สับปะรดกระป๋อง รวมถึงผักผลไม้บางประเภทยังพบอีกด้วยว่ามีการ จ�ำหน่ายไปยังตลาดต่างประเทศในปริมาณที่สูงขึ้น อีกหนึง่ สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยทีม่ คี วามโดดเด่น และน่าจับตามองอีกกลุ่มหนึ่ง คือ กลุ่มสินค้าประเภทเครื่องดื่มในกลุ่มที่ไม่มี แอลกอฮอล์ ซึ่งในปีที่ผ่านมาพบว่ามีมูลค่าสูงถึง 1,153.40 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยตลาดที่ส�ำคัญ คือ ตลาด CLMV เนื่องจากในกลุ่มประเทศนี้มีการขยายตัว ทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้น รวมถึงการเพิ่มขึ้นของรายได้และก�ำลังซื้อของกลุ่มผู้บริโภค ชั้นกลางที่ท�ำให้กลุ่มสินค้าต่าง ๆ มีอุปสงค์ที่สูงตามมา ได้แก่ กลุ่มสาธารณูปโภค กลุ่มอาหารแปรรูป และกลุ่มสินค้าด้านการเกษตร โดยในด้านการขยายตัวของ กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ พบว่า ผู้บริโภคมีความต้องการและ ชื่นชอบสินค้าเครื่องดื่มบ�ำรุงก�ำลัง เครื่องดื่มสมุนไพร น�้ำผลไม้ กาแฟ/ชาพร้อมดื่ม นมถั่วเหลือง และนมพร้อมดื่ม ซึ่งเป็นผลมาจากการที่สินค้าจากไทยมีภาพลักษณ์ที่ ดีส�ำหรับกลุ่มประเทศเหล่านี้มาอย่างต่อเนื่องนั่นเอง ดร.พสุ กล่าวเพิ่มเติมว่า แนวโน้มและทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรม อาหารแปรรูปในปี 2560 เชื่อว่าจะมีการขยายตัวที่ดีกว่าปีที่แล้วอย่างแน่นอน เนื่องจากปัญหาภัยแล้งไม่ค่อยน่าเป็นห่วงหรือรุนแรงเท่ากับปีที่ผ่านมา ผนวกกับ สถานการณ์การท่องเที่ยวที่ยังคงสดใสและเป็นปัจจัยให้เกิดการบริโภคสินค้าหลาย ประเภทในปริมาณที่มากขึ้น รวมทั้งตลาดผู้บริโภคในระดับต่าง ๆ ที่อัตราก�ำลังซื้อยัง คงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมาตรการและนโยบายส่งเสริมจากภาครัฐ ไม่ว่า จะเป็นการผลักดันอุตสาหกรรมอาหารให้เป็นซุปเปอร์คลัสเตอร์ การมุ่งสู่ความเป็น เมืองแห่งนวัตกรรมและครัวของโลก การน�ำเทคโนโลยีเข้าสู่กระบวนการต่าง ๆ อย่าง ครบวงจร รวมถึงความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะร่วมสนับสนุนกัน
Vol.24 No.224 November-December 2017
แนวโน้มและทิศทางการเติบโตของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
35
Report
Vol.24 No.224 November-December 2017
ตั้งแต่ระดับต้นน�้ำไปจนถึงปลายน�้ำ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้จะเป็นเครื่องมือที่ ช่วยให้ภาพลักษณ์และมาตรฐานของอาหารไทยก้าวสู่ประสิทธิภาพ ระดับที่ดีมากขึ้น ทั้งยังจะช่วยให้มูลค่าของอุตสาหกรรมนี้มีการเติบโต โดยอาจสูงถึง 1 ล้านล้านบาทตามที่คาดการณ์ไว้ ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปที่คาดว่าจะมีการเติบโต อย่างสูงในปี 2560 – 2561 กสอ. คาดว่าจะอยู่ในกลุ่มอาหารพร้อม รับประทาน อาหารพร้อมปรุง โดยเฉพาะในตลาดอาเซียน สหรัฐฯ ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย เนือ่ งจากรสชาติและเอกลักษณ์ของอาหารไทยทีม่ ชี อื่ เสียง และได้รบั ความนิยมเป็นทุนเดิม รวมทัง้ การตอบสนองผูบ้ ริโภคได้อย่าง หลากหลาย ตามด้วยกลุ่มเครื่องดื่มโดยเฉพาะน�้ำมะพร้าว เนื่องจาก จุดเด่นในเรื่องของรสชาติ พร้อมด้วยการโฆษณาตามสื่อต่าง ๆ อีกทั้ง ความนิยมที่เพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยวที่ท�ำให้เกิดการขยายตัวอย่าง รวดเร็ว มีการคาดการณ์ไว้วา่ ในอีก 3 ปี การเติบโตของตลาดน�ำ้ มะพร้าว จะเพิ่มสูงถึง 27% คิดเป็นมูลค่า 2.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ ตลอดจน กลุ่มขนมขบเคี้ยวที่ในปีที่ผ่านมาเติบโตถึงกว่า 9.5% มีมูลค่าตลาด กว่า 3.9 หมืน่ ล้านบาท โดยในปีนอี้ าจจะขยับขึน้ เป็น 4.3 หมืน่ ล้านบาท ซึ่งสินค้าที่ได้รับความนิยมสูงสุด คือ มันฝรั่งทอดกรอบ สาหร่ายทะเล ปลาเส้น สินค้าจากถั่วลิสง อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปไทย จ�ำเป็นต้องติดตาม และหมั่นเข้าถึงกระแสผู้บริโภคอย่างสม�่ำเสมอ เนื่องจากเป็นกลไกส�ำคัญที่จะท�ำให้กระบวนการผลิตสินค้าแต่ละ ประเภทเกิดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการเข้าถึงตลาดใหม่ ๆ และการ มีขอ้ ได้เปรียบทีเ่ หนือกว่าคูแ่ ข่ง ทัง้ นี้ กสอ. ได้วเิ คราะห์ถงึ แนวโน้มความ ต้องการของผู้บริโภคที่จะเป็นปัจจัยสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์ส�ำหรับ ครึ่งหลังของปี 2560 และปี 2561 ได้แก่ 1. เน้นความปลอดภัยและ ใส่ใจสุขภาพ โดยต้องเน้นในเรื่องความเป็นธรรมชาติ 100% หรือใกล้ เคียง การลดรสชาติหรือสารปรุงแต่งบางประเภท อาทิ น�ำ้ ตาล โซเดียม ตลอดจนการเพิ่มคุณค่าด้วยการดัดแปลงสู่อาหารฟังก์ชั่น เป็นต้น 2. ใส่ใจบรรจุภัณฑ์ ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องส�ำคัญอย่างมาก เนื่องจาก แพ็กเกจจิ้งที่ดูสวยงาม แข็งแรงทนทาน มีการบอกเล่าเรื่องราวและ ให้ข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่ครบถ้วน จะช่วยให้เกิดการดึงดูดและส่งผลต่อ
36
จิตวิทยาในการเลือกซื้อได้เป็นอย่างดี 3. ใช้นวัตกรรมและงานวิจัย ส�ำหรับอาหารแปรรูป นวัตกรรมเป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งไม่ว่าจะทั้งใน กระบวนการผลิต ตัวสินค้า และหีบห่อบรรจุ โดยผลจากการใช้งานวิจยั หรือนวัตกรรมจะต้องให้ผบู้ ริโภครูส้ กึ ว่าบริโภคแล้วปลอดภัย เก็บไว้ได้ นาน และยังต้องเกิดความเชื่อด้านความคุ้มค่ากับการเลือกจ่ายสินค้า อีกด้วย 4. ไม่เคยมีสนิ ค้าในท้องตลาดและสามารถแบ่งปันได้ในสังคม ออนไลน์ ด้วยพฤติกรรมการเข้าถึงสื่อออนไลน์ที่เพิ่มอย่างไม่หยุดยั้ง อาหารจัดว่าเป็นสินค้าประเภทหนึ่งที่ผู้ใช้สังคมออนไลน์มักจะแบ่งปัน ข่าวสารให้บุคคลใกล้ชิดรับทราบ ทั้งนี้การท�ำให้ผู้บริโภครู้สึกได้ว่าเป็น บุคคลแรก ๆ ที่ได้บริโภค หรือเมื่อเกิดการแบ่งปันแล้วได้รับความนิยม ย่อมจะเป็นจิตวิทยาอีกประเภทหนึ่งที่ท�ำให้เกิดการบอกต่อโดยที่อาจ ไม่ตอ้ งเสียค่าโฆษณา และจะท�ำให้สนิ ค้าเป็นทีน่ ยิ มในช่วงเวลาหนึง่ อีก ด้วย 5. กินง่ายมีขายทุกที่ ด้วยสังคมที่เปลี่ยนไปสู่ความเร่งรีบ อาหาร พร้อมรับประทานเป็นสินค้าทางเลือกประเภทหนึ่งที่คนในสังคมเมือง เลือกบริโภคและยิง่ จะทวีความส�ำคัญมากขึน้ ในอนาคต อย่างไรก็ตาม แม้ว่าผู้บริโภคจะเน้นในเรื่องของความสะดวกและรวดเร็ว แต่ผู้ผลิตก็ ยังต้องใส่ใจในเรื่องของคุณค่า รสชาติ และรูปลักษณ์ ให้สอดคล้องกับ วิถชี วี ติ ทีม่ คี วามหลากหลายและไม่จำ� กัด รวมถึงในเรือ่ งของเหตุผลและ อารมณ์ซึ่งเป็นสองปัจจัยหลักในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้า
กสอ. กับการพัฒนา SMEs
ดร.พสุ กล่าวปิดท้ายว่า กสอ. ได้มุ่งพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ในกลุ่มอาหารแปรรูปมาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง โดยมี กิจกรรมหลักที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง คือ กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปและอาหาร ภายใต้โครงการยกระดับ ผลิตภัณฑ์ SMEs สู่ตลาดโลก (global reach) ซึ่งจะช่วยพัฒนา อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในทุกกระบวนการ เริ่มตั้งแต่งานวิจัย การ ผลักดันเรื่องนวัตกรรม การปรับปรุงกระบวนการผลิต การออกแบบ บรรจุภัณฑ์ รวมถึงการให้ค�ำปรึกษาในด้านกลยุทธ์การตลาด ซึ่งจะ ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการมีศักยภาพที่ดี สามารถเพิ่มมูลค่า และขยายสูช่ อ่ งทางตลาดระดับทีส่ งู ขึน้ ทัง้ นีใ้ นปีทผี่ า่ นมาได้กอ่ ให้เกิด สินค้าที่สามารถยกระดับด้วยนวัตกรรมหลากหลาย อาทิ น�้ำอ้อยก้อน นวัตกรรมการยืดอายุนำ�้ อ้อยในรูปแบบกึง่ ส�ำเร็จรูปทีช่ ว่ ยให้เก็บได้นาน แต่ยังคงไว้ซึ่งรสชาติเดิม ขนมครกอบกรอบ อาหารหวานแปรรูปที่ยัง คงรูปลักษณ์ และกลิน่ รสของขนมครกดัง้ เดิมไว้แต่มอี ายุการเก็บรักษา ยาวนานสามารถผลิตไว้ล่วงหน้าได้และจ� ำหน่ายเป็นของฝากบน โมเดิร์นสโตร์ น�้ำผลไม้พร้อมปั่น ที่สามารถเก็บรักษาได้ที่อุณหภูมิห้อง และมีบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม ส�ำหรับการจ�ำหน่ายให้กับผู้บริโภคที่ สามารถน�ำกลับไปปั่นรับประทานเองที่บ้านได้ เป็นต้น
Q
Marketing & Branding for
uality
Generation C ปรากฏการณ์ ใหม่เจนใหม่ จับอินไซต์คนคอนเนค ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ต่อจากฉบับที่แล้ว
ตอนที่ 4
กลุ่ม
Gen C เป็นกลุ่มคนที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตทุกที่ ทุ ก เวลา ผ่ า น Smart Phone หรื อ Tablet โดยที่ องค์ประกอบของคน Gen C มีสี่ด้าน คือ Connection, Curation, Creation และ Community จากการวิจัยการตลาดเพื่อเจาะลึกชาว Gen C โดย คุณจาฏุพัจน์ คงธนารัตน์ คุณนิดา มิตรศรัทธา คุณชีวิน เสาร์น้อย คุณณัฐกานต์ จันทรอ�ำไพวงศ์ คุณกฤติญา ประสงค์สุข คุณชนาการนต์ รุง่ เต่า คุณน�ำ้ ทิพย์ เนือ่ งกลิน่ คุณนรกมล แก้วฟอง และ คุณปรารถนา ติสวัสด์ นักศึกษาสาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยท�ำแบบสอบถามกับกลุม่ ตัวอย่างจ�ำนวน 741 คน พบว่า กลุ่มชาว Gen C นั้น จริง ๆ ยังสามารถแบ่งเป็นกลุ่มย่อย ๆ ได้อีก 4 กลุ่ม ดังนี้ for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
37
Marketing & Branding
Vol.24 No.224 November-December 2017
1. กลุ่ม Proactive Surfer จากผลวิจัยพบว่า กลุ่ม Proactive Surfer เป็นผู้หญิงมากถึง 75% และส่วนใหญ่อายุ 25-27 ปี โดยชาว Gen C ที่กลุ่มนี้อยากเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสังคมออนไลน์ ซึ่งสะท้อน มาจากพฤติกรรมของการกระหน�่ำกด Like โดยจะกด Like จากสิ่งที่ ตัวเองชื่นชอบและกด Like ตามเพื่อน เวลาที่เพื่อนกด Like อะไร จะมี การแสดงบนหน้า Feed พอกลุ่ม Proactive surfer มักจะกดตามทันที โดยบางทีอาจไม่รู้ด้วยซ�้ำว่าข้อมูลที่กด Like ไปนั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับ อะไร น่าสนใจมากน้อยแค่ไหน การกด Like เป็นการท�ำให้อิงกระแส ไปกับเพื่อน ๆ แต่คนกลุ่มนี้น่าจะถูกใจนักการตลาดเพราะเป็นกลุ่มที่ ชอบร่วมกิจกรรมกับแบรนด์ตา่ ง ๆ ทีน่ ยิ มให้กด Like กด Share เข้าร่วม กิจกรรมต่าง ๆ ที่ท�ำให้เป็นท�ำให้แบรนด์เป็นที่รู้จัก
38
2. กลุ่ม Explorer เราเรียกชาว Gen C กลุ่มนี้ว่า “นักส�ำรวจ” ชาว Gen C กลุ่มนี้นิยมหาค�ำตอบส�ำหรับสิ่งที่อยากรู้จากโลกออนไลน์ เท่านั้น เมื่อ กลุ่ม Explorer สนใจในเรื่องใด จะมีพฤติกรรมการค้นคว้า หาข้อมูลในเชิงลึก รวมไปถึงมีวิจารญาณไตร่ตรองสิ่งที่ตนเองจะแชร์ ต่อบน Social Media มาก นอกจากนั้นหลังจากการแชร์ข้อมูล กลุ่ม Explorer จะชอบรอการตอบกลับจากอื่น ๆ บนโลก Social Media ตัวอย่างเช่น ข่าวนักร้องดังที่มีการ Post รูปถ่ายรถหรู จนท�ำให้เกิด กระแสใน Social Media ว่าเป็นความจริงหรือไม่ หลังจากนั้นก็มี กลุ่มคนออกมาหาค�ำตอบพร้อมรูปและข้อมูลเพื่อหาความจริงแล้ว น�ำมาบอกต่อเพื่อน ๆ ใน Social Media 3. กลุ่ม Steam Adopter Gen C กลุ่มนี้ส่วนใหญ่ผลจากงาน วิจัยพบว่า เป็นผู้ชายมากถึง 67% โดยส่วนใหญ่อายุ 28-30 ปี โดยคน กลุม่ นีม้ ที ศั นคติวา่ อยากเป็นผูน้ ำ� บนโลกออนไลน์ และอยากเป็น Online Influencer
Marketing & Branding
5. กลุม่ Luker Gen C กลุม่ นีจ้ ากงานวิจยั พบว่า ส่วนใหญ่เป็น ผู้หญิง ซึ่งมีสัดสวนถึง 59% โดยผู้หญิงกลุ่มนี้อายุ 28-30 ปี แตกต่าง อย่างตรงกันข้ามกับกลุ่ม Original Creator เพราะกลุ่ม Luker จะเป็น
กลุม่ ทีไ่ ม่แสดงตัวตน จะเน้นการติดตามข่าวสารแต่จะไม่มกี ารกด Like กด Share ใด ๆ ทั้งสิ้น เน้นการ Connected เพื่อความบันเทิงเป็นหลัก โดยส่วนใหญ่จะเน้น การดูหนัง ฟังเพลง ผ่าน Youtube หรือเน้นการ ดูละครย้อนหลังออนไลน์เป็นหลัก รู้จัก New generation พันธุ์ Gen C มาบ้างแล้ว คงไม่แปลกใจ หาก For Quality ของเราจะปรับเปลี่ยนรูปแบบการน�ำเสนอข่าวสาร สาระ และบทความดี ๆ ผ่านรูปแบบใหม่ ๆ ให้โดนใจคน Connected นะคะ ผู้เขียนขอขอบคุณผู้อ่านและทีมงานทุกท่านที่ท�ำให้เราได้มา Connected กันคะ
Vol.24 No.224 November-December 2017
4. กลุ่ม Original Creator Gen C กลุ่มนี้จากงานวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง ซึ่งมีสัดสวนถึง 66% โดยผู้หญิงกลุ่มนี้อายุ 28-30 ปี กลุ่ม Original Creator นี้เป็นกลุ่มที่เชื่อว่า ชีวิตบนโลก Online และ Offline นัน้ เป็นชีวติ ทีเ่ หมือนกัน ดังนัน้ Gen C กลุม่ นีจ้ ะเป็นกลุม่ ทีแ่ สดง ตัวตนอย่างแท้จริง ในสิ่งที่ตัวเองเป็น เพื่อให้เพื่อน ๆ ได้รับรู้เรื่องราว กลุ่ม Original Creator นิยมใช้ Multi Screen ในการเชื่อมต่อ เป็นกลุ่ม ทีต่ ดิ Smart Phone มากทีส่ ดุ เรียกว่าได้ Smart Phone เป็นเหมือนหนึง่ อวัยวะของร่างกาย
39
Q
Special Scoop for
uality
Special Scoop
Special Issue
Q
Special Scoop for
uality
หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ ตัวอย่าง Creative Industry Village ในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์
กองบรรณาธิการ
กรม
ส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) เปิดแผนการพัฒนา เศรษฐกิ จ ฐานรากด้ ว ยการรุ ก บู ร ณาการการพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์ควบคู่ไปกับการท่องเที่ยวชุมชน จับมือ 10 หน่วยงาน/ องค์การรัฐบาล เร่งเดินหน้าปัน้ โครงการหมูบ่ า้ นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ หรือ CIV น�ำร่องพัฒนา 9 หมู่บ้านในปี 2560 ได้แก่ 1. ชุมชนออนใต้ จังหวัดเชียงใหม่ 2. ชุมชนน�้ำเกี๋ยน จังหวัดน่าน 3. ชุมชนบ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย 4.ชุมชนบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี 5. ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 6. ชุมชนประแส จังหวัดระยอง 7. ชุมชนบ้านศาลาดิน จังหวัดนครปฐม 8.ชุมชนเกาะยอ จังหวัดสงขลา และ 9. ชุมชน บ้านนาตีน จังหวัดกระบี่ โดยในเบื้องต้นได้จัดสรรงบประมาณกว่า 40 ล้ า นบาท พร้ อ มด้ ว ยโครงการเพื่ อ การยกระดั บ ศั ก ยภาพและ สร้างความเข้มแข็งให้กบั วิสาหกิจชุมชนอีกกว่า 10 โครงการ ทัง้ นี้ กสอ. ได้ตั้งเป้าเพิ่มหมู่บ้าน CIV ให้ครบทุกจังหวัดหรืออีก 67 หมู่บ้าน ทั่วประเทศไทยภายในระยะเวลา 5 ปี ซึ่งคาดว่าจะช่วยผลักดันให้เกิด มูลค่าอุตสาหกรรมชุมชน (OTOP) ในปี 2565 ได้กว่า 1 แสนล้านบาท
สุดยอดประเทศเกษตรกรรม คุณพรเทพ การศัพท์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า การท่องเที่ยวเป็นธุรกิจที่สร้างรายได้มูลค่ามหาศาลให้แก่ ประเทศเกษตรกรรมอย่างประเทศไทยมาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง โดยธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ วได้พฒ ั นามาไกลจนเกิดการบริการ ที่เชื่อมโยงกันและมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งสิ่งเหล่านี้ช่วยกระตุ้น ให้เศรษฐกิจชุมชนในระดับฐานรากทั้งด้านการผลิตสินค้าและการ
▲
คุณพรเทพ การศัพท์
รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
45
Vol.24 No.224 November-December 2017
Special Scoop
46
บริการ สามารถสร้างทัง้ โอกาสทางการตลาดและรายได้ให้กบั ประชากร ในระดับท้องถิ่น ดังนั้น กสอ. จึงเล็งเห็นความส�ำคัญดังกล่าวน�ำมา ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาด้วยการจัดตั้งโครงการพัฒนาหมู่บ้าน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry Village: CIV) ซึ่งมี เป้าหมายด�ำเนินการส่งเสริมการสร้างผลิตภัณฑ์และบริการด้วยการใช้ ทั้งองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม่ การออกแบบ และ ความคิดสร้างสรรค์ มาเชื่อมโยงกับทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญา พร้อมด้วยแหล่งท่องเที่ยวชุมชนของจังหวัด ซึ่งแนวคิดที่กล่าวมานี้ จะช่วยยกระดับให้วิสาหกิจชุมชนในท้องถิ่น สามารถไต่ระดับขึ้นไปสู่ SMEs ที่ ส ามารถพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ๆ ด้ ว ยนวั ต กรรมในเชิ ง สร้างสรรค์ มีการเพิม่ ผลิตภาพ การพัฒนามาตรฐานต่าง ๆ การรวมกลุม่ หรือคลัสเตอร์ ทั้งยังจะเป็นแนวทางการผสมผสานในหลากหลาย กิจกรรมที่จะช่วยให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจในรูปแบบใหม่ ๆ ให้กับ ประเทศไทยได้ต่อไป คุณพรเทพ กล่าวเพิ่มเติมว่า ส�ำหรับการพัฒนาโครงการ หมูบ่ า้ นอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในปี 2560 นี้ กสอ. จะด�ำเนินการพัฒนา
หมู่บ้านอุตสาหกรรมน�ำร่องรวมทั้งหมด 9 หมู่บ้าน ใน 9 จังหวัดที่มี เสน่ห์แตกต่างกันไปตามอัตลักษณ์ของชุมชน ประกอบด้วย 1. ชุมชน ออนใต้ จังหวัดเชียงใหม่ ชุมชนที่สืบเชื้อสายไทลื้อแคว้นสิบสอง ปันนา มีชื่อเสียงในด้านพระสายวัดป่า รวมทั้งผลิตภัณฑ์หัตถกรรม พื้นบ้าน อาทิ ไม้กวาดทางมะพร้าว เครื่องสังคโลก 2. ชุมชนน�้ำเกี๋ยน จังหวัดน่าน ชุมชนวิถีสมุนไพรที่ลดการใช้สารเคมี สามารถคิดค้น ผลิตภัณฑ์ได้กว่า 30 รายการ สร้างชือ่ สูส่ นิ ค้าสุขภาพในร้านสปาชัน้ น�ำ ระดับประเทศ 3. ชุมชนบ้านนาต้นจั่น จังหวัดสุโขทัย แหล่งท่องเที่ยว ชุมชนในอ�ำเภอศรีสัชนาลัย ที่มีจุดชมพระอาทิตย์และทะเลหมอก อันงดงาม มีสินค้าโอทอปขึ้นชื่อ อาทิ ผลิตภัณฑ์จากผ้าหมักโคลน เครื่องถมเงิน ข้าวเปิ๊ป 4. ชุมชนบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี พื้นที่ มรดกโลกทางอารยธรรม และเป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผาและ ผ้าทอมือ 5. ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี สถานที่ที่รู้จักกันดีใน ฐานะแหล่งชุมชนคนมอญ และมีชื่อเสียงในเรื่องของเครื่องปั้นดินเผา และขนมหวานอันเลื่องชื่อ 6. ชุมชนประแส จังหวัดระยอง แหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมโบราณของ เมืองท่าส�ำคัญฝั่งทะเลตะวันออก และเป็นแหล่งผลิตชาใบขลู่ รวมทั้ง ผลิตภัณฑ์จากการประมงทีห่ ลากหลาย 7. ชุมชนบ้านศาลาดิน จังหวัด นครปฐม จุดท่องเทีย่ วเชิงเกษตรริมคลองมหาสวัสดิ์ ทีม่ คี วามโดดเด่น ด้วยสวนพืชผลทางการเกษตรมากมายหลากหลายชนิด และมีสินค้า แปรรูปจากการเกษตรที่โดดเด่น อาทิ ผลิตภัณฑ์จากฟักข้าว ข้าวตัง จากข้าวซ้อมมือ เป็นต้น 8. ชุมชนเกาะยอ จังหวัดสงขลา เกาะที่มี ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติทั้งบนบกและในทะเลสาบ มีสินค้าอันโดดเด่น ได้แก่ ผ้าเกาะยอ และหนังปลากระพงทอดกรอบ และ 9. ชุมชนบ้านนาตีน จังหวัดกระบี่ ชุมชนมุสลิมแห่งอ่าวนาง แหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีชื่อเสียงระดับโลก สามารถผลิตสินค้าจน เป็นที่รู้จัก โดยเฉพาะผ้าบาติกเรือหัวโทงจ�ำลอง กระดาษใยสับปะรด
บูรณาการองค์ความรู้
การด�ำเนินงานตามนโยบายข้างต้น กสอ.จะร่วมบูรณาการ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค จ�ำนวน 10 หน่วยงาน/องค์การ ประกอบด้วย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ท.ท.ท.) และองค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การพัฒนาการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน (อ.พ.ท.) ซึ่งจะประสานความร่วมมือ โดยการแต่งตั้งคณะ กรรมการอ�ำนวยการและคณะท�ำงานขับเคลือ่ นการด�ำเนินงานโครงการ ในระดับจังหวัด โดยในเบื้องต้นได้จัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนา ไว้กว่า 40 ล้านบาท พร้อมด้วยโครงการและกิจกรรมเพื่อการยกระดับ ศักยภาพและสร้างความเข้มแข็งให้กับวิสาหกิจชุมชนอีกกว่า 10 โครงการ อาทิ โครงการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมชุมชน โครงการ พัฒนาและรวมกลุ่มผู้ประกอบการหนึ่งต�ำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นต้น อีกทั้งยังจะเข้าไปพัฒนาผู้ประกอบการและชาวบ้านในชุมชนด้วยการ ให้ความรูด้ า้ นแผนธุรกิจทีเ่ ชือ่ มโยงกับการท่องเทีย่ ว การบริหารจัดการ ด้านการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์เพื่อต่อยอดความน่าสนใจ ในผลิตภัณฑ์เดิม และผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ควบคู่ไปกับการพัฒนาการ
ท่องเทีย่ ว รวมทัง้ มุง่ ถ่ายทอดองค์ความรูด้ า้ นการพัฒนาสินค้าด้วยการ จัดท�ำผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ต้นแบบให้กับผู้ประกอบการ อาทิ เสื้อยืด หมวก กระเป๋าผ้า พวงกุญแจ สินค้าที่ระลึกอื่น ๆ รวมถึงการ ออกแบบโลโก้เพื่อที่ผู้ประกอบการจะได้น�ำองค์ความรู้เหล่านั้นไป ประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้มีความโดดเด่นและความ แตกต่างทั้งในเรื่องของรูปลักษณ์และคุณสมบัติการใช้งาน และที่ ส�ำคัญคือผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาแล้วต้องตรงกับความต้องการของตลาด ทั้งในประเทศและระดับสากล ทั้งนี้จากการด�ำเนินโครงการดังกล่าว กสอ. ได้ตั้งเป้าหมายในการเพิ่มหมู่บ้าน CIV ให้ครบทุกจังหวัดหรือ ครอบคลุม 67 หมู่บ้านทั่วประเทศไทยภายในระยะเวลา 5 ปี โดยในปี 2560 นี้ คาดหวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า โครงการหมู ่ บ ้ า นอุ ต สาหกรรม สร้างสรรค์ จะสามารถช่วยเพิ่มนักท่องเที่ยวให้เข้ามาในกลุ่มจังหวัด ดังกล่าวเพิ่มขึ้น ทั้งยังมุ่งหวังที่จะเพิ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนใหม่ ๆ ให้เพิ่ม ขึ้นกว่า 5% จากเดิมที่มีอยู่กว่า 1.2 แสนรายการ (ที่มา: รวมผลการ จ�ำหน่ายสินค้าหนึ่งต�ำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 กรมการพัฒนาชุมชน) โดยยังเชื่ออีกว่าหมู่บ้าน CIV เหล่านี้ จะช่วย ผลักดันให้เกิดมูลค่าอุตสาหกรรมชุมชน (OTOP) ในปี 2565 ไม่ตำ�่ กว่า 1 แสนล้านบาท จากเดิมในปี 2559 มีมูลค่ากว่า 8 หมื่นล้านบาท คุณพรเทพ กล่าวปิดท้าย อย่างไรก็ดี กสอ. ยังได้จัดกิจกรรมเยี่ยมชมพื้นที่ชุมชนบ้าน ศาลาดิน อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ซึ่งเป็นหนึ่งในหมู่บ้าน OTOP เพือ่ การท่องเทีย่ วของ จังหวัดนครปฐม และยังถือเป็นพืน้ ทีแ่ ห่ง การเรียนรู้ถึงวิถีชุมชนแห่งคลองมหาสวัสดิ์ที่อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ สามารถเที่ยวได้ตลอดทั้งปี และยังเป็นจุดท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มี เอกลักษณ์ด้วยสวนผลไม้มากมายหลากหลายชนิด อาทิ มะม่วง หมาก ขนุน กระท้อน กล้วย มะละกอ รวมถึงส้มโอ ผลไม้ชื่อดังของ จังหวัดนครปฐม นอกจากนี้ยังมีความโดดเด่นด้วยผลิตภัณฑ์ขึ้นชื่อ จากชุมชนไม่ว่าจะเป็นข้าวตังหลากชนิด สินค้าแปรรูปจากผลฟักข้าว ครบวงจร รวมทั้งผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปอีกมากมาย
Vol.24 No.224 November-December 2017
Special Scoop
47
Special Scoop
โครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ Creative Industry Village: CIV สัญลักษณ์
CIV หมายถึง ภูมปิ ญ ั ญาและความเจริญรุง่ เรือง ตัว C มาจาก ความอ่อนช้อยของรูปทรงเครื่องถ้วยโบราณ ตัว I เสมือนล�ำเทียนที่ให้ ความสว่างดุจปัญญา และตัว V หมายถึง การบรรจบกันของสายธาร ความคิดแล้วแตกยอดเจริญขึ้นอีก พื้นสีฟ้า แทนค่าความกว้างไกล ของชุมชนต่าง ๆ ในผืนแผ่นดินไทย
ความเป็นมา
รองนายกรัฐมนตรี นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ให้กระทรวง อุตสาหกรรมขยายผลโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เพื่อ สร้างแหล่งท่องเที่ยวในหมู่บ้านซึ่งจะช่วยดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้ามา จับจ่ายใช้สอย เป็นผลดีตอ่ ประชาชนในพืน้ ทีช่ นบท โดยให้ดำ� เนินการ ขยายผลไปในทุกจังหวัด ๆ ละ 1 แห่ง เพื่อเป็นต้นแบบ เน้นต่อยอด จากวั ฒ นธรรมและภู มิ ป ั ญ ญาที่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก และมี ชื่ อ เสี ย งอยู ่ แ ล้ ว กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม จึงก�ำหนดแนวทางการพัฒนาโดยใช้พื้นที่ เป็ น ตั ว ตั้ ง ในรู ป แบบการพั ฒ นาหมู ่ บ ้ า นอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ (Creative Industry Village: CIV) เพือ่ ด�ำเนินการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และบริการ โดยการใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม่ บนพื้นฐานของทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เชื่อมโยงกับ การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วชุมชนของจังหวัด ซึง่ เป็นแนวคิดทีส่ อดคล้อง กับนโยบายประเทศไทย 4.0
Vol.24 No.224 November-December 2017
แนวคิด
48
การสร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารบนพื้ น ฐานของทุ น วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ด้วยการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสมัยใหม่ เชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของ จังหวัด เป็นการสร้างโอกาสทางการตลาดและรายได้ให้แก่ชมุ ชน สร้าง มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของประเทศ ตามแนวนโยบายประเทศไทย 4.0
วัตถุประสงค์
1. วางรากฐานแนวคิดการน�ำทุนวัฒนธรรมและภูมิปัญญา มาประยุกต์ใช้ในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ 2. ส่งเสริมให้ชุมชนน�ำทุนวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของ นักท่องเที่ยว 3. สร้างโอกาสทางการตลาด และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน จากกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
เป้าประสงค์
ต้นแบบหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ Creative Industry Village: CIV ได้รบั การพัฒนาศักยภาพในการด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรม รองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทั้งด้านการบริหารจัดการการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการให้บริการทางการท่องเที่ยว จ�ำนวน 9 หมู่บ้าน
รูปแบบการด�ำเนินงาน
ด�ำเนินการในรูปแบบการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค จ�ำนวน 10 หน่วยงาน/องค์การ ประกอบด้วย กระทรวงอุตสาหกรรม มหาดไทย การท่องเที่ยวและ กีฬา วัฒนธรรม พาณิชย์ เกษตร สาธารณสุข สภาอุตสาหกรรม ท่องเทีย่ ว การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ท.ท.ท.) และองค์การบริหาร การพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การพัฒนาการท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (อ.พ.ท.) ประสานความร่วมมือโดยการแต่งตั้งคณะกรรมการอ�ำนวยการ และ คณะท�ำงานขับเคลื่อนการด�ำเนินงานโครงการในระดับจังหวัด
Q
Special Scoop for
uality
เปิดโลกทัศน์ ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น สู่ความท้าทายแห่งโลกธุรกิจในอนาคต
ความ
สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-ญี่ปุ่นเติบโตขึ้นจน ครบวาระ 130 ปี ในปี 2560 นี้ ซึ่งความแน่นแฟ้นที่ เกิดขึน้ ยิง่ ทวีคณ ู เมือ่ ย้อนหลังถึงความสัมพันธ์ของญีป่ นุ่ กับไทยในฐานะ มิตรเก่าแก่และหุ้นส่วนสมัยใหม่ และเป็นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ทาง เศรษฐกิจ ความมัน่ คงและการแลกเปลีย่ นประชาชน และย�้ำโอกาสของ ญี่ ปุ ่ น ในการขยายลงทุ น ในไทย โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ความแข็ ง แกร่ ง ของ เศรษฐกิจไทย นโยบายที่ให้ความส�ำคัญกับการเชื่อมโยงโครงข่ายใน ภูมิภาค โดยการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานในประเทศ รวมไปถึง โครงการต่าง ๆ อีกมากมายที่ญี่ปุ่นเล็งเห็นว่าไทยเป็นหนึ่งในมิตรแท้ที่ จะเชือ่ มโยงให้สองประเทศด�ำเนินกิจการสูค่ วามก้าวหน้าในอนาคตได้ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ร่วมด้วย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เล็งเห็นถึงความสัมพันธ์และกลไกในการ ขับเคลื่อนธุรกิจไทยสู่ความเป็นหนึ่งในภูมิภาค จึงได้จัดงานสัมมนา ภายใต้หัวข้อ “Reinventing Thailand – Japan in Decade of New Global Challenge” ด้วยวัตถุประสงค์ในการปรับประยุกต์โมเดลการ เติบโตของธุรกิจในรูปแบบใหม่ ๆ ทราบถึงประโยชน์และศักยภาพของ
กองบรรณาธิการ
ตลาดทุนในการรองรับการเติบโตของธุรกิจในอนาคต ส่งเสริมให้เกิด เป็นความร่วมมือ/แลกเปลีย่ นประโยชน์ระหว่างธุรกิจไทย-ญีป่ นุ่ ในการ ขับเคลื่อนต่อไปอย่างยั่งยืน และการเข้าถึงบทบาทของการให้การ สนับสนุนจาก Thailand-Japan Management Institute (TJMI) ส�ำหรับ บริษัทที่มีความสนใจร่วมท�ำธุรกิจกับผู้ประกอบการญี่ปุ่น หรือบริษัท ทีม่ กี ารประกอบการกับญีป่ นุ่ อยูแ่ ล้วในปัจจุบนั ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ผปู้ ระกอบการทั้งบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ทั้ง SET และ MAI ทราบถึงช่องทาง ในการเติบโตผ่านการร่วมมือกับผู้ประกอบการญี่ปุ่น ในด้านความร่วมมือต่าง ๆ อาทิ การร่วมมือด้านเครื่องจักร และ เทคโนโลยีในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นต้น ในโอกาสนี้นิตยสาร จึงขอเป็นส่วนหนึ่งในการถ่ายทอด องค์ความรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน อันจะเป็นการส่งเสริมและ สนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการไทยได้มองเห็นอนาคตทีส่ ดใสของการสร้าง เครือข่ายกับผู้ประกอบการญี่ปุ่นต่อไป
for Quality Vol.24 No.224 November-December 2017
41
Special Scoop
รศ.ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ นายกสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น)
การเปิดยุคใหม่ของการลงทุน
เป็นที่ทราบกันดีอยู่ว่าทุกวันนี้เศรษฐกิจของโลกไม่อยู่ในสภาพคล่องเท่าใดนัก แต่ภายใต้สถานการณ์นี้ ประเทศไทยก็ยังคงมีโอกาส เนื่องจากปัจจุบันนโยบายของประเทศญี่ปุ่นจะใช้ศัพท์ว่า Thailand+1 ซึ่งเป็น ความพยายามทีจ่ ะลงทุนในภูมภิ าคอาเซียน ประเทศไทยก็จะได้ประโยชน์จากตรงนี้ กล่าวได้วา่ ญีป่ นุ่ มีเป้าหมาย ทีจ่ ะใช้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางธุรกิจและอุตสาหกรรมหลากหลายด้าน จากข้อมูลปัจจุบนั มีบริษทั ญีป่ นุ่ ทีต่ งั้ อยูใ่ นประเทศไทยกว่า 1 หมืน่ บริษทั ทัง้ นีก้ ารทีผ่ ปู้ ระกอบการญีป่ นุ่ ตัง้ ใจประกอบธุรกิจในประเทศไทยนัน่ เป็น เพราะมีความสะดวก และประเทศไทยยังมียทุ ธศาสตร์ดา้ นท�ำเลทีต่ งั้ ทีด่ ี อีกด้านหนึง่ นัน่ คือ รัฐบาลญีป่ นุ่ ทีผ่ า่ นมาเน้น ให้บริษัทที่มีขนาดใหญ่ได้รับการลงทุนอยู่พอสมควร แต่ต่อจากนี้ไปเริ่มมีนโยบายที่จะส่งเสริมบริษัทขนาดกลางและเล็กเข้ามาลงทุนในภูมิภาคนี้ มากขึ้น โดยเฉพาะประเทศไทย ซึ่งเมื่อสถานการณ์เป็นเช่นนี้ก็จะเกิดการลงทุนมากขึ้น และเราก็จะได้รับกลุ่มธุรกิจใหม่ ๆ เข้ามามากขึ้น ประเทศไทยเองก็ต้องเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับการขยายตัวที่จะเกิดขึ้น ทาง สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) เองก็เตรียมรองรับ ผู้ประกอบการ โดยได้ท�ำงานควบคู่และได้รับการสนับสนุนจากตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้สมาคมฯ มุ่งพัฒนาทั้งในด้าน การบริหาร การตลาด และ เทคโนโลยี และพร้อมเป็นตัวกลางในการเชือ่ มโยงเทคโนโลยีจากญีป่ นุ่ เข้ามาสูป่ ระเทศไทย รัฐบาลเองก็สนับสนุนให้ประเทศไทยท�ำ Startup ใน ประเทศ CLMV รวมถึง EEC โดยสรุป คือ ทางสมาคมฯ พร้อมช่วยเหลือผู้ประกอบการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยเราอาศัยเครือข่ายทั้งใน ด้านการให้ความรู้ การอบรม และเป็นทีป่ รึกษาให้กบั ผูป้ ระกอบการทัง้ ไทยและทีม่ าจากญีป่ นุ่ ได้รจู้ กั กัน โดยจะมีกระบวนการดูแลเป็นราย ๆ ไป
คุณเกศรา มัญชุศรี
กรรมการและผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Vol.24 No.224 November-December 2017
การลงทุนของผู้ประกอบญี่ปุ่นในประเทศไทย
42
ขอเรียนในเบื้องต้นว่าไทยกับญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันมายาวนาน โดยในปีนี้ เป็นปีที่เราร่วมฉลองครบรอบความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 130 ปี หากพูดถึงพฤติกรรมของคนไทยกับญี่ปุ่น กล่าวได้ว่าเราเป็นเหมือนเพื่อนที่ดีต่อกัน ดังนั้น คนญี่ปุ่นจึงมีความสุขที่ได้เข้ามาท�ำงานในประเทศไทย จากสัมพันธภาพเหล่านีเ้ รายังพบว่า ประเทศไทยส่งออกสินค้าไปยังประเทศญีป่ นุ่ 9.5% (ตลาดใหญ่ คือ อาเซียน) ซึ่งการส่งเสริมการลงทุน หรือ BOI นั้น ประเทศญี่ปุ่นขอเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นในเรื่อง จ�ำนวนเงิน หรือจ�ำนวนโครงการต่าง ๆ ดังนั้น การด�ำเนินงานของสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ได้มีการจัด สัมมนาหรือกิจกรรมต่าง ๆ ทีม่ สี ว่ นในการเชือ่ มโยงกับประเทศญีป่ นุ่ เชือ่ ว่านีเ่ ป็นนิมติ รหมายทีด่ ี และสามารถท�ำให้การท�ำงานของหน่วยเศรษฐกิจ หรือบริษัท หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นไปได้อย่างส�ำเร็จสมประสงค์ ส�ำหรับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมีบริษัทจดทะเบียนของไทยที่เข้าไปลงทุนในประเทศญี่ปุ่น และกลุ่มงานที่เข้าไปลงทุน จ�ำนวนมาก คือ กลุ่มธุรกิจเกี่ยวกับพลังงาน อาทิ พลังงานแสงอาทิตย์ ถึงแม้ว่าในประเทศญี่ปุ่นจะมีพื้นที่น้อย แต่ความต้องการในเรื่องพลังงาน ยังมีจ�ำนวนมาก จากสถิติกว่า 20 บริษัทในตลาด SAT และอีก 10 บริษัทในตลาด MAI ที่เข้าไปลงทุนในประเทศญี่ปุ่น นี่จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ ที่เราให้ความส�ำคัญกับ Demand ด้านพลังงานของประเทศญี่ปุ่น แต่ในทางกลับกัน บริษัทญี่ปุ่นที่จะเข้ามาจดทะเบียนในประเทศไทยยังคงมี จ�ำนวนน้อย เนือ่ งจากบริษทั ญีป่ นุ่ ทีเ่ ข้ามาตัง้ ในประเทศไทยนัน้ ถือว่าเป็นสาขาของประเทศญีป่ นุ่ แทบทัง้ สิน้ แต่ยงั ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ นี่จึงเป็นเรื่องที่เราต้องท�ำงานร่วมกันในเรื่องที่จะโน้มน้าวใจผู้ประกอบการว่าเมื่อจดทะเบียนกับประเทศไทยแล้วจะได้อะไร
Special Scoop
ดร.ทนง พิทยะ
อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ทุกวันนี้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะทางด้านการเงิน ผมจึงได้วิเคราะห์ออกมาว่ามีประเด็นหลักอยู่ 6 ข้อ ได้แก่ ➠ Derivative Product and the Sub-Prime Crisis เป็นจุดเริ่มต้นที่มองเห็นว่าเราอยู่บนโลกแห่งการบริหารความเสี่ยง โลกของการ เคลื่อนย้ายทุน และความเสี่ยงเหล่านี้สามารถก่อให้เกิดวัฏจักรทางธุรกิจที่เกิดวิกฤตทางธุรกิจได้ตลอดเวลา จากการพัฒนาสินค้าที่เป็นตราสาร ต่าง ๆ ดังนั้น ตราสารต่าง ๆ จึงมีทั้งประโยชน์และโทษ ➠ Investment Banking and M&A เป็นการขยายตัวของธุรกิจซึ่งมีหลายอย่างที่บอกว่า ธุรกิจหากรวมตัวกันได้ และรวมตัวกันในทางที่ ถูกต้องมันจะสร้างพลังร่วม ท�ำให้สองฝ่ายที่รวมตัวกันนั้นได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งในทางทฤษฎีเป็นเรื่องที่น่าสนใจและในทางปฏิบัติก็เป็น เรื่องที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ดังนั้น เรื่อง Investment Banking จึงเป็นหัวใจของการท�ำงาน ธุรกิจยักษ์ใหญ่ในประเทศไทยก็สนใจ M&A เพราะเป็น ส่วนช่วยธุรกิจให้ได้ก�ำไรมหาศาล แต่สิ่งส�ำคัญที่สุด คือ ถ้าหากไม่มี SME ก็จะไม่มี M&A ➠ Interest Rates Foreign Exchange Rate and Liquidity Policy Management จากวิกฤตทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ซึ่งเราเน้น เฉพาะนโยบายอัตราดอกเบีย้ แล้วใช้อตั ราแลกเปลีย่ นแบบคงที่ ท�ำให้ตอ้ งประสบกับวิกฤตเศรษฐกิจ เนือ่ งจากเราไม่สามารถควบคุมการไหลเข้า ออกของเงินได้ เราไปเปิดเสรีการไหลออกของเงิน ทั้ง ๆ ที่อัตราดอกเบี้ยคงที่ เพราะฉะนั้นทั่วโลกทั้งอัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน อัตราการ ไหลเข้าออกของเงินของโลกจึงเป็นเสรี แต่เป็นเสรีแบบที่มีการจัดการ ส่วนประเทศไทยมีธนาคารแห่งประเทศไทยและสถาบันการเงินต่าง ๆ คอยดูว่าทั้ง 3 ตัวนี้ต้องสอดประสานกันโดยไม่มีการเก็งก�ำไรเกินควร หากมีการเก็งก�ำไรมากเกินควรเมื่อใดก็จะมีการตัดไฟแต่ต้นลมทันที ➠ Commodity Price Movement and the Financial Markets การเคลื่อนไหวของราคาสินค้า ทอง ทองค�ำ เงิน ไม่ได้แยกขาดจากตลาด การเงินอีกต่อไปแล้ว ตลาดทองจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพตลาดทางการเงิน ➠ Digital Technology and Fintech นี่เป็นสิ่งซึ่งท�ำให้เราเริ่มมองว่าโลกก�ำลังท�ำอะไร ทั่วทั้งโลกเมื่อมีการบริหารทางการเงินหรือ บริหารในส่วนอื่น ๆ ในภาคธุรกิจ สิ่งที่ต้องตระหนัก คือ ความถูกต้อง ความรวดเร็ว นี่คือหัวใจส�ำคัญของการท�ำธุรกิจ ดังนั้น หากเราสามารถท�ำ อะไรได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องแม่นย�ำได้มากกว่าคนอืน่ เมือ่ นัน้ เราจะเป็นผูช้ นะ เพราะฉะนัน้ ธนาคารพาณิชย์ของไทยจึงมีความถูกต้องแม่นย�ำ สูงมาก แต่ความรวดเร็วและสะดวกยังน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับจ�ำนวนคน และความต้องการของคน ต่อมาจึงมีคนมาประยุกต์เทคโนโลยีและ เกิดเป็น Fintech ขึ้น นี่เป็นกลไกที่มาเร็วและมาแรงมาก ➠ Bit Coin as a New Digital Currency นี่คือเงินดิจิทัล ไม่มีเงินที่เป็นกระดาษ ไม่มีสกุลเงินอีกแล้ว ไม่มีอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่จะมี Bit Coin ที่สามารถน�ำไปซื้อหาแลกเปลี่ยนได้ทั่วโลก เป็นการสร้างความคล่องตัวของโลกที่เหลือเชื่อ แต่ทุกวันนี้ธนาคารกลางของทุก ประเทศยังแบ่งรับแบ่งสู้กันอยู่ และยังไม่สามารถออกเป็นกฎหมายที่ยอมรับกันได้ แต่ก็เริ่มที่จะมีคนขาย ซึ่งขณะนี้ยังไม่ควรเล่น เนื่องจาก ควรรอให้สถาบันการเงินของโลกยอมรับเสียก่อน
Vol.24 No.224 November-December 2017
Thailand Positioning in the Changing Global Financial Landscape: The Case of SMEs
43
Special Scoop
Dr. Prof. Otsuji Yoshihiro
Vice Chairman of Institute for International Economic Studies National Graduate Institute for Policy Studies
Vol.24 No.224 November-December 2017
New Dimension of Future Cooperation between Japan & Thailand
44
ทีผ่ า่ นมาผมมีสว่ นรับผิดชอบและท�ำงานกิจการด้านวินจิ ฉัยใน Shindan โดยมีภารกิจหลักในการให้คำ� ปรึกษาสถานประกอบการโดยเฉพาะ SME ให้ผ่านพ้นอุปสรรคต่าง ๆ เพื่อก้าวสู่ขั้นตอนที่จะพัฒนาและช่วยเหลือให้ SME เติบโตขึ้นต่อไป ดังนั้น ผมจึงต้องดูแลด้านสถานะทางการเงิน ด้านการบัญชี การด�ำเนินงาน ให้ค�ำปรึกษาเพื่อให้ SME ได้ประโยชน์ ส�ำหรับการช่วยเหลือทางการเงินเป็นปัจจัยที่ SME ต้องเผชิญแน่นอนที่สุด จากประสบการณ์ที่ผ่านมาพบว่า นักวินิจฉัยของไทยมีความช�ำนาญมากกว่าญี่ปุ่น เนื่องจากญี่ปุ่นไม่มีการพัฒนาในเรื่องนี้มากว่า 50 ปี อีกทั้งประเทศไทยยังมีการเชื่อมโยงเครือข่าย ดังนั้น อุปสรรคและปัญหาที่เกิดขึ้นของ SME ทั้งสองประเทศจึงมีความแตกต่างกัน ปัญหาของ SME ญี่ปุ่น คือ 1. ประชากรหดตัว ส่งผลให้ SME มีจ�ำนวนลดลง 2. ไทยก้าวเข้าสู่ Thailand 4.0 การเพิ่มศักยภาพ SME รูปแบบ Venture จึงเปลี่ยนไป 3. SME ญีป่ นุ่ มีความพยายามปรับตัว ประชาชนในวัยท�ำงานมีจำ� นวนจ�ำกัด มีคนสูงอายุจำ� นวนมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านแรงงาน ที่เหมาะสม ซึ่งปัญหาเหล่านี้ก็สามารถเกิดขึ้นในประเทศไทยได้เช่นเดียวกัน แต่ SME ญี่ปุ่นยังมีโอกาส เพราะเมื่อมีผู้สูงอายุก็จะเกิดตลาดเพื่อ ผูส้ งู อายุมากขึน้ และกลุม่ คนเหล่านีม้ กี ำ� ลังซือ้ ท�ำให้มคี วามก้าวหน้ากว่าประเทศอืน่ ในเอเซีย อีกทัง้ ทีผ่ า่ นมาประเทศญีป่ นุ่ เคยมองเพียงแค่ตนเอง แต่ปัจจุบันเริ่มปรับตัวและมองประเทศอื่น ๆ มากขึ้น จึงเริ่มมีการเชื่อมโยงกับประเทศอื่นมากขึ้นทั้งในด้านบุคลากรและเทคโนโลยี นี่จึงเป็นความ ท้าทายที่เกิดขึ้นระหว่าง SME ไทยและญี่ปุ่นที่จะท�ำงานร่วมกันได้ เพราะมีโอกาสที่มองเห็นว่าเป็นจริงได้ในระยะสั้น ได้แก่ 1. AEC ตลาดไทยจะขยายตัวจาก 60 ล้านคน เป็น 300 ล้านคน เช่นเดียวกับญี่ปุ่นที่ต้องลองบุกเบิกตลาดในอาเซียน 2. CLMV ในอดีตเป็นเพียงยุทธศาสตร์เท่านั้น แต่ปัจจุบันเป็นรูปธรรมมากขึ้น 3. ธุรกิจด้านการบริการ มีการพัฒนา ตลาดเจริญเติบโตขึ้นมาก และตลาด CLMV ก็จะเติบโตตามมา สิ่งหนึ่งที่ท�ำให้ SME เติบโตได้ นั่นคือ นโยบายทางการเงิน ได้แก่ 1. วิธีการ/แนวความคิดที่ปล่อยกู้ การให้บริการทางการเงินจะเป็นลักษณะน� ำอสังหาริมทรัพย์มาจ�ำนอง ปัจจุบันสามารถน�ำ อสังหาริมทรัพย์มาจ�ำน�ำได้ (personnel property) ข้อดี คือ SME กับธนาคารจะได้มีสัมพันธภาพที่ดีขึ้น 2. ความส�ำคัญของ StartUp ตามนโยบายของภาครัฐ ส�ำหรับ SME การแข่งขันสากลทีจ่ ะเอาชนะจะท�ำตามล�ำพังไม่ได้ ต้องสร้างมูลค่า เพิ่ม ที่เซิ่นเจิ่นมีตัวอย่างที่ดี เพราะมีการน�ำบริษัทมารวมกันอยู่ในเมืองเป็น Silicon Valley ซึ่งเหมาะกับประเทศไทยเช่นกัน ทั้งนี้ประเทศญี่ปุ่นก็ อยากให้ประเทศไทยท�ำเช่นนี้ให้ได้ 3. การจ�ำน�ำหลักทรัพย์เป็นสิ่งที่ท้าทาย เพราะมีคอนเซ็ปต์เรื่องทรัพย์สินทางปัญญา 4. การให้ความส�ำคัญกับ Corperate Governance ต่อยอดให้ SME เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ได้ ข้อแนะน�ำที่อยากจะฝาก SME ไทย นั่นคือ 1. ไม่ควรน�ำแนวคิดของญี่ปุ่นมาใช้ แต่ควรปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์ 2. ไทยและญี่ปุ่น จะต้องร่วมมือกัน รวมถึงต้องแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนระหว่างกัน เพื่อเป้าหมายสู่การเติบโตไปพร้อม ๆ กัน
ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine
Download Form: www.tpaemagazine.com
ในนาม
1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................
นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................
จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................
ระดับการศึกษา
ต่ำกวาปริญญาตรี
จัดสงใบเสร็จรับเงินที่
ปริญญาโท
ปริญญาตรี
จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร
ปริญญาเอก
จัดสงตามที่อยูดานลาง
ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด
เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com) บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท. รานคา .................................... นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ) อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)
ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ
อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส
ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)
ผูสงออก
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต
ผูจัดจำหนาย
หนวยงานราชการ
อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร
วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่
เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย
PR_NW
สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th