www.tpaemagazine.com
For
Quality Management
March-April 2016 Vol.22 No.214
Magazine for Executive Management
เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย
Biomedical
Test Equipment
RIGEL 288+
Electrical Medical Safety Analyzer
เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟา รองรับการจัดการ Asset Management การทดสอบแบบ Auto Sequence ไมตองจดบันทึกขอมูลในภาคสนาม บันทึกขอมูลในตัวเครื่อง มีรายงานตามมาตรฐานสากล
ดูเคร�องทดสอบ รุนอ�นๆ ภายในเลม... RIGEL เปนผูผลิตเครื่องมือสอบเทียบทางการแพทย จากประเทศอังกฤษ ที่ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันคุณภาพและความเชื่อมั่น
RIGEL Uni Sim Vital Signs Simulator
เครื่องทดสอบวิเคราะหเครื่องวัดสัญญาณชีพ 6 อยาง ในเครื่องเดียว
IMT PF300 Ventilator & Anesthesia Analyser เครื่องวิเคราะหประสิทธิภาพ เครื่องชวยหายใจและเครื่องรมยาสลบ
สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณสุทธิรัตน 08-2003-6661, คุณมนัสนันท 08-7714-3630
ลดตนทุน แต ไมลดคุณภาพ การประเมินความเสี่ยงสิ่งปอนเขา และบริการเพ�อการจัดการผูขาย
Special Issue
Business Strategy: Case from Japan: Sony จะกลับสูยุครุงเรืองไดอีกหรือไม ยุทธศาสตรการพัฒนาเศรษฐกิจในฐานะศูนยกลางของภูมิภาค
“โมเดลขับเคล�อนเศรษฐกิจดิจิทัลไทย”
www.measuretronix.com/ rigel-biomedical
เคร�องวัดและบันทึก (Data Logging)
อุณหภูมิและความชื้นที่มอนิเตอรผานอินเตอรเน็ตได รุน HMT140 เช�อมตอดวย WiFi สะดวกติดตั้ง
HMT 140
วัดและบันทึกอุณหภูมิ และความชื้น
เปนดาตาล็อกเกอรแบบไรสาย สำหรับ วัดและเก็บขอมูลอุณหภูมิ, ความชื้น และสัญญาณอะนาล็อก ในงานมอนิเตอร สภาพแวดลอมในหองคลังสินคา, หองแชแข็งอาหาร, ถังแชแข็ง ดวยไนโตรเจน, หองปฎิบัติการ, ธนาคารโลหิต, และงานทางวิทยาศาสตร
เชื่อถือไดอันดับหนึ่ง สงขอมูล ผานระบบ Wi-Fi มอนิเตอร ขอมูล, บันทึก, แจงเตือน เช�อมตอกับ เน็ตเวิรกที่มีอยู
มีรุนที่มีจอในตัว และรุนแยกโพรบวัด ใชงานรวมกับ Veriteq Power over Ethernet
รุน DL2000 Series
มอนิเตอร ระยะไกล ผานอินเทอรเน็ต
DL2000
วัดไดหลายจุดพรอมกัน มาตรฐาน cGMP
เปนเคร�องวัดและเก็บบันทึกขอมูลหรือ ดาตาล็อกเกอรสำหรับอุณหภูมิและความชื้น ที่ออกแบบมาใหสอดคลองตามขอกำหนด ในงานอุตสาหกรรม / เภสัชกรรมโดยเฉพาะ ดวยมาตรฐาน NIST-traceable, ISO/IEC 17025 calibration, วัดคาไดตามมาตรฐาน cGMP-compliant
แจงเตือนระยะไกล ทางโทรศัพท
ใชงานรวมกับ Veriteq Power over Ethernet เพ�อเช�อมตอกับเน็ตเวิรกที่มีอยูได
ตูแชเย็นจัด
ตูเย็น
เตาอบ
ผูนำเคร�องมือวัดอุณหภูมิ ในอุตสาหกรรมอาหารระดับโลก
A Fluke Company เคลือบสารปองกันแบคทีเรีย BioCote® ปลอดภัยมั่นใจ ไดรับการรับรองมาตรฐาน HACCP นานาชาติ ใชงานไดในที่เปยกชื้น กันน้ำและกันฝุน
COMARK RF500 Wireless System
Comark N5001 USB HACCP Auditor
เคร�องมือชวยงานตรวจสอบ HACCP โดยกำหนด ขั้นตอนดวยซอฟตแวรแลวใหผูใชงานปฏิบัติตาม ไดโดยงาย
Comark N9094 USB Water Proof Thermometer สำหรับวัดอุณหภูมิภายใน
ผลิตภัณฑอาหาร กันน้ำกันฝุน จอแสดงผล LCD ใชงานงาย
Comark RF500 เปนชุดเคร�องมือสำหรับมอนิเตอรอุณหภูมิและความชื้น
หลาย ๆ จุดพรอมกันตลอด 24ชม./7 วัน สำหรับติดตั้งในหองแชเย็น โรงงาน และอ�น ๆ โดยสงขอมูลดวยระบบไรสาย เพ�อรวบรวมและประมวลผล แจงเตือนเหตุการณไมปกติแบบ Real-time
Comark N2000 Series Data Logger เก็บขอมูลได
หลายแชนเนล ทั้งอุณหภูมิ และความชื้น มีรุนอุณหภูมิสูง
สนใจติดตอ : คุณวิชัย ตันติพิมพกุล 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ visala-comark
ูง ส เครื่องมือตรวจวัดสภาพแวดลอมในอาคาร พ ง ภา มแพ Indoor ENVironmental Quality (IEQ) คุณ คาไ า ร
สภาพแวดลอมที่สบายและมีสุขอนามัยที่ดีนั้น เกิดจากสัดสวนที่เหมาะสมของอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ การถายเทอากาศ ระดับแสงสวางที่พอดี และความดังเสียงรบกวนต่ำ
Indoor ENVironmental Quality (IEQ)
นั้นก็คือการวัดหรือประเมินคาที่เกี่ยวของ กับคุณภาพของสิ่งแวดลอมในอาคาร ซึ่งไดแก คุณภาพอากาศ (air quality), การหมุนเวียน ระบายอากาศ (ventilation), อุณหภูมิที่สบาย (thermal comfort), แสงสวาง (lighting) และความดังของ เสียงรบกวน (noise)
Metrel MI 6201 Multinorm เคร�องวัดสภาพแวดลอม หลายพารามิเตอรและวัดเสียง MI 6201 Multinorm เปนการรวมเครื่องวัดสภาพแวดลอมหลายพารามิเตอร และเครื่องวัดเสียงเขาไวดวยกัน ในเครื่องเดียว มีความสามารถในการวัด Temperature difference (option) Black globe radiant temperature (option) Air temperature K thermocouple temperature (option) CO and CO2 concentration (option) Air velocity Illuminance Sound level Air flow Luminance (option) Real time 1/1 and Relative humidity 1/3 octave analysis Contrast (option) Dew point ซอฟตแวรบน ●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
●
MI6201 Multinorm มี 3 รุนยอยคือ
MI 6201PR เปนการรวม MI 6401EU เขากับ SLM class1 รุน MI 6301PR ซึ่งจะได Full ISO certificate of calibration และมี PC Software สองชุดคือ SensorLink Pro + SoundLink Lite สำหรับออกเอกสารรายงาน MI 6201EU เปนการรวม MI 6401EU เขากับ SLM class2 รุน MI 6301EU ซึ่งจะได Full ISO certificate of calibration และมี PC Software สองชุดคือ SensorLink Pro + SoundLink Lite สำหรับออกเอกสารรายงาน MI 6201ST เปนการรวม MI 6401EU เขากับ SLM class2 รุน MI 6301EU แตจะได Certificate of calibration ธรรมดาและมี PC Software สองชุดคือ SensorLink Pro + SoundLink Lite สำหรับออกเอกสารรายงาน
PC ความสามารถสูง
SensorLink PRO สำหรับเก็บบันทึกคาวัดตอเนื่องเพื่อการวิเคราะห ทำกราฟ และออกเอกสารรายงาน SoundLink LITE สำหรับดาวนโหลด ดูขอมูล และสงออกขอมูล ไปยังแอพลิเคชั่นอื่น พรอมความสามารถเสริมในการวิเคราะห ความถี่ ทำกราฟ และจัดทำรายงาน
เคร�องวัด Indoor ENVironmental Quality รุนอ�นๆ MI 6301 FonS
MI 6401 Poly
เครื่องวัดเสียงแบบแยกความถี่ เครื่องวัดสภาพแวดลอมหลายพารามิเตอร ความแมนยำระดับ IEC1672 (ISO61672) Class1 ยกเวนเสียง สามารถวัดพารามิเตอรตอไปนี้ : Air temperature/multipoint สามารถวัดและบันทึกผลการวัดระยะยาว Air velocity/multipoint/mass flow calculations แบบ Integrating SLM กับคาพารามิเตอร Relative humidity/dew point เสียงทางสิ่งแวดลอมหลักๆ ทุกตัว Illuminance ● ● ● ●
สนใจติดตอ : คุณสารกิจ 08-1641-8438, คุณมนัสนันท 08-7714-3630, คุณอิทธิโชติ 080-927-9917 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ ieq
ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector
2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
Quality Management Vol.22 No.214 March-April 2016
Contents Quality of Life 26 โรคจอประสาทตาหลุดลอก
โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว
27
โรคกระดูกพรุน ภัยเงียบที่ป้องกันได้ หากเริ่มดูแลตั้งแต่วันนี้
โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์
ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
Advertorial 29
23 27
Service Value Stream Management (SVSM): การประยุกต์ใช้ แนวคิด Lean ในอุตสาหกรรมบริการ
โดย ผศ.สมจิตร ลาภโนนเขวา
Special Issue 34
TARAD.com ผู้น�ำแห่งธุรกิจ e-Commerce
38
29 Cover Story 8 เครื่องทดสอบเครื่องมือทางการแพทย์ Biomedical Test Equipment
โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
Quality Tools 20 ลดต้นทุน แต่ไม่ลดคุณภาพ โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์
Quality for Food 23 การประเมินความเสี่ยงสิ่งป้อนเข้าและบริการเพื่อการจัดการผู้ขาย
Input and Service Risk Assessment for Supplier Management โดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย
41
โดย กองบรรณาธิการ
Quality Management Quality Finance 43 ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจ
ในฐานะศูนย์กลางของภูมิภาค
Quality System
ลาซาด้า ประเทศไทย ห้างสรรพสินค้าชอปปิ้งออนไลน์ แบบครบวงจร
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine
Download Form: www.tpaemagazine.com
ในนาม
1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................
นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................
จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................
ระดับการศึกษา
ต่ำกวาปริญญาตรี
จัดสงใบเสร็จรับเงินที่
ปริญญาโท
ปริญญาตรี
จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร
ปริญญาเอก
จัดสงตามที่อยูดานลาง
ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด
เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com) บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท. รานคา .................................... นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ) อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)
ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ
อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส
ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)
ผูสงออก
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต
ผูจัดจำหนาย
หนวยงานราชการ
อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร
วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่
เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย
PR_NW
สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th
Quality Management Vol.22 No.214 March-April 2016
Contents 45
Quality Strategy 45 Business Strategy: Case from Japan
48
Sony จะกลับสู่ยุครุ่งเรืองได้อีกหรือไม่ ตอนที่ 1
โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์
Quality Marketing & Branding 48 มาก่อน...ดังก่อน
โดย ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย
50
การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา Best Practice ตอนที่ 3
โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์
Quality People 53 เคล็ดลับเป็นนักบริหารยุค AEC โดย รศ.สุพตั รา สุภาพ
53
Quality Movement Quality Book Guide
57
Quality Movement
58
Advertiser Index
62
Editor’s Talk ปฏิเสธ
ไม่ได้เลยว่าทุกวันนี้ด้วยวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้บริโภค การด�ำเนินชีวิตที่ต้องรีบเร่งและต้องการความสะดวกรวดเร็ว ท�ำให้การซื้อ-ขายสินค้าต้องเปลี่ยนแปลงไป ช่องทางการซื้อ-ขายสินค้าจึงเปลี่ยนแปลง ตามกระแสความเคลื่อนไหวนั้น การซื้อ-ขายสินค้าแบบออนไลน์ หรือธุรกิจอีคอมเมิร์ซ เริ่มเข้ามามีบทบาทกับเราอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ หลายคนจากที่เคยเป็นเพียงผู้ซื้อ ก็มีการปรับตัวมาเป็นผู้ขาย เนื่องจาก การซื้อ-ขายด้วยช่องทางนี้เกิดขึ้นได้ง่ายดาย ไม่ต้องมีท�ำเลที่ตั้ง อีกทั้งยังสามารถสื่อสาร ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายได้ทันท่วงที ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ จึงเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็วในประเทศไทย และได้รบั ความนิยมมาก ขึน้ ต่อเนือ่ ง โดยประเภทของอีคอมเมิรซ์ แบ่งออกเป็น ผูป้ ระกอบการกับผูบ้ ริโภค (Business to Consumer: B2C) ผู้ประกอบการกับผู้ประกอบการ (Business to Business: B2B) ผู้บริโภคกับผู้บริโภค (Consumer to Consumer: C2C) ผู้ประกอบการกับภาครัฐ (Business to Government: B2G) ภาครัฐกับประชาชน (Government to Consumer: G2C) ไม่วา่ จะเป็นการซื้อ-ขายในรูปแบบใดธุรกิจนีก้ ไ็ ด้สร้างเม็ดเงินให้กบั ประเทศไทยมิใช่นอ้ ย ฉบับที่ 214 ประจ�ำเดือนมีนาคม-เมษายน 2559 ขอเสนอเรื่องราวพิเศษผ่าน บทสัมภาษณ์ผู้ประกอบการที่อยู่ในธุรกิจอีคอมเมิร์ซระดับต้นของประเทศมาแสดงทัศนะ เกี่ยวกับการบริหารจัดการและการพัฒนารูปแบบการให้บริการในอนาคตเพื่อประโยชน์ แก่ผู้บริโภคทุกคน นอกจากนี้ยังมีบทความคุณภาพที่น่าสนใจรอทุกท่านอยู่เช่นเคย อาทิ Quality System เสนอบทความเรือ่ ง ลดต้นทุน แต่ไม่ลดคุณภาพ บทความเรือ่ ง การประเมินความ เสี่ยงสิ่งป้อนเข้าและบริการเพื่อการจัดการผู้ขาย Quality Management เสนอบทความเรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจในฐานะศูนย์กลางของภูมิภาค บทความเรื่อง Business Strategy: Case from Japan Sony จะกลับสู่ยุครุ่งเรืองได้อีกหรือไม่ บทความเรื่อง มาก่อน...ดังก่อน โปรดติดตาม พบกันใหม่ฉบับหน้า
Published by
Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย
Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant พรามร ศรีปาลวิทย จารุภา มวงสวย
Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708
PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Marketing Service
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Advertising
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Member
จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com
วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง
Q
Cover Story for
uality
เครือ่ งทดสอบเครือ่ งมือทางการแพทย์
Biomedical Test Equipment RIGEL 288+ Electrical Medical Safety Analyzer เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า รองรับการจัดการ Asset Management RIGEL Unit Sim Vital Signs Simulater เครื่องทดสอบวิเคราะห์เครื่องวัด สัญญาณชีพ 6 อย่างในเครื่องเดียว
IMT PF300 Ventilator & Anesthesia Analyser เครื่องวิเคราะห์ประสิทธิภาพเครื่องช่วยหายใจ และเครื่องรมยาสลบ
นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือทางการแพทย์ที่สำ�คัญ ครอบคลุมการทดสอบ เหล่านี้ ● เครื่องวิเคราะห์ความปลอดภัยทางไฟฟ้า Electrical Safety Analyzer ● เครื่องวิเคราะห์พารามิเตอร์ทางไฟฟ้า Performance Analyzer ● เครื่องจำ�ลองสัญญาณชีพ Vital Sign Simulator ● เครื่องวิเคราะห์การไหลของแก๊ส Gas Flow Analyzer
สนใจติดต่อ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461 คุณสุทธิรัตน์ 08-2003-6661 คุณมนัสนันท์ 08-7714-3630
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com
www.measuretronix.com /rigel-blomedical
ปัจจุบนั สถานพยาบาลได้นำ� มาตรฐานบริการสาธารณสุขมาใช้ภายใต้การส่งเสริมพัฒนาของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เพือ่ พัฒนาด้าน สนใจติดต่อ : คุณจิรายุ 083-823-7933 คุณเนตรนภางค์ 089-895-4866 คุณเฉลิมพร 085-489-3461 คุณมนัสนันท์ 087-714-3630 การให้บริการสุขภาพ เครื่องมือ และอุปกรณ์ทางการแพทย์เป็นส่วนที่มีความส�ำคัญมากในการบริการ หากผู้ใช้ได้มีการใช้งานอย่างถูกต้องและ มีการบ�ำรุงรักษาที่ถูกวิธีจะท�ำให้มีอายุการใช้งานนานขึ้นและสร้างความมั่นใจในการจัดการด้านมาตรฐานและคุณภาพให้บริการแก่ประชาชน
8
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
Cover Story 1. ประเภทความเสีย่ งสูง (High Risk Equipment Lists) หมายถึง เครื่องมือแพทย์ใด ๆ ก็ตามที่ใช้รักษา วินิจฉัย ติดตามเฝ้าระวัง หรือ เพือ่ การกายภาพ หากขณะใช้กบั ผูป้ ว่ ยแล้วเครือ่ งมือมีอาการผิดปกติ หรือ การใช้ผดิ พลาด ผูใ้ ช้เครือ่ งไม่สามารถเข้าไปขัดขวางหรือให้การช่วยเหลือ ได้ทันทีอาจท�ำให้ผู้ป่วยได้รับอันตราย หรืออาการป่วยเพิ่มมากขึ้น รายการเครื่องมือทางการแพทย์ประเภทความเสี่ยงสูง 1. เครื่องรมยาสลบ (Anesthesia Units) 2. เครื่องช่วยหายใจ และรมยาสลบ (Anesthesia Ventilator) 3. เครื่องตัดจี้ด้วยไฟฟ้า (Electrosurgical Units) 4. เครื่องจ่ายของเหลว ยา ทางหลอดเลือด (Infusion Pump) 5. เครื่องกระตุ้นหัวใจ (External Pacemaker) 6. เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในเลือด (Pulse Oximeters) 7. เครื่องวัดความดันโลหิต (Invasive Blood Pressure Units) 8. เครื่องวัดภาวะหยุดหายใจชั่วคราว (Apnea Monitors) 9. ตูอ้ บเด็ก ตูใ้ ห้ความอบอุน่ ทารก ตูใ้ ส่เด็กคลอดไม่ครบก�ำหนด (Incubators) 10. เครื่องดูดของเหลวออกจากร่างกาย (Aspirators) 11. เครื่องเก็บล้างเม็ดเลือด (Auto Transfusion Unit) 12. เครื่องปอดและหัวใจเทียม (Heart Lung Machine) 13. เครื่องตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ (Fetal Monitors) 2. เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีความเสี่ยงปานกลาง (Medium Risk) หมายถึง เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวินจิ ฉัย ซึง่ อาจเกิดความผิดพลาดจาก การใช้งาน เสียไม่สามารถใช้งานได้ หรือไม่เพียงพอต่อการใช้งาน (อาทิ เครือ่ งมือทีเ่ สียแล้วไม่มเี ครือ่ งใช้งานทดแทน) ท�ำให้มผี ลกระทบต่อผูป้ ว่ ย ที่ส�ำคัญกับความปลอดภัยของผู้ป่วย แต่ไม่ถึงกับอันตรายขั้นร้ายแรง เครื่องมือแพทย์ใด ๆ ก็ตามที่ใช้รักษา วินิจฉัย ติดตามเฝ้าระวัง หรือ เพื่อการกายภาพบ�ำบัดหากใช้กับผู้ป่วยแล้วเครื่องมือมีการผิดปกติ หรือ การใช้ผดิ พลาด ผูใ้ ช้เครือ่ งยังสามารถเข้าไปขัดขวางหรือตรวจสอบได้กอ่ น ที่ผู้ป่วยจะได้รับอันตราย 3. เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีความเสี่ยงต�่ ำ (Low Risk) หมายถึง เครื่องมือที่เสียไม่สามารถใช้งานได้ หรือเกิดความผิดพลาดใน การใช้งาน ซึง่ ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่รา้ ยแรง เครือ่ งมือทีใ่ ช้การ วินิจฉัยเสียเป็นส่วนใหญ่และไม่ส่งผลใด ๆ กับผู้ป่วยโดยตรง ผู้ใช้เครื่อง สามารถบ่งถึงความผิดปกติจากการใช้เครื่องได้
สถาบันที่ดูแลเครื่องมือแพทย์
U.S. Food and Drug Administration (FDA) ท�ำหน้าที่ ศูนย์เครื่องมือแพทย์เรียกคืนเครื่องมือที่ไม่ได้มาตรฐาน ● ECRI แหล่ ง รวบรวมข้ อ มู ล รายงานอุ บั ติ ก ารณ์ เ กี่ ย วกั บ เครื่องมือแพทย์ ● AAMI สถาบันควบคุมผู้ผลิต ● JCI เขียนมาตรฐานเครื่องมือแพทย์ ● ประเทศไทย ใช้พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2551 ●
ออก ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 และพระราชบัญญัติความ รับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.2551 ออก ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551
ท�ำไมต้องบ�ำรุงรักษาและสอบเทียบ ?
วัตถุประสงค์ของการสอบเทียบ ● เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเครื่องมือ ● เพือ ่ บรรลุขอ้ ก�ำหนดมาตรฐานของโรงพยาบาลทีเ่ กีย่ วข้องกับ เครื่องมือ ● เพื่อประโยชน์สูงสุดในการใช้เครื่องมือ ● เพื่อแก้ค่าที่ผิดพลาดในการใช้เครื่องมือ ประโยชน์ที่ได้รับจากการสอบเทียบ ● ลดความเสีย ่ งต่อผูป้ ว่ ยในการใช้เครือ่ งมือทีข่ าดความถูกต้อง ● มีความรวดเร็วในการวินิจฉัยหรือรักษา ● เครื่องมือมีมาตรฐานการใช้งานอย่างต่อเนื่อง ● ผู้ใช้มีความมั่นใจในการใช้เครื่องมือ ● โรงพยาบาลมีมาตรฐานการให้บริการด้านเครื่องมือ จะเห็นได้ว่าเครื่องมือแพทย์ที่เราใช้วินิจฉัยโรค เพื่อท�ำการรักษา มีผลกระทบโดยตรงต่อผูร้ บั การรักษาและความเชือ่ มัน่ ทีม่ ตี อ่ โรงพยาบาล ดังนั้น ผู้ใช้งานต้องตรวจสอบ ใส่ใจกับเครื่องมือให้มาก มีการฝึกฝน ตรวจสอบ ดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องไม่ละเลย จะท�ำให้เกิดความเชื่อมั่น ที่ดีกับโรงพยาบาลมากขึ้น RIGEL เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งมื อ สอบเที ย บทางการแพทย์ ที่ ไ ด้ มาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณ์ยาวนาน 44 ปี ได้รับรางวัล The Queen’s Award ในปี 2012 รับประกันในคุณภาพและ ความเชื่อมั่น โดย บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด เป็นผู้น�ำเข้าและ จัดจ�ำหน่าย อีกไลน์ผลิตภัณฑ์เครือ่ งมือวัดและทดสอบใหม่ดา้ นการแพทย์ ด้วยประสบการณ์กว่า 30 ปี ของเมเชอร์โทรนิกซ์ จึงเชื่อมั่นได้ในคุณภาพ และบริการหลังการขาย RIGEL มีเครื่องมือที่สอบเทียบและทดสอบพารามิเตอร์ส�ำคัญ เหล่านี้ 1. เครือ่ งทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า (Electrical Safety) 2. เครื่องตรวจวัดค่าออกซิเจนในเลือด (SPO2) 3. เครื่องตรวจวัดค่าความดันเลือด (NIBP & IBP) 4. เครื่องตรวจคลื่นวัดค่าคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG or Electro Cardio Graph) 5. เครื่องกระตุกหัวใจ (Defibrillator Analyzer) 6. เครื่องผ่าตัดด้วยไฟฟ้า (Electrosurgical Analyzer) 7. เครื่องให้สารละลายทางหลอดเลือด (Infusion Pump Analyzer) 8. เครือ่ งวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส และเครือ่ งช่วยหายใจ แบบมือถือ (Gas Flow/Ventilator Analyzer) 9. เครื่องวิเคราะห์เครื่องช่วยหายใจ และเครื่องรมยาสลบ แบบตั้งโต๊ะ (Ventilator and Anesthesia Analyzer)
Vol.22 No.214 March-April 2016
การจ�ำแนกเครื่องมือแพทย์ระดับสากล
9
Cover Story เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าของ เครื่องมือทางการแพทย์ (Electrical Safety Analyzers)
RIGEL 288+ (Plus) Electrical Safety Analyzer ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า เครือ่ งทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าประสิทธิภาพสูง สามารถ รองรับการทดสอบได้หลายมาตรฐาน โดยเฉพาะมาตรฐาน EN/IEC 60601-1 และ EN/IEC 62353 รวมทัง้ NFPA-99, AAMI, AZ/NZS 3551, VDE 0751-1 มาตรฐานอื่น ๆ
เป็นเครือ่ งมือใช้สำ� หรับทดสอบและตรวจสอบความปลอดภัยทาง ไฟฟ้าของเครือ่ งมือทางการแพทย์ เนือ่ งจากความปลอดภัยทางไฟฟ้าของ เครือ่ งมือทางการแพทย์เป็นสิง่ ส�ำคัญ ผูป้ ว่ ยและผูใ้ ช้งานเครือ่ งมือทางการ แพทย์อาจเป็นอันตรายถึงชีวติ ได้หากเครือ่ งมือทางการแพทย์ดงั กล่าวไม่ ปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น มีกระแสไฟฟ้ารั่ว ซึ่งอาจท�ำผู้ป่วยและผู้ใช้งาน เครื่องมือทางการแพทย์เสียชีวิตได้ เป็นต้น การตรวจวัดความปลอดภัยทางไฟฟ้าเป็นเรื่องที่จ� ำเป็นและ ส�ำคัญอย่างยิง่ ผูจ้ ำ� หน่ายและผูใ้ ช้เครือ่ งมือทางการแพทย์ควรตรวจสอบ ความปลอดภัยตามระยะเวลาที่เหมาะสม
Vol.22 No.214 March-April 2016
RIGEL Safe Test 60 Electrical Safety Analyzer ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า เครื่ อ งทดสอบความปลอดภั ย ทางไฟฟ้ า สามารถรองรั บ การ ทดสอบได้หลายมาตรฐาน โดยเฉพาะมาตรฐาน EN/IEC 60601-1 และ EN/IEC 62353 รวมทั้ง NFPA-99, AAMI, AZ/NZS 3551, VDE 0751-1 มาตรฐานอื่น ๆ
10
RIGEL Safe Test 60 ใช้ทดสอบและตรวจสอบความปลอดภัย ทางไฟฟ้าของเครือ่ งมือทางการแพทย์แบบ Single Test สามารถทดสอบ เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น ● Earth Continuity ● Insulation ● Direct Leakage Measurement ● Differential Leakage Measurement ● Alternative Leakage Measurement ● Power Measurement ● Main Outlet Measurement ● IEC Main Lead Measurement
RIGEL 228+ เป็นเครื่องทดสอบที่จดสิทธิบัตรเทคโนโลยีส�ำหรับ การทดสอบ Ground Bond ตามมาตรฐาน EN/IEC 62353 โดยใช้ Dual Current High Intensity ป้องกันความผิดพลาด ใช้ทดสอบและตรวจสอบ ความปลอดภัยทางไฟฟ้าของเครื่องมือทางการแพทย์ เช่น ● Earth Continuity ● Insulation ● Direct Leakage Measurement ● Differential Leakage Measurement ● Alternative Leakage Measurement ● Power Measurement ● Main Outlet Measurement ● IEC Main Lead Measurement
ได้มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 5,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล ●
Cover Story RIGEL 62353 Electrical Safety Analyzer ทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้า เครื่ อ งวิ เ คราะห์ ค วามปลอดภั ย ทางไฟฟ้ า ประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบได้หลาย มาตรฐาน โดยเฉพาะมาตรฐาน EN/IEC 62353
ได้มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น ● ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 10,000 ค่า ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล
เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดสัญญาณชีพ (Vital Signs Simulators)
เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดค่าออกซิเจนในเลือด (Vital Signs Simulators) เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter โดย เครื่องจะจ�ำลองสัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือด และอัตราการเต้น ของหัวใจ โดยการใส่ Pulse Oximeter เข้ากับ Finger Probe ของเครื่อง ด้วยการออกแบบที่ทันสมัย RIGEL Vital Sign Simulator สามารถ สอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter ได้สะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการใช้งาน โดดเด่นในเรื่องความทนทาน และมีประสิทธิภาพในการท�ำงานดีเยี่ยม
RIGEL PULSE-R SPO2 Finger Simulator โพรบจ�ำลองสัญญาณค่าออกซิเจนในเลือด (SPO2 Probe)
เป็นนิ้วจ�ำลองของผู้ป่วยที่ปล่อยสัญญาณเทียมค่าความอิ่มตัว ของออกซิเจนในเลือด ที่ระดับ 30% ถึง 100% และค่าอัตราการเต้นของ หัวใจได้ตั้งแต่ 30 ถึง 300 ครั้งต่อนาที สามารถสร้างสัญญาณเทียมของ ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเส้นเลือดแดงได้หลายรูปแบบ ในเครื่องมีค่า R-Curve ของค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนใน เส้นเลือดแดงหลายรูปแบบและผู้ใช้สามารถใส่ค่า R-Curve เพิ่มเติม ได้อีก ทั้งนี้ Rigel Model PULSE-R SPO2 Finger Simulator ยังรองรับ R-Curves ของผู้ผลิตเครื่องวัดค่าออกซิเจนในเลือดได้อีก 11 แบบ การจ�ำลองนิ้วของผู้ป่วย ● ค่าของออกซิเจนในเลือดที่ระดับ 30 - 100% ● ค่าการเต้นของหัวใจ 30 - 300% ครั้งต่อนาที ● ค่าความแม่นย�ำไม่เกิน 1% ● รองรับ R-Curves ของผู้ผลิตเครื่องวัดค่าออกซิเจนในเลือด ได้ 11 แบบ คุณสมบัติเด่น ● มี LED แสดงสถานะการต่อโพรบของเครื่องวัด ● รองรับ R-Curves ของผู้ผลิตเครื่องวัดค่าออกซิเจนในเลือด ได้ เช่น Beijing Choice, Criticare, GE Tuffsat, Masimo, Mindray, Nellcor, Nellcor, Oximax, Nihon Kohden, Nonin, Novametrix, Philips/HP
Vol.22 No.214 March-April 2016
ใช้ทดสอบและตรวจสอบความปลอดภัยทางไฟฟ้าของเครือ่ งมือ ทางการแพทย์ เช่น ● Earth Continuity ● Insulation ● Direct Leakage Measurement ● Differential Leakage Measurement ● Alternative Leakage Measurement ● Power Measurement ● Main Outlet Measurement ● IEC Main Lead Measurement
ตั ว เครื่ อ งได้ รั บ การพั ฒ นาเพื่ อ ตอบสนองความต้ อ งการของ ผู้ใช้งานสอบเทียบในทุก ๆ รายละเอียด โดยเพิ่มฟังก์ชั่นการสอบเทียบ เพิม่ เติม เช่น เพิม่ การจ�ำลองสัญญาณชีพผูป้ ว่ ย (Patient Simulator, ECG) และการจ�ำลองสัญญาณความดันโลหิต (Non-Invasive Blood Pressure Simulator: NIBP) เพิ่มเติม เป็นต้น ตัวเครือ่ ง RIGEL Vital Sign Simulator ได้รบั การพัฒนาเป็นพิเศษ มีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แบบที่ถือได้เพียงมือเดียว แต่เต็มเปี่ยมด้วย ฟังก์ชั่นการสอบเทียบเพื่อตอบสนองความต้องการการสอบเทียบของ ผู้ใช้งานในทุก ๆ สถานที่
11
Cover Story RIGEL SP-SIM SPO2 Simulator เครื่องจ�ำลองสัญญาณค่าออกซิเจนในเลือด (SPO2)
เป็นเครื่องสร้างสัญญาณเทียมของค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ในเส้นเลือดแดง เพื่อสอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter โดยเครื่องจะ จ�ำลองสัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือด และอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการใส่ Pulse Oximeter เข้ากับ Finger Probe ของเครื่อง สามารถ จ�ำลองสัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือดแบบ Optical หรือ Electronic Simulation การจ�ำลองค่าออกซิเจนในเลือด ● ค่าออกซิเจนในเลือด ที่ระดับ 50 - 100% ค่าความแม่นย�ำ ไม่เกิน ±0.5% ● ค่าการเต้นของหัวใจ 20 - 300% ครัง ้ ต่อนาที ค่าความแม่นย�ำ ไม่เกิน ±1 bpm คุณสมบัติเด่น ● รองรับ R-Curves ของผู้ผลิตเครื่องวัดค่าออกซิเจนในเลือด ได้ เช่น Beijing Choice, Criticare, GE Tuffsat, Masimo, Mindray, Nellcor, Nellcor, Oximax, Nihon Kohden, Nonin, Novametrix, Philips/HP ● ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล
Vol.22 No.214 March-April 2016
Rigel BP-SIM NIBP Simulator เครื่องสอบเทียบเครื่องวัดความดันเลือดแบบ NIBP
12
เป็นเครื่องสร้างความดันเลือดเพื่อสอบเทียบเครื่องวัดความดัน เลือดแบบ NIBP โดยเครื่องจะจ�ำลองปริมาณความดันในเลือดและอัตรา การเต้นของหัวใจ Rigel BP-SIM NIB มีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แบบที่ถือ ได้เพียงมือเดียว แต่เต็มเปี่ยมด้วยฟังก์ชั่นการสอบเทียบเพื่อตอบสนอง ความต้องการการสอบเทียบของผู้ใช้งานในทุก ๆ สถานที่ เครื่องสอบเทียบเครื่องวัดความดันเลือดแบบ NIBP ● Waveform Oscillometric ● Manufacture O-Curve Update ● Pulse Volume Low, Medium, High, Paediatric ● Heart Rate 1- 300 bpm ● Integrated Pump 0 - 350 mmHg ● Digital Manometer 0 - 450 mmHg คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล Rigel 333 ECG Patient Simulator เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
เป็นเครือ่ งจ�ำลองคลืน่ ไฟฟ้าหัวใจได้หลายรูปแบบเพือ่ สอบเทียบ เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ใช้ทางการแพทย์ Rigel 333 มีขนาดเล็ก น�้ ำ หนั ก เบา แต่ เ ต็ ม เปี ่ ย มด้ ว ยฟั ง ก์ ชั่ น การสอบเที ย บเพื่ อ ตอบสนอง ความต้องการการสอบเทียบของผู้ใช้งานในทุก ๆ สถานที่ เครื่องสอบเทียบเครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ● Rate 30-60-70-80-90-100-120-150-180-210 -250-270300-350 bps ● Amplitude 0.15 to 5 mV ● 12 Leads ECG Signal ● Over 40 Arrhythmias ● ECG Performance Waveform ● Dual Blood Pressure Multiple Static and Dynamic Pressure ● Respiration ● Temperature ● Pacer Waveform ST Segment Change or both Atrial and Ventricular คุณสมบัติเด่น ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว
Cover Story RIGEL UNI-SIM Vital Signs Simulator เครื่องจ�ำลองสัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร์ในเครื่องเดียว เป็นเครื่องสร้างสัญญาณเทียมของค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ในเลือด เพื่อสอบเทียบเครื่อง Pulse Oximeter โดยเครื่องจะจ�ำลอง สัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือด และอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการ ใส่ Pulse Oximeter เข้ากับ Finger Probe ของเครื่อง สามารถจ�ำลอง สัญญาณปริมาณออกซิเจนในเลือดแบบ Optical หรือ Electronic Simulation
เครือ่ งวิเคราะห์พารามิเตอร์ทางไฟฟ้า (Performance Analyser) RIGEL Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ
เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถ สอบเทียบได้ทั้ง Mono-Phasic, Bi-Phasic, Standard and Pulsating Waveform และ Automated External Defibrillator: AED ได้
เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ Energy (Peak Voltage, Peak Current, Pulse Duration) Range 0 - 600 Joules ● Internal Load 50 Ω Non Inductive ● Internal Load 25-200 Ω ● Voltage Range 0 - 6,000 V ● Current Range 0 - 120A ● Cardiac Synchronization time -250ms to +250ms ● ECG with 12 Leads Signal Output ● Waveform NSR, Atrial, Atrial Conduction, Ventricular, Pacer Waveform ● Rate 20 – 300 bps ● Performance Waveform Sine, Square ● Triangle and Pulse ● Charge Time ● Display Curve -250 to +250ms
Rigel UNI-SiM ได้รับการพัฒนาเป็นพิเศษ มีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา แบบที่ถือได้เพียงมือเดียว แต่เต็มเปี่ยมด้วยฟังก์ชั่นการสอบเทียบ เพื่อตอบสนองความต้องการการสอบเทียบของผู้ใช้งานในทุก ๆ สถานที่ โดยสามารถสอบเทียบได้ 6 พารามิเตอร์ ได้แก่ ความอิม่ ตัวของออกซิเจน ในเลือด ความดันเลือดแบบ NIBP และความดันเลือดแบบ IBP สัญญาณ ชีวิต (ECG) อุณหภูมิ และอัตราการหายใจ การจ�ำลองค่าออกซิเจนในเลือด ● ค่าออกซิเจนในเลือด ที่ระดับ 50 - 100% ±0.5% ● ค่าการเต้นของหัวใจ 20 - 300 ±1 bpm ● ความดันในเลือด (NIBP) 0 - 410 mmHg ±0.5% ● ความดันในเลือด (IBP) 0 - 300 mmHg ● อัตราการหายใจ 5-10-15-30-60-120-180 breaths per sec ● อุณหภูมิ 25, 33, 37, 41°C คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 10,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล
Vol.22 No.214 March-April 2016
●
13
Cover Story คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอร์รี่แบบชาร์จ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ 5,000 ค่า ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล
Vol.22 No.214 March-April 2016
RIGEL 344 Defibrillator/Pacemaker Analyser/ECG Arrhythmia Simulator เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ แบบ 3 in 1
14
เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบแบบ “Three in One” ได้แก่ เครื่องกระตุกหัวใจ (Defibrillator) เครื่องก�ำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ (Pacemaker) เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ซึ่งสามารถสอบเทียบได้ ทั้ง Mono-Phasic, Bi-Phasic, Standard and Pulsating Waveform และ Automated External Defibrillator (AED) ได้ เครื่องสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ (Defibrillator Analyzer) Energy Measurement: ● Load: 50 Ohms ±1% ● Range (High): 900 Joules, Res. 1J. ● Accuracy: ±2% of the Reading ● Maximum Voltage: 5200 ● Maximum Current: 100 Amp (H) ● Sync. Time: 0-250 ms. Waveform Output: ● Real Time: Output 1000: 1 ● Stored: Discharge Waveform Expanded 200:1 and is Repeated 8 Seconds. It can be Viewed through the Paddles and through the ECG High Level Output. เครื่องก�ำหนดจังหวะการเต้นของหัวใจ (Pacemaker Analyzer) Transcutaneous: ● Test Load: 50 Ohms (Fixed) and Variable 100 to 1,000 Ω ● Current: 1 to 200 mA ● Pulse Width: 0.5 to 80 ms. ● Refractory: 20-500 ms Atrial and Ventricular: ● Test Load: 500 Ohms ±1% ● Current: 1 to 25 mA
Pulse Rate: 30 to 800 ppm. ● Pulse Width: 0.5 to 80 ms. ● Refractory: 20-500 ms ● Immunity Test: 50/60 Hz เครื่องสอบเทียบเครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) ECG Arrhythmia Simulator: ● ECG: Normal Sinus Rhythm ● Rate: 30, 60, 90, 120, 240 BPM Performance: ● Sine, Square, Triangle and Pulse ● Rate: 0.5 1, 2, 10, 15, 20, 25, 40 Hz. Arrhythmias: ● VFBC, VFBF, VTAC, AFIB ● PVC, PVC1, PVC2, BGY, RBB ● AFIB, ATRFT, NSR. Waveform Output: ● 12 Lead ECG and Paddle and HI Level Output Jacks คุณสมบัติเด่น ใช้แบตเตอร์รี่แบบชาร์จ ใช้งานในภาคสนามได้ คล่องตัว ●
RIGEL Unitherm High Current Electrosurgical Analyzer เครื่องสอบเทียบเครื่องจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า
เป็นเครื่องมือใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า โดย เครื่องเหล่านี้จะสามารถวัดค่าพลังงานที่เครื่องจี้ผ่าตัดปล่อยออกมา ทั้ง ในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM
เครื่องสอบเทียบเครื่องจี้ผ่าตัดด้วยไฟฟ้า ● Power Measurement True RMS Value of Applied Waveform ● Power Rating 0 - 500W (RMS) ● Duty Cycle 100% up to 60 seconds ● Load Bank 0 - 5,115 Ω ● Resolution 5Ω
Cover Story Accuracy (1W + 5% of Value) ● Voltage (peak) 0 - 10kV (Peak) - Closed Load Only ● Accuracy ±10% of Value ● Voltage 0 - 700V (RMS) ● Accuracy (2V + 2% of Value) ● Current 0 - 6000mA (RMS) คุณสมบัติเด่น ● Meet all Modern Contact Quality Monitoring (CQM) ● Compliant with IEC 60601-2-2 ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล ●
RIGEL Multi-Flo Infusion Pump Analyzer เครื่องสอบเทียบเครื่องให้สารละลายทางหลอดเลือดด�ำ
เครื่องสอบเทียบเครื่องให้สารละลายทางหลอดเลือดด�ำ ● Channels 1, 2 or 4 ● Flow Rates 0.100 - 1.000mL/Hour ● Update Rate 1Hz ● Back Pressure -200 to 600 mmHg ● Occlusion Pressure 0 - 1500 mmHg ● PCA Bolus 0.10 – 100 mL ● Basal Flow Rate 1 - 3 mL ● External Connections Flow in and out ● PC Connections Bluetooth + USB ● Memory Up to 24 Hours Real Time Recording คุณสมบัติเด่น ● Compliant with IEC 60601-2-24 ● 1, 2 and 4 Individual Channel Configuration ● Compatible with all Infusion Devices ● On-Screen Trumpet Curve ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่านเครื่องพิมพ์ ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล
เป็ น เครื่ อ งมื อ ใช้ ส� ำ หรั บ สอบเที ย บเครื่ อ งให้ ส ารละลายทาง หลอดเลือดด�ำ ทั้งที่เป็นแบบ Infusion Pump และ Syringe Pump เครื่องมือเหล่านี้จะสามารถสอบเทียบได้ทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test
เป็ น เครื่ อ งสอบเที ย บเครื่ อ งช่ ว ยหายใจแบบมื อ ถื อ สามารถ วิเคราะห์ได้ทั้งอัตราการไหล (Flow) แรงดัน (Pressure) ปริมาตร (Volume) และปริมาณออกซิเจน เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส ● Compatible with 13 Gas Standards and 7 Gas Types. (Air, Air/O2, N2O/O2, Heliox (21% O2), He/O2, N2 and CO2) ● Accurate Measurement of Flow, Volume, Oxygen, Temperature, Humidity, Dew Point, High and Low Pressure, Differential and Barometric Pressure. ● Extremely Precise, and Low Resistance Bidirectional Flow Measurement able to Test Virtually all Models of
Vol.22 No.214 March-April 2016
เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส (Gas Flow Analyzer) RIGEL CITREX H4 Hand-Held All-In-One Gas Flow Analyzer เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊สแบบมือถือ
15
Cover Story Ventilators (Adult, Pediatric, Neonatal and High Frequency) คุณสมบัติเด่น ● ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้งานในภาคสนามได้คล่องตัว ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● มีโปรแกรม Flow Lab or Webserver Software บริหารจัดการ ข้อมูล
RIGEL CITREX H4 Gas Flow Analyzer กับการทดสอบระบบการไหลของแก๊สและมิเตอร์วดั อัตราการไหลแบบมือถือ
Accurate Measurement of Flow, Volume, Oxygen, Temperature, Humidity, Dew Point, High and Low Pressure, Differential and Barometric Pressure ● Extremely Precise, and Low Resistance Bidirectional Flow Measurement able to Test Virtually all Models of Ventilators (Adult, Pediatric, Neonatal and High Frequency) ●
คุณสมบัติเด่น ● Flow Bi-Directional – Low Resistance ● Graphics Display with Real Time Graphics ● Compatible with 13 Gas Standards and 7 Gas Types ● Low Flow and Vacuum Compatible Variants ● Simple and Intuitive User Interface Provided by A Graphics Display
RIGEL CITREX H4 Gas Flow Analyzer กับการทดสอบเครื่องช่วยหายใจแบบมือถือ
IMT PF300 กับการทดสอบเครื่องช่วยหายใจ
IMT PF-300 Gas Flow Analyzer เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊สแบบตั้งโต๊ะ
IMT OR-703 Multi Gas Analyzer อุปกรณ์วิเคราะห์การไหลของแก๊สส�ำหรับเครื่องรมยาสลบ
Vol.22 No.214 March-April 2016
เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงส�ำหรับ IMT PF300 ให้ สามารถวิเคราะห์อัตราการไหลและความ ดันของแก๊สที่ใช้ทดสอบกับเครื่องช่วย หายใจและเครื่องรมยาสลบ ที่มีส่วน ผสมแก๊สต่างชนิด เช่น CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane, Desflurane.
16
เป็นเครื่องสอบเทียบเครื่องช่วยหายใจและเครื่องรมยาสลบ แบบตั้งโต๊ะ สามารถวิเคราะห์ได้ทั้งอัตราการไหล (Flow) แรงดัน (Pressure) ปริมาตร (Volume) และปริมาณออกซิเจน เครื่องวิเคราะห์ระบบการไหลของแก๊ส ● Compatible with 13 Gas Standards and 7 Gas Types. (Air, Air/O2, N2O/O2, Heliox (21% O2), He/O2, N2 and CO2)
Cover Story
IMT EasyLung Test Lungs อุ ป กรณ์ จ� ำ ลองระบบ หายใจ เป็ น อุ ป กรณ์ ต ่ อ พ่ ว ง ส�ำหรับเครื่องวิเคราะห์อัตราการ ไหลและความดันของแก๊สที่ใช้ กับเครื่องช่วยหายใจของผู้ป่วย และเด็ก IMT EasyLung Test Lungs อุ ป กรณ์ จ� ำ ลองระบบ หายใจ เป็ น อุ ป กรณ์ ต ่ อ พ่ ว ง ส�ำหรับเครื่องวิเคราะห์อัตราการ ไหลและความดันของแก๊สที่ใช้ กั บ เครื่ อ งช่ ว ยหายใจส� ำ หรั บ ทารก ใหม่ Rigel Med eKit ชุดสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์แบบ “เคลื่อนที่”
เป็นการรวบรวมเครือ่ งสอบเทียบเครือ่ งมือทางการแพทย์ มารวม ไว้ในกระเป๋าแบบล้อเลือ่ น ทีพ่ ร้อมเคลือ่ นที่ โดยมีเครือ่ งสอบเทียบประเภท ต่าง ๆ ผู้สอบเทียบสามารถจัดท�ำ Check List ตรวจสอบความพร้อมใช้ ของเครื่อง สามารถออกภาคสนาม (Field Calibration) ได้พร้อมทุกเวลา ด้วยเทคโนโลยีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องสอบเทียบ (Tester, Simulator or Analyzer) เครื่องอ่านบาร์โค้ด (Barcode Scanner) และ เครือ่ งพิมพ์ฉลากผลทดสอบ (Test N Tag Pass/Fail Label Printer) ท�ำให้ การสร้างโค้ดระบุชอื่ ตัวเครือ่ งหรือเบอร์เครือ่ งของเครือ่ งทีจ่ ะสอบเทียบได้ (ID or Identification) เมื่อท�ำการสแกนโดยเครื่องอ่านบาร์โค้ด เครื่อง สามารถจะค้นหาประวัติเก่าในระบบได้ ถ้าไม่มีประวัติเก่าในเครื่องก็ สามารถจะสร้างโค๊ดขึ้นมาใหม่โดยล�ำดับเบอร์เครื่องก็จะใช้ตัวเลขที่ เพิ่มขึ้นแบบอัตโนมัติ
ด้วยโปรแกรม Med eBase PC Software สามารถท�ำให้การ จัดการข้อมูลเรื่องการสอบเทียบ การจัดท�ำประวัติ การพิมพ์รายงาน สามารถท�ำได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และแม่นย�ำ ชุดสอบเทียบเครื่องมือทางการแพทย์แบบ “เคลื่อนที่” (Rigel Med eKit) ประกอบด้วย 1. เครือ่ งสอบเทียบทดสอบความปลอกภัยทางไฟฟ้า (Electrical Safety) 2. ชุดสอบเทียบเครื่องสร้างเครื่องวัดค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (SPO2) 3. ชุดสอบเทียบเครื่องสร้างเครื่องวัดค่าความดันเลือด (NIBP และ IBP) 4. ชุดสอบเทียบเครือ่ งสร้างเครือ่ งวัดค่าแรงดันไฟฟ้าหัวใจ (ECG) 5. ชุดสอบเทียบเครื่องกระตุกหัวใจ (Defibrillator) 6. ชุดสอบเทียบเครื่องวัดอุณหภูมิ (Temperature) 7. ชุดสอบเทียบเครื่องวัดการหายใจ (Respiration) คุณสมบัติเด่น ● กระเป๋ามีความแข็งแรง กันกระแทก ป้องกันเครื่องมือและ อุปกรณ์ได้อย่างดี ● ใช้แบตเตอร์รี่ ใช้ง่านในภาคสนามได้คล่องตัว ● มีเครื่องอ่านบาร์โค้ด สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องทดสอบผ่าน Bluetooth ● มีเครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ผล Pass/Fail Label ได้ทันทีผ่าน เครื่องพิมพ์ที่เชื่อมต่อผ่าน Bluetooth ● บันทึกข้อมูลในตัวเครื่องได้ ● มีโปรแกรม Med eBase บริหารจัดการข้อมูล
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461 คุณสุทธิรัตน์ 08-2003-6661 คุณมนัสนันท์ 08-7714-3630
บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com
Vol.22 No.214 March-April 2016
IMT SmartLung Test Lungs เป็ น อุ ป กรณ์ จ� ำ ลอง ระบบหายใจ เป็นอุปกรณ์ต่อ พ่ ว งส� ำ หรั บ เครื่ อ งวิ เ คราะห์ อัตราการไหลและความดันของ แก๊สที่ใช้กับเครื่องช่วยหายใจ ของผู้ป่วย
17
Q
System for
uality
Tools for Food of Life Advertorial
Q
Tools for
uality
ลดต้นทุน เมือ่
นายสั่ ง ให้ Save Cost หรื อ ลดต้นทุน สิ่งที่มักนึกถึงในการ ลดต้นทุนคือ ???? ลดเวลาท�ำงาน หรือ OT ลดคนงาน เปลีย่ นวัตถุดบิ ให้มรี าคาทีถ่ กู ลง ลดการใช้พลังงาน ฯลฯ
ประเด็น คือ การลดต้นทุนในแนวทาง ดังกล่าว เป็นการลดต้นทุนจริง ๆ หรือไม่ เมื่อท�ำการลดสิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวไป แล้ว ตัวเลขต้นทุนทางบัญชีในปัจจุบันจะ ลดลงทันที
20
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
แต่ ไม่ลดคุณภาพ
แต่ สิ่ ง ที่ ต ้ อ งพิ จ ารณาต่ อ มาก็ คื อ ต้นทุนระยะยาวเป็นอย่างไร เมื่อท�ำการเปลี่ยนวัตถุดิบให้ถูกลง กลั บ พบว่ า ต้ อ งเสี ย แรงงานและเวลาใน ขัน้ ตอนการผลิตมากขึน้ กว่าเดิม ท�ำให้ตน้ ทุน แรงงานกลับมากขึ้น หลายครั้งอาจมากกว่า ต้นทุนวัตถุดบิ ทีล่ ดลงไป หรือการลดคนงานโดยการเลิกจ้าง หากอีก 3 เดือนข้างหน้ามียอดผลิตมากขึ้น ต้องการเพิม่ คน การรับคนงานใหม่ จะส่งผล ต่อการผลิตหรือไม่ หากงานดังกล่าวไม่จ�ำเป็นต้องใช้ ทั ก ษะหรื อ ฝี มื อ ของพนั ก งานก็ ไ ม่ น ่ า จะมี
วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com
ผลกระทบใด ๆ ต่อคุณภาพงาน แต่โดยส่วนมากมักไม่เป็นเช่นนั้น เนื่องจากงานหลาย ๆ งาน จ�ำเป็นต้องใช้ ทักษะหรือฝีมือเฉพาะในการท�ำงาน ดังนั้น ผลทีต่ ามมาในช่วงแรก ๆ คือ เกิดความเสียหายในการผลิต ต้องมีการซ่อมแซม หรือท�ำให้ เกิดความล่าช้า ได้งานออกมาต�ำ่ กว่าทีว่ างไว้ ท�ำให้ตน้ ทุนในการผลิตกลับเพิม่ สูงขึน้ หรือหลายบริษัท มีการสั่งซื่อเครื่องจักรใหม่ที่มีราคาถูกกว่าที่เคยซื้อจากที่เดิม แต่เมื่อใช้งานไป ปรากฏว่าผลิตภัณฑ์ที่ได้มี คุณภาพไม่ดี อีกทั้งเครื่องจักรมีปัญหาบ่อย ต้องเสียเวลาบ�ำรุงรักษา ซ่อมแซม สุดท้าย
Tools
ก�ำไร ต้นทุนการตลาด
ราคาขาย
ต้นทุนบริหาร ต้นทุน สินค้าขาย
โสหุย้ การผลิต (FOH) (IDM + IDL + ค่าใช้จา่ ย) แรงงานทางตรง (DL)
ต้นทุน ในการผลิต
วัตถุดบิ ทางตรง (DM)
▲ รูปที่
1 จำ�แนกต้นทุนตามลักษณะการเกิด
การจ�ำแนกต้นทุนตามลักษณะการ เกิดเป็นการจ�ำแนกต้นทุนตามหลักการของ บัญชี เพื่อใช้ในการก�ำหนดต้นทุนและราคา ขายของผลิตภัณฑ์หรือบริการ ดังนั้น เมื่อ ต้องการลดต้นทุน ส่วนมากจึงมักนึกถึงค่าแรง ค่าวัตถุดบิ เป็นสิง่ แรก ๆ แต่การลดต้นทุนโดยอาศัยแนวคิดนี้ หากพิจารณาลดไม่ถูกต้อง อาจจะส่งผลต่อ คุณภาพหรือต้นทุนในระยะยาวได้ นอกจากนี้อาจจ�ำแนกตาม ระดับ ความสามารถในการด�ำเนินงาน ดังแสดง ในรูปที่ 2 ซึง่ เป็นลักษณะของต้นทุนต่อหน่วย การผลิตที่เปลี่ยนไป เนื่องจากต้นทุนในการ ผลิตจะแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ ต้นทุนคงที่ ซึ่งไม่แปรตามจ�ำนวนการผลิต และต้นทุนผันแปรทีแ่ ปรเปลีย่ นไปตามจ�ำนวน การผลิต และเมือ่ ผลิตในจ�ำนวนมาก ๆ ท�ำให้ ต้นทุนต่อหน่วยมีคา่ ลดลง เนือ่ งจากมีจำ� นวน หน่วยผลิตภัณฑ์มาเฉลี่ยต้นทุนคงที่มากขึ้น นัน่ เอง จากแนวคิ ด ดั ง กล่ า ว จึ ง เป็ น ที่ ม า ของแนวทางการจั ด การผลิ ต ในอดี ต หรื อ ทีเ่ รียกว่า การผลิตเชิงมวล (mass production) โดยยิง่ ผลิตมากเท่าใดก็จะท�ำให้ตน้ ทุน ต่อหน่วยมีคา่ ต�ำ่ เท่านัน้
บาท
ต้นทุนรวม ต้นทุนผันแปร
ต้นทุนคงที่
หน่วยผลิต ▲ รูปที่
2 จำ � แนกต้ น ทุ น ตามระดั บ ความสามารถ ในการดำ�เนินงาน
แต่ในปัจจุบนั การใช้แนวคิดดังกล่าว ในการลดต้ น ทุ น ท� ำ ได้ ย ากเนื่ อ งจากใน ปัจจุบนั ความต้องการของลูกค้ามีความหลาก หลาย ท�ำให้ไม่สามารถผลิตสินค้าหรือบริการ เพียงชนิดเดียวในปริมาณมาก ๆ ได้ ถ้าอย่างนัน้ ควรใช้แนวคิดใดในการ พิจารณาเพือ่ ลดต้นทุน แนวคิ ด ของการจ� ำ แนกต้ น ทุ น ที่ เหมาะส�ำหรับการน�ำมาลดต้นทุนในปัจจุบัน ได้แก่ การจ�ำแนกต้นทุนตามคุณภาพ (cost of quality) ตามรูปที่ 3
Vol.22 No.214 March-April 2016
แล้วเกิดเป็นต้นทุนแอบแฝงทีม่ องไม่เห็น ตัวอย่างดังกล่าวเป็นสิ่งที่มักเกิดขึ้น เสมอในหลาย ๆ บริษทั ที่เป็นเช่นนี้ เนื่องจากการลดต้นทุน มักจะพิจารณาเฉพาะต้นทุนทีล่ ดลงจากการ ท�ำกิจกรรมในปัจจุบันโดยลืมค�ำนึงถึงต้นทุน หรือค่าใช้จ่ายที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่ง เป็นผลมาจากการด�ำเนินกิจกรรมเหล่านี้ ดังนั้น การเลือกแนวทางในการลด ต้นทุน จึงควรพิจารณาค่าใช้จา่ ยทีอ่ าจเกิดขึน้ หลังจากการเปลีย่ นแปลงด้วย ซึง่ เราเรียกว่า ต้นทุนตลอดอายุการท�ำงาน (Life Cycle Cost: LCC) นอกจากนี้การลดต้นทุนไม่ใช่เพียง แค่ท�ำให้ค่าใช้จ่ายลดลง แต่ยังต้องค�ำนึงถึง คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ บริ ก ารไม่ ใ ห้ กระทบไปด้วย หรือพูดง่าย ๆ คือ ลดต้นทุนแต่ ไม่ลดคุณภาพ เพราะต่อให้ตน้ ทุนลดลง แต่ลกู ค้าได้ รับสินค้าหรือการบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพแย่ลงไป จากเดิม ลูกค้าคงไม่พอใจแน่นอน แล้ ว ท� ำ อย่ า งไรจึ ง จะสามารถลด ต้นทุน แต่ไม่ลดคุณภาพ ก่อนอื่นต้องมาท�ำความเข้าใจกับ โครงสร้างของต้นทุนกันก่อน ซึง่ โดยส่วนมาก เมื่อพูดถึงโครงสร้างต้นทุนในการผลิตมัก นึกถึง การจ�ำแนกตามลักษณะการเกิด ซึ่ง แบ่งได้เป็นต้นทุนวัตถุดบิ ต้นทุนแรงงาน และ ค่าใช้จ่ายหรือโสหุ้ยการผลิต ดังแสดงใน รูปที่ 1
21
Tools บาท
ต้นทุนคุณภาพโดยรวม
ต้นทุนความบกพร่องภายในและภายนอก
ต้นทุนการป้องกันและการตรวจสอบ
ข้อบกพร่อง ▲ รูปที่
3 จำ�แนกตามต้นทุนคุณภาพ
Vol.22 No.214 March-April 2016
การจ� ำ แนกต้ น ทุ น คุ ณ ภาพไม่ ไ ด้ เป็นการจ�ำแนกตามหลักการทางบัญชี แต่ เป็นการจ�ำแนกต้นทุนที่นักคุณภาพก�ำหนด ขึ้นมาเพื่อให้เห็นที่มาหรือต้นทุนที่ก่อให้เกิด คุณภาพ โดยแบ่งได้เป็น 2 กลุม่ กลุม่ ที่ 1 คือ ต้นทุนความบกพร่อง ภายในและภายนอก (internal and external failure cost) กลุ่มนี้เป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นจาก ความบกพร่องของสินค้าหรือบริการ โดยแบ่ง เป็นต้นทุนที่เกิดภายในองค์การก่อนส่งมอบ ไปยังลูกค้า เช่น ค่าซ่อมแซมผลิตภัณฑ์ หรือ ค่า Rework ฯลฯ และต้นทุนที่เกิดภายนอก องค์การหรือเกิดหลังจากส่งมอบไปยังลูกค้า
22
เช่น ค่าชดเชยที่จ่ายให้กับลูกค้า ฯลฯ โดย ต้ น ทุ น กลุ ่ ม นี้ จ ะแปรผั น ตามสั ด ส่ ว นของ ข้อบกพร่อง กล่าวคือ ยิ่งผลิตภัณฑ์มีความ บกพร่องมากก็จะท�ำให้มีต้นทุนกลุ่มนี้เพิ่ม มากขึน้ กลุ ่ ม ที่ 2 คื อ ต้ น ทุ น การป้ อ งกั น และการตรวจสอบ โดยต้นทุนการป้องกัน หมายถึง ต้นทุนทีจ่ า่ ยไปล่วงหน้าเพือ่ ป้องกัน ไม่ให้เกิดความผิดพลาดหรือปัญหาต่าง ๆ ใน การด�ำเนินงาน เช่น ค่าอบรมพนักงาน ค่า บ�ำรุงรักษาเครื่องจักร ค่าอุปกรณ์ป้องกัน ความผิดพลาดต่าง ๆ ทีต่ ดิ ตัง้ เพิม่ เติม ฯลฯ ใน ขณะทีต่ น้ ทุนการตรวจสอบ หมายถึง ต้นทุน
ที่ ใ ช้ ส� ำ หรั บ การจ� ำ แนกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ว ่ า เป็ น อย่างไรหลังจากได้รบั การสร้างแล้ว เช่น ค่า ตรวจสอบชิ้นงานส�ำเร็จรูปก่อนส่งมอบ ฯลฯ โดยต้นทุนในกลุ่มนี้จะแปรผกผันกับสัดส่วน ข้อบกพร่อง กล่าวคือ ยิ่งผลิตภัณฑ์มีความ บกพร่องมาก แสดงว่าต้นทุนในกลุม่ นีม้ คี า่ ต�ำ่ เมื่อน�ำมารวมกันจึงเกิดเป็นต้นทุน คุณภาพโดยรวม ซึ่งมีลักษณะเป็นโค้งระฆัง หงาย จากลั ก ษณะดั ง กล่ า วจึ ง เห็ น ได้ ว ่ า แนวทางการลดต้นทุนมีความแตกต่างกันไป ตามสัดส่วนข้อบกพร่อง หากต้นทุนสูงแต่มี สัดส่วนข้อบกพร่องน้อย (โซน A) แสดงว่ามี ต้นทุนจากการตรวจสอบทีม่ ากเกินไป หรือพูด ง่าย ๆ คือ ไปลดการตรวจสอบลงบ้าง เพราะ ผลิตภัณฑ์ดอี ยูแ่ ล้ว ไม่จำ� เป็นต้องตรวจสอบ มาก ในทางกลับกันหากต้นทุนสูงในขณะที่ ของเสียมีมาก (โซน B) แนวทาง คือ การไป ลดของเสียที่จากการผลิต โดยการเพิ่มการ ป้องกันให้มากขึน้ จะเห็ น ได้ ว ่ า การลดต้ น ทุ น โดยใช้ แนวคิดของต้นทุนคุณภาพนี้ เมื่อลดต้นทุน แล้ว มีแต่จะท�ำให้คณ ุ ภาพดีขนึ้ มาถึ ง ตรงนี้ ผู ้ อ ่ า นคงได้ แ นวคิ ด ที่ หลากหลายส�ำหรับน�ำไปใช้ในการวิเคราะห์ เพื่อลดต้นทุนแล้ว แต่ไม่ว่าจะใช้แนวคิดใด อย่าลืมว่าการลดต้นทุนต้องเป็นการลดต้นทุน อย่างแท้จริง มิใช่ลดต้นทุนวันนี้ แต่เพิม่ ต้นทุน ในวันข้างหน้า
Q
for Food for
uality
การประเมินความเสีย่ งสิง่ ป้อนเข้าและบริการเพือ่ การจัดการผูข้ าย Input and Service Risk Assessment for Supplier Management แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com
สวัสดี
ผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า น ช่ ว งนี้ มาตรฐานหลาย ๆ เรื่อง มีการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ มาให้พวกเรา ลับคมสมองเป็นเนืองนิจ และเชื่อว่ามีเรื่อง หนึ่งที่ผู้อ่านหลายท่านคงต้องการแนวทาง เพือ่ ให้ดำ� เนินการได้อย่างเข้าใจและอยูก่ บั มัน ได้ มาตรฐานชั้นสูงในสายอาหารต้องการให้ เราประเมินความเสี่ยงในวัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์ หรืองานบริการ (ตามที่ผู้ตรวจประเมินบาง ค่ายตีความ) ดังนั้น เพื่อจะได้ไม่ต้องไปมี ปัญหากับผูต้ รวจรายใด เราท�ำของเราให้เยอะ ทีส่ ดุ แบบคาดการณ์ไปในอนาคตเยอะ ๆ กัน ก่อน ผู้เขียนเลยขอตั้งชื่อการประเมินความ เสีย่ งแบบใหม่วา่ “การประเมินความเสีย่ งสิง่
ป้อนเข้าและบริการเพื่อการจัดการผู้ขาย” เป็นค�ำนิยามใหม่ของผู้เขียนเอง จะน�ำไปใช้ ต้องอ้างอิงหลักการถึงชื่อของผู้เขียนให้ด้วย ไม่เช่นนั้นแล้วจะผิดกฎหมายลิขสิทธ์ได้ เราท� ำ การประเมิ น ความเสี่ ย งสิ่ ง ป้อนเข้าและบริการเพือ่ การจัดการผูข้ ายตาม แนวทางทีค่ วรเขียนในเอกสารระเบียบปฏิบตั ิ งาน ดังนี้ ระเบียบปฏิบตั งิ านเรือ่ งประเมินความ เสี่ยงสิ่งป้อนเข้าและบริการเพื่อการจัดการ ผู้ขายและผู้ให้บริการ (แบบย่อ) โดยสุวิมล สุระเรืองชัย ขอบข่าย ระเบียบปฏิบัตินี้ ครอบคลุมการประเมินสิง่ ป้อนเข้าเพือ่ ใช้ในการผลิต
ผลิตภัณฑ์ และงานบริการที่อาจมีผลต่อการ ผลิตผลิตภัณฑ์ เอกสารอ้างอิง BRC Food I.7 และ BRC Vulnerability Assessment Guideline วิธีการด�ำเนินงาน 1. ด� ำ เนิ น การรวบรวมรายการสิ่ ง ป้อนเข้าเพื่อใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ และ งานบริการที่อาจมีผลต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ 2. พิ จ ารณาประเด็ น ส� ำ คั ญ ของ สิ่งป้อนเข้าเพื่อใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์ และ งานบริการที่อาจมีผลต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ โดยพิจารณาประเด็นดังต่อไปนี้ 2.1 ประเด็นทางกายภาพ 2.2 ประเด็นทางเคมี for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
23
for Food 2.3 ประเด็นทางจุลินทรีย์ 2.4 ประเด็นทางสารก่อภูมิแพ้ หรือ สารก่อภูมิไวเกิน 2.5 ประเด็ น ทางการหลอกลวง ปลอมปน หรือทดแทน 3. พิจารณาระดับคะแนนเพื่อการ ประเมินด้าน โอกาสเกิด และความรุนแรงต่อ สุขภาพ (ส�ำหรับกรณีอันตราย) หรือความ สามารถในการทดสอบ (ส� ำ หรั บ กรณี ก าร หลอกลวง ปลอมปน หรือทดแทน) ตามเกณฑ์ ด้านล่าง (เกณฑ์ที่ใช้เป็นแบบ Qualitative เนื่องจากง่ายกว่าแบบ Quantitative ซึ่งต้อง สร้างผลคูณจาก 3 ปัจจัย ซึ่งยากกว่า) 4. พิ จ ารณาระดั บ ความเสี่ ย งของ แต่ละประเด็น ตามเกณฑ์ด้านล่าง
5. อาจพิจารณาระดับความเสีย่ งใน ภาพรวม โดยพิจารณาจากระดับความเสี่ยง สู ง สุ ด ของการประเมิ น ในทุ ก ประเด็ น (ถ้ า ต้องการ) 6. พิจารณาการจัดการผู้ขายหรือ ผู้ให้บริการ ตามเกณฑ์ด้านล่าง หมายเหตุ: 1. ผู้ขาย ผู้ให้บริการ และผู้ด�ำเนินการจากภายนอก ต้องกรอกแบบสอบถามเชิง ละเอียดประจ�ำปี 2. กรณีที่ผู้ขาย ผู้ให้บริการ และ ผู้ด�ำเนินการจากภายนอก ไม่มีใบรับรองตาม กลุ่มที่ระบุ ให้ท�ำการตรวจประเมินผู้ขายตาม กลุ่มใบรับรองที่ต้องการ เช่น Material Risk Level ได้คะแนนสูง ต้องขอ BRC แต่หาก
Vol.22 No.214 March-April 2016
เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงเพื่อจัดการสิ่งป้อนเข้าและงานบริการ โดย สุวิมล สุระเรืองชัย
24
For Fraud พิจารณาจาก 1. ประวัติการ ปลอมปน 2. สภาวะทาง เศรษฐกิจ 3. ความง่ายใน การเข้าสู่ห่วงโซ่ อาหาร (เช่น ต้องมีการส่ง ผ่านเพื่อ แปรรูปใน หลายองค์กร) 4. ธรรมชาติ ของวัตถุดิบ (สามารถท�ำ ปลอมปนง่าย เช่น น�้ำผึ้ง) 5. การมีอยู่ ตามฤดูกาล (ท�ำให้ของมี มูลค่า) 6. การมีอยู่ของ สิ่งที่จะน�ำมา ปลอมปนหรือ ทดแทน
ไม่เคยมี ประวัติ หรือ ยากมากต่อ การปลอมปน เลียนแบบ
ผู้ขายไม่มีใบรับรอง BRC ทางบริษัทจึงต้อง ตรวจตามระบบ BRC แทน (ระบุสูงกว่าที่ ข้อก�ำหนด BRC ต้องการ) 3. กรณี ผู ้ ค ้ า ไม่ ร ะบุ ผู ้ ผ ลิ ต หรื อ ผู้บรรจุ หรือผู้รวบรวม ผู้ค้ารายนั้นต้องผ่าน BRC Agent & Broker 4. กรณี ที่ ผู ้ ข ายรายเล็ ก ให้ ผู ้ ข าย และ/หรือบริษทั รับผิดชอบการตรวจสอบและ ทดสอบโดยละเอียดแทน 5. กรณีผู้ให้บริการต้องระบุสัญญา ตามเกณฑ์ผู้ให้บริการ 6. กรณีที่ผู้ขายหรือผู้ให้บริการไม่มี ประวัติรุนแรงต่อประเด็นในข้อ 2 ทางบริษัท อาจพิ จ ารณาลดความถี่ ใ นการเข้ า ตรวจ ประเมิน หรือในทางกลับกันให้พิจารณาเพิ่ม ความถี่ในการตรวจประเมิน
เคยมีประวัติ บ้างในบาง พื้นที่ หรือยาก ในการ ปลอมปน เลียนแบบ
เคยมีประวัติ เป็นช่วง ๆ หรือยาก พอประมาณ ในการ ปลอมปน เลียนแบบ
เคยมีประวัติ เป็นระยะ ๆ หรือง่ายใน การปลอมปน เลียนแบบ
เคยมีประวัติ บ่อยครั้ง มีแรงจูงใจ อันเนื่องจาก สภาวะทาง เศรษฐกิจ หรือง่ายมาก ที่จะถูก ปลอมปน เลียนแบบ
for Food
For Hazards
Risk Assessment Criteria for Input and Service Management by Suwimol Surareungchai Likelihood of Occurrence โอกาสเกิด For Fraud
For Fraud
ตรวจสอบได้ เป็นไปได้ ง่ายมาก อย่างมาก/ ค่าใช้จ่ายไม่สูง แน่นอน Lab ในประเทศ Very Likely/ มีมากมาย Certain หรือท�ำเองได้ ตรวจสอบได้ ง่าย ค่าใช้จ่าย ที่สามารถรับได้ Lab ในประเทศ มีมาก
เป็นไปไม่ได้ เลย
เป็นไปไม่ได้
พอจะเป็น ไปได้
เป็นไปได้
เป็นไปได้ อย่างมาก/ แน่นอน
Very Unlikely
Unlikely
Fairly Likely
Likely
Very Likely/ Certain
For Hazards
Symbol
1
2
3
4
5
Self Treatment
E
Low
Low
Low
Medium
Medium
Meet Doctor
D
Low
Low
Medium
Medium
High
Admit
C
Low
Medium
Medium
High
High
ICU
B
Medium
Medium
High
High
High
Death
A
Medium
High
High
High
High
เป็นไปได้ Likely
ตรวจสอบยาก พอจะเป็น พอประมาณ ไปได้ Fairly ค่าใช้จ่าย Likely ค่อนข้างสูง Lab ในประเทศมี พอประมาณ ตรวจสอบยาก ค่าใช้จ่ายสูง Lab ในประเทศ มีจำ�กัด
พบเป็น พบเกือบทุก พบทุกครั้ง บางครั้ง ครั้ง ที่รับ หรือ ที่รับ หรือ หรือ ทุกสัปดาห์ ทุก 6 เดือน ทุก 1-3 เดือน
Health Impact ผลกระทบ
เป็นไปไม่ได้ Unlikely
ตรวจสอบยาก เป็นไปไม่ได้ มาก ค่าใช้จ่าย เลย สูงมาก ต้องส่ง Very Lab ต่างประเทศ Unlikely
ขอให้สนุกกับการประเมิน แล้วพบกันในฉบับหน้า
Vol.22 No.214 March-April 2016
Likelihood of Fraud Detection โอกาสในการ ทดสอบสิ่ง ปลอมปน พิจารณาได้จาก 1. แหล่งก�ำเนิด (เช่น จีน) 2. ความซับซ้อม ของการผลิตจาก ห่วงโซ่อาหาร (เช่น ผ่านการสับ ปั่น บด จนไม่ สามารถตรวจ สอบได้แน่ชัดด้วย สายตา) 3. การควบคุมที่มี อยู่ (เช่น การเข้า ตรวจประเมิน ตลอดทั้งห่วงโซ่ อาหาร) 4. วิธีการทดสอบ 5. ความง่ายใน การเข้าถึงหรือ ล่วงละเมิด วัตถุดิบ (เช่น การ มีซีลป้องกัน ถ้า ฉีกขาดถือว่ามี การปลอมปน) 6. การตรวจ ประเมินอื่น ๆ ที่มี ความเกี่ยวข้อง (เช่น การสอบ กลับได้พร้อมท�ำ สมดุลน�้ำหนัก ผลการทดสอบใน ภาพรวมทั้งหมด)
ไม่เคยพบ ในรอบ 2 ปี
นาน ๆ ครั้ง จึงพบหรือ เมื่อเกิดเหตุ ฉุกเฉิน หรือ ทุก 1 ปี
25
Q
of Life for
uality
โรคจอประสาทตาหลุดลอก (Retinal Detachment)
แพทย์หญิงพวงเพชร นาคะพงศ์ จักษุแพทย์ เฉพาะทางโรคจอประสาทตา โรงพยาบาลหัวเฉียว
จอ
ประสาทตาหลุดลอก เป็นภาวะที่ ชั้นจอประสาทตาบริเวณด้านหลัง ของลูกตา ซึ่งท�ำหน้าที่รับภาพและแปลเป็น สัญญาณประสาทได้เกิดหลุดลอกออกมาจาก เนือ้ เยือ่ ด้านหลัง ท�ำให้เนือ้ เยือ่ จอประสาทตา บริเวณที่หลุดลอกออกมานั้นขาดสารอาหาร และออกซิเจน ท�ำให้ไม่สามารถท�ำงานได้ และหากปล่อยทิง้ ไว้เป็นเวลานาน จอประสาท ตาบริเวณดังกล่าวจะสูญเสียการท�ำงานอย่าง ถาวร ท�ำให้ตามองไม่เห็นในที่สุด สาเหตุของจอประสาทตาหลุดลอก สามารถเกิดได้หลายประการ ได้แก่ ประเด็น แรก จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิดจากรู หรือ รอยฉีกขาดที่จอประสาทตา ท�ำให้มีน�้ำไหล เข้า เกิดการแยกของจอประสาทตา มักเกิด จากดวงตามีการกระทบกระแทกอย่างรุนแรง และจอประสาทตาเสื่อมในผู้ป่วยสายตาสั้น หรื อ เกิ ด รู ข าดขึ้ น เองโดยไม่ มี ส าเหตุ เป็ น สาเหตุ ข องจอประสาทตาลอกบ่ อ ยที่ สุ ด ประเด็นที่สอง จอประสาทตาลอกชนิดที่เกิด จากการดึงรั้ง เกิดจากการดึงรั้งของพังผืด ที่จอประสาทตาหรือในน�้ำวุ้นตา ท�ำให้จอประสาทตาหลุดลอก มักพบในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นจอตาระยะท้าย ซึ่งมีเส้นเลือดงอก ผิดปกติทจี่ อรับภาพ และมีเลือดออกในน�ำ้ วุน้ ลูกตา ผู้ป่วยที่มีการอักเสบของน�้ำวุ้นลูกตา หรื อ จอประสาทตาอย่ า งรุ น แรงจนเกิ ด ชั้ น พังผืด ประเด็นสุดท้าย จอประสาทตาลอก ชนิดไม่มีรูขาดที่จอตา เกิดจากการอักเสบ หรืออุบัติเหตุ ท�ำให้มีน�้ำรั่วซึมขังอยู่ใต้จอประสาทตา พบได้ในผู้ป่วยที่มีโรคคอรอยด์ อักเสบ เนื้องอกที่จอประสาทตา หรือพบใน ผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามดันโลหิตสูงมาก ๆ ภาวะไตวาย
26
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
เป็นต้น
อาการของผู้ที่มีอาการจอประสาท ตาหลุดลอกเบื้องต้น คือ มองเห็นแสงไฟ คล้าย ๆ ไฟแฟลชกล้องถ่ายรูป ในการมองเห็น เหมื อ นมี อ ะไรมาบดบั ง หรื อ มองเห็ น เงา ลักษณะเป็นจุดหรือใยแมงมุมลอยไปมา และ ส่งผลให้การมองเห็นลดลงได้อย่างรวดเร็ว โดยโรคจอประสาทตาลอกสามารถเกิดได้ทกุ อายุ แต่จะพบบ่อยในผู้ที่อายุมากกว่า 40 ปี ขึ้ น ไป กลุ ่ ม คนที่ มี โ อกาสเป็ น มาก ได้ แ ก่ สายตาสั้นมาก เคยมีจอประสาทตาลอกมา ก่อน มีประวัติครอบครัวที่จอประสาทตาลอก ผ่าตัดต้อกระจก เคยได้รับอุบัติเหตุทางตา เป็นต้น
ดังนั้น ผู้ที่มีอาการดังกล่าวจึงควรไป พบจักษุแพทย์เพือ่ รับการตรวจจอประสาทตา โดยละเอียดว่าอาการดังกล่าวเกิดจากภาวะ ผิดปกติชนิดใด และต้องได้รับการรักษาด้วย วิ ธี ใ ด หากจั ก ษุ แ พทย์ ต รวจพบรู ข าดที่ จ อ ประสาทตา และยังไม่มีจอประสาทตาลอก อาจให้การรักษาโดยการยิงเลเซอร์รอบรอย ขาด หากพบมีการลอกตัวของจอประสาทตา การรักษาอาจมีตงั้ แต่การฉีดก๊าซเข้าไปในตา การผ่าตัดหนุนจอประสาทตา และการผ่าตัด น�้ำวุ้นตา ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมใน ผู้ป่วยแต่ละราย
Q
of Life for
โรคกระดูกพรุน
uality
ภัยเงียบที่ป้องกันได้
หากเริ่มดูแลตั้งแต่วันนี้
แพทย์หญิงณัชชา หริญรักษ์ แพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและแพทย์ด้านเวชศาสตร์ป้องกัน ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์
อย่างไรก็ดี ผู้ชายที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป ก็ มี ค วามเสี่ ย งสู ง เช่ น กั น ดั ง นั้ น การดู แ ล กระดูกให้แข็งแรงเป็นเรื่องที่ทุกคนควรท�ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่บริโภค เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ น�ำ้ อัดลม และคาเฟอีน เป็นประจ�ำ หรือผู้ที่ขาดความสมดุลในการ บริโภคอาหารและไม่ค่อยได้ออกก�ำลังกาย ก็มีความเสี่ยงสูงเช่นกัน เช่นเดียวกับส่วน
โรค
กระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดจาก การสลายของกระดู ก ที่ ส ะสม เป็นเวลานาน ซึง่ ถือเป็น “ภัยเงียบ” ทีซ่ อ่ นอยู่ ในตัวเรา เนือ่ งจากการวินจิ ฉัยตรวจพบได้ยาก ในระยะเริ่มต้น “กระดูกของคนเราจะเติบโตและมี ความหนาแน่ น จนถึ ง ช่ ว งวั ย กลางคน คน ส่วนใหญ่จงึ ลืมให้ความสนใจดูแล โรคกระดูกพรุนจะตรวจวินิจฉัยพบก็หลังจากที่ผู้ป่วยมี อาการบาดเจ็บจากภาวะกระดูกหัก หรือเกิด ปั ญ หาข้ อ ต่ อ และหมอนกระดู ก สั น หลั ง ” แพทย์หญิงณัชชา หริญรักษ์ แพทย์ด้าน เวชศาสตร์ ช ะลอวั ย และแพทย์ ด ้ า นเวชศาสตร์ ป ้ อ งกั น จากศู น ย์ ส ่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ ไวทัลไลฟ์ กล่าว “ภาวะกระดูกหักมักเกิดขึ้นบริเวณ กระดูกสันหลัง สะโพก และข้อมือ อาจก่อให้
เกิดภาวะพิการถาวร และเป็นอันตรายต่อ ชีวิตได้ รวมถึงภาวะแทรกซ้อนอย่างอื่น เช่น อาการเจ็บปวดเรือ้ รังเวลาเคลือ่ นไหวร่างกาย ความพิการผิดรูปของกระดูก (หลังโก่งค่อม) แม้การสูญเสียเนื้อเยื่อกระดูกจะเป็นเรื่อง ธรรมชาติที่เกิดตามอายุขัย แต่ไม่ใช่ทุกคนที่ จะสูญเสียเนือ้ เยือ่ กระดูกจนเกิดภาวะกระดูก พรุน เพื่อลดความเสี่ยง เราควรจะดูแลรักษา กระดูกให้แข็งแรงอยู่เสมอ ไม่ว่าจะอยู่ใน วัยใดก็ตาม” คุณหมอณัชชา กล่าวเสริม โรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่เกิดขึ้นทั้ง ในผู้หญิงและผู้ชาย แต่มักจะเกิดในผู้หญิง ตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ความหนาแน่นของกระดูก จะลดลงอย่างรวดเร็วหลังจากช่วงวัยทอง เนื่องจากการลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนในร่ า งกายอย่ า ง รวดเร็ว ▲
แพทย์หญิงณัชชา หริญรักษ์
แพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัยและแพทย์ด้านเวชศาสตร์ป้องกัน ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
27
of Life อื่น ๆ ของร่างกายที่เราต้องดูแล การเติบโต ของกระดูกถูกกระตุ้นโดยการออกก�ำลังกาย ทั้งการออกก�ำลังกายแบบคาร์ดิโอที่ช่วยเพิ่ม อั ต ราการเต้ น ของหั ว ใจและเพิ่ ม มวลของ กล้ามเนื้อโดยการยกน�้ำหนัก นับเป็นอีกทาง เลือกที่ดีในการป้องกันภาวะกระดูกพรุน คุณหมอณัชชา ยังกล่าวเสริมอีกว่า คนไทยและคนเอเชียมีแนวโน้มและความ เสี่ยงที่จะเป็นโรคกระดูกพรุนสูง เนื่องจากเรา มีกระดูกที่บางโครงสร้างร่างกายที่เล็กและมี การบริโภคแคลเซียมในปริมาณต�่ำ
การป้องกันภาวะกระดูกพรุน
Vol.22 No.214 March-April 2016
เพื่ อ ลดอั ต ราความเสี่ ย ง คุ ณ หมอ ณัชชา ได้ให้ค�ำแนะน�ำดังต่อไปนี้ 1. ทั้งหญิงและชายที่มีอายุ 45 ปี ขึ้ น ไป ควรตรวจเช็ ก ความหนาแน่ น ของ มวลกระดู ก สะโพกและกระดู ก สั น หลั ง อย่างสม�่ำเสมอ 2. เราควรบริโภคอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง เช่น ชีส โยเกิร์ต ผักใบเขียว คอร์นเฟลค ปลาซาร์ดนี งา ปลาตัวเล็กตัวน้อย และ นมเสริมวิตามินดี วันละแก้วเป็นประจ�ำ
28
3. เลื อ กบริ โ ภคเนื้ อ สั ต ว์ ที่ อุ ด มไป ด้วยวิตามินดี อย่างเนื้อปลาต่าง ๆ เช่น ปลา แซลมอน ปลาทูน่า และปลาแฮร์ริ่ง วิตามินดี นัน้ ส�ำคัญต่อร่างกายของเราเพราะช่วยให้เรา ดูดซึมแคลเซียมได้ดีขึ้น 4. บริโภคอาหารที่อุดมไปด้วยวิตามิน เค จ�ำพวกผักต่าง ๆ เช่น ผักโขม ผักจ�ำพวก กะหล�่ำ ถั่วเขียว หน่อไม้ฝรั่ง และบรอคโคลี่ เพราะวิตามิน เค ก็เป็นอีกทางเลือกทีด่ ใี นการ เพิ่มความแข็งแกร่งของกระดูก 5. การออกก� ำ ลั ง กายอย่ า งสม�่ ำ เสมอ เช่น การยกน�้ำหนัก การวิ่งเหยอะ ๆ
เล่นเทนนิส และการเดินนั้นก็เป็นทางเลือก ที่ ย อดเยี่ ย มที่ ช ่ ว ยเสริ ม สร้ า งและคงความ แข็งแรงให้กระดูก 6. การออกไปรั บ แสงแดดในช่ ว ง เวลาที่เหมาะสม เช่น 10 โมงเช้า เพื่อช่วยให้ เราได้รับวิตามินดีที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
การรักษา
คุณหมอณัชชา ได้กล่าวว่าการรักษา ผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนนั้นมีอยู่หลายทาง “วิธี การรักษาแบบเฉพาะราย โดยการใช้ยารักษา ร่วมกับการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ทั้งการบริโภค อาหารและการออกก�ำลังกาย ทางเลือกอื่นในการรักษา คือ การใช้ ฮอร์โมนบ�ำบัด ซึ่งเหมาะกับผู้ป่วยที่มีปัญหา เรือ่ งความไม่สมดุลของฮอร์โมนเป็นราย ๆ ไป และควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์เพื่อ ประเมินผลได้ผลเสีย และความเสี่ยงเฉพาะ บุคคล” คุ ณ หมอณั ช ชา ได้ ใ ห้ ค� ำ แนะน� ำ ทิ้งท้ายไว้ว่า “เราทุกคนควรท�ำตัวให้กระฉับกระเฉงอยู่เสมอ เมื่อเราขาดการเคลื่อนไหว หรื อ ไม่ ไ ด้ อ อกก� ำ ลั ง กาย จะท� ำ ให้ ค วาม แข็งแรงของกระดูกลดลง ดังนัน้ เราควรหันมา ออกก� ำ ลั ง กายอย่ า งสม�่ ำ เสมอ ไม่ ว ่ า จะ เป็นการเดิน การวิ่ง ยกน�้ำหนัก หรือเล่นกีฬา อะไรก็ได้” โรคกระดูกพรุนเป็นภัยเงียบทีป่ อ้ งกัน ได้ หากคุณเริ่มดูแลตั้งแต่ตอนนี้
Q
Advertorial for
uality
Service Value Stream Management (SVSM): การประยุกต์ ใช้แนวคิด Lean ในอุตสาหกรรมบริการ ผศ.สมจิตร ลาภโนนเขวา
ต่อจากฉบับที่แล้ว
ใน
บทความทั้ง 3 ตอนที่ผ่านมา คงท�ำให้ท่านผู้อ่านได้แนวคิด เกีย่ วกับลีนส�ำหรับการบริการ (Lean for Service) ไปพอสมควร ทั้งแนวคิดในภาพรวมและตัวอย่างธุรกิจที่น�ำลีนไปใช้ในการบริการ ไม่ว่าจะเป็น ศิริราชพยาบาล และ ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด มหาชน ดังนั้น บทความตอนสุดท้ายของลีนส�ำหรับงานบริการ จึงได้ น�ำแนวทางการประยุกต์ใช้เครือ่ งมือชนิดหนึง่ ทีเ่ รียกว่า “SVSM” ทีท่ รง ประสิทธิภาพในระบบลีนที่จะช่วยให้องค์กรมองเห็นความสูญเปล่าใน กระบวนการบริการที่องค์กรต้องเผชิญอยู่เป็นประจ�ำได้อย่างชัดเจน เพื่อน�ำไปสู่การก�ำจัดความสูญเปล่านั้น ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมบริการจะไม่มีรูปร่าง (intangible product) สัมผัสไม่ได้ แต่ลกู ค้าสามารถรับรูถ้ งึ ผลการตอบสนองได้โดย ง่าย ซึ่งลูกค้าของอุตสาหกรรมบริการยังคงคาดหวังถึง “งานบริการ” เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมผลิตว่าจะได้รับการบริการ ที่ดีกว่า เร็วกว่า และถูกกว่า นอกจากนี้งานบริการบางประเภท ลูกค้า
อาจคาดหวั ง มากกว่ า งานผลิ ต อี ก กระบวนการบริ ก ารเป็ น การ ด�ำเนินการทางธุรกรรม (transaction) ข้อมูล ให้กบั ลูกค้า โดยกิตติศกั ดิ์ พลอยพานิชเจริญ(1) ได้ให้นิยามความหมายของงานบริการไว้ดังนี้ งานบริการ (service) คือ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการเผชิญหน้ากัน (interface) ระหว่างผู้ส่งมอบและลูกค้าและด้วยกิจกรรมภายในของ ผู้ส่งมอบเอง เพื่อให้บรรลุตามความต้องการของลูกค้า เช่น ธนาคาร โรงแรม ภัตตาคาร เป็นต้น โดยปัจจัยที่มีผลต่อความส�ำเร็จของธุรกิจ บริการ คือ ศักยภาพของบุคลากรที่ท�ำหน้าที่ในการให้บริการ (front office) ทีต่ อ้ งมีบคุ ลิกทีด่ ี มีจติ บริการ และต้องมีกระบวนการด�ำเนินการ ทางธุรกรรมต่าง ๆ ที่ปราศจากซึ่งความสูญเปล่า ในปัจจุบันธุรกิจการ บริการมีการ ขายงานบริการเชิงอาชีพ (professional service) เพิม่ มาก ขึ้น ซึ่งจะพบว่าผลิตภัณฑ์ของกระบวนการบริการเชิงอาชีพนี้ จะอยู่ใน รูปของสารสนเทศ (information) กล่าวคือ เป็นผลลัพธ์ทเี่ กิดขึน้ จากการ เผชิญหน้ากันระหว่างผูส้ ง่ มอบและลูกค้า โดยทีผ่ สู้ ง่ มอบจะท�ำงานด้าน for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
29
Advertorial
Vol.22 No.214 March-April 2016
ธุรกรรมเกี่ยวกับข้อมูลของลูกค้าเพื่อให้ความรู้ (knowledge) หรือ สารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจให้กับลูกค้า เช่น ที่ปรึกษาหรือนักวินิจฉัย อุตสาหกรรม โรงพยายบาล มหาวิทยาลัย เป็นต้น ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อ ความส�ำเร็จของธุรกิจบริการประเภทนี้ คือ บุคลากรที่ท�ำหน้าที่ในการ ให้บริการที่จะต้องมีความรู้ ทักษะ ความช�ำนาญค่อนข้างสูง และ ต้อง มีกระบวนการด�ำเนินการทางธุรกรรมต่าง ๆ ที่ปราศจากซึ่งความ สูญเปล่า เช่นเดียวกับกระบวนการทางธุรกรรมข้อมูลทั่วไป เพือ่ ท�ำให้กระบวนการด�ำเนินการทางธุรกรรมข้อมูลต่าง ๆ ของ งานบริการปราศจากซึ่งความสูญเปล่าได้นั้น ทางองค์กรผู้ให้บริการ จะต้ อ งด� ำ เนิ น กิ จ กรรมการป้ อ งกั น และก� ำ จั ด ความสู ญ เปล่ า ใน กระบวนการทางธุรกรรมของงานบริการอย่างจริงจัง ซึ่งจ�ำเป็นจะต้อง อาศัยแนวคิดของ Lean เข้ามาช่วย เพื่อจัดการสายธารคุณค่าหรือ โซ่คุณค่า โดย A. Bonaccorsi, G. Carmignani and F. Zammori(2) ได้ เสนอถึงขั้นตอนการจัดการสายธารคุณค่าของงานบริการ (Service Value Stream Management: SVSM) เพื่อลดความสูญเปล่าในการ ท�ำธุรกรรมข้อมูลดังนี้ 1. สร้างปณิธาน (commitment) ที่แน่วแน่ต่อการน�ำระบบ Lean มาประยุกต์ในองค์กรเพื่อป้องกันการเกิดขึ้น และก�ำจัดความ สูญเปล่า 2. เรียนรูเ้ กีย่ วกับแนวคิด (concept) วิธวี ทิ ยา (methodology) และกลวิธี (technique) ของ Lean ให้รู้แจ้ง 3. เลือกสายธารคุณค่าที่จะท�ำการปรับปรุง
30
4. เขียนแผนภาพสายธารคุณค่าของสถานะปัจจุบันของ กระบวนการบริการ (SVSM the current state) 5. ระบุผลกระทบของความสูญเปล่าและตั้งเป้าหมายในการ ปรับปรุง 6. สร้ า งแผนภาพสายธารคุ ณ ค่ า สถานะในอนาคตของ กระบวนการบริการ (SVSM the future state) ผู้สนใจขั้นตอนและตัวอย่างของการจัดการสายธารคุณค่า ของงานบริ ก ารและกรณี ศึ ก ษาสามารถศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ได้ จ าก A. Bonaccorsi, G. Carmignani and F. Zammori(2)
ความสูญเปล่าในงานบริการ
ความสูญเปล่า (waste, loss, muda, non-value added activity) คือ สภาพปัจจุบันขององค์ประกอบของกระบวนการ ทั้งนี้อาจจะ อยู ่ ใ นรู ป ของปั จ จั ย ป้ อ นเข้ า (input) หรื อ ผลลั พ ธ์ (output) ของ กระบวนการก็ได้ ทีม่ คี วามเบีย่ งเบนไปจากสภาพทีต่ อ้ งการให้เป็น หรือ สภาพที่เป็นเป้าหมาย หรือสภาพที่ควรจะเป็น ดังแสดงในรูปที่ 1 โดย ความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการจะมีผลโดยตรงต่อต้นทุนสินค้า หรือบริการ และความไม่พอใจของลูกค้า ดังนั้น เพื่อลดผลกระทบ ดั ง กล่ า ว หลั ก การของ Lean จึ ง เน้ น ความส� ำ คั ญ ที่ ก ารแสวงหา ประสิทธิภาพของการด�ำเนินงานด้วยการค้นหาความสูญเปล่าอย่าง จริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความสูญเปล่าทีแ่ อบแฝง หรือซ่อนเร้นอยูใ่ น กระบวนการ (hidden) ทั้งที่เป็นความสูญเปล่าซ่อนเร้นทางกายภาพ
Advertorial ความสูญเปล่าที่อ้างอิงกับระบบการผลิตแบบ Lean แบ่งออก เป็น 7 ประการ มีบางท่านเรียกเป็นค�ำคล้องจองแบบไทย ๆ ว่า ย้ายบ่อย คอยนาน สต๊อกบาน งานผิด ผลิตเกิน เดิน-เอือ้ ม-หัน ขัน้ ตอน ไร้ค่า และในช่วงหลังได้มีการเพิ่มเติมอีกหนึ่งความสูญเปล่า คือ การใช้อรรถประโยชน์จากทรัพยากรบุคคลได้ไม่เต็มความสามารถ หรือศักยภาพ โดยความสูญเปล่าทั้ง 8 ประการนี้ ทางองค์กรเพิ่ม ผลผลิตแห่งเอเชีย (Asian Productivity Organization: APO) ได้ จัดรูปแบบการน�ำเสนอใหม่ในรูปแบบที่จ�ำได้ง่ายขึ้นเป็นพยัญชนะ ภาษาอังกฤษว่า “DOWNTIME” โดยตรงกับค�ำศัพท์ดังแสดงในรูปที่ 2
(มองไม่เห็นเนื่องจากกระบวนการไม่โปร่งใส) และความสูญเปล่าซ่อน เร้นด้านจิตส�ำนึก (มองเห็นแต่ท�ำเป็นมองไม่เห็นหรือไม่ได้ใส่ใจ) หรือ ขาดความเข้าใจ (มองเห็นแต่ไม่คิดว่าจะเป็นความสูญเปล่า) แล้ว ท�ำการแก้ไขเพื่อขจัดความสูญเปล่าทิ้ง กล่าวคือ เป็นการลด Gap ระหว่ า งสภาพที่ ต ้ อ งการกั บ สภาพปั จ จุ บั น ขององค์ ป ระกอบของ กระบวนการ พร้อมทัง้ ท�ำการวางแผนล่วงหน้าเพือ่ หาวิธกี ารป้องกันการ เกิดขึ้นของความสูญเปล่า
รูปที่ 1 แนวคิดของความสูญเปล่า
▼ ตารางที่
รูปที่ 2 ความสูญเปล่า 8 ประการ
ในการบริการ DOWNTIME คือ ตัวแทนของสิ่งที่ขัดขวางการ บริการ หรือสิ่งที่ท�ำให้ลูกค้าเกิดความไม่พอใจทั้งลูกค้าภายนอกและ ลูกค้าภายใน ส�ำหรับความสูญเปล่าในอุตสาหกรรมบริการอาจจะมีความหมาย แตกต่างจากความสูญเปล่าของอุตสาหกรรมการผลิตบ้างเล็กน้อย David Arfmann, Dr. Federico, G. Topolansky Barbe(4) ดังแสดงใน ตารางที่ 1
1 แสดงความสูญเปล่าในอุตสาหกรรมการบริการ 8 Types of Waste in Production
Overproduction of goods not demanded by customers Time on hand (waiting) for the next process step, machine, or similar Transportation of goods that is not necessary to create value Processing itself like unnecessary (quality) inspections within the process Stock on hand (inventory) that are simply waiting for further / future needs Movement of workers that is unnecessary is it does not add value to the product Making defective products that cannot be sold or have to be reworked
8 Types of Waste in Services Duplication like reentering data, repeating details on forms and similar Delay in terms of customers waiting for service delivery Lost opportunity to retain or win customers by ignoring them, unfriendliness or similar Unclear communication with customers or internally leading to clarification circles Incorrect inventory being out of stock and hence not able to deliver
Movement in terms of handing over orders, queuing customers several times and similar Error in the service transaction including product damages in productservice bundle Underutilized Employees, Inadequate tools; Excessive bureaucracy; Limited authority
Vol.22 No.214 March-April 2016
▲
▲
31
Advertorial เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของธุรกิจบริการไม่มีรูปร่าง และการท�ำธุรกรรมข้อมูลจะเกิดการเผชิญหน้ากันระหว่างลูกค้ากับผู้ให้บริการดังที่กล่าว มาแล้วข้างต้น โดย B. Kollberg, J. Dahlgaard and P. Brehmer (3) ได้กำ� หนดความสูญเปล่าในงานบริการไว้ 10 ประการ ดังแสดงในตารางที่ 2 ▼ ตารางที่
2 แสดงความสูญเปล่าในอุตสาหกรรมการบริการ ความสูญเปล่า
Defects Duplication Incorrect Inventory Lack of customer’s focus Overproduction Unclear communication Motion/Transportation Underutilized Employees Variation Waiting/Delay
ตัวอย่างความสูญเปล่า Data entry errors; Lost files; Lost or damaged goods Data re-entering; Multiple signatures; Unnecessary reporting; Multiple queries Stock out; Wasting time finding what was needed; Unnecessary copies Unfriendliness; Rudeness; Poor attention to the customer Reports no one will ever read; Processing paperwork before time Incorrect information; Lack of standard data format; Unclear work flow Poor layout; Ineffective filing; Poor ergonomic Inadequate tools; Excessive bureaucracy; Limited authority Lack of procedures; Lack of standard formats; Standard time not defined Waiting for approvals; Downtime; Waiting for supplies
กลวิธีสำ�หรับการกำ�จัด Waste
เริ่มจากการจ�ำแนกกิจกรรมต่าง ๆ ออกเป็น Value Added (VA), Non Value Added But Necessary และ Waste จุดประสงค์ในการ ปรับปรุง คือ การเพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการด้วยการก�ำจัด Waste และ NVA และเน้นให้ทมี งานสามารถใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการแก้ไขปัญหา และระบุสาเหตุของปัญหาได้ ตารางที่ 3 แสดงถึงแนวทางการในการก�ำจัดความสูญเปล่าตามวิธีการของ Lean ▼ ตารางที่
3 แสดงแนวทางการจัดการ Waste Action
Main Waste Tackled
Other Wastes
5S Planned Break Standardization
Defects Motion, Defects Defects, Motion, Duplication
Visual Control Layout/Work Cells Continuous Flow Balancing Leveling Quick Changeover
Inventory, Overproduction Motion, Transportation Unclear Communication Waiting, Inventory Overproduction, Variation Waiting
Inventory, Waiting Waiting Overproduction, Underutilized Employees, Communication Waiting Waiting, Underutilized Employees Overproduction Variation, Overproduction Inventory Overproduction
Vol.22 No.214 March-April 2016
การค้นหาและการก�ำจัดความสูญเปล่า คือ จุดเริ่มต้นของ ระบบการบริหารแบบ Lean หรือการจัดการสารธารคุณค่าส�ำหรับธุรกิจ การบริการ แนวคิด และเครือ่ งมือของ Lean ยังมีอกี มากมายทีส่ ามารถ เรียนรู้เพิ่มเติมได้ การเรียนรู้ที่ดี คือ การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ ขอให้โชคดี
32
หากท่านใดสนใจเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ Lean for Service ติดต่อสอบถามได้ที่แผนกออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) โทร. 0-2717-3000-29 ต่อ 751 คุณอังค์วรา e-mail: ungwara@tpa.or.th หรือ 0-2717-3000-29 ต่อ 81 Call Center
เอกสารอ้างอิง 1. กิตติศกั ดิ์ พลอยพานิชเจริญ, “TQM การบริหารเพือ่ คุณภาพโดยรวม”, ส.ส.ท. 2. A. Bonaccorsi, G. Carmignani and F. Zammori, “Service Value Stream Management (SVSM): Developing Lean Thinking in the Service Industry”, Journal of Service Science and Management, 2011, 4, 428-439 3. B. Kollberg, J. Dahlgaard and P. Brehmer, “Measuring Lean Initiatives in Health Care Services: Issues and Findings,” International Journal of Productivity and Performance 4. David Arfmann, Dr. Federico and G. Topolansky Barbe, “The Value of Lean in the Service Sector: A Critique of Theory & Practice,” International Journal of Business and Social Science
Q
Special Issue for
uality
Special Issue
Special Issue
Q
Special Issue for
uality
ผู้นำ�แห่งธุรกิจ e-Commerce กองบรรณาธิการ
บรรยากาศ
ในการซือ้ ขายสินค้าและบริการในปัจจุบนั เปลีย่ นแปลงไป พฤติกรรม ผู้บริโภคเป็นกลไกในการพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการของ ผู้ประกอบการ เทรนด์การจับจ่ายใช้สอยจึงขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ต้องฉับไว สะดวก รวดเร็ว และ ทันสมัย บริษทั ตลาด ดอท คอม จ�ำกัด เป็นหนึง่ ในผูใ้ ห้บริการอีคอมเมิรซ์ อันดับต้น ๆ ของประเทศไทย และทั่วโลก ได้ร่วมทุนกับ บริษัท Rakuten, Inc. ประเทศญี่ปุ่น (บริษัทที่ใหญ่ที่สุดของโลกที่ให้บริการ ด้านอินเทอร์เน็ต และเป็นผู้น�ำด้านอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก โดยมีธุรกิจในเครือ ได้แก่ ธุรกิจเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซ ธุรกิจพอร์ทัลและสื่อ ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการด้านการเงิน และธุรกิจ ด้านกีฬามืออาชีพ) ซึ่งเป็นบริษัทอีคอมเมิร์ซที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก และได้เข้าถือหุ้นของ บริษัท ตลาด ดอท คอม จ�ำกัด เป็นจ�ำนวน 67 เปอร์เซ็นต์ โดย Rakuten ได้เล็งเห็นว่าบริษัท ตลาด ดอท คอม จ�ำกัด เป็นบริษัทที่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตทางธุรกิจสูง และการร่วมมือกันทางธุรกิจในครั้งนี้มี เป้าหมายที่จะมอบบริการที่ดีที่สุด และสะดวกสบายที่สุดให้กับผู้บริโภคในประเทศไทย และในขณะ เดียวกันก็เป็นการช่วยเศรษฐกิจของประเทศไทยให้มคี วามคล่องตัวมากขึน้ ด้วยการส่งเสริมผูป้ ระกอบ กิจการขนาดย่อม หรือ SMEs ในการจ�ำหน่ายสินค้าผ่านระบบออนไลน์ให้มีศักยภาพอย่างเต็มรูปแบบ อีกด้วย คุณภาวุธ พงษ์วิทยภานุ กรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้ง บริษัท ตลาด ดอท คอม จ�ำกัด และ นายกสมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ท่านเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการไทยที่เริ่มต้นธุรกิจ อีคอมเมิร์ซเป็นอันดับต้น ๆ ของประเทศ และในวันนี้ท่านได้ร่วมแสดงทัศนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ▲
คุณภาวุธ พงษ์วิทยภานุ
กรรมการผู้จัดการและผู้ก่อตั้ง บริษัท ตลาด ดอท คอม จำ�กัด และนายกสมาคมผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
34
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
Special Issue ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ สถานการณ์และแนวโน้มใน อนาคตของธุรกิจนี้ รวมไปถึงการพัฒนาสู่การ แข่งขันแก่ผู้อ่านทุกท่าน
เป้าหมายในการบริหารจัดการ บริษัท ตลาด ดอท คอม จำ�กัด
เป้าหมาย โดยจากเดิมที่เน้นหนักไปที่ตลาด ภายในประเทศ (domestic market) แต่ขณะนี้ เราเริ่ ม มองไปที่ ต ลาดในภู มิ ภ าค (regional market) และไปสู่ตลาดโลก (global market) มากยิ่งขึ้น นั่นคือ จะมีการท�ำแพลตฟอร์มใหม่ ขึ้นมา โดยในช่วง 6 ปีหลังมานี้เราได้ร่วมมือกับ ทางญี่ปุ่น ซึ่งมีเครือข่ายอยู่ทั่วทุกมุมโลก และ เราได้พยายามให้ร้านค้าที่มีอยู่ได้เข้ามาอยู่ใน แพลตฟอร์มของเรา ที่ถือว่าเป็น Global Platform จากนั้นจึงสนับสนุนและกระตุ้นให้ร้านค้า เหล่านั้นได้มีโอกาสในตลาดต่างประเทศให้ได้ เพราะฉะนั้นกล่าวโดยสรุปได้ว่า ตลาด ดอท
คอม ก�ำลังท�ำให้ตลาดในประเทศแข็งแรงเสีย ก่อน จากนัน้ จึงมีการผลักดันผูป้ ระกอบการไปยัง ต่างประเทศนั่นเอง”
สถานการณ์โลกธุรกิจออนไลน์
16 ปีที่ผ่านมาธุรกิจออนไลน์เกิดการ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร คุณป้อม กล่าวว่า “ธุรกิจอีคอมเมิร์ซมีการเปลี่ยนแปลงในหลากหลายมุมมอง มุมมองที่ 1 การเปลี่ยนแปลงไป ของผู้ใช้งาน หรือ User จากเดิมที่มีเพียงกลุ่ม เล็กจ�ำนวนไม่มากนัก แต่ขณะนี้เริ่มมีจ�ำนวนที่ เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง นั่นเพราะทุกคนมี สมาร์ ท โฟน เริ่ ม มี Social Network เข้ า มา เกี่ยวข้อง มุมมองที่ 2 การเปลี่ยนแปลงไปของ โลกออนไลน์ จากเดิมทีเ่ ป็นการสือ่ สารทางเดียว (one way communication) แต่ทุกวันนี้เริ่ม พัฒนาเป็นการสื่อสาร 2 ช่องทาง (two way communication) และเป็นการสื่อสารหลาย ช่องทาง (multi-way communication) มุมมอง ที่ 3 การเปลีย่ นแปลงไปของช่องทางการสือ่ สาร จากเดิมที่อยู่เพียงบนคอมพิวเตอร์ แต่ขณะนี้ ช่องทางสือ่ สารอยูใ่ นโมบายโฟน หรือสมาร์ทโฟน กว่า 50 เปอร์เซ็นต์ มุมมองที่ 4 การเปลีย่ นแปลง ไปของการแข่งขัน จากเดิมที่แข่งขันอยู่เพียง แค่ภายในประเทศเท่านัน้ แต่ทกุ วันนีเ้ ริม่ มีหลากหลายประเทศเข้ามามากขึน้ ไม่วา่ จะเป็นทางตรง คื อ การเปิ ด บริ ษั ท ในประเทศไทยเลย หรื อ จ�ำหน่ายสินค้าผ่านออนไลน์จากประเทศต่าง ๆ
Vol.22 No.214 March-April 2016
คุณภาวุธ หรือคุณป้อม กล่าวกับเราถึง เป้าหมายในการบริหารจัดการบริษัทจนกระทั่ง ในวันนี้กล่าวได้ว่า บริษัท ตลาด ดอท คอม จ�ำกัด ถือเป็นหนึ่งในธุรกิจอีคอมเมิร์ซที่ทุกคน กล่าวถึง “บริษัท ตลาด ดอท คอม จ�ำกัด เรา เชื่ อ มั่ น ว่ า เราคื อ ธุ ร กิ จ อี ค อมเมิ ร ์ ซ (E-Commerce) เราคือผู้น�ำด้านอีคอมเมิร์ซ (E-Commerce) ของไทย ด้วยประสบการณ์มากกว่า 10 ปี โดยมีบริการหลัก คือ www.TARAD.com ชอปปิ้งมอลล์ ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย www. TARADplaza.com ตลาดศูนย์กลางร้านค้า และ สินค้าราคาถูก มากที่สุดในประเทศไทย www. TARADquickweb.com เปิดร้านค้าออนไลน์ พร้อมลูกค้านับล้าน และ www.ThaiSecondhand.com ตลาดซือ้ -ขายของมือสองทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย นับจากวันที่เริ่มต้นก่อตั้งมาจนกระทั่ง ถึงวันนี้ เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจของเรายัง คงเหมือนเดิมไม่เปลี่ยนแปลง นั่นคือ การท�ำให้ ธุรกิจเข้าสู่โลกออนไลน์ได้มากขึ้นโดยกลุ่มเป้าหมายของเรา คือ เจ้าของกิจการหรือผู้ประกอบ ธุรกิจ และตลอดระยะเวลา 16 ปีที่ผ่านมา ก็มี พันธกิจที่มุ่งส่งเสริมให้ธรุ กิจ SMEs สามารถเข้า สู่โลกออนไลน์ได้ ซึ่งในช่วงหลังนี้เรามีการขยาย
35
Special Issue เพราะฉะนัน้ เมือ่ หลายมุมมองมีการเปลีย่ นแปลง ส่งผลให้กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจก็ย่อมต้อง เปลี่ยนแปลงไป ในแง่พฤติกรรมของผู้ซื้อก็จะ เปลีย่ นแปลงไป รวมไปถึงสินค้าก็จะเปลีย่ นแปลง ไปด้วยเช่นเดียวกัน” ซึ่งสินค้าที่มีการเปลี่ยนแปลงไปสะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง รสนิ ย มของผู ้ ซื้ อ ที่ เปลี่ ย นแปลงไปด้ ว ย “ที่ ผ ่ า นมาภาพรวมของ สิ น ค้ า ที่ ข ายออนไลน์ ส ่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น สิ น ค้ า ประเภทแฟชั่น แต่ทุกวันนี้ตลาดที่น่าจับตามอง คือ สินค้าเครื่องส�ำอาง อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ รวมไปถึงธุรกิจท่องเที่ยว สิ่งนี้สะท้อนให้เห็นว่า ผู้บริโภคเริ่มใส่ใจในเรื่องสุขภาพ ความงาม และ การพักผ่อนหย่อนใจเป็นส�ำคัญ รวมไปจนถึง บริการ Digital Content อาทิ หนัง เพลง ดังนั้น สิ น ค้ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในธุ ร กิ จ ออนไลน์ จึ ง เปลี่ ย นไป เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานของประเทศก็พร้อม รองรับการขยายตัวด้วยเช่นเดียวกัน”
การพัฒนาการบริการของตลาด ดอท คอม
Vol.22 No.214 March-April 2016
“ตลาด ดอท คอม มีความพร้อมที่จะ พัฒนาสินค้าและบริการเพื่อตอบโจทย์ลูกค้า ไม่ ว่าจะเป็นเรือ่ งระบบการช�ำระเงิน นัน่ คือ จากเดิม มีเพียงระบบออนไลน์เพียงอย่างเดียว เพิ่มเติม เพียงมีออฟไลน์เข้ามา แต่ทกุ วันนีเ้ รามีระบบการ เก็บเงินปลายทาง นอกจากนีย้ งั มีบริการผ่านทาง มือถือมากขึ้นเพื่อรองรับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ โดยแต่ละปีเรามีการวาง Theme ไว้ว่า จะพัฒนาในส่วนใด ซึ่ง Theme ในปีนี้คือ ย้าย ร้านค้าให้เข้าไปอยู่ใน Global Platform ให้มาก ยิ่งขึ้น” คุณป้อม กล่าวถึงการพัฒนาของ ตลาด ดอท คอม ที่ไม่เคยหยุดนิ่ง
36
ความแตกต่างของธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ของไทยกับญี่ปุ่น
นอกจากนี้ คุ ณ ป้ อ ม ยั ง ได้ ถ ่ า ยทอด ความรู้เกี่ยวกับความแตกต่างของธุรกิจอีคอมเมิร์ซของไทยกับญี่ปุ่นด้วยว่า “เนื่องจากวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมของไทยและญี่ปุ่น มีความแตกต่างกันค่อนข้างมาก ท�ำให้การด�ำเนิน ธุ ร กิ จ อี ค อมเมิ ร ์ ซ ของทั้ ง สองประเทศมี ค วาม แตกต่างกัน อาทิ เรื่องร้านค้าในประเทศญี่ปุ่น ค่อนข้างทีจ่ ะมีโฟกัสและมีวนิ ยั ค่อนข้างมาก การ บริการ การให้ข้อมูล การบรรจุภัณฑ์จะดีเยี่ยม สิ่งนี้มองเห็นถึงความตั้งใจที่ผู้ประกอบการญี่ปุ่น มีกับลูกค้า ซึ่งเป็นตัวอย่างที่ดีที่ผู้ประกอบการ ไทยควรน�ำมาเป็นแบบอย่าง ในเชิ ง ของผู ้ ซื้ อ สิ น ค้ า เปรี ย บเที ย บ ระหว่างผู้ซื้อไทยกับญี่ปุ่นก็มีความแตกต่างกัน พฤติกรรมผู้ซื้อชาวไทยจะมีการซื้อสินค้าทั้งวัน ไม่มีช่วงเวลาที่แน่นอน แต่ผู้ซื้อชาวญี่ปุ่นจะนิยม ซื้อสินค้าในช่วงค�่ำ-ช่วงดึก ในแง่การขนส่งและ การช�ำระเงินที่ญี่ปุ่นก็มีความปลอดภัยสูงมาก จึงท�ำให้ผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นในการซื้อ-ขาย สินค้าสูง แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่ม อาเซียนแล้วนั้น ไม่ว่าจะเป็นประเทสสิงคโปร์ มาเลเซีย เมื่อจัดอันดับแล้วประเทศไทยมีมูลค่า การบริโภคสินค้าอีคอมเมิร์ซสูงที่สุดในอาเซียน นี่คือข้อได้เปรียบของเรา จากการวิเคราะห์ดู ตัวเลขมูลค่าอีคอมเมิร์ซตลอดทั้งปีในปี 2558 ที่ มีมูลค่ากว่า 2 ล้านล้านบาท รายได้หลักกว่า 1.2 ล้านล้านบาทเกิดจากการซือ้ ขายแบบ B to B แต่ เมื่อมาเจาะรายได้ที่เกิดจาก B to C คือ ตลาดค้า
ปลีก หรือผูผ้ ลิตขายสินค้าให้กบั ผูบ้ ริโภคอยูท่ กี่ ว่า 4 แสนล้านบาท ซึ่งสินค้าและบริการที่ท�ำรายได้ หลัก คือ การท่องเที่ยว เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน การจองทีพ่ กั ซึง่ ผูบ้ ริโภคไทยในปัจจุบนั นิยมทีจ่ ะ ท�ำเอง เมือ่ เรามีรายได้จากการท่องเทีย่ วเป็นหลัก และเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นในอาเซียน ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ในประเทศไทยจึงเติบโตมากกว่า ประเทศอื่น ๆ”
ธุรกิจอีคอมเมิร์ซ กับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
เฉกเช่ น เดี ย วกั บ ภาคอุ ต สาหกรรมที่ ด�ำเนินไปตามนโยบาลของภาครัฐ ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ก็เช่นเดียวกันทีต่ อ้ งด�ำเนินงานให้สอดคล้อง และสมดุลกับทุกภาคส่วน ซึง่ นีจ่ ะน�ำมาสูภ่ าพรวม เศรษฐกิจของประเทศ “เป็นทีน่ า่ ยินดีทภี่ าครัฐให้ ความสนใจเรื่องดิจิทัลมากขึ้นกว่าในอดีต และ สิง่ ทีภ่ าครัฐพยายามด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง คือ ผลักดันให้ภาครัฐเองเข้าสู่โลกออนไลน์มากขึ้น บริการของภาครัฐก็เป็นบริการทีร่ องรับประชาชน ได้มากขึ้น ในอนาคตคาดว่าอีกไม่นานน่าจะมี บัตรร่วมในการโดยสารรถไฟฟ้า รถประจ�ำทาง เรือโดยสาร ที่จะอยู่ในบัตรเดียวกัน หรือการใช้ e-Money หรือการผลักดันให้ SMEs ใช้ระบบ ออนไลน์มากขึน้ ซึง่ ข้อดีทเี่ กิดขึน้ คือ ส่งผลให้การ ท�ำงานสะดวก รวดเร็ว และมีคา่ ใช้จา่ ยทีต่ ำ�่ ลง แต่ ในขณะเดียวกันผู้ประกอบการภาคเอกชนก็จะ ต้ อ งพั ฒ นาไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น เพราะเมื่ อ เอกชนท�ำงานร่วมกันกับรัฐก็จะท�ำให้ประเทศ พัฒนาเร็วยิ่งขึ้นอีก” ตัวอย่างประเทศที่ประสบ ความส� ำ เร็ จ ในการท� ำ ธุ ร กิ จ อี ค อมเมิ ร ์ ซ คื อ ประเทศจีน เนื่องจากขนาดของตลาดในประเทศ โต เพียงแค่ขายสินค้าในประเทศเพียงอย่างเดียว ก็เพียงพอแล้ว แต่ด้วยปัจจัยที่สินค้าของจีนมี ราคาถูก จะเห็นว่าผู้ประกอบการจีนบางรายเริ่ม ขายสินค้าที่มีฉลากสินค้าเป็นภาษาอื่น ๆ อยู่ไม่ น้อย แสดงให้เห็นว่าสินค้าจีนเริม่ รุกตลาดทัว่ โลก และพร้อมรองรับการขยายตัว
การสนับสนุนของภาครัฐ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
ส� ำ หรั บ การสนั บ สนุ น ผู ้ ป ระกอบการ ธุรกิจอีคอมเมิร์ซนั้น ภาครัฐเร่งให้การสนับสนุน อย่างต่อเนือ่ งเพราะเล็งเห็นว่าสามารถสร้างเสริม ระบบเศรษฐกิจของประเทศได้ “ในเชิงของภาค รัฐนัน้ ก�ำลังเน้นการขับเคลือ่ นประเทศสูเ่ ศรษฐกิจ
Special Issue
สิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อไทยพัฒนา สู่เศรษฐกิจดิจิทัล
คุณป้อม ยังได้คาดการณ์ถึงแนวโน้ม ของประเทศเมือ่ มีการพัฒนาสูเ่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั อีก ว่า “การเข้าสู่โลกดิจิทัล นั่นหมายความว่าโลก ของเราจะไร้พรมแดน เพราะต่อไปการซื้อ-ขาย สินค้าใด ๆ ก็ตามต่อไปเราก็ยังคงซื้อสินค้าทาง
ออนไลน์ได้ตามปกติ แต่สินค้าที่จะซื้ออาจไม่ใช่ สินค้าของไทยเพียงอย่างเดียว อาจมาจากเว็บที่ เป็นภาษาไทยแต่ผดู้ แู ลสินค้าหรือสินค้าเหล่านัน้ เป็นของต่างประเทศ เช่น สหรัฐฯ จีน มาเลเซีย เข้ามาให้บริการ เพราะต่อจากนี้ไปเทคโนโลยี ทางการแปลภาษาจะพัฒนามากขึ้น ระบบการ ขนส่งหรือระบบการช� ำระเงินก็จะดีมากยิ่งขึ้น กล่าวได้เลยว่าอีกไม่กี่ปีข้างหน้าการค้าขายจะ
ไม่มีพรมแดนจริง ๆ หากผู้ประกอบการไทยไม่มี การปรับตัวและไม่น�ำตนเองเข้าสู่โลกออนไลน์ ไม่ น� ำ ตั ว เองออกสู ่ โ ลกต่ า งประเทศผ่ า นทาง ออนไลน์แล้ว ผมเชือ่ ว่าอนาคตของเราจะประสบ ปัญหาที่เรียกว่า การสูญเสียตลาด โดยสิ้นเชิง”
ฝากถึงผู้ประกอบการ
“ส�ำหรับ ตลาด ดอท คอม พูดได้ว่าเรา มีประวัตกิ ารให้บริการทีย่ าวนาน ในแง่ของการให้ บริการ เราจึงตระหนักว่าท�ำอย่างไรที่จะท�ำให้ ผูใ้ ช้บริการพึงพอใจมากขึน้ โดยเฉพาะการเข้ามา ในประชาเศรษฐกิจอาเซียน เมื่อเราเปิดประเทศ มากขึน้ ประชาชนมีการใช้ระบบออนไลน์มากขึน้ เมื่อเป็นเช่นนี้อาจจะส่งทั้งผลดีและผลเสีย ซึ่ง ข้อดี คือ ชีวิตสะดวกขึ้น แต่ข้อจ�ำกัด คือ เมื่อใดที่ มีออนไลน์คู่แข่งก็จะก้าวเข้ามาใกล้ชิดคนไทย มากยิ่งขึ้น เพราะฉะนั้นเมื่อคนไทยต้องการซื้อ สินค้าสักชิ้นหนึ่ง และเมื่อสั่งซื้อสินค้านั้นอาจไม่ ได้อยูใ่ นประเทศไทยก็เป็นได้ เพราะฉะนัน้ ก�ำแพง เรื่องการค้าในปัจจุบันและอนาคตลดต�่ำลง และ หากผู้ประกอบการไม่พึ่งพาระบบออนไลน์เลยก็ จะไม่เป็นผลดีแก่ธรุ กิจของท่าน ขณะเดียวกันบาง ธุรกิจอาจหายไปเลยก็เป็นได้ ซึ่งหากเราไม่มี การปรับตัวและยังคงขายของเดิม ๆ อยู่ เราก็คง เติบโตยาก” คุณป้อม สรุป
Vol.22 No.214 March-April 2016
ดิจิทัล และผลักดันผู้ประกอบการอย่างเต็มที่ แต่ สิ่งที่สังเกตได้จากหลายปีที่ผ่านมา คือ ภาครัฐ เน้นการสร้างผู้ประกอบการโดยดึงเข้ามาเพียง อย่ า งเดี ย ว แต่ เ มื่ อ ดึ ง เข้ า มาแล้ ว ก็ ยั ง ไม่ ไ ด้ สนั บ สนุ น อย่ า งเต็ ม ที่ นั่ น คื อ สนั บ สนุ น ให้ มี เว็บไซต์ แต่ไม่มกี ารกระตุน้ ให้เกิดยอดขาย ดังนัน้ จึงขอเสนอแนะให้ทางภาครัฐท�ำงานร่วมกับภาค เอกชนโดยเฉพาะการจัดท�ำนโยบายร่วมกัน ซึ่ง ปั จ จุ บั น ทางสมาคมผู ้ ป ระกอบการพาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ได้จดั ท�ำกรอบแนวคิดทีท่ างภาครัฐ สามารถด�ำเนินการผลักดันได้ทันที นี่เป็นสิ่งที่ ภาครัฐสามารถท�ำงานร่วมกันกับภาคเอกชนได้ เป็นเบื้องต้น อีกทั้งธุรกิจด้านออนไลน์ดิจิทัลนี้ ภาคเอกชนน่าจะมีความช�ำนาญมากกว่าภาครัฐ จึงควรให้ภาคเอกชนเป็นแกนน�ำโดยมีภาครัฐเป็น ผู้สนับสนุน หากเป็นเช่นนี้เชื่อมั่นได้เลยว่างาน ทางด้านดิจิทัลและอีคอมเมิร์ซของภาครัฐจะ พัฒนาไปได้ไกลมาก”
37
Q
Special Issue for
uality
ห้างสรรพสินค้าชอปปิ้งออนไลน์แบบครบวงจร กองบรรณาธิการ
ลาซาด้า
ประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของลาซาด้ากรุ๊ป ห้างสรรพสินค้าชอปปิ้งออนไลน์ ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด�ำเนินธุรกิจในประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม ลาซาด้ายังเป็นผู้บุกเบิกตลาดอีคอมเมิร์ซในภูมิภาคนี้ โดยมอบประสบการณ์การชอปปิ้งและช่องทางการขายปลีกที่สะดวกสบายส�ำหรับผู้บริโภคและมอบ แพลตฟอร์มส�ำหรับผู้ค้าให้สามารถเข้าถึงฐานลูกค้าที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้อย่าง ง่ายดาย ลาซาด้า ประเทศไทย ถือเป็นประสบการณ์การชอปปิ้งที่สะดวกสบายในประเทศไทย เนือ่ งด้วยเป็นห้างสรรพสินค้าชอปปิง้ ออนไลน์แบบครบวงจร ตอบโจทย์ทกุ ความต้องการของ ผู้ซื้อ ให้ความสะดวกสบาย และปลอดภัย ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นกับ ลาซาด้า ประเทศไทย เกิดขึ้นจากพลังความร่วมแรง ร่วมใจของพนักงาน และอีกหนึง่ กลไก คือ ผูบ้ ริหารมือฉกาจทีพ่ ร้อมขับเคลือ่ นให้บริษทั เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในธุรกิจอีคอมเมิร์ซ ซึ่งผู้บริหารที่เราจะกล่าวถึงในวันนี้ คือ ▲
Mr.Alessandro Piscini
ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ลาซาด้า ประเทศไทย
38
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
Special Issue Mr.Alessandro Piscini ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร ลาซาด้า ประเทศไทย โดยท่านได้กล่าว กับเราถึงแนวโน้มความเจริญเติบโตของธุรกิจ อีคอมเมิรซ์ และการบริการจัดการองค์กรเพือ่ ให้ ลาซาด้าเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง Mr.Alessandro ได้กล่างถึงภาพรวมของ ตลาดอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยตามทัศนะของ ท่านในเบื้องต้น “สิ่งที่สังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน คือ พฤติกรรมการชอปปิ้งออนไลน์ของผู้บริโภค ชาวไทยมีความเป็นเอกลักษณ์มากกว่าประเทศ อื่น ๆ เนื่องด้วยมีหลากหลายช่องทางและสินค้า มากกว่า ผู้บริโภคชาวไทยจึงมีพฤติกรรมเสาะแสวงหาเกีย่ วกับสิง่ ทีต่ อ้ งการจะซือ้ มีการเปรียบ เทียบหลายแห่งก่อนตัดสินใจซื้อ รู้ลึกและรู้จริง ในสิ่งที่ต้องการ ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่เกิดขึ้น คือ เมื่อปลายปีที่แล้วลาซาด้าได้จัดเทศกาล ออนไลน์ เฟสติวัล ซึ่งเป็นมหกรรมการซื้อขาย สินค้าออนไลน์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปีในภูมิภาค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เราพบว่ า มี สิ น ค้ า มากกว่า 1.7 ล้านชิ้นถูกสั่งซื้อโดยผู้บริโภคชาวไทยในช่วง 3 วันสุดท้ายของเทศกาล นอกจากนี้ เรายังพบนักชอปทีไ่ ม่เคยชอปปิง้ ออนไลน์เข้ามา
ชอปปิ้งเป็นครั้งแรกในช่วงเทศกาลอีกด้วย ซึ่ง สถิตผิ เู้ ข้าชมเว็บไซต์ลาซาด้าในประเทศไทยช่วง สามวันสุดท้ายได้รับบันทึกให้เป็นจ�ำนวนที่สูง ที่สุดเป็นประวัติการณ์ถึง 7.8 ล้านคน การชอปปิ ้ ง ออนไลน์ มี แ นวโน้ ม ว่ า จะเพิ่มขึ้นในอนาคต จากการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ที่มีเพิ่มมากขึ้น การมีสมาร์ทโฟนที่รองรับ 4G ท� ำ ให้ ค นเข้ า ถึ ง แพลตฟอร์ ม การชอปปิ ้ ง ได้ รวดเร็ ว ขึ้ น ซึ่ ง ทั้ ง หมดนี้ จ ะเป็ น ปั จ จั ย เสริ ม ที่ ส�ำคัญ นอกจากนี้พฤติกรรมการจับจ่ายซื้อของ ของคนต่างจังหวัดจะช่วยส่งเสริมมากขึน้ เพราะ ในบางจังหวัดมีห้างสรรพสินค้าแค่ที่เดียว แต่มี คนอยากจะจับจ่ายซื้อของ ดังนั้น การชอปปิ้ง ออนไลน์จงึ จะกลายเป็นค�ำตอบ ทีส่ ำ� คัญ คือ คน เริ่ ม ตระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ ข องการชอปปิ ้ ง ออนไลน์มากยิ่งขึ้น อย่างสินค้าบางชนิดก็ง่าย มากทีจ่ ะซือ้ ออนไลน์ แทนทีจ่ ะใช้เวลาออกไปซือ้ นอกบ้าน”
เมื่ อ ธุ ร กิ จ อี ค อมเมิ ร ์ ซ มี แ นวโน้ ม ที่ ดี ลาซาด้ า จึ ง เติ บ โตอย่ า งก้ า วกระโดด “ด้ ว ย วิสัยทัศน์ของลาซาด้าที่ต้องการเป็นห้างสรรพสินค้าชอปปิง้ ออนไลน์และช่องทางการขายปลีก ชั้ น น� ำ ไม่ เ พี ย งแต่ ใ นประเทศไทยแต่ ทั่ ว ทั้ ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เราจึงมุ่งมั่นน�ำเสนอ ประสบการณ์การชอปปิ้งและการขายที่สะดวก สบายและดีที่สุดให้แก่ลูกค้าและพันธมิตรทาง ธุรกิจของเรา จากวิสยั ทัศน์นยี้ งั เป็นแรงบันดาลใจ ให้ลาซาด้าสรรหาผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามหลากหลาย และครบวงจรมาน�ำเสนอแก่ลูกค้า ไม่ว่าจะเป็น ผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศและในประเทศเพื่อ มอบความสะดวกสบายสูงสุดในการชอปปิ้ง ออนไลน์ นอกจากนี้ยังมีระบบการจัดการที่ช่วย ให้แบรนด์และผู้ค้าออนไลน์เข้าถึงผู้บริโภคได้ โดยตรงอย่ า งรวดเร็ ว และง่ า ยดาย ผ่ า นช่ อ ง ทางการขายปลีกช่องทางเดียว ช่วยให้ธรุ กิจของ เราเติบโตไปด้วยกันอย่างแข็งแกร่ง” ซึง่ ลาซาด้า โดดเด่นเรื่อง ➠ ห้างสรรพสินค้าชอปปิ้งออนไลน์ แบบครบวงจร ด้ ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห ลากหลาย ประเภท ครอบคลุมทั้งผลิตภัณฑ์สุขภาพและ ความงาม เครื่องใช้และของตกแต่งบ้าน แฟชั่น โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ และแท็ บ เล็ ต อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิกส์และเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน และ อื่น ๆ อีกมากมาย ลาซาด้าจึงเป็นแหล่งชอปปิ้ง ออนไลน์ที่รวมผลิตภัณฑ์ที่คุณมองหาไว้ในที่ เดี ย ว นอกจากผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ห ลากหลายจาก แบรนด์สนิ ค้าทัง้ ในประเทศและต่างประเทศแล้ว คุณยังจะได้พบกับผลิตภัณฑ์เอ็กซ์คลูซีฟที่มี จ�ำหน่ายที่ลาซาด้าเท่านั้นอีกด้วย ➠ ชอปปิ้งได้สะดวกสบายจากทุกที่
Vol.22 No.214 March-April 2016
ตลาดอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย
39
Special Issue
หมดปัญหารถติด เบียดเสียดกับผู้คน และรอต่อ คิ ว อั น ยาวเหยี ย ด เพี ย งมี ค อมพิ ว เตอร์ ห รื อ โทรศัพท์มอื ถือ ก็สามารถชอปปิง้ ผ่านลาซาด้าได้ จากทุกทีท่ กุ เวลาทีค่ ณ ุ ต้องการ ด้วยระบบบริการ จัดส่งสินค้าที่รวดเร็วและเชื่อถือได้ ผลิตภัณฑ์ที่ สั่งจะส่งตรงถึงหน้าบ้านคุณ ➠ ระบบการจ่ายเงินที่ปลอดภัย ไร้กังวล ตระหนักถึงความปลอดภัยของระบบการ จ่ายเงินออนไลน์ จึงมีวิธีการช�ำระเงินที่หลากหลายให้ลกู ค้าได้เลือก ซึง่ รวมถึงการช�ำระเงินสด เมื่อส่งสินค้า (cash-on-delivery) โดยลูกค้าจะ ช�ำระเงินต่อเมื่อได้รับสินค้าเท่านั้น นอกจากนี้ ลาซาด้ายังมีระบบรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ โดย ผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นบนเว็บไซต์ลาซาด้าได้รับการ รับรองว่าเป็นของแท้ ใหม่ ไม่ช�ำรุดหรือแตกหัก อย่ า งไรก็ ต าม หากเกิ ด ข้ อ ผิ ด พลาดใด ๆ ก็ สามารถคืนสินค้าได้ภายใน 7 วัน โดยได้รับเงิน คืนเต็มจ�ำนวน ภายใต้นโยบาย Lazada Buyer Protection Guarantee
Vol.22 No.214 March-April 2016
จุดแข็งของลาซาด้าที่อยู่เหนือคู่แข่ง
40
ท่านประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ยังได้ กล่าวเพิ่มเติมถึงจุดแข็งที่ท�ำให้ลาซาด้าอยู่เหนือ คูแ่ ข่งว่า “ด้วยมูลค่าการซือ้ ขายจากทัง้ 6 ประเทศ (อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม) เมือ่ ปีทผี่ า่ นมาลาซาด้ามีมลู ค่าสูง ถึง 1,100 ล้านเหรียญสหรัฐ (ตัวเลข ณ เดือน กันยายน 2558) จากผูบ้ ริโภคมากกว่าสิบล้านราย และทีส่ ำ� คัญคือ การมีแรงผลักดันจากหลายภาค ส่วน ไม่ว่าจะเป็นการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้มาก
ขึ้น การมีบริการ 4G หรือคนไทยมีสมาร์ทโฟน มากขึน้ รวมไปถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคชาวไทย ทั้ ง หมดนี้ ล ้ ว นเป็ น แรงผลั ก ดั น ส� ำ คั ญ ที่ ท� ำ ให้ ประเทศไทยมีความน่าสนใจ โดยเฉพาะผูบ้ ริโภค ในกรุงเทพฯ ยิ่งการซื้อขายสินค้าออนไลน์ยังไม่
ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ของตลาดค้าปลีกทั้งหมด โดย สิ่งนี้เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยยังมี โอกาสในการพัฒนาอีกมาก ณ ขณะนี้ลาซาด้าเป็นห้างสรรพสินค้า ออนไลน์ อั น ดั บ หนึ่ ง ทั้ ง ในประเทศไทย และ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในแต่ละวันมี ผู ้ เ ข้ า ชมผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ แ ละแอปพลิ เ คชั่ น มากกว่าห้าล้านครัง้ ทัว่ ภูมภิ าค และยังมีแฟนเพจ เฟสบุค๊ มากกว่า 15 ล้านคนทัว่ ทัง้ ภูมภิ าค นับเป็น แฟนเพจในเฟสบุ๊คที่มีจ�ำนวนผู้ติดตามมากที่สุด ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีหลากหลายบริการ ที่ ช ่ ว ยท� ำ ให้ ก ารชอปปิ ้ ง และการขายสิ น ค้ า ออนไลน์บนลาซาด้าเป็นเรื่องง่ายและสะดวก สบาย ไม่ว่าจะเป็นวิธีการช�ำระเงินหลากหลาย รูปแบบ อาทิ การเก็บเงินปลายทาง (cash-ondelivery) ศูนย์บริการลูกค้าแบบครบวงจร หรือ บริการส่งคืนสินค้าโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และเป็น ช่องทางการขายสินค้าที่มีความหลากหลายใน แต่ละหมวดหมู่ ตั้งแต่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ภายในบ้าน ของเล่น สินค้าแฟชั่นและ อุปกรณ์การกีฬา นอกจากนี้ลาซาด้ามีแพลตฟอร์มพื้นที่ การขายหรือมาร์เก็ตเพลสซึ่งเป็น “Third-Party Business Platform” ส�ำหรับแบรนด์สินค้า และ ผูค้ า้ ด้วยระบบการจัดการทีเ่ ป็นมิตร โดยลาซาด้า จะท�ำหน้าที่เป็นทีมสนับสนุนตั้งแต่การจัดการ รายการสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า ไปจนถึ ง การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า นอกจากนี้ผู้ค้ายังได้รับผลประโยชน์จากการเข้า ถึงฐานข้อมูลลูกค้า และการวิเคราะห์โครงสร้าง การขายและผลประกอบการได้โดยตรง ผ่าน ทาง Seller Center และค�ำแนะน�ำจากผู้เชี่ยว ขาญของลาซาด้า ซึ่งสามารถเข้าถึงผู้บริโภคกว่า
Special Issue 550 ล้านคนใน 6 ประเทศ ผ่านช่องทางการขาย ปลีกของลาซาด้าเพียงที่เดียว”
เป้าหมายในอนาคตของลาซาด้า
การขนส่ง ซึง่ เราได้มบี ริษทั ในเครืออย่าง ลาซาด้า เอ็กซ์เพรส ที่จะท�ำหน้าที่บริหารจัดการการขนส่ง ให้ถงึ มือลูกค้าโดยเร็วทีส่ ดุ โดยเราจะท�ำงานร่วม กับพันธมิตรอีกหลากหลายแห่ง เพื่อให้ลูกค้า มัน่ ใจในระบบการขนส่งของเรามากยิง่ ขึน้ 3. การ ช�ำระเงิน ตอนนี้เรามีบริษัทย่อยเพื่อให้บริการ ฮัลโหล เพย์ (helloPay) ซึ่งเป็นช่องทางการช�ำระ เงินที่มีความปลอดภัยสูง เพื่อให้ลูกค้ามีความ มั่นใจที่จะชอปปิ้งออนไลน์กับลาซาด้า โดยใน ไทยได้เปิดตัวบริการนีร้ าวไตรมาสแรก ซึง่ ถือเป็น ประเทศที่ 4 ต่อจากสิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย ทีม่ บี ริการนี้ นอกจากนีเ้ รายังมีบริการช�ำระเงินอีก หลากหลายรูปแบบเพื่อตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์ ของผู้บริโภคชาวไทย อาทิ การเก็บเงินปลายทาง (cash-on-delivery) 4. การมอบประสบการณ์ ชอปปิ้งออนไลน์ที่ดีเยี่ยม โดยมีศูนย์ให้ความ ช่วยเหลือที่พร้อม ให้บริการ เพื่อให้ผู้บริโภคเข้า
ถึงลาซาด้าได้ทันทีที่มีปัญหา โดยเรามีโปรแกรม 100% Buyer Protection ที่จะช่วยให้ผู้บริโภค มัน่ ใจว่าสินค้าทุกประเภทเป็นสินค้ามือหนึง่ และ มีคุณภาพ รวมไปถึงบริการส่งคืนสินค้าโดยไม่ เสียค่าใช้จ่าย ในส่วนของการตลาดนั้น เราจะเน้นไปที่ ช่องทางออนไลน์เป็นหลัก เพราะเป็นช่องทางที่ ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะเข้าหา มีการวิเคราะห์ได้ แบบเรียลไทม์ ท�ำให้เราติดตามความเคลื่อนไหว ได้ ต ลอด อย่ า งไรก็ ต าม เราก็ ยั ง ใช้ ช ่ อ งทาง ออฟไลน์อย่างทีวี ป้ายโฆษณาบนรถไฟฟ้า หรือ บิลบอร์ดอยูด่ ว้ ย” Mr.Alessandro การถึงแผนการ ตลาดที่ มุ ่ ง พั ฒ นาการให้ บ ริ ห ารที่ ดี เ ยี่ ย มของ ลาซาด้าเพื่อลูกค้าทุกคน
สิง่ ทีล่ กู ค้าจะได้รบั เมื่อใช้บริการของลาซาด้า
ท่านประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ยังได้ กล่ า วเพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ลู ก ค้ า ของ ลาซาด้าในตอนท้ายของบทสัมภาษณ์วา่ “ลาซาด้า ประเทศไทย มีความต้องการที่จะน�ำเสนอสิ่งที่ดี ทีส่ ดุ ให้กบั ลูกค้าของเราเสมอ โดยการจับมือร่วม กับพันธมิตรคู่ค้าทั้งในและต่างประเทศเพื่อมอบ ความหลากหลายในสินค้า และสินค้าพิเศษที่มี วางจ�ำหน่ายเฉพาะที่ลาซาด้า นอกจากนี้เราได้ ร่วมมือกับพันธมิตรคูค่ า้ ของเราเพือ่ การน�ำสินค้า มาวางจ�ำหน่ายในราคาทีน่ า่ สนใจ ซึง่ ทางเรายังมี โปรโมชั่น ดีลสุดพิเศษ แฟลชเซลส์แบบเอ็กซ์คลูซฟี มาให้ผบู้ ริโภคของเราผ่านแคมเปญต่าง ๆ ตลอดเวลา” Mr.Alessandro กล่าว
Vol.22 No.214 March-April 2016
“ในปี นี้ เ รายั ง คงจะเน้ น สร้ า งประสบการณ์ซื้อขายสินค้าออนไลน์ที่มีความสะดวก สบาย และจะเน้นไปที่สมาร์ทโฟนมากขึ้น หลัง จากการปรับปรุงแอปพลิเคชั่นรูปแบบใหม่ไป เมื่ อ เดื อ นกั น ยายนปี ที่ แ ล้ ว เราพบว่ า มี ย อด ดาวน์โหลดของแอปพลิเคชั่นลาซาด้าสูงถึง 5.5 ล้านครั้ง ทั้งในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และ ไอโอเอสในประเทศไทย และมี ย อดขายจาก แอปพลิเคชั่นถึง 60 เปอร์เซ็นต์จากการชอปปิ้ง ออนไลน์ทั้งหมด ซึ่งเราจะยกระดับการชอปปิ้ง ออนไลน์ผา่ น 4 กลยุทธ์ส�ำคัญ ได้แก่ 1. การสร้าง มาร์เก็ตเพลสขนาดใหญ่และเพียบพร้อมที่สุด โดยปัจจุบันมีสินค้ามากกว่าสองล้านรายการ จากผู ้ ค ้ า ออนไลน์ ก ว่ า 7,000 คน รวมไปถึ ง แบรนด์ ใ นประเทศและต่ า งประเทศอี ก กว่ า 15,000 แบรนด์ ซึ่งครอบคลุมทั้ง 14 หมวดหมู่ สินค้า โดยเราพยายามที่จะรักษาจุดเด่น คือ การมีสนิ ค้าหลากหลายตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค นอกจากนี้ลาซาด้ายังมีเซลเลอร์ เซนเตอร์ และเซลเลอร์ เซนเตอร์แอปพลิเคชั่น บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ที่ช่วยให้ผู้ค้า สามารถเข้าถึงแพลตฟอร์มการขายได้ทุกที่ทุก เวลา และยังช่วยเพิม่ ความคล่องตัวในการจัดการ สินค้า และมีระบบแจ้งเตือนทันทีเมือ่ มีการสัง่ ซือ้ สินค้า รวมไปถึงการดูรายงานผลประกอบการ แบบเรียลไทม์ โดยเรามีทีมประสานงานร่วมมือ กับผู้ค้า เพื่อให้ทั้งลาซาด้าและผู้ค้าออนไลน์ ประสบความส�ำเร็จไปด้วยกัน 2. บริการด้าน
41
Q
Management for
uality
Finance Strategy Marketing & Branding People
Q
Finance for
uality
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจในฐานะ
ศูนย์กลาง
ของภูมิภาค รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
เศรษฐกิจ
ไทย เช่น ภาคการผลิต และการค้า ต่างประเทศ เริ่มมี “ช่องว่าง” ในการ “ต่อ” หรืออยู่ใน “Supply Chain” เดียวกันกับจีน ขณะที่จีนเองมีการ พัฒนาด้านต่าง ๆ เพื่อให้ตนเองหลุดออกจากการเป็นผู้ผลิตประเภท “OEM” (Original Equipment Manufacturing) หรือการรับจ้างผลิต เช่น มี “R&D” มี “Brands” มี “Designs” ฯลฯ ของตนเองเพิ่มมากขึ้น โดยที่ถ้าผลิตภัณฑ์ส่งออกของไทยยังเป็น “OEM” อยู่ ก็จะสร้างปัญหา ให้การผลิตเพื่อการส่งออกของไทยเป็นอย่างมาก เพราะจะยิ่งเกิด “ช่องว่าง” ในการเชื่อม “Supply Chain” ของไทยเข้าสู่ “Supply Chain” ของจีน ที่มีการ “ขึ้นชั้น” จากประเทศผู้ผลิตประเภท “OEM” เป็น “OTM” (Original-Technology Manufacturing) “OBM” (OriginalBrand Manufacturing) และ “ODM” (Original-Design Manufacturing)
อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
ดังนั้น จีนจึงต้องการวัตถุดิบชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น ในขบวนการบริหาร “Supply Chain” ของตน แทนที่การพึ่งพาวัตถุดิบ และชิ้นส่วนอุปกรณ์จาก “Mass Production” ที่ผลิตในประเทศด้อย พัฒนาหรือประเทศก�ำลังพัฒนาทั่ว ๆ ไป ที่เป็นผู้ผลิตประเภท “OEM” ใน “ตลาดล่าง” ด้วยเช่นกัน ดังนัน้ ไทยจึงต้องเพิม่ ประสิทธิภาพของการ “ไต่” บันไดห่วงโซ่อุปทาน (climb-up the supply chain ladder) และ จะต้องเป็นศูนย์กลาง หรือ “แก่นแกน” ของ “Supply Chain” ใน Mainland ASEAN เช่น ในประเทศ “CLMV” ให้ได้ มีข้อที่น่าสังเกตว่า “Mainland ASEAN” จะเป็นอาณาบริเวณที่ มีนักลงทุนต่างชาติขยายการลงทุนเข้ามามาก เพราะประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม “CLMV” ยังมีขนาดของเศรษฐกิจที่เล็กและ มีระดับขัน้ ทางการพัฒนาเศรษฐกิจทีย่ งั อยูใ่ นระดับทีต่ ำ�่ มาก เพราะส่วน ใหญ่เพิ่งเริ่มใช้ระบบเศรษฐกิจเปิด (open-door policy) มาได้ไม่นาน for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
43
Finance
Vol.22 No.214 March-April 2016
“CLMV” ไม่เพียงมีประชากรรวมกันถึงประมาณ 170 ล้านคน เท่านั้น หากแต่ยังสามารถเชื่อมกับมณฑลทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ของจีน เช่น มณฑลยูนนาน ที่มีประชากรอีกประมาณ 50 ล้านคน (ผ่านลาว เมียนม่าร์ และเวียดนาม) และยังสามารถเชื่อมเข้าสู่กวางสี โดยทางภาคเหนือของเวียดนามที่มีกรุงฮานอย และท่าเรือไฮฟองเป็น ศูนย์กลาง นอกจากนี้สมาชิก “CLMV” เช่น เมียนมาร์ ยังสามารถเชื่อม เข้าหาประเทศขนาดใหญ่ในเอเชียใต้ทั้งทางบกและทางทะเลได้ง่าย เช่น การเชื่อมกับบังคลาเทศโดยทางบก การเชื่อมกับอินเดียโดยทาง ทะเล (จากทะวายไปที่อินเดียจะมีระยะทางไม่ไกล) โดยที่เมื่อรวม จ�ำนวนประชากรของจีนและบังคลาเทศเข้าด้วยกัน ก็จะมีจ�ำนวน มากกว่าประชากรทั้งประเทศของจีนเสียอีก ดังนั้น “CLMV+T (Thailand)” ที่เชื่อมเข้าสู่จีนในตะวันตกเฉียงใต้ (Southwest China) เช่น ยูนนานและกวางสี และเชือ่ มสูเ่ อเชีย ใต้ (South Asia) เช่น บังคลาเทศและอินเดีย จึงเป็นอาณาบริเวณที่มี ศักยภาพทางการพัฒนาทีส่ งู มาก เพราะต่างยังเป็นพืน้ ทีท่ เี่ ป็น “UnderPotential Economic Growth” คือ ยังมีลำ� ดับขัน้ ทางการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่ต�่ำกว่าศักยภาพที่เป็นจริงมาก ๆ ด้วยกันทั้งสิ้น ตัวอย่างเช่น เมื่อน�ำ GDP ของ “CLMV” ที่มีประชากรประมาณ 170 ล้านคน บวกเข้าด้วยกัน ก็จะมีมูลค่าเพียง 200,000 กว่าล้าน ดอลลาร์สหรัฐ หรือเพียงประมาณสองในสามของมูลค่า GDP ไทย เท่านั้น ทั้ง ๆ ที่ GDP ไทยเองก็มีขนาดเล็กนิดเดียว คือ มีสัดส่วนเพียง 0.49% ของมูลค่า GDP รวมของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเท่านั้น ถ้าหากน�ำ “CLMV” บวกเข้ากับ “T” ก็จะมีประชากรประมาณ 240 ล้านคน ซึ่งคิดเป็นประมาณ 3% ของจ�ำนวนประชากรทั่วโลก (โลกมีประชากรประมาณ 7,100 กว่าล้านคนในปี 2014) ขณะทีม่ มี ลู ค่า GDP รวมกันเพียงประมาณ 0.7-0.8% ของมูลค่า GDP รวมทั่วโลก เท่านั้น ในกรณีอินเดียที่มีประชากรกว่า 1,200 ล้านคน ซึ่งคิดเป็น ประมาณ 17% ของจ�ำนวนประชากรทั่วโลกเท่านั้น GDP แดนภารตะ กลับมีสัดส่วนเพียงไม่ถึง 3% ของมูลค่า GDP โลก เพราะ GDP ของ อินเดียเล็กกว่า ASEAN เสียอีก
44
ดังนั้น เมื่อบรรดาประเทศเกิดใหม่ (Emerging Economies: EE’s) ทางระบบเศรษฐกิจตลาด (market economy) ดังกล่าว เปิดตัว ออกปฏิสมั พันธ์กบั โลกภายนอก ด้วยขนาดของเศรษฐกิจที่ “อ่อนเยาว์” มาก ๆ ดังกล่าว และมีแนวทางการพัฒนาปฏิรูปและปรับโครงสร้าง ตั ว เองให้ ก ลายเป็ น ระบบเศรษฐกิ จ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ ตลาด (market friendly economy) เพิ่มมากขึ้น ก็ย่อมมีโอกาสที่จะขยายตัวเติบใหญ่ ได้ง่ายและมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ยุทธศาสตร์ทางการพัฒนาเศรษฐกิจที่ส�ำคัญของไทย คือ การเป็นศูนย์กลางของอาเซียนส่วนที่เป็นแผ่นดินใหญ่ (Mainland ASEAN) อันประกอบไปด้วย “CLMV” ที่อยู่ทางด้านบน และมาเลเซีย ที่อยู่ทางด้านล่างหรือยุทธศาสตร์ T+ “CLMV” + My (Malaysia) แล้ว เชื่อมต่ออาณาบริเวณดังกล่าวสู่มณฑลของจีนด้านตะวันตกเฉียงใต้ อันประกอบไปด้วยยูนนาน กวางสี ฯลฯ และเอเชียใต้ที่มีความใกล้ชิด ของปัจจัยทางภูมิศาสตร์ เช่น บังคลาเทศและอินเดีย ที่เฉพาะในสอง ประเทศหลังนี้ก็มีประชากรประมาณ 1,400 ล้านคน เข้าไปแล้ว (เทียบ กับจีนทั้งประเทศที่มีประชากรประมาณ 1,370 กว่าล้านคน) ค�ำถามมีอยูว่ า่ ทีว่ า่ จะเป็นศูนย์กลางหรือเป็น “ฮับ” (Hub) ของ Mainland ASEAN นั้น ไทยจะต้องตระเตรียมตัวอย่างไร ? บนเส้นทางมุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ที่สมบูรณ์แบบที่จะท�ำให้สมาชิก 10 ประเทศของประชาคมอาเซียนเปิดกว้างต่อกันและกันทางเศรษฐกิจ มากยิ่งขึ้น จนมี “พรมแดน” ทางเศรษฐกิจที่เหลือน้อยลงมากนั้น ทั้ง ภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน จึงควรให้ความส�ำคัญและตระเตรียม ตัวเพือ่ รองรับพลวัตแห่งภูมภิ าคอุษาคเนย์ดงั กล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นไป พลวัตดังกล่าวจะเกิดขึ้นอย่างมากและคึกคักกระฉับกระเฉง ยิ่งขึ้นนับจากสิ้นปี 2015 ที่ผ่านมา เมื่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์แบบภายใต้การเปิดกว้างระหว่างกันและ กันของสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ
Q
Strategy for
uality
ตอนที่ 1
Business Strategy: Case from Japan
Sony จะกลับสู่ยุครุ่งเรืองได้อีกหรือไม่ ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น orbusiness@hotmail.com
Sony
ก่อตัง้ ขึน้ หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 (ผูก้ อ่ ตัง้ Ibuka Hiroshi และ Morita Akio) เป็นยักษ์ใหญ่ใน วงการเครือ่ งไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ น�ำเศรษฐกิจของญีป่ นุ่ ให้รงุ่ เรือง มา แต่ในช่วง 20 ปีทผี่ า่ นมา ก็เผชิญกับความยากล�ำบากอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะหลังยุคฟองสบู่แตก จึงตกอยู่ในสภาวะที่เรียกว่า Minus Spiral ยังไม่สามารถหลุดพ้นได้ หมดสภาพความยิง่ ใหญ่ของการสร้าง แบรนด์ที่เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก Sony จะท�ำอย่างไรจึงจะหลุดพ้นจาก สภาวะนี้ กลับไปสู่ยุครุ่งเรืองได้อีก เราคงไม่ลืมสิ่งประดิษฐ์ส�ำคัญ ๆ ที่ท�ำให้ชื่อของ Sony อยู่ใน ความทรงจ�ำ เช่น Walkman ในปี 1979 CD Walkman ในปี 1984 PS (Play Station) กลางทศวรรษ 1990 หรือหุ่นยนต์รูปสุนัขอย่าง AIBO หรือกล้องถ่ายวิดีโอ Handy Cam เป็นต้น for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
45
Strategy การปฏิรูประบบ
การปฏิรปู ระบบได้เกิดขึน้ เมือ่ ประมาณ 20 ปีกอ่ น นัน่ คือ ระบบ Early Retire ซึง่ เป็นทีก่ ล่าวขวัญว่า เพือ่ การลดจ�ำนวนคนลงนัน่ เอง แต่ ผู้ที่ Early Retire จะได้รับเงินบ�ำเหน็จในช่วงแรก ๆ สูงถึงประมาณ 72 เดือนของเงินเดือน ถึงแม้วา่ ในช่วงหลังจะลดลงเหลือ 36 เดือน แต่กท็ ำ� ให้ หลาย ๆ คนกลายเป็นเศรษฐี (ระบบนี้ได้มีการยุติโดย CEO คนใหม่ Hirai Kazuo) ได้มีการปรับระบบใหม่ โดยการจ่ายค่าตอบแทนตาม Performance มากขึ้น อาจจะท�ำให้พนักงานบางส่วนต้องถูกลด เงินเดือนไปโดยปริยาย ซึ่งสร้างความไม่เชื่อมั่นต่อพนักงานอย่างมาก ในช่วง CEO เข้ามารับต�ำแหน่ง (ปี 2012) ยอดขายมีการเพิ่ม ขึ้นกว่าปีก่อนจาก 6.49 ล้านล้านเยน เป็นประมาณ 8 ล้านล้านเยน (คาดคะเนปี 2014) ก�ำไรการประกอบการจากที่คาดคะเน 6.72 หมื่นล้านเยน เป็นก�ำไรที่ 2 หมื่นล้านเยน ในขณะเดียวกันยอดหนี้สินที่มี ภาระดอกเบี้ยก็ลดลงจาก 1.17 ล้านล้านเยน เป็น 1.50 ล้านล้านเยน ในขณะเดียวกันสินค้าส�ำคัญ 4 ธุรกิจ ได้แก่ “Device” “Game Net Service” “ภาพยนตร์” “ดนตรี” ก็มีการขยายตัวขึ้น
Vol.22 No.214 March-April 2016
แผนธุรกิจระยะกลางที่เน้นผู้ถือหุ้น
46
อย่างไรก็ตาม เป็นที่วิจารณ์ในหมู่ผู้รู้ว่า “ยังไม่รู้ว่า Sony จะ สร้างอะไรใหม่ ๆ รู้เพียงแต่ว่าแผนธุรกิจมุ่งเอาใจแต่ผู้ถือหุ้นเท่านั้น แต่ไม่คอ่ ยสนใจพนักงาน” โดยเฉพาะในแผนธุรกิจสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ได้มกี ารแบ่งออกเป็นบริษทั ย่อยตาม BU โดยให้เหตุผลว่า เพือ่ ให้ “การ ตัดสินใจมีความรวดเร็วขึน้ ” แต่อาจแอบแฝงความคิดทีว่ า่ เพือ่ ให้ขาย ธุรกิจได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ ซึง่ จะท�ำให้ความมุง่ มัน่ ในการท�ำงานของพนักงาน หมดไปได้ และยังเป็นที่วิจารณ์ว่าแผนระยะกลางเน้นที่ ROE (Return on Equity) 10% ซึ่งก็ตั้งเป้ามาหลายปีแล้ว ก็ยังบรรลุเป้าหมายไม่ได้ เลยสักครั้งเดียว จึงได้มกี ารไปสัมภาษณ์ความเห็นของพนักงานผูบ้ ริหารเก่าของ Sony ต่างก็ให้ความเห็นตรงกันว่า เป็นแผนที่ไม่มีความจ�ำเป็นเลยใน การปฏิรูป Sony และได้ให้เหตุผลของ “การถดถอยของ Sony” ว่า 1. ก่อนปี 2000 ได้เคยมีสินค้าส�ำคัญ ๆ ของกลุ่มที่สามารถ ต่อกรกับยุคอินเทอร์เน็ตที่ก�ำลังจะมาถึง เป็นต้นว่าทางด้านซอฟต์แวร์ ก็จะมีบริษัทดนตรี บริษัทภาพยนต์ ทางด้านฮาร์ตแวร์ก็จะมี CD/MD Walkman, Play Station, VAIO Laptop, Handy Cam, Digital Camera เป็นต้น 2. อย่างไรก็ตาม หลังจากที่เมื่อ Apple วางจ�ำหน่าย iPod ก็ กลับตกอยู่ในสถานการณ์ที่กลับกัน นั่นคือ บริษัทไม่สามารถน�ำเสนอ สินค้าหรือบริการใหม่ที่สอดคล้องกับยุคอินเทอร์เน็ตได้ 3. ดังนัน้ สาเหตุสำ� คัญของการถดถอย ก็คอื การลดต�ำ่ ลงของ ความสามารถในการพัฒนา หรือสภาพการแข่งขันที่รุนแรง จากการ
เกิดขึ้นของบริษัทธุรกิจใหม่ ๆ หรือความอุ้ยอ้ายขององค์การตนเอง ปัญหาเหล่านีอ้ าจจะเป็นเพียงข้ออ้าง ซึง่ หนทางทีจ่ ะแก้ไขมีอยู่ หนทางเดียว คือ “การคาดคะเนกระแสคลื่นของยุคสมัยให้แม่นย�ำ มีความสามารถในการน�ำเสนอสินค้าใหม่ หรือบริการใหม่สสู่ งั คมคือ สิ่งที่จะต้องท�ำให้ได้ จึงต้องดึงพลังเหล่านั้นกลับมาให้ได้” กล่าวกันว่า อีกสาเหตุสำ� คัญหนึง่ ก็คอื หลังจากการจากไปของ ผู้ก่อตั้งอย่าง Ibuka Hiroshi และ Morita Akio เมื่อ 20 ปีก่อน นี่จึงเป็น จุดเริ่มต้นของการหมดยุครุ่งเรืองของ Sony เพราะการน�ำเอาระบบ การบริหารแบบอเมริกาเข้ามาใช้ เช่น การเน้น Six Sigma หรือ Economy Value Added: EVA ท�ำให้เน้นเฉพาะสินค้าหลักที่สามารถ คาดคะเนการท�ำก�ำไรได้เท่านัน้ การพัฒนาสินค้าใหม่ ๆ ทีม่ คี วามแปลก แตกต่าง หรือสร้างความฮือฮากลับถูกให้ระงับ หรือเลื่อนออกไป นอกจากนี้ในยุคประมาณปี 1995 เป็นช่วงที่มีการซื้อกิจการกันขนาน ใหญ่ จึงมีการทุ่มเงินทุนลงไป ท�ำให้เพิ่มยอดขายได้ 4 ล้านล้านเยน แต่ในขณะเดียวกันก็มีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยถึง 2 ล้านล้านเยน ในบางปีบริษัทต้องจ่ายดอกเบี้ยเดือนละ 1 หมื่นล้านเยนเลยทีเดียว เหตุผลเหล่านีท้ ำ� ให้ “สูญเสียความเป็น Sony” เพราะกลับกลาย เป็นว่า Sony มีแต่สินค้าที่เหมือนกับบริษัทคู่แข่งอื่น ๆ ผลประกอบการ ก็เริ่มลดต�่ำลง ในปี 2003 ก�ำไรการประกอบการต�่ำกว่าที่คาดคะเนไว้ ถึง 1 แสนล้านเยน หุน้ ของ Sony ตกต�ำ่ อย่างสุด ๆ ถึง ระดับ 3,220 เยน ในขณะเดียวกันธุรกิจโรบอตอย่าง AIBO ก็ถกู ระงับ เพราะคิดว่านัน่ คือ เทคโนโลยีที่ล้าสมัยแล้ว อย่างไรก็ตาม ความล่าช้าในการเข้าสู่ Digital Innovation ก็มาจากสาเหตุสำ� คัญ คือ เพราะคิดว่ามีสนิ ค้าทัง้ ฮาร์ตแวร์ และซอฟต์แวร์อยู่พร้อม จึงมองข้ามการเข้ามาสู่ตลาด Apple และ บริษัทอื่น ๆ
Strategy
ภายใต้สภาพการที่สินค้าปัจจุบันแสดงความแข็งแกร่งในการ แข่งขัน การลงทุนทางด้านฮาร์ตแวร์ใหม่ ๆ ท�ำให้เป็นอุปสรรคต่อก�ำไร ของฝ่ายซอฟต์แวร์ ในขณะเดียวกันธุรกิจทางด้านซอฟต์แวร์ที่ก�ำลัง พัฒนากลับท�ำให้ยอดขายของสินค้าฮาร์ตแวร์แบบเดิมต้องลดต�่ำลง นั่นคือ ความขัดแย้งทางก�ำไร (conflict of interest) ของบริษัทภายใน กลุ่มกันเอง ส่งผลให้ไม่สามารถสร้างสิ่งใหม่ ๆ ขึ้นมาได้ ตัวอย่างเช่น ในปี 1984 เป็นปีที่เริ่มต้นการวางจ�ำหน่าย CD Walkman ผู้คิดค้น คือ คุณ Ukita ซึ่งต่อมาในปี 1998 ได้พัฒนาต้นแบบธุรกิจที่เชื่อมโยง ระหว่าง Net Delivery กับ Terminal เป็นผลิตภัณฑ์ทชี่ อื่ ว่า “Music Clip” ได้มีการวางตลาดก่อน iPod (2001) เสียด้วยซ�้ำ แต่กลับได้รับการ ต่อต้านจากร้านขาย CD ทีเ่ ป็นห่วงว่ายอดขายจะลดลง จึงต้องใช้ระบบ การใช้รหัส ท�ำให้ผู้ใช้ลดลงไปเรื่อย ๆ และ ถูก Apple ทิ้งไม่เห็นฝุ่นใน เวลาต่อมา ถึงแม้ว่าผู้บริโภคจะเห็นว่านี่คือสิ่งที่เราต้องการก็ตาม แต่ รากใหม่ ๆ ที่ก�ำลังจะงอกต้องเผชิญกับอุปสรรค Conflict of Interest ขององค์การขนาดใหญ่ ในขณะทีก่ ำ� ลังสูญเสียพลังความสามารถในการพัฒนา ก�ำแพง ภายในบริษทั ก็เป็นอีกหนึง่ สาเหตุของพลังความสามารถในการพัฒนา แต่เดิมฝ่ายธุรกิจอย่าง Audio หรือ TV มีการแข่งขันกันภายในอย่าง ฉันมิตรเหมือนกับต่างบริษัท ท�ำให้สร้างความแข็งแกร่งขึ้นมาได้ แต่
นั่นท�ำให้สายงานบุคลากรด้านเทคนิคได้รับสิทธิพิเศษที่ดีเกินไปและ ก่อให้เกิดปัญหาพอสมควร ซึง่ นีเ่ ป็นการสร้างความสามารถให้แก่ Sony ทว่าก�ำแพงที่ว่านั้นภายใต้สภาพการแข่งขันที่รุนแรงท�ำให้ในยุคที่ ทุกคนต้องรวมเป็นหนึ่งเดียวเพื่อสร้างสินค้าที่ท�ำให้ลูกค้าพอใจกลับ กลายเป็นอุปสรรคไป เพราะเมื่อมีโครงการที่จะสร้างธุรกิจใหม่ก็จะมี ฝ่ายธุรกิจจ�ำนวนหลาย ๆ ธุรกิจ คิดแผนที่มีแนวคิดคล้าย ๆ กัน ท�ำให้ การประสานงานกันในแนวราบไม่มีอยู่อีกต่อไป จากการสร้างความแข็งแกร่งให้กับการบริหารธุรกิจ ท�ำให้มี Restructure เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และท�ำให้ “คนแปลก” “คนพิสดาร” ที่เคยมีอยู่ภายในบริษัทที่สร้างสินค้านวัตกรรมต่าง ๆ เริ่มหดหายไป วิศวกรทีช่ ำ� นาญในการสร้าง AIBO, CD Walkman, Play Station ต่างๆ เริ่มต้นคิดค้นจากสิ่งที่ไม่เคยมีในโลกนี้ให้เกิดขึ้นเป็นจริงได้ต้องเผชิญ กับระบบบุคลากรใหม่ที่เน้น Short Term Performance ล้วนแต่อยู่ ไม่ได้ ต้องหลีกลี้ออกไป ผู้ที่มาแทนที่คนแปลก คนพิสดาร จึงเป็น พนักงานที่ Smart กล่าวกันว่า พนักงานส่วนใหญ่ในปัจจุบันล้วนเป็น คนทีจ่ บจากมหาวิทยาลัยชัน้ น�ำด้วยผลการเรียนทีด่ เี ด่น ซึง่ มีความเกรง กลัวต่อความล้มเหลวจึงไม่ท�ำให้มีผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เกิดขึ้นได้เลย ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา Sony ต้องจมดิ่งอยู่ในภาวะวิกฤต หรือ ที่เรียกว่า Minus Spiral โดยไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งมาจากเหตุผล 10 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1. ภาระหนี้สินที่มีดอกเบี้ยผูกพัน 2. บุคลากร มากเกินไป 3. สูญเสียวิสัยทัศน์ระยะยาว 4. พัฒนาที่ไม่เคยมีความ ยากล�ำบาก 5. ประสบการณ์ความส�ำเร็จในอดีตที่ยอดเยี่ยม 6. ความ มัน่ ใจใน Brand Power มากเกินไป 7. ก�ำแพงภายในบริษทั 8. การไหล ออกของบุคลากรที่เป็นเลิศ 9. จ� ำนวนคนแปลก คนพิสดารลดลง 10. พนักงานแบบ Smart มีเพิ่มขึ้นมากเกินไป ติดตามตอนต่อไปว่า Sony ใช้วิธีการใดตัดวงจรที่เลวร้าย เหล่านี้ออกไปในฉบับหน้า
อ่านต่อฉบับหน้า
Vol.22 No.214 March-April 2016
กลุ่มสินค้าที่แข็งแกร่งเกินไปกลับขัดขาตนเอง
47
Q
Marketing & Branding for
uality
มาก่อน...ดังก่อน ชาคริต ดิเรกวัฒนชัย charkritd@gmail.com
การ
ท�ำการตลาดย่อมเน้นที่ความ แปลกใหม่ สร้างจุดขายในสิ่งที่ ผูบ้ ริโภคต้องการ ซึง่ จะสามารถโน้มน้าวใจให้ เกิดการให้ตัดสินใจซื้อเพราะผู้ซื้อจะรู้สึกว่า ถ้าไม่ซื้อก็อาจจะเสียโอกาสดี ๆ ไป แต่ความ แปลกใหม่ความน่าสนใจมักจะมีชีวิตที่ไม่ ยาวนาน แม้ความคิดสร้างสรรค์จะดูใหม่ ณ ตอนนี้ แต่ วั น พรุ ่ ง นี้ อ าจจะกลายเป็ น เรื่ อ ง ธรรมดาของตลาดไปเสียแล้ว แบบว่าใคร ๆ ก็ มีกัน แม้ว่าความคิดนั้นท่านเป็นผู้สร้างสรรค์ มาด้วยตัวเองก็ตาม เมื่อมี “ความแปลกใหม่” ที่ผู้บริโภค สนใจ ไม่ว่าจะเป็นตัวสินค้าที่มีคุณสมบัติที่ โดดเด่น หรือจะเป็นแนวคิดโฆษณาทีโ่ ดดเด่น น่าสนใจ มีคลิปออนไลน์ที่ดูสนุกมีประโยชน์
48
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
จนถูกแชร์ไปเยอะ ๆ แต่ทว่าความสนุกจะอยู่ ได้ไม่ค่อยนานเมื่อผ่านไปสักช่วงเวลาหนึ่ง ผู้ บริโภคก็จะรู้สึกว่าเรื่องนั้นเป็นเรื่องธรรมดา และก็ไม่น่าสนใจอีกต่อไป ความโด่งดัง ความน่าสนใจจะเริ่ม ถดถอยลงเป็นธรรมดาอยู่แล้ว เพราะเมื่อได้ ลองใช้สนิ ค้า ได้ดโู ฆษณาหลายรอบ ได้พดู คุย กับเพือ่ น ๆ ถึงสินค้า ความรูส้ กึ สนุกก็จะค่อยๆ จางหายไป หรือจะกลายเป็นแค่เรื่องธรรมดา ความโด่ ง ดั ง จะค่ อ ย ๆ ลดลงอยู ่ แ ล้ ว แต่ บางครั้งสามารถที่จะลดลงอย่างรวดเร็วกว่า ที่ควร ด้วยเหตุผล 2 ประการหลักดังนี้ ➠ เกิดมีเรื่องน่าสนใจของเรื่องอื่น ในสังคมขึ้นมาแทรก การเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ คาดคิดในบ้านเมือง เหตุการณ์ร้าย ๆ การก่อ
วินาศกรรม ภัยธรรมชาติแรง ๆ หรือข่าวสารที่ ท�ำให้ประชาชนเกิดเบี่ยงเบนความสนใจไป เช่น ดาราดังมาก ๆ เกิดเตียงหัก เหตุการณ์ใน สังคมเหล่านี้จะท�ำให้ผู้บริโภคเปลี่ยนความ สนใจไปเป็นเรือ่ งอืน่ ได้อย่างไม่รตู้ วั เมือ่ สนใจ เรื่องอื่นมากกว่าก็จะท�ำให้ผู้บริโภคลืมเรื่อง ราวดี ๆ ของสินค้าของท่านหรือโฆษณาสินค้า ของท่านได้ในระยะเวลาอันสั้น ➠ คู ่ แ ข่ ง ท� ำ ตาม คู่แข่งของท่านก็ ย่อมมีหน้าทีแ่ ข่งกับท่าน เมือ่ คูแ่ ข่งตามมาท�ำ สิ่งเดียวกับท่าน ก็ย่อมจะท�ำให้แบรนด์ของ ท่านไม่สามารถมีความโดดเด่นได้อีกแล้ว เพราะคนอื่นก็มีเช่นเดียวกัน การที่คู่แข่งตาม เรามาได้ทนั ก็ยอ่ มจะเป็นการแบ่งความสนใจ จากผู้บริโภคไปได้ เพราะสิ่งที่เคยเป็นเรื่องที่
โดดเด่นก็จะกลายเป็นสิ่งที่ใคร ๆ ก็มี เช่น “คอลลาเจน” ที่ เ ป็ น ส่ ว นผสมส� ำ คั ญ ของ อาหารเสริมหลากหลายแบรนด์ เมื่อแรก ๆ ก็ จะมีอยูแ่ ค่หนึง่ หรือสองแบรนด์ แบรนด์ไหนมี ส่วนผสมของคอลลาเจนจะมีความโดดเด่น มาก แต่ต่อมาเมื่อคนมีความนิยมมากขึ้น ก็ ท� ำ ให้ เ ห็ น สิ น ค้ า ที่ มี ส ่ ว นผสมคอลลาเจน เยอะมากขึ้นทุกวัน จนการมีคอลลาเจนใน อาหารกลายเป็นเรื่องธรรมดาไปเสียแล้ว ที่ เคยโดดเด่นก็กลายเป็นธรรมดาไป เมือ่ ความดังเริม่ ลดลง ก็ยอ่ มแสดงว่า สินค้าของเราอาจจะไม่ได้อยู่ในความสนใจ ระดับต้น ๆ อีกแล้ว นักการตลาดก็ต้องสร้างสรรค์แผนการตลาดใหม่ ๆ เพื่อโน้มน้าวใจ ลูกค้ากลุ่มเดิมด้วยเรื่องราวและเนื้อหาใหม่ เพื่อกระตุ้นให้ผู้บริโภคกลับมาสนใจอีกครั้ง หนึ่ง
เมื่อมาก่อนก็ต้องดังก่อน
ความส�ำคัญของสาระที่กล่าวมา คือ ความดังมาไวและไปไว และความดังคนแรก ย่อมจะดีกว่าเสมอ คนที่ตามมาอาจจะท�ำให้ ขายสินค้าได้ตามแต่ก็จะไม่ได้เป็นที่จดจ�ำ แม้ว่านักการตลาดจะรู้สึกเหนื่อยกับการเดิน หน้าหาแนวคิดใหม่ ๆ ทีต่ อ้ งลงทุนทัง้ แรงกาย แรงสมองแต่สุดท้ายก็จะโดนลอกเลียนแบบ ก็ตาม แต่การมาก่อนก็ย่อมจะเป็นประโยชน์ อย่ า งมากต่ อ ภาพลั ก ษณ์ ข องแบรนด์ ห รื อ องค์การ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการออกสินค้า ใหม่ การออกโฆษณาที่แนวความคิดแหวกแนวแตกต่ า งจากเดิ ม หรื อ เป็ น แผนการ ส่งเสริมการขายแปลกใหม่หลุดโลก ถ้าสิ่งนั้น เป็นสิง่ ดี มีประโยชน์ และใหม่จริง ๆ ก็ยอ่ มจะ เป็นที่น่าสนใจกับผู้บริโภคทั่วไป และแน่นอน ทีส่ ดุ คือ ก็จะเป็นทีส่ นใจของคูแ่ ข่งด้วยเช่นกัน ท�ำให้เกิดการท�ำตามผู้น�ำ ซึ่งจะท�ำได้ดีกว่า เหมือนกัน หรือดีไม่เท่า แต่ก็ย่อมจะท�ำให้ เจ้าของแนวคิดเดิมรู้สึกเหนื่อย เพราะต้องคิด วิธีการใหม่ ๆ ตลอดเวลาเพื่อหนีผู้ตามให้ไกล ที่สุด แม้จะเหนื่อย แต่สิ่งที่จับต้องได้ของ ผูน้ ำ� ทีม่ าก่อนได้ไปแล้ว คือ ได้รบั การจดจ�ำใน
สิ่งที่ท�ำ ซึ่งมีผลดีต่อภาพลักษณ์ของแบรนด์ เพราะการเป็นผู้เริ่มต้นความคิดใหม่ ๆ นั้น ย่ อ มจะท� ำ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคเกิ ด ความผู ก พั น กั บ แบรนด์ของเขาได้ดีมากกว่าแบรนด์ที่เลียนแบบ ซึ่งถือเป็นสิ่งส�ำคัญมากส�ำหรับแบรนด์ ที่จะมีภาพที่ผู้บริโภคจับต้องได้ การคิ ด แผนการตลาดนั้ น ถื อ เป็ น ศิลปะและความคิดสร้างสรรค์อันล�้ำเลิศของ นักการตลาด หลายแผนอาจจะไม่ใช่แผนใหม่ เอี่ยมแต่เป็นแค่การปรับปรุงสิ่งที่มีออกมาน�ำ เสนอในมุมมองใหม่ และพูดให้ชัดเจนเพื่อให้ คนจ�ำได้แม่นย�ำ อย่ า งค่ า ยโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ซึ่ ง มี ก าร แข่งขันที่ค่อนข้างสูง การมี 4G นั้น (เมื่อช่วง 2 ปีที่ผ่านมา) ยังเป็นสิ่งใหม่และเป็นสิ่งที่ไม่ เคยมี ใ นประเทศไทยมาก่ อ น ในขณะที่ ประเทศต่าง ๆ เริ่มมีใช้กันก่อนหน้านี้ ใน ประเทศไทยถือเป็นสิ่งใหม่ที่ลูกค้ารอคอย ค่ายทรูมูฟ เป็นค่ายที่ประกาศความเป็น 4G ได้ ก ่ อ นใคร พู ด เยอะมากกว่ า และชั ด เจน มากว่าเขาเป็น “เจ้าแรก” ในประเทศไทย พร้อมทั้งมีกิจกรรมทางการตลาดที่ไปในทาง เดียวกัน ตลอดระยะเวลาเปิดตัว เรียกว่าเป็น ภาพทีช่ ดั เจนมากว่า 4G ก็คอื ทรูมฟู แม้คแู่ ข่ง ก็สามารถเสนอ 4G ตามในเวลาต่อมาด้วย ลักษณะคล้าย ๆ กัน แต่แบรนด์ 4G ยังคงเด่น ชัดที่ค่ายทรูมูฟมากกว่าคู่แข่งรายอื่น ๆ ทีเ่ กิดขึน้ เป็นเพราะการออกมาเปิดตัว ก่อนใคร เพื่อแสดงต�ำแหน่งของการเป็นผู้น�ำ ของแบรนด์ทรูมูฟต่อเครือข่าย 4G แม้คู่แข่ง จะตามมาด้วยผลิตภัณฑ์ 4G เดียวกัน แต่การ ทีต่ ามมาช้าก็ยอ่ มจะตามผูท้ มี่ าก่อนได้ไม่เท่า กัน ผู้มาก่อนย่อมจะได้ภาพลักษณ์ความเป็น เจ้าของความแรง 4G ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
มาก่อน...แต่ก็อาจจะไม่ดังก่อน
แต่การมาก่อนอาจจะไม่ดงั ก่อนเสมอ ไป ถ้าหากไม่สามารถจัดการความเป็นผูน้ ำ� ได้ อย่างดี การน�ำเสนอตัวเองว่าเป็นผู้น�ำด้านใด ด้านหนึ่งนั้น การมาก่อนเป็นสิ่งส�ำคัญแต่ก็ ไม่ใช่เป็นเครื่องรับประกันได้ว่าจะประสบ ความส�ำเร็จเสมอไป เมื่อคู่แข่งตามมาแล้ว ท�ำได้ดีกว่าก็อาจจะท�ำให้ความเป็นแบรนด์
ผู้น�ำกลายเป็นผู้ตามได้อย่างง่ายดาย ดังนั้น ความจ�ำเป็นที่จะต้องใช้ความ เป็ น ผู ้ น� ำ ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจึ ง ส� ำ คั ญ มาก การที่ท่านสามารถเป็นเจ้าแรกในตลาดใน สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ย่อมจะไม่ใช่สิ่งบังเอิญ ดังนั้น ท่านจ�ำเป็นจะต้องทุ่มการสื่อสารอย่างครบ วงจร เพราะการประชาสัมพันธ์อันรวมถึงการ โฆษณา และการใช้สอื่ สารมวลชนต่าง ๆ เป็น เครื่ อ งมื อ บอกกล่ า วแก่ ส าธารณชน เป็ น การสร้างการรับรู้และจดจ�ำเพื่อให้เกิดการ รับรูเ้ กีย่ วกับแบรนด์ของท่านได้ดยี งิ่ ขึน้ การใช้ การประชาสัมพันธ์คือการจองต�ำแหน่งความ เป็นผู้น�ำ การท�ำให้เกิดการจดจ�ำเป็นการปิด โอกาสทีแ่ บรนด์อนื่ จะมาขโมยความเป็นหนึง่ ได้ สร้ า งความมั่ น ใจให้ พ นั ก งาน การ สื่อสารภายในองค์การก็เป็นสิ่งที่ส�ำคัญเช่น กั น ท่ า นไม่ เ พี ย งต้ อ งสื่ อ สารกั บ ผู ้ บ ริ โ ภค เท่านั้น แต่ยังต้องสร้างความมั่นใจให้กับ พนักงานของท่านอีกด้วย เมื่อพนักงานใน องค์การรู้สึกไปในทางเดียวกัน โอกาสที่จะได้ ความร่วมมือในการพัฒนาสินค้าที่ดียิ่ง ๆ ขึ้น ต่อไปย่อมจะมีง่ายขึ้น ต้องไม่หยุดพัฒนาสินค้า เพราะเมื่อ ท่านออกมาเป็นผู้น�ำเมื่อไร จงมั่นใจได้เลยว่า คูแ่ ข่งของท่านก็กำ� ลังเร่งท�ำในสิง่ เดียวกับท่าน เพื่อให้ดีเท่าหรือดีกว่าท่าน ดังนั้น การเป็น ผู้น�ำย่อมแลกด้วยการไม่หยุดนิ่งและตั้งใจที่ จะถีบตัวออกห่างคู่แข่งให้มากขึ้นตลอดเวลา การออกสินค้ามาก่อนย่อมเป็นสิ่งดี และก็มักจะโด่งดังก่อนเช่นกัน แต่ก็ไม่เสมอ ไปที่ท่านจะสามารถเป็นผู้น�ำทุกครั้งที่ท่านมี สินค้าประเภทใหม่ ๆ ออกมา ท่านยังต้อง ท�ำงานอีกมากเพื่อสร้างความเข้มแข็งของ แบรนด์ และใช้การสื่อสารที่ครบวงจรที่จะ ท�ำให้สินค้าและแบรนด์ของท่านเป็นที่จดจ�ำ พร้อม ๆ กันไป และต้องไม่หยุดพัฒนาสิ่งที่ดี ส�ำหรับลูกค้า ใครก็ตามที่น�ำสินค้าออกมา ก่อนก็ย่อมต้องท�ำก่อนหนักกว่าคนอื่นเพื่อ ท�ำให้มั่นใจว่าท่านจะยังคงเป็นผู้น�ำต่อไป มาก่อน ก็ย่อมจะดังก่อน แต่ก็ต้อง ท�ำการบ้านหนักกว่าเสมอ
Vol.22 No.214 March-April 2016
Marketing & Branding
49
Q
Marketing & Branding for
uality
การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา
ตอนที่
Best Practice ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์
วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
ต่อจากฉบับที่แล้ว
หน่วย
บริการปฐมภูมิ (primary care unit) เป็นการให้ บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของ ภาครัฐที่อยู่ใกล้ชุมชน หมู่บ้านครัวเรือน เป็น สถานที่ ค นในชุ ม ชนมาใช้ บ ริ ก ารรั ก ษา พยาบาลเบื้องต้น ส่วนใหญ่จะดูแลประชากร ไม่ ม ากและน้ อ ยเกิ น ไปประมาณ 5,000 ครอบครัวหรือประชากร 10,000 คน (ฐาน-
50
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
3
พัฒน์ ดิฐสถาพรเจริญ, 2553) ระบบให้บริการ สุขภาพปฐมภูมิมีแนวคิดแบบองค์รวม คือ ผสมผสานด้านการแพทย์ จิตวิทยา และสังคม เนื่องจากมีความสะดวก เข้าถึงง่าย มีบริการ ให้ค�ำปรึกษา และดูแลสุขภาพของประชาชน ได้ครอบคลุมตั้งแต่ภาวะก่อนป่วยไปจนถึง ช่วงสุดท้ายของชีวติ ผูป้ ว่ ย เพือ่ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษาโรค และการฟื้นฟูสภาพของ
ประชาชนอย่างต่อเนือ่ งให้แก่บคุ คล ครอบครัว และชุ ม ชน (งานพั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก าร ปฐมภูมิ ส�ำนักงานสาธารณสุข, 2556) มี ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงกับโรงพยาบาล อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถประสานกับ องค์กรชุมชนในท้องถิน่ เพือ่ พัฒนาความรูข้ อง ประชาชนในการดูแลตนเองได้ในยามเจ็บ ป่วย ด้วยลักษณะของทีมรักษาทีเ่ ข้าใจและมี
Marketing & Branding ความตั้งใจดีต่อผู้ป่วยอย่างมีคุณภาพ มีการ สร้างความเชือ่ ถือ ความไว้วางใจ การยอมรับ ซึ่ ง กั น และกั น มี ค วามสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ร ะหว่ า ง แพทย์กับผู้ป่วยและครอบครัว รวมถึงการ มีความหลากหลายในระบบบริการสุขภาพ เช่น บริการแพทย์แผนตะวันตก บริการแพทย์ แผนไทย และบริการแพทย์แผนจีน เป็นต้น
ระบบบริการสุขภาพปฐมภูมินับว่า เป็นส่วนส�ำคัญที่ทางรัฐบาลให้ความส�ำคัญ มากขึ้น เนื่องจากเป็นด่านแรกและเป็นช่องทางพื้นฐานในการอ�ำนวยความสะดวกด้าน สุขภาพแก่ประชาชน โดยมีความมุ่งหวังเพื่อ ทีจ่ ะส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค การรักษา โรค การฟื ้ น ฟู ส ภาพ และเป็ น บริ ก ารที่ มี คุณภาพ ดูแลประชาชน บุคคล ครอบครัว และชุ ม ชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ผสมผสานด้ ว ย แนวคิดแบบองค์รวมทีม่ รี ะบบการส่งต่อ และ เชือ่ มโยงกับโรงพยาบาล องค์กรชุมชนท้องถิน่ อย่างเหมาะสม
ในการสร้ า งระบบบริ ก ารสุ ข ภาพ ปฐมภูมิให้มีคุณภาพ พร้อมกับสร้างความ พอใจให้กับทั้งผู้มาใช้บริการ (patient) และ ผู้ให้บริการ (provider) ทางสุขภาพปฐมภูมิ ควรค�ำนึงถึงคุณลักษณะดังต่อไปนี้ 1. Accessible of Care ส� ำ หรั บ การเข้าถึงนั้นหมายรวมถึง First-Contact มีประเด็นที่ส�ำคัญ คือ 1. ด้านสถานที่ มีสถานบริการอยู่ ใกล้บา้ น ชุมชน ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ดี
และง่าย อ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้มาใช้ บริการด้านภูมิศาสตร์หรือสถานที่ซึ่งเดินทาง สะดวกปลอดภัย ทางทีด่ ี คือ ต้องให้ประชาชน สามารถเข้าถึงได้เมื่อต้องการมาใช้บริการ โดยเฉลี่ยเดินทางไม่ควรเกิน 30 นาทีจาก ต�ำบลหรือหมู่บ้าน 2. ด้านการเงิน มีระบบการช�ำระเงิน ที่ ช ่ ว ยเหลื อ ผู ้ ม าใช้ บ ริ ก ารสามารถจ่ า ย ค่ารักษาพยาบาลได้ ซึ่งไม่ควรเก็บค่ารักษา พยาบาลที่มีราคาแพง ผู้มารับบริการจะต้อง ไม่ถกู กีดกันในการรักษาพยาบาลโดยน�ำเรือ่ ง เงินมาเป็นข้อจ�ำกัด คนที่มีฐานะยากจนจะ ต้องมีบัตรสวัสดิการประชาชนด้านการรักษา พยาบาล (บัตร สปร.) ประชาชนทุกคนจะต้อง มีบัตรประกันสุขภาพกันถ้วนหน้า หรือคนที่มี เงิ น อาจจะช่ ว ยค่ า รั ก ษาพยาบาลเพิ่ ม เติ ม (co-payment) ได้ในโครงการ 30 บาทรักษา ทุกโรค (สําเริง แหยงกระโทก, 2544) 3. การสื่อสาร มีความสามารถใน การติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ผู ้ ม าใช้ บ ริ ก ารให้ เ กิ ด ความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน ด้วยวาจาที่ สุภาพอ่อนโยน อบอุ่น และเป็นมิตร 4. ความสามารถในการบริการ มี อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เพียงพอพร้อมใช้ เพือ่ ให้การรักษาพยาบาลกับประชาชนผูม้ าใช้ บริการมีบุคลากรที่มีความช�ำนาญงานตาม มาตรฐานแพทย์เวชปฏิบตั คิ รอบครัว พยาบาล เวชปฏิบัติครอบครัวเบื้องต้น โดยมีทีมงานที่ พร้อมจะให้บริการด้านสุขภาพทั้งเชิงรุกและ เชิงรับเพื่อฟื้นฟูสุขภาพของประชาชน และ
Vol.22 No.214 March-April 2016
“1A 4C” แนวคิดในการสร้างความ พึงพอใจระหว่างผู้ใช้บริการ และผู้ให้บริการทางสุขภาพ
51
Marketing & Branding
Vol.22 No.214 March-April 2016
ยังมีการพัฒนาองค์ความรูข้ องบุคลากรอย่าง ต่อเนื่องเพื่อสามารถน�ำความรู้ที่ได้มาพัฒนา งานให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 2. Comprehensive of Care ใน ประเด็นนี้เป็นหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ ควรมีการดูแลผูเ้ ข้ารับบริการในแบบองค์รวม หรือที่เรียกว่า Holistic ซึ่ง ผศ.ดร.นพ.ภูดิท เตชาติวัฒน์ ให้ข้อมูลว่า เป็นการบริการแบบ องค์รวม ผสมผสานโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางท�ำการดูแลคน ไม่ใช่ดแู ลโรค จะไม่ดแู ล ผูป้ ว่ ยแต่เพียงด้านรักษาโรคอย่างเดียว แต่ยงั ใส่ใจทุกมิติที่มีผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ครอบครัว เศรษฐกิจ และชุมชนโดยท�ำการ ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยตั้ ง แต่ ด ้ า นการรั ก ษาพยาบาล ผูป้ ว่ ย (treatment) ให้หายจากโรคการป้องกัน โรค (prevention) ไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย การ ส่งเสริมสุขภาพ (promotion) ให้มีสุขภาพ แข็งแรงและการฟื้นฟูสภาพ (rehabilitation) ไม่ให้เสื่อม ถดถอย หรือพิการพร้อมกับมี การแนะน�ำให้คำ� ปรึกษาเรือ่ งการดูแลสุขภาพ กับผู้ป่วย (ฐานพัฒน์ ดิฐสถาพรเจริญ, 2553) ให้ รู ้ ถึ ง วิ ธี ดู แ ลสุ ข ภาพของตนเองได้ อ ย่ า ง เหมาะสม ปราศจากความเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บ โดยความสัมพันธ์ระหว่างผูใ้ ห้บริการและ ผู้รับบริการจะเป็นแบบ Emphatic Relationship คือ มีความเข้าใจ และความเห็นอก เห็นใจกัน ท�ำให้ทราบถึงประวัติเชิงลึกของ
52
ผู้ป่วยได้ดี 3. Continuity of Care หน่วยบริการ สุ ข ภาพปฐมภู มิ ค วรมี ร ะบบบริ ก ารที่ ส ร้ า ง ความต่อเนือ่ งในการรับผิดชอบดูแลผูป้ ว่ ยทุก คน ตัง้ แต่ชว่ งก่อนเจ็บป่วย เริม่ ป่วย จนกระทัง่ เสียชีวิต เสมือนเป็นการดูแลตลอดชีวิตของ คน ๆ นั้น มีทีมสุขภาพที่คอยดูแลผู้ป่วยอย่าง ต่อเนื่องโดยการส่งผู้ป่วยไปรักษาที่สถาน พยาบาลอื่นในแต่ละระดับขึ้นอยู่กับสุขภาพ ร่างกายของผู้ป่วย จะมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็น Care Coordinator มีการออกเยี่ยมตาม บ้านผู้ป่วยเป็นการใส่ใจการดูแลรักษาที่มี คุณภาพ มีความจริงใจ และยังสร้างความ สัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้ป่วย (doctor-patient relationship) อีกด้วย (ฐานพัฒน์ ดิฐสถาพรเจริญ, 2553) ทัง้ นีเ้ พราะการ สร้างความสัมพันธ์ทดี่ ใี นงานบริการ ไม่ควรจะ มองแค่การให้บริการเป็นแค่การบริการ แต่ เป็ น การสร้ า งความเชื่ อ ใจ ความผู ก พั น ระหว่างครอบครัว คนไข้ และตัวผูใ้ ห้บริการ 4. Coordination of Care หน่วย บริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ค วรมี ร ะบบการ ประสานงานเชื่อมประสานการดูแลที่ซับซ้อน กั บ หน่ ว ยบริ ก ารสุ ข ภาพในเครื อ ข่ า ย ทั้ ง ภายในองค์การในการติดต่อประสานงานกัน ระหว่างแต่ละแผนกเพื่ออ�ำนวยความสะดวก ให้แก่ผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน รวมไปถึง การติดต่อกับหน่วยงานภายนอกเกีย่ วกับการ
ส่งต่อดูแลรักษาคนไข้ การวางแผนการรักษา และการร่วมมือกันระหว่างวิชาชีพ เพือ่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วยและครอบครัว เช่น การจัดท�ำคูม่ อื สุขภาพให้กบั ผูป้ ว่ ย โดยใช้เพือ่ บันทึกการรักษาของผูป้ ว่ ย ท�ำให้เกิดการดูแล อย่างต่อเนื่อง โดยคู่มือนี้สามารถท�ำให้เกิด ประโยชน์ในการส่งต่อ หรือติดต่อสื่อสารทั้ง ตัวผู้ป่วย ผู้ให้การรักษา และสถานพยาบาล ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. Community Empowerment of Care การทีป่ ระชาชนมีบทบาทและมีสว่ นร่วม ในการดู แ ลสุ ข ภาพของตนเอง ครอบครั ว ชุมชน และสิง่ แวดล้อม โดยจะมีเจ้าหน้าทีห่ รือ บุคลากรสาธารณสุขคอยให้ค�ำปรึกษา และ อ�ำนวยความสะดวกในการเรียนรูเ้ รือ่ งสุขภาพ ด้านต่าง ๆ เพื่อที่จะดูแลสุขภาพของตนเอง และครอบครัวได้อย่างถูกต้อง โดยประชาชน สามารถร่วมในการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการ เพื่อเป็นทุนในการรักษาพยาบาลแก่สมาชิก ในชุมชน เช่น การเรี่ยไรเงินจากชาวบ้านเพื่อ ร่ ว มช่ ว ยกั น ในประโยชน์ ส ่ ว นรวม (สํ า เริ ง แหยงกระโทก, 2544) หรือในกรณีที่ต้องการ สร้างสถานบริการสุขภาพของชุมชน ทางภาค รัฐจะเข้ามาช่วยเหลือด้านวัสดุอุปกรณ์ ส่วน ชาวบ้านจะช่วยกันด้านลงแรง เอกสารอ้างอิง 1. งานพั ฒ นาคุ ณ ภาพบริ ก ารปฐมภู มิ ส�ำนักงานสาธารณสุข (2556). การเชื่อมโยง PCA DHS HA. เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2556 จาก http://www.kkpho.go.th/homes/files/Binder1.pdf 2. ฐานพัฒน์ ดิฐสถาพรเจริญ (2553). คอลัมน์.. คุยกับหมอเวชศาสตร์ครอบครัว มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ: เวชศาสตร์ครอบครัว. เข้า ถึงเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2556 จากhttp://home.kku. ac.th/senate/th/images/fileth/san1.pdf 3. ส�ำเริง แหยงกระโทก (2544). การ ด�ำเนินงานตามมาตรฐานหน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit = PCU). เข้าถึงเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2556 จาก http://medinfo.psu.ac.th/smj2/smj24_6/ pdf24_6/04rakkait.pdf
อ่านต่อฉบับหน้า
Q
People for
uality
เคล็ดลับเป็นนักบริหารยุค AEC รศ.สุพัตรา สุภาพ
อาจารย์อาวุโส จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้
บริหารหรือซีอไี อหลายคนบอกว่า การ ท�ำธุรกิจหรือบริหารในปัจจุบันจะใช้ วิธีเดิม ๆ ไม่ได้แล้ว เมื่อเศรษฐกิจชะลอตัว ทั่วโลก ไม่พอ คู่แข่งก็เพิ่มขึ้นตลอดเวลา เรียกว่าใคร ๆ ก็อยากขายของได้เพือ่ ความอยูร่ อด ราคาจึงมีสว่ นท�ำให้คนหนึง่ ขาย ได้ อีกคนอาจเสียลูกค้าไป เห็นได้ชัดเราเสีย ตลาดข้าวให้เวียดนาม สาธารณรัฐจีนก็ซื้อ ข้าวจากเมียนม่าร์ อินเดีย ไม่น้อย เป็นต้น เรื่องนี้คงโทษใครไม่ได้ เพราะผู้ซื้อก็ อยากได้ของถูก ถ้าคุณภาพเท่ากัน หากใคร แพงกว่าย่อมเสียลูกค้า หรือลูกค้าบางแห่ง อยากได้แค่ของถูกที่สุด หากเราแพงกว่า ย่อมจะเสียลูกค้า นักบริหารจึงต้องมีกลยุทธ์ใหม่ ๆ รับ
สถานการณ์ทเี่ ปลีย่ นไป เพราะปัจจุบนั ตลาด เป็นของลูกค้า และแม้ผบู้ ริโภคจะยังซือ้ สินค้า แต่องค์การต้องท�ำงานหนักขึ้นเพื่อให้ลูกค้า มาซือ้ ของทีร่ า้ นของตน หรือขายสินค้าได้นอ้ ย ก็ต้องอดทน ผู้บริโภคมักจะชอบของใหม่ ๆ น่า ตื่นเต้น เช่น นาฬิกาข้อมือ รถยนต์ไฟฟ้า รถ ไม่มีคนขับ เป็นต้น เรียกว่าหากมีของใหม่ก็ จะไม่อยากใช้ของเก่า บริษัทจึงต้องมีความ คิดริเริ่มอยู่เสมอ เพื่อขับเคลื่อนธุรกิจให้ทัน โลกทันเหตุการณ์ อย่างไรก็ตาม อ�ำนาจการ ซื้อ (purchasing power) ยังพอมี เพียงแต่ อาจจะไม่ยาวเท่าเก่า ผลิตภัณฑ์จึงต้องน่า สนใจ น่ า ดึ ง ดู ด น่ า ซื้ อ แม้ แ ต่ ซี ดี ยั ง ต้ อ ง เปลี่ยนกล่องเป็นระยะ ๆ
นีค่ อื กลยุทธ์ในการทีจ่ ะเพิม่ ยอดขาย หรือรักษายอดขาย
การเป็นผู้บริหาร
การเป็นผู้บริหารยุคใหม่ จะต้องมี คุณสมบัติบางอย่าง เพราะไม่ใช่ทุกคนจะ เป็นผู้บริหารได้ ธุรกิจในปัจจุบนั ต้องการผูบ้ ริหารทีม่ ี วิสัยทัศน์ มีศักยภาพ และพยายามท�ำทุก อย่างให้ดีที่สุด เพราะเจ้าของอยากจ้างคนที่ คุ้มกับเงินค่าจ้าง หรือเกินค่าจ้าง William Bridges เขียน Creating You and Company: Learn to Think Like the CEO of Your Own Career กล่าวว่า ถ้าอยากเป็น ผูบ้ ริหารทีม่ คี วามสามารถ มีทกั ษะสูง จะต้อง for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
53
People ท�ำทุกอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่น เผชิญและแก้ปัญหาเป็น ระดมทุน รู้จัก ใช้ทรัพยากร เป็นต้น
Vol.22 No.214 March-April 2016
คุณสมบัติผู้บริหารยุคใหม่
54
Bridges กล่าวว่า สมัยก่อนองค์การ จะจ้างผู้บริหารที่มีคุณสมบัติ 3 E 1. Education การศึ ก ษา ซึ่ ง จะ บ่งบอกถึงความรู้ความสามารถ มีระดับใด ยิ่งเรียนสูงมาก ก็เชื่อว่าจะมีความรู้ในการ ท�ำงานได้ดีกว่าการศึกษาระดับต�่ำ 2. Experience ความช�ำนาญ เป็น ความเชื่อว่า ผู้มีประสบการณ์สูง ผ่านร้อน ผ่านหนาวมามากย่อมจะเข้าใจการท�ำธุรกิจ หรือบริหารได้ไม่มากก็น้อย คนรู้แต่ทฤษฎี ไม่ มี ป ระสบการณ์ ย ่ อ มจะไม่ เ ข้ า ใจการ บริหารหรือธุรกิจที่เป็นจริง 3. Endorsement มี ก ารรั บ รอง อย่างน้อยองค์การเชื่อว่า อาจจะได้คนดีมี ความสามารถ ดีกว่าจ้างคนไม่มีที่มาที่ไป แต่ปัจจุบันองค์การไม่ใส่ใจ 3E เพราะมี ทางอื่นที่จะดูว่าบุคคลนั้นเหมาะที่จะเป็น ผู้บริหารหรือไม่ ยิ่งการศึกษาตอนนี้คนเรียนสูง ๆ มี มากมาย บางครั้งมีการศึกษาสูง แต่ไม่ค่อย มีความรู้เท่าไร เรื่องประสบการณ์ก็เชื่อถือ กันไม่ค่อยได้ บางคนมีประสบการณ์มา ยาวนาน พอท�ำงานเข้าจริงไม่ได้มีความ สามารถตามที่อ้างไว้ ส่วนผู้รับรอง ก็เชื่อถือ ไม่ค่อยได้ เพราะมีการเขียนช่วยกันจนเกิน ความเป็นจริง Bridges เสนอ D.A.T.A. แทน 3E 1. Desire (ความปรารถนา) นี่คือ แรงจูงใจ (motivation) สูค่ วามส�ำเร็จ หน่วยงานส� ำ คั ญ หลายแห่ ง จะเลื่ อ นชั้ น เลื่ อ น ต�ำแหน่งให้กบั ผูท้ มี่ เี ทคนิคในการปฏิบตั แิ ละ มีความตัง้ ใจ มีแรงจูงใจสูง อย่าลืมว่าถ้าเรา ไม่มคี วามปรารถนาอย่างแรงกล้า เรายากที่ จะท�ำงานที่บริษัทหวังให้เราท�ำได้อย่างดีได้ เสมือนดัง Andre Lorde กล่าวว่า “วิสัยทัศน์ ของเรา เกิดจากความปรารถนาของเรา” 2. Abilities (ความสามารถ) เป็น สิ่งที่ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จไม่มากก็น้อย
Jim McCann ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นผู้ส่งดอกไม้ไป ทั่วโลก โดยเขาเริ่มจากการท�ำงานเป็นนัก สังคมสงเคราะห์ กรรมการถามเขาว่าท�ำไม เปลี่ ย นอาชี พ เขาตอบว่ า เป็ น นั ก สั ง คม สงเคราะห์ ก็ ต ้ อ งอดทนที่ จ ะสู ้ กั บ ระบบ ราชการ การท�ำธุรกิจก็ไม่ต่างกันที่จะต้อง ต่อสู้กับสิ่งต่าง ๆ เพื่อจะบรรลุเป้าหมายที่ วางไว้ โดยเฉพาะธุรกิจปัจจุบันที่จะต้องมี ทักษะสูง ซึ่งการจะบรรลุตามที่หวังได้ก็ต้อง มีการฝึกอบรม ใฝ่รู้ เขียนอ่านได้คล่องแคล่ว มีศิลปะการฟัง แก้ปัญหาได้ เข้าใจตัวเอง รู้จักเรียนรู้ ท�ำงานเป็นทีม และน�ำผู้อื่นได้ 3. Temperament (อารมณ์ ) ที่ ท�ำให้เราชอบอะไรบางอย่างมากกว่าอีก อย่าง นีเ่ องทีท่ ำ� ให้เราอยากท�ำงาน อยากท�ำ อะไรบางอย่ า ง อยากหาข่ า วสาร อยาก ท�ำงานร่วมกัน เป็นต้น Jean Girardoux นั ก เขี ย นชาว ฝรั่งเศส กล่าวว่า อารมณ์ท�ำให้อยากทาน เดิน ต้อนรับผู้คน Raph Waldo Emerson กล่าวว่า การที่ เ ราประพฤติ ป ฏิ บั ติ นั่ น คื อ นิ สั ย หรืออารมณ์ไม่ว่าจะนั่ง นอน ยืน เป็นต้น เป็นพลังที่ท�ำให้เราท�ำถูกผิดได้ 4. Asset (มีคุณค่า) ซึ่งหมายถึง ทักษะ (skills) ความส�ำเร็จ ความช�ำนาญ ไหวพริบ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เป็นต้น นีค่ อื พลังทีเ่ รามีอยู่ เป็นขุมทรัพย์ทเี่ รารูจ้ กั น�ำ มาใช้ให้เป็นประโยชน์
สมมติว่าเราก�ำลังถูกสัมภาษณ์ที่ บริ ษั ท ไมโครซอฟต์ และพบว่ า ค� ำ ถาม กรรมการเป็นเรื่องผู้คนระดับต่าง ๆ ตั้งแต่ ระดับต�ำ่ จนถึงระดับสูง มีอยูค่ รัง้ หนึง่ ผูส้ มัคร ใส่เสือ้ ยืดมาสัมภาษณ์ซงึ่ พอนัง่ ลง เขาก็บอก ว่าชือ่ บิลล์ เกตส์ เจ้าของและประธานบริษทั ไมโครซอฟต์ และอยากจะร่วมสัมภาษณ์ ด้วย โดยมีค�ำถามแรกว่า “เคยท�ำงานกับ บริษัทที่ก�ำลังจะปิดกิจการไหม” แล้วเราจะตอบอย่างไร จะตอบว่า ไม่เคย หรือจะพูดเรื่องมีบริษัทคอมพิวเตอร์ ที่เคยท�ำจนล้มละลาย นี่คือ ค�ำถามที่ดูกึ๋นของเราในด้าน ประสบการณ์การท�ำงานกับบริษทั ทีข่ าดทุน จนต้องเลิกกิจการไม่ว่ากี่ปีก็ตาม บิลล์ เกตส์ ได้บอกเรื่องคุณค่าว่า ส�ำเร็จเป็นเรื่องง่าย แต่ถ้าเราล้มเหลว เรา ต้องมีความคิดริเริ่ม และมีความคิดอย่าง ลึกซึ้ง การท�ำงานกับบริษัทประสบภาวะ ขาดทุนจะต้องมีค�ำถามเสมอว่า ท�ำไม จะ แก้ ไ ขอย่ า งไร จุ ด เริ่ ม ต้ น และบทสรุ ป เป็ น อย่ า งไร และเขาต้ อ งการคนที่ ผ ่ า น กระบวนการนี้ เรามีความสามารถนับไม่ถ้วน เช่น ความสามารถพิเศษ โครงการทีเ่ คยท�ำส�ำเร็จ มาแล้ว ทุกสิง่ ทีร่ กู้ ค็ อื ขุมทรัพย์ การเข้าใจว่า สิ่งต่าง ๆ ควรจะด�ำเนินการอย่างไร และ พยายามรับรู้ความคิดที่เคยคิดมาแล้ว หรือ
เพิง่ จะคิดก็ตาม อาจเป็นปัจจัยท�ำให้เราท�ำใน สิ่งที่ถูกต้องในสภาวะการณ์ที่เหมาะก็ได้ Bridges ย�้ ำ ว่ า หลั ก ส� ำ คั ญ ของ D.A.T.A. คือ การจะท�ำงานให้ถึงเป้าหมาย ได้ดีที่สุดได้ก็ต่อเมื่อต้องมีความเป็นตัวของ ตัวเองและใช้พลังความรู้ความสามารถที่มี อยู่ให้ดีที่สุด
นักบริหารแห่งเอเชีย
การเป็นนักบริหารเอเชียเป็นเรื่อง ต้องเข้าใจสถานการณ์ของเศรษฐกิจชะลอ ตัว และผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกที่อาจ ท�ำให้ธรุ กิจไปได้ไม่ง่าย โดยเฉพาะการค้าจะ มีการต่อสู้แข่งขันกันอยู่ตลอดเวลา ไม่เฉพาะ ภายในประเทศ ยั ง มี ผ ลนอกประเทศมา กระทบด้วย ซึ่งอาจจะมีโอกาสพลาดพลั้งได้ บ้าง และเราคงไม่อาจบริหารได้ถูกต้องเสมอ ขอแค่ผิดน้อยกว่าคนอื่นก็พอแล้ว Peter Lau ประธาน Giordano International Ltd. เขียน “The Goal is not to Recover, but to Redefine” ได้น่าติดตามว่า เขาเชื่ อ ว่ า ไม่ ว ่ า เศรษฐกิ จ จะยาก ล�ำบากแค่ไหนในปัจจุบันหรืออนาคต เพราะ เขาท�ำงานมายาวนานหลายสิบปีในแคนาดา เห็นอเมริกาเหนือเศรษฐกิจชะลอตัว และเห็น ห้างสรรพสินค้าใหญ่ ๆ ปิดตัวลงไปครึ่งหนึ่ง ตัวเขาเองมีคนตกงานร้อยละ 10 ที่ น ่ า คิ ด คื อ คนในเอเชี ย ไม่ มี ประสบการณ์ทำ� งานในยามทีเ่ ศรษฐกิจตกต�ำ่ โดยเฉพาะคนอายุ 30-40 ปี ตัวเขาเองตอนท�ำงานในแคนาดาเห็น บริษัทเจริญขึ้นและปิดตัวลง มีบริษัทหนึ่งที่ เขาท�ำงานกิจการก้าวหน้าอย่างรวดเร็วแต่ ต้องล้มละลาย เพราะการเล่นหุ้น ผู ้ บ ริ ห ารเอเชี ย จึ ง ต้ อ งมี ป ระสบการณ์ ท� ำ งานยามทุ ก ข์ ย าก หรื อ บริ ษั ท ที่ ประสบภาวะขาดทุ น และต้ อ งพยายาม ยืนหยัดอดทนสู้กับความยากล�ำบาก โดยไม่ เห็นแก่ได้ (greedy) แต่อยู่บนความถูกต้อง นอกจากนี้วิสัยทัศน์เป็นสิ่งส�ำคัญที่ นักบริหารต้องมีในการเป็นผูน้ ำ� (leadership) ในภาวะเศรษฐกิจรุง่ เรืองหรือตกต�ำ่ เพราะใน ช่ ว งเศรษฐกิ จ ดี ไม่ ว ่ า เราจะบอกวิ ธี แ ก้ ไ ข
ปัญหาธุรกิจ จะหาว่าเรามองโลกในแง่ร้าย (pessimist) เพราะช่วงนั้นหุ้นจะดี แล้วเราจะ ไปกังวลจนต้องรีเอ็นจิเนียริง่ หรือปรับโครงสร้าง (reengineering) ส่วนในช่วงเศรษฐกิจตกต�่ำหรือไม่ดี (bad time) คนอาจเชื่อเรา แต่ยิ่งไปกว่านั้น ช่วงนั้นคนต้องการคนปลอบใจ แต่เราก็ต้อง ชักจูงให้เขามีวิสัยทัศน์ (vision) เป็นการบอก เขาว่า เรายินดีปลอบจิตใจเขาและสามารถ ผ่านพ้นวิกฤตได้ ยิง่ ไปกว่านัน้ หากมีวสิ ยั ทัศน์ ก็จะสามารถท�ำอะไรต่อไปเพื่อความอยู่รอด และอยู่ให้ดี
พันธมิตรและเงินทุน
การท�ำธุรกิจยุคใหม่จะต้องมีพันธมิตร มีองค์ความรู้และเงินทุนเพื่อป้องกัน ความเสี่ยง เจ้าสัวไกรสร จันศิริ ประธานกรรมการบริ ห ารบริ ษั ท ไทยยู เ นี ย น โฟรเซ่ น โปรดักส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TUF วัย 81 ปี เล่าว่า ท่านอยู่เมืองจีนแล้วได้อพยพมาสู่ ประเทศไทยเพราะความยากจน ซึ่งเจ้าสัว ไกรสรจะท�ำทุกอย่างเพื่อความอยู่รอดตั้งแต่ เป็นคนส่งจดหมาย เป็นพ่อครัว เซล สอน หนังสือ ท�ำบัญชีภาษาจีน เป็นการท�ำงาน เพราะความหิวโหย ส�ำหรับธุรกิจเจ้าสัวไกรสร ก็เริ่มนับจากศูนย์ในหลาย ๆ ธุรกิจ จนมาถึง จุดทีห่ กั เห เมือ่ เพือ่ นร่วมรุน่ ทีฮ่ อ่ งกงให้ชว่ ยหา “วัตถุดิบกุ้ง” จึงหากุ้งให้ โดยมีเพื่อนสนิท มิตรสหายคอยช่วยเหลือ และเปลี่ยนมาท�ำ ธุรกิจอาหารทะเลแช่แข็ง เมื่อมีคนบอกว่า “เชื่อว่าอนาคตโลกจะมีเรื่องอาหาร เป็นปัจจัยส�ำคัญ” เจ้าสัวไกรสรจึงมุ่งมั่นตั้งใจท�ำธุรกิจ อาหารทะเลแช่แข็งตั้งแต่นั้นมา จนมีโรงงาน แช่แข็งใหญ่โตในปัจจุบัน มียอดขาย 1 ล้าน ดอลล่าร์สหรัฐ (32,000 ล้านบาท) และกิจการ ขยายไปทั่วโลก มีพนักงานราว 35,000 คน และตั้ ง เป้ า ว่ า ยอดขายปี นี้ จ ะท� ำ ให้ ไ ด้ ประมาณ 5,000 ล้ า นดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ (1,600,000 ล้านบาท) นับว่าท่านเป็นคนมี วิสัยทัศน์
เสี่ยบุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ประธาน เครือสหพัฒน์ เล่าว่า ธุรกิจของครอบครัว ตั้งแต่รุ่นปู่จนถึงปัจจุบันกว่า 120 ปี ในระยะ เริ่มแรกค้าขายสินค้าเบ็ดเตล็ดเป็นหลัก พอ ถึงยุค ดร.เทียม โชควัฒนา (บิดา) ก็ได้ขยาย กิจการเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ครอบคลุมสินค้า มากมาย เสี่ยบุณยสิทธิ์ให้ข้อคิดที่น่าสนใจว่า การท�ำธุรกิจถ้าคิดว่าท�ำได้แล้วหยุด จะไม่รวย แต่ตอนท�ำไม่กลัวคิดว่ารวย อย่างไรก็ตาม เสี่ ย บุ ณ ยสิ ท ธิ์ เ น้ น ว่ า ท� ำ งานต้ อ งอดทน เสียสละ เพราะการขับเคลือ่ นธุรกิจเหมือนการ บ่ ม เพาะพั น ธุ ์ ไ ม้ ที่ บ างพั น ธุ ์ อ าจเติ บ โตเร็ ว บางพันธุ์อาจเติบโตช้า เราจึงต้องท�ำจนรู้ว่า ต้นไม้ที่ปลูกใช้เวลากี่ปีกว่าจะสูงใหญ่ ถ้าคิด ว่าต้นไม้นี่ใช้เวลา 100 ปี ก็ต้องอดทน ค่อย ๆ ท�ำไปแล้วจะยั่งยืน เสีย่ บุณยสิทธิ์ ยังเตือนใจต่อว่า เขาไม่ คิดว่าท�ำธุรกิจแล้วจะรวยทันที เพราะตัวเขา จะหาธุรกิจตัวอื่นที่คนอื่นไม่ท�ำ แล้วค่อย ๆ ปลุ ก ปั ่ น แม้ บ างปี อ าจจะไม่ มี ธุ ร กิ จ ให้ ท� ำ เลยก็ได้ บางปีมีเรื่องให้ท�ำไม่หยุด การลง สนามจึ ง ต้ อ งเตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มอยู ่ เ สมอ เพราะวันดีคืนดีอาจเติบโตก็ต้องรับมือให้ได้ ขณะที่ขายสินค้าได้น้อยก็ต้องอดทน เสี่ยบุณยสิทธิ์ เชื่อว่าการก้าวเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน (AEC) ธุรกิจไทยมีโอกาส มาก หากเราท�ำตัวให้แกร่ง เพราะประเทศไทย ตั้งอยู่บนภูมิศาสตร์ที่ดีอยู่กึ่งกลางอาเซียน ตอนบน มี กั ม พู ช า เมี ย นม่ า ร์ ลาว และ เวียดนาม อีกทั้งยังนับถือศาสนาพุทธเหมือน กัน ใช้เงินบาทค้าขายกันได้ เส้นทางคมนาคมก็เชื่อมต่อจากไทย ไปกรุงฮานอย ไซง่อน (เวียดนาม) ย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ (เมียนม่าร์) หรือจากเชียงรายไป ยั ง ประเทศจี น ท� ำ ให้ ป ระเทศไทยเป็ น ศูนย์กลางในการคมนาคมได้ ข้อคิดจากเจ้าสัวไกรสร จันศิริ และ เสี่ ย บุ ณ ยสิ ท ธิ์ โชควั ฒ นา น่ า สนใจและ น่าประทับใจมาก ถ้าหากน�ำไปเป็นข้อคิดใน การท�ำธุรกิจจะได้ประโยชน์ไม่มากก็น้อย
Vol.22 No.214 March-April 2016
People
55
Q
Movement for
uality
Book Guide Movement
Q
Book Guide for
uality
หนึ่ง
เป็น เดียว ดีกว่า เป็นทีห ่ นึ่ง ผู้เขียน ผู้แปล จำ�นวนหน้า ราคา
Switch
Kotaro Hisui, Mihiro Hitaka ดร.จารุนันท์ ธนสารสมบัติ 232 หน้า 190 บาท
สูอ่ สิ ระในการ “เลือก” ใช้ชวี ติ ให้สนุก และ มีความสุขมากกว่าเมือ่ วานเป็น 100 เท่า
พวกเรามักจะคิดว่า... เราควร “เปลี่ยน” ตัวเอง เพื่อท�ำบางสิ่ง ให้ส�ำเร็จลุล่วง ซึ่งหากคิดกลับกัน เท่ากับว่า...เราก�ำลัง “ปฎิเสธ” ตัวเองใน ตอนนี้ ต่อให้เราพยายามแค่ไหน ถ้าเราไม่ยอมรับตัวเอง ทุกอย่างก็ เปล่าประโยชน์ เหมือนคุณก�ำลังเหยียบคันเร่ง พร้อม ๆ กับเหยียบเบรกไปด้วย แม้เราไม่ใช่คนที่สมบูรณ์แบบ แต่ จุดอ่อน คือ สิ่งที่ช่วยเสริมให้จุดเด่นของเราเด่นชัดขึ้น และท�ำให้เรามีจุดแข็งที่แตกต่างจากคนอื่น เฉกเช่นเดียวกับ จันทร์เสี้ยว ก็มีเสน่ห์เฉพาะตัว ที่ชวนหลงใหลและประทับใจคนมากมาย แม้ไม่ใช่ จันทร์เต็มดวง
คุณ “เลือก” ใช้ชวี ติ อย่างมีอสิ ระและมีความสุขแบบทีไ่ ม่มใี คร จะเหมือนคุณได้ ด้วยเรื่องราวที่ตั้งใจมอบไว้ในเล่ม ➠ 12 เรื่องราว ที่จะท�ำให้คุณ “รักตัวเอง” มากขึ้น ➠ 10 เรื่องราว ที่จะท�ำให้คุณ “เป็นสุข” นับตั้งแต่วินาทีนี้ ➠ 11 เรื่องราว ที่จะท�ำให้คุณรู้ว่า “คุณไม่ได้เดียวดาย” ➠ 12 เรื่องราว ที่จะท�ำให้คุณ “ใช้ชีวิตสนุก” ยิ่งขึ้น ➠ 16 เรื่องราว ที่จะท�ำให้ “ความฝัน” ของคุณเป็นจริงได้ for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
57
Q
Movement for
uality
E vent
เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณเสรี ชินบารมี ประธานที่ปรึกษา (ที่ 3 จากขวา) และ คุณวิทวัส ชินบารมี กรรมการผู้จัดการ (ที่ 2 จากขวา) บริษัท นิชคาร์กรุ๊ป จ�ำกัด ผู้น�ำเข้ารถยนต์ระดับ ซุปเปอร์คาร์สดุ หรูหลายสายพันธ์อย่างเป็นทางการ ในประเทศไทย อาทิ แลมโบร์กนิ ี แมคลาเรน โลตัส ปากานี โคนิกเซ็กก์ และฮัมเมอร์ พร้อมด้วย คุณชัยรัตน์ แสงทอง (ที่ 3 จากซ้าย) ผูบ้ ริหาร ศูนย์การค้า เอท ทองหล่อ และภรรยา ถ่ายภาพร่วมกันเป็นที่ระลึก ณ งานเลี้ยงที่นิชคาร์กรุ๊ป จัดขึน้ เพือ่ เฉลิมฉลองปีใหม่ และแสดงความขอบคุณแก่ลกู ค้าผูร้ กั ความเร็ว ส�ำหรับการสนับสนุน และมิตรภาพ ตลอดปี 2558 ณ โชว์รูมนิชคาร์ มอเตอร์เวย์ กม.1
ดีเอชแอล อีคอมเมิร์ซ โดย มิสเตอร์มัลคอล์ม มอนเตโร ประธานกรรมการบริหาร ดีเอชแอล อีคอมเมิร์ซ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คุณเกียรติชัย พิตรปรีชา กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดีเอชแอล อีคอมเมิร์ซ ประเทศไทย และ มิสเตอร์โธมัส คิปป์ ประธานกรรมการบริหาร ดีเอชแอล อีคอมเมิร์ซ (จากซ้ายไปขวา) เปิดตัวการให้บริการของดีเอชแอล อีคอมเมิรซ์ ทีย่ กประเทศไทยเป็นตลาดหลักในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พร้อมเปิดบริการ จัดส่งภายในประเทศ ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของแผนกลยุทธ์ 2020 ของกลุ่มบริษัทดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล (Deutsche Post DHL Group – DPDHL) ซึ่งการให้บริการการจัดส่งในประเทศ รูปแบบใหม่นี้ จะสามารถท�ำให้จัดส่งสินค้าได้ถึงผู้รับภายในวันถัดไปในเขตพื้นที่หลัก และยัง เป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้กบั ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ให้มคี วามพร้อมส�ำหรับการเตรียมจัดส่งสินค้า และมีระบบติดตามแสดงสถานะพัสดุภณ ั ฑ์ โดยละเอียดแก่ผู้ใช้บริการ โดยคาดว่าผู้ประกอบการ SMEs ไทยจะได้รับประโยชน์อย่างสูงสุดจากบริการนี้
ญี่ปุ่น ณ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี กรุงเทพฯ
เมือ่ เร็ว ๆ นี้ มิสเตอร์อะกิระ คิตะฮะระ กรรมการบริหารและกรรมการปฏิบตั งิ าน บริษทั ฟูจิตะ คังโค จำ�กัด (ขวาสุด) พร้อมด้วย มิสเตอร์เทรุมิ ซึสึกิ กรรมการบริหารและกรรมการ ปฏิบัติงาน บริษัท ฟูจิตะ คังโค จำ�กัด (ที่ 2 จากขวา) ร่วมจัดงานแถลงข่าวเปิดตัว สำ�นักงาน บริษัท ฟูจิตะ คังโค ประจำ�กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เริ่มดำ�เนินการตั้งแต่เดือนมิถุนายนปี 2558 โดยก่อนหน้านี้ได้มีการเปิดตัวสำ�นักงานในกลุ่มประเทศอาเซียนอีก 4 แห่ง ได้แก่ โซล เซียงไฮ้ ไทเป และกรุงจาการ์ตา เพือ่ มุง่ หวังกระตุน้ นักท่องเทีย่ วต่างชาติในประเทศญีปนุ่ และพัฒนาธุรกิจ สู่ต่างประเทศ รองรับตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีการขยายตัวเติบโตอย่างรวดเร็วในประเทศ
คุณวันเพ็ญ แก้วนาเส็ง (ขวา) ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดผลิตภัณฑ์การ์นเิ ย่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านความงามจากธรรมชาติของยุโรปและผู้น�ำอันดับ 1 ของผลิตภัณฑ์ เพื่อผิวกระจ่างใส ของประเทศไทย พร้อมด้วยพรีเซนเตอร์สาวสวย มิน-พีชญา วัฒนามนตรี (ซ้าย) ร่วมเปิดตัว การ์นิเย่ ไลท์ คอมพลีท ไวท์ สปีด โปรแกรม 3 วัน โปรแกรมจัดการจุดด่างด�ำเร็วสุดใน 3 วัน ด้วยพลังวิตามินซีเข้มข้น 100 เท่า จาก Garnier Light Complete White Speed Super Essence และ Garnier Light Complete White Speed Serum Cream SPF20/PA+++ ทีจ่ ะตรงเข้าจัดการ จุดด่างด�ำได้ลึกถึงชั้นผิว จบปัญหาจุดด่างด�ำเร็วสุดใน 3 วัน ที่สุดของผิวขาวใส ไกลจุดแบบติด สปีด ณ ZEN Event Space ห้างสรรพสินค้า ZEN เมื่อเร็ว ๆ นี้
58
for Quality Vol.22 No.214 March-April 2016
Movement
E vent คุณโชน โสภณพนิช (ที่ 3 จากซ้าย) กรรมการผู้จัดการใหญ่ และคณะผู้บริหาร บริษัท กรุงเทพประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน) ส่งมอบกรมธรรม์ประกันกลุม่ ให้กบั คุณสุรศักดิ์ เข็มทองค�ำ (ที่ 3 จากขวา) กรรมการผู้จัดการ และคณะผู้บริหาร บริษัท เอส 11 กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ให้ บริการสินเชื่อเช่าซื้อรถจักรยานยนต์รายใหญ่และให้บริการเสริมหลังการขายอย่างครบวงจร ไว้วางใจในการท�ำประกันกลุม่ กับกรุงเทพประกันชีวติ เพือ่ มอบความคุม้ ครองให้กบั ลูกค้าสินเชือ่ กรณีมกี ารเสียชีวติ หรือทุพพลภาพระหว่างสัญญา เป็นการวางแผนทางการเงินและแบ่งเบาภาระ หนี้ให้กับครอบครัวผู้กู้ ณ ส�ำนักงาน เอส 11 กรุ๊ป เมื่อเร็ว ๆ นี้
คุณวิชิต พยุหนาวีชัย (กลาง) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ซัมมิท แคปปิตอล ลีสซิง่ จ�ำกัด ผูน้ ำ� ธุรกิจสินเชือ่ เช่าซือ้ รถจักรยานยนต์ ในเครือซูมโิ ตโม คอร์ปอเรชัน่ ประเทศญีป่ นุ่ แถลงผลประกอบการประจ�ำปี 2558 ระบุยอดปล่อยสินเชื่อรถจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ร้ อ ยละ 37 พร้ อ มเผยกลยุ ท ธ์ แ ละทิ ศ ทางการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ในปี 2559 เดิ น หน้ า ขยาย สาขาครอบคลุมทั่วประเทศสอดรับการเติบโตต่อเนื่องทุกปี โดยมี มิสเตอร์ยาซูมาซ่า โอโมริ (ที่ 2 จากขวา) รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ร่วมงานแถลงข่าว ณ ห้องเรสซิเดนท์ 305 โรงแรมแกรนด์ ไฮแอท เอราวัณ เมื่อเร็ว ๆ นี้
สมาคมส่ ง เสริ ม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ ปุ ่ น ) โดยฝ่ า ยสื่ อ สารองค์ ก ารและสมาชิ ก จัดกิจกรรมเดิน-วิ่งมินิมาราธอนการกุศล “TPA Charity Run for Rama 2016” ณ สวนรถไฟ (สวนวชิรเบญจทัศ) โดยน�ำรายได้หลังหักค่าใช้จา่ ย มอบให้แก่มลู นิธริ ามาธิบดีฯ เพือ่ สร้างอาคาร สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยได้รับเกียรติ จาก ศ.กิตติคณ ุ ดร.วิวฒ ั น์ ตัณฑะพานิชกุล อุปนายก สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ) เป็นประธานในพิธีเปิด และมอบรางวัลแก่ผู้ที่ชนะการแข่งขัน อันดับที่1 2 และ 3 ประเภทเดิน 5 กิโลเมตร (ชาย/หญิง) และวิ่งมินิมาราธอน 10 กิโลเมตร (ชาย/หญิง)
Vol.22 No.214 March-April 2016
มิ ส เตอร์ เ ดวิ ด บลู ม มานิ ส ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารกลุ ่ ม งานพาณิ ช ย์ บริ ษั ท ซุปเปอร์แนป อินเตอร์เนชั่นแนล (ที่ 5 จากซ้าย) มิสเตอร์ดีแพก ซาหรับ ประธานกรรมการ บริษัท ซุปเปอร์แนป (ประเทศไทย) (ที่ 5 จากขวา) และ ดร.อมฤต เหล่ารักพงษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซุปเปอร์แนป (ประเทศไทย) (ที่ 3 จากซ้าย) ร่วมต้อนรับ คุณภวัต เลิศมุกดา รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดชลบุรี (กลาง) รวมทัง้ ผูบ้ ริหารจากบริษทั ผูถ้ อื หุน้ ได้แก่ คุณฐนสรณ์ ใจดี ผู้จัดการทั่วไป บริษัททรู อินเทอร์เน็ต ดาต้า เซ็นเตอร์ (ซ้าย) คุณชญาน์ทิพย์ ชูวณิชชานนท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย (ที่ 2 จากซ้าย) คุณปิยศักดิ์ ภูมิจิตร ผู้จัดการฝ่าย กฎหมาย บริษัททุนลดาวัลย์ (ขวา) และตัวแทนผู้บริหารจากไทยโอบายาชิ นิคมอุตสาหกรรม เหมราช และอะซู ดีเวลลอปเม้นท์ กรุ๊ป ณ พิธีวางศิลาฤกษ์ของบริษัท ซุปเปอร์แนป (ประเทศไทย) ที่คาดว่าจะก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์ในช่วงต้น ปี 2560 โดยซุปเปอร์แนป (ประเทศไทย) จะเป็นดาต้าเซนเตอร์ที่มีความล�้ำสมัยที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยปริมาณความจุสูงสุดกว่า 6,000 ตู้
59
Movement
E vent สนช. เผยความคืบหน้าโครงการคูปองนวัตกรรมระยะ 2 รอบแรก โดยหน่วยพัฒนา นวัตกรรม (iDC) ร่วมกับคณะท�ำงานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย เดินหน้าพิจารณารายละเอียดในข้อเสนอโครงการคูปองนวัตกรรมฯ ทุกโครงการ ทั้ง 5 กลุ่มอุตสาหกรรม ใกล้แล้วเสร็จ และได้ประกาศผลการอนุมัติโครงการในเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา
C ongratulations เมื่อเร็ว ๆ นี้ มิสเตอร์มาร์ติน สตูวิค กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดาคอน อินสเป็คชั่น เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ประกาศอย่างเป็นทางการว่า คณะกรรมการบริหารของบริษัทมีมติเป็น เอกฉันท์ ไว้วางใจเลือก คุณมัลลิกา แก่กล้า เป็นประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (CEO) คนใหม่ประจ�ำ องค์กร ซึ่งจะเป็นผู้ก�ำหนดทิศทางองค์กร รองรับการขยายตัวขององค์กรในระดับภูมิภาค และ เตรียมความพร้อมองค์กรส�ำหรับการเสนอขายหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในปี 2559
Vol.22 No.214 March-April 2016
บริษัท กู๊ดเยียร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) ฉลองเปิดศูนย์บริการกู๊ดเยียร์ ออโต้แคร์ สาขาที่ 61 ในจังหวัดชลบุรี โดยมี มิสเตอร์ฟินบาร์ โอคอนเนอร์ (ที่ 2 จากขวา) กรรมการผู้จัดการ บริษัท กู๊ดเยียร์ ประเทศไทย จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วย คุณคนึงนิจ วิระนนท์ (ที่ 3 จากขวา) เจ้าของและผู้ประกอบการศูนย์บริการกู๊ดเยียร์ ออโต้แคร์ จังหวัดชลบุรี ร่วมงาน
60
คุณวรินทร์ ตันติพงศ์พาณิช (ขวา) รองประธานกลุ่มผลิตภัณฑ์ บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จ�ำกัด รับมอบรางวัล Thailand’s Most Admired Brand ประจ�ำปี 2016 ปีที่ 16 หรือแบรนด์ที่ได้รับความน่าเชื่อถือมากที่สุดจากผู้บริโภคในหมวดพรินเตอร์จาก คุณธนเดช กุลปิติวัน (ซ้าย) บรรณาธิการบริหารนิตยสาร BrandAge โดยเป็นผลส�ำรวจความ นิยมของผู้บริโภคต่อกลุ่มธุรกิจต่าง ๆ จากกลุ่มตัวอย่าง 2,100 ชุดทั่วประเทศ โดยนิตยสาร BrandAge ร่วมกับทีมวิจัยของมหาวิทยาลัยชั้นน�ำต่าง ๆ ทั่วประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ และ มหาวิทยาลัยนอร์ทเชียงใหม่ โดยล่าสุดสินค้าเลเซอร์พรินเตอร์ของแคนนอนมีสัดส่วนการตลาดขึ้นเป็นอันดับหนึ่งในภูมิภาคอาเซียน ณ ห้องศศินทร์ฮอลล์ อาคารศศปาฐศาลา สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ เมื่อเร็ว ๆ นี้
Movement
S how Lenovo เลอโนโว เปิดตัวกลุ่มผลิตภัณฑ์ล่าสุดภายใต้ชื่อ X1 Family ที่น�ำทัพนวัตกรรมล่าสุดด้วย ThinkPad X1 Tablet แท็บเล็ตสายพันธุ์ใหม่ที่ น�ำเสนอการใช้งานร่วมกับโมดูลเสริมต่าง ๆ: ➠ ต้องการแบตเตอรี่เพิ่ม? Productivity Module หรือโมดูลแบตเตอรี่เสริม จะช่วยเพิ่มให้แท็บเล็ตท�ำงานได้ยาวนานถึง 15 ชั่วโมง ➠ ต้องการท�ำ Presentation Presenter Module หรือโมดูลฉายภาพ มาพร้อม Pico Projector และพอร์ต HDMI ➠ ต้องการสร้างภาพ 3 มิติ เพียงแค่ประกอบ 3D Imaging Module หรือโมดูลส�ำหรับภาพ 3 มิติ ที่มีกล้อง Intel RealSense อยู่ด้านหลัง
ก็สามารถสร้างภาพ 3 มิติได้อย่างง่ายดาย
คียบอร์ด ThinkPad ขนาดเต็มที่มาพร้อมปุ่ม TrackPoint สามารถปรับระดับการใช้งานได้ถึง 3 ระดับ จึงท�ำให้ผู้ใช้ได้สัมผัสประสบการณ์ การใช้งาน ThinkPad อย่างเต็มรูปแบบ ThinkPad X1 Yoga บางเบาเพียง 0.66 นิ้ว และน�ำหนักเพียง 2.8 ปอนด์ (ประมาณ 1.27 กิโลกรัม) อีกทัง้ ยังเป็นแล็บท็อปคอนเวอร์ตเิ บิลรุน่ แรกในโลกทีน่ ำ� เสนอทางเลือกหน้าจอ OLED จากซัมซุง ซึ่งแสดงภาพคมชัดและสมจริง
ThinkPad X1 Carbon ยังคงครองต�ำแหน่งอัลตร้าบุ๊คขนาด 14 นิ้ว ที่เบา ที่สุดในโลกและนับว่าเป็นหนึ่งในแล็ปท็อปที่หรูหราที่สุดในปัจจุบัน กลับมาครั้งนี้ X1 Carbon ที่บางขึ้น เบาขึ้น และสเปกแรงขึ้นกว่าเดิมด้วย
Vol.22 No.214 March-April 2016
ThinkCentre X1 AIO น�ำเสนอดีไซน์ที่ปราดเปรียวและมีระดับ ด้วยความ หนาเพียง 11 มิลลิเมตร ท�ำให้ ThinkCentre X1 AIO เป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ เดสก์ท็อปที่บางที่สุดในโลก โดยหน้าจอ Anti-Glare ขนาด 23.8 นิ้ว จะแสดงภาพ ทีค่ มชัดจากทุกมุมมอง แม้ ThinkCentre X1 AIO จะมีลกั ษณะบาง แต่ความทนทาน ของอุปกรณ์ไม่บางตามอย่างแน่นอน
61
Vol.22 No.214 March-April 2016
62
Pressure
Temperature & Huminity
etc.
pH Meter
Mass
✗
Testing
Training
etc.
✗
✗
Software
Cover Inside Front Cover, 1
Length
Hardness
Force
Electric
Page
✗
✗
Services
Measuretronix Ltd.
✗
Measurement
Products
2, 3
Equipment
Marske Machine (Thailand) Co., Ltd.
Page
Calibration
Lab Calibrations
Dimension
Advertiser’s Index
✗
✗
✗
✗
✗
✗
หมายเหตุ* Advertiser’s Index ได้จัดทำ�ขึ้นเพื่อความสะดวกในการค้นหาชื่อของบริษัทต่าง ๆ ที่ลงโฆษณาในนิตยสารฉบับนี้ โดยไม่มีข้อผูกมัดใด ๆ กับบริษัทที่ลงโฆษณา หากเกิดความผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำ�ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
CREATIVE & IDEA
} l ¤ ¥ |Ö ¨ ¤| ¨l¤s« ¡ Ö jÓ ¡ l ¡Ó i
JANUARY 2016 VOLUM 10
NUMBER
112
นิตยสาร
Creative & Idea KAIZEN
pi ¨l¤s« j °p i ¤ u ¬ Í
¨l¤s«
i Ò o}Ò ¤ ï o
ฉลองปรับโฉม พรอมกาวเขาสูปที่ 10
j Ï pj j j} ~t× }
คืนกำไรใหผูอาน ดวยโปรโมชั่นสุดพิเศษ 2 ตอ ตั้งแตบัดนี้ จนถึงสิ้นเดือนเมษายน 2559
zen Vision Kai ¨l¤s« l i pi ¬¤ Ú ¡ Ö j o ¡Ó i io | ¡ ¤ ¨ p i
0 110121 120157
70
CREATI
นิตยสาร
นิตยสาร นิตยสาร ครี
เอทีฟ แอนด
ไอเดีย ไคเซ็น
ศูนยรวมขอ
ตอที่
EA VE & ID
่ปุน & ศญีIDEA E ์จากประเท CREATIV เซ็น ลิขสิทธิ
มูล ความรู
สำหรับกิจกรรมไค
คูปอง CREATIVE & IDEA มกับสิทธิ์ เง�อนไขการใช งครั้งเดียว และไมสามารถใชั้งรวโปรโมชั่นอ�น ๆ ได ดเพีย ส.ส.ท. รวมท อง 1. คูปองนี้ ใชไ ิกทุกประเภ ทข ดสมาชารใชคูปอง อนไขก สเง�วนล ในเครือ ส.ส.ท. ์ นิตยสาร
นิตยสาร ครีเอทีฟ แอนด
ไอเดีย ไคเซ็น ศูนยรวมข
อมูล ความรู สำหรับกิจกรรมไคเซ็น
ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุน
1
งสำนักพิมพ สามารถใชส.สรว.ท.มกับสิทธิ องนีาะห้ ใชนัไดงเสืพีอยของครั้งเดียว และไม สือ ้งโปรโมชั่นอ�น ๆ ได นยหนั.งรวมทั 2. ซื1.้อไดคูเง�ปเฉพ และศูส.ส.ท mทของ อww นไขการใช ค.coูปอง กประเภ กทุook มาชิpab วทนลดส ส w.t าร 18อ )ส.ส.ท. ่ ี ได ฒนาก 3. ซื้อ 1. คูปองนี(สุ 29 แล พในเครื งครั ้งำนั เดีะพัยกวพิมและไม สามารถใช ขา ้ ใชขนัไดุมงเวิสืพีทอยของส ...เทานัรว้นมกับสิทธิ์ 2.ทั้งซื้อ2ไดสาเฉพาะห ..........งรวมทั ..... ..... . ่นอ�น ๆ ได ..... สวนลดสมาชิ ก ทุ ก ประเภทของ ส.ส.ท. ้งโปรโมชั ..... ห .......... ok.com และศูนย นั สือ ส.ส.ท tpabo ไดถึง..... ้อไดนีท้ ใชี่ www. 4.3.คู2.ปซือง 18) นาการ ฒ และพั ซื อ ้ ได เ ฉพาะหนั ง สื อ ของสำนั ก พิ ม พ ใ นเครื อ ส.ส.ท. 29 ท วิ ม ุ ข (สุ สาขา 2 ทั้ง ้น นั า ท ........เ .......... ้อไดท้ ใี่ชwww.tpabook.com และศูนยหนังสือ ส.ส.ท. ไดถึง.............................. 4.3.คูปซืองนี ทั้ง 2 สาขา (สุขุมวิท 29 และพัฒนาการ 18) 4. คูปองนี้ ใชไดถึง................................................เทานั้น นิตยสาร ครีเอทีฟ แอนด ไอเดีย ไคเซ็น ศูนยรวมขอมูล ความรู สำหรับกิจกรรมไคเซ็น ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุน
สมัครสมาชิกใหม หรือตออายุ ตอที่ 1
รับคูปองสวนลดทันที 20 %
ตอที่ 2
เลือกรับฟรี 1 เลม ❏ KAIZEN Best Practices เลม 1 ❏ KAIZEN Best Practices เลม 2 ❏ KAIZEN Best Practices เลม 3 ❏ 5ส ที่คน ไทยไมเคยรูจัก
1 ป
(790.-)
สมัครสมาชิกใหม หรือตออายุ
2 ป
(1,550.-)
ตอที่ 1
รับคูปองสวนลด 20 %
ตอที่ 2
เลือกรับหนังสือ ❏ Kaizen Best Practices เลม 1-3 หรือ เลือกรับหนังสือได 1 เลม ❏ การพัฒนาบุคลากรในโรงงานแบบ Monozukuri
❏ 7 จุดบอดแฝง ที่ขัดขวางการเพิ่ม ตอที่
2
ผลผลิตของโรงงาน
❏ เขาใหผมเปนผูจัดการคุณภาพ
ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th
หมายเหตุ คูปองมีอายุ 30 วัน สามารถใชเปนสวนลดในการซื้อหนังสือในเครือ ส.ส.ท. เทานั้น
kaizen pro11y20160121