www.tpaemagazine.com
For
Quality Management
May-June 2016 Vol.23 No.215
Magazine for Executive Management
อุตสาหกรรมกาวไกล ไประดับสากล
D N I
อุตสาหกรรมไทยกาวไกลอยางยั่งยืน ดวยเศรษฐกิจดิจิทัล วิธีการชี้บงความเสี่ยงและโอกาส ตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 อยางงาย
Y R T S U
เศรษฐกิจจีน vs เศรษฐกิจสหรัฐ การปรับเปลี่ยนองคการไปสูความเปนเลิศ เพ�อรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ AEC เชิงรุก ตอง Outside-in มากกวา Inside-out
เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย
Biomedical Test Equipment
RIGEL เปนผูผลิตเคร�องมือสอบเทียบทางการแพทย ที่ ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันในคุณภาพและความเช�อมั่น Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เคร�องสอบเทียบเคร�องกระตุกหัวใจ เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราหเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถสอบเทียบไดทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating waveform และ Automated external defibrillator (AED) สามารถพิมพผล Pass/Fail Label ไดทันทีผานเครื่องพิมพที่เชื่อมตอผาน Bluetooth
Rigel UNI-SIM : Vital Signs Simulator เคร�องวิเคราะหการทำงานเคร�องวัด สัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร 1. 2. 3. 4.
คาออกซิเจนในเลือด (SPO2) คาสัญญาณแรงดันไฟฟาหัวใจ (ECG) คาความดันโลหิตในหลอดเลือด (IBP) คาความดันโลหิต (NIBP)
5. คาอุณหภูมิรางกาย (Temperature) 6. คาอัตราการหายใจ (Respiration)
Rigel Uni-Therm : High Current Electrosurgical Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องจี้ดวยไฟฟา
เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องตัดจี้ ดวยไฟฟา สามารถวัดคาพลังงานที่เครื่องตัดจี้ ที่ปลอยออกมา ทั้งในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM ตามมาตรฐาน IEC 60601-2-2 บันทึกขอมูล ในตัวเครื่องได
Rigel 288 : Electrical Safety Analyzer เคร�องทดสอบวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟาประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบไดหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะ มาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 ทดสอบ Ground bond โดยใช dual current high intensity
Rigel Multi-Flo : Infusion Pump Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องใหสารละลายทางหลอดเลือด
เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องจายสารละลาย ทางหลอดเลือดทั้งที่เปนแบบ Infusion Pump และ Syringe Pumpเครื่องมือเหลานี้จะสามารถสอบเทียบ ไดทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test
IMT FlowAnalyzer Set V : Gas Flow Analyzer (PF300) เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�องชวยหายใจ
เปนเครื่องทดสอบเครื่องชวยหายใจแบบตั้งโตะ สามารถวิเคราะหแกสไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทย ไดดังนี้ 1. Ventilators CPAP/Bilevel 2. Ventilators ICU 3. Ventilators Infant 4. Ventilators High Frequency 5. Blood Pressure Analyzer 6. Oxygen Concentrators 7. Vacuum Pumps 8. Spirometers 9. Pipe Gases
IMT FlowAnalyzer Set VA : Anesthesia and Gas Flow Analzer (PF300 with OR-703)
เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�อง เคร�องรมยาสลบและเคร�องชวยหายใจ เปนเครื่องวิเคราะหเครื่องรมยาสลบ ที่สามารถวิเคราะหแกสรมยาสลบ เชน CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane และ Desfluraneไดและยังวิเคราะห เครื่องชวยหายใจไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทยไดดังนี้ 6. Blood Pressure Analyzer 1. Anesthesia Vaporizer 7. Oxygen Concentrators 2. Ventilators CPAP/Bilevel 8. Vacuum Pumps 3. Ventilators ICU 9. Spirometers 4. Ventilators Infant 10. Pipe Gases 5. Ventilators High Frequency
สนใจติดตอ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ rigel-biomedical
Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี ความแมนยำ DC 0.0024% เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได
I F I C AT I O
N
ME A
ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย
สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได
Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้ Fluctuation Harmonics Dips and Swells Multi Phase Operation
Compatible
ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม
ER
Compatible
เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล
PASSED
Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น
Fluke 5522A Multi-Products Calibrator
V
D. LT
เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง
R RE T ONIX SU
Compatible
Fluke 5320A
Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible
Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source
Compatible
Compatible
DC Volts
DC Current
AC Volt
ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได
Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง
เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ Multifunction insulation tester Portable appliance tester Insulation resistance testers Continuity testers and earth resistance testers Ground bond testers and loop/line impedance testers Hipot testers เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ
เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ
Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible
มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่ วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025% ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A) แสดงผลแบบกราฟก โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V
เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน
สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด
2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com
http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator
ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector
2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com
NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035
For Quality Management Vol.23 No.215 May-June 2016
Contents 22
เคล็บลับสุขภาพดี: นอนหลับดี ชีวีไร้เครียด โดย ศูนย์สง่ เสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์
ในเครือโรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
Quality Management Quality Finance 25 เศรษฐกิจจีน vs เศรษฐกิจสหรัฐ
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
18 20
Quality Strategy 27 Business Strategy: Case from Japan Sony จะกลับสู่ยุครุ่งเรือง ได้อีกหรือไม่ ตอนที่ 2 โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์
29
22
การปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศ เพื่อรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ (Organizational Transformation for Excellence to cope with The 4th Industrial Revolution) ตอนที่ 1
โดย ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี
25
Quality System Quality Trend 10 อุตสาหกรรมไทยก้าวไกลอย่างยั่งยืนด้วยเศรษฐกิจดิจิทัล
โดย กองบรรณาธิการ 14 วิธีการชี้บ่งความเสี่ยงและโอกาสตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 อย่างง่าย โดย นายคุณภาพ
Quality for Food 18 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB
AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 9 แปลและเรียบเรียงโดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย
Quality of Life 20 โรคซึมเศร้า
โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว
27
For Quality Management Vol.23 No.215 May-June 2016
34
Contents
32
Quality Marketing & Branding 32 AEC เชิงรุกต้อง Outside-in มากกว่า Inside-out โดย ดร.ธเนศ ศิรกิ จิ
34
การตลาดส�ำหรับผู้ประกอบการ: ประเด็นส�ำคัญในการออกแบบ ช่องทาง (channel design imperatives) การจัดการช่องทางอย่างเป็นทางการ (formalized channel arrangements) การจัดการสายโซ่อุปทาน (supply chain management)
โดย ผศ.ดร.นภวรรณ คณานุรกั ษ์
Quality People 37 การพัฒนาพนักงานอย่างเป็นระบบควรท�ำอย่างไร โดย ธ�ำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์
37
Life Style Quality Book Guide
40
Show & Share
42
Editor’s Talk เมื่อ
เร็ ว ๆ นี้ ภ าครั ฐ ได้ มี ก ารลงมติ ก� ำ หนดกรอบการด� ำ เนิ น งานดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิจและสังคม โดยแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 จัดท�ำโครงสร้าง ฐานรากให้มีความพร้อม ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน ระยะที่ 2 ท�ำให้ทุกภาคส่วนของประเทศมี ส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล ระยะเวลา 5 ปี ระยะที่ 3 ท�ำให้ประเทศเข้าสู่การเป็น ดิจิทัลไทยแลนด์ ระยะเวลา 10 ปี และ ระยะที่ 4 ท�ำให้ประเทศไทยอยู่ในล�ำดับต้น ๆ ของการ ขับเคลือ่ นโดยดิจทิ ลั ระยะเวลา 20 ปี กรอบด�ำเนินงานดังกล่าวแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจน ว่าภาครัฐเร่งขับเคลื่อนให้ทุกภาคส่วนก้าวเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัลอย่างเต็มก�ำลัง ซึ่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคการผลิต และภาคธุรกิจต่างให้ความร่วมมือและเล็งเห็นถึง ความส�ำคัญในการพัฒนาประเทศไปในทิศทางเดียวกัน ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม โดย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานหนึ่งที่พร้อมรองรับและ สนับสนุนผู้ประกอบการทุกภาคส่วนในการต่อยอดธุรกิจสู่การแข่งขันระดับภูมิภาคด้วย ดิจทิ ลั ผูอ้ า่ นสามารถติดตามอ่านบทสัมภาษณ์ของท่านอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้ ในฉบับนี้ ภายในเล่ม ยังคงอัดแน่นด้วยบทความน่าอ่านเช่นเคย ยกตัวอย่างเช่น Quality System ขอเสนอบทความเรื่อง วิธีการชี้บ่งความเสี่ยงและโอกาสตามมาตรฐาน ISO 9001:2015 อย่างง่าย บทความเรือ่ ง หลักการปฏิบตั ทิ ดี่ ี เพือ่ การจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB Quality Management เสนอบทความเรือ่ ง เศรษฐกิจจีน vs เศรษฐกิจสหรัฐ บทความเรือ่ ง การปรับเปลีย่ นองค์การไปสูค่ วามเป็นเลิศเพือ่ รองรับการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมรอบทีส่ ี่ บทความ เรื่อง การพัฒนาพนักงานอย่างเป็นระบบควรท� ำอย่างไร และบทความอีกหลายเรื่อง รอทุกท่านอยู่ภายในเล่ม พร้อมกันนี้เรายังได้ปรับรูปแบบการน�ำเสนอนิตยสารเป็นแบบ 2 in 1 โดย รวมกับนิตยสาร Techno & InnoMag ในวาระครบรอบ 23 ปีของนิตยสาร For Quality Management ฉบับที่ 215 เป็นต้นไป ซึ่งผู้อ่านจะได้เต็มอิ่มกับบทความในสองคอนเซ็ปต์ ที่เรามอบให้ พบกันใหม่ฉบับหน้า
Published by
Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย
Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant
พรามร ศรีปาลวิทย รถจณา เถาวพันธ จารุภา มวงสวย
Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708
PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Marketing Service
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Advertising
บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
Member
จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com
วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง
ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine
Download Form: www.tpaemagazine.com
ในนาม
1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................
นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................
จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................
ระดับการศึกษา
ต่ำกวาปริญญาตรี
จัดสงใบเสร็จรับเงินที่
ปริญญาโท
ปริญญาตรี
จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร
ปริญญาเอก
จัดสงตามที่อยูดานลาง
( ) สำนักงานใหญ่
( ) สาขาที่...............
ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... เลขประจำตัวผู้เสียภาษี(13หลัก) ......................................................................................................................................................................................................................................................................................
ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด
เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com) บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท. รานคา .................................... นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ) อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)
ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ
อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส
ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)
ผูสงออก
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต
ผูจัดจำหนาย
หนวยงานราชการ
อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร
วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3
สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่
เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก ฝายธุรกิจสิ่งพิมพ ส.ส.ท.
PR_NW
สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th
ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”
ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ
CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง
ISO 14001
ISO/IEC 17025
ISO 9001 TQM
Consultancy Services and Training
ISO/TS 16949
Consult
QS 9000
HACCP
TIS 18001
5S
Pre-assessment Audit
QCC
ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา
CCT SQUARE CO., LTD.
1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com
In-house Training
Q
System for
uality
Trend for Food of Life
Q
Trend for
uality
อุตสาหกรรมไทยก้าวไกลอย่างยั่งยืน
เศรษฐกิจดิจิทัล
ด้วย จาก
นโยบายภาครัฐทีพ่ ร้อมขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศไป สู่เศรษฐกิจดิจิทัลท�ำให้ทุกภาคส่วนของภาคอุตสาหกรรมทัง้ ภาคการผลิตและบริการเริม่ ตืน่ ตัวและวางกลยุทธ์การด�ำเนินงานที่มุ่งไปสู่ทิศทางในการพัฒนาและต่อยอดให้เกิดผลิตภาพและ ผลิตผลที่เอื้อต่อการก้าวสู่ Industry 4.0 และการแข่งขันในระดับโลก กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม น�ำโดย ท่าน อธิบดีสมชาย หาญหิรญ ั ซึง่ ท่านเป็นผูบ้ ริหารในหน่วยงานหลักทีเ่ ล็งเห็น ความส�ำคัญของการพัฒนาตามแนวนโยบายการก้าวสู่เศรษฐกิจ ▲
คุณสมชาย หาญหิรัญ
อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
10
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
กองบรรณาธิการ
Trend ดิจทิ ลั ของประเทศ ซึง่ หลายโครงการทีด่ �ำเนินงานอยูน่ นั้ เกีย่ วเนือ่ งและ เป็นประโยชน์ต่อการสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคอุตสาหกรรมไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมที่ท่านให้ความ ส�ำคัญอย่างยิง่ แต่กระบวนการด�ำเนินงานจะเป็นอย่างไรนัน้ ท่านอธิบดี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมได้ให้สัมภาษณ์กับเราในวันนี้ แนวโน้มการเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมไทยในภาพรวมยัง คงอยูใ่ นสถานการณ์ทรงตัว และยังคงต้องกระตุน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ท่าน อธิบดีสมชาย ได้ให้รายละเอียดกับเราว่า “หากพิจารณาสถานการณ์ อุตสาหกรรมทางด้านการผลิตในภาพรวมนั้น หากเทียบกับเมื่อปี พ.ศ. 2558 ในช่วงเวลาเดียวกัน ในปีนี้ยังคงอยู่ในระดับที่ต�่ำกว่า ผลผลิตใน ปี พ.ศ.2559 ติดลบอยู่ประมาณ 3-4% แต่หากเทียบระหว่างเดือนต่อ เดือนมีแนวโน้มความเจริญเติบโตสูงขึน้ ล่าสุดตัวเลขสถิตขิ องภาคการ ผลิตในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2559 สูงกว่าเดือนมกราคม พ.ศ.2559 ประมาณ 1.3% โดยเฉพาะอุตสาหกรรมทีป่ ระเทศไทยมีความแข็งแกร่ง เช่น อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์บางประเภท ส่วนสถานการณ์การส่งออกยังคงขยายตัวได้ไม่ดีเท่าใดนัก เนื่องจาก บรรยากาศของตลาดโลกยังไม่ค่อยฟื้นตัว แต่อุตสาหกรรมที่เริ่มมี แนวโน้มเมือ่ เทียบกันเดือนต่อเดือนในภาพรวม ส่วนใหญ่จะตอบโจทย์ ในเรื่องของดีมานด์ในประเทศที่เพิ่มมากขึ้นต่อเนื่องจากโครงการ ต่าง ๆ ของภาครัฐทีม่ งุ่ กระตุน้ เศรษฐกิจ อาทิ การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ที่ มี จ� ำ นวนนั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มามากขึ้ น และการส่ ง ออกทางอ้ อ ม ผ่านกิจกรรมที่นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาใช้บริการและซื้อของจาก ประเทศไทยกลับสูป่ ระเทศตน โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เสือ้ ผ้าเครือ่ งนุง่ ห่ม ซึ่งมีอัตราการผลิตที่เพิ่มขึ้นเดือนต่อเดือนอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ทัง้ นีก้ ารส่งออกก็ยงั คงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการฟืน้ ตัวของระบบ เศรษฐกิจในประเทศ ดังนั้น เราจึงต้องพยายามกระตุ้นปัจจัยทางด้าน ส่งออกให้มากยิ่งขึ้น” ส่วนอุตสาหกรรมทีน่ า่ เป็นห่วงนัน้ ท่านอธิบดีฯ กล่าวว่า ขึน้ อยู่ กับบริษทั และผูป้ ระกอบการ เพราเมือ่ พิจารณาแต่ละอุตสาหกรรมแล้ว บางอุตสาหกรรมมีแนวโน้มการเจริญเติบโตที่ดี แต่ผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมนั้นกลับมีการบริหารจัดการที่ไม่ดี จึงไม่สามารถกล่าว ได้ว่าอุตสาหกรรมใดน่าเป็นห่วง เพราะแต่ละอุตสาหกรรมมีจุดแข็ง แตกต่างกัน จึงขึ้นอยู่กับผู้ประกอบการว่าจะบริหารจัดการให้บรรลุ เป้าหมายได้อย่างไร
บุคลากร เป็นต้น 2. ดิจิทัลในฐานะที่เป็นคอนเทนต์และผลิตภัณฑ์ เช่น โปรแกรมซอฟต์แวร์ เป็นต้น ทัง้ นีห้ ากมองในประเด็นทีด่ จิ ทิ ลั เป็นเครือ่ งมือในการสนับสนุน อุตสาหกรรม เราจะมองถึงการใช้ประโยชน์ในฐานะเป็นเครื่องมือที่ใช้ ในการเพิ่มผลิตภาพ ได้แก่ การใช้เพื่อลดต้นทุนการผลิต การบริหาร จัดการวัตถุดิบ การควบคุมเครื่องจักร การตรวจสอบคุณภาพสินค้า เป็นต้น ซึ่งขณะนี้ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้ด�ำเนินการรวมกับบริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง Alibaba ในการส่งเสริม และสนับสนุนผู้ประกอบการเอสเอ็มอี และอีกหลายบริษัทในประเด็น เกีย่ วกับการน�ำดิจทิ ลั เป็นตัวสนับสนุน แต่ในส่วนทีด่ จิ ทิ ลั เป็นผลิตภัณฑ์ นัน้ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จ�ำพวกซอฟต์แวร์ตา่ ง ๆ ทางกรมส่งเสริมฯ ก็พร้อม พัฒนาเพื่อรองรับผู้ประกอบการ โดยนวัตกรรมที่ใช้จะเกี่ยวเนื่องกับ ดิจทิ ลั เทคโนโลยี ซึง่ สามารถสนับสนุนทัง้ เครือ่ งจักร เครือ่ งใช้ไฟฟ้า โดย จะมีระบบดิจทิ ลั เข้ามาควบคุมมากขึน้ การพัฒนานีอ้ าจไม่เป็นวงกว้าง มากเท่าใดนัก เนื่องจากผู้ประกอบการที่เข้ามาร่วมโครงการกับทาง กรมส่งเสริมฯ อย่างน้อยต้องมีความพร้อมและฐานความรู้ ผลิตภัณฑ์ และบุคลากรในระดับหนึง่ จึงท�ำให้โครงการนีอ้ ยูใ่ นวงจ�ำกัด ส่วนการน�ำ ดิจิทัลมาเป็นคอนเท้นท์ เราต้องยอมรับว่าอุตสาหกรรมไทยอยู่ในจุดที่ เรียกว่าจุดเริม่ ต้นจริง ๆ ดังนั้น จึงต้องร่วมกันสนับสนุนส่วนนีใ้ ห้เด่นชัด ซึ่งปัจจุบันกระทรวง ICT เป็นแม่งานอยู่”
นโยบายภาครัฐที่มุ่งสนับสนุนเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ
ประเทศต้นแบบการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล
“ส�ำหรับมุมมองทางด้านการขับเคลือ่ นระบบดิจทิ ลั ของประเทศ ผมมองเป็น 2 ส่วน นั่นคือ 1. ดิจิทัลในฐานะเป็นเครื่องมือที่ใช้ใน การเพิ่มผลิตภาพ เช่น การบริหารจัดการ การจัดจ�ำหน่าย การพัฒนา
ท่านอธิบดีสมชาย กล่าวถึงความส�ำเร็จของประเทศต้นแบบ ทีข่ บั เคลือ่ นเศรษฐกิจดิจทิ ลั จนกระทัง่ ประสบผลส�ำเร็จว่า “หากมุมมอง ด้านการน�ำดิจิทัลมาพัฒนาการผลิตและเครื่องจักร ประเทศเยอรมนี
Vol.23 No.215 May-June 2016
สถานการณ์อุตสาหกรรมไทยในภาพรวม
11
Trend ถือว่าเป็นต้นแบบ ส่วนดิจทิ ลั คอนเท้นท์ ประเทศญีป่ นุ่ และเกาหลีถอื ว่า เป็นประเทศต้นแบบ นอกจากนี้ประเทศญี่ปุ่นยังได้น�ำดิจิทัลมาใช้ พัฒนาการผลิตที่เรียกว่า e-Factory ซึ่งการจะก้าวเข้าสู่การพัฒนา เช่นนี้ได้ต้องมีปัจจัยสนับสนุนหลายด้าน เช่น ในสมัยก่อนระบบ Automation หากมีส่วนใดผิดพลาดก็จะมีสัญญาณบอกให้คนต้องเข้าไป แก้ไข แต่หากเป็น e-Factory ก็จะมีระบบ Robot ให้เข้าไปแก้ไขได้ทนั ที ทั้งนี้เรื่องของการผลิตเป็นเรื่องที่ซับซ้อนจึงต้องมีการแบ็กอัพด้วย Internet of Things (สิ่งต่าง ๆ ถูกเชื่อมโยงทุกสิ่งทุกอย่างเข้าสู่โลก อินเทอร์เน็ต ท�ำให้มนุษย์สามารถสั่งการ ควบคุมใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต) และ Big Data (คลังสมบัติด้านข้อมูล) ซึง่ เครือ่ งจักรจะต้องตัดสินใจได้บนพืน้ ฐานของข้อมูลมหาศาลผ่านการ เชือ่ มโยงทางอินเทอร์เน็ตนัน่ เอง โดยประเทศเยอรมนีและญีป่ นุ่ ประสบ ความส�ำเร็จในเรื่องนี้อย่างมากและเป็นตัวอย่างประเทศที่ก้าวเข้าสู่ Industry 4.0 ต่อไป” ในเบื้องต้นประเทศที่จะก้าวเข้าสู่การเป็น e-Factory ได้นั้น จะต้องมีความแข็งแกร่งในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อาทิ ความแข็งแกร่งด้านอิเล็กทรอนิกส์ ความแข็งแกร่งทางเครื่องจักรกล ความแข็งแกร่งด้านแมคคาทรอนิกส์ (เครือ่ งกล+ไฟฟ้า) ความแข็งแกร่ง ด้านออโตเมชัน่ จึงจะต่อยอดสูก่ ารแก้ไขปัญหาได้ดว้ ยตนเองผ่านระบบ ดิจิทัลได้ต่อไป
บทบาทของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมต่อเศรษฐกิจดิจิทัล
Vol.23 No.215 May-June 2016
“ส�ำหรับ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มี ส่ ว นผลั ก ดั น เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล โดยมี ก ารกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด เศรษฐกิ จ
12
สร้างสรรค์ในเบือ้ งต้นก่อน อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์โปรแกรม การสร้าง โปรแกรมเมอร์ แต่ก็ยังกังวลอยู่มาก นั่นเพราะการกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ตอ่ ยอดสูเ่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั เป็นเรือ่ งทีท่ ำ� ได้ไม่งา่ ยนัก แต่ความ พร้อมของกรมส่งเสริมฯ ที่จะสนับสนุนเรื่องนี้มีอยู่อย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะ เป็นการกระตุ้นด้านดิจิทัลในผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม เพือ่ การพัฒนาดิจทิ ลั เอสเอ็มอี นัน่ คือ การส่งเสริมให้เอสเอ็มอีใช้ดจิ ทิ ลั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ Enterprise Resource Planning: ERP (การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์การโดยรวม เพื่อให้เกิดการ ใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์การในระบบ ดิจิทัลทั้งหมด) นอกจากนี้ยังใช้ ERP เป็นส่วนช่วยในการพัฒนาตลาด ติดต่อสร้างซัพพลายเชน เป็นต้น” ส่วนการพัฒนาผู้ประกอบการโดยใช้ดิจิทัล กรมส่งเสริมฯ ได้ ร่วมมือกับ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. ในการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป “นอกจากนีก้ รมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ยัง มีบริการเพื่อผู้ประกอบการที่ต้องการการสนับสนุนและช่วยเหลือ โดย มี ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค (Industrial Promotion Center) ใน การส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรม และผูป้ ระกอบการ ผูใ้ ห้บริการธุรกิจอุตสาหกรรม ให้มขี ดี ความสามารถในการประกอบการ โดยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจดิจิทัลและประชาคมอาเซียน สร้างและ พัฒนาระบบการส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อเป็นต้นแบบการบริการ และ บูรณาการการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมร่วมกับหน่วยงาน เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง โดยในแต่ละศูนย์ฯ จะมีเจ้าหน้าที่ประจ�ำศูนย์ฯ ที่
Trend คอยช่วยเหลือตอบทุกข้อซักถามส�ำหรับผู้ประกอบการที่มีปัญหา อุปสรรค และข้อข้องใจต่าง ๆ หากต้องการค�ำปรึกษาสามารถติดต่อได้ ที่ศูนย์ฯ ประจ�ำภาคของตน หรือติดต่อเข้ามาโดยตรงได้ที่เว็บไซต์ ของกรมฯ www.dip.go.th ทุกค�ำถามเรามีค�ำตอบให้”
อุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวโน้มของไทยต่อการเป็นประเทศเศรษฐกิจดิจิทัล
“อนาคตเป็นสิ่งที่ทุกคนไม่สามารถหยั่งรู้ได้ แต่ตัวเราจะเป็น อย่างไรในอนาคตและอยู่กับอนาคตได้นั้น เราจะต้องท�ำตัวเองให้ เหมือนกับน�ำ้ นัน่ คือ อนาคตจะเป็นอย่างไรนัน้ ขึน้ อยูก่ บั สภาพแวดล้อม ที่เราอยู่ในอนาคต น�้ำก็เช่นเดียวกันจะเปลี่ยนรูปไปตามภาชนะ หรือ สิ่งแวดล้อมที่รองรับ เช่น น�้ำเมื่ออยู่ในแก้ว รูปร่างของน�้ำก็จะเป็นแก้ว น�ำ้ เมือ่ อยูใ่ นอ่าง รูปร่างของน�ำ้ ก็จะเป็นอ่าง เพราะฉะนัน้ อนาคตจะเป็น
อย่างไรนั้นคาดการณ์ได้ยาก แต่เอสเอ็มอีควรต้องพร้อมเปลี่ยนแปลง และท�ำตัวเองให้เหมือนกับน�้ำให้ได้ ทั้งนี้คาดการณ์คร่าว ๆ ว่า อนาคตของอุตสาหกรรมไทย เมื่อก้าวเข้าสู่เศรษฐกิจดิจิทัลไม่ว่าอยู่ในมิติของช่วงเวลาใดก็ตาม ผูป้ ระกอบการต้องมีการปรับตัว เพราะทุกสิง่ ทุกอย่างในปัจจุบนั เกิดขึน้ ได้อย่างรวดเร็ว และปรับเปลีย่ นได้ทนั ท่วงทีเสมอ ไม่วา่ จะเป็น Internet of Things นวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างท�ำให้ทุกสิ่งทุกอย่างเชื่อมโยง เข้าถึงกันได้ง่าย และ Big Data ก็จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ผู้ประกอบการจะ สามารถเข้าถึงเศรษฐกิจดิจิทัลได้อย่างสมบูรณ์แบบ”
ผู้ประกอบการกับการเตรียมพร้อมรับเศรษฐกิจดิจิทัล
ท่านอธิบดีสมชาย ยังได้กล่าวแนะน�ำผู้ประกอบการทั้งขนาด ใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดย่อม เตรียมตัวรองรับการแข่งขันในอนาคต อีกว่า “ในอนาคต ทุกอย่างทีเ่ กิดขึน้ ในโลกจะเชือ่ มโยงเข้าหากันง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องขององค์ความรู้ หรือการประยุกต์ใช้ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะดิจทิ ลั ยิง่ ท�ำให้คนติดต่อเชือ่ มโยงเข้าหากันได้งา่ ยยิง่ ขึน้ ผ่าน Internet of Things เพราะฉะนั้นสิ่งที่ทุกคนต้องท�ำให้ได้ คือ 1. ทุกคน ต้องเรียนรูต้ ลอดเวลา และต้องตามทิศทางของโลกให้ทนั พร้อมทีจ่ ะ วิ่ง พร้อมที่จะกระโดด มีความตื่นตัวกับสถานการณ์ที่เผชิญอยู่ให้ได้ 2. ต้องรู้จักสร้างเครือข่ายกับผู้อื่น เพราะจะท�ำให้เราสามารถเรียนรู้ สิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้ แล้วเราจะอยู่ได้ในการแข่งขันยุคดิจิทัล” ท่านอธิบดีฯ กล่าว
Vol.23 No.215 May-June 2016
“อุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการด�ำเนินโครงการที่ผ่านมา นั่นคือ การท� ำความเข้าใจทางด้านดิจิทัลของผู้ประกอบการเอสเอ็มอีใน ประเทศไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดเล็กจะค่อนข้างยากล�ำบาก ตั้งแต่การท�ำความรู้จัก การเรียนรู้ ดังนั้น ในช่วงเวลาที่กรมส่งเสริม อุตสาหกรรมเริ่มด�ำเนินโครงการในช่วงแรกผู้ประกอบการจึงเข้ามามี ส่วนร่วมค่อนข้างน้อย กรมส่งเสริมฯ จึงต้องพัฒนาโครงการต่าง ๆ ให้ มีความส�ำเร็จรูปมากขึ้น วิธีการที่ให้ความส�ำคัญ คือ การร่วมมือกับ หน่วยงานอื่น เช่น ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ช่วยกันออกแบบซอฟต์แวร์แล้วส่งเสริมให้เอสเอ็มอี เป็นผู้ใช้ผ่านแอพลิเคชั่นและโปรแกรมส�ำเร็จรูปต่าง ๆ” ท่านอธิบดี สมชาย กล่าวถึงการด�ำเนินงานทีเ่ ป็นรูปธรรมของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเข้าถึง ดิจิทัลได้ง่ายขึ้น
13
Q
Trend for
uality
วิธีการชี้บ่งความเสี่ยงและโอกาสตามมาตรฐาน อย่างง่าย
แนว
ทางการประเมินความเสี่ยงตามข้อก�ำหนด 6.1 ตาม มาตรฐาน ISO 9001:2015 ตามแนวทางข้อก�ำหนด Annex A ตาม ISO 9001:2015 ก�ำหนดวิธีการประเมินความเสี่ยงนั้น ไม่ต้องใช้วิธีการที่เป็นทางการ เช่น ตามแนวทาง ISO 31000:2009 Risk Management แต่จะด�ำเนินการเพื่อการก�ำหนดความเสี่ยงและ โอกาส ตามแนวทางข้อก�ำหนด 6.1.1 มาตรฐาน ISO9001:2015 ดังนี้ เมือ่ มีการวางแผนส�ำหรับระบบบริหารงานคุณภาพ องค์กรต้อง พิจารณาประเด็นที่อ้างอิงตาม 4.1 และข้อ 4.2 และก�ำหนดความเสี่ยง และโอกาสที่จ�ำเป็น เพื่อ a) ให้ ก ารประกั น ว่ า ระบบบริ ห ารงานคุ ณ ภาพ สามารถ บรรลุผลได้ตามที่ตั้งใจ b) การเพิ่มผลลัพธ์ได้ตามที่ต้องการ c) ป้องกัน หรือลดผลกระทบที่ไม่ต้องการ d) บรรลุการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
14
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
นายคุณภาพ
นั่นหมายถึง การบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิผลจะน�ำไปสู่ การป้องกันความผิดพลาด และเป็นการประกันคุณภาพเพือ่ ให้เกิดการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 6.1.2 องค์กรต้องวางแผน a) ด�ำเนินการตามที่ได้ระบุความเสี่ยง และโอกาสเหล่านี้ไว้ b) มีวิธีการ: 1) บูรณาการและประยุกต์ใช้การด�ำเนินการ (actions) ยัง กระบวนการระบบบริหารงานคุณภาพ 2) ประเมินประสิทธิผลของการด�ำเนินการ (actions) เหล่านี้ การด� ำ เนิ น การที่ ร ะบุ ค วามเสี่ ย ง และโอกาส ต้ อ งมี ค วาม เหมาะสมกั บ ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ตามความสอดคล้ อ งของ ผลิตภัณฑ์และบริการ ความหมายในข้อก�ำหนดนี้ หมายถึง การประเมินความเสี่ยง ตามขอบข่ายที่ก�ำหนดตามข้อ 4.3 ในระบบบริหารงานคุณภาพ และ
Trend
วิธี Brainstorming
ine
nt
Mana
ial
ไม่มีเอกสารอ้างอิง เอกสารเขียนไม่ชัดเจน มาตรฐานการท�ำงานผิดพลาด
Mater
d
Metho
▲ รูปที่
geme
ขาดความรู้ การขาดการบ�ำรุงรักษา การสรรหาที่ไม่เหมาะสม การท�ำงานไม่มีประสิทธิภาพ การขาดขวัญก�ำลังใจ การเกิดของเสียมาก Mach
ความเสี่ยง
Man
เมื่ อ ก� ำ หนดขอบข่ า ยระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพเรี ย บร้ อ ยแล้ ว การประเมินความเสี่ยงสามารถใช้วิธีการระดมสมองจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการประเมินความเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์และบริการ และกิจกรรมที่ รับผิดชอบ โดยมีจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ในการประเมิน คือ การ ค้นหาความเสี่ยงที่มีผลต่อการผลิต การบริการ การส่งมอบผลิตภัณฑ์ และบริการทีไ่ ม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด หรือมีผลต่อความพึงพอใจลูกค้า และการค้นหาจากหน้าที่ ความรับผิดชอบที่หน่วยงานที่ตนรับผิดชอบ มีความเสี่ยงในด้านใดบ้าง โดยอาจจะก�ำหนดกรอบการระดมสมอง และใช้เทคนิคอื่น ๆ ประกอบร่วมด้วย ดังวิธีการในเรื่อง Fish Bone Diagram วิธี Fish Bone Diagram โดยการก�ำหนดหัวปลา คือ หัวข้อ ความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดขึ้น และก้างปลาหลักนั้น สามารถก�ำหนด หัวข้อ 4 M หรือ 5M1E เข้าไปประกอบร่วมด้วย ได้แก่ Man, Machine, Method, Material, Monitoring & Measurement และ Environmental เป็นต้น เช่น การไม่ก�ำหนดวิสัยทัศน์ นโยบายที่ชัดเจน การขาด Leadership การไม่สร้างแรงจูงใจ ให้พนักงาน
วัตถุดิบไม่มีคุณภาพ สถานะของผู้ขายไม่มีประสิทธิผล การสื่อสารกับผู้ขายที่ไม่มีประสิทธิผล
1 แผนภูมิก้างปลา การหาความเสี่ยง ➢ หั ว ปลา
คือ ความเสี่ยงจากการส่งมอบผลิตภัณฑ์และ บริการที่ไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด ➢ Man คือ ความเสี่ยงจากบุคลากรขาดความสามารถ ขาด การอบรม การขาดแรงจูงใจ ระบบการสรรหาที่ไม่เหมาะสม ➢ Machine คือ ความเสี่ยงจากเครื่องจักรไม่มีประสิทธิภาพ เกิดของเสีย การช�ำรุดของเครื่องจักร
➢ Method คือ ความเสี่ยงจากการไม่ได้ก�ำหนดวิธีการปฏิบัติ
งานที่เป็นมาตรฐาน หรือวิธีการที่ก�ำหนดล้าสมัย ➢ Material คื อ ความเสี่ ย งจากวั ต ถุ ดิ บ ที่ ไ ม่ มี คุ ณ ภาพ การส่งมอบไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด หรือการสื่อสารกับผู้ขายที่ไม่มี ประสิทธิผล ➢ Monitoring and Measurement คือ ความเสี่ยงจากการ เฝ้าติดตาม ตรวจวัด ที่ไม่มีประสิทธิผล ไม่ทันเวลา การวัดผลผิดพลาด ➢ Environmental คือ สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่ไม่ เหมาะสม และเมือ่ ก�ำหนดความเสีย่ งเรียบร้อยแล้ว องค์การก็จะหาโอกาส หรือมาตรการในการจัดการกับความเสีย่ งทีม่ โี อกาสเกิดขึน้ โดยอาจใช้ วิธีการของระบบบริหารคุณภาพที่น�ำมาปฏิบัติเป็นส่วนหนึ่งในการ ควบคุมความเสี่ยงได้ ตารางที่ 1 แนวทางการจัดการความเสี่ยง หัวข้อความเสี่ยง ความเสี่ยงจากบุคลากรขาด ความสามารถ ขาดการอบรม
การจัดการความเสี่ยง การจัดท�ำระบบการสร้างความสามารถ เช่น การอบรม On the Job Training, Knowledge Management Mentor: KM, Individual Development Planning: IDP
ความเสีย่ งจากบุคลากรขาดขวัญ การบริหารบุคคล การบริหารสวัสดิการ ก�ำลังใจ การวิเคราะห์ความเสีย่ งด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัย ความเสี่ยงจากเครื่องจักรไม่มี ประสิทธิภาพ เกิดของเสีย การช�ำรุดของเครื่องจักร
การจัดท�ำโปรแกรม Preventive Maintenance, Total Productive Maintenance: TPM การปรับปรุง Overall Equipment Efficiency: OEE
ความเสี่ยงจากวัตถุดิบที่ไม่มี คุณภาพ
การบริหารจัดการผู้ขาย ผู้รับจ้างช่วง การตรวจประเมินผู้ขาย การสื่อสารข้อมูล กับผู้ขาย ตามแนวทางข้อก�ำหนด 8.4 ISO 9001:2015
ความเสี่ยงจากการไม่ได้ ก�ำหนดวิธีการปฏิบัติงาน ที่เป็นมาตรฐาน
การ Brainstorm เพื่อจัดท�ำ Standard Operation Procedure: SOP การตรวจ ติดตามภายใน Internal Audit, Corrective Action, Risk Management
ความเสี่ยงจากเครื่องมือวัด ที่ผิดพลาด
การจัดท�ำระบบการสอบเทียบทวนสอบ เครื่องมือวัดตามข้อก�ำหนด 7.1.5 ISO 9001:2015
ความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อม การจัดการสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติ ในการปฏิบัติงานที่ไม่เหมาะสม งาน ทัง้ ทางด้านกายภาพ จิตวิทยา เช่น แสง เสียง ความร้อน การจัดการด้าน ความปลอดภัย ตามข้อก�ำหนด 7.1.4 ISO 9001:2015
Vol.23 No.215 May-June 2016
ก�ำหนดวิธีการบริหารจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสมกับผลกระทบที่ เกิดขึ้น ดังนั้น การประเมินความเสี่ยงและโอกาส สามารถใช้วิธีการที่ ไม่ซบั ซ้อนได้ แต่ดำ� เนินการเพือ่ ประโยชน์ในการป้องกันและรับประกัน ให้ระบบบริหารคุณภาพมีประสิทธิผล และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยวิธีการนั้นสามารถใช้วิธีการง่าย ๆ ดังนี้
15
Trend วิธีเทคนิคแผนภูมิต้นไม้ Tree Diagram
วิธีการนี้ คือ วิธีการหาความเสี่ยงจากการหาสาเหตุที่แท้จริง ของความเสี่ยง โดยการใช้เทคนิคแผนภูมิต้นไม้ (tree diagram) ซึ่ง เป็นการหาสาเหตุโดยการถามค�ำถามต่อเนื่องว่า “ท� ำ ไม” จึงเกิด ความเสีย่ งในประเด็นดังกล่าวนี้ เพือ่ ให้สามารถหาสาเหตุทแี่ ท้จริงของ ความเสี่ ย งดั ง กล่ า วนี้ ไ ด้ และสามารถบริ ห ารจั ด การได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิผล (ดังรูปที่ 2 และ 3) เครื่องจักร วิธีการ
ความเสี่ยง วัตถุดิบ พนักงาน ▲ รูปที่
การขาดการบ�ำรุงรักษา ประสิทธิภาพไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ขาดความรู้ในการบ�ำรุงรักษา ขาดการสนับสนุนทรัพยากรในการบ�ำรุงรักษา วิธีการที่ไม่ครบถ้วน วิธีการที่ไม่ทันสมัย ความเข้าใจวิธีการคลาดเคลื่อน วัตถุดิบไม่มีคุณภาพ วัตถุดิบส่งมอบไม่ตรงเวลา การสื่อสารประสานงานผิดพลาด ระบบการควบคุม ประเมินผู้ขายไม่เหมาะสม ขาดการฝึกอบรบ ขาดการสรรหาที่เหมาะสม การขาดแรงจูงใจ
2 แผนภูมิต้นไม้ในการประเมินความเสี่ยง
แนวทางดังกล่าวนี้ จะท�ำให้องค์การสามารถค้นหาความเสี่ยง แบบลงลึกในรายละเอียด สาเหตุที่แท้จริงของความเสี่ยงและสามารถ บริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น ผลจากการหาความเสี่ ย งที่ ไ ด้ น� ำ ไปสู ่ ก ารบริ ห ารจั ด การ ความเสีย่ ง และการปรับปรุง โดยการจัดการแต่ละสาเหตุของความเสีย่ ง เหล่านั้น
วิธี Failure Mode Effect Analysis: FMEA
วิธกี ารนีม้ กั จะประยุกต์ใช้ในขัน้ ตอนการออกแบบ และการผลิต การบริการ โดยเน้นการจัดการความเสีย่ งตามแนวทาง Operation Risk
ซึ่งมาจากการจัดท�ำแผนภูมิกระบวนการผลิต และการวิเคราะห์หา โอกาสในการเกิดความเสี่ยงของแต่ละขั้นตอนกระบวนการ และระดม สมองในทีมงานที่มีความรู้ความสามารถในกระบวนการที่ก�ำหนด มา พิจารณาว่า โอกาสเกิดความผิดพลาด (likelihood) ในกระบวนการนี้ คืออะไร และพิจารณาผลกระทบ (effect) ที่เกิดขึ้น โดยอาจพิจารณา ก�ำหนดเกณฑ์และคะแนนในการประเมิน ซึ่งเกณฑ์การประเมินนั้น สามารถก�ำหนดได้จากเทคนิค ถ้า.... แล้ว.... (What….If…….) เช่น กระบวนการฆ่าเชื้ออาหารกระป๋องด้วยหม้อนึ่งไอน�้ำฆ่าเชื้อ (retort) อาจตั้งค�ำถามแบบนี้ ➢ ถ้า ความดันไอน�้ำตก แล้ว การฆ่าเชื้อจะไม่สมบูรณ์ ➢ ถ้า เวลาในการฆ่าเชือ ้ คลาดเคลือ่ นสัน้ กว่าเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด แล้ว การฆ่าเชื้อจะไม่สมบูรณ์ ➢ ถ้ า เวลาในการฆ่ า เชื้ อ คลาดเคลื่ อ นมากกกว่ า เกณฑ์ ที่ ก�ำหนด แล้ว ผลิตภัณฑ์จะเปลี่ยนสี กลิ่นไหม้ ➢ ถ้า อุณหภูมใิ นการฆ่าเชือ ้ ต�ำ่ กว่าเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด แล้ว การ ฆ่าเชื้อจะไม่สมบูรณ์ อาหารไม่ปลอดภัย ➢ ถ้า พนักงานผู้ควบคุมหม้อฆ่าเชื้อขาดความรู้ แล้ว ผลิตภัณฑ์อาจเสียหาย เกิดของเสีย ข้อร้องเรียน ➢ ถ้า เครือ ่ งมือวัดในการควบคุมการฆ่าเชือ้ ไม่ถกู ต้องแม่นย�ำ แล้ว การฆ่าเชื้อจะไม่สมบูรณ์ อาหารไม่ปลอดภัย ดังนั้น เมื่อค้นหารูปแบบความผิดพลาดและผลกระทบมาได้ สิ่งที่ด�ำเนินการต่อมา คือ การหาแนวทางบริหารจัดการความเสี่ยง ซึ่ง ในกรณีนี้ ได้แก่ การฝึกอบรมผู้รับผิดชอบการฆ่าเชื้อ การพิสูจน์ยืนยัน สภาวะการฆ่าเชื้อ (F0, Heat Penetration) การจัดท�ำมาตรฐานการ ฆ่าเชื้อ และการสอบเทียบเครื่องมือวัด เป็นต้น ตามหมายเหตุในข้อ 6.1.2 ระบุเงื่อนไขในการระบุความเสี่ยง และโอกาส อาจรวมถึงการจัดการข้างล่างนี้ และอธิบายความหมายได้ ดังนี้
ความเสี่ยง ความเสีย่ งจากบุคลากร + ความเสี่ยงจากการขาดการฝึกอบรม
+ ความเสี่ยงจากการสรรหา
Vol.23 No.215 May-June 2016
การขาดการวางแผนการอบรม
16
การไม่ได้จัดสรรเวลาในการอบรม การขาดบุคลากรด้านทรัพยากรบุคคล
+ ความเสี่ยงจากการบ�ำรุงรักษา
+ ความเสี่ยงจากประสิทธิภาพเครื่องจักร
การขาดวิธีการสรรหา การก�ำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบไม่ชัดเจน
การขาดความรู้ในการบ�ำรุงรักษา
ก�ำลังการผลิตไม่เป็นไปตามที่ออกแบบ
การขาดการฝึกอบรมการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักร
การก�ำหนดคุณสมบัติผู้สมัครไม่ชัดเจน
การขาดการควบคุมคู่มือเครื่องจักร
การควบคุมเครื่องจักรไม่มีประสิทธิผล การขาดแผนการเปลี่ยนอะไหล่ที่ถูกต้อง
ระบบการสรรหาที่ไม่โปร่งใส
▲ รูปที่
ความเสี่ยงจากเครื่องจักร
3 แผนภูมิต้นไม้ในการประเมินความเสี่ยงแบบ Why-Why
➢ การหลีกเลีย ่ งความเสีย่ ง (avoiding risk) คือ การหลีกเลีย่ ง
จากการท�ำกิจกรรมที่มีความเสี่ยงนั้น ๆ หากเป็นกิจกรรมที่เราไม่มี ทักษะ ความช�ำนาญ ความสามารถขององค์การเพียงพอ เช่น การ เปลีย่ นธุรกิจไปยังการผลิตและการบริการทีอ่ งค์ความรูข้ ององค์การไม่ เพียงพอ ➢ การรับความเสี่ยงในการผลักดันโอกาส (taking risk in order to pursue an opportunity) คือ การรับความเสี่ยงไว้ เพื่อหา โอกาสในการปรั บ ปรุ ง เช่ น ความเสี่ ย งจากเครื่ อ งจั ก รที่ ล ้ า สมั ย ประสิทธิภาพต�ำ่ โอกาสในการปรับปรุง ได้แก่ การจัดหาเครือ่ งจักรใหม่ การปรับปรุงครื่องจักร (modify) ➢ การก�ำจัดแหล่งก�ำเนิดความเสี่ยง (eliminating the risk source) คือ กรณีความเสีย่ งจากการปฏิบตั งิ าน ใช้วธิ กี ารก�ำจัดทีแ่ หล่ง
ก�ำเนิด โดยการหาสาเหตุที่แท้จริง และก�ำจัดความเสี่ยงนั้น เช่น ความ เสี่ยงจากการปฏิบัติงานประกอบชิ้นงานผิดพลาด มีการใช้เทคนิค Mistake Proofing เช่น การออกแบบเครื่องมือ Jig ป้องกันความ ผิดพลาด หรือการออกแบบระบบเกลียว การท�ำสัญลักษณ์ชี้บ่งการ ประกอบ หรือความเสีย่ งจากการเบิกจ่ายสินค้าผิดพลาด อาจใช้วธิ กี าร ใช้ระบบซอฟต์แวร์บาร์โค้ด มาควบคุมการเบิกจ่าย เป็นต้น ➢ การเปลีย ่ นแปลงโอกาสในการเกิด หรือผลกระทบ (changing the likelihood or consequences) เช่น การฝึกอบรมพนักงาน ให้ ป ฏิ บั ติ ต ามคู ่ มื อ และวิ ธี การอย่ า งสม�่ ำ เสมอ เพื่ อ ลดโอกาสเกิ ด ข้อผิดพลาดจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น ➢ การแบ่งความเสี่ยง (sharing the risk) เช่น การกระจาย ความเสี่ยงด้านคุณภาพวัตถุดิบ หรือการส่งมอบไม่ทันเวลาไปยัง ผู้ส่งมอบ Supplier หลาย ๆ ราย เพื่อกระจายความเสี่ยง การป้องกัน วัตถุดิบขาดสต๊อก (shortage) ➢ การคงความเสีย ่ งโดยการตัดสินใจ (retain risk by information decision) ในบางกรณีความเสี่ยงที่เกิดขึ้น โอกาสในการเกิด อาจจะต�่ำมาก และอาจไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนทางด้านทรัพยากรเพื่อ การป้องกัน การจัดการความเสี่ยงอาจยังคงไว้อยู่ แต่ต้องให้ผู้บริหาร ตัดสินใจในการจัดการความเสี่ยงดังกล่าวนี้ เช่น การเกิดภัยธรรมชาติ จนไม่สามารถด�ำเนินธุรกิจได้ปกติ วิธีการจัดการความเสี่ยงมีจุดมุ่งหมายที่ส�ำคัญ คือ การบริหาร เชิงรุก (proactive management) เพื่อป้องกันความไม่แน่นอน (uncertainty) อันน�ำไปสู่การเกิดผลกระทบทางธุรกิจ และระบบบริหาร คุณภาพ
Vol.23 No.215 May-June 2016
Trend
17
Q
for Food for
uality
หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า
ตามแนวทางของ AIB
ตอนที่ 9 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices
ต่อจากฉบับที่แล้ว
แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com
5.6 การตรวจสอบด้ ว ยตนเอง พนักงานผู้รับผิดชอบท�ำการประเมินการน�ำ ไปใช้ แ ละการตรวจสอบโปรแกรมด้ า น สุขลักษณะและความปลอดภัยด้านอาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.6.1.1 มี ค ณะกรรมการความ ปลอดภัยด้านอาหาร 5.6.1.2 มี แ ผนงานคณะกรรมการ ความปลอดภัยด้านอาหารและด�ำเนินการ ตรวจสอบด้วยตนเองภายในและพื้นที่โดย รอบภายนอกอย่างน้อยเดือนละครั้ง 5.6.1.3 จัดท�ำเอกสารผลการด�ำเนิน การของคณะกรรมการความปลอดภัยด้าน อาหาร ประกอบด้วย
18
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
➢ Identified Observations ➢ Corrective Actions
➢ Specific Assignments
➢ Actual Accomplishments
5.6.1.4 ผลลัพธ์ของการตรวจสอบ ด้วยตนเองต้องส่งให้กับผู้รับผิดชอบส�ำหรับ กิจกรรมที่ถูกตรวจสอบ 5.6.1.5 คณะกรรมการความปลอดภัยด้านอาหาร และผู้รับผิดชอบหลัก ท�ำการ ก� ำ หนดระยะเวลาแล้ ว เสร็ จ ส� ำ หรั บ การ ป้องกันและแก้ไข 5.6.1.6 ผลของการทวนสอบการ ป้องกันและแก้ไข เพื่อให้มั่นใจว่ามีความ พึงพอใจเมื่อแล้วเสร็จ
ข้อก�ำหนดรอง 5.6.2.1 Food Safety Committee สมาชิ ก ต้ อ งมาจากหลายหน่ ว ยงานของ โรงงาน หากจ�ำเป็น 5.6.2.2 การติดตามผลการตรวจสอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าข้อเสนอแนะถูกแก้ไขได้อย่าง ถูกต้อง 5.7 ระเบี ย บปฏิ บั ติ ก ารตรวจติ ด ตามที่เป็นลายลักษณ์อักษร แต่ละระเบียบ ปฏิ บั ติ ต ้ อ งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร และ พนั ก งานต้ อ งผ่ า นการฝึ ก อบรม ระเบี ย บ ปฏิบัติการตรวจติดตามต้องเป็นลายลักษณ์ อักษรเพื่อให้มั่นใจว่าจะยังคงถูกต้อง
5.7.1.1 มีขอบข่ายและความถี่ของ การตรวจติ ด ตามบนพื้ น ฐานการประเมิ น ความเสี่ยง หรือความส�ำคัญของกิจกรรม การตรวจติดตามต้องด�ำเนินการอย่างน้อย ปีละครั้ง 5.7.1.2 การตรวจติดตามต้องด�ำเนิน การโดยผูต้ รวจติดตามทีม่ คี วามสามารถ เป็น อิสระจากพื้นที่ที่ท�ำการตรวจประเมิน 5.7.1.3 ผู ้ ต รวจติ ด ตามต้ อ งจั ด ท� ำ เอกสารผลการตรวจติดตาม ซึ่งประกอบด้วย ➢ Identified Observations ➢ Corrective Actions ➢ Specific Assignments ➢ Actual Accomplishments 5.7.1.4 ผลการตรวจติดตามต้องส่ง ให้กบั ผูท้ รี่ บั ผิดชอบส�ำหรับกิจกรรมทีถ่ กู ตรวจ ติดตาม 5.7.1.5 พนักงานหลักรับผิดชอบการ ก�ำหนดระยะเวลาส�ำหรับการป้องกันและ แก้ไข 5.7.1.6 ผลของการป้ อ งกั น และ แก้ไขต้องถูกทวนสอบเพื่อให้มั่นใจว่าเป็นที่ พึงพอใจ 5.8 โปรแกรมการรับข้อร้องเรียน ลูกค้า จัดท�ำโปรแกรมเป็นลายลักษณ์อักษร ส� ำ หรั บ การประเมิ น ผลตามข้ อ ร้ อ งเรี ย น ลูกค้าเพือ่ ตอบสนองต่อความกังวลของลูกค้า การร้องเรียนที่เกี่ยวกับประเด็นด้านความ ปลอดภัยของอาหาร
ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.8.1.1 มีโปรแกรมการรับข้อร้องเรียนลูกค้าที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5.8.1.2 โปรแกรมการรับข้อร้องเรียน ลูกค้า รวมถึงระเบียบปฏิบัติส�ำหรับการกระจายข้อมูลข้อร้องเรียนโดยเร็วไปยังหน่วยงาน ที่ รั บ ผิ ด ชอบเพื่ อ น� ำ ไปใช้ ซึ่ ง โปรแกรมสุ ข ลักษณะพื้นฐานและความปลอดภัย 5.8.1.3 มีการแก้ไขที่เหมาะสมตาม ความรุนแรงและความถี่ของข้อร้องเรียนที่ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 5.8.1.4 ข้อมูลการร้องเรียนที่ใช้ใน การด�ำเนินการเพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาหลีกเลี่ยงการเกิดซ�้ำของปัญหา และเพื่อให้เกิด ความมัน่ ใจต่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์
5.9 โปรแกรมการควบคุมสารเคมี จัดท�ำโปรแกรมส�ำหรับการจัดการสารเคมี ทั้งหมดในพื้นที่ และมีการควบคุมการจัดซื้อ และการใช้งานส�ำหรับสารเคมีทใี่ ช้กบั อาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.9.1.1 มีโปรแกรมการควบคุมสารเคมี เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรที่ ป ระกอบด้ ว ย สารเคมีทมี่ กี ารใช้งานทัง้ หมด (เช่น สารเคมีที่ ใช้ กั บ การป้ อ งกั น และก� ำ จั ด สั ต ว์ พ าหะ แบบบูรณาการ การซ่อมบ�ำรุง สุขาภิบาล และสุขอนามัย) 5.9.1.2 ระเบียบปฏิบตั ปิ ระกอบด้วย ➢ การควบคุ ม และการแยกพื้ น ที่ จัดเก็บ ➢ การจัดการ ➢ ฉลากและการระบุ ฉ ลาก (ใน ประเทศที่มีกฎหมายที่เกี่ยวกับฉลาก ข้อมูล บนฉลากต้องมีการปฏิบัติตาม) ➢ การฝึกอบรมและให้ความรู้ ➢ Material Safety Data Sheet (MSDS) or Chemical Safety Data Sheet Archiving ➢ ผู ้ รั บ เหมาที่ ใ ช้ ส ารเคมี (เช่ น สารเคมีที่ใช้ในการด�ำเนินการ บริการก�ำจัด สัตว์พาหะ แม้ว่าจะมีการจัดเก็บนอกพื้นที่)
อ่านต่อฉบับหน้า
Vol.23 No.215 May-June 2016
for Food
19
Q
of Life for
uality
โรค
โรคซึมเศร้า โรงพยาบาลหัวเฉียว
20
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
ซึมเศร้า เป็นโรคทางจิตเวชทีพ่ บ ได้บ่อย ซึ่งผลของโรคกระทบต่อ ชีวิตประจ�ำวัน ผู้ป่วยจะสูญเสียโอกาสทั้งใน ด้านอาชีพการท�ำงานและการศึกษาในขณะ ที่ป่วย อีกทั้งยังเป็นความเจ็บป่วยที่มีความ เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ซึ่งไม่เพียงแต่ผู้ป่วย โรคซึมเศร้าทีร่ สู้ กึ ทุกข์ทรมาน คนในครอบครัว ก็ต้องพลอยได้รับความทุกข์ไปด้วย โรคซึมเศร้าไม่ใช่เป็นเพียงความรู้สึก หรืออารมณ์เศร้าหมองที่ผ่านเข้ามาและจะ ผ่านไปได้ง่าย ๆ บุคคลที่มีอาการของโรค ซึมเศร้าจะไม่สามารถรวบรวมสติและพลังที่ จะต่อสู้ให้ดีขึ้นได้ด้วยตนเอง ภาวะซึมเศร้า สามารถเกิดขึน้ ได้จากหลายปัจจัย อาทิ ปัจจัย ทางพันธุกรรม ชีวภาพ บุคลิกภาพ และภาวะ ตึงเครียดในชีวิต บุคลิกภาพในลักษณะขาด ความเชื่อมั่น ไม่สามารถมองเห็นคุณค่าใน ตนเองมองโลกและตนเองในแง่ ร ้ า ย ไม่ สามารถขจัดความเครียดได้
of Life
กับความสูญเสียในชีวติ หากเจอกับเหตุการณ์ หรือความรู้สึกเหล่านั้นบ่อย ๆ ก็อาจกระตุ้น ให้โรคซึมเศร้าเกิดขึ้นได้ รวมถึงปัจจัยทาง ชีวภาพ เช่น การเปลี่ยนแปลงของระดับสาร เคมีในสมองบางตัว ก็อาจส่งผลให้เกิดโรค ซึมเศร้าได้เช่นกัน วิธีรักษาโรคซึมเศร้า สามารถท�ำได้ โดยการใช้ยาและไม่ใช้ยา ในแง่ของด้านไม่ ใช้ยาใช้การปรับความคิดเพือ่ ไม่ให้มคี วามคิด ในแง่ ร ้ า ยและเศร้ า หมอง พร้ อ มด้ ว ยการ เปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
ความคิดฟุ้งซ่านให้ลดลงและอารมณ์ดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีการรักษาด้วยไฟฟ้าในรายที่ เป็ น มาก หรื อ เสี่ ย งต่ อ การฆ่ า ตั ว ตายสู ง นอกจากการรับการรักษาแล้วครอบครัวและ ญาติ พี่ น ้ อ ง ถื อ เป็ น คนส� ำ คั ญ ในการช่ ว ย ให้การรักษาได้ผลดี การให้ก�ำลังใจแก่ผู้ป่วย โรคซึมเศร้าจะช่วยได้มาก เพราะผู้ป่วยมัก มองโลกในแง่ร้ายและมักจะลืมประเด็นนี้อยู่ บ่อยครัง้ และในรายทีเ่ ป็นมากและมีความคิด จะฆ่าตัวตาย ญาติควรเก็บสิ่งที่จะใช้ในการ ฆ่าตัวตายได้ เช่น เชือก มีด กรรไกร ยาฆ่าแมลง อาวุธต่าง ๆ ให้มิดชิดและคอยดูแล ผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ในรายที่มีความเสี่ยงที่จะ ฆ่าตัวตายมาก ๆ ควรให้ผู้ป่วยเข้ารับการ รักษาเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาลที่มีการดูแล อย่างใกล้ชิด
Vol.23 No.215 May-June 2016
ผู้ป่วยที่เป็นโรคซึมเศร้าอาจมีอาการ แสดงหลายอย่าง เช่น ➢ การเปลี่ ย นแปลงทางอารมณ์ อาทิ รู ้ สึ ก ซึ ม เศร้ า กั ง วล อยู ่ ต ลอดเวลา หงุดหงิดฉุนเฉียว โกรธง่าย อยู่ไม่สุข กระวนกระวาย โดยอารมณ์เมื่อเศร้าจะเป็นแทบ ทั้งวันติดกันเป็นเวลา 2 สัปดาห์ขึ้นไป ➢ การเปลี่ยนแปลงทางความคิด อาทิ รู้สึกสิ้นหวัง มองโลกในแง่ร้าย รู้สึกผิด รู้สึกตัวเองไร้ค่า มีความคิดจะท�ำร้ายตัวเอง คิดถึงความตาย ➢ การเปลีย ่ นแปลงการเรียนรูห้ รือ การท�ำงาน อาทิ ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม รู้สึก อ่อนเพลีย ไม่มีพลังงาน การท�ำงานช้าลง การงานแย่ลง ไม่มีสมาธิ ความจ�ำเสื่อม การ ตัดสินใจแย่ลง ➢ การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อาทิ นอนไม่หลับ ตื่นเร็ว หรือบางรายหลับ มากเกินไป บางคนเบือ่ อาหารท�ำให้นำ�้ หนักลด บางคนรับประทานอาหารมากท�ำให้น�้ำหนัก เพิ่ม ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นแย่ลง สาเหตุที่กระตุ้นให้เกิดอาการซึมเศร้า มาจากหลายปัจจัย ทั้งจากด้านกรรมพันธุ์ พัฒนาการของจิตใจ และสิ่งแวดล้อมที่ เผชิญ เช่น ประสบกับความเครียดหนัก ๆ เจอ มรสุมชีวติ เจ็บป่วยเรือ้ รังจนหมดก�ำลังใจ พบ
21
Q
of Life for
uality
เคล็บลับสุขภาพดี: นอนหลับดี ชีวีไร้เครียด พญ.วรรณวิพุธ สรรพสิทธิ์วงศ์ แพทย์ด้านเวชศาสตร์ชะลอวัย การแพทย์เพื่อชีวิตที่ยืนยาว และเวชศาสตร์ฟื้นฟูภาวะเสื่อม ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพไวทัลไลฟ์ ในเครือโรงพยาบาลบำ�รุงราษฎร์
ปัจจัยส�ำคัญที่มีผลต่อคุณภาพของ การนอน นัน่ คือ สิง่ แวดล้อมในขณะทีค่ ณ ุ นอน ต้องมีความสอดคล้องกับนาฬิกาชีวติ ในเวลา กลางคืน ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารเมลาโทนิน ซึ่งท�ำหน้าที่ส่งสัญญาณไปยังสมองเพื่อสั่ง การให้รา่ งกายหลับ และหลังจากนัน้ กระบวนการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอจึงจะเริ่มท�ำงาน เมื่อคุณนอนหลับ
3 ปัจจัยทีช่ ว่ ยให้คณ ุ มีคณ ุ ภาพการนอนทีด่ ี
ยัง
เป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันอยู่ เสมอว่าความเครียดก่อให้เกิดอาการ นอนไม่หลับ หรือแท้ที่จริงแล้วอาการนอนไม่ หลับต่างหากที่ก่อให้เกิดความเครียด บ่อย ครั้งที่เราได้เห็นคนที่มีความเครียดแล้วเกิด อาการนอนไม่หลับ และในขณะเดียวกันเราก็ พบว่าคนจ�ำนวนไม่น้อยที่ประสบปัญหานอน ไม่หลับแล้วเกิดอาการเครียด ในความเป็นจริงแล้ว กรณีทั้งสอง สามารถเกิดขึ้นได้โดยไม่มีล�ำดับก่อนหลัง ไม่ว่าจะเกิดกรณีใดขึ้นก็ตามก็ล้วนแล้วแต่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพทั้งสิ้น
22
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
หากคุ ณ ต้ อ งการหลี ก เลี่ ย งปั ญ หา สุขภาพที่เกิดขึ้นจากปัจจัยเหล่านี้ มาเรียนรู้ และท�ำความเข้าใจกับ “เคล็บลับสุขภาพดี: นอนหลับดี ชีวีไร้เครียด” กันเถอะ
นอนหลับให้ดี ชีวีมีสุข
การนอนหลับเป็นกลไกตามธรรมชาติ เพือ่ ให้รา่ งกายได้มเี วลาพักผ่อนและซ่อมแซม ส่วนที่สึกหรอจากกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างวัน การนอนที่มีคุณภาพจะส่งผลดีอย่างยิ่งต่อ ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบอวัยวะ ต่างๆ ในร่างกาย
ปั จ จั ย ที่ ช ่ ว ยให้ คุ ณ มี คุ ณ ภาพการ นอนที่ดี ได้แก่ 1. สิ่งแวดล้อมในขณะนอนหลับ ➢ ควรจะปรับห้องนอนให้มืดที่สุด เท่าที่จะท�ำได้ ปิดคอมพิวเตอร์และโทรทัศน์ เนื่องจากตามธรรมชาติแล้วร่างกายจะหลั่ง เมลาโทนินก็ตอ่ เมือ่ ร่างกายอยูใ่ นสิง่ แวดล้อม ที่ไม่มีแสงสว่าง ➢ ควรปิ ด โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ หรื อ ไม่ ควรวางโทรศัพท์มือถือไว้ใกล้ตัวเนื่องจาก สัญญาณวิทยุจากโทรศัพท์มือถือจะรบกวน กระบวนการนอนได้ หากจ�ำเป็นแนะน�ำให้วาง ห่างจากศีรษะอย่างน้อย 1 ฟุต 2. การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และการออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำ ➢ เลื อ กรั บ ประทานอาหารที่ อุ ด ม ด้วยสาร 5-Hydroxytryptamine (5HT) และ Gamma Amino Butyric Acid (GABA) ได้แก่
of Life
บุ ค ลิ ก ภาพสามารถบ่ ง บอกได้ ถึ ง ระดั บ ความเครียดในตัวคุณได้
เราสามารถแบ่ ง คนทั่ ว ๆ ไปตาม ลักษณะบุคลิกภาพออกได้เป็น 2 ประเภท นั่นคือ ประเภท A และ ประเภท B จากงานวิจยั เราพบว่า คนประเภท A มี ภาวะเครียดสูงกว่า คนประเภท B เนือ่ งจากว่า คนประเภท A เป็นกลุ่มคนที่ชอบการแข่งขัน ชอบความสมบูรณ์แบบ และมองโลกในแง่รา้ ย ในขณะทีค่ นประเภท B เป็นกลุม่ คนทีส่ บาย ๆ มีมนุษยสัมพันธ์และชอบพบปะผูค้ น หากคุ ณ ต้ อ งการทราบว่ า ตั ว คุ ณ เป็นคนประเภทไหน ลองจุ่มมือของคุณใน ถังน�้ำแข็งประมาณ 2 นาที แล้วเปรียบเทียบ
ความดั น โลหิ ต ก่ อ นและหลั ง จุ ่ ม ถั ง น�้ ำ แข็ ง หากพบค่าความแตกต่างเกิน 15 มิลลิเมตร ปรอท แสดงว่า คุณเป็นคนประเภท A สิง่ ส�ำคัญทีค่ นประเภท A ต้องพึงระวัง เพือ่ ไม่ให้เกิดภาวะเครียดง่าย ๆ นัน่ คือ การรูจ้ กั นิยามของค�ำว่า “ความเครียด” ทีแ่ ท้จริง “ความเครียด” เป็นความรู้สึกเชิงลบ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เมื่ อ คน ๆ นั้ น ไม่ มี ท างเลื อ กหรื อ ทางออกใด ๆ เมื่อเกิดปัญหานั้น ๆ ขึ้น หาก คุณยึดถือนิยามข้อนีแ้ ล้ว คุณจะพบว่า คุณจะ ไม่มีความเครียดใด ๆ ได้เลย เนื่องจากทุก ๆ ปัญหามีทางออกเสมอ ยกเว้นเพียงปัญหา เดียวที่เราไม่สามารถหาทางแก้ไขได้ นั่นคือ ความตายนั่นเอง ดั ง นั้ น ความรู ้ สึ ก เชิ ง ลบที่ มั ก จะ เกิดขึ้นกับคุณเมื่อมีปัญหาใด ๆ เกิดขึ้นก็ตาม นั้น ไม่ได้เรียกว่า ความเครียด แต่คือ ความ กดดัน ต่างหาก
ทำ�อย่างไรให้ชีวิตห่างไกลจากความเครียด
1. หัดนัง่ สมาธิ หาเวลาฝึกนัง่ สมาธิ เพื่อให้จิตใจสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน หัดก�ำหนดจิตให้ อยู่ที่ลมหายใจ เพื่อให้ร่างกายและจิตใจได้ ผ่อนคลายจากความเครียด 2. หากิจกรรมสันทนาการทีส่ นใจท�ำ เลือกใช้เวลากับกิจกรรมสันทนาการที่คุณ ชอบ เช่น หมากล้อม ประโยชน์ที่ได้จากการ เล่นหมากล้อม นอกจากคุณจะได้พาตัวเอง ออกมาจากความเครียดที่รุมเร้าแล้ว พื้นที่ 361 ช่ อ งบนตารางของเกมหมากล้ อ มยั ง ช่วยฝึกและพัฒนาทักษะการตัดสินใจและ การวางแผนงานได้ดีอีกด้วย 3. หมั่ น ส� ำ รวจพฤติ ก รรมของ ตนเอง หากพบว่าตัวคุณมีพฤติกรรมเสี่ยงที่ ก่อให้เกิดภาวะเครียดได้ง่าย ควรรีบเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้น ไม่เช่นนั้นพฤติกรรมที่ท�ำ ซ�้ำ ๆ เป็นเวลานานจะท�ำให้เกิดเป็นลักษณะ นิสัยที่ยากจะแก้ไขได้ภายหลัง
ทำ�อย่างไรจึงจะมีสุขภาพดี: นอนหลับดี ชีวีไร้เครียด
ดังทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น จะเห็นได้วา่ มีหลากหลายวิธีและค�ำแนะน�ำดี ๆ ที่จะช่วย ให้คุณสามารถนอนหลับได้อย่างมีคุณภาพ และไม่ประสบปัญหาเครียด แต่ทว่าวิธีการ และค�ำแนะน�ำดังกล่าวอย่างเดียวคงจะไม่ สามารถท� ำ ให้ คุ ณ บรรลุ ค วามส� ำ เร็ จ ได้ สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ นัน่ คือ ตัวคุณและความมุง่ มัน่ ตั้งใจที่จะเรื่มต้นดูแลสุขภาพของตัวคุณเอง สุขภาพคุณ คุณเลือกได้ !
Vol.23 No.215 May-June 2016
วนิลา ชาคาโมไมล์ จมูกข้าว และข้าวซ้อมมือ เป็นต้น ➢ ออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำอย่าง น้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ ➢ หลีกเลีย ่ งการออกก�ำลังกายก่อน นอนอย่างน้อย 4 ชัว่ โมง เพือ่ ป้องกันการตืน่ ตัว ของกล้ามเนื้อและร่างกายจนนอนไม่หลับ 3. การสัมผัสแสงแดดตอนเช้าและ การรักษาสมดุลของระดับฮอร์โมน ➢ ควรสัมผัสแสงแดดตอนเช้าอย่าง น้อยวันละ 15-20 นาที เพื่อช่วยกระตุ้นให้ ร่างกายสังเคราะห์สารเมลาโทนินเก็บไว้เพื่อ ใช้ในตอนกลางคืน ➢ ควรตรวจวัดระดับฮอร์โมนให้อยู่ ในระดับสมดุลอยู่เสมอ
23
Q
Management for
uality
Finance Strategy Marketing & Branding People
Q
Finance for
uality
จีน vs เศรษฐกิจสหรัฐ
เศรษฐกิจ
การ
ปรับเปลี่ยนนโยบายค่าเงินหยวนของจีนในกลางเดือน สิงหาคม 2015 เป็นการส่งสัญญาณทีช่ ดั เจนว่า จีนจะไม่ เป็นเพียงศูนย์กลางของห่วงโซ่อปุ ทานโลก (center of the global supply chain) หรือเป็น “โรงงานโลก” (The Global Workshop) แบบที่จีน เคยได้แสดงบทบาทมาอย่างต่อเนือ่ งเท่านัน้ หากแต่จนี จะแสดงบทบาท ส�ำคัญในด้านภาคการเงิน (financial sector) ในระดับโลกด้วย การปล่อยให้คา่ เงินหยวนสามารถเคลือ่ นไหวขึน้ ลงได้อย่างเสรี ยิง่ ขึน้ นัน้ ไม่เพียงมีผลต่อพัฒนาการของภาคการเงินจีน (ทีย่ งั เป็นระบบ ปิดค่อนข้างมาก) เท่านัน้ หากแต่จะมีผลการก�ำหนดทิศทางการพัฒนา ภาคเศรษฐกิจจริง (real sector) ของจีน ไม่ว่าจะเป็นภาคการผลิต (production) ภาคบริการ (service sector) และการค้าต่างประเทศ (foreign trade) อันประกอบไปด้วยการส่งออก (exports) และน�ำเข้า (imports) เป็นอย่างมากด้วยเช่นกัน ในช่วงทีผ่ า่ นมา การทีจ่ นี ยังปิดภาคการเงินของตนค่อนข้างมาก (ซึ่งแตกต่างจากการเปิดภาคเศรษฐกิจจริงเป็นอย่างมาก) ก็เพราะ ตระหนักถึงความสุ่มเสี่ยงที่มาจากภาคการเงิน (risks from the financial sector) ที่คู่ต่อสู้แข่งขันทางยุทธศาสตร์ (strategic competitor) คือ สหรัฐมีความเข้มแข็งกว่าเป็นอันมาก ในช่วงกว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา เศรษฐกิจสหรัฐได้มุ่งสู่การ เป็นเศรษฐกิจที่อิงกับภาคการเงิน (financial-based economy)
รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์
อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
แล้วอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏออกมาให้เห็นจากรูปธรรมต่าง ๆ เช่น การท�ำมาหากินกับตลาดเงิน (money market) ตลาดทุน (capital market) ตลาดซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์ล่วงหน้า (futures commodity markets) แทนที่จะเน้นการหาประโยชน์จากภาคเศรษฐกิจจริงแบบ ที่จีนได้ด�ำเนินการมา ไม่อาจที่จะปฏิเสธได้ว่า ในช่วงที่ผ่านมาและที่เป็นอยู่ใน ทุกวันนี้ สหรัฐคืออภิมหาอ�ำนาจหมายเลขที่ 1 ของโลก เพราะได้ผ่าน เลยล�ำดับขั้น (sequences) ทางการพัฒนาเศรษฐกิจมาตามล�ำดับ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ภายหลังการ “ปูพรม” สร้างทาง รถไฟกระจายไปทั่วทั้งประเทศโดยการลงหลักปักฐานของประธานาธิบดีลินคอห์น (1861-65) ที่ได้ผ่านกฎหมายที่มีชื่อว่า “The Trans Pacific Act” ส่งเสริมให้มีการสร้างรถไฟเชื่อมระหว่างภาคตะวันออก (East Coast) ที่เจริญก่อนภูมิภาคอื่น ๆ (เพราะสามารถเชื่อมต่อกับทั่ว ยุโรปโดยผ่านมหาสมุทรแอตแลนติค) กับภาคตะวันตก (west coast) ในฟากฝัง่ มหาสมุทรแปซิฟกิ อันเป็นอาณาบริเวณทีเ่ ริม่ เจริญเติบโตใน ช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 อันเป็นช่วงที่ความเป็นชาติเดียวกันของ สหรัฐได้บังเกิดขึ้นอย่างเป็น “รูปธรรม” เมื่อสงครามกลางเมือง (the civil war) อันเกิดจากการรบกันระหว่างฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ได้จบลง ภายใต้การก�ำชัยชนะของฝ่ายเหนือที่มี “แม่ทัพ” ใหญ่นาม “อับราฮัม for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
25
Vol.23 No.215 May-June 2016
Finance
26
ลินคอห์น” อดีตวุฒสิ มาชิกประจ�ำรัฐอิลลินอยส์ ก่อนทีจ่ ะผงาดขึน้ ด�ำรง ต�ำแหน่งประธานาธิบดีในช่วง 1861-1865 (อันเป็นเส้นทางเดียวกันกับ ที่ “บารัค โอบามา” ได้ขึ้นสู่การเป็นประมุข “ท�ำเนียบขาว” ในต้นปี 2009) สหรัฐได้ดำ� รงต�ำแหน่งเป็นโรงงานโลก (the global workshop) อย่ า งเด่ น ชั ด ในต้ น ทศวรรษที่ 20 และเป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต ใน ภาคอุตสาหกรรมโลก ในช่วงรอยต่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 ในขณะที่ประเทศมหาอ�ำนาจอื่น ๆ ต่างตกอยู่ในสภาวะ การ “สะสมทุน” เพื่อเตรียมท�ำสงครามใหญ่ในระดับโลก แทนที่การมุ่ง เน้นพัฒนาการทางเศรษฐกิจ เพื่อเป้าหมายด้านความเจริญรุ่งเรือทาง เศรษฐกิจเป็นหลัก อันเป็นความแตกต่างจากกรณีสหรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปที่ห่างไกลจากทั้งยุโรป (ที่มีมหาสมุทรแอตแลนติคเป็นมหานที ขวางกั้น และทวีปเอเชีย ที่มีมหาสมุทรแปซิฟิคกั้นกลาง) แม้ว่าสหรัฐจะถูก “ลาก” เข้าสู่สงครามโลก แต่ก็อยู่ในช่วง ปลาย ๆ ก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะยุติลงในปี 1945 ส่งผลให้พญา อินทรีสามารถสะสมทุนพัฒนาเศรษฐกิจของตน โดยอาศัยทัง้ ปัจจัยทาง เศรษฐกิจ (economic factor) ทีเ่ อือ้ อ�ำนวย และปัจจัยทีไ่ ม่ใช่เศรษฐกิจ (non-economic factors) เช่น ปัจจัยสงคราม (war factor) ที่ยังเพิ่ม โอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจของแผ่นดิน “ลุงแซม” ให้เพิ่มสูงขึ้นไป อีก แม้ว่าบางครั้งจะถูกกระทบจากปัญหาการแตกตัวของฟองสบู่ (bubble burst) อันเนือ่ งมาจากการทีเ่ ศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาค การเงิน (financial sector) ได้เติบโตอย่างร้อนแรงเกินไป (เช่น ในปลาย ปี 1929 ที่เริ่มเกิด “The Great Depression” อันเนื่องจากฟองสบู่ใน “Wall Street” ได้แตกตัวออกมาอย่างรุนแรง) ตั ว แปรส� ำ คั ญ ที่ มี ส ่ ว นช่ ว ยเกื้ อ หนุ น ให้ ส หรั ฐ ผงาดขึ้ น เป็ น อภิมหาอ�ำนาจหมายเลข 1 ของโลก ก็คือ การใช้ระบบเศรษฐกิจที่เป็น มิตรกับตลาด (market friendly economy) คือ การใช้กลไกดีมานด์ และซัฟพลายหรือกลไกตลาด (market mechanism) ในการขับเคลือ่ น เศรษฐกิจการลงทุนพัฒนาด้านการขนส่ง (transportation) และ คมนาคม (communications) ไม่ว่าจะเป็นทางน�้ำ ทางบก และทาง อากาศ และระบบการสื่อสาร อย่างมากมายนับตั้งแต่ครึ่งหลังของ ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา (เช่น การพัฒนาระบบรถไฟและโทรเลข ใน ช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 19 และระบบถนนและรถยนต์ และวิทยุ กระจายเสียงและเครือ่ งบิน ฯลฯ ในช่วงครึง่ แรกของศตวรรษที่ 20 ฯลฯ) นอกจากนี้พัฒนาของระบบการเงิน (financial development) ไม่ว่าจะเป็นตลาดเงิน (money market) ตลาดทุน (capital market) ก็ ไ ด้ ด� ำ เนิ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว ในแผ่ น ดิ น อิ น ทรี นั บ ตั้ ง แต่ ช ่ ว งก่ อ น สงครามโลกทั้ง 2 ครั้งแล้ว ปั จ จั ย ประการต่ อ มาที่ มี ผ ลต่ อ พั ฒ นาการเศรษฐกิ จ ของ “ลุงแซม” มาก และยังด�ำรงเป็น “หมายเลข 1” ของโลกมาจนถึงทุกวัน นี้ ก็คือ การเป็นศูนย์กลางแห่งการพัฒนาด้านเทคโนโลยี (technological development) ในแทบทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี จักรกล (mechanical technology) ที่มีส่วนช่วยทุ่นแรงและยกระดับ
ผลิตภาพของแรงงานมนุษย์ (labor productivity) เทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) ทีช่ ว่ ยยกระดับประสิทธิภาพของภาคการเกษตร และ วิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต (life seines) ต่าง ๆ เช่น วงการแพทย์และ เภสัชกรรม ฯลฯ ไม่อาจที่จะปฏิเสธได้ว่า จนถึงจวบเท่าทุกวันนี้ สหรัฐก็ยังด�ำรง ต�ำแหน่งเป็น “จ้าว” ด้านการวิจัยและพัฒนาโลก (Research and Development: R&D) และเป็นแหล่งก�ำเนิดของนวัตกรรม (innovation) ใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะเป็นด้านเครือ่ งกล ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพ ด้านข่าวสารข้อมูล (information technology) ด้านเทคโนโลยีจวิ๋ (nato technology) และเทคโนโลยีหุ่นยนต์ (robotics) แต่พฒ ั นาการทีก่ ล่าวมาข้างต้นคงยากทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้ ถ้าหากว่า แผ่นดินอินทรีขาด “คน” หรือทรัพยากรมนุษย์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง เพราะ “คน” คือ กุญแจดอกส�ำคัญที่สามารถ “ไข” ไปสู่ความส�ำเร็จในทุก ๆ ด้านได้ แผ่นดิน “ลุงแซม” ที่มีระบบการศึกษาที่เป็นเลิศและถือเป็น “ตักศิลาโลก” จึงเป็นศูนย์กลางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development: HRD) ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก ดูเหมือนว่าแผ่นดินมังกรเองก็ได้เจริญรอยตามเส้นทางเดินของ พญาอินทรีในการพัฒนาเศรษฐกิจจนสามารถผงาดขึน้ มาเป็น “โรงงาน โลก” (The Global Workshop) ได้อย่างรวดเร็ว โดยใช้เวลาเพียง ประมาณ 2-3 ทศวรรษ ภายหลังที่จีนเริ่มด�ำเนินนโยบายเปิดประเทศ (open-door policy) โดยการน�ำของ “เติ้งเสี่ยวผิง” ในปลายทศวรรษที่ 1970’s เป็นต้นมา แต่ก้าวย่างที่ยากล�ำบากและเต็มไปด้วยอุปสรรคขวากหนาม มากกว่า ก็คือ การพัฒนาภาคการเงินที่จีนยังอยู่ในช่วงต้น ๆ ของการ พัฒนาเท่านั้น
Q
Strategy for
uality
ตอนที่ 2
Business Strategy: Case from Japan
Sony จะกลับสู่ยุครุ่งเรืองได้อีกหรือไม่ ต่อจากฉบับที่แล้ว วิธีการเดียวที่จะตัดวงจรที่เลวร้าย คือ การเป็น “บริษัทธรรมดา”
ต้นปี 2015 Sony ได้จัดแสดงสินค้าที่ Eureka Park ที่เป็น ส่วนย่อยของ Las Vegas Convention Center ที่จัดแสดง Consumer Electronics Show ในชื่อว่า MESH (Make, Experience, Share) โดย สถานที่แสดงไม่มีโลโก้ของ Sony ประดับอยู่เลย เหตุผลก็คือ หากว่ามี โลโก้ของ Sony ผู้มาชมก็ต้องคาดหวังอย่างมากว่าจะต้องมีผลิตภัณฑ์ ที่ล�้ำหน้า หรือไม่เคยคาดคิดมาก่อนมาโชว์อย่างแน่นอน แต่สิ่งที่ ต้องการ คือ ต้องการให้ผู้บริโภคได้รับรู้คอนเซปต์หรือเสน่ห์ของ ประโยชน์ใช้สอย (function) ว่ามีความน่าสนใจมาก-น้อยเพียงใด หาก ไม่มโี ลโก้ของ Sony อยู่ หากกล่าวง่าย ๆ MESH ก็คอื Electronic Block นั่นเอง เป็น Block ที่มีกลไกต่าง ๆ เช่น LED Light, Motion Sensor,
ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น orbusiness@hotmail.com
Microphone น�ำเอามาเชื่อมต่อกันแล้วเล่นได้ กลไกระหว่าง Block ก็ เชื่อมต่อด้วย Bluetooth ท�ำให้สามารถท�ำเป็นรูปต่าง ๆ ได้ เป็นต้นว่า เป็นของเล่นที่เมื่อคนเคลื่อนไหวก็จะส่งเสียง ถ้าเอาไปใส่ในตุ๊กตา เมื่อ เด็กไปจับก็จะส่งเสียงหัวเราะ ไม่เพียงแต่ใช้เล่นเท่านัน้ ยังสามารถเอา ข้อมูลพยากรณ์อากาศเข้ามาได้อย่างอัตโนมัติด้วย เช่น ในวันที่ฝนจะ ตกก็จะมีรปู กางร่มมีแสงออกมา เป็นต้น ผลิตภัณฑ์นถี้ งึ แม้วา่ จะไม่เป็น สินค้าทีร่ ะเบิดเปรีย้ งปร้างเหมือนวิทยุทรานซิสเตอร์รนุ่ แรกของญีป่ นุ่ ใน ปี 1955 หรือ Walkman ทีฮ่ ติ ระดับโลก แต่บริษทั ก็มนั่ ใจว่าจะเป็นสินค้า ที่มีคุณค่าทางความรู้สึก (sensibility value) ที่สูงได้ แนวคิ ด ใหม่ ข องการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ ในยุ ค ที่ ต ลาด เครือ่ งใช้ไฟฟ้า หรือ IT ก�ำลังอิม่ ตัว จะสร้างสินค้าบริการใหม่ ๆ นัน้ เป็น for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
27
Vol.23 No.215 May-June 2016
Strategy
28
สิ่งที่ยากยิ่ง จึงเป็นการพัฒนาอย่าง Conservative เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น ถึงแม้ว่าสินค้าใหม่นี้จะไม่พลิกวิถีการใช้ชีวิตก็ตาม แต่ก็น่าจะ เป็นสิ่งที่แปลก และน่าตกตะลึงได้เช่นกัน ภายใต้สถานการณ์นี้ การ พัฒนาจึงเปลีย่ นมาเป็นแบบ Open นัน่ คือ น�ำเอาความคิดของนักลงทุน ผูป้ ระกอบการทีอ่ ยูภ่ ายนอก บริษทั ลูกต่าง ๆ เข้ามาใช้ประโยชน์ได้สงู สุด ในการพัฒนาก็เพื่อความรวดเร็ว บริษัทลงทุนมีเครื่อง 3D Printer มี การจัดการประชุมภายในภายนอกบริษัท มีการประกวดสินค้าใหม่ สร้างพื้นที่ที่เรียกว่า Creative Lounge เกิดขึ้นภายในบริษัท ในปีหนึ่ง ๆ จะมีการจัด Audition ธุรกิจใหม่ ถึง 3 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมกว่า 1,000 คน ไม่จ�ำกัดอายุ ไม่ว่าเป็นพนักงานใหม่ อายุ 20 ปีขึ้นไป หรือผู้อาวุโส อายุระดับ 50 ปีขึ้นไป สามารถน�ำเสนอธุรกิจใหม่ ๆ ได้ แต่การน�ำเสนอ สินค้าใหม่ ๆ นั้น ก็มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง จึงท�ำให้เกิดขึ้นได้ยาก ใน ทางตรงกันข้าม ถ้าเป็นสินค้าพืน้ ๆ ก็ไม่สามารถสร้างก�ำไรให้เกิดขึน้ ได้ จึงท�ำได้เพียงท�ำสินค้าใหม่ในขอบข่ายที่ท�ำได้เท่านั้นเอง ในขณะนี้ Sony ก�ำลังเริ่มหันหัวเรือไปสู่ระบบการพัฒนาที่ ธรรมดา ๆ ความเคลือ่ นไหวเช่นเดียวกันนี้ มีให้เห็นในการเปลีย่ นแปลง ของโครงสร้างธุรจิ นัน่ คือ การผลิตแบบ Mass Production ของ Image Sensor ที่ใช้เครื่องจักรการผลิตที่เกือบจะอัตโนมัติทั้งหมด ที่โรงงาน เซมิคอนดักเตอร์ ในจังหวัดคุมาโมโต้ เป็นหนึ่งใน 4 แห่ง ในประเทศ ที่ผลิต Image Sensor ซึ่งเป็นชิ้นส่วนส�ำคัญที่คาดไม่ได้ในกล้อง สมรรถนะสูงในสมาร์ทโฟน ธุรกิจการจ�ำหน่ายให้กบั ภายนอกเริม่ กลายเป็นแกนหลักการขายของ Sony แล้ว คาดกันว่ายอดขายของ Device ทีร่ วม Image Sensor ในปี 2014 ประมาณ 9.5 แสนล้าน หรือประมาณ 10% ของยอดขายทั้งหมด และตั้งเป้าหมายที่ 1.3 -1.5 ล้านล้านเยน ในปี 2017 สามารถท�ำก�ำไรได้ 10-12% Sony ซึ่งเคยเน้นแต่การ สร้างสรรค์ Final Product ที่ไม่เคยมีมาก่อนในโลก ก�ำลังมีการ เปลี่ยนแปลงอย่างเป็นประวัติศาสตร์ ตลาดต่อไปจากสมาร์ทโฟนที่จะประยุกต์ใช้ Image Sensor ก็จะมีสิ่งใหม่ ๆ เพื่อตอบโจทย์ชีวิต เช่น ใช้ส�ำหรับในรถยนต์ ได้แก่ ในกลไกสนับสนุนการขับเคลื่อน เช่น เบรคอัตโนมัติก็ต้องการ Sensor ที่มีสมรรถนะสูง นอกจากนี้ในอนาคต การขับเคลื่อนแบบอัตโนมัติก็ ต้องการการติดตั้ง Image Sensor คาดว่า จะมีความต้องการเพิ่มขึ้น อีกอย่างมาก ในปี 2014 มีขนาดตลาดประมาณ 2หมื่นล้านเยน คาดว่าในปี 2025 ตลาดน่าจะขยายตัวเป็น 1-2 แสนล้านเยน Image Sensor ส�ำหรับรถยนต์ของ Sony นี้ เป็นที่ยอมรับของค่ายชิ้นส่วน รถยนต์ยักษ์ใหญ่ญี่ปุ่นกว่า 10 แห่งว่า ทนความร้อน หรือ Sensibility และมีคุณภาพดี Sony ตั้งเป้าหมายมีส่วนแบ่งตลาด 40% เป็น อันดับหนึง่ ในโลก กลยุทธ์การจ�ำหน่าย สินค้าให้กบั บริษทั นอกเครือนัน้ เป็นกลยุทธ์ที่เริ่มเป็นกลยุทธ์ที่ธรรมดาส�ำหรับอุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้าในโลกแล้ว เพราะซัมซุงก็มีจอคริสตัล ในขณะที่พานาโซนิกก็มี แบตเตอรี่ส�ำหรับรถยนต์
สร้างตลาดใหม่ด้วยสินค้าเดิม
กล้องดิจิทัล เป็นอีกอาวุธหนึ่งที่มีอยู่ของ Sony จึงมีกลยุทธ์ที่ จะผลิตกล้องดิจิทัลที่มีกลไกที่มีความแข็งแกร่งสุด ๆ ในปี 2012 ฝ่ายงานกล้องดิจิทัล จึงได้เข้าร่วมกับฝ่าย Image Sensor รวมกันเป็น หนึ่งเดียว เพื่อพัฒนากล้องดิจิทัล โดยฝ่าย Device ได้เอา Signal หรือ เทคนิค Image Processing เข้ามาใช้ โดยสามารถพัฒนากล้องดิจิทัล รุน่ “Alpha 7S” ทีม่ ี ISO Sensibility สูงสุดที่ 409600 ประสบความส�ำเร็จ จากความสูงของ Sensibility ทีส่ งู เยีย่ มเช่นนี้ ท�ำให้แม้ในสถานทีม่ ดื มิด ก็สามารถถ่ายรูปได้เหมือนในเวลากลางวัน ซึ่งกล้องแบบนี้ยักษ์ใหญ่ วงการกล้องถ่ายรูปทัง้ หลายยังไม่มี ท�ำให้ผใู้ ช้กล้องถ่ายรูปมีความสนใจ อย่างมากในเทคนิคใหม่สุดที่เป็นของ Sony
การทำ�ทุกอย่างด้วยตัวเองนั้น ไม่สามารถรักษาความสามารถในการแข่งขันได้
Play Station เป็นอีกผลิตภัณฑ์หนึ่ง ถึงแม้ PS 3 ประสบภาวะ ขาดทุน แต่เมื่อวางจ�ำหน่าย PS 4 ในปี 2014 ก็ได้รับความนิยมอย่าง มาก เข้าสู่ปี 2015 สามารถสร้างยอดขายทั่วโลกได้ถึง 20 ล้านเครื่อง สินค้าประเภทเกมนี้ส่วนใหญ่จะมีวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ที่ประมาณ 7-8 ปี ดังนัน้ คาดว่าคงสามารถสร้างก�ำไรอย่างมัน่ คงได้นานพอสมควร PS รุ่นใหม่นี้ ไม่ใช่เพียงการขายตัวเครื่องเท่านั้น แต่ใช้เป็น Platform ใน การสร้างบริการน�ำเสนอเกม ภาพยนตร์ หรือดนตรีผา่ นอินเทอร์เน็ต ไป ยังผูใ้ ช้จำ� นวน 64 ล้านคนได้อกี ด้วย ความส�ำเร็จนีไ้ ม่ได้มาจากการผลิต ภายในบริษทั ตนเองทุกอย่าง ไม่จำ� เป็นต้องใช้สนิ ค้าของ Sony ด้วยกัน เสมอไป เน็ทเกมนั้นสามารถใช้กับทีวีของซัมซุงก็ได้ หรือ Play Station Vue ทีเ่ ป็นบริการออกอากาศทางทีวที เี่ ริม่ ต้นในอเมริกาก็สามารถดูผา่ น เครื่อง iPod ได้ Sony ก�ำลังปรับโฉมเป็น “บริษัทธรรมดา” ไม่มีทางกลับไป เป็น Sony แบบเดิมได้อีกแล้ว ในระยะนี้ แต่ Sony ก็เป็นบริษัทพัฒนา แล้วเพียงไม่กี่บริษัทที่ได้น�ำโลกอุตสาหกรรมของญี่ปุ่นให้เจริญเติบโต ภายใต้สภาวะ Globalization, Innovation จะเป็นบริษทั ธรรมดาทีส่ ร้าง ก�ำไรอย่างมั่นคงและต่อเนื่อง ด้วยสินค้าหลัก เช่น ภาพยนตร์ ดนตรี บริการเกม และ Device ถึงแม้ว่าผู้บริหาร ผู้ถือหุ้น พนักงาน จะ เปลีย่ นแปลงไป บริษทั ก็จะยังคงอยู่ การคงเหลือบริษทั ให้อยูใ่ นรูปแบบ ที่ดีจึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม เป็นประเด็นค�ำถามทีว่ า่ Sony ทีก่ ลายเป็นบริษทั ธรมดานั้น จะฟื้นกลับไปมีพลังที่สร้างสิ่งใหม่ ๆ ที่ช็อคโลกได้อีกหรือไม่ เป็นเรื่องที่น่าติดตาม
อ่านต่อฉบับหน้า
Q
Strategy for
uality
ตอนที่ 1
การปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศ เพื่อรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ (Organizational Transformation for Excellence to cope with The 4th Industrial Revolution)
ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี ผู้บริหารและชำ�นาญการด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ อาจารย์พิเศษ และวิทยากรหลายสถาบัน dr.chatchai.thnarudee@hotmail.com “…บริษัทเราท�ำธุรกิจมากว่า 3 ทศวรรษ เราผ่านสถานการณ์ที่ ยากล�ำบากมาหลายครั้ง แต่โลกในปัจจุบันไม่เหมือนเมื่อ 30 ปีที่ ผ่านมา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเติบโตไปอย่างมาก สิ่งที่บริษัทเราท�ำ มาตลอดไม่ ส ามารถจะเป็ น สิ่ ง ยื น ยั น ได้ ว ่ า เราจะสามารถผ่ า น สถานการณ์ที่ก�ำลังจะมาถึงในอนาคตได้ ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่เราต้อง ปรับเปลี่ยนองค์การเพื่อสามารถสร้างขีดความสามารถของบริษัทและ บุคลากรของเราให้เหมาะสมกับโลกและการแข่งขันในยุคปัจจุบัน…” ประธานกรรมการของบริษทั นีไ้ ด้พดู ต่อหน้าทีมผูบ้ ริหารของท่าน ซึง่ ท่าน มีความมัน่ ใจมากว่าทีมผูบ้ ริหารของท่านต้องสนับสนุนและเห็นด้วยกับ ค�ำพูดของท่านอย่างแน่นอน…. แต่กลับปรากฏว่ามีผบู้ ริหารหลายท่าน ยังคงมีความคิดว่าท�ำไมต้องปรับเปลี่ยนองค์การ !... ในเมื่อวิธีการ
ท�ำงานทีผ่ า่ นมากว่า 30 ปีกเ็ ป็นเครือ่ งยืนยันเป็นเครือ่ งพิสจู น์แล้วว่าเรา ท�ำได้และเราเองก็ผ่านวิกฤตมาได้ตั้งหลายครั้ง!!! ผู้บริหารบางท่าน (เป็นส่วนน้อย) ก็ยอมรับว่าองค์การจ�ำเป็นจะต้องปรับเปลี่ยนบ้าง แต่ ก็มีความคิดที่ว่าควรจะปรับเปลี่ยนส�ำหรับเรื่องบางเรื่องเท่านั้น เช่น ปรับเปลี่ยนช่องทางการขาย หรือแม้แต่การปรับเปลี่ยนกระบวนการ ผลิตหรือซื้อเครื่องจักรใหม่มาทดแทน หรือปรับเปลี่ยนการจัดส่งสินค้า อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่จ�ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนองค์การมากจนเกินไป เหมือนกับที่ท่านประธานกรรมการของบริษัทกล่าวไว้ สถานการณ์ขา้ งต้นถือว่าเป็นเรือ่ งปกติทที่ กุ องค์การต้องเผชิญ อยู่เสมอ เนื่องจากมุมมองของผู้บริหารหลายท่านต่อการเปลี่ยนแปลง มีความแตกต่างกันอยูม่ าก ผูบ้ ริหารหลายท่านยังคงมีทศั นคติวา่ ท�ำไม for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
29
Strategy
Vol.23 No.215 May-June 2016
ต้องเปลี่ยนแปลงในเมื่อสิ่งที่มีอยู่ก็ดีอยู่แล้ว ผู้บริหารบางท่านที่พอจะ ยอมรับการเปลี่ยนแปลงได้บ้างแต่ก็กลับมองเฉพาะฝ่ายงานหรือ กระบวนการที่ตนเองบริหารอยู่ (silo mentality) ซึ่งไม่ได้มองแบบ องค์ ร วม (holistic thinking) ในการผลั ก ดั น และขั บ เคลื่ อ นการ เปลีย่ นแปลง รวมถึงผูบ้ ริหารหลายท่านมักจะชอบการปรับเปลีย่ นทีเ่ ป็น ลักษณะค่อย ๆ เป็นค่อย ๆ ไป (incremental change) หรือมีทัศนคติ ในการที่จะรอดูก่อนที่จะท�ำสิ่งใด (wait-and-see attitude) ซึ่งอาจจะ ไม่เหมาะต่อกรณีการปรับเปลีย่ นองค์การไปสูค่ วามเป็นเลิศเพือ่ ยกระดับ ขีดความสามารถของบริษทั และบุคลากรให้เหมาะสมกับการแข่งขันใน ยุคปัจจุบันและเศรษฐกิจและสังคมยุคใหม่ ผู้บริหารหลายท่านปฏิเสธไม่ได้ว่าเศรษฐกิจและสังคมยุคใหม่ ท�ำให้สมรภูมิการแข่งขันทางธุรกิจหรือแม้แต่ระดับประเทศมีการ เปลี่ ย นแปลงไปมาก ซึ่ ง ถ้ า องค์ ก ารไม่ ป รั บ ตั ว ก็ ย ่ อ มที่ จ ะสู ญ เสี ย ต�ำแหน่งทางการแข่งขันไปได้อย่างแน่นอน หรืออาจจะต้องเลิกกิจการ เหมือนหลาย ๆ บริษทั ในอดีต แต่ผบู้ ริหารหลายท่านอาจจะยังไม่เข้าใจ ว่าสิ่งที่เศรษฐกิจและสังคมยุคใหม่ท�ำให้รูปแบบการแข่งขันทางธุรกิจ เปลี่ยนแปลงไปมากนั้นเป็นอย่างไร World Economic Forum ได้ให้ ค�ำอธิบายถึงลักษณะของการปฏิวัติอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดีและ แบ่งการปฏิวัติอุตสาหกรรมออกเป็นอยู่ 4 ช่วง ดังนี้
30
▲ รูปที่
1 การปฏิวัติอุตสาหกรรม (ที่มา: World Economic Forum, www.weforum.org)
การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม (The Industrial Revolution อ้างอิงมา จาก: World Economic Forum, www.weforum.org) ➢ The 1st Industrial Revolution (การปฏิวัติอุตสาหกรรม รอบแรก) ใช้พลังงานไอน�้ำและน�้ำในการขับเคลื่อนการผลิต ➢ The 2nd Industrial Revolution (การปฏิวัติอุตสาหกรรม รอบที่สอง) ใช้พลังงานไฟฟ้าในการขับเคลื่อนการผลิตจ�ำนวนมาก (mass production) ➢ The 3rd Industrial Revolution (การปฏิวัติอุตสาหกรรม รอบที่สาม) ใช้อิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อน การผลิตให้เป็นอัตโนมัติ ➢ The 4th Industrial Revolution (การปฏิวัติอุตสาหกรรม รอบที่สี่) เป็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่อยู่บนพื้นฐานของการปฏิวัติ ดิจิทัล ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะโดยการผสมผสานและหลอมรวมของ เทคโนโลยี ซึ่งท�ำให้รอยต่อระหว่างเศรษฐกิจและสังคมทางกายภาพ ทางดิจิทัล และทางชีวภาพแคบลงจนแทบแยกกันไม่ออก ความเร็ว ขอบเขต และผลกระทบจากนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมถึงพฤติกรรมของผู้คนที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากอันสืบเนื่องมา จากนวัตกรรมและเทคโนโลยีเป็นเหตุผลหลักที่ท�ำให้เศรษฐกิจและ สังคมก้าวเข้าไปในยุคของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมรอบทีส่ ี่ เมือ่ เทียบกับ การปฏิวัติอุตสาหกรรมก่อนหน้านี้ การปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่มี การพัฒนาที่รวดเร็วมากกว่าครั้งที่ผ่านมา จนเราไม่เคยเห็นความเร็ว ขอบเขต และผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงแบบนี้เลยในประวัติศาสตร์ นอกจากนีน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีได้สร้างการเปลีย่ นแปลงไป ทุกกลุม่ อุตสาหกรรมและในทุกประเทศ ซึง่ ไม่ได้สง่ ผลแค่ระบบการผลิต แต่ยังส่งผลต่อวิธีการบริหารจัดการ การก�ำกับดูแล และการขับเคลื่อน องค์การ
การปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่จะท�ำให้ผู้คนทั้งโลกสามารถ เชื่อมต่อเข้าด้วยกันจากอุปกรณ์รอบ ๆ ตัว เช่น มือถือ นาฬิกา แว่นตา (wearable technologies) และสิง่ เหล่านีจ้ ะถูกเสริมด้วยนวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ในสาขาต่าง ๆ เช่น ระบบปัญญาประดิษฐ์ หุ ่ น ยนต์ อั จ ฉริ ย ะ อิ น เทอร์ เ น็ ต ของทุ ก สิ่ ง (Internet of Things) ยานพาหนะทีส่ ามารถขับเคลือ่ นได้ดว้ ยตนเอง เทคโนโลยีการพิมพ์ 3-D นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชวี ภาพ วัสดุศาสตร์ การจัดเก็บพลังงานและ คอมพิวเตอร์ควอนตัม เพือ่ ลดช่องว่างระหว่างเศรษฐกิจและสังคมทาง กายภาพ ทางดิจทิ ลั และทางชีวภาพลงจนแทบทีจ่ ะแยกกันไม่ออก และ การปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่นี้สามารถส่งผลโดยตรงต่อเศรษฐกิจ และสังคมยุคใหม่ สามารถที่จะยกระดับรายได้ของคนทั่วโลกและ ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชากรทั่วโลก ผู้ผลิตสามารถที่จะเข้าถึง ระบบดิจิทัล นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่สามารถออกผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ แบบที่ไม่เคยมีมาก่อนในอดีต นอกจากนี้ยังจะน�ำไปสู่การ เปลี่ยนแปลงด้านห่วงโซ่อุปทานและระบบขนส่งและการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น และสามารถลดค่าใช้จ่ายของ บริษัทและท�ำให้บริษัทมีก�ำไรในระยะยาว ในส่วนของผู้บริโภคนั้น สามารถได้รบั การบริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ และได้รบั ความสุขของ ชีวิตส่วนตัวของแต่ละคนได้อย่างไม่มีขีดจ�ำกัด เช่น การสั่งซื้อของที่ รวดเร็ว จองรถแท็กซี่และเที่ยวบิน การช�ำระเงิน ฟังเพลง ดูหนัง หรือ เล่นเกม สามารถท�ำได้จากทุกที่ ทุกเวลา และทุกอุปกรณ์ ซึ่งทั้งหมดนี้
จะเป็นการเปิดตลาดใหม่และผลักดันการเติบโตทางเศรษฐกิจและ สังคมที่ไม่เคยมีมาก่อนในอดีต จะเห็นได้ว่าการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่นี้เป็นสิ่งที่ก�ำลัง เกิดขึ้นและหลายธุรกิจและองค์การมองว่าจะเป็นสิ่งที่สามารถสร้าง โอกาสให้กับธุรกิจและองค์การที่ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ได้ และก็คงปฏิเสธไม่ได้วา่ ธุรกิจและองค์การหลายแห่งอาจจะมองเรือ่ งนี้ ว่าเป็นภัยคุกคาม เนือ่ งจากว่าการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมรอบทีส่ นี่ สี้ ามารถ ส่งผลข้ามอุตสาหกรรม ซึ่งสามารถสร้างคู่แข่งใหม่ที่มาจากคนละ อุตสาหกรรมได้ เช่น Financial Technology Company (FinTech) ที่ เข้ามาแข่งกับธนาคารหลาย ๆ แห่ง หรือแม้แต่ Uber ที่เข้ามาแข่งกับ ระบบการให้บริการแท็กซี่ หรือระบบการขนส่ง หรือ Netflix ทีเ่ ข้ามาแข่ง กับธุรกิจหนัง… ถึงจะมองมุมไหนก็ตามว่าเป็นโอกาสหรือเป็นภัย คุกคาม การเปลี่ยนแปลงก็เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่ทุกธุรกิจและ องค์การจ�ำเป็นจะต้องปรับตัว… ส�ำหรับในบทความตอนหน้า ผู้เขียนจะน�ำทฤษฎีการบริหาร จั ด การเปลี่ ย นแปลงที่ ท ่ า นผู ้ บ ริ ห ารสามารถใช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ อี ก เครื่ อ งมื อ หนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นการเปลี่ ย นแปลงและน� ำ องค์ ก าร ของท่านไปสู่ความเป็นเลิศ
อ่านต่อฉบับหน้า
Vol.23 No.215 May-June 2016
Strategy
31
Q
Marketing & Branding for
uality
AEC เชิงรุก วันนี้
ขอหยิบเอาเรือ่ งราวของ Asian Economics Community: AEC มาเขียน เนื่องจากช่วงนี้ผู้เขียนถูกเชิญ ไปบรรยายเรือ่ งนีบ้ อ่ ยครัง้ แต่คงจะเขียนแตกต่างในมุมมองเชิงกลยุทธ์ จะปรับตัวอย่างไร ? จะท�ำการตลาด อย่างไร ? เป็นค�ำถามที่ถูกถามบ่อยมาก ซึ่ง การที่ ต ลาดเพื่ อ นบ้ า นเปิ ด เป็ น ประชาคม เกิดขึ้น นักธุรกิจต้องปรับตัวเอง คือ ไม่มอง ตนเองเป็นตัวตั้ง (inside-out ) เช่น ธุรกิจ ต้องการจะท�ำอะไร ก็ท�ำตามสิ่งที่อยากได้
32
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
ต้อง Outside-in
มากกว่า Inside-out
อยากท�ำ เน้นสิ่งที่ตัวเองชอบเป็นหลัก นั่นคือ การตอบสนองความต้องการตนเองมากกว่า ตอบสนองความต้องการลูกค้า ในเชิงธุรกิจ มีหลายธุรกิจไม่ประสบ ความส�ำเร็จ เพราะเขาไม่คิดอย่างที่ลูกค้าคิด หรือเอาตัวเองเป็นตัวตั้ง (inside-out) ท�ำใน สิ่งที่ตัวเองอยากได้ อยากท�ำและน�ำเสนอ ซึ่งจะพบบ่อย แต่เมือ่ จะไปในเชิงรุก จะต้องเปลีย่ น บทบาทของเจ้าของธุรกิจเป็นผูฟ้ งั ลูกค้า คือ ตอบสนองสิ่งที่ลูกค้าต้องการ “มองในสิ่งที่
ดร.ธเนศ ศิริกิจ
ผู้เชี่ยวชาญและที่ปรึกษาการวางแผนกลยุทธ์การตลาด/ อาจารย์ในระดับปริญญาโทหลายสถาบัน นักวิชาการ และวิทยากรทั้งภาครัฐและเอกชน Email: s_thaneth @yahoo.com
ลูกค้าอยากได้ ไม่ใช่อยากท�ำอย่างเดียว” คือ การยึดลูกค้าเป็นตัวตั้ง (outside-in) หรือ เอาตลาดเป็นตัวตั้งและปรับตามตลาด ซึ่ง การมองแบบ Outside-in คงต้องใช้หลักการ 3P เพื่อการพัฒนา ➢ P = Product = ผลิตภัณฑ์ ต้อง เกิดความแตกต่างและตอบสนองกับความ ต้องการ Lifestyle วัฒนธรรม และรสนิยมของ คนแต่ละประเทศ ซึง่ มีความหลากหลาย ดังนัน้ ธุ ร กิ จ แต่ ล ะธุ ร กิ จ จะต้ อ งศึ ก ษาวั ฒ นธรรม ความเป็นอยู่ พฤติกรรมการบริโภคของคนใน
Marketing & Branding
ดังนั้น ผู้เขียนจึงขอแนะน�ำให้ธุรกิจ จะต้องวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก (external factors) มาประกอบด้ ว ยให้ ม าก ๆ โดย อาจจะใช้ทฤษฎี P-E-T-S Analysis มาช่วย วิเคราะห์ก็ได้ ➢ P = Political วิเคราะห์การเมือง ➢ E = Economics วิ เ คราะห์
เศรษฐกิจที่มีผลกระทบ ➢ T = Technology ใช้เทคโนโลยีที่ ทันต่อยุคสมัย ➢ S = Social วิ เ คราะห์ สั ง คม วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลง คงจะได้มีโอกาสมาคุยในคราวต่อไป
Vol.23 No.215 May-June 2016
ประเทศนั้น ๆ รวมทั้งตลาดในแต่ละประเทศ ก่อนที่จะออกไปท�ำการตลาดต่างประเทศ ➢ P = Process= กระบวนการ เมื่อ เปิดเขตเศรษฐกิจอย่างเสรี การแข่งขันก็จะ สูงขึ้น กระบวนการที่สามารถปรับในเรื่อง ความคุม้ ค่า และ Responsiveness กับลูกค้า ด้ ว ยความรวดเร็ ว จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ และ จ�ำเป็น เพราะในยุค Digital เวลาเป็นเงิน เป็นทอง Speed is Advantage ความได้เปรียบ ทางการแข่งขัน การตอบสนองความรวดเร็ว จึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ➢ P = People = บุคลากร ต้องมีการ พัฒนาในเรือ่ งของบุคลากรให้มศี กั ยภาพและ มีฝีมือมากกว่าแรงงานจากประเทศอื่น ๆ ที่ เข้ามาแย่งงานในประเทศไทย ทั้งในเรื่องของ ภาษา และความอดทนในการท�ำงาน อย่าง ที่ทราบกันดี คือ แรงงานไทยมักปฏิเสธงาน 3D คือ Danger งานที่อันตราย Dirty งานที่ สกปรก ติ ด เชื้ อ และ Difficult งานที่ ย าก ล�ำบากกว่าจะได้ค่าตอบแทน จึงเกิดช่องว่าง ให้แรงงานจากประเทศอื่นเข้ามา
33
Q
Marketing & Branding for
uality
การตลาดสำ�หรับผู้ประกอบการ:
ประเด็นส�ำคัญในการออกแบบช่องทาง (channel design imperatives) การจัดการช่องทางอย่างเป็นทางการ (formalized channel arrangements) การจัดการสายโซ่อุปทาน (supply chain management) ผศ.ดร.นภวรรณ คณานุรักษ์
คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
การ
พัฒนาช่องทางและการจัดการ สายโซ่อุปทาน ผู้ประกอบการ มีทางเลือกช่องทางการจัดจ�ำหน่าย 3 ทางเลือก คือ ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทางตรง ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทางอ้อม และ ช่อง ทางการจัดจ�ำหน่ายแบบประสมประสาน การเลือกกลยุทธ์ช่องทางให้สามารถเข้าถึง กลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้นั้น ผู้ประกอบการจึง ควรค�ำนึงถึงประเด็นส�ำคัญ 4 ประการ คือ 1. ประสิทธิผล 2. การครอบคลุมตลาดที่มี กลยุทธ์ช่องทางให้เลือกได้ เช่น Intensive
34
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
Distribution Strategy, Selective Distribution Strategy, Exclusive Distribution Strategy 3. ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพและการได้ ผลประโยชน์ 4. ความสามารถในการปรับตัว นอกจากการเลื อ กช่ อ งทางการจั ด จ�ำหน่ายและการเลือกกลยุทธ์ชอ่ งทางข้างต้น แล้ว การออกแบบช่องทางให้เกิดประโยชน์ สูงสุด ยังต้องค�ำนึงถึงประเด็นส�ำคัญในการ ออกแบบช่องทาง (channel design imperatives) การจัดการช่องทางอย่างเป็นทางการ (formalized channel arrangements) การ
จัดการสายโซ่อุปทาน (supply chain management)
ประเด็ น สำ � คั ญ ในการออกแบบช่ อ งทาง (channel design imperatives)
ประเด็นส�ำคัญในการออกแบบช่องทาง ประกอบด้วย 3 ประการ คือ 1. ออกแบบช่ อ งทาง โดยการ เจาะลึ ก ถึ ง ความต้ อ งการของตลาด หรื อ กล่าวได้ว่าผู้ประกอบการควรค�ำนึงถึงความ จ� ำ เป็ น และความต้ อ งการของลู ก ค้ า กลุ ่ ม
เป้าหมาย น�ำความจ�ำเป็นและความต้องการ ของลูกค้ากลุม่ เป้าหมายมาใช้เป็นแนวทางใน การออกแบบช่องทางการตลาด 2. พยายามก�ำหนดกลยุทธ์ชอ่ งทาง ให้เป็นข้อได้เปรียบในการแข่งขัน ซึ่งจะ เกิดได้จากการสร้างสรรค์และส่งมอบคุณค่า ให้แก่ลูกค้าได้อย่างดีเยี่ยม รวมทั้งการเฝ้า ติดตามแนวโน้มของคูแ่ ข่งขันทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต 3. ใช้ ก ลยุ ท ธ์ น วั ต กรรมช่ อ งทาง ที่จะท�ำให้สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ โดยการ เข้าใจว่าลูกค้าต้องการอะไรและลูกค้าอยู่ ที่ ไ หน เช่ น ช่ อ งทางแบบดั้ ง เดิ ม มั ก จะใช้ ช่องทางตรงเพื่อที่จะเข้าถึงลูกค้า (Direct-toConsumer: D2C) แต่ในปัจจุบันผู้ประกอบการควรคิดว่าจะเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย หลัก และกลุ่มลูกค้าเป้าหมายในอนาคตได้ อย่ า งไร ซึ่ ง จะเห็ น ได้ ว ่ า กลุ ่ ม Gen Baby Boomer เป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายหลัก และ กลุ่ม Gen Y จัดเป็นกลุ่มลูกค้าในอนาคต ผู้ประกอบการที่จะเข้าถึงกลุ่มลูกค้า Gen Y ได้ควรใช้นวัตกรรมและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถเข้าถึงความต้องการของลูกค้า กลุ่มนี้ ซึ่งความต้องการของลูกค้ากลุ่มนี้ คือ ต้องการช่องทางทีส่ ามารถเข้าถึงผลิตภัณฑ์ใน รูปแบบต่าง ๆ ทุกที่ ทุกเวลา (anything, any-
time, anyplace demand) จึงท�ำให้ผู้ประกอบการจะต้องลงทุนด้านเทคโนโลยี ที่จะ ท�ำให้เกิด E-Commerce และ Mobile Technology เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า กลุ่มนี้ที่ท�ำการค้นหาข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบ ก่อนซื้อ และท�ำการซื้อผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้ประกอบการจ�ำเป็นที่จะสร้างช่องทางผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ (social media) และท�ำให้เกิดข้อได้เปรียบในการ แข่งขัน เพราะการเลือกใช้กลยุทธ์นวัตกรรม ช่องทางเป็นการใช้รปู แบบโครงสร้างช่องทาง แบบบูรณาการ ที่จะท�ำให้ช่องทางต่าง ๆ ที่ ครอบคลุ ม ตลาดเกิ ด การเชื่ อ มโยงแบบไร้ รอยต่อ ส่งผลให้สามารถเข้าถึงกลุม่ เป้าหมาย ที่ผู้ประกอบการต้องการเข้าถึงได้อย่างดี
การจัดการช่องทางอย่างเป็นทางการ (formalized channel arrangements)
การจัดการช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ของผูป้ ระกอบการสามารถสร้างเครือข่ายร่วม กับผู้ผลิต และคนกลางในการกระจายสินค้า และบริการ ซึ่งการจัดการช่องทางอย่างเป็น ทางการที่พบเห็นบ่อยครั้ง ได้แก่ ระบบการ ตลาดแนวตั้ง (vertical marketing system) เป็ น การจั ด การและการร่ ว มกั น ออกแบบ ช่องทางให้เกิดการประหยัดค่าใช้จ่ายและ
การจัดการตลาดให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ สามารถแบ่งระบบการตลาดแบบแนวตั้ง ได้ 2 ประเภท คือ ระบบการตลาดแนวตั้งแบบ รวมตัวกันเป็นเจ้าของ (corporate vertical marketing system) และระบบการตลาด แนวตั้ ง แบบรวมตั ว กั น โดยการท� ำ สั ญ ญา (contractual marketing system) ระบบการตลาดแนวตั้งแบบรวมตัว กันเป็นเจ้าของนั้น ผู้ประกอบการท�ำการผลิต และการจัดจ�ำหน่ายโดยบริษัทเดียวกัน เช่น ผู ้ ผ ลิ ต อาจจะด� ำ เนิ น การเป็ น คนกลางเพื่ อ จัดจ�ำหน่ายสินค้าที่ตนเองผลิต ซึ่งเป็นการ ด�ำเนินงานอีกระดับหนึ่ง หรือจะเรียกว่าเป็น การรวมตัวไปข้างหน้า (forward integration) ที่จะเห็นได้จากผู้ผลิตรองเท้ากีฬาอย่าง Nike ได้เปิดช่องทางร้านค้าปลีกของตนเอง หรือใน ทางกลับกันบริษทั ทีท่ ำ� การเปิดร้านค้าปลีกของ ตนเอง และได้ ท� ำ การจั ด หาวั ต ถุ ดิ บ ด้ ว ย เรียกว่าการรวมตัวไปข้างหลัง (backward integration) ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือ McDonald’s ได้เปิดร้านค้าปลีกของตนเอง โรงงาน อาหาร และการจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งผลิต ระบบการตลาดแนวตั้งแบบรวมตัว กั น โดยการท� ำ สั ญ ญา เป็ น การรวมตั ว กั น ระหว่างบริษัทที่ท�ำการผลิตและบริษัทที่เป็น คนกลาง ได้รวมตัวกันภายใต้ข้อตกลงที่จะ ท�ำงานร่วมกัน เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพในการ จั ด การทางการตลาดและท� ำ ให้ เ กิ ด การ ประหยัดจากการด�ำเนินงาน ภายใต้ข้อตกลง ต่าง ๆ ร่วมกัน โดยการท�ำสัญญาร่วมกัน ซึ่งการรวมตัวแบบนี้แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ➢ ระบบสั ญ ญาที่ ด� ำ เนิ น การ สนับสนุนโดยผู้ค้าส่ง (wholesale-sponsored system) เป็นการพัฒนาความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ผลิตกับร้านค้าปลีกขนาดเล็กที่จะ ท�ำให้ระบบการจัดจ�ำหน่ายเกิดมาตรฐาน เดียวกัน ➢ ระบบสั ญ ญาความร่ ว มมื อ ระหว่างผูค้ า้ ปลีก (retail-sponsored system) เป็ น การรวมกั น ระหว่ า งร้ า นค้ า ปลี ก เพื่ อ ท�ำการผลิตสินค้าหรือจัดจ�ำหน่ายสินค้าเอง
Vol.23 No.215 May-June 2016
Marketing & Branding
35
Marketing & Branding โดยมีร้านค้าปลีกของตัวเองเป็นช่องทางการ จัดจ�ำหน่ายด้วย ➢ ระบบสัญญาการจัดตัง้ เฟรนไชส์ (franchising system) เป็นการท�ำสัญญา ระหว่างบริษทั แม่ทเี่ ป็นเจ้าของระบบเฟรนไชส์ (franchisor) กั บ บุ ค คลหรื อ บริ ษั ท ที่ ไ ด้ รั บ อนุญาตให้ดำ� เนินธุรกิจภายใต้กฎ เงือ่ นไข และ ข้อตกลงต่าง ๆ (franchisee) เช่น McDonald’s เป็นต้น
Vol.23 No.215 May-June 2016
การจัดการสายโซ่อุปทาน (supply chain management)
36
การจั ด การสายโซ่ อุ ป ทานเปรี ย บเสมือนเข็มทิศในการวางแผนและการจัดการ กิจกรรมทั้งที่เกี่ยวกับกระบวนการค้นหาและ การจัดซื้อ การจัดการการเปลี่ยนแปลง และ การจัดการการขนส่ง (logistics management) รวมทั้งความสามารถในการท�ำงาน ประสานกันและร่วมมือกันกับคู่ค้าภายใน ช่องทาง ซึ่งรวมถึงซัพพลายเออร์ คนกลาง คนกลางทีใ่ ห้บริการ และลูกค้า กล่าวโดยสรุป การจัดการสายโซ่อุปทานเป็นการบูรณาการ การจัดการอุปสงค์และอุปทานระหว่างบริษทั ต่าง ๆ ผูป้ ระกอบการจะเห็นภาพการจัดการ สายโซ่อุปทานเสมือนกับแนวคิดบูรณาการที่ เชื่อมโยงหน้าที่และกระบวนการทางธุรกิจ ภายในบริษัทและระหว่างบริษัท ที่ช่วยสนับ สนุบให้ผู้ประกอบการสามารถประสบความ ส�ำเร็จและท�ำให้ธุรกิจมีผลก�ำไรเป็นอย่างดี นอกจากนั้ น เมื่ อ กล่ า วถึ ง การจั ด การสาย โซ่อุปทานแล้วจะรวมถึงกระบวนการในการ ผลิต และกิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการจัดการ การขนส่ง การจัดการการขนส่ง หมายถึง การ วางแผน การปฏิบัติ และการควบคุมการ ท�ำงานขององค์การ รวมทั้งการจัดการข้อมูล และธุรกรรมทางการเงินทีเ่ กีย่ วข้อง ให้เกิดการ เคลื่ อ นย้ า ย การจั ด เก็ บ การรวบรวมและ กระจายสินค้า วัตถุดิบ ชิ้นส่วนประกอบ และ การบริการให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผล
สูงสุด โดยค�ำนึงถึงความต้องการและความ พึงพอใจของลูกค้าเป็นส�ำคัญ ทัง้ นีใ้ นปัจจุบนั ถือว่าการจัดการการขนส่งเป็นกระบวนการ ส่วนย่อยส่วนหนึ่งในการจัดการสินค้าและ บริการตลอดสายโซ่อุปทาน กิจกรรมการจัดการการขนส่ง รวมถึง การจัดการการขนส่งทั้งน�ำเข้าและน�ำออก (inbound and outbound transportation management) ระบบการติดตามพิกัดยานพาหนะ (fleet management) คลังสินค้า (warehousing) การเคลื่อนย้ายวัตถุดิบและ สินค้าคงคลังในระหว่างการผลิต ซึง่ ครอบคลุม ถึงการขนย้ายสินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วภายใน โรงงานหรือคลังสินค้า (materials handling) การจัดหาสินค้าและบริการให้แก่ลูกค้า (order fulfillment) การออกแบบเครื อ ข่ า ย การขนส่ง (logistics network design) การ จัดการสินค้าคงคลัง (inventory management) การวางแผนอุปสงค์อุปทาน (supply/ demand planning) การจัดการของผู้ให้ บริการด้านการขนส่ง (management of thirdparty logistics providers) ผู ้ ป ระกอบการที่ เ ข้ า ใจและมี ก าร จัดการสายโซ่อุปทานที่ดี ควรที่จะเข้าถึงการ ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน อย่างน้อย 3 มิติ คือ 1. ผลการปฏิบัติงานในมุมมองของลูกค้า (customer-facing performance) ประเมินได้ จากการส่งมอบ (delivery) ความรับผิดชอบ (responsiveness) และความยืดหยุ่น (flexi-
bility) 2. ผลการปฏิบัติงานภายในองค์การ (internal-facing performance) ประเมินได้ จากการลดต้นทุน (cost reduction) ประโยชน์ สูงสุดในการใช้ทรัพย์สิน (asset utilization) และคุณภาพ (quality) และ 3. ผลการปฏิบตั -ิ งานทางตลาด (market performance) ประเมินจาก การรับรู้คุณค่าของลูกค้า (customer value perceptions) ประโยชน์ใหม่ ๆ ที่ลูกค้าจะได้รับ ส่วนแบ่งตลาด การกลับมา ซื้อซ�้ำของลูกค้า ความพร้อมของผลิตภัณฑ์ และผลการปฏิบตั งิ านทางการเงิน เช่น กระแส เงินสด ผลตอบแทนจากการลงทุน ก�ำไรสุทธิ เป็นต้น ผู้ประกอบการที่มีผลการปฏิบัติงานที่ ดีกว่าคูแ่ ข่งขันทัง้ 3 มิติ จะเป็นผูท้ มี่ ขี อ้ ได้เปรียบ ในการแข่ ง ขั น แต่ ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น การก� ำ หนด โครงสร้างการจัดการสายโซ่อปุ ทานให้เหมาะสม จะต้องเข้าใจความต้องการของลูกค้า เข้าใจสายโซ่อุปทานของตนเอง และจัดการ สายโซ่อปุ ทานให้สอดรับกับกลยุทธ์การตลาด และที่ ส� ำ คั ญ ผู ้ ป ระกอบการควรยิ น ดี ที่ จ ะ ลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) ในกรณีที่ผู้ประกอบการลงทุน เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม จะท�ำ ให้ต้นทุนโดยรวมลดต�่ำลงได้ และส่งผลให้ ผู้ประกอบการสามารถจัดการช่องทางการ จั ด จ� ำ หน่ า ยได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล
Q
People for
uality
พนักงาน
การพัฒนา อย่างเป็นระบบควรทำ�อย่างไร ธำ�รงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์
วัน
นี้ทุกบริษัทมักจะพัฒนาพนักงาน ด้วยวิธีการฝึกอบรมกันเป็นหลัก ใช่ไหมครับ โดยประมาณปลาย ๆ ปีฝ่าย บุ ค คลก็ จ ะส� ำ รวจสอบถามไปยั ง บรรดา ผู้บริหารในฝ่ายต่าง ๆ ในบริษัทว่าในปีหน้า บริษทั ควรจะจัดหลักสูตรฝึกอบรมอะไรให้กบั พนักงานในฝ่ายนัน้ ๆ ดี ซึง่ เมือ่ ผูบ้ ริหารแต่ละ ฝ่ า ยแจ้ ง หลั ก สู ต รที่ ต ้ อ งการให้ บ ริ ษั ท จั ด ฝึกอบรมมายังฝ่ายบุคคลแล้ว ฝ่ายบุคคลก็จะ น�ำมาท�ำแผนจัดฝึกอบรมในปีหน้า น�ำเสนอ กรรมการผู้จัดการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ เมื่อได้รับอนุมัติแผนการฝึกอบรม (ซึ่งจะมี หลักสูตรตามทีแ่ ต่ละฝ่ายเสนอมา) แล้ว ก็จะ จัดการอบรมตามแผนต่อไป จากกระบวนการทีผ่ มบอกมาข้างต้น
http://tamrongsakk.blogspot.com
ก็ดแู ล้วเหมือนจะดีนะครับ เพราะฝ่ายบริหาร ระดั บ สู ง ก็ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การพั ฒ นา พนักงาน มีหลักสูตรฝึกอบรมแต่ละปีไว้ใน แผนงาน แถมมีงบประมาณให้จดั อบรมตาม แผน ซึง่ ก็นา่ จะท�ำให้พนักงานในบริษทั ได้รบั การพัฒนา (คือ ได้รบั การฝึกอบรมตามแผน) มีความรู้ความสามารถเก่งขึ้นเรื่อย ๆ แต่ถา้ ผมจะถามว่า “นีค่ อื การพัฒนา พนักงานอย่างเป็นระบบแล้วหรือไม่ ?” และ “บริษทั ใช้งบประมาณในการพัฒนาพนักงาน ด้วยวิธกี ารดังกล่าวข้างต้นน่ะคุม้ ค่าแล้วจริง หรือ ?” เพราะจากประสบการณ์ที่ผมเจอมา ก็คือ 1. หลักสูตรฝึกอบรมที่สอบถามมา
จากแต่ละฝ่ายน่ะ มักจะเป็นหลักสูตรผูบ้ ริหาร แต่ละฝ่ายคิดว่า “น่าจะ” จ�ำเป็นส�ำหรับพนักงานในฝ่ายของตัวเอง โดยหลายหลักสูตรก็ ไม่มที มี่ าทีไ่ ป เช่น ฝ่ายทีไ่ ม่จำ� เป็นต้องท�ำงาน ติดต่อกับลูกค้าภายนอกอะไร แต่ผู้จัดการ ต้ อ งการให้ ลู ก น้ อ งแต่ ง กายดี เ พราะตั ว ผู้จัดการเป็นคนแต่งตัวเนี้ยบและอยากให้ ลูกน้องแต่งตัวดีกเ็ ลยใส่หลักสูตร “การพัฒนา บุคลิกภาพที่เป็นเลิศ” ส�ำหรับฝ่ายตัวเอง เข้ามา แถมหลักสูตรนี้ก็จัดเฉพาะปีนี้พอ ปีหน้าก็เปลี่ยนเป็นหลักสูตรอื่นที่ผู้จัดการ เห็นสมควรต่อไป 2. หลักสูตรตามข้อ 1 นี่แหละครับ ที่ผมมักจะเรียกเล่น ๆ ว่าหลักสูตรฝึกอบรม แบบ “เทพดลใจ” หรือหลักสูตร “จิตสัมผัส” for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
37
People
Vol.23 No.215 May-June 2016
ก็ได้ คือ จะเป็นหลักสูตรฝึกอบรมแบบแล้ว แต่ผู้บริหารของแต่ละฝ่ายจะคิดจะบอกมาที่ ฝ่ายบุคคล แต่ละปีก็จะเปลี่ยนหลักสูตรไป โดยไม่มีทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน 3. ดังนั้น งบประมาณที่ใส่ลงไปใน การจัดฝึกอบรมในแต่ละปีกจ็ ะเหมือนกับ “ต�ำ น�้ำพริกละลายแม่น�้ำ” เพราะบริษัทเพียงแค่ จัดฝึกอบรมไปตามแผน และหลักสูตรฝึก อบรมในแต่ละหลักสูตรก็ไม่มที ศิ ทางทีช่ ดั เจน ว่าจะพัฒนาพนักงานไปในด้านไหนยังไง ขาด การติดตามผลการฝึกอบรมว่าพนักงานที่เข้า อบรมแล้วจะน�ำเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปใช้อย่าง เป็นรูปธรรมเป็นมรรคเป็นผลบ้างหรือเปล่า ฯลฯ ดังนัน้ ส่วนใหญ่ของงบประมาณทีจ่ ดั ฝึก อบรมไปก็มีแนวโน้มจะสูญเปล่า ถ้าอย่างงั้นควรจะท�ำยังไงดีล่ะ ? ผมเสนอวิธีการอย่างง่าย ๆ แบบนี้ ดีไหมครับ.... 1. บริษัทควรจะต้องให้แต่ละฝ่าย ค้นหาสมรรถนะขีดความสามารถของแต่ละ ฝ่ายขึ้นมาก่อน ซึ่งศัพท์เทคนิคจะเรียกว่าการ ค้นหา Functional Competency (บางต�ำรา จะเรียกว่า Job Competency หรือ Technical Competency หรือ Specific Competency ก็วา่ กันไป) โดยการท�ำ Workshop ให้ผบู้ ริหาร และพนักงานในแต่ละฝ่ายมาช่วยกันระดม ความคิดเพื่อหาว่าในฝ่ายของตนเองต้องการ คนที่ มี ส มรรถนะความสามารถยั ง ไงถึ ง จะ เหมาะสมที่จะมาท�ำงานในฝ่ายนี้ได้
38
2. เมื่อสามารถค้นหา Functional Competency ได้แล้ว ผู้บริหารและพนักงาน ในแต่ละฝ่ายก็มาช่วยกันคิดอีกครั้งหนึ่งว่า เพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้คนในฝ่ายของเรามีสมรรถนะใน งานอย่างทีห่ าไว้ตอนแรกนัน้ ฝ่ายของเราควร จะมีหลักสูตรฝึกอบรม (หรือวิธีการพัฒนา รูปแบบอืน่ นอกเหนือจากการฝึกอบรม) อะไรบ้างทีส่ อดคล้องกับ Functional Competency ซึง่ เมือ่ พนักงานผ่านการฝึกอบรม (หรือพัฒนา) แล้ว จะท�ำให้มีขีดความสามารถมีความรู้มี ทักษะและมีคณ ุ ลักษณะในงานได้อย่างทีฝ่ า่ ย ของเราต้องการ 3. น�ำหลักสูตร (หรือแผนการพัฒนา รูปแบบอืน่ นอกเหนือจากการฝึกอบรม) ใส่เข้า ไว้ในแผนการพัฒนาพนักงาน (ในฝ่ายนั้น ๆ) ระยะยาวที่เรียกว่าท�ำแผนพัฒนาพนักงาน แบบ “Training & Development Roadmap” หมายถึง การก�ำหนดแผนการพัฒนาพนักงาน ในฝ่ายของเราอย่างชัดเจนว่าตั้งแต่พนักงาน เข้ามาใหม่ในปีที่ 1 เขาจะได้รับการฝึกอบรม ด้วยหลักสูตรอะไรบ้าง ปีที่ 2 เขาจะต้องเข้า อบรมหลักสูตรอะไร ปีที่ 3 เขาจะต้องเข้า อบรมหลักสูตรอะไร เมื่อเลื่อนเป็นหัวหน้า แผนกในปีที่ 4 จะได้รบั การฝึกอบรมหลักสูตร อะไร ฯลฯ โดยหลั ก สู ต รหรื อ การพั ฒ นาที่ พนักงานจะได้รับการฝึกอบรมนั้นจะเป็นไป ตาม Functional Competency เป็นหลัก จะ ไม่มหี ลักสูตรฝึกอบรมประเภทเทพดลใจ หรือ หลักสูตรจิตสัมผัสเหมือนแต่ก่อนอีกต่อไป
4. มี ก ารติ ด ตามผลการฝึ ก อบรม (หรือการพัฒนา) พนักงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนือ่ งว่า เมือ่ พนักงานได้รบั การพัฒนา แล้ว มีความรู้ความสามารถในงาน (ที่สอดคล้องกับ Functional Competency) มากขึ้น หรือไม่ อย่างไร เพื่อปรับวิธีการพัฒนาให้ เหมาะสม หรือในกรณีที่ไม่สามารถพัฒนา พนักงานบางรายให้มขี ดี ความสามารถตามที่ ฝ่ายนั้นต้องการได้ ก็อาจจะต้องมาพิจารณา ดูว่าพนักงานคนนั้น ๆ มีขีดความสามารถ เหมาะกับงานด้านใดเพื่อโยกย้ายไปท�ำงาน ที่เหมาะกับขีดความสามารถของพนักงาน ต่อไป 5. เมือ่ เป็นอย่างทีผ่ มแนะน�ำมาข้างต้นแล้ว บริษทั จะใช้งบประมาณในการพัฒนา พนักงานอย่างคุม้ ค่า และวัดผลรวมถึงติดตาม ผลการพัฒนาได้อย่างเป็นรูปธรรม มีทิศทาง ในการพัฒนาพนักงานแบบชัดเจน ท�ำให้การ ลงทุนพัฒนาพนักงานไม่สูญเปล่าเหมือนที่ เป็นมา 6. อ่านมาถึงตรงนีแ้ ล้ว ผมเชือ่ ว่าท่าน คงจะเห็นภาพวิธกี ารพัฒนาพนักงานในยุคใหม่ มากขึ้นแล้วนะครับ คราวนี้ก็อยู่ที่ว่าท่านที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรจะเริ่มต้นท�ำ แผนการพัฒนาพนักงานอย่างเป็นระบบอย่าง ทีผ่ มบอกมานีแ้ ล้วหรือยังล่ะครับ ?
Q
Life Style for
uality
Book Guide Show&Share
Q
Book Guide for
uality
รู้ทันการค้า
ในตลาด ผู้เขียน Masao Eguchi ผู้แปล ดร.จารุนันท์ ธนสารสมบัติ ราคา 220 บาท จำ�นวน 240 หน้า พิมพ์โดย สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท. เหมาะสำ�หรับนักธุรกิจและบุคคลทั่วไป
รู ้ วิ ธี ท� ำ ธุ ร กิ จ ในจี น ผ่ า นมุ ม มองผู ้ ใ ห้ ค� ำ ปรึ ก ษาทางธุ ร กิ จ ชาวญี่ปุ่น จากกรณีศึกษามากมาย ทั้งธุรกิจที่ประสบความส�ำเร็จและ ล้มเหลว...อย่าคิดไปลงทุนท�ำธุรกิจในเมืองจีน ถ้ายังไม่รู้จักผู้บริโภค ชาวจีน ไม่รู้ใจคู่ค้า และไม่รู้นิสัยของพนักงานชาวจีน เพราะนี่ไม่ใช่แค่การแข่งขันท�ำการค้าทั่ว ๆ ไปในต่างบ้าน ต่างเมือง แต่คือสงครามที่ต้องชิงไหวชิงพริบ รัดกุมรอบด้าน แบบแผน เดิม ๆ ที่เคยใช้ได้ผล อาจกลับตาลปัตรเมื่อมาท�ำการค้าในจีน... หากเตรียมตัวให้พร้อม ศึกษาข้อพึงระวัง เรียนรู้พฤติกรรม ผู้บริโภค และวิธีผูกมิตรกับคู่ค้าชาวจีนไว้ ตลาดอันหอมหวานขนาด มหึมาจากประชากรกว่า 1,300 ล้านคน ก็ก�ำลังรอคุณอยู่ !!
40
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
จีน
สอนให้แม่น
เรขาคณิต ผู้เขียน Tadahiko Hoshida ผู้แปล ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ จำ�นวน 304 หน้า ราคา 280 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท. เหมาะสำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รวมเรื่องพื้นฐานของเรขาคณิตที่ใช้ได้ตั้งแต่เล็กจนโต เริ่มตั้งแต่นิยาม สัจพจน์ ทฤษฎีบท สมบัติและเงื่อนไข ไปจนถึงการประยุกต์ขั้นต้น ได้แก่ เส้นตรง การขนาน-ตั้งฉาก มุม การสมมาตร การแปลงทางเรขาคณิต รูปหลายเหลี่ยม วงกลม ระนาบ ภาพฉาย ทรงตัน ปริซึม พีระมิด พื้นที่ผิว ปริมาตร การพิสูจน์ และการสร้างรูปเรขาคณิต เนื้อหาจะอธิบายให้เข้าใจตั้งแต่พื้นฐานของเรขาคณิต ที่คุณครูมักข้ามไปหรือไม่ได้เน้นให้เข้าใจตั้งแต่แรก ท�ำให้พลาดในจุดนี้แล้วอาจ ไปมีปญ ั หาตอนทีเ่ รียนขัน้ สูง เป็นการอธิบายอย่างค่อยเป็นค่อยไปเพือ่ ให้เข้าใจจริง ๆ ก่อนขึน้ สูบ่ ทเรียนเรือ่ งใหม่ตอ่ ไป เชือ่ มโยงประเด็นทีต่ อ้ งการ สื่อผ่านภาพการ์ตูนจ�ำนวนมากเพื่อให้อ่านสนุกและจดจ�ำง่าย
สอนให้แม่น
เรขาคณิต
รวมกว่า 80 ทฤษฎีบทของวิชาเรขาคณิตพื้นฐานระดับ ม.ต้น ที่ใช้ได้จนถึงสอบเข้ามหาวิทยาลัย... อธิบายอย่างละเอียดต่อเนื่องใน แต่ละทฤษฎีบทให้เข้าใจง่ายและมีเทคนิคการจ�ำที่น่าสนใจ อีกทั้งยังน�ำเสนอบทเรียนอย่างสนุกสนานด้วยภาพการ์ตูน 4 สีตลอดเล่ม เหมาะกับ การเรียนรู้หรืออ่านทวนด้วยตัวเอง รวมถึงครู-ผู้ปกครองที่ต้องการเทคนิคดี ๆ ไปสอนต่อก็สามารถน�ำไปใช้ได้ เหมือนเป็นคู่มือเรขาคณิตประจ�ำ บ้านที่ใช้ได้ทุกคน เสริมความรู้ความเข้าใจทั้งเรื่องรูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ทรงตัน ความสัมพันธ์ของมุม-ด้าน เส้นขนาน ความคล้าย ความเท่ากันทุกประการ ฯลฯ อีกทั้งการพิสูจน์ต่าง ๆ ยังช่วยสร้างความสามารถเชิงตรรกะและการใช้เหตุผลได้เป็นอย่างดีทั้งกับตัวนักเรียนและ แม้แต่ผู้ใหญ่เอง ไม่มีเล่มไหนที่จะละเอียดครอบคลุมเท่านี้อีกแล้ว หลายเรื่องที่เคยสับสนจะกระจ่างชัด...แล้วเรขาคณิตขั้นสูงจะกลายเป็นเรื่องง่ายและ น่าสนุกส�ำหรับทุกคน !!
Vol.23 No.215 May-June 2016
ผู้เขียน Tadahiko Hoshida ผู้แปล ดร.อรรณพ เรืองวิเศษ จำ�นวน 320 หน้า ราคา 300 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท. เหมาะสำ�หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
41
Q
Show&Share for
uality
TP-LINK
วันนี้ไม่กล่าวถึง Internet of Thing (IoT) ไม่ได้แล้ว เพราะว่า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เราหยิบจับในชีวิตประจ�ำวัน ไม่วา่ จะอยูท่ บี่ า้ น หรือทีท่ ำ� งาน เราสามารถสัง่ ให้อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เหล่านี้ท�ำงานได้ผ่านมือถือสมาร์ทโฟน ทั้งระบบ Android, iOS และ เจ้าสมาร์ทโฟนตัวเดียวกันนี้ ยังสามารถที่จะสื่อสารกับอุปกรณ์เข้าถึง ระยะไกล หรือสมาร์ทปลั๊ก ที่ถูกพัฒนาและออกแบบมาเพื่อควบคุม อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับสมาร์ทปลั๊กทุก ๆ ที่แม้อยู่ในบ้านหรือที่ท�ำงาน และมีเครือข่ายอินเทอร์เน็ตก็จะสื่อสารกันได้ หรืออาจกล่าวได้ว่า ทุกสิ่ง ทุกอย่างที่เราหยิบจับในชีวิตประจ�ำวันสามารถรับค�ำสั่งให้ปิด-เปิด อุปกรณ์ให้ท�ำงานได้ผ่านสมาร์ทโฟน ซึ่งก็คือเทรนด์ของ IoT ที่เป็นไป ตามจ�ำนวนการใช้สมาร์ทโฟนที่เพิ่มสูงขึ้น ทีพี-ลิงค์ เป็นผู้ให้บริการระหว่างลูกค้าและสินค้าประเภท SOHO & SMB Products กับผลงานการออกแบบนวัตกรรมที่มีความ เป็นไลฟ์สไตล์กับเทรนด์ IoT และทีพี-ลิงค์ก�ำลังน�ำอุปกรณ์ดังกล่าวมา วางตลาดในระยะเวลาใกล้เคียงกัน มีดว้ ยกัน 2 รุน่ ได้แก่ Wi-Fi Smart Plug รุ่น HS 100 และรุ่น HS110 ตัวอุปกรณ์เข้าถึงระยะไกล Wi-Fi Smart Plug รุ่น HS 100 ซึ่งก็เหมือนปลั๊กไฟทั่วไป แต่โดดเด่นที่การ
42
for Quality Vol.23 No.215 May-June 2016
ดีไซน์ ที่ส�ำคัญ คือ สามารถสื่อสารกับสมาร์ทโฟนได้ พูดง่าย ๆ คือ สามารถรับค�ำสั่งจากสมาร์ทโฟนผ่านแอพ Kasa ที่หาดาวน์โหลด ได้ฟรีจาก Play Store ในผู้ใช้สมาร์ทโฟน ระบบ Android และ Play Store ในผูใ้ ช้สมาร์ทโฟนระบบ iOS และเมือ่ ทัง้ สมาร์ทโฟน และตัว อุปกรณ์เข้าถึงระยะไกล Wi-Fi Smart Plug ของทีพี-ลิงค์สื่อสารผ่าน แอพกันได้แล้ว ก็จะไปเพิ่มคุณสมบัติให้กับอุปกรณ์ Wi-Fi Smart Plug ของทีพี-ลิงค์ ทั้งรุ่น HS100 และรุ่น HS110 ให้ท�ำหน้าทีค่ อยควบคุม อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกับสมาร์ทปลั๊กได้ทุก ๆ ที่ที่มี อินเทอร์เน็ต และยังสามารถจัดตารางเวลาให้กับสมาร์ทปลั๊ก ส�ำหรับ การเปิดและปิดอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ได้โดยอัตโนมัติ เช่น การตัง้ เวลา ให้เปิดและปิดอุปกรณ์แบบอัตโนมัติในช่วงค�่ำและให้ปิดเองตอน สว่าง ด้วยคุณสมบัติที่ยอดเยี่ยม จึงนับเป็นอุปกรณ์ที่สามารถจัดการ เครือ่ งใช้อเิ ล็กทรอนิกส์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้านได้อย่างง่ายดาย และได้ทุกที่ทุกเวลา นอกจากนี้ด้วยคุณสมบัติโดดเด่นของ Away Mode ของ อุปกรณ์ Wi-Fi Smart Plug ทั้ง 2 รุ่น ยังสามารถท�ำให้อุปกรณ์เครื่องใช้ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องใช้ในบ้านของคุณเปิดและปิดได้ในเวลาที่ แตกต่างกัน เพื่อให้ลักษณะที่เหมือนมีคนอยู่บ้านเสมอ ป้องกันโจร ขโมย และสามารถควบคุมระบบอัตโนมัติได้โดยตรงผ่านสมาร์ทโฟน โดยทีไ่ ม่ตอ้ งลุกจากเตียง เพียงแค่แตะบนสมาร์ทโฟน และยิง่ อุน่ ใจมาก ยิ่งขึ้นกับคุณสมบัติ Timer การนับถอยหลังเพื่อปิดใช้เครื่องใช้ใน ครัวเรือนโดยอัตโนมัติ ไม่ว่าจะเป็นเตารีด หรือเครื่องรีดดัดผมของ ผู้หญิง ทีพี-ลิงค์ จึงจัดเป็นนวัตกรรมอันดับต้น ๆ ที่ตอบโจทย์ความ เป็นไลฟ์สไตล์ของคนในยุคนี้เพิ่มความสะดวก ง่ายในการใช้ชีวิตที่ คุณชื่นชอบ
Show&Share
Congratulations
arip
AMATA
เมื่อเร็ว ๆ นี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณนายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีมอบรางวัล THAILAND TOP COMPANY AWARDS 2016 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. เสาวณีย์ ไทยรุ่งโรจน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คุณมนู เลียวไพโรจน์ ประธาน กรรมการ และ คุณแจ็ค มินทร์ อิงค์ธเนศ ประธานบริหาร บมจ. เออาร์ไอพี ในฐานะผู้จัดงาน พร้อมด้วยผู้บริหารจากองค์กรชั้นน�ำของประเทศไทย เข้า ร่วมงานรับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ ณ โรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพฯ
บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำด้านการพัฒนา และบริหารเมืองอุตสาหกรรมครบวงจรในประเทศไทยและต่างประเทศ จัดงาน ฉลองครบรอบ 40 ปีอย่างยิ่งใหญ่ ภายใต้คอนเซปต์ “The Future is Here” เผยเส้นทางความส�ำเร็จปัจจุบันสู่อนาคต และแผนงานต่อยอดแนวคิดสร้าง อมตะให้เป็นมากกว่านิคมอุตสาหกรรม ตั้งเป้าขยายครบ 2,000 โรงงานในอีก 5 ปี โชว์ความแข็งแกร่งด้านการเงินก�ำไรสะสมกว่า 9,000 ล้านบาท พร้อม โคลนนิ่งโมเดลอมตะในไทยสู่เวียดนามและพม่า ภายใต้การแนวคิด Perfect City
Event Dow
PTT
ปตท. น�ำโดย คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รณรงค์ปลูกจิตส�ำนึกรักษ์พลังงาน เด็กไทย เปิดตัวรายการ “ยอดมนุษย์ฝึกหัด” ค่ายวิทยาศาสตร์รู้รักษ์ พลังงานเชิงสนุกสร้างสรรค์นอกห้องเรียน ส่งเสริมให้เยาวชนไทยเข้าใจ ถึงสิทธิและหน้าที่ในการใช้พลังงานอย่างถูกต้องและรู้คุณค่าผ่านการ เรียนรูข้ อง 10 ยอดมนุษย์ฝกึ หัดรุน่ จิว๋ ทีจ่ ะมาพิชติ ภารกิจด้านพลังงาน และวิทยาศาสตร์สุดท้าทายมากมาย ติดตามชมรายการ “ยอดมนุษย์ ฝึกหัด” ได้ทุกวันเสาร์ เวลา 10.00 - 11.00 น. ช่องเวิร์คพอยท์ 23
Vol.23 No.215 May-June 2016
กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย น�ำโดย คุณณัฐพงศ์ จิรวัฒนา วรกุล ผูจ้ ดั การแผนกสือ่ สารองค์กรและชุมชนสัมพันธ์ประจ�ำโรงงาน ต้อนรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และคณาจารย์จากภาค วิชาวิศวกรรมและเทคโนโลยีเคมีชีวภาพ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ สิรนิ ธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จ�ำนวน 70 คน ในการเยีย่ มชมโรงงาน ของบริษัทฯ ในนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย เมื่อเร็ว ๆ นี้
43
Show&Share
Industry
Tisi
ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ลงนาม บันทึกความเข้าใจ เรื่อง ความร่วมมือด้านการมาตรฐานกับสถาบัน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (สฟอ.) ภายใต้กรอบความตกลงยอมรับ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ร่วมกันในกลุ่มประเทศ อาเซียน หวังเพิ่มศักยภาพการส่งออกสินค้าจากไทยสู่ตลาดอาเซียน ให้มีความคล่องตัวขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการทดสอบซ�้ำซ้อน ณ ประเทศ ปลายทาง พร้อมให้การรับรองระบบงาน หน่วยรับรองผลิตภัณฑ์: มอก. 17065 ยกระดับเครื่องหมาย EEI Mark ขึ้นแท่นการยอมรับจาก ประเทศสมาชิกอาเซียน คาดในอนาคตตลาดอาเซียนมีแนวโน้มเติบโต ดี โดยปี 2558 ที่ผ่านมาไทยส่งออกไปตลาดอาเซียนราว 1 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือด้วยสัดส่วนราว 19% ของมูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 5.4 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ
ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (ที่ 3 จากขวา) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เรื่อง “ก้าวกระโดด ประเทศไทย (Thailand Spring up) ยกระดับเทคโนโลยีดา้ นสิง่ แวดล้อม ความปลอดภัย ลดการใช้พลังงาน และเพิม่ มูลค่าของกากอุตสาหกรรม ให้แก่โรงงานอุตสาหกรรม” และ คุณทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (ที่ 3 จาก ซ้าย) ตั้งเป้า 2 ปีแรก เร่งพัฒนาผู้ประกอบการโรงงานอย่างน้อย 100 ราย พร้อมสนับสนุนค่าใช้จ่ายรายละไม่เกิน 400,000 บาท คาดว่าจะ สร้างผลตอบแทนให้ภาคอุตสาหกรรมไทย 7.5 เท่าของการลงทุน โดยมี คุณพรชัย ตระกูลวรานนท์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง อุตสาหกรรม (ที่ 2 จากขวา) และ ดร.พานิช เหล่าศิริรัตน์ ที่ปรึกษา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ที่ 2 จากซ้าย) ร่วมเป็นสักขีพยาน โดยพิธีดังกล่าวจัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ กระทรวงอุตสาหกรรม
Vol.23 No.215 May-June 2016
Summit
44
มิสเตอร์คาซูโอะ โอโมริ (กลาง) ประธานบริษัทซูมิโตโม คอร์ ป อเรชั่ น ประเทศญี่ ปุ ่ น เข้ า เยี่ ย มชมการด� ำ เนิ น งานของ บริษัท ซัมมิท แคปปิตอล ลีสซิ่ง จ�ำกัด ณ ส�ำนักงานใหญ่ ชั้น 10 อาคารอื้อจือเหลียง โดยมี คุณวิชิต พยุหนาวีชัย (ที่ 2 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ซัมมิท แคปปิตอล ลีสซิง่ จ�ำกัด และ คุณมาซายูกิ โคดะ (ที่ 2 จากขวา) รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น ประเทศไทย พร้อมด้วยคณะผู้บริหารของ ซัมมิท แคปปิตอล น�ำโดย มิสเตอร์ยาสุมาสะ โอโมริ (ซ้ายสุด) รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารฝ่ายการเงิน และ คุณโยชิโกะ โมริอิซูมิ (ขวาสุด) ผู้อ�ำนวยการโครงการพิเศษ ส�ำนักประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ให้การต้อนรับ ในโอกาสนี้คุณวิชิตได้น�ำเสนอ ภาพความส�ำเร็จของซัมมิท แคปปิตอลในปีที่ผ่านมา โดยชูกลยุทธ์ธุรกิจที่ท�ำให้บริษัทฯ มียอดปล่อยสินเชื่อรถจักรยานยนต์เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ร้อยละ 37 พร้อมเผยแนวทางการด�ำเนินธุรกิจในปีนี้เพื่อมุ่งสู่ความเป็นผู้น�ำตลาดในประเทศไทยภายในปี 2562
Show&Share
Panasonic
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ร่วมกับ บริษัท พานาโซนิค (ประเทศไทย) จ�ำกัด พัฒนาและ ริเริม่ ติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยแบบบูรณาการครบวงจร Smart Surveillance System ระบบเฝ้าระวังอัจฉริยะโดยสัง่ การผ่าน Control Room ระบบแจ้งเหตุ ระบบวิเคราะห์พฤติกรรมผู้ต้องสงสัย การ ประมวลผลประสิทธิภาพสูง และเทคโนโลยีภาพความคมชัดสูง 4K ที่มีความละเอียดสูงที่สุดในปัจจุบัน โดยศูนย์ฯ ดังกล่าว นับเป็น ต้นแบบของระบบรักษาความปลอดภัยในสถาบันการศึกษาทีส่ มบูรณ์ แบบที่สุดในประเทศไทย
Dimension
เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัท ไดเมนชั่น ดาต้า (ประเทศไทย) จ�ำกัด ฉลองครบรอบ 25 ปี จัดกิจกรรมทางสังคมในโครงการ “Ride to School” เพื่อบริจาคจักรยานใหม่ให้กับเด็ก ๆ ในถิ่นทุรกันดารให้มีจักรยานใช้ ปั่นไปโรงเรียนและใช้ในชีวิตประจ�ำวัน โดยบริษัทฯ ตั้งเป้าบริจาค จ�ำนวน 1,000 คัน ภายในปี 2561 และล่าสุดได้มีการมอบจักรยานให้ ที่แรกที่จังหวัดอุทัยธานี จ�ำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนบ้านภูมิธรรม และโรงเรียนบ้านลานคา จังหวัดอุทัยธานี รวม 50 คัน รายละเอียด โครงการเพิ่มเติมได้ที่ Facebook Ride to School
Lenovo
เลอโนโว เปิ ด ตั ว กองทั พ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ม าพร้ อ ม อิ น เทล คอร์ โปรเซสเซอร์ เจนเนอเรชั่น หก รุ่นล่าสุดจาก Intel ประกอบไปด้วย YOGA Series ที่ตอบโจทย์การใช้งาน ทุกไลฟ์สไตล์ Lenovo Y-Series Gaming สเปกจัดเต็ม สุดยอดความแรงเหนือใคร เหมาะส�ำหรับเกมเมอร์ และดีไวซ์สุดคล่องตัวที่ออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับ ไลฟ์สไตล์การท�ำงาน
รศ.ดร. ฤาเดช เกิดวิชยั อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา พร้อมด้วย คุณโยธิน ด�ำเนินชาญวนิชย์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ดับ๊ เบิล้ เอ (1991) จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมท�ำพิธเี ปิดตัวความร่วมมือด้านวิชาการ “Double A Logistics Academy” ศูนย์เรียนรูก้ ารปฏิบตั กิ ารจริงด้านโลจิสติกส์ และซัพพลายเชนแบบบูรณาการทั้งระบบ โดยส่งมอบอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ พร้อมระบบเชือ่ มต่อ และห้องปฏิบตั กิ ารขาย (POS) เพือ่ ร่วมกันสร้างผูป้ ระกอบ วิชาชีพคุณภาพยกระดับไทยสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ของประชาคมอาเซียน และส่งเสริมโอกาสในการพัฒนานวัตกรรมด้านไอที หรือธุรกิจใหม่ ๆ ที่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ณ วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม เมื่อเร็ว ๆ นี้
Vol.23 No.215 May-June 2016
Double A
45