QM216 July - August 2016 Vol.23 No.216

Page 1

www.tpaemagazine.com

For

Quality Management

July-August Vol.23 No.216

Magazine for Executive Management

เคร�องมือวัดอุณหภูมิและระบบวัดอุณหภูมิ ในอุตสาหกรรมอาหารระดับโลก คุณภาพสูง

A Fluke Company

ราคา ไมแพง

Comark RF500 ใชมอนิเตอรอุณหภูมิ และความชื้นผานระบบไรสาย เหมาะสำหรับโรงงานจัดเก็บผลิตภัณฑ และวัตถุดิบ โรงงานแปรรูปอาหาร

Vaisala HMT140

FoodPro, FoodPro Plus วัดอุณหภูมอ ิ าหารแบบไมสม ั ผัส

C22FKIT ชุดคิตพรอมโพรบสำหรับรานอาหาร

DT400, KM14 รุน  พกพา โพรบปลายแหลม กันน้ำ ทนทรหด IP67

KM28B ชนิดเทอรโมคัปเปล  Type K สำหรับงานอุตสาหกรรม

เครื่องวัดและบันทึกอุณหภูมิ (Data Logging) เชื่อมตอดวย WiFi

Vaisala DL2000 Data Logging อุณหภูมิและความชื้น ไดพรอมกันหลายจุด เชื่อมตอดวย LAN

เราคือผูนำทางดานการวัดอุณหภูมิ เพ�อคุณภาพและความปลอดภัยกอนถึงมือผูบริโภค สนใจติดตอ : คุณวิชัย 08-1934-2570 wichai@measuretronix.com www.measuretronix.com/ comark-vaisala

 

ลดตนทุนดวยการลดความสูญเปลา หลักการปฏิบัติที่ดี เพ�อการจัดเก็บ และกระจายสินคา ตามแนวทางของ AIB

  

เม�อ “Alibaba” บุก AEC Front Runner – Small but Strong Business case from Japan การประเมินผลการปฏิบัติงานเสมือนกลยุทธธุรกิจ


ูง ส เครื่องมือตรวจวัดสภาพแวดลอมในอาคาร พ ง ภา มแพ Indoor ENVironmental Quality (IEQ) คุณ คาไ า ร

สภาพแวดลอมที่สบายและมีสุขอนามัยที่ดีนั้น เกิดจากสัดสวนที่เหมาะสมของอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ การถายเทอากาศ ระดับแสงสวางที่พอดี และความดังเสียงรบกวนต่ำ

Indoor ENVironmental Quality (IEQ)

นั้นก็คือการวัดหรือประเมินคาที่เกี่ยวของ กับคุณภาพของสิ่งแวดลอมในอาคาร ซึ่งไดแก คุณภาพอากาศ (air quality), การหมุนเวียน ระบายอากาศ (ventilation), อุณหภูมิที่สบาย (thermal comfort), แสงสวาง (lighting) และความดังของ เสียงรบกวน (noise)

Metrel MI 6201 Multinorm เคร�องวัดสภาพแวดลอม หลายพารามิเตอรและวัดเสียง MI 6201 Multinorm เปนการรวมเครื่องวัดสภาพแวดลอมหลายพารามิเตอร และเครื่องวัดเสียงเขาไวดวยกัน ในเครื่องเดียว มีความสามารถในการวัด Temperature difference (option) Black globe radiant temperature (option) Air temperature K thermocouple temperature (option) CO and CO2 concentration (option) Air velocity Illuminance Sound level Air flow Luminance (option) Real time 1/1 and Relative humidity 1/3 octave analysis Contrast (option) Dew point ซอฟตแวรบน ●

MI6201 Multinorm มี 3 รุนยอยคือ

MI 6201PR เปนการรวม MI 6401EU เขากับ SLM class1 รุน MI 6301PR ซึ่งจะได Full ISO certificate of calibration และมี PC Software สองชุดคือ SensorLink Pro + SoundLink Lite สำหรับออกเอกสารรายงาน MI 6201EU เปนการรวม MI 6401EU เขากับ SLM class2 รุน MI 6301EU ซึ่งจะได Full ISO certificate of calibration และมี PC Software สองชุดคือ SensorLink Pro + SoundLink Lite สำหรับออกเอกสารรายงาน MI 6201ST เปนการรวม MI 6401EU เขากับ SLM class2 รุน MI 6301EU แตจะได Certificate of calibration ธรรมดาและมี PC Software สองชุดคือ SensorLink Pro + SoundLink Lite สำหรับออกเอกสารรายงาน

PC ความสามารถสูง

SensorLink PRO สำหรับเก็บบันทึกคาวัดตอเนื่องเพื่อการวิเคราะห ทำกราฟ และออกเอกสารรายงาน SoundLink LITE สำหรับดาวนโหลด ดูขอมูล และสงออกขอมูล ไปยังแอพลิเคชั่นอื่น พรอมความสามารถเสริมในการวิเคราะห ความถี่ ทำกราฟ และจัดทำรายงาน

เคร�องวัด Indoor ENVironmental Quality รุนอ�นๆ MI 6301 FonS

MI 6401 Poly

เครื่องวัดเสียงแบบแยกความถี่ เครื่องวัดสภาพแวดลอมหลายพารามิเตอร ความแมนยำระดับ IEC1672 (ISO61672) Class1 ยกเวนเสียง สามารถวัดพารามิเตอรตอไปนี้ : Air temperature/multipoint สามารถวัดและบันทึกผลการวัดระยะยาว Air velocity/multipoint/mass flow calculations แบบ Integrating SLM กับคาพารามิเตอร Relative humidity/dew point เสียงทางสิ่งแวดลอมหลักๆ ทุกตัว Illuminance ● ● ● ●

สนใจติดตอ : คุณสารกิจ 08-1641-8438, คุณมนัสนันท 08-7714-3630, คุณอิทธิโชติ 080-927-9917 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ ieq


เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย

Biomedical Test Equipment

RIGEL เปนผูผลิตเคร�องมือสอบเทียบทางการแพทย ที่ ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันในคุณภาพและความเช�อมั่น Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เคร�องสอบเทียบเคร�องกระตุกหัวใจ เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราหเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถสอบเทียบไดทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating waveform และ Automated external defibrillator (AED) สามารถพิมพผล Pass/Fail Label ไดทันทีผานเครื่องพิมพที่เชื่อมตอผาน Bluetooth

Rigel UNI-SIM : Vital Signs Simulator เคร�องวิเคราะหการทำงานเคร�องวัด สัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร 1. 2. 3. 4.

คาออกซิเจนในเลือด (SPO2) คาสัญญาณแรงดันไฟฟาหัวใจ (ECG) คาความดันโลหิตในหลอดเลือด (IBP) คาความดันโลหิต (NIBP)

5. คาอุณหภูมิรางกาย (Temperature) 6. คาอัตราการหายใจ (Respiration)

Rigel Uni-Therm : High Current Electrosurgical Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องจี้ดวยไฟฟา

เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องตัดจี้ ดวยไฟฟา สามารถวัดคาพลังงานที่เครื่องตัดจี้ ที่ปลอยออกมา ทั้งในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM ตามมาตรฐาน IEC 60601-2-2 บันทึกขอมูล ในตัวเครื่องได

Rigel 288 : Electrical Safety Analyzer เคร�องทดสอบวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟาประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบไดหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะ มาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 ทดสอบ Ground bond โดยใช dual current high intensity

Rigel Multi-Flo : Infusion Pump Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องใหสารละลายทางหลอดเลือด

เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องจายสารละลาย ทางหลอดเลือดทั้งที่เปนแบบ Infusion Pump และ Syringe Pumpเครื่องมือเหลานี้จะสามารถสอบเทียบ ไดทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test

IMT FlowAnalyzer Set V : Gas Flow Analyzer (PF300) เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�องชวยหายใจ

เปนเครื่องทดสอบเครื่องชวยหายใจแบบตั้งโตะ สามารถวิเคราะหแกสไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทย ไดดังนี้ 1. Ventilators CPAP/Bilevel 2. Ventilators ICU 3. Ventilators Infant 4. Ventilators High Frequency 5. Blood Pressure Analyzer 6. Oxygen Concentrators 7. Vacuum Pumps 8. Spirometers 9. Pipe Gases

IMT FlowAnalyzer Set VA : Anesthesia and Gas Flow Analzer (PF300 with OR-703)

เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�อง เคร�องรมยาสลบและเคร�องชวยหายใจ เปนเครื่องวิเคราะหเครื่องรมยาสลบ ที่สามารถวิเคราะหแกสรมยาสลบ เชน CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane และ Desfluraneไดและยังวิเคราะห เครื่องชวยหายใจไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทยไดดังนี้ 6. Blood Pressure Analyzer 1. Anesthesia Vaporizer 7. Oxygen Concentrators 2. Ventilators CPAP/Bilevel 8. Vacuum Pumps 3. Ventilators ICU 9. Spirometers 4. Ventilators Infant 10. Pipe Gases 5. Ventilators High Frequency

สนใจติดตอ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ rigel-biomedical


ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035

Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector

2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


Contents

Quality Management Vol.23 No.216 July-August 2016

Quality of Life 24 รู้จักโรคอารมณ์สองขั้ว หรือไบโพลาร์ ! โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว

Quality Management Quality Finance 26 เมื่อ “Alibaba” บุก AEC

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

Quality Report 28 Front Runner: Small but Strong

22

Business case from Japan ตอนที่ 1

โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

Quality Marketing & Branding 30 แอบดู .... กิจการเพื่อสังคม ตอนที่ 1

โดย จิตอุษา ขันทอง

33 การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ในหน่วยบริการ

24

26

ปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา Best Practice ตอนที่ 4 โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์

30

Cover Story 7 เครื่องมือวัดอุณหภูมิและระบบวัดอุณหภูมิในอุตสาหกรรมอาหารระดับโลก

โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกส์ จ�ำกัด

Quality System Quality Trend 19 ลดต้นทุนด้วยการลดความสูญเปล่า

โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์

Quality for Food 22 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB

AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 10

แปลและเรียบเรียงโดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย

33


Contents

39

Quality Management Vol.23 No.216 July-August 2016

36

Quality People 36 การประเมินผลการปฏิบัติงานเสมือนกลยุทธ์ธุรกิจ โดย ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

Quality Idol & Model 39 KASIKORN Business - Technology Group พัฒนาเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกการเงินใหม่ เพือ่ ดิจิทัล แบงกิ้งอันดับหนึ่งของประเทศ

โดย กองบรรณาธิการ

Special Scoop 43

43

จากงานวิจัยอันทรงคุณค่าสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแพทย์ยุค Industry 4.0 47 หุ่นยนต์บ�ำบัดผู้ป่วย ต้นแบบการพัฒนาจากวิศวกรรมสู่การแพทย์ใน ยุค Industry 4.0 โดย กองบรรณาธิการ


Editor’s Talk ผู้

บริโภคในปัจจุบัน กล่าวได้ว่านอกจากบริโภคสินค้าเพื่อสนองความต้องการ สนอง ความชอบแล้ว ยังมองลึกถึงรายละเอียดของสินค้าที่มีการแข่งขันกันสูงอยู่ขณะนี้ มากขึ้น และสิ่งที่เห็นได้อย่างชัดเจนมากขึ้น นั่นคือ ผู้บริโภคส่วนใหญ่เริ่มมองสินค้าเพื่อ สุขภาพเพิ่มมากขึ้น กอรปกับเห็นได้ว่า สังคมปัจจุบันกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุ กลไก ทางการตลาดจึงเปลี่ยนแปลงตามอย่างสมดุล ดังนั้น สินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับ สุขภาพที่ดี ไม่ว่าจะเป็นอาหาร สปา หรือสินค้าเพื่อด�ำรงชีวิตอื่น ๆ จะต้องมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการถนอมสุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีอย่างเห็นได้ชัด นอกเหนือจากนีใ้ นภาพรวมทีใ่ หญ่ขนึ้ ภาคอุตสาหกรรมและการบริการทีเ่ กีย่ วข้อง กับการแพทย์และสุขภาพ ก็เริ่มเติบโตขึ้นอย่างเห็นได้ชัด แม้กระทั่งงานบริการอย่างเช่น โรงพยาบาลในบ้านเรา ก็ได้รับการยอมรับและเชื่อมั่นจากผู้ใช้บริการทั้งในประเทศและ ต่างประเทศว่าเป็นเยี่ยม แม้กระทั่งในแวดวงการศึกษาและการวิจัยและพัฒนาที่ส่งเสริม กิจกรรมทางการแพทย์จากนักวิจัยคนไทยยังได้รับการยอมรับและได้รับรางวัลที่ยิ่งใหญ่ มาไม่น้อย ฉบับที่ 216 เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2559 จึงขอร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการ ถ่ายทอดงานวิจัยและพัฒนาทางการแพทย์และสุขภาพผ่านเจ้าของผลงานจริงที่ได้รับ การันตีวา่ ผลงานทีส่ ร้างสรรค์ขนึ้ นีน้ า่ จะเป็นส่วนหนึง่ ในการขับเคลือ่ นงานวิจยั และผลงาน สูเ่ ชิงพาณิชย์ได้ไม่ยาก และมัน่ ใจได้เลยว่าจะต่อยอดในการสร้างรายได้อย่างมหาศาลเข้า สู่ประเทศในยุคอุตสาหกรรม 4.0 จากบทสัมภาษณ์ที่เข้มข้นแล้ว เรายังมีบทความรอทุกท่านเช่นเคย ในฉบับนี้ขอ น�ำเสนอ Quality System บทความเรื่อง ลดต้นทุนด้วยการลดความสูญเปล่า บทความเรื่อง หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB Quality Management เสนอบทความเรื่อง เมื่อ “Alibaba” บุก AEC บทความเรื่อง Front Runner – Small but Strong Business Case from Japan บทความเรื่อง การประเมินผลการปฏิบัติงานเสมือนกลยุทธ์ ธุรกิจ ขอให้อิ่มเอมกับบทความที่คัดสรรมาเพื่อทุกท่าน พบกันใหม่ฉบับหน้า

Published by

Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย

Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant

พรามร ศรีปาลวิทย รถจณา เถาวพันธ จารุภา มวงสวย

Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708

PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Marketing Service

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Advertising

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Member

จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com

วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง


Q

Cover Story for

uality

เครือ่ งมือวัดอุณหภูมแิ ละระบบวัดอุณหภูมิ

ในอุตสาหกรรมอาหารระดับโลก

เราคือผู้น�ำทางด้านการวัดอุณหภูมิ เพื่อคุณภาพ และความปลอดภัยก่อนถึงมือผู้บริโภค ระบบมอนิเตอร์

เทอร์โมมิเตอร์พกพา ใช้สะดวกทุกที่ ทนทาน IP67

อุณหภูมิระยะไกล

คุณภาพสูง

ราคา ไม่แพง

Data Logging อุณหภูมิและความชื้นได้พร้อมกัน หลายจุด เชื่อมต่อด้วย LAN

เครื่องวัดและ บันทึกอุณหภูมิ (Data Logging) เชื่อมต่อด้วย WiFi

อินฟราเรด เทอร์โมมิเตอร์ วัดแบบไม่สัมผัส

www.measuretronix.com /comark-vaisala

เคลือบสารต่อต้านแบคทีเรีย BioCote® ปลอดภัยมั่นใจ ได้รับการรับรองมาตรฐาน HACCP นานาชาติ ใช้งานได้ในที่เปียกชื้น กันน�้ำกันฝุ่นระดับ IP67

สนใจติดต่อ: คุณวิชัย 08-1934-2570 wichai@measuretronix.com

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

เทอร์โมมิเตอร์กับงานอาหาร

ในขบวนการผลิตอาหาร จุดวิกฤตที่ต้องควบคุม หรือ CCP โดย ส่วนใหญ่แล้วเป็นเรื่องของอุณหภูมิ ที่ต้องใช้เทอร์โมมิเตอร์ในการ วัดค่าตั้งแต่ต้นทางจากฟาร์มจนถึงปลายทางบนโต๊ะอาหาร ซึ่งในทุก ขั้นตอนนั้น อาหารจะต้องถูกรักษาอุณหภูมิให้อยู่ในช่วงที่ก�ำหนดอย่าง เคร่งครัด นั่นเพราะว่า for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

7


Cover Story อาหารทีไ่ ด้รบั การดูแลไม่ดพี อ อาจท�ำให้ผบู้ ริโภคเจ็บป่วยได้ ● จึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ตลอดทุกขั้นตอน ตั้งแต่ต้นทางการผลิต จนถึงปลายทางผู้บริโภค อาหารต้องถูกควบคุมให้มีความปลอดภัย ● ความปลอดภั ย อาหารถื อ เป็ น เรื่ อ งใหญ่ เพื่ อ ให้ แ น่ ใ จว่ า อาหารทุกชิน้ ทีเ่ ราซือ้ ในซุปเปอร์มาร์เก็ต หรือในร้านอาหาร ได้รบั การดูแล ที่เหมาะสม ● ข้อความในฉลากที่ระบุวันที่ผลิต หรือวันหมดอายุ ย่อมไม่มี ความหมายอะไรเลย หากอาหารปราศจากการควบคุมอุณหภูมทิ เี่ หมาะสม ●

ค่าอุณหภูมิที่ส�ำคัญของอาหาร

● อุณหภูมิ 2-8°C ส�ำหรับอาหารแช่เย็น น้อยกว่า -18°C ส�ำหรับ อาหารแช่แข็ง -22°C ส�ำหรับไอศครีม ส่วนอาหารปรุงสุกโดยทั่วไป ควร ปรุงทีอ่ ณ ุ หภูมไิ ม่นอ้ ยกว่า 70°C ทีแ่ กนในของอาหาร อาหารร้อนสามารถ รักษาอุณหภูมิไว้ที่ 63°C ได้เป็นเวลานาน 2 ชั่วโม

ระบบคุณภาพ HACCP

Vol.23 No.216 July-August 2016

การวิเคราะห์จุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในผลิตภัณฑ์อาหาร

8

HACCP ย่อมาจาก Hazard Analysis and Critical Control Point คือ ระบบการจัดการคุณภาพด้านความปลอดภัย ซึ่งใช้ในการ ควบคุมกระบวนการผลิตให้ได้อาหารที่ปราศจากอันตรายจากเชื้อ จุลินทรีย์ สารเคมี และสิ่งแปลกปลอมต่าง ๆ อันตรายทางชีวภาพเป็น สิง่ ทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญมากทีส่ ดุ ในระบบ HACCP เนือ่ งจากการบริโภค อาหารที่ปนเปื้อนโดยจุลินทรีย์นั้น อาจส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคโดย แพร่หลายและพิษที่เกิดขึ้น อาจรุนแรงจนถึงเสียชีวิตได้

คุณภาพอาหารก็เป็นเรื่องส�ำคัญ คุณคงไม่ต้องการอาหารที่ เย็นชืด ในขณะทีม่ นั ควรเป็นอาหารทีร่ อ้ น ฉะนัน้ เพือ่ ความปลอดภัยก็ควร ส่งอาหารคืนกลับไป ● สิ่งส�ำคัญ คือ อาหารแช่เย็นต้องได้รับการรักษาอุณหภูมิไว้ที่ ต�่ำกว่า 8°C เพื่อหยุดการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย และอาหารปรุงสุกก็ จะต้องปรุงที่ความร้อนสูงเพียงพอที่จะฆ่าแบคทีเรียได้ ●


Cover Story ระบบ HACCP เกี่ยวข้องกับการควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และผลิตภัณฑ์ วัตถุประสงค์ของการ ใช้ระบบ HACCP เพื่อให้สามารถพิสูจน์ได้ว่าผลิตภัณฑ์นั้นได้ถูกผลิตอย่างถูกสุขลักษณะและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ระบบ HACCP มีหลักการ 7 ข้อ ที่ต้องปฏิบัติตามที่ระบุในมาตรฐานระหว่างประเทศ 1. ด�ำเนินการวิเคราะห์อันตราย ระบุอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิต 2. หาจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม ก�ำหนดจุด การปฏิบัติขั้นตอนการท�ำงานซึ่งสามารถจะท�ำการควบคุม เพื่อก�ำจัดอันตรายหรือลดโอกาส การเกิดอันตราย เรียกว่าจุด CCP 3. ก�ำหนดค่าวิกฤต ซึ่งต้องควบคุมให้อยู่ภายใต้เกณฑ์ที่ก�ำหนด เพื่อมั่นใจว่าจุด CCP อยู่ภายใต้การควบคุม 4. ก�ำหนดระบบเพื่อตรวจติดตามการควบคุมจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม ก�ำหนดระบบในการเฝ้าระวังจุดวิกฤต 5. ก�ำหนดวิธีการแก้ไข เมื่อตรวจพบว่าจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมเฉพาะจุดใดจุดหนึ่งไม่อยู่ภายใต้การควบคุม 6. ก�ำหนดวิธีการทวนสอบเพื่อยืนยันประสิทธิภาพการด�ำเนินงานของระบบ 7. ก�ำหนดวิธีการจัดเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิธีปฏิบัติและบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ที่เหมาะสมตามหลักการเหล่านี้ และการประยุกต์ใช้ ระบบ HACCP สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมอาหารได้ทุกประเภทและใช้ได้กับอุตสาหกรรมอาหารทุกขนาดธุรกิจ ทั้งที่มี กระบวนการผลิตที่เรียบง่ายจนถึงกระบวนการผลิตที่มีความซับซ้อน

Comark ผู้น�ำในงานวัดอุณหภูมิอาหาร

พ่ อ ครั ว ในร้ า นอาหารต้ อ งการวั ด อุ ณ หภู มิ อ ย่ า งรวดเร็ ว ต้องการเครื่องที่เล็ก พกสะดวก ใช้งานง่าย ● ผู ้ จั ด การด้ า นคุ ณ ภาพในโรงงานผลิ ต อาหารที่ มี ส ภาพ แวดล้อมเปียกชื้น ย่อมต้องการเครื่องที่กันน�้ำได้ ● ขบวนการผลิตที่ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน HACCP ต้องการ เครื่องมือที่เชื่อถือได้ ลดข้อผิดพลาดและข้อโต้แย้ง ● ผูป ้ ระกอบการห้องแช่เก็บอาหาร ห้องเย็นเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ ด้านสุขภาพ ต้องการเครื่องมอนิเตอร์อุณหภูมิจากระยะไกล ●

ปัจจุบัณ Comark เป็นส่วนหนึ่งของ Fluke Corporation โดยมี บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายและให้บริการใน ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ

BioCote® เทคโนโลยีต่อต้านแบคทีเรีย ความพิ เ ศษของเครื่ อ งวั ด อุ ณ หภู มิ Comark ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรับในอุตสาหกรรมอาหารทั่วโลก ก็คือ การออกแบบมา ส�ำหรับงานอาหารโดยตรงด้วยเทคโนโลยีเฉพาะ BioCote® ซึ่งเป็น เทคโนโลยีการคลือบผิวโพรบวัดและตัวเครื่องวัดในขั้นตอนผลิต ด้วย Silver ป้องกันการปนปื้อนและกัดกร่อนขณะใช้งาน ต่อต้าน เชื้อแบคทีเรีย ได้รับการรับรองความปลอดภัยส�ำหรับอาหารตาม มาตรฐาน HACCP ระดับนานาชาติ มีให้เลือกหลากหลายรุ่นตาม การใช้งาน

ชนิดของเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ

เป็นเรื่องส�ำคัญที่ต้องวัดอุณหภูมิในจุดที่เหมาะสมในแต่ละงาน เช่น อาหารปรุงสุกจ�ำเป็นต้องวัดเข้าถึงด้านในสุดเพือ่ ให้แน่ใจว่าสุกทัว่ ถึง แต่ในงานเก็บรักษาหรือที่จุดรับวัตถุดิบ การวัดอุณหภูมที่พื้นผิวก็อาจ เพียงพอแล้ว Vol.23 No.216 July-August 2016

Comark เป็นผู้น�ำเครื่องวัดอุณหภูมิในอุตสาหกรรมอาหารระดับ โลก มีเทอร์โมมิเตอร์สำ� หรับงานอาหารมากมายหลายรุน่ มีฟงั ก์ชนั่ ให้เลือก ใช้เหมาะกับแต่ละงาน ราคาตั้งแต่หลักร้อยจนถึงหลักหมื่นบาทในงาน เดียวกัน ทั้งนี้แล้วแต่ความต้องการคุณสมบัติพิเศษเฉพาะด้าน ซึ่งผู้ใช้ใน แต่ละคนมีความต้องการเครื่องมือที่แตกต่างกัน

9


Cover Story โพรบวัดอุณหภูมิทุกตัวของ Comark จะมีเซนเซอร์ติดตั้งอยู่ใน ก้านสแตนเลส ทีส่ ามารถเสียบเข้าในชิน้ อาหารเพือ่ วัดอุณหภูมภิ ายในได้ อย่างแม่นย�ำ เซนเซอร์ที่นิยมใช้กันแบ่งได้เป็น 2 ชนิดหลัก คือ ● เทอร์มิสเตอร์ เป็นโครงสร้างสารกึ่งตัวน�ำชนิดหนึ่ง ให้ความ แม่นย�ำสูงที่ ±0.2°C ช่วงวัดอุณหภูมิจ�ำกัด ประมาณ -40 ถึง +125°C ตัวโพรบสามารถถอดเปลี่ยนได้ โดยไม่ต้องสอบเทียบใหม่ ● เทอร์โมคัปเปิล ้ โครงสร้างเป็นโลหะต่างชนิดประกบกัน ความ แม่นย�ำน้อยกว่าอยูท่ ี่ ±0.5 ถึง 1.5°C แต่มชี ว่ งวัดอุณหภูมทิ กี่ ว้างถึง -200 ถึง +1372°C หรือมากกว่า Comark มีโพรบที่ใช้เซนเซอร์ทั้ง 2 ชนิด ให้เลือกตามความ ต้องการของงาน เลือกเทอร์มิสเตอร์ถ้าต้องการความแม่นย�ำสูง เลือก เทอร์โมคัปเปิ้ลส�ำหรับงานที่ต้องการช่วงวัดที่กว้าง และมีเทอร์โมมิเตอร์ รุ่นที่รองรับเซนเซอร์ได้ทั้ง 2 ชนิดด้วย

Comark RF500 System ระบบมอนิเตอร์อุณหภูมิแบบไร้สาย

Comark RF513/RF 516 ทรานส์มิตเตอร์

เป็นตัวเก็บข้อมูลตามจุดติดตั้งที่กระจายเพื่อวัดค่าต่าง ๆ แสดง ผลและส่งข้อมูลไปยังเกตเวย์ ● จอแสดงผล LCD ขนาดใหญ่ สามารถอ่านค่าที่ตัวเองได้ เช่น อุณหภูมิ ความชื้น (รุ่น RF513) หลายพารามิเตอร์ (รุ่น RF515) และการเปิ ด ปิ ด ประตู พร้ อ ม สถานะคลื่น RF และการแจ้งเตือน ● LED แสดงการท�ำงานของระบบ แจ้งเตือน ● สายอากาศ ● เลื อ กการแสดงผล °C or °F, %RH หรือ DP (รุ่น RF513) ● ขนาดเล็ก ตัวเครือ ่ งกันน�ำ้ เคลือบ ผิ ว ด้ ว ย BioCote ® ป้ อ งกั น แบคทีเรีย ● เซนเซอร์ ต รวจจั บ การเปิ ด -ปิ ด ประตู ● สายไฟเมน ● ขั้วต่อโพรบแบบ Lumberg ● แบตเตอรี่ถอดเปลี่ยนได้

Comark RF500A เกตเวย์

Vol.23 No.216 July-August 2016

Comark RF500 เป็นชุดเครื่องมือส�ำหรับมอนิเตอร์อุณหภูมิ (และความชื้น แล้วแต่รุ่น) หลาย ๆ จุดพร้อมกัน ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง/ 7 วัน ส�ำหรับติดตั้งในห้องแช่เย็น ห้องแช่แข็ง ตู้อบอาหาร ห้องประกอบ อาหาร โรงงาน รถขนส่ง ร้านค้า โดยส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลางด้วยระบบ ไร้สาย เพือ่ เก็บรวบรวมข้อมูลและประมวลผล สามารถแจ้งเตือนหากเกิด เหตุการณ์ไม่ปกติได้แบบ Real-Time

10

ระบบมอนิเตอร์อุณหภูมิแบบไร้สาย Comark RF500 ติดตั้ง ได้ง่าย ค่าใช้จ่ายต�่ำ โยกย้ายจุดติดตั้งตามการเปลี่ยนแปลงของโรงงาน ได้โดยสะดวก ในระบบประกอบด้วย ทรานสมิตเตอร์ และเกตเวย์

เป็นศูนย์กลางรับข้อมูลจากทรานส์มิตเตอร์ เพื่อรวบรวมและ ส่งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ ● เสาอากาศ ● LED แสดงการท�ำงานของระบบ แจ้งเตือน ● ความถี่ใช้งาน 2.4Ghz ● ช่องใช้งานสูงสุด 256 แชนเนล ● รองรับทรานส์มิตเตอร์ 64 ตัว 32 ต�ำแหน่ง ● ไม่จำ � เป็นต้องใช้ PC จ�ำเพาะ หรือ ซื้อซอฟต์แวร์เพิ่ม ● ใช้ เ ทคโนโลยี เ วบบราวเซอร์ ดู ข้ อ มู ล ได้ 24/7 ผ่ า น PC หรื อ สมาร์ทโฟน ● ระบบเป็นแบบโมดูลาร์ ปรับแต่ง ได้ตามความต้องการ ● ระบบแจ้งเตือนจากหลายเส้นทาง ● แบตเตอรี่แบ็กอัพ 1 ชั่วโมง


Cover Story โครงข่ายเน็ตเวิร์ก

ระบบมอนิเตอร์อุณหภูมิแบบไร้สาย Comark RF500 จะต่อ ท�ำงานร่วมกันเป็นโครงข่ายเน็ตเวิรก์ ซึง่ สามารถปรับเส้นทางการเชือ่ มต่อ สัญญาณได้เองอัตโนมัติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม เพื่อให้ แน่ใจได้ว่าข้อมูลจะถูกส่งไปยังเกตเวย์ได้เสมอ

Comark FoodPro, FoodProPlus เครือ่ งวัดอุณหภูมสิ ำ� หรับงานด้านความปลอดภัยอาหารโดยเฉพาะ

เส้นทางสัญญาณจาก B ไป D ถูกขวางด้วยประตู ระบบจะหาเส้นทางใหม่ จาก B ถึง F โดยอัตโตมัติ

รุ่นใหม่ Comark RF542 เครื่องมอนิเตอร์อุณหภูมิระยะไกล

Comark RF542 ใช้มอนิเตอร์อุณหภูมิผ่าน LAN หรือ WAN ได้ จากทุกที่ ตลอด 24/7 พร้อมแจ้งเตือนด้วย Email และ SMS เหมาะส�ำหรับ ภัตตาคาร โรงงานแปรรูปอาหาร ห้องเย็น ห้องแล็บ ธนาคารโลหิต คลินิค งานเภสัชกรรม มีจอ LCD แสดงอุณหภมิ ณ จุดที่ก�ำลังวัด ● วัดอุณหภูมิต่อเนื่อง 24/7 มีระบบแจ้งทาง Email และ SMS ● เลือกหน่วย °C/°F ® ● เทคโนโลยี BioCote ป้องกันการเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย เชือ้ รา

เป็นอินฟราเรดเทอร์โมมิเตอร์ ที่ออกแบบส�ำหรับการตรวจวัด อุณหภูมิในงาน HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point: ระบบวิเคราะห์อันตรายและหาจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม) ในอุตสาหกรรม อาหาร เป็นเครื่องมือส�ำหรับงานป้องกันอันดับแรก ๆ ของกระบวนการ ด้านอาหาร ช่วยให้การวัดอุณหภูมจิ ำ� นวนมากท�ำได้อย่างรวดเร็ว ไม่สบั สน โดยสามารถวัดอุณหภูมิพื้นผิวแบบไม่สัมผัส ด้วยอินฟราเรด นอกจากนี้ในรุ่น FoodPro Plus ยังเพิ่มความแม่นย�ำและความ สามารถในการวัดแบบสัมผัสโดยใช้โพรบ เพื่อวัดอุณหภูมิภายในได้ จอ แสดงผลมีไฟแสดงอุณหภูมิปัจจุบันและค่าสูงสุด มีฟังก์ชั่นจับเวลาการ เพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุณหภูมิ

Comark FoodPro Series ทั้ง 2 รุ่น ได้รับมาตรฐาน NSF (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ดา้ นการค�ำนึงถึงสุขภาพ ความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค และสิ่งแวดล้อม) ตัวเครื่องภายนอก ท�ำด้วยวัสดุมาตรฐาน IP54 ซึ่ง หมายถึงสามารถล้างน�้ำได้ (โดยใช้น�้ำไหลผ่าน)

Comark FoodPro มีฟังก์ชั่น HACCP ในตัว ส�ำหรับตรวจสอบ ช่วงอุณหภูมทิ ปี่ ลอดภัย ส�ำหรับการเก็บอาหารในตูเ้ ย็น หรือการอุน่ อาหาร โดยมี LED แสดงผลเป็นสี แสดงช่วงปลอดภัยด้วยสีเขียว ช่วงอันตราย

Vol.23 No.216 July-August 2016

ระบบแจ้งเตือนทันทีผ่าน หน้าจอ SMS อีเมลไปยัง PC หรือสมาร์ทโฟนและ แท็บเลต

11


Cover Story ด้วยสีแดง และมีไฟเล็งเป้าความสว่างสูง เพื่อช่วยให้วัดอุณหภูมิในพื้นที่ ที่แม่นย�ำยิ่งขึ้น รุ่น FoodPro ใช้งานง่าย รวดเร็ว เที่ยงตรงสูง เป็นเครื่องวัด อุณหภูมแิ บบไม่สมั ผัส วัดอุณหภูมพิ นื้ ผิวได้อย่างรวดเร็ว โดยไม่ตอ้ งเสีย่ ง กับการสัมผัสปนเปื้อนของอาหาร รุ่น FoodPro Plus มีโพรบวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส ส�ำหรับวัด อุณหภูมดิ า้ นใน พร้อมกับมีตวั จับเวลาการเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของอุณหภูมิ พร้อมเสียงเตือน ● ตรวจสอบ HACCP ได้ทันที ● ได้รับการรับรองมาตรฐาน NSF (มาตรฐานผลิตภัณฑ์ด้าน การค�ำนึงถึงสุขภาพ ความปลอดภัยต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม) ● มี ไ ฟส่ อ งพื้ น ที่ จุ ด วั ด อุ ณ หภู มิ เพิ่ ม ความสะดวกและความ แม่นย�ำ ● อ่านอุณหภูมิได้ตั้งแต่ -30°C ถึง 275 °C (-20°F ถึง 525°F) ● อ่านอุณหภูมิสูงสุด (รุ่น FoodPro Plus) ● มีฟังก์ชั่นนับเวลา (รุ่น FoodPro Plus) ● ล้างน�้ำได้ (IP54 Specification) ● มีไฟส่องดูจอในที่มืด ● อ่านอุณหภูมิได้ทั้ง °C และ °F ● ใช้งานต่อเนื่อง 10 ชั่วโมง ● ปลายโพรบถอดเปลี่ยนได้ (รุ่น FoodPro Plus)

Comark C22FKIT ชุดคิตพร้อมโพรบวัดอุณหภูมิอาหารส�ำหรับร้านอาหาร

● ● ● ●

ฟังก์ชั่น Hold ค่าวัด ปิดเครื่องอัตโนมัติ มียางหุ้มป้องกันในตัว เคลือบสารป้องกันแบคทีเรีย BioCote®

Comark DRF1 ดิจิทัลเทอร์โมมิเตอร์ส�ำหรับตู้เย็นและตู้แช่แข็ง

วัดอุณหภูมิได้ต�่ำถึง -20°C (-4°F) ออกแบบมาส�ำหรับใส่ไว้ใน ตู้เย็นหรือตู้แช่แข็งได้เลย เพื่อตรวจสอบอุณหภูมิการเก็บรักษาอาหารว่า ถูกต้องตามที่ก�ำหนดหรือไม่ เพื่อให้มีความปลอดภัยต่อการบริโภค ปกติ อุณหภูมใิ นช่องเก็บอาหารจะรักษาไว้ที่ +4°C / +40°F* และทีช่ อ่ งแช่แข็ง จะอยู่ที่ -18°C/0°F* ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -20°C to +50°C/-4°F to +122°F ● เลือกหน่วยวัดอุณหภูมิได้ทั้ง °C/°F ● กันน�้ำกันฝุ่นระดับ IP65 ช่วงอุณหภูมิแนะน�ำส�ำหรับช่องแช่เย็น คือ +0.5°C ถึง +4.5°C/ +33°F ถึง +40°F ช่วงอุณหภูมิแนะน�ำส�ำหรับช่องแช่แข็ง คือ -23°C ถึง -18°C/ -10°F ถึง 0°F

Vol.23 No.216 July-August 2016

Comark DT400 เทอร์โมมิเตอร์พกพาชนิดโพรบปลายเข็ม

12

Comark C22FKIT เป็ น เทอร์ โ มมิ เ ตอร์ ส� ำ หรั บ งานอาหาร รุ่น C22 ที่มีปุ่มกดใช้งานง่ายและหน้าจอ LCD ขนาดใหญ่ พร้อม โพรบวัดเทอร์โมคัปเปิล้ Type T ส�ำหรับการวัดอุณหภูมใิ นงานด้านอาหาร อย่างกว้างขวาง ตัง้ แต่ตน้ ทางอุตสาหกรรมการผลิตอาหารจนถึงผูบ้ ริโภค ใช้ขั้วต่อ Lumberg ที่สามารถต่อกับโพรบของ Comark และ Type T ได้ หลากหลาย ตัวเครื่องกันฝุ่นและน�้ำระดับ IP67 ● นับเวลาถอยหลัง ● แบตเตอรี่ใช้งานได้ยาวนาน 10 ปี ● นาฬิกาแสดงเวลาถาวร ● แสดงอุณหภูมิ °C หรือ °F

เป็นแบบเสียบวัดอุณหภูมิภายในด้วยปลายแหลม ขนาดพกพา มีจอแสดงผลดิจทิ ลั ส�ำหรับอ่านค่าอยูด่ า้ นบน พร้อมปุม่ จ�ำค่าวัดสูงสุด เพือ่ เปรียบเทียบกับอุณหภูมขิ ณะวัดได้ ทนทานสูง กันน�ำ้ เข้า ใส่ในเครือ่ งจาน ได้ ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -20°C ถึง +200°C /-4°F ถึง +400°F


Cover Story ● ● ● ● ● ● ●

ปลายโพรบเแหลมขนาด 1.5 มิลลิเมตร เลือกหน่วยวัดอุณหภูมิ °C/°F ความแม่นย�ำ ±0.5°C / ±1°F จ�ำค่าวัดอุณภูมิสูงสุดได้ สอบเทียบภาคสนามได้ ได้รับการรับรองมาตรฐาน NSF ปกป้องด้วยด้วยสารป้องกันแบคทีเรีย BioCote®

Comark KM14 เทอร์โมมิเตอร์พกพารุ่นทรหด ส�ำหรับเครื่องล้างจานอัตโนมัติ

Comark PDQ400 ดิจิทัลเทอร์โมมิเตอร์พกพารุ่นกันน�้ำ

Comark KM221 เทอร์โมมิเตอร์งานอาหารรุ่นประหยัด

ออกแบบมาส�ำหรับร้านอาหารพร้อมทาน ทีต่ อ้ งการความเชือ่ มัน่ และความถูกต้องของอุณหภูมอิ าหาร เพือ่ สุขภาพและความปลอดภัย ด้วย เครือ่ งวัดอุณหภูมทิ คี่ มุ้ ราคา ใช้งานง่ายด้วยปุม่ เดียว พร้อมโพรบวัดติดตัง้ ในตัว วัดอุณหภูมิได้ตั้งแต่ห้องฟรีซ ขบวนการปรุงอาหาร การอุ่น จนถึง การเสิร์ฟถึงโต๊ะอาหาร ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -30°C ถึง +110°C /-22°F ถึง +230°F ● แสดงอุณหภูมิเป็น °C อย่างเดียว ● ใช้เซนเซอร์ชนิดเทอร์มิสเตอร์

Vol.23 No.216 July-August 2016

เป็นเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิอาหารขนาดพกพารุ่นกันน�้ำ ที่มี รูปทรงเพรียวบางและมีโพรบปลายแหลม 1.5 มิลลิเมตร เพื่อการตอบ สนองทีร่ วดเร็ว เหมาะส�ำหรับพ่อครัวใช้ตรวจเช็กอุณหภูมอิ าหารทีป่ รุงเสร็จ เช่น แฮมเบอร์เกอร์ ตัวเครือ่ งกันน�ำ้ อย่างดี จึงใช้ได้ในทีม่ แี รงดันไอน�ำ้ หรือ หม้อทอดอาหาร มีปุ่มจ�ำค่าวัดเพื่อน�ำมาอ่านทีหลังได้สะดวก ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -20°C ถึง +200°C /-4°F ถึง +400°F ● ปลายโพรบแหลม 1.5 มิลลิเมตร ● ความแม่นย�ำ ±0.5°C /±1°F ● ตัวเครื่องกันน�้ำได้ ● ปิดเครื่องอัตโนมัติ ● บันทึกอุณภูมิสูงสุด ● จ�ำค่าวัดบนจอเพิ่มความสะดวกการอ่านค่า ● ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่เปียกชื้นได้ดี ● สอบเทียบภาคสนามได้ ● ได้รับการรับรองมาตรฐาน NSF ® ● ปกป้องด้วยสารป้องกันแบคทีเรีย BioCote

เป็นรุ่นที่ใช้โพรบสแตนเลสทนกัดกร่อน ใช้วัดอุณหภูมิในเครื่อง ล้างจานโดยวางไว้ในเครือ่ งได้เลย เพือ่ ตรวจสอบวงรอบอุณหภูมทิ ใี่ ช้ และ จ�ำค่าอุณหภูมิสูงสุดได้ โดยการอ่านอุณหภูมิขณะท�ำงาน เพื่อให้แน่ใจว่า อุณหภูมิถูกต้องเพียงพอต่อการท�ำความสะอาด นอกจากนี้ Comark KM14 ยังอเนกประสงค์ ใช้วดั อุณหภูมอิ าหาร โดยทั่วไปได้ มีฟังก์ชั่นบันทึกค่า Max/Min ได้ ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -20°C ถึง +200°C /-4°F ถึง +400°F ● ก้านวัดยาว 127 มิลลิเมตร/ 5 นิ้ว ● ความแม่นย�ำ ±1°C /±2°F ● กันน�้ำเข้า ใช้กับเครื่องล้างจานได้ ● ปิดเครื่องอัตโนมัติใน 30 นาที ● บันทึกค่าวัดอุณภูมิสูงสุด/ต�่ำสุด ● สอบเทียบภาคสนามได้ ● ได้รับการรับรองมาตรฐาน NSF ® ● ปกป้องด้วยสารป้องกันแบคทีเรีย BioCote

13


Cover Story Comark KM28B เทอร์โมมิเตอร์ชนิดเทอร์โมคัปเปิ้ล (Type K)

Vaisala เชื่อถือได้อันดับหนึ่ง เครื่องวัดและบันทึกข้อมูลอุณหภูมิ (Data Loggers)

บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด ยังเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายและบริการ สินค้าคุณภาพจาก Vaisala เรามีทีมวิศวกรที่เชี่ยวชาญ สามารถให้ ค�ำแนะน�ำปรึกษาในการเลือกเครือ่ งมือทีเ่ หมาะกับงาน ตลอดจนการดูแล หลังการขายอย่างต่อเนือ่ ง จึงมัน่ ใจได้เมือ่ ใช้เครือ่ งมือวัดจาก Vaisala โดย เมเชอร์โทรนิกซ์ เป็นเทอร์โมมิเตอร์ความแม่นย�ำสูง มีช่วงวัดอุณหภูมิที่กว้าง ส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรมอาหารและห้องครัวระดับอุตสาหกรรม ตัวเครือ่ ง หุม้ ยางป้องกันกระแทก กันน�ำ้ แบตเตอรีใ่ ช้งานได้ยาวนาน วัดได้ทงั้ หน่วย °C และ °F ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -40°C ถึง +500°C /-40°F ถึง +1000°F ● ใช้คอนเนกเตอร์แบบ Sub-Miniature ● รองรับโพรบได้หลากหลาย รวมทั้ง Type K ● ตัวเครื่องกันน�้ำ ท�ำความสะอาดปุ่มกดได้ ● พร้อมยางหุ้มป้องกัน รุ่น CRS/5 ● ปิดเครื่องอัตโนมัติ

Vol.23 No.216 July-August 2016

Comark AK28M โพรบวัดอุณหภูมิเทอร์โมคัปเปิ้ล Type K

14

เป็นโพรบแบบสายอ่อนเทอร์โมคัปเปิล้ Type K ความยาว 1 เมตร ส�ำหรับใช้กับเครื่องวัดอุณหภูมิรุ่น Comark KM28B ● ช่วงวัดอุณหภูมิ -100°C ถึง +250°C / -148°F ถึง +482°F ● ขั้วต่อ 2-Pin Sub-Miniature เสียบ-ถอดได้ง่าย ● ชนิดเซนเซอร์ เทอร์โมคัปเปิ้ล Type K Comark ยังมีเครื่องวัดอุณหภูมิส�ำหรับงานอุตสาหกรรมอาหาร อีกรายรุน่ รวมทัง้ ระบบมอนิเตอร์อณ ุ หภูมแิ ละความชืน้ ทีม่ คี วามสามารถ ใช้งานได้กับระบบคลาวด์ที่สะดวกคล่องตัว

Vaisala เป็นผู้น�ำเครื่องมือวัดด้านสิ่งแวดล้อมและอุตสาหกรรม ระดับโลก ที่ทุกคนล้วนได้สัมผัสกับผลงานและเทคโนโลยีจาก Vaisala ในชีวติ ประจ�ำวัน ด้วยประสบการณ์ยาวนานกว่า 70 ปีของ Vaisala ทีช่ ว่ ย เพิ่ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ผู ้ ค นให้ ดี ขึ้ น ด้ ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก งาน อุตสาหกรรมและสิง่ แวดล้อม มีความแม่นย�ำ ทนทานสูง เชือ่ ถือได้ระยะยาว

เครื่องวัดและบันทึกค่าอุณหภูมิและความชื้นแบบต่อเนื่องระยะ ยาว (data logging) ของ Vaisala มีความแม่นย�ำสูง มีคณ ุ สมบัตคิ รบถ้วน ตามข้อก�ำหนดของ FDA และ GxP ติดตั้งได้ง่าย เชื่อมต่อกับระบบ เน็ตเวิร์กทั้งแบบไร้สายด้วย WiFi และสาย LAN สามารถมอนิเทอร์ผ่าน อินเทอร์เน็ตได้จากทุกที่แบบ Real-Time


Cover Story ● ● ● ● ●

Vaisala HMT140 ดาต้าล็อกเกอร์อุณหภูมิและความชื้นระบบ Wi-Fi

วัดสัญญาณทั้งหลายด้วยความแม่นย�ำและเชื่อถือได้ ทนทานต่อฝุ่นละอองและสารเคมี มาตรฐาน IP65 มีรุ่นที่มีจอแสดงผล LCD ให้เลือก มีรุ่นติดผนัง และรุ่นแยกโพรบวัดระยะไกล มาตรฐาน NIST ตรวจสอบย้อนกลับได้ (พร้อมใบรับรอง) เหมาะส�ำหรับงานคลีนรูมและงานวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต (life science)

Vaisala DL2000 เครื่องเก็บบันทึกข้อมูลอุณหภูมิและความชื้นหลายแชนเนล

ส่งข้อมูลผ่าน ระบบ Wi-Fi

ระบบเน็ตเวิร์ก ที่ใช้อยู่

มอนิเตอร์ข้อมูล บันทึก แจ้งเตือน

Vaisala DL2000 Series เป็นเครื่องวัดและเก็บบันทึกข้อมูลหรือ ดาต้าล็อกเกอร์ส�ำหรับอุณหภูมแิ ละความชืน้ ทีอ่ อกแบบมาให้สอดคล้อง กับข้อก�ำหนดในงานอุตสาหกรรม/เภสัชกรรมโดยเฉพาะ ด้วยมาตรฐาน NIST-Traceable, ISO/IEC 17025 Calibration วัดค่าได้ตาม cGMPCompliant และบันทึกอุณหภูมิและความชื้นแบบคู่ขนาน (redundant recording) มอนิเตอร์ข้อมูล บันทึก แจ้งเตือน

ใช้งานร่วมกับ Veriteq Power over Ethernet เพื่อเชื่อมต่อกับ เน็ตเวิร์กที่มีอยู่ได้

วัดและบันทึกอุณหภูมิ และความชื้น

มอนิเตอร์ ระยะไกลผ่าน อินเทอร์เน็ต

แจ้งเตือนระยะไกล

รุ่น HMT140 เชื่อมต่อด้วย WiFi สะดวกติดตั้ง คุณสมบัติเด่น ● เชื่อมต่อด้วย Wi-Fi ไปยังระบบมอนิเตอร์ของ Vaisala ● ใช้ได้กับ Wi-Fi Access Points เดิมที่มีอยู่ได้เลย ● ท�ำงานอัตโนมัติ มีระบบแจ้งเตือนในพื้นที่แม้ไม่ได้เชื่อมต่อ กับเน็ตเวิร์ก ● เก็ บ ข้ อ มู ล ในตั ว เอง เพื่ อ ความต่ อ เนื่ อ งและปลอดภั ย ของ ข้อมูลเวลาระบบมีปัญหา ● แบตเตอรี่ท�ำงานต่อเนื่องได้ 18 เดือน ● ใช้เซนเซอร์วด ั ความชืน้ รุน่ HUMICAP® 180R ทีม่ เี ทคโนโลยี Vaisala HUMICAP® ถอดเปลี่ยนได้เพื่อความสะดวกในการสอบเทียบ ● มี 2 อินพุต ส�ำหรับแรงดัน กระแส หน้าสัมผัส RTDs หรือ อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (RH)

ตู้แช่เย็นจัด

ตู้เย็น

เตาอบ

แจ้งเตือน ระยะไกล ทางโทรศัพท์

รุ่น DL2000 วัดได้หลายจุดพร้อมกัน มาตรฐาน cGMP คุณสมบัติเด่น ● เป็นดาต้าล็อกเกอร์ที่วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในตัว ขนาดพกพา ส�ำหรับสภาพแวดล้อมวิกฤต ● มีเซนเซอร์ภายในตัว และหน่วยความจ�ำ พร้อมแบตเตอรี่ใช้ งานได้นาน 10 ปี ● มี ช ่ อ งต่ อ อิ น พุ ต ภายนอกส� ำ หรั บ วั ด แรงดั น หรื อ กระแส ใช้ บันทึกความดันต่างระดับ จ�ำนวน ความน�ำไฟฟ้า หรือ CO2 ได้

Vol.23 No.216 July-August 2016

Vaisala HMT140 เป็นดาต้าล็อกเกอร์แบบไร้สาย ส�ำหรับวัดและ เก็บข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้น และสัญญาณอะนาล็อก ในงานมอนิเตอร์ สภาพแวดล้อมในห้องคลังสินค้า ห้องแช่แข็งอาหาร ถังแช่แข็งด้วย ไนโตรเจน ห้องปฏิบัติการ ธนาคารโลหิต งานทางวิทยาศาสตร์อื่น ๆ โรงพยาบาล ดาต้าเซนเตอร์ คลีนรูม โรงงานชิน้ ส่วนอิเล็กทรอนิกส์ โรงงาน ผลิตอาหาร

15


Cover Story ● ● ● ● ● ●

มีช่องต่อเสริมส�ำหรับสวิตช์ประตู หรือหน้าสัมผัสสัญญาณเตือน ทนทานต่อการถูกงัดแงะ ปลอดภัยต่อข้อมูลที่บันทึกในงานตรวจสอบมาตรฐาน พร้อมระบบป้องกันด้วยพาสเวิร์ดในการตั้งค่า ดาวน์โหลด และสอบเทียบข้อมูล ความแม่นย�ำการวัดอุณหภูมิ และ RH ระดับเครื่องมือวัดที่ตรวจสอบย้อนกลับได้ (traceable instrument-grade) ปรับช่วงเวลาการเก็บบันทึกข้อมูลได้ พร้อมความสามารถบันทึกข้อมูลต่อเนื่องได้นานหลายปี เซนเซอร์คุณภาพสูง ระดับเดียวกับดาต้าล็อกเกอร์ที่ใช้ในงานสอบเทียบ

Vaisala DL1000/1400 เครื่องเก็บบันทึกข้อมูลอุณหภูมิและความชื้น 2 และ 4 แชนเนล

ใช้เก็บบันทึกค่าอุณหภูมติ อ่ เนือ่ ง เพือ่ การมอนิเตอร์ แจ้งเตือน บันทึกเงือ่ นไขสภาพแวดล้อม เช่น ในคลังเวชภัณฑ์ ห้องแล็บงานวิจยั โรงพยาบาล ห้องเย็น ห้องแช่แข็ง ตู้แช่เย็นจัด เป็นต้น ● มีให้เลือก 2 แชนเนล (รุ่น DL1000) และ 4 แชนเนล (รุ่น DL1400) ● คุณสมบัติได้มาตรฐานตามข้อก�ำหนดของ GxP และ ISO/IEC 17025 ● พร้อมใบรับรอง NIST-Traceable ● แบตเตอรี่ใช้งานต่อเนื่องยาวนาน 10 ปี ด้วยหน่วยความจ�ำในตัว ● พร้อมเชื่อมต่อกับระบบเน็ตเวิร์ก เพื่อมอนิเตอร์และบันทึกข้อมูลส�ำรองภายนอก Vaisala ยังมีเครื่องมือตรวจวัดส�ำหรับงานอุตสาหกรรมและสิ่งแวดล้อมรุ่นอื่น ๆ อีกจ�ำนวนมาก สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่: คุณวิชัย 08-1934-2570 wichai@measuretronix.com

Vol.23 No.216 July-August 2016

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

16

2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com


ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”

ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ

CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง

 

ISO 14001

ISO/IEC 17025

ISO 9001 TQM

Consultancy Services and Training

ISO/TS 16949

Consult

QS 9000

HACCP

TIS 18001

5S 

Pre-assessment Audit

QCC

ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา

CCT SQUARE CO., LTD.

1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com

In-house Training


Q

System for

uality

Trend for Food of Life


Q

Trend for

uality

ลดต้นทุนด้วยการลดความสูญเปล่า วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com

ใน

บทความฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้ให้แนวทางในการลดต้นทุนว่า การลดต้ น ทุ น ที่ ดี ต ้ อ งเป็ น การลดต้ น ทุ น ในระยะยาวและ ไม่กระทบกับคุณภาพ ผู้อ่านหลายท่านคงเริ่มมีค�ำถามกันแล้วว่า มีต้นทุนประเภทนี้ ด้วยหรือ ??? หากพิจารณาการท�ำงานในแต่ละวัน พบว่า ในการท�ำงานใด จะมีขั้นตอนงานหรือกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดมูลค่ากับงานรวมอยู่เสมอ หรืออีกนัยหนึ่ง ก็คือ เราใช้ความพยายามลงไปในการท�ำงานมาก แต่ กลับได้ผลลัพธ์ของงานไม่คมุ้ ค่ากับสิง่ ทีใ่ ห้ไป ซึง่ ในภาษาญีป่ นุ่ เรียกว่า Muda หรือ ความสูญเปล่า ตัวอย่างเช่น การท�ำส�ำเนาเอกสารอบรมไว้ 40 ชุด แต่มผี เู้ ข้าอบรมเพียง 25 คน ผลิตสินค้าจ�ำนวน 100 ชิน้ แต่พบว่ามีสนิ ค้าทีข่ ายได้เพียง 87 ชิน้ ค้นหาแฟ้มเอกสารรายงานในตู้เก็บเอกสาร เดินไปสอบถามสถานะการผลิตที่สายการผลิต พนักงานสายการผลิตรอการซ่อมเครื่องจักร

ซึง่ หากเราสามารถก�ำจัดกิจกรรมทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดมูลค่าเหล่านีไ้ ด้ ก็เป็นการลดต้นทุนที่ไม่กระทบคุณภาพ แถมยังช่วยให้คุณภาพดีขึ้น ด้วย จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าความสูญเปล่ามักแฝงตัวอยู่ กับการท�ำงานโดยที่เรามักไม่รู้ตัว ดังนั้น โตโยต้า จึงได้ท�ำการศึกษา และจ�ำแนกความสูญเปล่าในโรงงานไว้ 7 ประการหรือทีร่ จู้ กั ในชือ่ ของ 7 Wastes ได้แก่ ➲ การผลิตเกินจ�ำเป็น ➲ Over Production ➲ การเก็บสต็อกที่มากเกิน ➲ Excess Inventory ➲ การขนย้ายที่ไม่จ�ำเป็น ➲ Unnecessary Transportation ➲ การเคลื่อนไหวที่ไม่จ�ำเป็น ➲ Unnecessary Motion ➲ การรอคอย ➲ Waiting ➲ ขั้นตอนเกินจ�ำเป็น ➲ Over Processing ➲ ข้อบกพร่อง ➲ Defect for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

19


Trend

Vol.23 No.216 July-August 2016

ภายหลัง James Womack ได้ไปท�ำการศึกษาระบบการผลิต ของโตโยต้าและเรียกเป็นระบบการผลิตแบบลีน Lean พร้อมกับเพิ่ม ความสูญเปล่าขึ้นมาอีก 1 อย่าง นั่นก็คือ การใช้งานทรัพยากรมนุษย์ ต�่ำกว่าความสามารถ (underutilization human resource) ท�ำให้ ปัจจุบันกลายเป็น 8 Waste ในความสูญเปล่าทั้งหมดนั้น การผลิตเกินจ�ำเป็น เป็นตัวที่ ส�ำคัญที่สุด การผลิตเกินจ�ำเป็น หมายถึง การผลิตสินค้าหรือชิน้ ส่วนทีไ่ ม่มี ค�ำสั่งซื้อหรือความต้องการของลูกค้า ซึ่งอาจเกิดจากการที่องค์การ ต้องการผลิตเพือ่ น�ำไปส�ำรองไว้ หรือเป็นการผลิตเกินค�ำสัง่ ซือ้ เนือ่ งจาก การปรับตัง้ เครือ่ งจักรมีความซับซ้อนและใช้เวลานาน เมือ่ มีการปรับตัง้ แล้วจึงจ�ำเป็นต้องผลิตในปริมาณมาก ๆ หลายคนอาจมองว่า การผลิตเผือ่ ไว้เป็นสิง่ ทีด่ ี เพราะเมือ่ ลูกค้า ส่งจะได้มีของส่งได้ทันที อีกทั้งท�ำให้ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยลดลง เนื่องจากมีการผลิตในปริมาณเยอะ ๆ ครั้งเดียว ส่วนที่เหลือจาก ค�ำสั่งซื้อก็ท�ำการเก็บไว้ รอส่งให้ในค�ำสั่งซื้อรอบถัดไป แต่โตโยต้ากลับมองว่า การผลิตเกินจ�ำเป็นเป็นความสูญเปล่า เพราะการผลิตเกินจ�ำเป็นนั้นเป็นที่มาของความสูญเปล่าตัวถัด ๆ ไป เพราะเมื่อผลิตเกินจ�ำเป็นแล้ว ก็ต้องหาที่ในการเก็บรักษา ต้องมีการ ขนย้ายสินค้าจากสายการผลิตเข้าที่เก็บ พนักงานต้องเสียแรงในการ ยกสินค้าและอาจเกิดความเสียหายต่อสินค้าได้ จะเห็นได้ว่ากิจกรรม ต่าง ๆ ที่ตามมาก่อให้เกิดต้นทุนที่ไม่จ�ำเป็นขึ้นมากมาย หลายคนอาจมองว่า ถ้าไม่ผลิตเผื่อไว้ จะท�ำให้ส่งของไม่ทัน เพราะมีของเสีย ใช้เวลาในการปรับตั้งเครื่องนาน มีต้นทุนการผลิตต่อ หน่วยที่สูง ก่อให้เกิดปัญหาตามมามากมาย จึงท�ำการผลิตเผื่อไว้ก่อน

20

เปรียบเสมือนเรือที่แล่นอยู่ในแม่น�้ำ และปัญหาต่าง ๆ คือ สิ่งกีดขวาง ถ้าต้องการจะแล่นเรือผ่านไปให้ได้ก็ต้องเติมน�้ำให้เรือลอย เหนือสิ่งกีดขวาง แต่โตโยต้า กลับมองในทางกลับกัน แทนที่จะเติมน�้ำให้เรือแล่นได้ กลับเอาน�้ำออก เพื่อให้มองเห็น สิ่งกีดขวางต่าง ๆ แล้วจัดการกับสิ่งกีดขวางเหล่านั้น เพื่อให้เรือแล่น ต่อไปได้

ผลิตเพื่อ ปัญหา ปัญหา

ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา ปัญหา

แก้ไขปัญหาโดยการเติมน�้ำให้ลอยเหนือปัญหา

ปัญหา

ปัญหา

ปัญหา

แก้ไขปัญหาโดยการลดน�้ำและจัดการกับปัญหา นั่นก็คือ ถ้าไม่ผลิตเผื่อไว้แล้วจะต้องท�ำอย่างไรจึงจะสามารถ ผลิตได้ทนั ตามความต้องการลูกค้า ท�ำอย่างไรจึงปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักร ได้เร็ว ไม่ก่อให้เกิดปัญหา และท�ำอย่างไรจึงท�ำให้ต้นทุนการผลิตถูก


Trend

จะเห็นได้ว่าแนวคิดของการลดต้นทุนด้วยการก�ำจัดความ สูญเปล่าเป็นเรื่องง่าย ๆ ที่อยู่รอบ ๆ ตัวเราในการท�ำงาน แต่กลับถูก มองข้ามไปและเลือกที่จะลดต้นทุนที่มีผลกระทบต่อคุณภาพแทน วันนีท้ า่ นได้กำ� จัดความสูญเปล่าในงานท่านแล้วหรือยัง ?

Vol.23 No.216 July-August 2016

ผลที่ตามมา ก็คือ โตโยต้าคิดเทคนิคต่าง ๆ ในการปรับปรุง สายการผลิตให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือค�ำสั่งซื้อ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบที่ไม่ผลิตของเสีย (jidoka) การผลิตตาม Takt Time การลดเวลาในการปรับตัง้ โดยเทคนิค Single Minute Exchange Die: SMED เกิดเป็นระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี Just In Time: JIT ดังนั้น หากสามารถผลิตเท่าที่จ�ำเป็นจะท�ำให้ความสูญเปล่า ตัวอื่น ๆ ลดลงหรือหายไปโดยอัตโนมัติ อีกทั้งยังเป็นการปรับปรุง กระบวนการให้ดีขึ้นด้วย นอกจากนี้หลายคนเข้าใจว่า แนวคิดของความสูญเปล่าทั้ง 8 ประการ นี้ สามารถใช้ได้กบั เฉพาะงานในสายการผลิตหรืองานโรงงาน เท่านั้น แต่ในความเป็นจริง แนวคิดดังกล่าวสามารถน�ำไปใช้กับการ ท�ำงานทุกประเภท ไม่จ�ำเป็นต้องเป็นงานในสายการผลิตเท่านั้น (ถึง แม้ว่าโตโยต้าจะสร้างแนวคิดนี้จากสายการผลิต) เช่น งานขาย งาน บุคคล งานจัดซื้อ งานเลขานุการ ซึ่งบางครั้งเราจะเรียกงานกลุ่มนี้ว่า งานธุรการ งานส�ำนักงาน (งาน office) หรืองานเอกสาร

ตัวอย่างความสูญเปล่าส�ำหรับงานส�ำนักงาน ● การผลิตเกินจ�ำเป็น ● การจัดท�ำส�ำเนาเอกสารไว้มาก เกินไป เตรียมเขียนเอกสารไว้ ล่วงหน้า ● การเก็บสต็อกที่มากเกิน ● เอกสารกองรออยู ่ บ นโต๊ ะ ท�ำงาน เอกสารในชั้นวาง ● การขนย้ายที่ไม่จ�ำเป็น ● เดินถือเอกสารไปส่งให้กบ ั ส่วน งานที่เกี่ยวข้อง ● การเคลือ ่ นไหวทีไ่ ม่จำ� เป็น ● การค้นหาเอกสารต่าง ๆ ใน ชั้นวาง ● การรอคอย ● รอการเซ็นอนุมัติเพื่อด�ำเนิน การต่อ ● ขั้นตอนเกินจ�ำเป็น ● การเซ็ น อนุ มั ติ เ อกสารบาง ประเภทที่ไม่ส�ำคัญแต่ต้องมี การอนุมัติตั้งแต่ระดับล่างสุด ไปจนถึงสูงสุด เช่น ใบลาป่วย ใบขอนุ มั ติ อ อกนอกพื้ น ที่ โรงงานในเวลาท�ำงาน ● ข้อบกพร่อง ● ท�ำรายงานผิด สัง ่ พิมพ์เอกสาร ผิด ● การใช้งานทรัพยากร ● ใช้วิศวกรพิมพ์งานเอกสาร มนุษย์ต�่ำกว่า ความสามารถ

21


Q

for Food for

uality

หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า

ตามแนวทางของ AIB

ตอนที่ 10 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices

ต่อจากฉบับที่แล้ว

แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com

5.11 โปรแกรมการควบคุมสารก่อ ให้เกิดภูมิแพ้ โปรแกรมการควบคุมสารก่อ ให้เกิดภูมิแพ้ ซึ่งมีการชี้บ่งและควบคุมสารที่ ก่อให้เกิดภูมิแพ้ตลอดทั้งกระบวนการจาก การรั บ เข้ า จนถึ ง การกระจายสิ น ค้ า การ ประเมินความเสีย่ งของการรับเข้าวัตถุดบิ การ จัดเก็บและการจัดการซึง่ มีการชีบ้ ง่ สารก่อให้ เกิดภูมิแพ้ การประเมินการปนเปื้อน และ ระเบียบปฏิบัติเพื่อป้องกันการปนเปื้อนข้าม ของผลิตภัณฑ์อาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.11.1 มีโปรแกรมการควบคุมสาร ก่อให้เกิดภูมิแพ้ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่ แสดงรายการสารก่อให้เกิดภูมิแพ้ในการจัด

22

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

เก็บตามกฎหมายท้องถิ่น 5.11.2 ระเบียบปฏิบัติ ประกอบด้วย ➲ การชี้บ่งและการคัดแยกสารก่อ ให้ เ กิ ด ภู มิ แ พ้ ร ะหว่ า งการจั ด เก็ บ และการ จัดการบนพื้นฐานของการประเมินที่ด�ำเนิน การโดยโรงงาน ➲ การป้ อ งกั น การปนเปื ้ อ นข้ า มที่ สัมผัสหรือปนเปือ้ นระหว่างการจัดเก็บโดยใช้ มาตรการ เช่น ➠ การควบคุมการท�ำซ�้ำ Rework ➠ การบริ ห ารจั ด การอุ ป กรณ์ แ ละ ของใช้ ➲ การฝึกอบรมและการให้ความรู้ เพื่อให้พนักงานเกิดความตระหนัก

ก� ำ หนดระเบี ย บปฏิ บั ติ ใ นการ ท�ำความสะอาดเพือ่ ก�ำจัดการรัว่ ไหล ป้องกัน การปนเปื้อนของสารก่อให้เกิดภูมิแพ้ หรือ การปนเปื ้ อ นข้ า ม ซึ่ ง มี ก ารระบุ โ ดยการ ประเมินความเสีย่ งและโปรแกรมการควบคุม สารก่อให้เกิดภูมิแพ้ 5.11.3 โปรแกรมต้องถูกท�ำให้ทันสมั ย เมื่ อ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงในผลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหาร 5.12 โปรแกรมแก้ ว พลาสติ ก ที่ เปราะง่าย และเซรามิก มีโปรแกรมสนับสนุน ที่เป็นขั้นตอนในเชิงรุกเพื่อป้องกันการปนเปื้อนจากแก้ว พลาสติกที่เปราะง่าย และ เซรามิก ➲


ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.12.1 มีโปรแกรมแก้ว พลาสติกที่ เปราะง่าย และเซรามิกที่เป็นลายลักษณ์ อักษร ซึ่งรวมถึงการด�ำเนินการตามนโยบาย ดังนี้ ➲ ไม่มีการใช้งานแก้ว พลาสติกที่ เปราะง่าย และเซรามิก เว้นแต่มคี วามจ�ำเป็น หรือกรณีไม่สามารถน�ำออกได้ในทันที ➲ ไม่ มี ก ารน� ำ มาใช้ ง านส� ำ หรั บ แก้ว พลาสติกทีเ่ ปราะง่าย และเซรามิก ทีเ่ ป็น ของใช้ส่วนตัว 5.12.2 ระเบียบปฏิบัติ ประกอบด้วย ➲ การจัดการกรณีที่มีการแตกหัก (รวมถึงจุดจัดเก็บแก้ว พลาสติกที่เปราะง่าย และเซรามิก) ➲ ขึ้นทะเบียน/รายการแก้ว พลาสติกที่เปราะง่าย และเซรามิก ➲ แผนการตรวจสอบแก้ว พลาสติก ที่เปราะง่าย และเซรามิก เพื่อตรวจเช็คการ แตกหักหรือเสียหาย 5.13 โปรแกรมการท�ำความสะอาด มีแผนและระเบียบปฏิบัติส�ำหรับโปรแกรม การท�ำความสะอาด ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับ การรั ก ษาความปลอดภั ย ของอาหารจาก สิ่งแวดล้อม ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.13.1.1 มีโปรแกรมการท�ำความ สะอาดที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5.13.1.2 โปรแกรมการท� ำ ความ

สะอาดที่เป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งรวมถึงการ ปฏิบัติตามแผน ➲ A Master Cleaning Schedule (MCS) for Periodic Cleaning Assignments ➲ A Housekeeping Schedule for Daily Cleaning Assignments 5.13.1.3 Master Cleaning Schedule ต้องรวมถึงอุปกรณ์ทั้งหมด โครงสร้าง อาคาร และสนามหญ้า ที่มีผลกระทบต่อ ผลิตภัณฑ์อาหาร MCS ต้องเป็นปัจจุบนั และ ถูกต้อง ประกอบด้วย ➲ Frequency of Activities ➲ Personnel Responsible ➲ Post-Cleaning Evaluation Techniques, which could Include Visual

Examination 5.13.1.4 โปรแกรมการท� ำ ความ สะอาดที่เป็นลายลักษณ์อักษร ต้องรวมถึง อุปกรณ์ทั้งหมด โครงสร้างอาคาร และสนาม หญ้า ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดเก็บ กระบวนการผลิ ต และบรรจุ ภั ณ ฑ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ อาหาร 5.13.1.5 ระเบียบปฏิบตั เิ กีย่ วกับการ ท�ำความสะอาดอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ ➲ Chemicals ➲ Chemical Concentrations ➲ Tools ➲ Disassembly Instructions ข้อก�ำหนดรอง 5.13.2.1 การท�ำความสะอาดโดย ทั่วไปจะแบ่งเป็น 3 ส่วน และระยะเวลาที่ เหมาะสม ➲ Daily (Housekeeping Schedule) ➲ Periodic (Master Cleaning Schedule) ➲ Maintenance (Master Cleaning Schedule)

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.23 No.216 July-August 2016

for Food

23


Q

of Life for

uality

รูจ้ กั โรคอารมณ์สองขัว้

หรือไบโพลาร์ ! แพทย์หญิงวิลาวัลย์ กำ�จรปรีชา จิตแพทย์ โรงพยาบาลหัวเฉียว

ปัจจุบัน

หากได้ตดิ ตามข่าว ในสื่อต่าง ๆ คงมี โอกาสได้ยินเกี่ยวกับโรคไบโพลาร์ โดยสิ่งที่ น่าเป็นห่วง ก็คือ สังคมมักจะมีความคิดว่า ถ้าใครมีลักษณะผิดมักสันนิษฐานว่า “นี่เป็น ไบโพลาร์หรือเปล่า” ซึ่งคงไม่ยุติธรรมกับ คนไข้ที่เป็นไบโพลาร์เท่าไร และในความเป็น จริง ไบโพล่าร์คือโรคอะไร ไบโพลาร์ หรืออารมณ์สองขั้ว คือ โรคที่มีความผิดปกติของอารมณ์เป็น 2 ขั้ว มี ทั้งช่วงที่อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวกว่าปกติ (mania) และบางช่วงที่อารมณ์ซึมเศร้ามากผิด ปกติ (depressed) ฉะนัน้ เดิมจึงเรียกโรคนีว้ า่ Manic-Depressive Disorder แต่บางคนมี อารมณ์ดี หรือก้าวร้าวผิดปกติอย่างเดียว โดย ไม่ มี อ ารมณ์ ซึ ม เศร้ า ก็ ไ ด้ โรคนี้ พ บได้ ใ น ประชากรทั่วไปประมาณร้อยละ 3 ซึ่งนับว่า บ่อยทีเดียว โดยมักเริ่มมีอาการในช่วงวัย

24

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

ผู้ใหญ่วัยต้น พบได้ทั้งในผู้หญิงและผู้ชายใน อัตราทีเ่ ท่ากัน มักเริม่ มีอาการในช่วงวัยผูใ้ หญ่ ตอนต้น และมักพบร่วมกับปัญหาสุขภาพจิต หรื อ ภาวะในทางจิ ต เวชอื่ น ด้ ว ย ไม่ ว ่ า จะ เป็นการใช้สารเสพติด ภาวะเครียด หรือโรค วิตกกังวล อีกทั้งยังพบว่าโรคนี้ท�ำให้ผู้ป่วยมี อัตราการพยายามฆ่าตัวตายสูงกว่าประชากร ทั่วไปอย่างชัดเจน อาการของโรค มี 2 ช่วง คือ ช่วงที่ อารมณ์ซึมเศร้า มีอาการเบื่อหน่ายท้อแท้ ไม่ อยากท�ำอะไร มองทุกอย่างในแง่ลบ เรีย่ วแรง ลดลง มีความคิดอยากตาย ซึ่งมีไม่น้อยที่น�ำ ไปสูก่ ารท�ำร้ายตนเองและฆ่าตัวตาย และช่วง ทีอ่ ารมณ์ดี หรือก้าวร้าว เชือ่ มัน่ ในตนเองมาก รูส้ กึ ว่าตนมีความส�ำคัญ หรือมีความสามารถ มาก เรี่ยวแรงเพิ่ม นอนน้อยกว่าปกติโดย ไม่มีอาการเพลีย พูดเร็ว พูดเยอะ ความคิด แล่ น เร็ ว มี ห ลายความคิ ด เข้ า มาในสมอง

สมาธิ ล ดลง เปลี่ ย นเรื่ อ งพู ด หรื อ ท� ำ อย่ า ง รวดเร็ว ตอบสนองต่อสิ่งเร้าง่าย ท�ำให้ไม่ สามารถท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บาง รายจะหงุดหงิดก้าวร้าวจนถึงทะเลาะ หรือ ท�ำร้ายร่างกายผูอ้ นื่ ในรายทีม่ อี าการมากอาจ มีอาการของโรคจิตร่วมด้วย หลายท่านสงสัย ว่า ในคนปกติกอ็ าจมีอาการขึน้ ลงของอารมณ์ มากบ้างน้อยบ้างตามนิสัยแล้วเมื่อไหร่จึง เรียกว่าผิดปกติหรือเป็นโรค การจะบอกว่า ป่วยแน่นอนต้องใช้เกณฑ์การวินจิ ฉัยจากแพทย์ โดยควรปรึกษาแพทย์เมื่อมีอาการขึ้นลงของ อารมณ์มากกว่าคนทั่วไป หรือมากกว่าปกติ ของคนนั้นเป็นเวลาติดต่อกันนาน 4-7 วัน มี ความผิดปกติของการกินการนอนร่วมด้วย และกระทบต่อการท�ำงาน หรือความสัมพันธ์ กับคนรอบข้าง โดยทั่วไปแพทย์จะรักษาโดย การให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับโรคและโดยการให้ ยา รวมถึงการดูแลตนเองในด้านต่าง ๆ ควบคู่ ไปด้วย ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่อาการจะดีขึ้นใน 2-8 สัปดาห์ และกลับไปใช้ชีวิตประจ�ำวันได้ แต่ในบางรายอาจต้องให้ทำ� จิตบ�ำบัดร่วมด้วย เพือ่ ขจัดความเครียด และลดความขัดแย้งกับ คนรอบข้างที่เป็นสาเหตุของความเครียด โรคนี้ มี อั ต ราการเป็ น ซ�้ ำ สู ง มากถึ ง 90% เพราะฉะนัน้ โดยทัว่ ไปหลังจากหายแล้ว แพทย์มักแนะน�ำให้กินยาต่ออย่างน้อย 1 ปี เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ�้ ำ หรืออาจนาน กว่านี้ ทั้งนี้ขึ้นกับจ�ำนวนครั้งที่เคยเป็นและ ความรุนแรงในครัง้ ก่อน ๆ ยาไม่ได้ทำ� ให้สมอง เสื่อมลง แต่การป่วยซ�้ำหลาย ๆ ครั้งท�ำให้ สมองแย่ลงได้


Q

Management for

uality

Finance Report Marketing & Branding People Idol & Model


Q

Finance for

uality

“Alibaba” บุกAEC

เมือ่

รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

เมื่อ

ช่วงวันสงกรานต์ทผี่ า่ นมามีขา่ ว ใหญ่ปรากฏออกมาว่า “Alibaba” ซึ่งเป็นเว็บไซต์ e-Commerce ที่ใหญ่ที่สุดใน โลก ได้ตกลงซื้อกิจการของ “Lazada” ใน สิงคโปร์คดิ เป็นมูลค่าถึง 1,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ “Lazada Group SA” เป็น “Online Shopping” ทีม่ เี ครือข่ายกว้างขวางในประเทศ ต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิกอาเซียน คือ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม และ ไทยที่มีประชากรรวมกันถึง 560 ล้านคน ซึ่ง ก็คือประชากรส่วนใหญ่ของกลุ่มอาเซียนที่มี ประชากรรวมกว่า 600 ล้านคนนั่นเอง ในจ�ำนวนประชากร 560 ล้านคนใน ห้าประเทศหลักของกลุ่มอาเซียนดังกล่าว มี ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพียงประมาณ 200 ล้านคน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของจ�ำนวนประชากร รวมเท่านั้น ท�ำให้โอกาสขยายการใช้อินเทอร์เน็ตยังมีอีกมาก

26

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

ไม่เพียงเท่านัน้ การซือ้ ขายสินค้าแบบ “Online” ในอาเซียนมีเพียง 3% ของยอดการ ค้าปลีกรวมของภูมิภาคนี้เท่านั้น ท�ำให้ eCommerce มีโอกาสขยายตัวได้อีกมากมาย เพราะขณะนี้ยังเป็นเพียง “หน่ออ่อน” เล็ก ๆ เท่านั้น การที่ อ าเซี ย นเป็ น กลุ ่ ม ก้ อ นแบบ ภูมภิ าคนิยมทีม่ คี วามใกล้ชดิ กับจีนในหลากหลายมิติ ท�ำให้ “Alibaba” เลือกเว็บไซต์ ค้าปลีกในภูมภิ าคนีเ้ ป็นแหล่งขยายตัวสูส่ ากล เพิ่มขึ้นเพราะ “Alibaba” เองเริ่มอิ่มตัวใน ประเทศแม่ของตัวเอง


เท่าทีเ่ ป็นอยูก่ ว่า 80% ของรายได้ของ “Alibaba” ได้จากธุรกิจ Online ค้าปลีกใน ประเทศจีนเอง (ปี 2015) ท�ำให้บริษทั เริม่ มอง ตลาดต่างประเทศเป็นแหล่งขยายกิจการของ ตน โดยใช้ธุรกิจในประเทศแม่ของตัวเองเป็น “ฐานที่มั่น” ส�ำคัญ การทีก่ ลุม่ อาเซียน “เข้าตา” “Alibaba” นั้น มาจากเหตุผลหลายประการด้วยกัน เช่น ประการแรก อาเซียนมีความใกล้ชิด ทางภูมิศาสตร์กับแผ่นดินมังกรมาก โดยมี ประเทศในอาเซียนหลายประเทศ เช่น เวียดนาม เมียนมาร์ และ สปป.ลาว ที่มีชายแดนติดต่อ กับเวียดนามได้โดยตรงขณะที่กัมพูชาและ ไทยที่อยู่ในอาเซียนแผ่นดินใหญ่ (Mainland ASEAN) ด้วยกัน ก็ตั้งอยู่ห่างกันไม่มาก ทางด้านสมาชิกอาเซียนทีอ่ ยูใ่ นทะเล (Maritime ASEAN) เช่น อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ ส่วนใหญ่ของมาเลเซียและบรูไนก็ตงั้ อยู่ใกล้จีนมากเช่นกัน ประการทีส่ อง จีนและสมาชิกอาเซียน มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันมาช้านาน ใน ประวัตศิ าสตร์โดยผ่านด้านต่าง ๆ เช่น การไป มาหาสูข่ องประชากรทัง้ สองแหล่ง โดยทีก่ ลุม่ อาเซียน คือ อาณาบริเวณที่มีคนเชื้อสายจีน อยู่มากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก และมีประชากร เชื้อสายจีนในสัดส่วนที่สูงมากเมื่อเทียบกับ

ประชากรทั้งหมดของประเทศเหล่านั้น ในอดี ต การค้ า “ส� ำ เภา” ระหว่ า ง สมาชิกอาเซียนกับจีน คือ ที่มาส�ำคัญของ ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจในรัฐต่าง ๆ ของ ภูมิภาคอุษาคเนย์ (Southeast Asia) ประการที่สาม ปัจจุบันอาเซียนและ จีน มีความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกันมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการค้าต่างประเทศ โดยกลุ่มอาเซียนมีมูลค่าการค้ากับจีนสูงเป็น อันดับที่ 3 ของจีน เป็นรองเฉพาะการค้า ระหว่างจีนกับสหรัฐและยุโรปเท่านั้น นอกจากนี้การลงทุนระหว่างกันและ กันของอาเซียนกับจีนก็มีมากเช่นกัน ในช่วง ก่อนหน้านี้ อันเป็นช่วงทีจ่ นี ภายใต้การน�ำของ “เติ้งเสี่ยวผิง” ได้ด�ำเนินนโยบายเปิดประเทศ (open-door policy) ใหม่ ๆ เมือ่ กว่า 3 ทศวรรษ ที่แล้ว นักธุรกิจจากกลุ่มอาเซียนเป็นกลุ่ม แรกๆ ที่เคลื่อน “กองทัพทุน” เข้าไปลงทุนใน จี น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง จากกลุ ่ ม นั ก ธุ ร กิ จ เชื้อสายจีนที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำ ธุรกิจในอุษาคเนย์ แต่ปจั จุบนั จีนเองกลับเป็นฝ่ายเคลือ่ น การลงทุนสู่ภูมิภาคอาเซียน และนับวันจะมี โอกาสขยายการลงทุนเพิ่มมากขึ้น เท่าที่เป็นอยู่กลุ่มประเทศในภูมิภาค อาเซียนที่มีจีนเข้ามาลงทุนมาก ๆ และลงทุน

อยู ่ อั น ดั บ ต้ น ๆ ก็ เ ช่ น สหภาพเมี ย นมาร์ กัมพูชา และ สปป.ลาว ขณะทีใ่ นประเทศอืน่ ๆ ในอาเซียนก็มกี ารเข้ามาลงทุนของจีนมากยิง่ ขึน้ เช่นกัน ภายใต้นโยบายออกสูข่ า้ งออก (go out policy) ของจีน ทีจ่ ะมียา่ งก้าวทีห่ นักแน่น มากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ ยิ่งจีนมีนโยบาย “OBOR” ที่ย่อมา จากค�ำเต็มว่า “One Belt, One Road Initiative” หรือ “เส้นทางสายไหมใหม่” (The New Silk Road Policy) ก็ยิ่งเพิ่มความเด่นชัด ของจีนในการออกปฏิสัมพันธ์กับโลก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภูมภิ าคอาเซียนทีอ่ ยูช่ ว่ ง “ต้น” เส้นทางสายไหมทางทะเลของจีน เท่ า ที่ เ ป็ น อยู ่ “Alibaba” ได้ รุ ก คื บ ออกสู่สากลอย่างต่อเนื่องไม่ขาดสายและ ขยายตัวสูภ่ มู ภิ าคนอกเอเชียในธุรกรรมต่าง ๆ ทีส่ ามารถเชือ่ มตัวเข้าสูธ่ รุ กิจออนไลน์คา้ ปลีก อันเป็นธุรกิจหลักที่ “Alibaba” ด�ำเนินการอยู่ ตามกลยุ ท ธ์ โ ลกาภิ วั ต น์ (globalization strategy) ที่ “Alibaba” ใช้อยู่ในปัจจุบัน ก่อนหน้านี้ “Alibaba” ก็เคยซื้อกิจการ หนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ละสื่ อ ยั ก ษ์ ใ หญ่ ข องฮ่ อ งกง รวมทัง้ การซือ้ หุน้ บางส่วนของกิจการไปรษณีย์ ของสิงคโปร์ (Singapore Post Ltd.) ด้วยเช่นกัน การรุกคืบสูส่ ากลของ “Alibaba” คงจะ มีอีกมาก ภายใต้กลยุทธ์ธุรกิจแบบการสร้าง เครือข่าย (networking businesses) ที่ธรุ กิจ ยักษ์ใหญ่คา้ ปลีกแห่งนีด้ ำ� เนินการอยู่

Vol.23 No.216 July-August 2016

Finance

27


Q

Report for

uality

ตอนที่ 1

Front Runner Small but Strong Business case from Japan Imio ยักษ์เล็กกำ�ลังท้าทายยักษ์ ใหญ่ ในวงการลูกบอลฟุตซอล

เมื่ อ กลางปี 2015 มี ก ารแข่ ง ขั น ฟุตซอลลีกภายในประเทศญีป่ นุ่ ลูกบอลทีจ่ ะ ใช้มีการเปลี่ยนดีไซน์อย่างมาก เดิมเคยเป็น บอลสีแดงและขาวเท่านั้น แต่จะเปลี่ยนเป็น สี อื่ น ๆ เช่ น สี เ หลื อ งที่ มี ล วดลายแฟชั่ น เป็นต้น บริษัทที่เสนอลูกบอลแฟชั่นนี้ ก็คือ บริ ษั ท Imio ที่ เ พิ่ ง จะก่ อ ตั้ ง มาเป็ น ปี ที่ 9 เท่านั้น โดยมีแบรนด์ของตนเองว่า “Sfida”

28

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

เป็ น ลู ก บอลที่ ใ ช้ ใ นการแข่ ง ขั น อย่ า งเป็ น ทางการ ทั้งจะวางขายในร้านเครื่องกีฬาทั่ว ประเทศอีกด้วย ขนาดตลาดสิ น ค้ า บอลฟุ ต ซอลนี้ ภายในประเทศญีป่ นุ่ มีประมาณปีละ 4 แสนลูก ยักษ์ใหญ่อันดับหนึ่ง คือ Molten รองลงมา ก็คือ Mikasa อันดับสาม คือ ยักษ์ใหญ่เครื่อง กีฬาระดับโลกอย่าง Nike ส่วน Imio มียอด จ�ำหน่ายในปี 2014 ที่ประมาณ 1.2 แสนลูก มาเป็นอันดับ 4 แต่กำ� ลังทีจ่ ะแซงขึน้ มาอยูใ่ น

ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น อั น ดั บ 3 บริ ษั ท เป็ น บริ ษั ท ขนาดเล็ ก ก่อตั้งเมื่อปี 2006 มีเงินทุนจดทะเบียนเพียง 75 ล้านเยน มีพนักงานอยู่เพียง 12 คน แต่มี รายได้ในปี 2014 ที่ 350 ล้านเยน

ออเดอร์เพียง 100 ลูกก็รับทั้งออกแบบ และผลิต

บริษัท Imio เป็นบริษัทเล็ก ชื่อเสียง ไม่เป็นทีร่ จู้ กั แต่สามารถขยายส่วนแบ่งตลาด ได้ มาจาก 2 เหตุผล คือ สินค้ามีลกั ษณะดีไซน์


สูง และการรับผลิตออเดอร์จำ� นวนน้อยนัน่ เอง ซึง่ ล้วนเป็นลักษณะพิเศษทีบ่ ริษทั ใหญ่จะไม่มี ลูกฟุตซอลดีไซน์โดย Imio เมื่อเทียบกับลูก ฟุตซอลโมเดลตลาดปกติของยักษ์ใหญ่ที่มี เพียงสีพื้น ๆ นั้น แต่ Imio ผลิตได้มีสีสันที่ ฉูดฉาด เหมาะกับลักษณะการเล่นกีฬาฟุต ซอล ซึ่งนักกีฬาต้องการความมีแฟชั่นสูง และ มีลกั ษณะเป็นของตัวเองสูงอยูแ่ ล้ว จึงชืน่ ชอบ นอกจากนี้ออเดอร์ที่รับ ถ้าเป็นยักษ์ ใหญ่จะรับล็อตละไม่ต�่ำกว่า 1,000 ลูก แต่ ส�ำหรับ Imio แล้ว ต่อให้เป็นดีไซน์แบบไหน ก็ ส ามารถรั บ ออเดอร์ ลู ก ได้ ในช่ ว งแรกที่ เริ่มก่อตั้งธุรกิจ บริษัทท�ำการผลิตลูกฟุตซอล โมเดลดีไซน์ตามตลาด แต่ปรากฏว่าขาย ไม่ได้เลย ผลิตมา 1,000 ลูก แต่มีสต็อกเหลือ ถึง 950 ลูก ประธานบริษัทต้องเดินขายตาม โรงเรียน หรือตามคอร์ทฟุตซอล ดังนั้น ทีมฟุตซอลในลีก หรือโรงเรียน ต่าง ๆ ต่างมีความต้องการลูกบอลที่เป็น ต้นแบบ (original) ของตนเอง จึงเริ่มเปลี่ยน ทิศทางธุรกิจมารับแบบออเดอร์จ�ำนวนน้อย ดีไซน์ซบั ซ้อน จากปากสูป่ าก ท�ำให้ทมี ฟุตซอล เริม่ มาสัง่ ออเดอร์มากขึน้ เรือ่ ย ๆ นอกจากนีย้ งั รับการผลิตแบบ Own Equipment Manufacturing: OEM ให้กับบริษัทที่ผลิตเสื้อผ้ากีฬา ต่าง ๆ อีกด้วย ท�ำให้มชี อื่ เสียงเลือ่ งลือมากขึน้ ถึงแม้ว่าในช่วงแรก ๆ จะเริ่มต้นจากสัญญา

ปีละ 100 ลูก หลังจากนั้นจากลูกค้ารายเดียว สามารถรับออเดอร์และผลิตให้ถงึ ปีละ 6,000 ลูกก็มี แน่นอน การผลิตสินค้าดีไซน์เดียวกัน แต่ได้ล็อตใหญ่จะได้เปรียบในด้านต้นทุน ส�ำหรับ Imio นัน้ สินค้าโมเดลตลาด ก็สามารถ ท�ำราคาในระดับเดียวกันได้ ถึงแม้ว่าจะเป็น สินค้าดีไซน์ก็สามารถก�ำหนดราคาส่งได้ไม่ ต่างกับสินค้าโมเดลตลาด และยังได้มีการ ปรับไลน์การผลิตให้ถึงแม้ว่าจะมีล็อตเล็ก ก็สามารถท�ำก�ำไรได้เช่นเดียวกัน ซึ่งการผลิต ได้วา่ จ้างโรงงานในปากีสถานทีส่ ามารถท�ำได้ ทั้งแบบสินค้าโมเดลตลาด หรือสินค้าดีไซน์ พิเศษ ลั ก ษณะของลู ก บอลฟุ ต ซอลนั้ น ประกอบขึ้นด้วย แผ่นหนังรูปทรง 5 เหลี่ยม หรือ 6 เหลี่ยม จ�ำนวน 32 ชิ้น มาเย็บประกบ

ติดกันด้วยมือ ลูกบอลที่มีดีไซน์ที่ซับซ้อนจะ ต้ อ งมี จ� ำ นวนเพลทเพื่ อ พิ ม พ์ ม ากขึ้ น และ แต่ละเพลทมีสีสันที่ซับซ้อนอีกด้วย ท�ำให้ เพลทส�ำหรับพิมพ์มจี ำ� นวนมากกว่า 100 ชนิด การผลิตจึงจ�ำเป็นต้องมีผู้ที่มีความช�ำนาญ เพื่อไม่ให้มีการผลิตเสีย แต่บริษัทถึงแม้จะ เป็นออเดอร์ 100 ลูก ก็สามารถส่งมอบได้ใน เวลาไม่เกิน 2 เดือน จากความสามารถทางดี ไ ซน์ ที่ สู ง บริษัทจึงได้ท�ำการผลิตลูกบอลที่นอกเหนือ จากลูกบอลเพื่อการแข่งขัน เช่น มินิบอล ส�ำหรับเด็ก ได้พิมพ์รูปนกเพ็นกวิน หรือรูป จระเข้ ท�ำเป็นซีรีส์ว่า “Foot Ball Zoo” เป็นต้น ปีหนึ่งผลิตถึงกว่า 5 หมื่นลูก แสดงว่าเป็นที่ นิยมอย่างมาก มินบิ อลนีเ้ ป็นลูกบอลทีท่ ำ� ด้วย หนังแท้ มีราคาลูกละประมาณ 2,000 เยน ถึงแม้วา่ ราคาจะสูงกว่าลูกบอลยาง แต่เป็นที่ ชืน่ ชอบของผูป้ กครองทีช่ อบกีฬาฟุตบอล หรือ ฟุตซอล ทีต่ อ้ งการให้เด็ก ๆ ใช้ลกู บอลของจริง ซึ่งบริษัทอื่นไม่ได้ท�ำกัน นอกจากการผลิ ต ลู ก ฟุ ต ซอลแล้ ว บริษัท Imio ยังมีธุรกิจอื่น ๆ เช่น การให้เช่า สนามฟุตซอล และธุรกิจรับจองสนามฟุตซอล โดยการจองผ่านเว็บไซต์ที่ท�ำขึ้นโดยบริษัท ซึ่ ง ตั้ ง เป้ า หมายไว้ ว ่ า จะมี 300 สนาม ที่ สามารถให้จองผ่านได้ เป้าหมายของ บริษทั Imio คือ จะเป็น บริษัทมหาชนในปี 2018 และมียอดขายที่ 1 แสนล้านเยนในปี 2025 ขยายธุรกิจไป ต่างประเทศ ท้าทายการผูกขาดของบริษัท ขนาดใหญ่อย่างมุ่งมั่น

Vol.23 No.216 July-Dugust 2016

Report

29


Q

Marketing & Branding for

uality

ตอนที่ 1

แอบดู.....กิจการเพื่อสังคม จิตอุษา ขันทอง

อาจารย์ประจำ�ภาควิชาบริหารธุรกิจ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ E-mail: jitusa@g.swu.ac.th

สวัสดี

ผู้อ่านทุกท่าน ฉบับก่อน เราได้ พู ด คุ ย เกี่ ย วกั บ กิจการเพือ่ สังคม ซึง่ เป้าหมายของการประกอบ ธุรกิจ คือ ผลประโยชน์ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก แม้จะเป็นกิจการเพื่อสังคม แต่ก็มุ่งหวังผลก�ำไรจากการประกอบธุรกิจ เหมือนกับองค์กรธุรกิจโดยทั่วไปเพื่อความ ยัง่ ยืนของกิจการโดยไม่ตอ้ งพึง่ พาการบริจาค และนี่คือส่วนหนึ่งที่ท�ำให้กิจการเพื่อสังคม แตกต่ า งจากองค์ ก รการกุ ศ ล หรื อ มู ล นิ ธิ นัน่ เอง โดยบทความเดิมนัน้ ได้ยกตัวอย่างร้าน

30

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

ขายเสือ้ ผ้าและสินค้าแฟชัน่ มือสองของสุภาพ สตรี “Green Ladies” ที่ฮ่องกง ที่ถึงแม้จะเป็น กิจการเพื่อสังคมแต่ก็มุ่งเน้นการสร้างรายได้ จากการด�ำเนินธุรกิจรับฝากขายสินค้าแฟชั่น มือสองคุณภาพดี สวยงาม ทันสมัย เพื่อน�ำ เงินที่ได้ไปช่วยเหลือสังคม จึงเป็นสิ่งชี้ชัดว่า กิจการเพือ่ สังคมก็เน้นการสร้างรายได้และมุง่ หวังผลก�ำไร เพียงแต่ไม่ได้แสวงหาผลก�ำไร สูงสุดจากทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อกิจการหรือ เจ้าของ แต่เน้นที่ความสมดุลของผลก�ำไรที่ ธุรกิจได้รบั ให้กลับคืนไปยังสังคมและสิง่ แวด-

ล้อม มาถึงตรงนี้ หากท่านผู้อ่านสนใจอยาก จะหาธุ ร กิ จ เพื่ อ ลงทุ น ไปพร้ อ ม ๆ กั บ การ ช่วยเหลือสังคมก็อาจจะก�ำลังสงสัยว่า แล้ว ธุรกิจประเภทไหนบ้างล่ะที่จะเป็นธุรกิจเพื่อ สังคมได้ แล้วผลก�ำไรที่ได้จะน�ำไปช่วยเหลือ สังคมในด้านใดได้บ้าง ในเมื่อกิจการเพื่อสังคมก็มุ่งหวังผล ก� ำ ไรเหมื อ นธุ ร กิ จ ทั่ ว ไป ดั ง นั้ น หากจะ ประกอบธุรกิจประเภทเพื่อสังคมก็สามารถ ท�ำได้ทุกประเภทของธุรกิจเช่นเดียวกัน ไม่ว่า จะเป็นร้านอาหาร โรงแรม สถานที่ท่องเที่ยว


ขายสินค้า สถาบันส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละการ ศึกษา ส�ำนักพิมพ์ หรือแม้แต่สื่อโทรทัศน์ก็ สามารถที่จะเป็นกิจการเพื่อสังคมได้ทั้งสิ้น ส่วนผลก�ำไรที่ได้จะน�ำไปช่วยเหลือสังคมใน ด้านไหนดี อันนี้ก็แล้วแต่ว่าผู้ประกอบการ ตระหนักถึงปัญหาและอยากเข้าไปช่วยเหลือ หรื อ พั ฒ นาสั ง คมในด้ า นใด เราลองมาดู ตัวอย่างกิจการเพื่อสังคมในประเทศไทยที่ ประสบความส�ำเร็จกัน บางท่านอาจจะเพิ่ง ทราบก็ได้วา่ ธุรกิจทีเ่ ราได้มโี อกาสไปใช้บริการ มาแล้วนั้นก็เป็นกิจการเพื่อสังคมด้วยเช่นกัน เรามาเริ่มกันที่ร้าน “แดรี่โฮม (Dairy Home)” ก่อตั้งโดย คุณพฤฒิ เกิดชูชื่น ใน อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา หลาย ท่านรู้จักชื่อเสียงของร้านนี้เป็นอย่างดีจาก ผลิตภัณฑ์นมทีว่ างขายอยูใ่ นซุปเปอร์มาร์เก็ต ซึ่งนมของแดรี่โฮมนี้เป็นนมที่มาจากฟาร์ม โคนมระบบอินทรีย์ ไม่มีการใช้สารเคมีที่เป็น พิษต่อสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันไม่ได้จ�ำหน่าย เพียงแค่ผลิตภัณฑ์นมเท่านั้น แต่ยังมีร้าน อาหารที่เมนูแนะน�ำของร้านเลือกใช้วัตถุดิบ ออร์แกนิคจากท้องถิ่น เช่น สเต็ก สลัดผัก ย�ำเห็ดออรินจิ ส�ำหรับส่วนของร้านจ�ำหน่าย ของฝากก็มีผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษให้เลือก ซื้ อ มากมาย เช่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น ม โยเกิ ร ์ ต ไอศกรี ม ขนมปั ง ผั ก กระบวนการผลิ ต ที่

สะอาดและปลอดสารพิษเป็นสิ่งที่ร้านแดรี่โฮมให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งโดยเน้นการ ผลิตแบบออร์แกนิค นอกจากนี้ยังเป็นสถาน ทีใ่ ห้ความรูใ้ นเรือ่ งของการไม่ใช้สารเคมีในการ ท�ำเกษตรกรรมแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงและผู้ผลิต และยังรับซื้อสินค้าจากเกษตรกรในท้องถิ่น ด้วยราคายุตธิ รรมอีกด้วย ซึง่ เป็นการสนับสนุน ให้คนในชุมชนมีรายได้สามารถท�ำงานหา เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้อย่างยั่งยืน เป็น อีกหนึ่งต้นแบบที่ดีของกิจการเพื่อสังคม มาที่ ร ้ า นอาหารชื่ อ แปลกกั น บ้ า ง ใครได้ยินคงต้องสะดุดกับชื่ออย่างแน่นอน นั่นก็คือ ร้าน “Bages and Condoms” ของ คุณมีชัย วีระไวทยะ ผู้ก่อตั้งสมาคมพัฒนา-

ประชากรและชุมชน (PDA) และยังเป็นบุคคล ทีม่ ชี อื่ เสียงจากการรณรงค์ให้ใช้ถงุ ยางอนามัย เพื่อป้องกันโรคเอดส์และวางแผนครอบครัว โดยการคุมก�ำเนิด ด้วยแนวคิดของคุณมีชัย ที่ต้องการให้ถุงยางอนามัยเป็นที่รู้จักอย่าง แพร่หลายหาซื้อได้ง่ายเหมือนซื้อกะหล�่ำปลี ตามท้ อ งตลาด จึ ง ได้ เ ปิ ด ร้ า นอาหารชื่ อ กะหล�่ำปลีและถุงยางนี้เพื่อเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับการคุมก�ำเนิดและป้องกันโรคติดต่อ ไปพร้อม ๆ กับการท�ำธุรกิจเพื่อหารายได้ให้ สมาคมฯ ร้านนี้เริ่มเปิดด�ำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.2519 ภายในร้านจะถูกตกแต่งด้วยถุง ยางอนามัยมากมายหลากสี เมื่อรับประทาน อาหารเสร็ จ และเพื่ อ ไม่ ใ ห้ เ สี ย เอกลั ก ษณ์ ของชื่อร้าน ลูกค้าจะได้รับแจกถุงยางอนามัย แทนลูกอมหรือหมากฝรั่งอีกด้วย ปัจจุบัน Cabbages and Condoms ไม่ได้เป็นแค่ เพียงร้านอาหารเท่านัน้ แต่ยงั มีรสี อร์ทภายใต้ ชื่อเดียวกันซึ่งก�ำไรหลังหักค่าใช้จ่ายทั้งหมด จะถูกหมุนกลับมาใช้ในการสนับสนุนกิจกรรม สาธารณประโยชน์ต่าง ๆ ของสมาคมฯ โดย เน้นที่คนยากจน เช่น โรงเรียนมัธยมมีชัย พัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ โครงการฝึกอบรมเพื่อ เพิ่มความเท่าเทียมทางเพศให้กับผู้หญิงใน ชุ ม ชน โครงการสวนอาหารกลางวั น ตาม โรงเรียนในชนบท โครงการห้องสมุดของเล่น ปัจจุบนั มีกจิ การเพือ่ สังคมหลายอย่างภายใต้ การดูแลของสมาคมฯ ได้แก่ Birds and Bees Resort, Cabbages and Condoms Resort

Vol.23 No.216 July-August 2016

Marketing & Branding

31


Vol.23 No.216 July-August 2016

Marketing & Branding

32

and Restaurant (C&C) และ B.R.E.A.D. (ธุรกิจเพื่อพัฒนาการศึกษาและชนบท) หากท่ า นผู ้ อ ่ า นสนใจอยากขาย สินค้า เรามาดูกิจการขายของเล่นเด็กกันบ้าง “แปลนทอยส์ (Plan Toys)” ก่ อ ตั้ ง โดย คุณวิฑูรย์ วิระพรสวรรค์ เป็นบริษัทแห่งแรก ที่ผลิตของเล่นไม้ส�ำหรับเด็กจากยางพารา ธรรมชาติปลอดสารเคมีในจังหวัดตรัง โดย เริ่มจากความห่วงใยเด็ก ๆ ต้องการให้เด็กได้ เล่นของเล่นทีด่ มี คี ณ ุ ภาพ สัมผัสกับธรรมชาติ ไม่ท�ำจากวัสดุที่เป็นอันตราย แปลนทอยส์จึง มีแนวคิดและนโยบายด้านการตลาดสีเขียว ในการเลือกใช้วัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยการน�ำทุกส่วนของต้นยางไม่ว่าจะ เป็นรากใบ เนือ้ ไม้ หรือน�ำ้ ยางมาผลิตเป็นของ เล่นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับยางพารา ลดการ ท�ำลายสิง่ แวดล้อมจากการทีช่ าวบ้านตัดและ เผาต้นยางทีห่ มดอายุทงิ้ เหลือค่าเพียงแค่ถา่ น มี ก ารพั ฒ นากระบวนการผลิ ต เพื่ อ ลดของ เหลือทิง้ ให้นอ้ ยทีส่ ดุ หลีกเลีย่ งการใช้สารเคมี ที่ก่อให้เกิดอันตรายรวมถึงการออกแบบของ เล่นให้เรียบง่ายแต่สวยงาม เสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กให้เหมาะสมตามช่วงวัย นอกจากนีย้ งั ออกแบบของเล่นเป็นการเฉพาะ ส�ำหรับเด็กที่มีความบกพร่อง เช่น เด็กที่มี ความบกพร่องทางสายตา เด็กออทิสติก เด็ก สมองพิการเพื่อแก้ไขปัญหาและเสริมสร้าง พัฒนาการของเด็กเหล่านี้ ปัจจุบนั แปลนทอยส์ มีผลิตภัณฑ์จ�ำหน่ายทั้งในและต่างประเทศ

กว่า 60 ประเทศทั่วโลก มีบริษัทในเครือที่ สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น สามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้คนในท้องถิ่นไปพร้อมกับการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลิตและขายของเล่นที่ดี มีคุณภาพ ปลอดภัย เสริมสร้างพัฒนาการ ที่ดีไม่เฉพาะกับเด็กไทยแต่รวมไปถึงเด็ก ๆ ทั่วโลกด้วย “Local Alike” ธุรกิจท่องเที่ยวแนว ใหม่เพื่อการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน ก่อตั้งโดย คุณสมศักดิ์ บุญค�ำ และ คุณสุรชั นา ภควลีธร ที่ ต ้ อ งการเชื่ อ มโยงระหว่ า งชุ ม ชนกั บ นั ก ท่องเที่ยวที่สนใจการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนเข้า ด้วยกัน โดย Local Alike จะเป็นตัวกลางเพื่อ ให้ชมุ ชนทีส่ นใจจะท�ำการท่องเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ์ และเชิงวัฒนธรรมสามารถเข้าถึงนักท่องเทีย่ ว ได้ และให้นักท่องเที่ยวที่สนใจวิถีชีวิตของ คนในท้ อ งถิ่ น สามารถเข้ า ถึ ง ชุ ม ชนได้ ด ้ ว ย เช่นกัน เปิดโอกาสให้คนในชุมชนมีสว่ นร่วมกับ การออกแบบทัวร์และน�ำเทีย่ วเองภายในชุมชน เกิดการจ้างงานในชุมชนเป็นการกระจาย รายได้สทู่ อ้ งถิน่ ท�ำให้คนในชุมชนมีรายได้จาก การให้บริการท่องเที่ยวและขายสินค้าโดยไม่ ต้ อ งย้ า ยถิ่ น ฐานเพื่ อ ไปหางานท� ำ และยั ง เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงาม รวมไปถึง ทรั พ ยากรธรรมชาติ ข องชุ ม ชนไว้ ใ ห้ ค งอยู ่ อย่างยั่งยืนนอกจากนี้ Local Alike ยังจัดสรร เงินส่วนแบ่ง 5% ของผลก�ำไรคืนให้กับชุมชน เพื่ อ น� ำ ไปจั ด ตั้ ง กองทุ น พั ฒ นาชุ ม ชนของ ตัวเองโดยไม่จำ� เป็นต้องรอการพึง่ พาจากทาง

ภาครัฐเพียงอย่างเดียว เช่น พัฒนาแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วในท้ อ งถิ่ น แต่ ยั ง คงความเป็ น เอกลักษณ์ของชุมชนไว้ไม่ให้สญ ู หาย ส�ำหรับ Local Alike ได้ เ ปิ ด เว็ บ ไซต์ ค รั้ ง แรกใน เดือนตุลาคม พ.ศ.2556 โดยเริ่มจากชุมชน น�ำร่อง 8 ชุมชนในภาคเหนือและภาคใต้ของ ประเทศไทย ให้บริการข้อมูลการท่องเที่ยว รับจองที่พัก และประสานงานการท่องเที่ยว กับชุมชน กลุม่ เป้าหมายหลัก คือ นักท่องเทีย่ ว ชาวต่างชาติและกลุม่ คนทีส่ นใจการท่องเทีย่ ว เชิงอนุรกั ษ์ รักการผจญภัย ชืน่ ชอบวัฒนธรรม และหลงใหลในธรรมชาติ ปัจจุบนั Local Alike มีหลายแพคเกจทัวร์ให้เลือกทั้งแบบ One Day และ Overnight Tour ทั้งในกรุงเทพฯ และอีกหลายชุมชนในภาคเหนือ ผู้อ่านท่าน ใดสนใจการท่องเที่ยวแบบเข้าถึงวิถีชีวิตของ คนในชุมชนเช่นนี้ สามารถเข้าไปดูข้อมูลเพิ่ม เติมได้ที่ www.localalike.com นี่เป็นเพียงแค่ตัวอย่างส่วนน้อยของ กิจการเพือ่ สังคมในประเทศไทยทีผ่ ปู้ ระกอบการตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึงมีแนวคิด ที่จะน�ำผลก�ำไรจากธุรกิจมาช่วยเหลือและ มีสว่ นส�ำคัญในการพัฒนาสังคมโดยค�ำนึงถึง ความยั่ ง ยื น จากการช่ ว ยเหลื อ พร้ อ มทั้ ง พยายามแก้ไขปัญหานั้น ไม่ว่าจะเป็นการ ช่วยเหลือเด็กและกลุม่ คนด้อยโอกาสให้ได้รบั การศึกษา การสร้างอาชีพแก่คนในชุมชนให้ มีรายได้เลีย้ งตัวเองและครอบครัว แก้ไขความ ไม่เสมอภาค รวมไปถึงการอนุรกั ษ์ใส่ใจธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ผู้เขียนหวังว่าเพียงไม่กี่ตัวอย่างที่กล่าวมานี้ อาจเป็นแรงบันดาลใจทีส่ ำ� คัญให้ผอู้ า่ นกลาย เป็ น ผู ้ ป ระกอบการเพื่ อ สั ง คมรายใหม่ ใ น ประเทศไทยก็เป็นได้ ฉบับหน้าเราจะเปลี่ยน บรรยากาศไปเยี่ยมชมกิจการเพื่อสังคมใน ต่างประเทศกัน ส�ำหรับฉบับนี้....สวัสดี

อ่านต่อฉบับหน้า


Q

Marketing & Branding for

uality

การจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ในหน่วยบริการปฐมภูมิ: บทเรียนจากกรณีศึกษา

ตอนที่

Best Practice 4

ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์

ต่อจากฉบับที่แล้ว

แนวคิดในการทำ�งานเวชศาสตร์ครอบครัวและการบริการปฐมภูมิ กลุ ่ ม งานเวชศาสตร์ ค รอบครั ว และการบริ ก ารปฐมภู มิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนิ ารายณ์ มีโครงสร้างในการบริหาร จัดการและบุคลากรที่แยกออกมาจากการให้บริการในโรงพยาบาล ซึ่งนอกจากการแยกเพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการแล้ว ยังเกี่ยวข้อง กับเรื่องวัฒนธรรมในการท�ำงานด้วย งานเวชศาสตร์ครอบครัวและ บริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ เน้นว่า คนท�ำงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิต้องท�ำงานใกล้ชิด ชุมชน และเข้าใจวัฒนธรรมของชาวบ้านได้ดี รวมทั้งต้องไม่ปฏิเสธ บทบาทอื่น ๆ นอกเหนือจากการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟู คนท�ำงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมจิ งึ ต้องมีหลายทักษะ ในคน ๆ เดียว “...การท�ำงาน PCU นั้นท�ำให้เราต้องท�ำงานตามปัญหาคนไข้

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

เราจะคาดเดาไม่ได้เลยว่าถ้าไปเยี่ยมบ้านแล้วจะเจออะไร…เราจึง พยายามให้คนท�ำงานมีหลายทักษะในคน ๆ เดียวกัน...” (นายแพทย์ สิริชัย นามทรรศนีย์ หัวหน้ากลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการ ปฐมภูมิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์) นอกจากความเข้าใจในหลักการของการบริการสุขภาพระดับ ปฐมภูมแิ ละการมีทกั ษะทีห่ ลากหลายในคน ๆ เดียว ซึง่ เป็นทักษะทัว่ ไป ที่บุคลากรทางสุขภาพสามารถท�ำได้ เช่น การท�ำแผล การดูเรื่องยา ยังต้องมีทักษะเฉพาะของวิชาชีพที่คนท�ำงานแต่ละวิชาชีพมีทักษะ พิเศษที่แตกต่างกันไปตามวิชาชีพ แม้ขนั้ ตอนการให้บริการของหน่วยบริการปฐมภูมขิ องโรงพยาบาล จะมีการก�ำหนดไว้คล้ายคลึงกับหน่วยบริการปฐมภูมิอื่น ๆ แต่ความ โดดเด่นอย่างหนึ่งของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

33


Marketing & Branding

Vol.23 No.216 July-August 2016

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ได้แก่ การเยี่ยมบ้านที่มี ลักษณะของการเยีย่ มบ้านเชิงรุกอย่างต่อเนือ่ ง ดูแลผูป้ ว่ ยอย่างเป็นองค์ รวม ไม่ใช่แค่ “เยี่ยมยามถามไถ่” อย่างที่เคยเป็นมาเพื่อตอบโจทย์ ปัญหาด้านการเข้าถึงบริการสุขภาพด้วยการให้บุคลากรของงาน เวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิลงไปในพื้นที่ เพื่อเยี่ยมบ้าน อย่างมีคณ ุ ภาพ การเยีย่ มบ้านของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการ ปฐมภูมิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ท�ำงานกับผู้ป่วย กลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยหนักก่อน โดยมุ่งประเด็นไปที่การตอบ “ความ ทุกข์” ของผูป้ ว่ ย โดยเฉพาะผูป้ ว่ ยกลุม่ ป่วยหนักทีม่ คี วามทุกข์อย่างมาก ความทุกข์ของผู้ป่วยยังส่งผลให้คนรอบข้างเกิดความทุกข์ไปด้วย เช่น กรณีของผู้ป่วยติดเตียงนั้น นอกจากผู้ป่วยมีความทุกข์แล้ว ความทุกข์ ยังแผ่ขยายไปถึงครอบครัวและญาติของผู้ป่วยที่ต้องดูแลผู้ป่วยอย่าง ใกล้ชิด ท�ำให้ครอบครัวมีความเครียด วิตกกังวล และอาจส่งผลให้เกิด ปัญหาต่อเนื่องไปสู่ปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาทางเศรษฐกิจ งานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ท�ำงานทั้งด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟืน้ ฟูสขุ ภาพ แต่ดว้ ยความต้องการให้เห็นการเปลีย่ นแปลงต่อกรณี ของผู้ป่วยกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยหนัก จึงเน้นงานด้านการฟื้นฟูเป็น พิเศษ ด้วยการให้บุคลากรของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการ ปฐมภูมิร่วมกับบุคลากรของ รพ.สต. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้าน เมื่อฟื้นฟู ผู้ป่วยจนกระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงในการที่ดีขึ้นแล้ว ก็จะท�ำให้ ผู้ป่วยประทับใจและเชื่อใจ ซึ่งท�ำให้การขยายผลไปสู่งานด้านการส่งเสริมและป้องกันท�ำให้งา่ ยขึน้ เพราะผูป้ ว่ ยและชุมชนมีความเชือ่ ใจใน บุคลากรทางสุขภาพ ในด้านบุคลากรทางสุขภาพเองก็มพี ลังบวกในการ ท�ำงานมากขึ้นเมื่อเห็นผู้ป่วยกลุ่มป่วยและกลุ่มป่วยหนักมีอาการดีขึ้น การเยีย่ มบ้านของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ จึงต้องด�ำเนินไปอย่างมี คุณภาพและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่เห็นผลได้ชัดเจน ปัจจัยของการ

34

เยี่ยมบ้านอย่างมีคุณภาพที่ไม่ใช่การ “เยี่ยมยามถามไถ่” มาจากการมี ทีมงานที่มีความเข้าใจในหลักการของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและ บริการปฐมภูมิ ที่ไม่ได้พิจารณาแค่โรคหรืออาการของความเจ็บป่วย เท่านัน้ แต่เป็นการมองปัญหาอย่างเป็นองค์รวม เน้นคุณภาพทีท่ ำ� แล้ว ต้องเห็นการเปลี่ยนแปลงในเชิงประจักษ์ ทิศทางในการท�ำงานนั้น พิจารณาว่ามีปัจจัยที่จะท�ำให้ส�ำเร็จหรือไม่ ทั้งในเรื่องขององค์ความรู้ และบุคลากร การเน้นคุณภาพท�ำให้ตอ้ งเน้นกับการท�ำงานเป็นบางเรือ่ ง ปัจจุบนั นีง้ านบริการปฐมภูมใิ ห้ความส�ำคัญกับการฟืน้ ฟูผปู้ ว่ ยกลุม่ ป่วย และป่ ว ยหนั ก เพราะเห็ น การเปลี่ ย นแปลงของผู ้ ป ่ ว ยได้ ชั ด เจน ขณะเดียวกันบุคลากรก็มีความพร้อมในการท�ำงานฟื้นฟูเนื่องจาก ปัจจุบันนี้โรงพยาบาลมีนักกายภาพบ�ำบัดจ�ำนวนถึง 10 คน และมี แนวโน้มจะรับสมัครนักกายบ�ำบัดเข้ามาท�ำงานเพิ่มในอนาคต

การทำ�งานร่วมกันระหว่างโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล: กรณีการเยี่ยมบ้าน

บุคลากรของงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ มีการลงชุมชน เพื่ อ เยี่ ย มบ้ า นพร้ อ มกั น กั บ บุ ค ลากรของโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สัปดาห์ละ 1 ครัง้ ซึง่ ในการเยีย่ มบ้าน นั้นมีการบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน มีการก�ำหนดวันเยี่ยมบ้านตามพื้นที่ เช่น กรณีของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลกุดหว้า อ�ำเภอกุฉนิ ารายณ์ มีการเยี่ยมบ้านทุกวันพฤหัสบดี ส�ำหรับ Case Manager หรือผู้รับผิดชอบ/ประสานงานเคสนั้น ทีมสหวิชาชีพของ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์แบ่งกันรับผิดชอบเคสตามพื้นที่ ซึ่งคนที่รับผิดชอบพื้นที่ใดแล้วก็ต้อง เยี่ยมบ้านประจ�ำในพื้นที่นั้น เพื่อให้สามารถติดตามผู้ป่วย ได้ตอ่ เนือ่ งและท�ำให้ผปู้ ว่ ยตลอดจนคนในพืน้ ทีไ่ ว้วางใจ ส่วน


Marketing & Branding

ช� ำ นาญการ พยาบาลเยี่ ย มบ้ า นและพยาบาลผู ้ ดู แ ลผู ้ ติ ด เชื้ อ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์) การเยี่ยมบ้านเป็นตัวอย่างหนึ่งของการท�ำงานร่วมกันระหว่าง ทีมงานของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนิ ารายณ์และทีมงานของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ซึ่งต่างก็มีความช�ำนาญเฉพาะที่ แตกต่างกัน การท�ำงานร่วมกันเพือ่ ประโยชน์สงู สุดของผูป้ ว่ ยนัน้ ทีมงานของ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนิ ารายณ์และทีมงานของโรงพยาบาล ส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต� ำ บลต้ อ งยอมรั บ และให้ เ กี ย รติ กั น รวมทั้ ง การ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่ถือเป็นสิ่งส�ำคัญของการท�ำงานเป็นทีม โดยมีการ เชื่อมโยงข้อมูลกันผ่านระบบ HOSxP และมีการถ่ายทอดข้อมูลด้วย เอกสาร กรณีศกึ ษาของโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนิ ารายณ์และ ทีมงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สะท้อนให้เห็นถึงว่าแม้ จะเป็นหน่วยงานราชการแต่จากการให้ความส�ำคัญในด้านการดูแล ผูป้ ว่ ยทีด่ โี ดยผ่านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผูใ้ ห้และผูร้ บั บริการที่ ดีนนั้ เริม่ ต้นตัง้ แต่การออกแบบโครงสร้างการท�ำงานทีเ่ อือ้ ต่องาน CRM การเก็บข้อมูลผูป้ ว่ ย ซึง่ มีความน่าสนใจในเรือ่ งของการตรวจสอบข้อมูล การแบ่งปันข้อมูล รวมถึงการท�ำงานเป็นทีม เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการ ที่ดีที่สุด พบกับกรณีศกึ ษาทีเ่ ป็นเลิศในด้านการจัดการลูกค้าสัมพันธ์อกี ในตอนที่ 5 ซึ่งเป็นตอนสุดท้าย

อ่านต่อฉบับหน้า Vol.23 No.216 July-August 2016

การรับผิดชอบผู้ป่วยได้มีการรับผิดชอบตามความต้องการของผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยที่ต้องเปลี่ยนสายปัสสาวะก็ควรมี Case Manager เป็น พยาบาล หรือผู้ป่วยที่ต้องท�ำกายภาพบ�ำบัดก็ควรมี Case Manager เป็นนักกายภาพบ�ำบัด ทั้งนี้อาจพิจารณาที่ความถูกใจถูกจริตกัน ระหว่างผู้ป่วย/ญาติและ Case Manager ด้วย แม้มีการใช้ค�ำว่า “ทีมสหวิชาชีพ” แต่ในการออกไปเยี่ยมบ้าน แต่ละครั้งนั้นอาจไม่จ�ำเป็นต้องไปกันหลายคนครบทุกวิชาชีพ โดยขึ้น อยู่กับการบริหารจัดการและความสะดวกว่า ในวันที่ก�ำหนดให้มีการ เยี่ยมบ้านนั้น หากใครมีภารกิจไม่สามารถไปเยี่ยมบ้านได้ก็สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลจากเพื่อนร่วมทีมที่ไปเยี่ยมบ้าน อย่างไรก็ตาม คนที่ เป็น Case Manager ทีร่ บั ผิดชอบผูป้ ว่ ยเคสนัน้ ต้องไปเยีย่ มบ้านผูป้ ว่ ย ในความรับผิดชอบของตน ความเป็นทีมสหวิชาชีพจึงมีความส�ำคัญตรง การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการตัดสินใจร่วมกัน ทีมเยี่ยมบ้านจากโรงพยาบาลจะลงเยี่ยมบ้านพร้อมกันกับ บุคลากรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ทุกครัง้ ทีม่ กี ารเยีย่ มบ้าน ต้องมีการประชุมก่อนการเยีย่ มบ้านและการประชุมหลังการเยีย่ มบ้าน ร่วมกันระหว่างทีมงานของโรงพยาบาลและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต�ำบล วิธีการเยี่ยมบ้านของทีมเยี่ยมบ้าน นอกจากการไปเยี่ยมบ้าน ของผู้ป่วยแล้ว ยังต้อง “เยี่ยมเพื่อนบ้าน” ของผู้ป่วยด้วย ซึ่งคนที่เป็น Case Manager ที่ต้องอยู่กับผู้ป่วยก็พูดคุยกับผู้ป่วย ส่วนสมาชิก คนอื่นในทีมเยี่ยมบ้านก็ต้องไปพูดคุยกับเพื่อนบ้านของผู้ป่วยเกี่ยวกับ สถานการณ์ของผูป้ ว่ ย สมาชิกอีกส่วนหนึง่ อาจเดินดูในบ้านและบริเวณ บ้านของผู้ป่วยว่ามีความสะอาด ถูกสุขลักษณะหรือไม่ “...เราต้องไปเยี่ยมบ้านที่อยู่ข้าง ๆ บ้านของผู้ป่วยก่อน โดยเรา จะไม่ถามผูป้ ว่ ยทีบ่ า้ นนัน้ ว่ามีใครดูแลเขาหรือไม่ แต่เราจะถามเพือ่ นบ้าน มีเคสหนึง่ เราถามญาติของผูป้ ว่ ยแล้วได้ขอ้ มูลในด้านดี แต่เมือ่ ไปถาม เพือ่ นบ้าน พบว่าญาติจะมาหาผูป้ ว่ ยเฉพาะวันทีห่ มอมาเยีย่ ม ก่อนหมอ มาก็อาบน�ำ้ ให้ผปู้ ว่ ยนิดหน่อย...” (คุณอาลัย ปัตลา พยาบาลนักวิชาชีพ

35


Q

People for

uality

การประเมินผล

เสมือนกลยุทธ์ธุรกิจ

การปฏิบัติงาน

ผู้จัดการฝ่ายบริหารงานกลาง สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ

ใน

ช่วงปลายปี หลายท่านคงได้รับการ ปรับเงินเดือนประจ�ำปี และโบนัส ตอบแทนการท�ำงาน บางคนได้รับการปรับ เงินเดือนมากกว่าปีที่ผ่านมา บางคนได้รับ โบนัสหลายเท่าของเงินเดือน อะไรล่ะทีท่ ำ� ให้มี การจ่ายเงินเดือนและโบนัสต่างกัน หลายคน เข้าใจว่าทีจ่ า่ ยต่างกันนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความขยัน ของพนักงาน หรือผลประกอบการของบริษัท หรือใจของเจ้าของสถานประกอบการ ต่างคน ต่างมุมมองขึ้นอยู่กับพื้นฐานการรับรู้ การที่ บางบริษทั ปรับเงินเดือนมากกว่าปกติแสดงว่า มั่นใจในอนาคตของกิจการว่าจะเติบโตอย่าง มั่นคง แต่อีกหลายบริษัทไม่อยากเสี่ยงกับ อนาคต จึงปรับเงินเดือนตามปกติไม่หวือหวา แม้ผลประกอบการของปีทผี่ า่ นมามีกำ� ไรมาก บริษทั ยังคงปรับเงินเดือนในอัตราปกติ แต่จะ จ่ายเป็นโบนัสที่มากกว่าปีที่ผ่านมา กล่าวคือ ผลประกอบการดีมีก�ำไรในปีใด เขาจะจ่าย โบนั ส มากในปี นั้ น เนื่ อ งจากไม่ เ ป็ น ภาระ ผูกพันระยะยาว พนักงานมีก�ำลังซื้อเป็นกอบ เป็ น ก� ำ แถมสร้ า งขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจได้ ดี ก ว่ า

36

ดร.ประเวศน์ มหารัตน์สกุล

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

บทความนีผ้ เู้ ขียนอยากชวนผูอ้ า่ นมาท�ำความ เข้าใจการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เป็น เชิงกลยุทธ์ บริษัทเขาประเมินกันอย่างไร ที่มี ส่วนท�ำให้ธุรกิจประสบผลส�ำเร็จ ถ้าเราตั้งสมมติฐานว่าการที่องค์การ หรือบริษัทประกอบกิจการมีก�ำไร แสดงว่า พนักงานท�ำงานได้ผลงานมีมูลค่ามากกว่า ค่าใช้จา่ ยด้านการด�ำเนินงาน (operating cost) ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร (personnel cost) และค่าใช้จา่ ยในการลงทุน หรือพนักงาน ได้ใช้ทรัพยากรของบริษทั ในการท�ำหน้าทีข่ อง ตนเองจนบรรลุเป้าหมายสูงสุด บริษัทมีก�ำไร (profit) เมื่อวิเคราะห์ในรายละเอียด การที่ บริ ษั ท มี ก� ำ ไรมิ ไ ด้ ห มายความว่ า พนั ก งาน ทุ ก คนท� ำ หน้ า ที่ บ รรลุ เ ป้ า หมายเหมื อ นกั น ทุกคน บางคนปฏิบัติหน้าที่ได้เกินมาตรฐาน บางคนปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ม่ได้ตามมาตรฐาน และ การที่บริษัทมีก�ำไรแสดงให้เห็นอย่างหนึ่งว่า พนั ก งานส่ ว นใหญ่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ บ รรลุ เป้ า หมายที่ ก� ำ หนดเป็ น เกณฑ์ ม าตรฐาน ปรากฏการณ์ เ ช่ น นี้ จึ ง เป็ น หน้ า ที่ ข องฝ่ า ย

จัดการ โดยเฉพาะคนที่ท�ำงานด้านบุคลากร จะต้องน�ำผลการประเมินไปวางแผนพัฒนา พนักงานเป็นรายบุคคล (individual development plan: IDP) ผลการประเมินจะช่วย แยกแยะได้ว่าพนักงานแต่ละคนมีจุดอ่อนใด ที่ต้องพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถที่จะ ปฏิบัติหน้าที่ได้มาตรฐาน พนักงานคนใดท�ำ หน้ า ที่ ไ ด้ ม าตรฐานอยู ่ แ ล้ ว ควรวางแผน พัฒนายกระดับความสามารถให้สูงขึ้นอีก ความจ�ำเป็นในการฝึกอบรมได้จากตรงนี้ บางคนติดกับดักประสบการณ์ว่าจะ ต้องมีการส�ำรวจ เพื่อหาความจ�ำเป็นในการ ฝึกอบรม (training need) และที่หนักกว่านั้น อีกจะต้องมีการออกแบบสอบถามพนักงาน ออกแบบสัมภาษณ์ผู้บริหาร เป็นความเข้าใจ ที่ยังไม่เข้าถึงปรัชญาของการฝึกอบรมอย่าง แท้จริง ในชีวติ การท�ำงานจริง ความจ�ำเป็นใน การฝึกอบรมมาจากผลลัพธ์ของการประกอบการที่ข้อมูลผลลัพธ์บ่งชี้ว่าผลงานไม่เป็นไป ตามมาตรฐาน ไม่เป็นไปตามทีว่ างแผนไว้ ไม่ จ�ำเป็นต้องออกแบบสอบถาม หรือสัมภาษณ์


People ให้เสียเวลา วิธีการที่ถูกที่ควรท�ำกันอย่างไร ตามมาดูกัน

ประเมินผลการปฏิบัติงานตรงส่วนใด

การประเมินผลการปฏิบัติงานควร เชื่อมโยงกับผลลัพธ์ธุรกิจของบริษัท อธิบาย ขยายความ หมายความว่า เงือ่ นไข หรือปัจจัย ในการประเมิ น ผลต้ อ งมี ส ่ ว นสนั บ สนุ น ให้ ธุรกิจของบริษัทประสบความส�ำเร็จ มิใช่เป็น ลั ก ษณะที่ ป ระเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านแบบ พฤติกรรมที่ผลการประเมินการปฏิบัติงาน ออกมาดีถึงดีมาก แต่บริษัทขาดทุน อาการ เช่นนี้แสดงว่ามีปัญหาแบบประเมินผลการ ปฏิบัติงานที่ไม่มีความเชื่อมโยงกับเป้าหมาย ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท หรื อ เป็ น ปั ญ หาของฝ่ า ย จัดการที่น�ำแบบประเมินมาจากที่อื่น โดยไม่ ได้พัฒนาขึ้นให้สอดคล้องกับลักษณะของ ธุรกิจบริษทั ประเด็นนีส้ ำ� คัญมาก การประเมิน ผลการปฏิ บั ติ ง านมิ ใ ช่ คิ ด ว่ า พนั ก งานขาด ความรู้ด้านใดในขอบข่ายที่ตนเองรับผิดชอบ เท่านัน้ ต้องมองภาพรวมทัง้ บริษทั ไม่เพียงแต่ ดู เ ฉพาะผลการปฏิ บั ติ ง านของพนั ก งาน เท่านั้น แต่ต้องดูผลลัพธ์ของบริษัทประกอบ ด้วย อย่างไรก็ดี ในเบื้องต้นการออกแบบ ประเมินผลการปฏิบัติงานต้องสามารถตอบ

ค�ำถามในเชิงธุรกิจ ดังนี้ 1. พนักงานจะมีการจัดการเงินทุน อย่างไร 2. ใครคือลูกค้า และจะสร้างความ สัมพันธ์กับลูกค้าได้อย่างไร 3. อะไรคือสินค้าและบริการที่ต้อง ขายให้ลูกค้า 4. อะไรคือคุณค่าที่ลูกค้าต้องการ จากค� ำ ถามดั ง กล่ า ว ผู ้ อ อกแบบ ประเมิน ผูป้ ระเมิน และพนักงานต้องท�ำความ เข้าใจให้ชัดก่อนจะออกแบบการประเมินผล การปฏิบัติงาน หรือท�ำหน้าที่ประเมินผลการ ปฏิบัติงานผู้ใต้บังคับบัญชาอีกประเด็นหนึ่ง การออกแบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ฝ่ายจัดการต้องแยกแยะลักษณะงานให้ออก ว่าโดยหน้าที่ของพนักงานสามารถจ�ำแนก เป็นกลุม่ งานได้เป็น 4 กลุม่ ใหญ่ ได้แก่ 1. งาน สนับสนุน เช่น งานกฎหมาย บัญชีการเงิน งาน ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ งาน ธุรการ เป็นต้น 2. งานที่รับผิดชอบต่อก�ำไร ขาดทุนของบริษัท 3. งานเกี่ยวกับการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ งานขาย การคิดค้นผลิตภัณฑ์ ใหม่ 4. งานที่ ต ้ อ งประสานกั บ กลุ ่ ม งาน ดังกล่าวข้างต้นให้ท�ำหน้าที่อย่างประสาน สอดคล้องกันให้มุ่งสู่เป้าหมายของบริษัท

ผลการประเมินต้องเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ ของบริษัท

ทุกคนทราบว่าผลลัพธ์สุดท้ายของ บริษัท คือ ก�ำไร แต่ไม่แน่ใจว่าทุกคนจะรู้ ผลลัพธ์ระหว่างทางที่จะส่งผลให้ธุรกิจของ บริษทั มีกำ� ไร ดูกนั ตรงไหน วัดความส�ำเร็จตรง ส่วนใดของบริษัท ประเด็นนี้ฝ่ายจัดการและ พนักงานต้องมีความเข้าใจว่าการที่บริษัทจะ ด�ำรงอยู่ได้และประกอบกิจการจนมีก�ำไรนั้น มาจากผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคน พนักงานต้องมาท�ำความเข้าใจผลลัพธ์อนั เป็น องค์ประกอบทีท่ ำ� ให้บริษทั ด�ำเนินงานได้อย่าง มัน่ คง มีหน้าตาอย่างไร เปรียบเทียบได้กบั คน ต้องมีการตรวจสอบการท�ำหน้าที่ของอวัยวะ ที่ส�ำคัญอยู่เป็นประจ�ำ หากอวัยวะส่วนใด บกพร่องหรือมีจุดอ่อนย่อมส่งผลกระทบต่อ ความสมบูรณ์ของร่างกาย เช่นเดียวกับบริษทั อวั ย วะอั น เป็ น องค์ ป ระกอบของบริ ษั ท ดั ง ตารางที่ 1 หากพบว่ า องค์ ป ระกอบใด ท�ำหน้าที่ไม่สมบูรณ์กลายเป็นจุดอ่อน ย่อม ส่ ง ผลกระทบต่ อ องค์ ป ระกอบอื่ น หากไม่ รี บ เยี ย วยาแก้ ไ ขจะท� ำ ให้ ผ ลกระทบต่ อ ผลประกอบการของบริษัทในที่สุด

ตารางแสดงองค์ประกอบที่ต้องมีการประเมินความสมบูรณ์ในการประกอบธุรกิจ องค์ประกอบ

ผลลัพธ์

การรักษาระดับความพึงพอใจ อัตราการเข้าออก ระดับความพึงพอใจสูงขึ้น อัตราเข้าออก ข้อร้องเรียนต�่ำ ต้นทุนการให้ จากงาน จ�ำนวนข้อร้องเรียน ค่าใช้จ่ายในการ บริการต�่ำ ให้บริการ ● สัดส่วน การกระจายตัว กลุ่มลูกค้าที่มีก�ำลังซื้อ ● สัดส่วนที่เพิ่มขึ้น ความเร็วในการเข้าสู่ ช่วงเวลาที่เข้าสู่ตลาด ตลาด ● สัดส่วนความคาดหวัง ค่าเฉลี่ย ร้อยละหรือ ● สัดส่วนความแปรปรวนลดลง ค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จ�ำนวนที่ได้มาตรฐาน ความแปรปรวน จ�ำนวน ความผิดพลาดลดลง ปริมาณที่เพิ่มขึ้น ขั้นตอน ความคงเส้นคงวา ● สัดส่วนทีด ่ ีขึ้น ต้นทุนค่าใช้จ่ายลดลง อัตราผลตอบแทนสูง ● สัดส่วนทรัพย์สินถาวร/ไม่ถาวร สัดส่วนต้นทุน ทางตรง ทางอ้อม ความไม่แน่นอนของ ● การเติบโตอย่างเหมาะสม ใช้เวลาน้อย งบประมาณ ต้นทุนบริการ จ�ำนวนกิจกรรมที่ให้เติบโต ● เวลาที่คาดหวังเติบโต จ�ำนวนกิจกรรม ● ความละเมิดลดลง มีความสอดคล้องมากขึ้น ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนท�ำให้เติบโต ถูกปรับหรือชดใช้ค่าเสียหายลดลง ● จ�ำนวนเหตุละเมิด ความถี่ ชนิด และขนาดของ การเกิดเหตุภัยพิบัติ ความคุ้มครอง การสูญเสีย รายได้ ความเสียหาย การยอมรับของสังคม ●

Vol.23 No.216 July-August 2016

1. ความพึงพอใจ พนักงาน ลูกค้า ฝ่ายงานอื่น ผู้ป้อนวัตถุดิบและผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. การตลาด ผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) 3. ผลประกอบการ ผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ 4. การเงิน ต้นทุน รายได้ กระแสเงินสด ผลตอบแทนการลงทุน 5. การเติบโต การเติบโตจากความสามารถทาง ธุรกิจ 6. ความสอดคล้องนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ กติกา เงื่อนไข/เวลาสัญญา

เกณฑ์การประเมิน

37


People ปั จ จั ย ที่ ใ ช้ ใ นการประเมิ น ผลการ ปฏิบตั งิ าน ต้องออกแบบให้เชือ่ มโยงกับความ ส�ำเร็จอันเป็นผลลัพธ์ขององค์ประกอบ และ ผูป้ ระเมิน ต้องตระหนักอยูต่ ลอดเวลาทีท่ ำ� การ ประเมิน ต้องอธิบายให้ได้วา่ ผลงานทีพ่ นักงาน ปฏิบัติได้นั้นมีส่วนท�ำให้เกิดผลลัพธ์ในแต่ละ องค์ประกอบ เช่น ลูกค้ามีความพึงพอใจ หรือไม่และอยู่ในระดับใด การด�ำเนินงาน ใช้คา่ ใช้จา่ ยลดลงหรือไม่ ใช้เวลาน้อยกว่าเดิม หรือไม่ ผลิตภัณฑ์มีมาตรฐานสูงขึ้นหรือไม่ จ�ำนวนการสูญเสียลดลงหรือไม่ ฯลฯ ซึ่งการ ประเมินผลการปฏิบัติงานท�ำนองนี้เป็นการ ประเมินผลการปฏิบตั งิ านแบบมุง่ เน้นผลลัพธ์ (results oriented) หรือเรียกว่า การประเมิน ผลการปฏิบัติงานเชิงกลยุทธ์

หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการประเมินผล

Vol.23 No.216 July-August 2016

การประเมินผลการปฏิบตั งิ านต้องยึด หลักประสิทธิภาพ (efficiency) ทีเ่ ชือ่ มโยงกับ ผลลั พ ธ์ ข องบริ ษั ท ที่ รู ้ จั ก กั น ดี ว ่ า เป็ น การ ก�ำหนดดัชนีชวี้ ดั ความส�ำเร็จของงานทีส่ ำ� คัญ (key performance indicators: KPIs) หาก มองให้ละเอียด หลักประสิทธิภาพเป็นเรื่อง ความคิดเชิงปริมาณ (quantitative thinking) อย่างไรก็ดี แม้ว่าจะยึดหลักประสิทธิภาพ แต่ต้องค�ำนึงถึงหลักประสิทธิผลไปพร้อมกัน

38

(effectiveness) หลักประสิทธิผลเป็นความ คิดเชิงคุณภาพ (qualitative thinking) เช่น ความพึงพอใจ การท�ำให้บรรลุผลลัพธ์ทกี่ ำ� หนด ไว้ในแผน การแปลความว่าดีกว่า มากกว่า น้อยกว่า ฯลฯ ในการประกอบกิจการงานใด ก็ตามจะมีหลักทั้งสองใช้ในการประเมินผล การปฏิบัติงานและการประเมินความส�ำเร็จ ของบริษัท กล่าวคือ ถ้ามองความส�ำเร็จเป็น รายได้ ที่ อ ยากได้ (revenue) เป็ น หลั ก ประสิทธิผล แต่เมื่อใดที่คิดค�ำนึงไปที่ต้นทุน ค่าใช้จ่ายเป็นเรื่องของหลักประสิทธิภาพ ซึ่ง จะมีการวัดประสิทธิภาพในเชิงตัวเลข เช่น จ�ำนวน ร้อยละ (%) ฯลฯ หลักทัง้ สองสามารถ ใช้ ไ ด้ ใ นการประกอบการตั ด สิ น ใจในการ ด�ำเนินงานได้อย่างดี หลายองค์การทั้งภาครัฐและเอกชน ได้ใช้ทงั้ หลักประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การประเมินความส�ำเร็จขององค์การ ความ

ยากที่อาจไม่คุ้นเคย คือ การก�ำหนดปัจจัยใน การประเมินผลให้มคี วามเชือ่ มโยงกับผลลัพธ์ ที่บริษัทต้องการ แม้เป็นความส�ำคัญของการ ประเมินแบบมุง่ เน้นผลลัพธ์แต่ยงั พบเห็นการ ก�ำหนดปัจจัยในการประเมินผลมุ่งเน้นที่การ กระท�ำ ดูกันที่ความพยายาม เช่น มาท�ำงาน ตรงเวลาหรือไม่ ขยันท�ำงานหรือไม่ มีความรู้ หรือไม่ การฝึกอบรมพนักงานก็เช่นกันยัง เป็นการจัดฝึกอบรมตามสมัยนิยมทีค่ ดิ ว่าควร รู้ในเรื่องที่ตนเองคิดว่าคนอื่นขาด และใช้เป็น เหตุผลอ้างความต้องการฝึกอบรม หรือกรณี คนจัดฝึกอบรมไม่มีความรู้ในเรื่องนั้น ๆ เลย คิดว่าคนอื่นไม่มีความรู้เหมือนตนเอง หรือ ตนเองไม่รู้ก็ทึกทักว่าคนอื่นไม่รู้เหมือนกับตน ประเด็นเหล่านี้เป็นสาเหตุหนึ่งที่เพิ่มต้นทุน ค่าใช้จ่ายทางอ้อมทางใหญ่ และเป็นการเสีย เวลาในการผลิตไปอย่างน่าเสียดาย การออกแบบการประเมินผลและการพัฒนาพนักงาน ต้องเริ่มต้นความจ�ำเป็นในการพัฒนาและ ฝึ ก อบรมที่ ผ ลลั พ ธ์ ข องบริ ษั ท ภาษาวิ จั ย เรียกว่า การวิจัยประเมินผล (evaluation research) ที่เป็นการสืบย้อนหาสาเหตุจาก ผลที่เกิดขึ้น เช่น ผลลัพธ์พบว่าอัตราเข้าออก พนักงานสูง ต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่าเกิดจาก สาเหตุอะไร อาจเกิดจากผูบ้ งั คับบัญชา สภาพ การท�ำงาน ค่าตอบแทน หรือเพื่อนร่วมงาน หรื อ ผลผลิ ต บกพร่ อ งมี สั ด ส่ ว นสู ง หรื อ มี แนวโน้มสูง มีสาเหตุมาจากการท�ำงานของ เครื่องจักรหรือความสะเพร่าของคน ถ้าเกิด จากความบกพร่องของคนการฝึกอบรมจึงจะ ใช้ได้ผล เหล่านี้ คือ ข้อมูลความรู้ที่จะใช้ใน การออกแบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็น เชิงกลยุทธ์และยังใช้เป็นข้อมูลความรู้ในการ วางแผนฝึกอบรมได้เป็นอย่างดี ผลลัพธ์ คือ ความจ�ำเป็นในการฝึก อบรมใช่ไหม ? ข้อมูลทีไ่ ด้จากการด�ำเนินงาน ของทุกภาคส่วนในการประกอบกิจการถือเป็น ความรูท้ มี่ คี ณ ุ ค่าต่อการออกแบบประเมินผล การปฏิบตั งิ าน และการวางแผนการฝึกอบรม หาใช่จากการส�ำรวจความเห็นของพนักงาน หรือผู้บังคับบัญชา


Q

Idol & Model for

uality

KASIKORN Business

Technology Group พัฒนาเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกการเงินใหม เพื่ อ ดิ จ ท ิ ล ั แบงกิ ง ้ อั น ดั บ หนึ ง ่ ของประเทศ กองบรรณาธิการ

การ

ด�ำเนินชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป ด้วยความเร่งรีบและแข่งขัน การบริการที่ตอบโจทย์จึงต้องรวดเร็วและรองรับความสะดวกสบาย ภาคบริการโดยเฉพาะภาคการเงินการธนาคาร เช่น ธนาคารกสิกรไทย จึงได้ พัฒนาการให้บริการเพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าที่มีการน�ำดิจิทัลเข้าไปใช้ใน การด�ำเนินชีวิต กสิกรไทย ตั้ง KASIKORN Business - Technology Group: KBTG มุ่งคิดค้น นวัตกรรม ร่วมพันธมิตรทางเทคโนโลยี และจับมือ FinTech และ Tech Startup สร้าง นวัตกรรมทางการเงินรองรับดิจิทัล แบงกิ้งที่โตก้าวกระโดด เพิ่มความสามารถในการ แข่งขันท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีทางการเงินในตลาดโลก พร้อมตั้ง งบปีละ 5,000 ล้าน พัฒนาไอทีใหม่ หวังลูกค้าจะได้รับบริการทางการเงินในโลกดิจิทัล ที่สมบูรณ์แบบที่สุด คาดใน 5 ปี จ�ำนวนรายการผ่านดิจิทัล แบงกิ้ง เพิ่มเป็น 7,900 ล้าน รายการต่อปี คิดเป็นมูลค่าธุรกรรม 30 ล้านล้านบาทต่อปี คุณบัณฑูร ล�ำ่ ซ�ำ ประธานกรรมการ ธนาคารกสิกรไทย เปิดเผยว่า “ปัจจุบนั การ เปลีย่ นแปลงในโลกดิจทิ ลั เป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการเพิม่ ขึน้ ของสมาร์ทโฟนท�ำให้ ▲

คุณบัณฑูร ล�่ำซ�ำ

ประธานกรรมการ ธนาคารกสิกรไทย

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

39


Idol & Model

Vol.23 No.216 July-August 2016

ประชาชนสามารถท�ำธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านทาง โทรศัพท์มอื ถือได้สะดวกรวดเร็วขึน้ จากข้อมูล ของธนาคารกสิกรไทยพบว่า รายการทีท่ ำ� ผ่าน ช่องทางดิจิทัล แบงกิ้ง (โทรศัพท์มือถือและ อินเทอร์เน็ต) ของธนาคารเติบโตอย่างก้าว กระโดดจาก 168 ล้านรายการในปี พ.ศ.2554 เป็น 1,135 ล้านรายการในปี พ.ศ.2558 และ คาดว่าจะเพิ่มเป็น 7,900 ล้านรายการใน 5 ปี ข้างหน้า (พ.ศ.2563) ส่วนการใช้บริการผ่าน ช่องทางสาขาจะเพิ่มจาก 166 ล้านรายการใน ปี พ.ศ.2554 เป็น 188 ล้านรายการในปี พ.ศ. 2558 แต่คาดว่าจะลดเหลือประมาณ 153 ล้าน รายการในปี พ.ศ.2563 ในขณะทีม่ ลู ค่าธุรกรรม ทีผ่ า่ นดิจทิ ลั แบงกิง้ ก็เพิม่ จาก 9 แสนล้านบาท ในปี พ.ศ.2554 เป็น 4 ล้านล้านบาทในปี พ.ศ. 2558 และคาดจะเติบโตประมาณ 10 เท่าตัว เป็น 30 ล้านล้านบาท ในปี พ.ศ.2563 หรือ 5 ปีข้างหน้า” การเพิ่มขึ้นของธุรกรรมผ่านช่องทาง ดิจิทัลอย่างรวดเร็วทั่วโลก ท�ำให้มีการพัฒนา เทคโนโลยีทางการเงิน (Financial Technology: FinTech) ทีใ่ ห้บริการทีม่ ปี ระสิทธิภาพด้วย ต้นทุนทีต่ ำ�่ กว่าอย่างกว้างขวางทัง้ จากสถาบัน การเงินและหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อตอบสนอง สังคมในยุคดิจิทัล ดังนั้น จากโจทย์ทางธุรกิจ ในด้านเทคโนโลยีการเงินทีเ่ ปลีย่ นแปลง รวมถึง กระแสธุรกิจเทคโนโลยีทางการเงิน (FinTech) และผู ้ ป ระกอบการพั ฒ นาธุ ร กิ จ เทคโนโลยี

40

(Tech Startup) ทีไ่ ด้นำ� นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการ ให้บริการทางการเงินมาอ�ำนวยความสะดวก ให้ลกู ค้าอย่างต่อเนือ่ ง นับเป็นตัวแปรส�ำคัญที่ จะสร้างแรงผลักดันให้เกิดนวัตกรรมในโลกการ เงิน ซึ่งสามารถตอบโจทย์ความต้องการของ ลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีความ คาดหวังต่อบริการทางการเงินที่สูงขึ้นในโลก ดิจิทัล ปัจจัยเหล่านี้จึงส่งผลกระทบต่อการ ด�ำเนินธุรกิจในภาพรวม “ธนาคารกสิกรไทยในฐานะผูน้ ำ� ดิจทิ ลั แบงกิ้ ง ที่ มี ส ่ ว นแบ่ ง ตลาดประมาณ 38% พร้อมรับมือการเปลีย่ นแปลงและความท้าทาย ใหม่ ๆ ในอนาคตด้วยการตั้งบริษัท กสิกร บิซิเนส-เทคโนโลยี กรุ๊ป (KASIKORN Business-Technology Group หรือ KBTG) เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานและ บริการด้านไอที และเพิ่มความสามารถในการ แข่งขันท่ามกลางความท้าทายจากการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีทางการเงินในตลาดโลก และเพื่อครองความเป็นผู้น�ำอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง ในแต่ละปีธนาคารตั้งงบประมาณด้านไอทีไว้ ประมาณ 10% ของก�ำไรสุทธิ หรือประมาณปีละ 4,000 ล้านบาท และเป็นงบเพื่อการพัฒนา นวัตกรรมใหม่อีก 1-2% ของก�ำไรสุทธิ หรือ 1,000 ล้านบาท ทั้งนี้ คุณธีรนันท์ ศรีหงส์ กรรมการ ผูจ้ ดั การ ธนาคารกสิกรไทย จะด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นประธานบริษัท กสิกร บิซิเนส-เทคโนโลยี

กรุ๊ป อีกต�ำแหน่งหนึ่งเพื่อเชื่อมโยงการท�ำงาน เข้ากับคณะกรรมการธนาคารและดูแลการ ท�ำงานร่วมกับหน่วยงานภายในธนาคารและ พันธมิตรทางเทคโนโลยีต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพอย่างไร้รอยต่อ และแต่งตั้ง คุณสมคิด จิรานันตรัตน์ เป็นรองประธาน กลุ่มบริษัท KBTG” ซึ่ง กลุ่มบริษัท KBTG ประกอบด้วย 5 บริษทั ซึง่ ธนาคารกสิกรไทยเป็นผูถ้ อื หุน้ 100% ทั้งหมด ได้แก่ ➠ บริษัท กสิกร เทคโนโลยี กรุ๊ป เซเครเทเรี ย ต จ� ำ กั ด ดู แ ลด้ า นวางแผน ติดตาม และให้การสนับสนุนการจัดการด้าน การเงินและด้านบุคลากรของ KBTG รวมทั้ง ประสานการท�ำงานร่วมกันระหว่าง KBTG และ ธนาคารกสิกรไทย ➠ บริ ษั ท กสิ ก ร แล็ บ ส์ จ� ำ กั ด ค้นคว้าเทคโนโลยีและรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจ ใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อระบบดิจิทัล แบงกิ้ง และระบบเศรษฐกิจดิจิทัล รวมทั้งท�ำหน้าที่ สร้างและทดลองระบบต้นแบบก่อนประยุกต์ ใช้ในผลิตภัณฑ์ของธนาคารกสิกรไทย ➠ บริ ษั ท กสิ ก ร ซอฟต์ จ� ำ กั ด ออกแบบและสร้างระบบไอทีเพื่อรองรับความ ต้องการทางธุรกิจและรองรับการน�ำนวัตกรรม มาใช้ในธนาคารให้มคี วามรวดเร็วและคุณภาพ สูงสุด ➠ บริษัท กสิกร โปร จ�ำกัด ดูแล การบริหารจัดการโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบ ไอที ข องธนาคารให้ มี ค วามทั น สมั ย และมี ประสิทธิภาพ ➠ บริษัท กสิกร เซิร์ฟ จ�ำกัด ท�ำ หน้าที่สนับสนุนการท�ำงานของกลุ่มบริษัท ทั้ง ทางด้ า นการพั ฒ นา การทดสอบ และการ ปฏิบัติการระบบไอที ส� ำ หรั บ ทิ ศ ทางการด� ำ เนิ น งานและ กลยุทธ์ของ KBTG มุ่งไปที่การใช้งานเทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ของธนาคาร รวมทั้งการพัฒนาบริการเพื่อ สนับสนุนลูกค้าและเพิ่มความพึงพอใจของ ลูกค้า อาทิ การพัฒนาบริการผ่านทางโทรศัพท์ มือถือ และหลากหลายช่องทางธุรกิจ (omni channel) และการใช้ ง านเทคโนโลยี เ พื่ อ


ประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้งการให้บริการผ่านเครือข่ายที่ครบวงจร (end-to-end service) เพื่อก่อให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงทีท่ รงพลังในอุตสาหกรรมการเงิน นอกจากนี้ยังมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในบริการทางการเงินเพื่อขยายตลาดใหม่ ๆ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในบริการอืน่ ๆ นอกเหนือจากบริการทางการเงิน เช่น การ ตลาดผ่านช่องทางดิจิทัล อีกทั้งยังมุ่งเน้นการ ให้บริการทางการเงินและบริการอื่น ๆ เพื่อ สนับสนุนธุรกิจ Startup อีกด้วย แนวโน้มเทคโนโลยีที่ KBTG มุง่ เน้นใน 5 ปีข้างหน้า ได้แก่ 1. Internet of Things: IoT คื อ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมอุปกรณ์และ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ รถยนต์ ตูเ้ ย็น ฯลฯ เข้าไว้ดว้ ยกัน โดยสามารถเชือ่ มโยง และสื่อสารกันได้ผ่านอินเทอร์เน็ต 2. World Class Design คือ การ ออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการในโลกยุคใหม่ ที่ค�ำนึงถึงประสบการณ์ของผู้ใช้งานเป็นหลัก (User Experience Design: UXD) 3. Application Programming Interface: API คือ โปรแกรมหรือชุดค�ำสั่งหรือ ช่องทางส�ำหรับการเชือ่ มต่อระหว่างซอฟต์แวร์ หนึง่ ไปยังอีกซอฟต์แวร์หนึง่ รวมถึงการเชือ่ มต่อ ระหว่างแอพพลิเคชั่นไปยังเว็บไซต์และแอพพลิเคชัน่ กับระบบปฏิบตั กิ ารด้วย วัตถุประสงค์ ก็เพื่อการเข้าถึงข้อมูลหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างแอพพลิเคชั่น 4. Advanced Mobile Programming คือ แนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคตที่จะ สามารถอ� ำ นวยความสะดวกสบายให้ กั บ ผู้ใช้งานมากที่สุด 5. Blockchain คือ เทคโนโลยีที่ถูก กล่าวถึงอย่างกว้างขวางในวงการธุรกิจการเงิน เพราะนอกจาก Blockchain จะเป็นรากฐาน ส�ำคัญที่ท�ำให้สกุลเงินดิจิทัล เช่น Bitcoin เป็น ที่ยอมรับอย่างแพร่หลายแล้ว หลายบริษัททั้ง ในและนอกธุรกิจทางการเงินยังเชื่อว่า Blockchain ยังมีประโยชน์ในด้านอื่น เช่น การลด ต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการช�ำระเงิน ข้ามแดน ให้มีความรวดเร็วและตรวจสอบได้

6. Machine Learning หมายถึ ง การที่ก�ำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น โดยเรียนรู้จากการกระท�ำ หรือสิง่ ทีท่ ำ� ไปก่อนหน้านัน้ โดยใช้หลักการของ ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) หรือ อาจเป็นการเรียนรู้จากการถูกสั่งให้ท�ำ จาก ตัวอย่าง (example) หรือจากการเปรียบเทียบ (analogy) ก็ได้ KBTG ยังจะคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ในห้องแลปร่วมกับ Tech Giant ซึ่งเป็นบริษัท ไอทีขนาดใหญ่ นอกจากนี้จะมีบทบาทส�ำคัญ ในการตอบสนองธุรกิจ FinTech และ Tech Startup ที่มีไอเดีย และความสามารถในการ สร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ในรูปแบบต่าง ๆ การ ร่วมพัฒนาเทคโนโลยีและการร่วมลงทุนเพื่อ ต่อยอดธุรกิจเทคโนโลยีในโลกอนาคต พร้อม ใช้จุดแข็งทางด้านนวัตกรรมของบริษัทเหล่านี้ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น การสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนและมีโอกาสเข้า ถึงตลาดที่กว้างขึ้น อาทิ ฐานลูกค้า เอสเอ็มอี และลู ก ค้ า บุ ค คลของธนาคาร นอกจากนี้ ธนาคารยังมีปัจจัยสนับสนุนการท�ำธุรกิจของ Tech Startup ที่ส�ำคัญ นั่นคือ โครงสร้างพื้นฐานด้านไอที (IT infrastructure) ที่แข็งแกร่ง และมีมาตรฐานความปลอดภัยสูงจะช่วยให้ Tech Startup มีศกั ยภาพมากขึน้ ในการพัฒนา และขยายผลนวัตกรรมอย่างรวดเร็วในอนาคต คุณบัณฑูร กล่าวเพิ่มเติมว่า “ธุรกิจ ธนาคารและธุรกิจไอทีมีรูปแบบการบริหาร จัดการและลักษณะบุคลากรที่แตกต่างกัน

ดังนั้น การจัดตั้ง KASIKORN Business Technology Group จึงมีโครงสร้างบริษทั แยก ออกจากธุ ร กิ จ ของธนาคาร ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ความ คล่องตัวในการบริหารจัดการและสามารถ สร้างสภาพแวดล้อม รวมทั้งวัฒนธรรมองค์กร แบบเฉพาะตัวที่จะดึงดูดบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถด้ า นไอที เ ข้ า มาร่ ว มงานกั บ KBTG ได้ตามเป้าหมาย โดยบุคลากรของ KBTG จะปฏิบัติงานที่อาคารกสิกร บิซิเนสเทคโนโลยี กรุ๊ป ซึ่งเป็นอาคารแห่งใหม่ของ ธนาคาร สู ง 11 ชั้ น ภายในอาคารมี ก าร ออกแบบพื้นที่ใช้สอยเพื่อรองรับการท�ำงานที่ เน้นความคิดสร้างสรรค์และงานนวัตกรรมอีก ด้วย” KBTG จะร่วมเป็นหนึ่งในกลไกการ พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ และเป็น ตัวช่วยในการขับเคลื่อนธนาคารกสิกรไทยสู่ การเป็นดิจทิ ลั แบงกิง้ อย่างเต็มรูปแบบ รวมถึง ความพร้อมในการท�ำงานร่วมกับ Tech Startup กล่าวคือ สามารถเป็นได้ทั้งพันธมิตรทาง ธุรกิจ (strategic partner) ผูร้ ว่ มลงทุน (investor) หรือแม้แต่เป็นลูกค้า (customer) แล้วแต่ รูปแบบของนวัตกรรมเพื่อเติมเต็มช่องว่างที่มี อยู่และส่งเสริมให้ธุรกิจรูปแบบใหม่เหล่านี้ เติบโตและประสบความส�ำเร็จในระยะยาว นอกจากนี้ KBTG ยังพร้อมสนับสนุนนโยบาย ของรัฐบาลและธนาคารแห่งประเทศไทยใน เรื่อง e-Payment Master Plan โดยน�ำระบบ อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาประยุกต์ในชีวติ ประจ�ำวัน ของคนไทยอย่ า งครบวงจร ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ ประชาชนจะได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว สามารถลดต้นทุนจากการพกพาเงินสดและ หันมาใช้การช�ำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มี ค่าบริการที่ถูกกว่าแทน ในส่วนของร้านค้าก็ สามารถลดต้นทุนการบริหารจัดเก็บเงินสดและ เช็ค รวมไปถึงการพิมพ์และจัดส่งเอกสารใบ ก�ำกับภาษี ซึ่งเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ จะท�ำให้โครงสร้างต้นทุนการให้บริการทางการ เงิ น ในอนาคตลดต�่ ำ ลงอย่ า งมากในขณะที่ สามารถอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ลูกค้าได้ มากกว่ า เดิ ม เพื่ อ เสริ ม ให้ ชี วิ ต ในโลกดิ จิ ทั ล สมบูรณ์แบบ

Vol.23 No.216 July-August 2016

Idol & Model

41


Q

Special Scoop for

uality

Special Scoop

Special Issue


Q

Special Scoop for

uality

จากงานวิ จ ย ั อั น ทรงคุ ณ ค่ า สู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแพทย์ยุค Industry 4.0 กองบรรณาธิการ

นัก

วิ จั ย ที่ มี ผ ลงานจนกระทั่ ง ได้ รั บ รางวั ล มากมายทั้ ง ในประเทศและ ต่างประเทศในแวดวงของเภสัชกรรม คงไม่มีใครที่จะไม่รู้จัก รศ.ภญ. ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึง่ ท่านได้รบั รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 รางวัล การออกแบบเชิงนวัตกรรม Design Innovation Contest 2010 (DIC 2010) สาขา Green Design จากส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ประจ�ำปี 2553 ในงานวันนวัตกรรม กับงานวิจัยดังกล่าวที่มีชื่อว่า “ฟ้าหอม-นาโนไบโอเซลลูโลส” พัฒนาผลงานสู่ เจ้าของรางวัลนวัตกรรมของสหภาพยุโรป ประเภทเหรียญอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด รางวัลนวัตกรรมของประเทศเบลเยี่ยม ประเภทเหรียญอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุด รางวัล International Innovation Award of the Polish Academy of Sciences รางวัล เหรียญทองจากผลงานวิจัยเรื่อง “ไซโตไคน์จากเกล็ดเลือดที่กระตุ้นการสร้าง คอลลาเจน และป้องกันการเกิดแผลเป็น” และรางวัลเหรียญทองจากผลงาน วิจัยเรื่อง “อาหารสัตว์ที่ประกอบด้วยถั่งเช่า เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันของสัตว์น�้ำ” ในงาน “The 64th Brussels Eureka: The World Exhibition on Inventions, Research and New Technologies” (Brussels Innova 2015) ณ กรุงบรัสเซลส์ ราชอาณาจักรเบลเยียม ซึ่งมีนักวิจัย 4,200 คน จาก 20 ประเทศ ส่งผลงาน สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมต่าง ๆ เข้าประกวดกว่า 300 ผลงาน นับเป็นนักวิจยั คนแรกในเอเชียทีไ่ ด้รบั รางวัลชัน้ สูงสุดนี้ และ ล่าสุดได้รับการประกาศเกียรติคุณเป็นนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจ�ำปี 2558 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัชฯ จากสภาวิจยั แห่งชาติ งานวิจยั อันทรงคุณค่าทีอ่ าจารย์ได้ คิดค้นขึ้น ยังผลต่อการพัฒนาและส่งเสริมในงานด้าน สุขภาพและการแพทย์เป็นอย่างยิ่ง วันนี้อาจารย์อยูก่ บั เรา

รศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ อร่ามวิทย์

อาจารย์ประจำ�ภาควิชาเภสัชกรรมปฎิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

43


Special Scoop และพร้อมทีจ่ ะถ่ายทอดทัศนะเกีย่ วกับผลงาน ซึง่ ในอนาคตจะขับเคลือ่ นสูก่ ารพาณิชย์ สร้าง มูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์เกษตรและเป้าหมายสู่การสร้างรายได้ให้กับประเทศ

ผลงานวิจัยเพื่อเพิ่มมูลค่า แก่สินค้าเกษตรเป็นสำ�คัญ

Vol.23 No.216 July-August 2016

รศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ ระบุ อ ย่ า ง ชัดเจนว่า ในการคิดค้นและสร้างสรรค์ผลงาน วิจัยที่ได้ผลสัมฤทธิ์นั้น เกิดขึ้นจากเป้าหมาย ในการเพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้าเกษตรเป็นส�ำคัญ “กล่าวได้วา่ ทุกวันนีน้ วัตกรรมมีความเกีย่ วข้อง และเชือ่ มโยงกับ GDP ของประเทศอย่างเห็น ได้ชัด และสังเกตได้ว่าประเทศที่มี GDP สูง ประเทศนั้นจะมีผลงานทางนวัตกรรมที่ได้รับ ความนิยมสูง ด้วยเหตุผลนีจ้ งึ เล็งเห็นว่าจริง ๆ แล้วนวัตกรรมเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมาก โดยทั่วไป นักวิจัยในประเทศไทยจะคุ้นเคยกับค�ำว่า สิง่ ประดิษฐ์ ซึง่ สิง่ ประดิษฐ์จะมีความแตกต่าง จากนวัตกรรมอยู่เพียงเล็กน้อยในประเด็นที่ ส�ำคัญ นัน่ คือ หากเรามีการน�ำสิง่ ประดิษฐ์มา ท�ำให้เกิดมูลค่า เป็นที่รู้จักของตลาด จึงจะ เรียกได้ว่า นวัตกรรม ซึ่งคนไทยส่วนใหญ่จะ จบอยู่แค่เพียงสิ่งประดิษฐ์ และหากมองใน ภาพรวมแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม แต่ปัญหาที่เกิดขึ้น คือ สินค้าเกษตรมี ราคาตกต�่ำมาก หากเราไม่รีบแก้ไขต่อไปใน

44

อนาคตคาดว่าเราจะไม่มอี าชีพทางการเกษตร หลงเหลืออยู่ สิ่งเดียวที่ท�ำให้เราอยู่ได้ คือ จะ ต้องใส่ Know-how เข้าไปในงานด้านเกษตรกรรมเพือ่ ให้เกิดนวัตกรรมขึน้ นีจ่ งึ เป็นมูลเหตุ ให้เกิดงานวิจยั และผลิตภัณฑ์ทสี่ นับสนุนงาน ด้านเกษตรกรรมและต่อยอดสูง่ านด้านสุขภาพ และการแพทย์” จากมูลเหตุจูงใจในการคิดค้นงาน วิจัยที่ช่วยสนับสนุนงานด้านการเกษตรของ ประเทศ รศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ จึงได้ต่อยอด งานวิจัยสู่การสร้างผลิตภัณฑ์ที่เอื้อต่อการ แพทย์ “จากที่ได้รับปริญญาเอกในสาขาที่ เกีย่ วข้องกับโปรตีนจากต่างประเทศ เมือ่ ศึกษา จบกลับมายังประเทศไทย จึงได้ประยุกต์องค์ความรู้ที่ได้ศึกษามาให้เข้ากับสภาวะและ สภาพแวดล้อมของประเทศไทย จึงได้เริ่ม มองหาโปรตีนที่มีอยู่มากในประเทศและมี คุณค่าพอทีจ่ ะน�ำมาใช้กบั งานด้านการแพทย์ คุณสมบัตดิ งั กล่าว มีในสินค้าเกษตรของไทย นั่นคือ ไหม เมือ่ ได้ศกึ ษาถึงคุณสมบัตขิ องกาวไหม พบว่า เนื่องจากประเทศไทยเป็นผู้ผลิตไหม อันดับต้น ๆ ของโลก จึงท�ำให้มโี ปรตีนกาวไหม อยู่จ�ำนวนค่อนข้างมาก หากน�ำมาแปรรูปใช้ ประโยชน์ ไ ด้ ก็ จ ะเป็ น การเพิ่ ม มู ล ค่ า ของ วัตถุดิบและสามารถลดมลภาวะได้อีกด้วย ส�ำหรับงานวิจัยดังกล่าวเริ่มต้นจากการวิจัย

ในหนูทดลอง ด้วยการทาโปรตีนกาวไหมใน รูปแบบครีมที่บริเวณบาดแผลของหนู เพื่อ เปรียบเทียบประสิทธิภาพกับการทาด้วยเบตาดีน สารฆ่าเชื้อและสารรักษาแผลอื่น ๆ ผล การศึกษาเบื้องต้น พบว่า บาดแผลของหนูที่ ทาด้วยโปรตีนกาวไหมหายเร็วมาก และมี ปริมาณคอลลาเจลในเนือ้ เยือ่ ส่วนทีไ่ ด้รบั กาว ไหมสู ง กว่ า ส่ ว นอื่ น ๆ มาก นอกจากนี้ ยั ง พบว่ า มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการอุ ้ ม น�้ ำ ได้ ดี และ สามารถต้านอนุมูลอิสระได้ จึงมีแนวคิดน�ำ โปรตีนกาวไหมมาแปรรูปพัฒนา เป็น “แผ่น เนื้อเยื่อปิดแผลจากโปรตีนกาวไหม” โดย ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย จากส� ำ นั ก งาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ หรือ วช. ซึ่งแผ่น เนื้อเยื่อปิดแผลจากโปรตีนกาวไหมที่พัฒนา ขึ้นนี้จะมีรูปแบบเหมือนแผ่นกระดาษหรือ แผ่นโฟมธรรมดา มองภายนอกจะไม่เห็น ความแตกต่าง เพราะรูพรุนมีขนาดเล็กมาก และมีสีออกสีปูนตามสีของโปรตีนกาวไหม ส่วนขนาดของแผ่นปิดแผล สามารถผลิตได้ เท่ากับขนาดของวัสดุปิดแผลที่มีอยู่ในท้อง ตลาดปัจจุบัน ขนาดใหญ่ที่สุดคือ 2 เท่าของ กระดาษ A4 จากการน�ำไปทดลองใช้ในสัตว์ พบว่ า ได้ ผ ลดี ม าก ขั้ น ตอนต่ อ ไปจะเป็ น ทดลองในอาสาสมัคร ซึ่งเป็นคนปกติที่ไม่มี บาดแผลเพื่อศึกษาว่าก่อให้เกิดการระคาย เคืองหรือไม่ จากนั้นจึงเป็นการทดสอบใน ผูป้ ว่ ยจริงทีม่ บี าดแผล หากได้ผลดีจะทดลอง ท�ำการผลิตในระดับอุตสาหกรรมต่อไป ซึ่งนี่ จะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลดการน�ำเข้าแผ่น เนือ้ เยือ่ ปิดแผลจากต่างประเทศ และขณะนีไ้ ด้ มีการต่อยอดงานวิจยั ให้แผ่นเนือ้ เยือ่ สามารถ ป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อโรคได้ และ จะมีการศึกษากรรมวิธีในการฆ่าเชื้อโรคของ แผ่นเนือ้ เยือ่ เพิม่ เติม เนือ่ งจากพบว่ารังสีแกม ม่าทีใ่ ช้ในการฆ่าเชือ้ โรคในปัจจุบนั อาจท�ำให้ คุ ณ สมบั ติ เ บื้ อ งต้ น ของโปรตี น กาวไหม เปลี่ยนแปลงไปได้ ซึ่งจะท�ำให้คุณภาพของ แต่ละแผ่นไม่เท่ากันหากมีการผลิตในระดับ อุตสาหกรรม รวมทั้งยังมีความร่วมมือกับ ศิริราชพยาบาลในการพัฒนาแผ่นเนื้อเยื่อให้


Special Scoop มีขนาดใหญ่ขนึ้ และอยูใ่ นรูปแบบม้วน เพือ่ ให้ สามารถตัดใช้ได้ตามขนาดทีต่ อ้ งการอีกด้วย”

นอกเหนือจากผลงานดังทีไ่ ด้กล่าวมา ข้ า งต้ น แล้ ว รศ.ภญ.ดร.พรอนงค์ ยั ง ได้ สร้างสรรค์งานวิจัยที่มีคุณภาพอีกมากมาย โดยอาจารย์ได้ยกตัวอย่างงานวิจยั ทีน่ า่ สนใจ ให้เราฟังว่า “จากที่ได้น�ำกาวไหมมาท�ำเป็น ผลิตภัณฑ์เพื่อการแพทย์แล้ว เรายังได้ท� ำ มาร์กหน้าจากน�้ำมะพร้าว เรียกว่า “ฟ้าหอมนาโนไบโอเซลลู โ ลส” โดยได้ เ ลื อ กใช้ น�้ ำ มะพร้าวทีม่ มี ากมายอยูใ่ นประเทศของเรามา เป็ น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต ซึ่ ง คุ ณ สมบั ติ ข อง น�้ำมะพร้าวแก่นั่นมีสารที่ช่วยต้านการสร้าง เม็ดสี หรือยับยัง้ การเกิดเมลานิลใต้ชนั้ ผิวหนัง ได้ ซึ่งมาร์กหน้าที่คิดค้นขึ้นจะแตกต่างจาก มาร์กทั่วไป นั้นคือ ท�ำด้วยผลิตภัณฑ์จาก ธรรมชาติ 100 เปอร์ เ ซ็ น ต์ และยั ง มี ก าร เติมสารโปรตีนจากไหมเข้าไปเพื่อเสริมประสิทธิภาพในการกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน ให้แก่ผิวหนัง ท�ำให้ผู้ใช้ไม่เกิดอาการแพ้หรือ ระคายเคือง สิ่งที่น่าสนใจที่สุด คือ ต้นทุนใน การผลิตยังต�่ำ และหาได้ในประเทศ เมื่อน�ำ มาต่อยอดสูเ่ ชิงพาณิชย์นา่ จะสร้างผลก�ำไรได้ มหาศาล” อี ก หนึ่ ง งานวิ จั ย ที่ น ่ า สนใจ นั่ น คื อ

“ไซโตไคน์จากเกล็ดเลือดที่กระตุ้นการสร้าง คอลลาเจน และป้องกันการเกิดแผลเป็น” ทีมวิจัยค้นพบว่า เลือดวัว มีไซโตไคน์ที่มี ประโยชน์ต่อการกระตุ้นการสร้างคอลลาเจน และป้ อ งกั น การเกิ ด แผลเป็ น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพสูง จึงได้คิดค้นไซโตไคน์ที่ได้ จากเกล็ดเลือดวัวให้อยู่ในรูปแบบเจลพร้อม ใช้ เรียกว่า “HemaYouth” เป็นส่วนประกอบ ของเครื่องส�ำอางเพื่อลดเลือนริ้วรอยอีกด้วย ซึ่งผลงานนี้ได้รับการยอมรับว่าเห็นผลจริง นอกจากนี้ทีมวิจัย น�ำโดย รศ.ภก. ดร.พรอนงค์ ยังได้ท�ำผลงานวิจัย “อาหาร สัตว์ทปี่ ระกอบด้วยถัง่ เช่า เพือ่ เพิม่ ภูมคิ มุ้ กัน

ของสัตว์นำ�้ ” ทีผ่ า่ นมา พบว่า ถัง่ เช่ามีคณ ุ สมบัติช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันซึ่งส่งผลต่อการลด ภาวะอักเสบของโรคให้ดีขึ้น แต่ก็มีข้อเสีย คือ ราคาแพง ซึ่งทีมวิจัยค้นพบว่าถั่งเช่าเป็น เชื้อราที่เจริญเติบโตในหนอน รศ.ภก.ดร. พรอนงค์ จึงค้นหาว่าจะใช้หนอนชนิดใดทีพ่ บ มากในไทย หาได้งา่ ย ราคาถูกและควบคุมได้ ง่าย จนลงตัวที่ “หนอนไหม” ซึง่ ได้จากรังไหม ที่สาวเอาเส้นใยออกหมดแล้ว และมีเหลือ มากในอุ ต สาหกรรมเส้ น ไหม รศ.ภก.ดร. พรอนงค์ ได้น�ำเข้าเชื้อราถั่งเช่าสายพันธุ์ จากธิเบตที่มีราคาสูงมากมาเพาะขยายและ เลี้ยงในหนอนไหมที่ผ่านการคั่วหรืออบแห้ง และใช้เวลาเพาะเลี้ยงเพียง 1 เดือน ซึ่งเป็น ระยะเวลาที่สั้นกว่าการเพาะถั่งเช่าเพื่อเป็น อาหารเสริมส�ำหรับคน ที่ใช้เวลานานกว่า 3 เดือน และต้องการความบริสุทธิ์ที่มากกว่า โดยหนอนไหมที่ใช้เพาะเลี้ยงเชื้อถั่งเช่าจะ กลายเป็นอาหารเสริมส�ำหรับสัตว์ ซึ่งให้สาร คอร์ไดเซปินที่ช่วยภูมิคุ้มกันแก่สัตว์ จากการ ทดสอบใช้ถั่งเช่าจากหนอนไหมผสมอาหาร สัตว์ในสัดส่วน 50 มิลลิกรัมต่ออาหารสัตว์ 100 กิโลกรัม แล้วเลี้ยงหมู วัว และไก่กิน สัปดาห์ละ 2 ครั้ง พบว่า การติดเชื้อของสัตว์ เช่น โรคปากและเท้าเปื่อย อหิวาต์หมู ลดลง อย่างมีนยั ส�ำคัญ และการใช้ยาปฏิชวี นะลดลง

Vol.23 No.216 July-August 2016

ต่อยอดผลงานจากวัตถุดิบทางการเกษตร และปศุสัตว์

45


Special Scoop และอาจารย์ยงั ได้ตอ่ ยอดแนวคิดทีจ่ ะพัฒนา ถั่งเช่าเป็นอาหารเสริมของสัตว์น�้ำด้วย ซึ่ง ขณะนีป้ ระสบความส�ำเร็จในระดับหนึง่ แต่ยงั พัฒนาต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง นี่จึงเป็นสิ่งที่ สะท้อนให้เห็นว่างานวิจัยมีส่วนส�ำคัญยิ่งต่อ การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะต่อการเจริญ เติบโตต่อเศรษฐกิจและสังคม

การปลูกจิตสำ�นึกให้เกิดนักวิจัยรุ่นใหม่

Vol.23 No.216 July-August 2016

เมื่ อ งานวิ จั ย มี ส ่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ การ พัฒนาประเทศในภาพรวมแล้ว การกระตุน้ ให้ นักศึกษาเกิดแนวคิดที่จะต่อยอดงานวิจัยจึง เป็นสิ่งส�ำคัญ รศ.ภก.ดร.พรอนงค์ กล่าวถึง เรือ่ งนีว้ า่ “การกระตุน้ ให้เกิดนักวิจยั รุน่ ใหม่เป็น เรื่องที่ท้าทายมาก เด็กส่วนใหญ่ในทุกวันนี้ มีความคิดว่า ต้องการเรียนจบแล้วต้องการที่ จะมีกิจการส่วนตัว ซึ่งแนวคิดนี้ถือว่าดีมาก เพราะเด็กมีความคิดทีจ่ ะเป็นนายตัวเอง และ มองเห็นถึงสร้างสินค้าและแบรนด์ของตนเอง แต่สิ่งที่เด็กจะต้องเรียนรู้ นั่นคือ งานจะประสบความส�ำเร็จในเรื่องใดได้นั้นต้องมีความ อดทน งานวิจัยก็เป็นงานที่จะต้องใช้ความ อดทนสูง เพราะฉะนัน้ จึงมีเพียงนักศึกษาส่วน น้ อ ยที่ ต ้ อ งการท� ำ งานวิ จั ย เพื่ อ สร้ า งสรรค์ นวัตกรรม ในฐานะน�ำเราเป็นอาจารย์จึงต้อง

46

พยายามเสริมสร้างให้นกั ศึกษาเรียนรูท้ ลี ะขัน้ เช่น เริ่มต้นจากการทีผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการ วิจัยมาให้เด็กท�ำการตลาด น�ำความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ทศี่ กึ ษามาบูรณาการกับงานการ ตลาดให้เกิดเป็นมูลค่า เมือ่ เด็กเรียนรูง้ านด้าน การตลาดทีต่ อ้ งเรียนรูถ้ งึ ผลิตภัณฑ์ทจี่ ำ� หน่วย ให้ลึกซึ้ง ก็จะท�ำให้เด็กรู้สึกสนุก และต่อยอด สู่ความคิดสร้างสรรค์จากเรื่องง่าย ๆ สู่เรื่องที่ ยากขึ้น ก็จะท�ำให้เกิดสินค้านวัตกรรม และ เกิดเป็นสินค้าที่เกิดจากความคิดของตนเอง ในที่สุด”

อุปสรรคต่อการทำ�วิจัย

งานวิ จั ย เป็ น งานที่ ท ้ า ทายความ สามารถ ปัญหาและอุปสรรคที่เคยเกิดขึ้นใน อดีต นัน่ คือ เงินทุนวิจยั แต่ปจั จุบนั สิง่ ทีส่ ำ� คัญ ที่สุดส�ำหรับการท�ำวิจัยกลับกลายเป็นเรื่อง ของการขาดแคลนบุคลากรทีจ่ ะท�ำวิจยั เพราะ เป็นงานที่ต้องอดทนต่อความล้มเหลว สิ่งที่ ท�ำได้ดีที่สุด หากต้องการประสบความส�ำเร็จ คือ เมื่อล้มก็ต้องลุกขึ้นมาสู้ใหม่ ดังเช่นที่ รศ.ภก.ดร.พรอนงค์ ท�ำมาโดยตลอด คือ ต้อง ไม่ทอ้ “ปัญหาทีเ่ กิดขึน้ นอกจากการขาดแคลน บุคลากร คือ ผู้ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ทีส่ ำ� คัญ คือ ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี ทีจ่ ะต้อง

ได้รับโอกาสมากขึ้น และผู้ประกอบเองก็จะ ต้องรู้จักตัวเอง รู้จักการปรับตัว และรู้จัก เรียนรูถ้ งึ ผลิตภัณฑ์ทผี่ า่ นการวิจยั เพือ่ มุง่ สูเ่ ชิง พาณิชย์ให้มากขึ้น เพราะสินค้านวัตกรรมทุก ชนิดไม่ได้เหมาะกับผู้ประกอบการทุกบริษัท ผู้ประกอบการจึงต้องไม่หยุดนิ่งและตื่นตัว นี่ ก็ จ ะท� ำ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ได้ ไม่ยาก”

งานวิจัยสู่การแข่งขันในยุค Industry 4.0

“งานวิจยั เพือ่ สร้างสรรค์นวัตกรรมจะ มีคุณค่าและสร้างรายได้ให้แก่ประเทศได้นั้น เริ่ ม ต้ น ได้ จ ากภาครั ฐ ที่ ค วรสนั บ สนุ น การ สร้างสรรค์นวัตกรรมอย่างจริงจัง ทีผ่ า่ นมาเรา ไม่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ เพราะเมื่ อ มี สิ น ค้ า ต้นแบบแล้วก็จะหยุดอยูเ่ พียงเท่านัน้ แต่หาก ภาครัฐให้การเอาใจใส่ ศึกษาอย่างแท้จริง สร้างผู้ริเริ่ม ขึ้นมาเป็นตัวต้นแบบเพียงหนึ่ง เดี ย ว แล้ ว เป็ น ตั ว อย่ า งให้ ทุ ก คนเดิ น ตาม เนือ่ งจากหากพูดถึงนวัตกรรมในประเทศไทย มีอยู่มากมาย แต่นึกไม่ออกว่ามีเรื่องใดและ ผลิตภัณฑ์ใดทีโ่ ดดเด่นบ้าง ภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง ต้องเริ่มดูแลนวัตกรรมตั้งแต่ต้นทางถึงปลาย ทาง ชูเป็นผลิตภัณฑ์ของคนไทยทีโ่ ดดเด่น แต่ นักวิจยั ทีไ่ ม่ได้รบั รางวัลก็อย่ามองแค่ทตี่ วั เรา ว่าผลงานไม่ได้รับรางวัลหรือไม่ได้รับการ ชมเชย แต่ต้องมองที่สังคมไทยว่าเราจะยืน หยัดอยู่ในสังคมโลกได้อย่างไรหากเราไม่มี ผลิตภัณฑ์ที่เป็นนางเอกของเราเอง ส่วนตัว แล้วคิดว่า เรายังมีหนทางเติบโตอีกมาก ไม่ สายเกินไปทีเ่ ราจะท�ำ แต่ตอ้ งมีคนทีม่ อี �ำนาจ หรือดูแลด้านนโยบายอย่างจริงจังและผลักดัน ผลงานของคนไทยด้ ว ยกั น เอง ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ให้ ม ากที่ สุ ด ตั้ ง แต่ ต ้ น จนจบ นวัตกรรมไทยก็จะเจริญรุง่ เรืองและมีตวั ตนใน สังคมโลก” รศ.ภก.ดร.พรอนงค์ กล่าวสรุป


Q

Special Scoop for

uality

หุต้นแบบการพั ่นยนต์ฒนาจากวิบำ�ศบัวกรรมสู ดผู่ก้ปารแพทย์่วย ในยุค Industry 4.0 กองบรรณาธิการ

Industry 4.0

นอกจากจะเกิดขึ้นกับภาคส่วนอุตสาหกรรม เท่านั้น ยังเกิดขึ้นได้กับการบริการทางด้าน การแพทย์ เรื่องใกล้ตัวที่เราทุกคนยังไม่เคยรู้ นั่นคือ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล โดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถออกแบบสร้างสรรค์หุ่นยนต์บ�ำบัดและฟื้นฟู ผู้ป่วยที่เคลื่อนไหวไม่ได้ให้กลับมาเคลื่อนไหวได้อีกครั้ง ซึ่งหุ่นยนต์นี้เป็นสิ่งสะท้อน ให้เห็นว่างานทางด้านวิศวกรรมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนงานทางด้านการแพทย์ ได้อย่างเป็นบูรณาการ นอกจากจะช่วยบ�ำบัดรักษาผู้ป่วยแล้ว ยังสร้างมูลค่าเพิ่มและ ต่อยอดงานออกแบบไปสู่เชิงพาณิชย์อย่างเห็นได้ชัด วันนี้ ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ อาจารย์ประจ�ำคณะวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่านได้พูดคุยกับเราถึงการสร้างสรรค์ผลงาน การน�ำงานวิจัยที่คิดค้นขึ้นมาใช้ได้จริง รวมถึงการต่อยอดงานวิศวกรรมสูก่ ารแพทย์และขับเคลือ่ นสูก่ ารสร้างเศรษฐกิจในชาติ ได้อย่างไร ▲

ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ

อาจารย์ประจำ�คณะวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

for Quality Vol.23 No.216 July-August 2016

47


Special Scoop มูลเหตุจงู ใจในการสร้างหุน่ ยนต์บ�ำ บัดฟืน้ ฟู ผู้ป่วย

Vol.23 No.216 July-August 2016

ศาสตราจารย์ ดร.วิบลู ย์ กล่าวเริม่ ต้น ถึงมูลเหตุจูงใจในการสร้างสรรค์ผลงานว่า “ในความเป็นจริงแล้วหุน่ ยนต์กายภาพบ�ำบัด ที่ เ ริ่ ม ท� ำ ขึ้ น มานี้ ในเบื้ อ งต้ น ท� ำ ขึ้ น ส� ำ หรั บ ผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดในสมอง รวมถึงผูป้ ว่ ยที่ เป็นโรคอัมพฤกษ์อมั พาต ซึง่ ผูป้ ว่ ยจะเคลือ่ นไหวไม่ได้ โดยแบ่งเป็นผูป้ ว่ ยทีเ่ คลือ่ นไหวไม่ได้ ทัง้ ตัว เคลือ่ นไหวไม่ได้ครึง่ ตัว อาทิ เคลือ่ นไหว ได้เพียงซีกใดซีกหนึ่ง เคลื่อนไหวได้เพียงแค่ ส่วนบน (upper limb) และเคลือ่ นไหวได้เพียง แค่ส่วนล่าง (lower limb) ทัง้ นีก้ ารคิดค้นสร้างหุน่ ยนต์บำ� บัดฟืน้ ฟู ผูป้ ว่ ยเป็นโครงการทีท่ ำ� ร่วมกันกับ นายแพทย์ วสุวัฒน์ กิตติสมประยูรกุล และ แพทย์หญิง พิม โพธิอาศน์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเวชศาสตร์ฟน้ื ฟู คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพราะเรามีการออกแบบหุ่นยนต์เพื่อให้หมอสามารถน�ำไปใช้งานได้จริง นอกจากนีจ้ ำ� นวนผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง มีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ในอดีตผู้ป่วยจะมี อายุประมาณ 60 ปีขนึ้ ไป แต่ปจั จุบนั สามารถ พบได้ในผู้ป่วยอายุ 30 ปีขึ้นไป เพราะคนใน ปัจจุบันใช้ชีวิตด้วยความเคร่งเครียดทั้งจาก การท� ำงานและการด� ำเนินชีวิต รวมไปถึง

48

อาหารทีบ่ ริโภคก็กระตุน้ ให้เกิดโรคได้งา่ ย เมือ่ จ�ำนวนผู้ป่วยมีมากขึ้น ในขณะที่นักกายภาพ บ�ำบัดในประเทศเริ่มขาดแคลน อีกทั้งการฝึก องค์ ค วามรู ้ ใ ห้ นั ก กายภาพบ� ำ บั ด สามารถ ปฏิบัติงานได้จริงก็ต้องใช้เวลานาน จึงไม่ เพียงพอต่อความต้องการของผู้ป่วย ในขณะ เดียวกันมีการวิจัยจากต่างประเทศอ้างอิงว่า หากมีการใช้หุ่นยนต์มาฝึกหัดร่วมกับวิธีการ ปกติ เช่น ใช้หุ่นยนต์ร่วมกับการนวดโดยคน พบว่า ผู้ป่วยมีแนวโน้มดีขึ้น นี่จึงเป็นมูลเหตุ ทีเ่ ราต้องการพิสจู น์วา่ จะจริงหรือไม่จริง ดังนัน้ โครงการนีจ้ งึ เกิดขึน้ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้รับทุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษา ด้วยเป้าหมายของเงินทุน คือ ต้องการสนับสนุนให้เกิดการสร้างต้นแบบ และพัฒนาจนน�ำไปสู่การใช้งานได้จริง”

จุดเริ่มของการสร้างสรรค์ผลงาน

จากมูลเหตุจูงใจถึงการสร้างสรรค์ ผลงานให้เกิดขึ้นจริง “เมื่อได้รับโจทย์ในการ สร้างต้นแบบ เราจึงมีการวางแผนเป็นเบื้องต้นว่าจะต้องท�ำอะไรบ้าง ส�ำหรับภาควิชา เครื่องกล โดยผมเป็นผู้รับผิดชอบจึงเริ่มต้น สร้างผลงานเป็นแขนกล เรียกว่า แขนกลแบบ สวมใส่ (exoskeleton arm) ทีส่ ามารถสวมใส่ เข้าไปที่มือของผู้ป่วย และใช้โปรแกรมคอม-

พิวเตอร์ควบคุมการเคลื่อนที่ของมือได้ เช่น ผูป้ ว่ ยต้องการฟืน้ ฟูในบริเวณหัวไหล่ ผูค้ วบคุม สามารถโปรแกรมได้ทนั ทีเ่ ฉพาะจุดทีต่ อ้ งการ ซึ่ ง การฟื ้ น ฟู ก็ จ ะขึ้ น อยู ่ กั บ ระดั บ ของความ เจ็บป่วยตั้งแต่ระดับ 1-5 คือ ตั้งแต่เคลื่อนที่ ไม่ ไ ด้ จ นถึ ง เคลื่ อ นที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ฉพาะบางส่ ว น เพราะฉะนัน้ หุน่ ยนต์จงึ เปรียบเสมือนผูน้ ำ� ทาง ให้ผู้ป่วยเคลื่อนที่ได้ในจุดที่ต้องการบ�ำบัด รักษา” ความยากของการท�ำหุน่ ยนต์เคลือ่ นที่ นั้น ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ บอกกับเราว่า อยู่ที่ระบบควบคุมที่จะต้องปลอดภัย เหมาะสมกั บ คนไข้ ซึ่ ง ผู ้ คิ ด ค้ น ได้ ใ ช้ เ วลาที่ ก าร ทดสอบอยู่ระยะหนึ่งจนในวันนี้การันตีได้ว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ คือ ปลอดภัยส�ำหรับ ผู้ป่วยอย่างแน่นอน นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ยังได้สร้างสรรค์ หุน่ ยนต์เฉพาะแขนท่อนบน (upper limb) ได้แก่ ช่วงหัวไหล่ (ปัจจุบันมี อยู่ 2 ตัว มีแนวโน้มสร้างเพิ่ม 3 ตัว) ข้อศอก ข้ อ มื อ นิ้ ว มื อ โดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ดี ไ ซน์ ออกแบบเพื่ อ ดู วิ ถี ท างการเคลื่ อ นที่ แ ละ ควบคุมการใช้งาน จนในวันนี้ได้ทดลองใช้ งานแล้ ว กั บ กลุ ่ ม เป้ า หมายทั้ ง กั บ คนปกติ ผูป้ ว่ ยจริง อีกทัง้ ยังมีการทดสอบจริงกับผูป้ ว่ ย ที่สว่างคนิวาส ซึ่งเป็นสถานที่พักฟื้นผู้ป่วยที่ มีอายุมากและมีภาวะการเป็นโรคหลอดเลือด สมอง ในอนาคตจะสร้างเพิ่มอีก 2-3 ตัว เพื่อ ใช้งานจริงที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และ สภากาชาด ผู้ป่วยที่เข้าร่วมการทกดสอบใช้ หุ่นยนต์ส่วนใหญ่จะเป็นผู้ป่วยที่เป็นอาสาสมัคร เพราะการทดสอบจะต้องได้รับการ อนุ ญ าตทางจริ ย ธรรมทางการแพทย์ จ าก โรงพยาบาลและสถานพั ก ฟื ้ น ต้ น สั ง กั ด นอกจากนี้ยังมีการทดสอบกับผู้ป่วยจ�ำนวน 60 คน เกีย่ วกับสมรรถนะของเครือ่ ง โดยมีการ ท�ำกายภาพสลับกับการใช้หนุ่ ยนต์ ซึง่ ผลทีไ่ ด้ รับเป็นทีน่ า่ พอใจ ส่วนหุน่ ยนต์เฉพาะท่อนล่าง (lower limb) อยู่ในขั้นตอนก�ำลังพัฒนา ซึ่ง หุ่นยนต์ที่คิดค้นขึ้นทั้งหมดมีชื่อว่า CUREs มาจากค�ำว่า CU Rehabilitation Robot for Patient Stroke มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ คือ สามารถ


Special Scoop เคลื่อนย้ายเพื่อน�ำไปใช้งานยังสถานที่ต่าง ๆ ได้สะดวก และใช้พื้นที่น้อย

พัฒนาหุ่นยนต์อย่างต่อเนื่อง

ประเมินผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์บำ�บัด

“ผลงานที่ได้ท�ำขึ้นมาใช้เวลาด�ำเนิน งานไม่มากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับผลงาน อื่น ๆ ถือว่าใช้เวลาได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมาก โดยในระยะเวลาเพียง 1-2 ปี เรา สามารถท�ำหุ่นยนต์จนกระทั่งใช้งานได้จริง ด้วยงบประมาณลงทุนที่คุ้มค่า ผมเชื่อมั่นว่า ผู้ให้ทุน รวมถึงคณะแพทย์ที่ท�ำงานร่วมกัน ค่อนข้างมีความมัน่ ใจและสบายใจในโครงการ ที่เราท�ำร่วมกัน ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้นเกิดจาก วิธีการจัดการที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ท�ำงานทีช่ ดั เจน และทีมงานทีแ่ ข็งแกร่ง ทุม่ เท รวมทัง้ ผูใ้ ห้ทนุ ก็ได้ให้อสิ ระในการลองผิดลอง

ถูก ผลงานจึงออกมาได้เร็วมาก”

การสร้างจิตสำ�นึกให้นักศึกษาเห็นคุณค่า ในการสร้างงาน ในบทบาทที่ อ าจารย์ วิ บู ล ย์ เ ป็ น ทั้ ง อาจารย์และนักประดิษฐ์ที่สร้างผลงานด้าน วิ ศ วกรรมที่ เ อื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ วงการแพทย์ อาจารย์มกี ารปลูกจิตส�ำนึกให้กบั นักศึกษาให้ เห็นคุณค่าของการสร้างสรรค์วา่ “เบือ้ งต้นการ จะสร้างสรรค์ผลงานให้เกิดขึ้นได้นั้น สิ่งแรก ต้ อ งเกิ ด ขึ้ น จากความชอบของเด็ ก ก่ อ น นอกเหนือจากผลงานด้านหุน่ ยนต์บำ� บัดแล้ว เรายังมีผลงานอื่น ๆ อีกมากมายที่มีส่วนใน

การสนับสนุนงานในภาคอุตสาหกรรมของ ประเทศ ในภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลมีการ เรียนการสอนอยู่ 2 ลักษณะ คือ วิศวกรรม เครือ่ งกลเชิงคลาสสิค (classical mechanical engineering) ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องความร้อน การถ่ายเทความร้อน ของไหล โครงสร้างเหล็ก เครื่องจักร ปั๊มน�้ำ เป็นต้น และเมื่อมีการน�ำ เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ เ ข้ า มาใช้ ดั ง นั้ น เครือ่ งจักรในสมัยนีจ้ งึ ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ แตกต่างจากสมัยก่อนที่มีการควบคุม ด้วยคน จึงเกิด วิศวกรรมเครื่องกลสมัยใหม่ (modern mechanical engineering) เราจึง เห็นระบบผลิตเกิดขึน้ มากมาย เช่น เครือ่ งกลึง อัตโนมัติ รวมถึงหุ่นยนต์ที่ถูกควบคุมด้วย คอมพิวเตอร์ เพราะฉะนั้นศาสตร์ทางด้านนี้ จึงเติบโตขึ้น อุปกรณ์เครื่องกลก็จะมีคอมพิวเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง นักศึกษาจึงต้องเรียนรู้ ในเรื่องการน�ำคอมพิวเตอร์มาควบคุมให้เกิด การท�ำงานโดยอัตโนมัติเพื่อให้เครื่องจักรกล ท�ำงานได้ตามต้องการ มีความแม่นย�ำสูง ทนทานต่อสภาพแวดล้อม ใช้พลังงานน้อย ทุกวันนี้มีนักศึกษาบางคนที่มีความชอบงาน ด้านวิศวกรรมเครื่องกลในแบบเดิม ๆ อยู่ แต่ ก็ มี ห ลายคนที่ ชื่ น ชอบงานด้ า นวิ ศ วกรรม เครื่องกลสมัยใหม่ จึงเข้ามาช่วยงานผมใน

Vol.23 No.216 July-August 2016

หลังจากผลงานแขนกลแบบสวมใส่ หุ่นยนต์เฉพาะแขนท่อนบนจนใช้งานได้ดี ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ จึงได้สร้างสรรค์ หุ่นยนต์บ�ำบัดผู้ป่วยเพิ่มขึ้น โดยสร้างสรรค์ หุน่ ยนต์อกี 2 รูปแบบ คือ Wrist Rehabilitation เป็นแบบเฉพาะส่วนข้อมือเท่านั้น (มี 1 ตัว มีแนวโน้มสร้างเพิ่ม 2-3 ตัว) ก�ำลังรอทดลอง ใช้กับผู้ป่วยอาสาสมัครจ�ำนวน 60 ราย และ End-Effector Type Rehabilitation Robot เป็น แบบไม่สวมแต่จับเฉพาะที่ปลาย ซึ่งขณะนี้ ยังไม่ได้ต่อยอดสู่ผู้ป่วย

49


Special Scoop

ห้องปฏิบตั กิ ารอย่างสม�ำ่ เสมอ” เมือ่ นักศึกษา เข้ามาร่วมท�ำงานในห้องปฏิบตั กิ ารกับอาจารย์ บ่อยครั้ง เมื่อได้เห็นจึงเกิดการเรียนรู้และ อยากปฏิบตั ติ าม นัน่ เป็นการเรียนรูท้ เี่ กิดจาก การลงมือท�ำที่เห็นผลชัดเจน

วิศวกรรมกับงานด้านการแพทย์

Vol.23 No.216 July-August 2016

ผลงานของ ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม เครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตอบ โจทย์ความต้องการทางด้านการแพทย์ของ ไทย เห็นได้ชัดจากผลงานที่เกิดขึ้น “เรามี ความยินดีอย่างยิ่งที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการ ช่วยเหลือและบ�ำบัดผู้ป่วย นอกเหนือจาก

50

หุ่นยนต์บ�ำบัดแล้ว เรายังมีผลงานข้อเทียม ข้อเข่า ข่อสะโพก และน�ำไปใช้งานจริงเพื่อ ทดแทนการน�ำเข้าจากต่างประเทศที่มีราคา สูง และมีเป้าหมายเพื่อผลิตอุปกรณ์ที่ใกล้ เคียงกับสรีระของคนไทยด้วย” นอกเหนือ จากนีง้ านวิศวกรรมสาขาอืน่ ๆ ก็มสี ว่ นในการ ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านการแพทย์ อาทิ สาขาวัสดุศาสตร์ท�ำกระดูกเทียมจากไทเทเนียมร่วมกับแพทย์โรงพยาบาลพระมงกุฎฯ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าท�ำเซนเซอร์ต่าง ๆ ที่ใช้ ทางการแพทย์ นัน่ เพราะงานวิจยั ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเน้นหนักในเรื่องของการ ผลิตต้นแบบที่ใช้งานได้ จึงท�ำให้งานวิจัย

สามารถรองรับและสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจของประเทศไทยได้มากขึ้น

งานวิจัยกับการกระตุ้นเศรษฐกิจ ของประเทศ

ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ ยังได้กล่าว ถึงงานวิจัยที่ส่งผลต่อการกระตุ้นเศรษฐกิจ และรองรับการเข้าสู่ยุค Industry 4.0 ของ ประเทศว่า “หากงานวิจัยที่สามารถต่อยอด สู่การท�ำต้นแบบสามารถน�ำไปใช้งานได้จริง สิ่งที่เห็นได้ชัด คือ จะเป็นการช่วยลดการน�ำ เข้า เมือ่ ถึงในระดับหนึง่ เราสามารถส่งออกได้ อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างขวัญและก�ำลังใจให้กบั นักวิจัยด้วย หากนักวิจัยประดิษฐ์งานแล้วมี ผู้ใช้งานมีส่วนในการช่วยอัตถาธิบายหรือ แสดงความคิดเห็น เสนอแนะความต้องการ นั ก วิ จั ย ก็ จ ะสามารถประดิ ษ ฐ์ ง านที่ ถู ก ใจ ส�ำหรับผู้ใช้งานจริง แต่สิ่งหนึ่งที่เราต้องช่วยเหลือกันมากขึ้น นั่นคือ การส่งเสริมทางด้าน การตลาด ให้มีมากยิ่งขึ้น ก็จะท�ำให้งานวิจัย เข้าสูเ่ ชิงพาณิชย์และมุง่ สู่ Industry 4.0 ได้ไม่ ยาก” ศาสตราจารย์ ดร.วิบูลย์ กล่าวสรุป


CREATIVE & IDEA

pi ¨l¤s« j °p i ¤ u } l ¤ ¥ |Ö ¨ ¤| ¨l¤s« ¡ Ö jÓ ¡ l ¡Ó i

JANUARY 2016 VOLUM 10

NUMBER

112

นิตยสาร

Creative & Idea KAIZEN

¬ Í

¨l¤s«

i Ò o}Ò ¤ ï o

ฉลองปรับโฉม พรอมกาวเขาสูปที่ 10

j Ï pj j j} ~t× }

ion Vis zen Kai ¨l¤s« l i pi ¬¤ Ú ¡ Ö j o ¡Ó i io | ¡ ¤ ¨ p i

คืนกำไรใหผูอาน ดวยโปรโมชั่นสุดพิเศษ

2 ตอ

0 110121 120157

70

CREATIV

นิตยสาร

นิตยสาร นิตยสาร ครี

เอทีฟ แอนด

ไอเดีย ไคเซ็น

ศูนยรวมขอ

ตอที่

E & IDEA

่ปุน & ศญีIDEA E ากประเท น ลิขสิทธิ์จ CREATIV ิจกรรมไคเซ็

มูล ความรู

สำหรับก

คูปอง CREATIVE & IDEA มกับสิทธิ์ เง�อนไขการใช งครั้งเดียว และไมสามารถใชรวโปรโมชั่นอ�น ๆ ได ทั้ง ดเพีย 1. คูปองนี้ ใชไ ิกทุกประูปเภท ของ ส.ส.ท. รวม อง ค  .ท. มาช ารใช ดส ส.ส นไขก อ เง� อ นล รื ว ส ในเค ์ นิตยสาร

นิตยสาร ครีเอทีฟ แอนด

ไอเดีย ไคเซ็น ศูนยรวมข

อมูล ความรู สำหรับกิจกรรมไคเซ็น

ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุน

มพ ใชรวมกับสิทธิ ้งเดีักยพิว และไมสามารถ งครัสำน .ท. องนีาะห้ ใชนัไดงเสืพีอยของ สือ ส.ส ้งโปรโมชั่นอ�น ๆ ได นยหนังรวมทั 2. ซื1.้อไดคูเง�ปเฉพ และศูส.ส.ท. m ของ อww นไขการใช ค.coูปอง กทุกประเภท สวทนลดสม าร 18) ี่ w.tาชิpabook และพัฒนากในเครื 3. ซื้อได อ ส.ส.ท.นัรว้นมกับสิทธิ์ 29 ้งเดีนัยกวพิมและไม พ สามารถใช ท วิ 1. คู ป องนี ้ ใ ช ไ ด เ พี ย งครั ม ุ ของสำ ข อ สื ง (สุ นั า ฉพาะห เ ได ...เทา อ ้ 2.ทั้งซื2 สาข ..........งรวมทั ..... ..... ..... ส.ส.ท. อ สื สวนลดสมาชิ ก ทุ ก ประเภทของ ส.ส.ท. ้งโปรโมชั่นอ�น ๆ ได ..... นั ห ย น ..... และศู ..... k.com ไดถึง.....paboo ้อไดที้ ใชี่ www.t 4.3.คู2.ปซืองน เฉพาะหนั พิมนาการ พในเครื18) อ ส.ส.ท. 29 และพักฒ (สุขงุมสืวิทอของสำนั ทั้งซื้อ2ไดสาขา านั้น ........เท .......... .......... 3. ซื อ ้ ได ท ่ ี www.tpabook.com และศู น ย ห นั ง สื อ ส.ส.ท. .......... .......... 4. คูปองนี้ ใชไดถึง ทั้ง 2 สาขา (สุขุมวิท 29 และพัฒนาการ 18) 4. คูปองนี้ ใชไดถึง................................................เทานั้น

1

นิตยสาร ครีเอทีฟ แอนด ไอเดีย ไคเซ็น ศูนยรวมขอมูล ความรู สำหรับกิจกรรมไคเซ็น ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุน

สมัครสมาชิกใหม หรือตออายุ

1 ป

(790.-)

ตอที่ 1

รับคูปองสวนลดทันที 20 %

ตอที่ 2

เลือกรับฟรี 1 เลม ❏ KAIZEN Best Practices เลม 1 ❏ KAIZEN Best Practices เลม 2 ❏ KAIZEN Best Practices เลม 3 ❏ เปลี่ยนความสูญเปลาเปนกำไรดวย Visualization

สมัครสมาชิกใหม หรือตออายุ

2 ป

(1,550.-)

ตอที่ 1

รับคูปองสวนลด 20 %

ตอที่ 2

เลือกรับหนังสือ ❏ Kaizen Best Practices เลม 1-3 หรือ เลือกรับหนังสือได 1 เลม ❏ การพัฒนาบุคลากรในโรงงานแบบ Monozukuri

ตอที่

2

❏ 7 จุดบอดแฝง ที่ขัดขวางการเพิ่ม ผลผลิตของโรงงาน

❏ เขาใหผมเปนผูจัดการคุณภาพ

ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th หมายเหตุ

คูปองมีอายุ 30 วัน สามารถใชเปนสวนลดในการซื้อหนังสือในเครือ ส.ส.ท. เทานั้น ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงโปรโมชั่น โดยมิตองแจงใหทราบลวงหนา

kaizen pro11y20160121


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.