QM218 November - December 2016 Vol.23 No.218

Page 1

www.tpaemagazine.com

For

Quality Management

R RE T ONIX SU

V

D. LT

Fluke Modular Pressure Controller/Calibrator

ME A

November-December 2016 Vol.23 No.218 Magazine for Executive Management

PASSED ER

I F I C AT I O

N

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

มิติใหม ในงานสอบเทียบ อุปกรณวัดความดัน

Fluke 6270A ความแมนยำ 0.01% Reading, 30% -100% span ติดตั้งโมดูลไดพรอมกัน 5 โมดูล สำหรับ หองสอบเทียบมาตรวิทยา, งานวิจัย และพัฒนา งานสอบเทียบขั้นสุดทาย และงานตรวจรับรองคุณภาพ

    

ติดตั้งงาย เซ็ตอัพงาย ทำงานงาย ชวงความดันกวางครอบคลุมทุกงาน ในเคร�องเดียว ดวยระบบโมดูลใหเลือก เปลี่ยนโมดูลไดงาย ไมตองปดเคร�อง ไมตองเซ็ตอัพใหม ทำไดจากดานหนา ระบบปองกันปนเปอน ดวยทอทิศทางเดียว ลดโอกาสทำงานผิดพลาด มี ใหเลือก 2 รุน ตามความแมนยำของงาน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523

www.measuretronix.com/ pressure-calibrator

 

การออกแบบการทดลอง หลักการปฏิบัติที่ดี เพ�อการจัดเก็บ และกระจายสินคา ตามแนวทางของ AIB

  

Fluke 2271A ความแมนยำ 0.02% FS ติดตั้งโมดูลได 2 โมดูล พรอมกัน มี HART Protocol สำหรับสอบเทียบไดอัลเกจ, สวิตชความดัน, ทรานสมิตเตอรความดัน, ดิจิตอลเกจ และใชในโรงงานผลิตเกจวัดความดัน

กลยุทธของ “SoftBank Group Corp” การปรับเปลี่ยนองคการไปสูความเปนเลิศ เพ�อรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ สราง Health Biz ติดตลาดดวย Smart Content Marketing


ME A

และเคร�องสอบเทียบอุปกรณวัดคุมในกระบวนการผลิต

R RE T ONIX SU

V

D. LT

เคร�องสอบเทียบความดันสำหรับงานแล็บ

PASSED ER

I F I C AT I O

N

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

PRESSURE CALIBRATOR หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับนานาชาติ (National Metrology Institute Lab)

2465A Gas Piston Gauge Uncertainty better than 3 ppm; Range -14.5 to 1,000 psig

PG7302 Oil Piston Gauge

PG9607 Gas Piston Gauge

Accuracy ± 5 ppm or 1 mg; Range 14.5 psi to 75,000 psi

Uncertainty ± 5 ppm or 1mg; Range 1.6 psi to 72,500 psi

Fluke 2700G Series

Reference Pressure Gauges ความแมนยำสูง 0.02% FS เก็บบันทึกคาวัดได ใชงานโดยลำพังได หากใชรวมกับ ป  ม รุ  น 700PTPK หรื อ 700HTPK ก็ จ ะได เ ป น ชุ ด สอบเทียบความดันแบบมือถือ หรือใชกบั เคร�องสอบเทียบ P5510, P5513, P5514, P5515 จะไดเปนชุดสอบเทียบ ความดันแบบ Bench Top ที่มีสมรรถนะสูง

หองปฏิบัติการสอบเทียบในโรงงาน (Working Standard Lab)

M3800 Series High Pressure Hydraulic Deadweight Testers Accuracy 0.02% to 0.015%; Range 500 to 60,000 psi

P3031, P3032

P3100, P3200

Pneumatic Deadweight Testers Hydraulic Deadweight Testers (Oil or Water Operated) Accuracy ±0.015%; Max pressure 300 psi to 90% vacuum Accuracy ±0.015%; Ranges to 20,000 psi

Fluke 3130

Portable Pneumatic Pressure Calibrator สำหรับสอบเทียบเซ็นเซอร ความดัน และเกจวัดความดัน วัดและกำเนิดความดัน ตัง้ แต สุญญากาศ จนถึง 2 MPa (300 psi, 20 bar) ความ แมนยำ 0.025 % FS วัด และจายกระแส 4 - 20 mA และแรงดัน 24 โวลต สำหรับ สอบเทียบหลูป

หองปฏิบัติการสอบเทียบระดับอางอิง (Reference Standard Lab) Auto Range

E-DWT-H Electronic Deadweight Tester (Hydraulic) Uncertainty ± 0.02% to 0.025%; Range upto 30,000 psi

PPC4 Pneumatic Pressure

7252 Dual Output Digital

Controller/Calibrator Uncertainty ± 0.010 % to ± 0.008%; Range vacuum to 2,000 psig

Pressure Controllers Uncertainty ± 0.003%; Range 5 to 2,500 psig

PROCESS CALIBRATOR Fluke 7526A

Fluke 721 และ Fluke 721Ex PROCEDIRES AVAILABLE

Precision Process Calibrator เคร�องสอบเทียบกระบวนการผลิต ความเที่ยงตรงสูง สามารถจายคาและวัดคาไดพรอมกัน ทั้งแรงดันดีซี, กระแส, ความตานทาน, RTDs และเทอร โมคัปเปล, วัดความดันสูงถึง 10,000 PSI, วัดกระแสหลูป 4-20 mA, จาย ทรานสมิตเตอรหลูป 24 V dc, ใชงานกับ MET/CAL® Plus

FLUKE 754 Documenting Process Calibrator - HART

Confidence Interval 99.7% (K=3) มีอนิ เตอรเฟส HART Protocol ในตัว สอบเทียบไดตามมาตรฐาน ISO 9000, FDA, EPA และ OSHA ครอบคลุม อุปกรณวดั คุมในทุกกระบวนการผลิตของโรงงาน

สอบเทียบไดทั่วโรงงานอยางงายดาย ภายใน 3 ขั้นตอน

1

ดาวนโหลดขัน้ ตอน การสอบเทียบเขาเคร�อง

2

ดำเนินการสอบเทียบ ตามขัน้ ตอนแนะนำในเคร�อง

3

กลับมาอัพโหลดผลลัพธ และออกใบรับรองไดทนั ที

เคร�องสอบเทียบความดัน 2 ชอง ความแมนยำสูง

มีความแมนยำสูง 0.025 % ที่มีเซนเซอรความดันให ใชงาน 2 ชอง ทำใหสามารถวัดความดันไดพรอมกันทั้งความดัน static และ ความดัน differential ในเคร�องเดียวกัน วัดสัญญาณ 4 - 20 mA มีแหลงจายหลูป 24 V สำหรับจายทรานสมิตเตอร และวัด อุณหภูมิความเที่ยงตรงสูงไดดวยโพรบ RTD (อุปกรณเสริม)

รุนใหม Fluke 721Ex สำหรับพื้นที่ ไวตอประกายไฟ

Fluke 719Pro

เคร�องสอบเทียบความดัน มีปมไฟฟาในตัว

มีความแมนยำสูง 0.025 % พรอมปมไฟฟาในตัวที่สามารถ สร า งความดั น ได ส ู ง ถึ ง 300 psi (20 bar) โดยไม ต  อ งใช ปมมือภายนอก สามารถวัดคา จำลอง และจายกระแสหลูป 4-20 mA และวัดแรงดันไฟฟา 30 VDC มีแหลงจายแรงดัน หลูป 24 V ใหแกทรานสมิตเตอรได วัดอุณหภูมิไดอยาง เที่ยงตรงดวยโพรบ RTD (อุปกรณเสริม)

Fluke 709H

เคร�องสอบเทียบกระแสหลูป ส�อสารแบบ HART ได • • • • •

ความแมนยำสูงสุดที่ 0.01% จายกำลังหลูป 24 V DC พรอมโหมดวัดกระแส mA ใหคาละเอียดสูง 1 µA และ 1 mV ตั้งเวลา step และ ramp เปนวินาที ทดสอบวาลวได

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ pressure-process-cal


Fluke 2638A Hydra Series III เคร�องบันทึกขอมูล (Data Acquisition) อเนกประสงค เปนดิจิตอลมัลติมิเตอร ในตัว สำหรับงานเก็บขอมูลทางไฟฟาและ อุณหภูมิจำนวนมากในอุตสาหกรรม  วัดและบันทึกคา แรงดัน DC/AC, กระแส DC/AC, ความตานทาน, ความถี่, RTD, เทอรโมคัปเปล และเทอรมิสเตอร  อินพุตดิฟเฟอเรนเชียลเลือกได 22, 44, 66 แชนเนล  เปน DMM ขนาด 6½ หลักในตัว อีก 1 แชนเนล  แสดงกราฟขอมูลไดพรอมกัน 4 ชอง บนจอแสดงผลสี  ความแมนยำ DC 0.0024%  เก็บขอมูลได 57,000 ชุดขอมูล  มีเวบเซิรฟเวอรในตัวสำหรับดูขอมูลจากระยะไกลได

   

  

 

  

I F I C AT I O

N

ME A

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

สอบเทียบ DMM ตั้งแต 8.5 หลักลงมา ไดครบ 5 ฟงคชั่น : แรงดัน/กระแส ac, แรงดัน/กระแส dc และความตานทาน คา 1 year, 95% Confidence spec : 3.5 ppm dc voltage, 42 ppm ac voltage, 35 ppm dc current, 103 ppm ac current, และ 6.5 ppm resistance กำเนิด ac/dc voltage ถึง 1100 V, ac/dc current ถึง 2.2 A และความตานทาน 18 คา ไดถึง 100 MOhm สอบเทียบ RF millivoltmeters ไดถึง 30 MHz (อุปกรณเสริม) จำลองตัวเองเปน Fluke 5700A หรือ 5720A ได ใช MET/CAL เวอรชั่นเกาได อินเตอรเฟส GPIB (IEEE-488), RS-232, Ethernet, USB 2.0 มีอินเตอรเฟสเฉพาะสำหรับตอกับ Fluke 52120A และ 5725A ได มีชองตอ USB ดานหนาสำหรับดาวนโหลดไฟลสอบเทียบ .cvs ดวย USB แฟลชไดรฟได

Fluke 6105A Electrical Power Standard เครื่องสอบเทียบดานไฟฟากำลัง จายกำลังไดทั้ง 1, 2, 3 หรือ 4 เฟส แยกจากกันและพรอมกัน ฟลุค 6100A สามารถจายแรงดันแบบ Pure sine ไดถงึ 1000V กระแส สูงสุด 80A ความแมนยำขนาด 100ppm (0.01%) และวัด phase shift (phase adjustment) ไดละเอียดถึง 1 millidegree หรือ 10 ไมโครเรเดียน นอกจากนี้ฟลุค 6100A ยังมีความสามารถพิเศษอื่น ๆ อีกดังนี้  Fluctuation Harmonics  Dips and Swells  Multi Phase Operation

Compatible

ดิจิตอลมัลติมิเตอรคุณภาพสูงสำหรับ Calibration Lab ดวยฟงกชัน และความแมนยำยอดเยี่ยม

ER

Compatible

เครื่องสอบเทียบเครื่องมือวัดทางไฟฟาหลากชนิด มีระบบปองกันอินพุตที่ตอบสนองรวดเร็ว ใชสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ อะนาล็อกมิเตอรและดิจิตอลมิเตอร ไดถึง 6½ หลัก แคลมปวัดกระแส และแคลมปมิเตอร เทอรโมคัปเปลและ RTD เทอรโมมิเตอร เครื่องสอบเทียบกระบวนการผลิต ดาตาล็อกเกอร, สตริป และชารตเรคอรดเดอร วัตตมิเตอร, พาเนลมิเตอร เครื่องวิเคราะหเพาเวอรและฮารมอนิก ออสซิลโลสโคปทั้งชนิดอะนาล็อกและดิจิตอล

PASSED

Fluke 5730A Multifunction Calibrator ความแมนยำสูงขึ้น จอสีระบบสัมผัส ควบคุมสั่งการงายขึ้น

Fluke 5522A Multi-Products Calibrator

V

D. LT

เคร�องมือสอบเทียบมาตรฐานของเคร�องมือวัด สำหรับจัดทำหองสอบเทียบเปนของตัวเอง

R RE T ONIX SU

Compatible

Fluke 5320A

Multifunction Electrical Tester Calibrator Compatible

Fluke 96270A 27 GHz Low Phase Noise Reference Source

Compatible

Compatible

DC Volts

 

DC Current

  

AC Volt

 

ยานวัดจาก 200mV ถึง 1000V AC Current  ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A ความละเอียด 5.5 หลัก แบนดวิดช 100 kHz  ความละเอียด จาก 5.5 หลัก ถึง 8.5 หลัก ความไวสูงสุด 1nV ถึง 6.5 หลัก ยานวัดจาก 200mA ถึง 20A  ความไวสูงสุด 100pA ความละเอียด 5.5 ถึง 7.5 หลัก Ohms  ยานการวัดจาก 2Ω ถึง 20 GΩ ความไวสูงสุด 10pA  ความละเอียดจาก 5.5 ยานวัดจาก 200mV หลักถึง 8.5 หลัก  ความไวสูงสุด 10nΩ ถึง 1000V แบนดวิดช 1 MHz ความละเอียดจาก 5.5 หลัก อุณหภูมิ  วัดไดทั้งแบบ two-wires, ถึง 6.5 หลัก three-wires และ four-wires ความไวสูงสุด 100nV  อานคาเปน ํC, ํF, K หรือ Ω ได

Fluke 8845A/8846A ดิจิตอลมัลติมิเตอรความแมนยำสูง

เครื่องสอบเทียบมัลติฟงกชันสำหรับเครื่องมือทดสอบทางไฟฟา รวมฟงกชนั มากมายไวในเครือ่ งเดียว สามารถจาย หรือ เปลีย่ นแปลง คาความตานทาน หรือการกำหนดคาอื่น ๆ ที่ใชทั่วไป เพื่อการ สอบเทียบเครื่องมือวัดไฟฟา ซึ่งมีความยืดหยุนและแมนยำ เพียงพอ ตอการสอบเทียบเครื่องมือวัด ทดสอบตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย ใชสอบเทียบ  Multifunction insulation tester  Portable appliance tester  Insulation resistance testers  Continuity testers and earth resistance testers  Ground bond testers and loop/line impedance testers  Hipot testers  เครื่องมือทดสอบทางไฟฟาอื่น ๆ

เครื่องกำเนิดความถี่อางอิงขนาด 27 GHz ที่ใชงานงาย มีความแมนยำสูง และราคาคุม คา ใชสอบเทียบไดทง้ั สเปกตรัม อะนาไลเซอร, RF เพาเวอรเซ็นเซอร และอื่นๆ ปรับระดับ สัญญาณและการลดทอนไดอยางแมนยำ, สัญญาณมีความ บริสุทธิ์สูงและแมนยำ ความผิดเพิ้ยนทางมอดูเลชั่นต่ำ

Fluke 6003A Three Phase Electrical Power Calibrator Compatible

มัลติมิเตอรความแมนยำสูงขนาด 6.5 หลัก ที่มีความสามารถหลากหลาย ตอบสนอง ทุกความตองการของการวัดคาทางไฟฟาไดมากที่สุด เปน เครื่องแบบตั้งโตะที่ใชงาน งาย ประกอบไปดวย ฟงกชันตาง ๆ มากมาย และยังสามารถ วัดอุณหภูมิ คาความจุ คาบเวลา และความถี่  วัด Vdc ที่ความแมนยำ 0.0025%  ยานการวัดกระแส 10 mA ถึง 10 A  ยานการวัดโอหม 10Ω ถึง 1 GΩ  เทคนิคการวัด 2 x 4 แบบ 4-wire  มีพอรต USB เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร (รุน 8846A)  แสดงผลแบบกราฟก  โหมดการบันทึก Trendplot ใหขอมูลเปนสถิติและกราฟ  พิกัดความปลอดภัย CAT I 1000V, CAT II 600V

เครือ่ งสอบเทียบคุณภาพไฟฟา 3 เฟส ทีม่ สี มรรถนะและความแมนยำสูง ในราคาคุม คา ควบคุมแตละเฟสไดอยางอิสระ เหมาะสำหรับหองปฏิบัติการสอบเทียบ, โรงงานผลิตเครื่องมือวัดทางไฟฟา และหนวยงานที่ตองดูแลเครื่องมือวัด ทางดานพลังงาน, เครื่องวิเคราะหคุณภาพไฟฟา และเครื่องมือประเภทเดียวกัน

สนใจติดตอ : คุณปานเทพ 061-626-9958, คุณเอกพงษ 089-495-1955, คุณสุวรรณา 087-369-3523 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar สนใจโปรดติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2514-1000, 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001, 0-2514-0003 อีเมล : info@measuretronix.com เวบไซต : http://www.measuretronix.com

http://www.measuretronix.com/electrical-calibrator


ศูนยสอบเทียบเครื่องมือวัดอุตสาหกรรม Marske Machine (Thailand) Co., Ltd. ไดผานการรับรองหองปฏิบัติการสอบเทียบมาตรฐาน มอก. 17025 ในสาขาไฟฟาทั่วไป และสาขาความดันจากระดับความดัน -1 บาร ถึง 5000 บาร และมุงมั่นที่จะขยายขอบขาย การรับรองในอุณหภูมิ และแรงบิดตอไปในอนาคต อีกทั้งยังคงมุงมั่นที่จะพัฒนาเพิ่ม ขอบขาย ความสามารถในการใหบริการเพื่อตอบสนองความตองการของทานผูใชบริการ ในการสอบเทียบสาขาอื่น ๆ ตอไป

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035

Electrical / Electronics Pressure / Vacuum Temperature Dimension / Torque Gas Detector

2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


2/58 Highway 3191, MapTaPhut, Muang, Rayong 21150 Tel : 038-691563-4, 038-682992-3 Fax : 038-682988 E-mail : sales@mmc-thai.com, sales1@mmc-thai.com, sales2@mmc-thai.com

NSC-TISI-TIS 17025 CALIBRATION NO. 0035


Contents

Quality Management Vol.23 No.218 November-December 2016

Quality Report 30 Front Runner Small but Strong Business Case from Japan ตอนที่ 2 ผลิตและจ�ำหน่ายแปรงสีฟัน ด้ามละ 1,000 เยน โดย ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์

Quality Strategy 32 การปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศ

17

เพื่อรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ (Organizational Transformation for Excellence to Cope with The 4th Industrial Revolution) ตอนที่ 3 โดย ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี

Cover Story 8 Fluke Modular Pressure Controller/Calibrator มิติใหม่ในงานสอบเทียบอุปกรณ์วัดความดัน

โดย บริษทั เมเชอร์โทรนิกส์ จ�ำกัด

Quality System Quality Tools 17 การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment) ตอนที่ 2

20

โดย วิบลู ย์ พงศ์พรทรัพย์

Quality for Food 20 หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices ตอนที่ 12

แปลและเรียบเรียงโดย สุวมิ ล สุระเรืองชัย

Quality of Life 23 เมื่อใดควรตรวจภายใน โดย โรงพยาบาลหัวเฉียว

Quality Management Quality Finance 26 กลยุทธ์ของ

“SoftBank Group Corp” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์

28

จะลงทุนซื้ออพาร์ทเม้นต์ราคาเท่าไรดี: การประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์ด้วยวิธีรายได้ ตอนที่ 2 โดย ดร.ภาวัต อุปถัมภ์เชือ้

23


Contents

Quality Marketing & Branding 35 สร้าง Health Biz ติดตลาดด้วย Smart Content Marketing ตอนที่ 2 โดย ผศ.ดร.พัลลภา ปีตสิ นั ต์

Quality Management Vol.23 No.218 November-December 2016

35

Quality Idol & Model 38 การบริหารจัดการอาคารครบวงจร (TFM) ต้องยกให้ “โอซีเอส” ดูแล

โดย กองบรรณาธิการ

Special Scoop 41

SIPA องค์กรแห่งความร่วมมือสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจดิจิทัล และประเทศไทย 4.0

โดย กองบรรณาธิการ

45

38

พัฒนารูปแบบการบริการเพื่อตอบโจทย์ยุคแห่งดิจิทัล

โดย กองบรรณาธิการ

41

45


Editor’s Talk นิตยสาร ฉบับที่ 218 เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2559 ขอน�ำเสนอบทความที่ น่าสนใจ พร้อมทั้งบทสัมภาษณ์ผู้บริหารของ ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือซิป้า ในประเด็นการด�ำเนินงานที่เอื้อประโยชน์ต่อการ ส่งเสริมอุตสาหกรรมในประเทศ และการสนับสนุนให้ประเทศก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลและ ประเทศไทย 4.0 นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณ์สถานประกอบการ คือ บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด และ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ที่พัฒนาระบบการด�ำเนิน งานโดยเฉพาะการน� ำ เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมมาพั ฒ นาการบริ ก ารอุ ต สาหกรรม โลจิสติกส์ให้เกิดความถูกต้อง รวดเร็ว และสนองความพึงพอใจของลูกค้า เพื่อเป็นกรณี ศึกษาให้กบั ทุกท่านได้เห็นถึงต้นแบบของการพัฒนาทีต่ อบโจทย์โลกแห่งดิจทิ ลั ในอนาคต นอกจากนี้เรายังมีบทความน่าสนใจอีกหลายเรื่อง อาทิ Quality System เสนอ บทความเรื่อง การออกแบบการทดลอง บทความเรื่อง หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและ กระจายสินค้า ตามแนวทางของ AIB Quality Management เสนอบทความเรื่อง กลยุทธ์ของ “SoftBank Group Corp” บทความเรื่อง การปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศเพื่อรองรับการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ และบทความเรื่อง สร้าง Health Biz ติดตลาดด้วย Smart Content Marketing โปรดติดตาม พบกันใหม่ฉบับหน้า

Published by

Advisors คุณมนตรี ชูนามชัย คุณญาณพัฒน อูทองทรัพย

Executive Editor สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant

พรามร ศรีปาลวิทย รถจณา เถาวพันธ จารุภา มวงสวย

Graphics Art Director Production Design โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1731, 1732, 1708

PR & Advertising Supervisor: ฬ�ยากร ขุพินิจ โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Marketing Service

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Advertising

บุษบา ปนงาม โทร. 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ตอ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

Member

จารุภา มวงสวย โทร. 0-2259-9160 ตอ 1740 ภาพประกอบบางสวนโดย www.shutterstock.com

วัตถุประสงค บทความและขอมูลในนิตยสารฉบับนี้เปนความคิดเห็นสวนตัว และลิขสิทธิ์ของผูเขียน จึงไมมีสวนผูกพันกับสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) แตอยางใด อีกทั้งขอมูลตาง ๆ อาจผิดพลาดเน�องจากกระบวนการพิมพ จึงมิควรใชอางอิงกอนที่จะตรวจสอบใหชัดเจน และในกรณีมีบทความใดที่ผูอานเห็นวาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิงหรือทำให เขาใจผิดวาเปนผลงานของผูเขียน กรุณาแจงใหทางสมาคมฯ ทราบ จักเปนพระคุณอยางยิ่ง


ไดอยางไร? ในทุกคำถามที่เกี่ยวกับ “Quality” CCT มี ใหคุณทุก “คำตอบ”

ผลิตสินคาใหมีมากกวาคุณภาพ

CCT รับประกันใหคุณผานการรับรอง

 

ISO 14001

ISO/IEC 17025

ISO 9001 TQM

Consultancy Services and Training

ISO/TS 16949

Consult

QS 9000

HACCP

TIS 18001

5S 

Pre-assessment Audit

QCC

ติดตอสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ คุณมัลลิกา

CCT SQUARE CO., LTD.

1570 Phaholyothin Rd., Ladyaw, Jatujak, Bangkok 10900 Tel. 0-29397717-20 (6 Automatic Line) Fax: 0-25121475 1570 ถนนพหลโยธ�น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร. 0-29397717-20 (6 คูสายอัตโนมัติ) โทรสาร 0-25121475 http://www.cctsquare.com e-mail: service@cctsquare.com

In-house Training


Q

Cover Story for

uality

Fluke Modular Pressure Controller/Calibrator

มิตใิ หม่ในงานสอบเทียบอุปกรณ์วดั ความดัน

ฟลุค..โดยเมเชอร์โทรนิกซ์ มั่นใจบริการหลังการขาย

Fluke 6270A ความแม่นยำ� 0.01% Reading, 30-100% Span ติดตั้งโมดูล ได้พร้อมกัน 5 โมดูล สำ�หรับห้องสอบเทียบมาตรวิทยา งานวิจัยและพัฒนา งานสอบเทียบขั้นสุดท้าย และงานตรวจรับรองคุณภาพ

● ● ● ● ●

ติดตั้งง่าย เซ็ตอัพง่าย ทำ�งานง่าย ช่วงความดันกว้างครอบคลุมทุกงานในเครื่องเดียว ด้วยระบบโมดูลให้เลือก เปลี่ยนโมดูลได้ง่าย ไม่ต้องปิดเครื่อง ไม่ต้องเซ็ตอัพใหม่ ทำ�ได้จากด้านหน้า ระบบป้องกันปนเปื้อน ด้วยท่อทิศทางเดียว ลดโอกาสทำ�งานผิดพลาด มีให้เลือก 2 รุ่น ตามความแม่นยำ�ของงาน

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

www.measuretronix.com/ pressure-calibrator

Fluke 2271A ความแม่นยำ� 0.02% FS ติดตั้งโมดูลได้ 2 โมดูลพร้อมกัน มี HART Protocol สำ�หรับสอบเทียบไดอัลเกจ สวิตช์ความดัน ทรานส์มิตเตอร์ ความดัน ดิจิทัลเกจ และใช้ในโรงงานผลิตเกจวัดความดัน

สนใจติดต่อ: คุณปานเทพ 061-626-9958 คุณเอกพงษ์ 089-495-1955 คุณสุวรรณา 087-369-3523

Fluke 6270A เครื่องควบคุม/สอบเทียบความดันระบบโมดูล เลือกจัดชุดให้ตรงงาน แล้วสอบเทียบได้เลย

เดี๋ยวนี้คุณสามารถสอบเทียบอุปกรณ์วัดความดันได้หลากหลายชนิด ครอบคลุมทุกช่วงความดัน ได้ด้วยเครื่องมือตัวเดียว

8

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016


Cover Story

ใช้ง่าย ดูแลง่าย สอบเทียบเกจวัดความดันและเซนเซอร์ได้อย่างครอบคลุมกว้างขวาง

คุณสมบัติเด่นของ Fluke 6270A ● สอบเทียบเกจวัดความดันและเซนเซอร์ได้กว้างครอบคลุม ด้วยเครื่องเดียว ● ท�ำงานด้วยระบบโมดูล อเนกประสงค์ และประหยัด ● ท�ำงานง่าย ● ดูแลรักษาง่าย ● ช่วงความดันกว้าง ตัง ้ แต่สญ ุ ญากาศ จนถึง 20 MPa (3,000 psi) ● ความแม่นย�ำเลือกได้ 2 ระดับ ตามงบประมาณ 0.02% FS หรือ 0.01% Reading ● ควบคุมความดันได้รวดเร็ว มีเสถียรภาพ ● ยูสเซอร์อินเตอร์เฟสแบบกราฟิก เลือกได้ 9 ภาษา ® ● ท�ำงานอัตโนมัติร่วมกับซอฟต์แวร์ COMPASS for Pressure ● ระบบป้องกันการปนเปือ ้ น ช่วยปกป้องให้วาล์วสะอาดและ ปราศจากสิ่งปนเปื้อนตลอดเวลา

Fluke 6270A สามารถต่อท�ำงานร่วมกันเป็นระบบ สั่งการเครื่องควบคุม/ สอบเทียบความดันหลายเครื่องผ่านแผงหน้าปัดสั่งการจากเครื่องเดียว

สอบเทียบเกจวัดความดันและเซนเซอร์ความดันได้ครอบคลุม ด้วยเครื่องมือที่เชื่อถือได้สูง ดูแลง่าย

Fluke 6270A เครื่องควบคุม/สอบเทียบความดัน ช่วยให้งาน สอบเทียบความดันนิวเมติกท�ำได้ง่ายดาย ด้วยระบบโมดูลที่เลือกให้ ตรงกับงานและงบประมาณได้ และเพิ่มขยายให้ครอบคลุมปริมาณ ภายหลังได้ Fluke 6270A เหมาะส�ำหรับโรงงานผลิตเซนเซอร์ความดัน ที่ต้องการหลีกเลี่ยงการหยุดสายการผลิต และต้องการแหล่งจ่าย ความดันทีท่ งั้ แม่นย�ำและรวดเร็ว ในการปรับเปลีย่ นตัวผลิตภัณฑ์ ด้วย ระบบโมดูลทีด่ แู ลจัดการได้งา่ ย ควบคุมความดันได้รวดเร็วและแม่นย�ำ ครอบคลุมช่วงความดันที่กว้าง ช่วยเพิ่มผลิตภาพ (productivity) ได้ ตามที่ต้องการ

Fluke 6270A ใช้งานแบบเครื่องมือตั้งโต๊ะ หรือติดตั้งบน Rack ก็ได้

ส�ำหรับห้องปฏิบัติการสอบเทียบและห้องเครื่องมือ Fluke 6270A สามารถควบคุ ม ความดั น ได้ อ ย่ า งเที่ ย งตรงและแม่ น ย� ำ ครอบคลุมช่วงความดันที่กว้าง ในเครื่องสอบเทียบเครื่องเดียว นอกจากนี้ ยังมีคุณสมบัติที่ส�ำคัญคือ ระบบป้องกันการปนเปื้อนที่ช่วยปกป้อง ผู้ใช้งานจากมลพิษที่แพร่กระจาย Fluke 6270A เรียนรู้และใช้งานได้ง่าย ด้วยส่วนติดต่อผู้ใช้ เป็นกราฟิกและการออกแบบฮาร์ดแวร์ที่ท�ำความเข้าใจได้ง่าย

Vol.23 No.218 November-December 2016

Fluke 6270A เครื่องสอบเทียบความดัน ที่มีโมดูลที่ย่าน ความดันต่างกันให้เลือกต่อใช้งานได้พร้อมกันถึง 5 โมดูล คุณจึง สอบเทียบเกจและเซนเซอร์ความดันได้ตงั้ แต่สญ ุ ญากาศจนถึง 20 MPa (3,000 psi) โดยมีความแม่นย�ำให้เลือก 2 ระดับ ให้เลือกได้ตามความ ต้องการของงานและงบประมาณ Fluke 6270A ได้รบั การออกแบบมาให้ถอดเปลีย่ นโมดูลได้โดย ไม่ตอ้ งเคลือ่ นย้ายตัวเครือ่ ง ด้วยระบบเสียบล็อกทีส่ ะดวกจากด้านหน้า ช่วยให้การบ�ำรุงรักษาและซ่อมแซมท�ำได้ง่ายและรวดเร็ว ไม่ต้องปิด เครื่อง ไม่ต้องหยุดการท�ำงาน

9


Cover Story Fluke 6270A หน้าตา ปุ่มควบคุม และช่องต่อใช้งาน ลู ก บิ ด หมุ น สำ � หรั บ ปรั บ ความดั น หน้าจอแสดงผลหลักขนาดใหญ่ ปุ่มป้อนตัวเลขแบบเครื่อง อย่างละเอียดใช้กับการสอบเทียบ เกจแบบอะนาล็อก สำ�หรับดูและแก้ไขข้อมูลสำ�คัญต่าง ๆ คำ�นวณที่สะดวกใช้

แสดงกราฟแบบ Real-Time เพื่อดูเสถียรภาพความดัน และสถานะการทำ�งาน

ปุ่มยกเลิกการทำ�งานจาก ด้านหน้าสำ�หรับกรณีฉุกเฉิน

ปุ่มเมนูระบบจอสัมผัสเพื่อ เข้าถึงฟังก์ชั่นการใช้งาน ต่าง ๆ อย่างสะดวก

ในการเข้าถึงโมดูลวัดและควบคุม ความดัน ทำ�ได้ง่าย ๆ เพียงแค่เปิด แผงหน้าปัดออก ก็สามารถเปลี่ยน โมดูลได้ แม้ติดตั้งบน Rack ก็ตาม

Vol.23 No.218 November-December 2016

โหมดต่อใช้งานร่วมกันเป็น ช่องต่อสวิตช์ สำ�หรับอ่านสถานะของ ระบบ เพิ่มขีดความสามารถ สวิตช์ในการทดสอบสวิตช์ความดัน ในการควบคุม/สอบเทียบ แบบครบหลูป

10

ช่ อ งต่ อ ความดั น ทั้ ง หมด ติ ด ตั้ ง อยู่ กั บ บล็อกท่อร่วมทีส่ บั เปลีย่ นได้งา่ ย โดยใช้ได้ กับหัวต่อ NPT, BSP, หรือ 7/16-20 SAE

ช่องต่อ Ethernet ช่องต่อ USB

ช่องต่อ GPIB

ช่องต่อตัวขับวาล์วภายนอก สำ�หรับทำ� ระบบอัตโนมัติเฉพาะงาน

ช่องต่อ RS-232

อุปกรณ์เสริมสำ�หรับติดตั้ง กับ Rack มาตรฐาน 19 นิ้ว


Cover Story ตัวอย่างหน้าจอแสดงผล

สอบเทียบสารพัดภาระงานได้รวดเร็ว แม่นย�ำตามต้องการ

Fluke 6270A ควบคุม/สอบเทียบความดันได้กว้าง ตัง้ แต่ความ ดันต�่ำ ๆ จนถึง 20 MPa (3,000 psi) ครอบคลุมขนาดความดันของ เกจและเซนเซอร์ที่มีการใช้งาน โดยมีความแม่นย�ำ 0.02% FS หรือ 0.01% Reading ให้เลือกตามความต้องการของงานและงบประมาณ

แสดงกราฟแบบ Real-Time เพื่อดูเสถียรภาพความดันและสถานะการท�ำงาน

ติดตั้งโมดูลได้พร้อมกัน 5 โมดูล

ระบบทดสอบความดันรั่วในตัว เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์ของระบบ

ด้วยระบบโมดูลของ Fluke 6270A ที่มีความยืดหยุ่นมากพอ ให้ตดิ ตัง้ โมดูลทีม่ คี วามแม่นย�ำต่างกันในเครือ่ งเดียวกันได้ คุณสามารถ ซื้อโมดูลความแม่นย�ำสูงสุดในช่วงความดันหนึ่ง และเลือกซื้อโมดูล ความแม่นย�ำต�่ำกว่าส�ำหรับงานอื่น ๆ เพื่อความประหยัดได้ตาม ต้องการ ความแม่ น ย� ำ ตามสเปกของ Fluke 6270A เป็ น ไปตาม รายละเอียดของค่าความไม่มนั่ คงการวัด (measurement uncertainty) ใน Technical Note ของ Fluke สามารถดาวน์โหลดได้ที่เว็บไซต์ flukecal.com

เทคโนโลยีล�้ำหน้า และสมรรถนะที่เหนือกว่า

เลือกภาษาของส่วนติดต่อผู้ใช้ (User Interface)

Vol.23 No.218 November-December 2016

โมดูลวัดความดันรุ่น Fluke PM600 ใช้เทคโนโลยี Fluke Calibration Quartz Reference Pressure Transducer (Q-RPT) ที่ ให้ความแม่นย�ำการวัด 0.01% จาก 30% ถึง 100% ของช่วงสแปน ความดัน โดยมีให้เลือก 14 ช่วงความดัน ที่ใช้ได้ทั้ง Absolute Mode และ Gauge Mode

11


Cover Story Fluke 6270A ใช้เทคโนโลยีควบคุมความดันด้วย PulsewidthModulated Control ที่ให้ช่วงความดันที่กว้าง มีอัตราส่วนค่าวัด สูงสุดต่อค่าวัดต�่ำสุดตามสเปกเป็นไปอย่างถูกต้อง รองรับงานได้ อย่างกว้างขวาง

คุณสมบัติด้านความปลอดภัย ปกป้องทั้งตัวเครื่องและผู้ปฏิบัติงาน

ทัง้ โมดูลวัดและควบคุมความดันทุกตัว รวมทัง้ ตัวเครือ่ งหลัก มี วาล์วปลดปล่อยความดันส�ำหรับป้องกันตัวเครือ่ งและผูป้ ฏิบตั งิ านจาก อุบัติเหตุความดันสูงเกิน Flike 6270A ออกแบบโดยยึดตามแนวทาง ปฏิบัติของ Sound Engineering Practices (SEP) ด้วยวาล์วนิรภัย ภายใน การตั้งค่าจ�ำกัดความดันโดยผู้ใช้ และปุ่มยกเลิกการท�ำงาน ฉุกเฉินด้านหน้า จึงให้ความปลอดภัยสูงสุด มีบารอมิเตอร์เพือ่ ชดเชยความเปลีย่ นแปลงความดันบรรยากาศ ในตัว ช่วยให้โมดูลวัดความดันได้ทงั้ ในโหมดความดันสัมบูรณ์ (absolute mode) และความดันเกจ (gauge mode) ด้วยช่วงเปอร์เซ็นต์การ อ่านที่กว้าง บวกกับความสามารถวัดค่าได้ทั้งความดันสัมบูรณ์และ ความดันเกจ ท�ำให้โมดูล Fluke PM600 ครอบคลุมภาระงานที่กว้าง ขวางมาก ส่วนโมดูลวัดความดันรุ่น Fluke PM200 ใช้เซนเซอร์ความดัน Highly Characterized Silicon Pressure Sensor ซึง่ เป็นวิธวี ดั ความดัน ให้ความแม่นย�ำ 0.02% FS ทีเ่ ป็นไปตามมาตรฐานการสอบเทียบ Short Term Performance (linearity, hysteresis and repeatability) และ Long Term Stability and The Uncertainty จึงมั่นใจได้ในสมรรถนะ การวัดค่าของโมดูลรุ่น PM200

ระบบป้องกันการปนเปื้อน

หากภาระงานมีอุปกรณ์ที่มีเกี่ยวข้องกับสารต่าง ๆ หลายอย่าง เช่น น�ำ้ น�ำ้ มัน และก๊าซ จึงมีความเสีย่ งทีส่ ารเหล่านัน้ จะปนเปือ้ นเข้าไป ในระบบ ในทีท่ ไี่ ม่ตอ้ งการ ซึง่ อาจท�ำให้วาล์วตัน ชิน้ ส่วนสึกหรอ ควบคุม ความดันได้ยาก หากเล็ดลอดเข้าไปยังเซนเซอร์ ท�ำให้คณ ุ ลักษณะของ เซนเซอร์เปลี่ยนไป ค่าที่อ่านเชื่อถือไม่ได้

ช่วงความดันเลือกได้กว้าง ครอบคลุมภาระงานกว้างขวาง

Vol.23 No.218 November-December 2016

Contamination Prevention System (CPS)

12

ระบบป้องกันการปนเปื้อน Contamination Prevention System (CPS) เป็นชุดอุปกรณ์เสริมของ Fluke 6270A ที่สามารถจัดหา เพิ่มเติม ที่ช่วยให้วาล์วสอบเทียบยังคงสะอาดและปราศจากเศษ สิ่งปนเปื้อน โดยในชุด CPS ประกอบด้วย การเพิ่มท่อทิศทางเดียว ออกจากตัวควบคุมความดัน ตัวดักสิ่งปนเปื้อน และแผ่นกรอง 2 ชั้น โมดูลควบคุมความดัน รองรับช่วงความดันที่กว้าง


Cover Story ท�ำระบบควบคุมเกจลูกสูบอัตโนมัติ

การติดตั้งหรือถอดโมดูลสามารถท�ำได้จากด้านหน้า เพียงเปิด หน้าปัดออก โดยไม่ตอ้ งยกเครือ่ ง แม้เครือ่ งติดตัง้ บน Rack ก็ตาม แต่ละ โมดูลออกแบบด้วย Enhanced Face-Seal Design ผ่านการทดสอบ การรั่วไหลที่ความดัน 3 เท่าของความดันท�ำงานสูงสุด หมดกังวลเรื่อง การรั่วของความดันที่จะกระทบต่อการวัดและควบคุมความดัน

ดูแลรักษาง่าย ท�ำได้ด้วยตัวเอง

Fluke 6270A ออกแบบมาให้งา่ ยต่อการบ�ำรุงรักษา มีคา่ ใช้จา่ ย ในการเป็นเจ้าของทีต่ ำ�่ โมดูลควบคุมและวัดความดันแยกจากกัน ท�ำให้ การซ่อมท�ำได้ง่ายและรวดเร็ว แค่ดึงออกแล้วเปลี่ยน ไม่จ�ำเป็นต้องมี การจูน คุณสามารถเปลีย่ นช่วงความดันได้ โดยแค่เปลีย่ นโมดูลตัวใหม่ และเปลี่ยนความดันที่จ่าย ไม่ต้องส่งเครื่องกลับไปที่ผู้ผลิต Fluke PG7601 หรือ Fluke PG7202

Fluke 6720A เป็นเครื่องมือที่ยืดหยุ่นในการใช้งานอย่างมาก สามารถใช้สร้างระบบสอบเทียบเกจลูกสูบอัตโนมัติ ร่วมกับ Fluke PG7601 หรือ Fluke PG7202 เพื่อควบคุมการยกของลูกสูบได้

จัดชุดงานด้วยระบบโมดูล ยืดหยุ่นได้ไม่จ�ำกัด

PMM Calibrator Kit

ตัวโมดูลเองสามารถสอบเทียบได้ทั้งขณะอยู่ในเครื่องหรืออยู่ นอกเครื่อง โดยการใช้อุปกรณ์เสริม PMM Calibrator Kit หลังจาก สอบเทียบแล้ว น�ำโมดูลไปใช้ได้กับ Fluke 6270A ทุกเครื่อง โดยไม่มี ผลกระทบต่อค่าความไม่มั่นคงการวัด (uncertainty) การถอดหรือ เปลี่ยนโมดูลท�ำได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษแต่อย่างใด ชิ้นส่วนอุปกรณ์ทุกชิ้นในระบบถูกออกแบบมาให้ง่าย ถอด เปลี่ยนได้ในรูปแบบโมดูล จากหน้าปัดด้านหน้าจนถึงช่องต่อความดัน ด้านหลัง อุปกรณ์ภายในเช่น แผง CPU หลัก ก็ออกแบบมาให้ถอด เปลี่ยนได้ง่ายเช่นกัน

เปลี่ยนโมดูลได้ง่ายภายใน 20 วินาที

ตัวโมดูลสามารถเสียบเข้าหรือดึงออกได้งา่ ยและรวดเร็ว เพียง เสียบโมดูลลงในช่องที่ออกแบบไว้โดยเฉพาะ แล้วขันปุ่มยืดจนมีเสียง คลื้กแสดงว่าเข้าที่ ปุ่มขันยืดนี้ออกแบบป้องกันแรงตึงเกิน จึงไม่ต้อง กังวลปัญหาขันแน่นเกินไป หรือไม่แน่นพอ

บล็อกช่องต่อความดันร่วมด้านหลังที่ถอดได้

Vol.23 No.218 November-December 2016

ในตัวเครื่อง Fluke 6270A สามารถติดตั้งโมดูลได้พร้อมกัน 5 โมดูล โดยเลือกชนิด ขนาด คุณสมบัติ ผสมกันได้หลายแบบตามความ เหมาะสมกับงาน อาจเริ่มต้นด้วยโมดูลที่มีช่วงความดันสอบเทียบใน งานปัจจุบนั แล้วค่อยจัดหาเพิม่ เติมเมือ่ ปริมาณเพิม่ ขึน้ หรือเปลีย่ นแปลง ในภายหลัง

13


Cover Story ช่องต่อความดันทีด่ า้ นหลังของ Fluke 6270A ท�ำจากอะลูมเิ นียม อะโนไดซ์ที่ทนทานสูงจากการใช้งานปกติ อย่างไรก็ตาม หากเกิดการ ติดขัดหรือช�ำรุด ก็สามารถถอดบล็อกช่องต่อร่วมนี้ออกได้โดยไม่ต้อง เปิดเครื่อง เพียงขันสกรูยึดแล้วดึงออกมา บล็อกนี้ไม่มีส่วนยึดติดกับ ชิ้นส่วนใด ๆ การเปลี่ยนจึงท�ำได้ง่ายและประหยัด บล็อกช่องต่อความดันร่วมด้านหลังที่ถอดได้ ช่วยให้การ ถอดเครื่อง Fluke 6720A ออกจาก Rack ท�ำได้สะดวก เพียงระบาย ความดันออกจากพอร์ตทดสอบและพอร์ตจ่าย แล้วถอดบล็อกช่อง ต่อความดันออกจากด้านหลังเครื่อง สายความดันต่าง ๆ ยังคงต่ออยู่ ช่องใครช่องมันเหมือนเดิม ไม่มีการสับสน บล็อกช่องความดันร่วมมี 3 แบบ ส�ำหรับขัว้ ต่อ NPT, BSP และ 7/16-20 ตามการใช้งานในแต่ละท้องถิ่น

Fluke 2271A เครือ่ งสอบเทียบความดันอุตสาหกรรม ทีส่ ามารถ สอบเทียบเกจและเซนเซอร์ความดันได้อย่างกว้างขวาง พร้อมระบบ สอบเทียบอัตโนมัติสมบูรณ์แบบ ด้วยระบบโมดูลที่ปรับเปลี่ยนได้ตาม ความต้องการทีแ่ ตกต่างกัน และงบประมาณทีม่ ี สามารถเพิม่ ขยายช่วง ความดันเพื่อรองรับงานในอนาคตได้ เช่นเดียวกับ Fluke 6270A

Fluke 2271A สอบเทียบอุปกรณ์วัดความดันได้หลากหลาย

การสอบเทียบอัตโนมัติ

ซอฟต์แวร์ Fluke Calibration COMPASS for Pressure ออกแบบเป็นการเฉพาะส�ำหรับการสอบเทียบความดัน ช่วยให้ Fluke 6270A ท�ำขั้นตอนการสอบเทียบความดันเสร็จสมบูรณ์อัตโนมัติ ทั้ง แบบสอบเทียบอุปกรณ์ตวั เดียว หรือแบบหลาย ๆ ตัว นอกจากนี้ Fluke 6270A ยังต่อใช้งานแบบรีโมตอินเตอร์เฟสกับซอฟต์แวร์เฉพาะหรือ อุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น ๆ ได้

Fluke 2271A เหมาะกับห้องปฏิบัติการสอบเทียบ ที่ต้องการ สอบเทียบความดันด้วยตัวเองโดยไม่ยาก เนื่องจากมีความสมบูรณ์ พร้อมในตัวเอง เพียงต่อตัวจ่ายความดันให้เครือ่ งก็พร้อมสอบเทียบทันที สามารถสอบเทียบทรานส์มิตเตอร์ความดันได้อัตโนมัติ โดยไม่จ�ำเป็น ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ พร้อมระบบป้องการปนเปื้อน Contamination Prevention System (CPS) ปกป้องตัวเครื่องและผู้ใช้งาน ส่วนติดต่อกับผูใ้ ช้งานแบบกราฟิก และเมนูทมี่ โี ครงสร้างเข้าใจ ง่าย รวมทั้งตัวเครื่องระบบโมดูล ช่วยให้เรียนรู้การใช้งานได้รวดเร็ว

Fluke 2271A เครื่องสอบเทียบความดันส�ำหรับอุตสาหกรรม

Vol.23 No.218 November-December 2016

เครื่องสอบเทียบความดันนิวเมติกที่ขยายความสามารถตาม ความต้องการของงานที่เพิ่มขึ้นได้

14

Fluke 2271A ติดตั้งโมดูลรุ่น PM200 จากด้านหน้าได้พร้อมกัน 2 โมดูล

มีพอร์ตทดสอบในตัว 2 พอร์ต วัดค่าทางไฟฟ้าได้ ส�ำหรับสอบเทียบทรานส์มิตเตอร์


Cover Story

ใช้งานร่วมกับชุดป้องกันการปนเปื้อน Contamination Prevention System (CPS)

คุณสมบัติเด่นของ Fluke 2271A ● สอบเทียบความดันเกจและเซนเซอร์ได้กว้างครอบคลุม ● ช่วงวัดความดันกว้างตั้งแต่ -100 kPa ถึง 20 MPa (-15 ถึง 3,000 psi) ● โมดูลวัดความดันถอดเปลีย ่ นได้ ตามช่วงความดันทีต่ อ้ งการ ● ติดตั้งโมดูลวัดความดันได้พร้อมกัน 2 โมดูล ● มี โ มดู ล วั ด ค่ า ทางไฟฟ้ า ได้ ใ นตั ว ส� ำ หรั บ การสอบเที ย บ ทรานส์มิตเตอร์ ● มีระบบสื่อสาร HART Protocol ● มีพอร์ตทดสอบความดันให้ 2 พอร์ตในตัว ติดตั้งอุปกรณ์ ที่ต้องการสอบเทียบได้ 2 ตัวพร้อมกัน ● ความแม่นย�ำการวัด 0.02% FS Fluke 2271A ออกแบบมาด้วยแนวคิดระบบโมดูลที่ใช้งานง่าย ขยายได้ไม่จ�ำกัด เช่นเดียวกับ Fluke 6270A โดยใช้ได้เฉพาะโมดูลรุ่น

PM200 ที่มีความแม่นย�ำ 0.02% FS พร้อมกัน 2 โมดูล แต่มีพอร์ต ทดสอบให้ 2 พอร์ต และวัดค่าทางไฟฟ้าได้

เปรียบเทียบความแตกต่างของ Fluke 2271A และ Fluke 6270A ใช้กับโมดูล PM200

Fluke 2271A

Fluke 6270A

 

ใช้กับโมดูล PM600 ระบบป้องกันปนเปื้อน CPS

มีพอร์ตทดสอบในตัว

ต่อภายนอก

ติดตั้งโมดูลได้พร้อมกัน

2

5

วัดค่าทางไฟฟ้า

ระบบสื่อสาร HART

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ติดต่อได้ที่:

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000; 0-2514-1234 โทรสาร 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail: info@measuretronix.com

Vol.23 No.218 November-December 2016

คุณปานเทพ อินทรลาวัณย์ โทร.061-626-9958 คุณเอกพงษ์ แย้มอดุลย์ โทร.089-495-1955 คุณสุวรรณา ชีพพานิช โทร.087-369-3523

15


Q

System for

uality

Tools for Food of Life


Q

Tools for

uality

การออกแบบการทดลอง

(Design of Experiment) ตอนที่

2

วิบูลย์ พงศ์พรทรัพย์ viboon@gmail.com

ใน

บทความฉบับทีแ่ ล้ว ผูเ้ ขียนได้แนะน�ำให้รจู้ กั แนวคิดของการทดลองแบบ Factorial Design ไปแล้ว ในบทความฉบับนีผ้ เู้ ขียนจะมาอธิบาย หลักการที่ส�ำคัญส�ำหรับการออกแบบการทดลอง ดังนี้ 1. หลักการสุ่ม (randomization) คือ การจัดเงื่อนไขในการทดลองให้กับหน่วยทดลอง โดยแต่ละหน่วยของการทดลองมีโอกาสเท่า ๆ กัน ที่จะได้รับเงื่อนไขใดก็ได้ เพื่อป้องกันปัจจัยรบกวนที่อาจซ่อนอยู่ในการทดลอง ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปที่ 1

ความดัน (psi)

3.0 2.5 2.0

100 5 1 7

อุณหภูมิ ( ํC) 120 2 4 8

140 9 6 3

* ตัวเลขในตารางแสดงล�ำดับของการทดลองแบบสุ่ม ▲ รูปที่

1 การสุ่มการทดลอง for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

17


100 2.0

100 2.5

100 3.0

120 2.0

120 2.5

120 3.0

140 2.0

140 2.5

140 3.0

Tools

100 2.0

▲ รูปที่

100 2.5

100 3.0

120 2.0

120 2.5

120 3.0

140 2.0

140 2.5

140 3.0

2 การทดลองแบบไม่สุ่มและความชื้นมีการเปลี่ยนแปลงน้อย

18

Vol.23 No.218 November-December 2016

ในทางกลั บ กั น หากในวั น ที่ ท� ำ การทดลอง มี ฝ นตกลงมา หลังจากท�ำการทดลองผ่านไป 3 การทดลอง ท�ำให้ความชื้นในอากาศ เพิ่ ม ขึ้ น สู ง มาก ดั ง แสดงในรู ป ที่ 3 ในกรณี นี้ ห ากผลการทดลอง ปรากฏว่ า ปั จ จั ย เรื่ อ งอุ ณ หภู มิ ส ่ ง ผล จะท� ำ ให้ ก ารสรุ ป ผลนั้ น มี ความคลาดเคลื 100 ํC อากาศมี 100 100 ่อน100เนื่องจากการทดลองที 120 120 120 140่อุณหภู 140 มิ 140 ความชืน 2.0 2.5 3.0 2.0 2.5 3.0 2.0 2.5 3.0 140 C ่ น้100อย ในขณะที ่ ารทดลองที ่ณ ุ 120หภูม140ิ 120 140และ 100 100 ก 120 120 อ 140 ํ อากาศ มีความชื้น 2.0สูง ดั 2.5งนั้น 3.0จึงอาจเป็ 2.0 น2.5 3.0 2.0 2.5 ไปได้ว่า ความชื้นเป็นปั3.0จจัยที่ส่งผล ไม่ใช่อุณหภูมิตามที่ทดลอง

▲ รูปที่

100 2.5 100 2.0

120 3.0 100 2.5

140 2.0 100 3.0

120 2.5 120 2.0

100 3.0 120 2.5

140 1202.5 3.0

100 120 140 1402.0 1402.0 1403.0 2.0 2.5 3.0

3 การทดลองแบบไม่สุ่มและความชื้นมีการเปลี่ยนแปลงมาก

แต่หากท�ำการทดลองแบบสุม่ พบว่า ไม่วา่ ความชืน้ ในอากาศ น้อยหรือมาก จะมีการทดลองที่อุณหภูมิที่แตกต่างกัน ดังแสดงใน รูปที่ 4 หากผลการวิเคราะห์สรุปว่าอุณหภูมิส่งผล คราวนี้จะสามารถ 100 100 120 120 120 140 ว่าเป็1002.5นผลมาจากอุ ริง ๆ 1402.0ไม่มีผ1402.5ลจากความชื ้นเข้ามา ยืนยันได้2.0 3.0 2.0 ณหภู 2.5 มิจ3.0 3.0 รบกวน

จากรูปแสดงให้เห็นว่า การทดลองจะเริ่มจากการทดลองที่ อุณหภูมิ 100 ํ C และความดัน 2.5 psi หลังจากนั้นจะท�ำการเปลี่ยน เงื่อนไขการทดลองไปเป็นอุณหภูมิ 120 ํC และความดัน 3.0 psi แทน และท�ำไปจนกว่าจะครบทุกการทดลองตามหมายเลข หลายคนอาจสงสัยว่า ท�ำไมต้องท�ำการทดลองสลับไปมา แบบนี้ ท�ำไมไม่ท�ำการทดลองเรียงตามล�ำดับ เช่น ก�ำหนดอุณหภูมิ 100 ํC และทดลองเรียงล�ำดับจากความดัน 2.0 psi ไปจนถึง 3.0 psi หลังจากนัน้ เปลีย่ นอุณหภูมไิ ปเป็น 120 Cํ และ 140 Cํ ตามล�ำดับ และ ท�ำซ�้ำแบบเดิม ซึ่งการทดลองแบบนี้น่าจะสะดวกและง่ายในการ ทดลองมากกว่า เพราะปรับตั้งอุณหภูมิเพียงครั้งเดียว ลองมาดูตัวอย่างนี้กัน สมมติ ว ่ า ในการทดลองนี้ ความชื้ น ในอากาศส่ ง ผลต่ อ กระบวนการดังกล่าว ซึง่ ความชืน้ นีถ้ อื เป็นปัจจัยรบกวนทีค่ วบคุมไม่ได้ ในการทดลอง หากในวันที่ท�ำการทดลอง ความชื้นในอากาศค่อนข้างคงที่ ดังรูปที่ 2 ความชื้นจะส่งผลต่อทุก ๆ การทดลองในปริมาณที่ไม่ แตกต่างกัน

▲ รูปที่

100 2.5

120 3.0

140 2.0

120 2.5

100 3.0

140 2.5

100 2.0

120 2.0

140 3.0

4 การทดลองแบบสุ่มและความชื้นมีการเปลี่ยนแปลงมาก

จากตัวอย่างข้างต้น ถึงแม้สามารถควบคุมความชื้นให้ใกล้ เคียงกันได้ ก็ควรท�ำการทดลองแบบสุ่ม เพราะความชื้นเป็นเพียง ตัวอย่างของปัจจัยรบกวนที่ควบคุมไม่ได้ ในการทดลองอาจมีปัจจัย รบกวนอื่น ๆ อีกมากมาย ที่ไม่ทราบหรือไม่สามารถควบคุมได้ ดังนั้น เพื่อไม่ให้ผลของปัจจัยรบกวนเหล่านี้เข้ามาส่งผลต่อการทดลองจึง จ�ำเป็นต้องท�ำการทดลองแบบสุม่ เพือ่ ให้ผลของปัจจัยรบกวนกระจาย ตัวไปยังการทดลองอย่างทั่วถึง หลังจากนั้นจึงท�ำการก�ำจัดผลของ ปัจจัยรบกวนทิ้งไป โดยอาศัยหลักการซ�้ำ 2. หลักการซ�้ำ (replication) คือ การจัดให้เงื่อนไขหรือวิธีการ ทดลองหนึ่ง ๆ ปรากกฏในการทดลองมากกว่า 1 ครั้ง เพื่อก�ำจัดผล ของปัจจัยรบกวนทีเ่ กิดในการทดลอง (จากหลักการ Randomization)


โดยการหาค่าเฉลีย่ นอกจากนีท้ ำ� ให้สามารถประมาณค่าความผันแปร จากการทดลองเพื่ อ น� ำ ไปใช้ เ ปรี ย บเที ย บความแตกต่ า งส� ำ หรั บ การวิเคราะห์ ANOVA อย่างไรก็ตาม การท�ำซ�้ำในที่นี้ไม่ใช่การก�ำหนดการทดลอง เงือ่ นไขหนึง่ และท�ำการทดลองซ�ำ้ บนเงือ่ นไขเดิมจนครบตามจ�ำนวนที่ ต้องการ (การซ�้ำแบบนี้เรียก repeat) แต่จะต้องเป็นไปตามหลักการ สุ่มด้วย นั่นคือ ต้องกระจายการทดลอง เพื่อให้การท�ำซ�้ำแต่ละครั้งมี การกระจายตัวของปัจจัยรบกวนที่แตกต่างกัน จากตัวอย่างการออกแบบการทดลองในรูปที่ 1 เมือ่ ก�ำหนดให้ แต่ละ Treatment Combination ท�ำซ�้ำครั้งละ 4 ซ�้ำ จะได้ล�ำดับการ ทดลองแบบสุ่มดังแสดงในรูปที่ 5 อุณหภูมิ ( ํC) 120

100 3.0 ความดัน 2.5 (psi) 2.0

5 14 1 16 7 15

24 30 12 25 18 29

2 26 4 23 8 20

17 31 19 34 11 33

* ตัวเลขในตารางแสดงล�ำดับของการทดลองแบบสุ่ม ▲ รูปที่ 5 การทดลองซ�้ำแบบ Replicate

140 9 27 6 28 3 22

13 36 21 32 10 35

3. หลักการกันออกไป (blocking) เป็นเทคนิคในการจัดชุด การทดลอง เพื่อแยกผลของปัจจัยรบกวนออกจากความคลาดเคลื่อน ในการทดลอง ทำ�ให้ความคลาดเคลือ่ นของการทดลองเล็กลง เทคนิคนี้ ใช้ในกรณีทผี่ ลของปัจจัยรบกวนทีค่ วบคุมไม่ได้ในงานจริงมีคา่ สูงมาก จนรบกวนผลการทดลอง อย่างไรก็ตาม ปัจจัยรบกวนนี้ต้องสามารถ ควบคุมได้ในการทดลอง สำ�หรับกรณีที่ผลของปัจจัยรบกวนมีค่าสูงและไม่สามารถ ควบคุมได้ในการทดลอง จะใช้เทคนิคที่เรียกว่า การวิเคราะห์ความ แปรปรวนร่วม (analysis of covariance) แทน จะเห็นได้ว่าการออกแบบทดลองที่ดี คือ การออกแบบที่ ท�ำให้ผลจากการทดลอง สามารถน�ำไปอธิบายปรากฏการณ์ที่สนใจ ได้อย่างถูกต้อง ดังนั้น หลักการพื้นฐานทั้งสามข้อที่กล่าวมานั้น จึง เป็นเรื่องที่ส�ำคัญในการออกแบบการทดลอง ส่วนจะน�ำหลักการดังกล่าวไปใช้ในการออกแบบการทดลอง อย่างไรนั้น รบกวนผู้อ่านติดตามต่อในบทความฉบับต่อไป

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.23 No.218 November-December 2016

Tools

19


Q

for Food for

uality

หลักการปฏิบัติที่ดี เพื่อการจัดเก็บและกระจายสินค้า

ตามแนวทางของ AIB

ตอนที่ 12 AIB Guideline on Good Storage and Distribution Practices

ต่อจากฉบับที่แล้ว

แปลและเรียบเรียงโดย สุวิมล สุระเรืองชัย System Development Consultant Co., Ltd. sdcexpert@sdcexpert.com, suwimol.su@gmail.com

5.19 โปรแกรมการเรียกคืน/เพิกถอน หากมีสนิ ค้าต้องสงสัย อยู่ โปรแกรมการเรียกคืน/เพิกถอนต้องมีการด�ำเนินการอย่างรวดเร็ว และควบคุมการน�ำผลิตภัณฑ์ออกจากตลาด ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.19.1.1 มีโปรแกรมการเรียกคืน/เพิกถอนเป็นลายลักษณ์ อักษรที่ถูกทบทวนเป็นประจ�ำ 5.19.1.2 คงไว้ซงึ่ บันทึกของการกระจายสินค้าจากจุดเริม่ ต้น ของการกระจายสินค้าส�ำหรับผลิตภัณฑ์อาหารทั้งหมด ข้อก�ำหนดรอง มี ก ารทดสอบโปรแกรม 2 ครั้ ง ต่ อ ปี แ ละมี เ อกสารผลการ ด�ำเนินการ: ➲ ผลที่เกิดขึ้นจริงของการทดสอบ ➲ อัตราความส�ำเร็จ ➲ เวลาของการทดสอบ

20

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

5.19.2.2 การทดสอบทีส่ นับสนุนการเรียกคืนไปยังการกระจาย สินค้าในระดับแรก ที่อยู่นอกการควบคุมของโรงงาน 5.19.2.4 โปรแกรมการเรียกคืน หรือการเพิกถอน ต้องประกอบด้วยข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ: ➲ Recall/Crisis Management Team Contact Information ➲ Corporate, Emergency and After Hours ➲ Roles and Responsibilities for Team Members ➲ Location of the Traceability Program ➲ Key Regulatory Agency Representative Emergency ➲ Contact Information ➲ Supplier (including food contact packaging) ➲ Customer Emergency Contact Information ➲ Sample Recall/Withdrawal Notification Letters


5.20 โปรแกรมที่ เ กี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตาม ข้อก�ำหนด โปรแกรมที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนด เป็นแนวทางส�ำหรับการคัดแยก การสอบสวน และการก�ำจัดวัสดุ การส่งคืนสินค้า และผลิตภัณฑ์ที่สอดคล้องตามข้อก�ำหนดความ ปลอดภัยด้านอาหาร ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.20.1.1 มีโปรแกรมที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่เป็นไปตาม ข้อก�ำหนดที่เป็นลายลักษณ์อักษร 5.20.1.2 ระเบียบปฏิบัติ ประกอบด้วย ➲ การสอบสวนสาเหตุของสิง่ ทีไ่ ม่เป็นไปตามข้อก�ำหนดและ มีความเสี่ยงต่อความปลอดภัยด้านอาหาร ➲ ระยะเวลาการป้องกันและแก้ไขขึ้นกับความรุนแรงของ ความเสี่ยงที่ระบุไว้ ➲ เอกสารการด�ำเนินการ ➲ การจัดการและการก�ำจัดที่สอดคล้องตามธรรมชาติของ ปัญหา และ/หรือข้อก�ำหนดของลูกค้า 5.20.1.3 การจัดการกับสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อก�ำหนดของการ สอบกลับส�ำหรับการเรียกคืนสินค้าหรือการเพิกถอน 5.20.1.4 การจัดการกับความเสียหาย หรือการส่งกลับผลิตภัณฑ์ ตามโปรแกรมนี้ ข้อก�ำหนดรอง การจัดการ ประกอบด้วย: ➲ Rejection ➲ Acceptance with Restrictions ➲ Regrading 5.20.2.2 มีเอกสารที่เกี่ยวกับความเสียหายหรือการท�ำลาย วัสดุ และปรับเปลี่ยนสินค้าคงคลัง หากจ�ำเป็น 5.21 HACCP Program โปรแกรม HACCP เป็นสิ่งที่จ�ำเป็น ส�ำหรับศูนย์กระจายสินค้าทัง้ หมดทีจ่ ดั การหรือส่งออกอาหารทะเล ปลา หรือผลิตภัณฑ์อื่น โปรแกรม HACCP เป็นการประเมินอันตรายด้าน ชี ว ภาพ เคมี และกายภาพที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ วั ต ถุ ดิ บ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ โปรแกรม HACCP รวมถึงการวิเคราะห์อันตรายที่มีการประเมินความ

เสี่ ย งโดยก� ำ หนดความรุ น แรงของอั น ตรายและโอกาสในการเกิ ด โปรแกรม HACCP มีเป้าหมายเพื่อป้องกัน ลดหรือขจัดอันตรายให้อยู่ ในระดับที่ยอมรับได้ ข้อก�ำหนดที่ส�ำคัญ 5.21.1.1 โปรแกรมสุขลักษณะขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ➲ Personnel Practices ➲ Customer Complaint ➲ Chemical Control ➲ Cleaning ➲ Preventive Maintenance ➲ Transportation and Storage ➲ Integrated Pest Management ➲ Receiving ➲ Traceability ➲ Recall/Withdrawal ➲ Allergen Control 5.21.1.2 โรงงานต้องมีการจัดท�ำโปรแกรม HACCP เป็น ลายลักษณ์อักษรที่ได้รับการลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง 5.21.1.3 โรงงานต้องมีทีม HACCP ที่ประกอบด้วยสมาชิก จากหลายหน่วยงาน ซึ่งทีมต้องมีลักษณะดังนี้ ➲ สมาชิกในทีมต้องผ่านการฝึกอบรม ➲ ผู ้ ป ระสานงาน HACCP ต้ อ งมี เ อกสารการฝึ ก อบรม HACCP 5.21.1.4 โรงงานต้องมีขอ้ มูลผลิตภัณฑ์แต่ละประเภททีท่ ำ� การ ผลิต 5.21.1.5 โรงงานต้องมีแผนภูมกิ ระบวนการผลิตแต่ละประเภท ที่ท�ำการผลิต 5.21.1.6 ปฏิบัติตาม 7 หลักการ ของ HACCP 1. ด�ำเนินการและจัดท�ำเอกสาร Hazard Analysis ส�ำหรับ แต่ละวัตถุดิบและแต่ละขั้นตอน

Vol.23 No.218 November-December 2016

for Food

21


Vol.23 No.218 November-December 2016

for Food

22

2. บนพื้นฐานของการวิเคราะห์อันตรายต้องมีการชี้บ่ง Critical Control Points: CCPs และระเบียบปฏิบตั ทิ อี่ ธิบายถึงการควบคุม อันตราย 3. Critical Limits ส� ำ หรั บ CCPs จั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามหลั ก วิทยาศาสตร์และถูกบันทึกไว้ 4. จัดท�ำระเบียบปฏิบัติส�ำหรับการตรวจสอบ HACCP Program ซึ่งรวมถึงการระบุความถี่ของกิจกรรมและผู้รับผิดชอบ 5. จัดท�ำระเบียบปฏิบัติส�ำหรับการเบี่ยงเบนจาก HACCP Program ซึ่งรวมถึงการระบุการป้องกัน และแก้ไขทั้งระยะสั้นและ ระยะยาว 6. จัดท�ำระเบียบปฏิบัติส�ำหรับการทวนสอบ HACCP Program ซึ่งรวมถึงการระบุความถี่ของกิจกรรมและผู้รับผิดชอบ 7. มีเอกสารบันทึกที่ชัดเจนส�ำหรับการตรวจสอบ การเบี่ยงเบน และการทวนสอบกิจกรรม (verification) 5.21.1.7 ด� ำ เนิ น การและมี เ อกสารการฝึ ก อบรมเกี่ ย วกั บ HACCP Program เป้าหมายในการฝึกอบรม: ➲ ความรับผิดชอบส�ำหรับการบริหาร ➲ การตระหนักส�ำหรับพนักงานที่ไม่ใช่ฝ่ายบริหาร ➲ ระเบียบปฏิบต ั ิ Job-Specific ส�ำหรับพนักงานทีป่ ฏิบตั งิ าน ที่จุด Critical Control Point: CCP

5.21.1.8 ชี้บ่ง Critical Control Points: CCPs เพื่อควบคุม และตรวจสอบ HACCP Master Plan 5.21.1.9 ทบทวน HACCP Program ปีละครั้ง หรือเมื่อเกิด การเปลี่ยนแปลงขึ้น: ➲ บันทึกที่มีอยู่ ➲ เก็ บ รั ก ษาบั น ทึ ก ไว้ 1 ปี หรื อ ตามอายุ ข องผลิ ต ภั ณ ฑ์ แล้วแต่ระยะใดจะยาวนานกว่า หรือถูกระบุโดยข้อก�ำหนดกฎหมาย 5.21.1.10 ต้ อ งมี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ส อดคล้ อ งตามกฎระเบี ย บ HACCP ตามที่ระบุในข้อก�ำหนด HACCP มีความจ�ำเป็นส�ำหรับ ศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า ทั้ ง หมดที่ จั ด การกั บ อาหารทะเล ปลา หรื อ ผลิตภัณฑ์อื่น หรืออาหารทะเลส่งออก ปลา หรือผลิตภัณฑ์อื่นไปยัง USA หรือประเทศอื่น ๆ ที่มีกฎระเบียบที่คล้ายกัน


Q

of Life for

เมือ่ ใดควรตรวจ

แพทย์หญิงเนตรนิภา พรหมนารท สูตินรีแพทย์ โรงพยาบาลหัวเฉียว

การ

ตรวจภายในถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ ผู ้ ห ญิ ง ทุ ก คน เนื่องจากในเพศหญิงมีหลายโรคที่สามารถ ตรวจพบได้ก่อน โดยที่ไม่มีอาการใด ๆ การ ตรวจภายในจึงเป็นสิ่งที่จะช่วยป้องกัน และ รักษาไม่ให้เกิดการสูญเสีย โดยเฉพาะการ สูญเสียอวัยวะ หรือระบบสืบพันธุ์ ดังนั้น เพศหญิงจึงควรได้รับการตรวจภายในเป็น ประจ�ำ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง แม้จะไม่มี อาการใด ๆ ระยะเวลาที่ควรตรวจภายใน ไม่มี การระบุตัวเลขที่ชัดเจน แต่เมื่ออายุ 25 ปี ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจภายใน และหาก แต่งงานก่อนอายุ 25 ปี ควรที่จะได้รับการ ตรวจในทุก ๆ ปี เพศหญิงที่โสดมีโอกาสเป็น

uality

ภายใน

มะเร็งปากมดลูกน้อย ในกรณีที่ไม่เคยมี เพศสัมพันธ์เลย และอาจมีความผิดปกติดา้ น อืน่ ๆ ได้ หากไม่ทำ� การตรวจภายในก็ควรทีจ่ ะ

ตรวจภายนอก ตามด้วยการอัลตร้าซาวนด์ ทดแทน ซึ่งการอัลตร้าซาวนด์เป็นเครื่องมือที่ ใช้คลื่นเสียง ไม่มีรังสี จะช่วยให้ทราบขนาด

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

23


of Life

Vol.23 No.218 November-December 2016

และรูปร่างของมดลูกว่าเป็นปกติหรือไม่ บาง คนที่มีเนื้องอกบริเวณมดลูกโดยไม่รู้ตัวเป็น ระยะเวลานาน เพราะเนื้องอกมดลูก 50% ไม่มอี าการ หรือบางคนมีเนือ้ งอก หรือถุงน�ำ้ ที่ เรียกว่า ซีสต์ที่รังไข่ ซึ่งส่วนใหญ่มักไม่มี อาการ และพบได้ ตั้ ง แต่ อ ายุ ยั ง น้ อ ย แต่ สามารถลุกลามจนกลายเป็นมะเร็งได้ การตรวจอัลตร้าซาวนด์ทกุ ปี สามารถ บอกได้ว่ามีเนื้องอกเกิดขึ้นหรือไม่ เนื้องอก ระดับที่เป็นอยู่อันตรายมากน้อยเพียงใด แต่ หากไม่เคยตรวจเลย อาจจะรู้อาการต่อเมื่อ ก้อนเนื้องอกมีขนาดใหญ่ ฉะนั้นการตรวจ ภายใน และการตรวจอัลตร้าซาวนด์ควบคูก่ นั ไปทุก ๆ ปีจะท�ำให้เราทราบความเปลีย่ นแปลง ได้กอ่ นทีจ่ ะเกิดอาการ เนือ่ งจากรังไข่มโี อกาส เป็นตั้งแต่เนื้องอกจนถึงเป็นซีสต์ หรือถุงน�้ำ อวัยวะส�ำคัญที่ควรได้รับการตรวจ ได้แก่ ปากมดลูก มดลูก ท่อน�ำไข่ และรังไข่ ➲ ส่วนช่องคลอด มักจะมีอาการ ตกขาวที่ผิดปกติ ควรได้รับการพบแพทย์ ➲ ส่วนมดลูก หากมีประจ�ำเดือน ผิดปกติ เช่น มาปริมาณน้อย หรือมากผิดปกติ หรือหลายเดือนมา 1 ครั้ง ควรที่จะพบแพทย์ เพราะอาจมีความผิดปกติของระดับฮอร์โมน ส่งผลมายังตัวมดลูก ๆ ได้

24

➲ ส่ ว นรั ง ไข่ มั ก ไม่ มี อ าการแต่

อาการที่บ่งบอกว่าควรไปพบแพทย์ คือ การ ปวดประจ�ำเดือน โดยเฉพาะถ้ามีอาการปวด รุนแรงมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ควรไปพบแพทย์เฉพาะ ทาง เนื่องจากมีภาวะที่เรียกว่า เยื่อบุโพรง มดลูกเจริญผิดที่ หรือ ช็อกโกแลตซีสต์ ซึ่ง เป็ น ได้ ตั้ ง แต่ อ ายุ น ้ อ ย ไม่ เ กี่ ย วกั บ เรื่ อ ง แต่งงานแล้วหรือไม่ เพราะปัจจุบันพบว่าโรค เหล่านี้พัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็ว

ผูห้ ญิงไทยมักมีอาการตกขาว ประจ�ำ เดือนผิดปกติ และเป็นเนือ้ งอกในช่องท้อง โรค มะเร็งอวัยวะสืบพันธุท์ พี่ บมากทีส่ ดุ คือ มะเร็ง ปากมดลูก ในส่วนของภาวะข้างต้นอาจมี หลายโรคทีเ่ ป็นต้นเหตุ และอาการทีค่ นไข้มกั ไปพบแพทย์มากที่สุด คือ มีตกขาว คัน และ มีกลิ่น ประจ�ำเดือนผิดปกติ อาการประจ�ำ เดือนผิดปกติ คือ ประจ�ำเดือนมาเกิน 7 วัน แล้วไม่หยุดสนิท มีสีน�้ำตาลกะปริดกะปรอย หรือประจ�ำเดือนมาห่างไม่ถึง 3 สัปดาห์ และ มาซ�้ำ คือ มาก่อน 21 วัน และประจ�ำเดือนมา มาก ก็คือ ประจ�ำเดือนออกมาเป็นก้อนลิ่ม ขนาดใหญ่กว่านิ้วหัวแม่มือ เนื่องจากประจ�ำ เดือนของผู้หญิงจะมีกลไกที่ไม่ท�ำให้เป็นลิ่ม เลือด เมื่อเป็นลิ่มเลือดแสดงว่า ประจ�ำเดือน มากจนสารประกอบทีท่ ำ� ให้ละลายเลือดผลิต ไม่เพียงพอทีจ่ ะละลายได้ เป็นอาการทีค่ วรพบ แพทย์ เพราะอาการเหล่านีอ้ าจเป็นสัญญาณ เตือนถึงความไม่ปกติของร่างกาย การตรวจภายใน เป็นการตรวจเพื่อ ความมั่นใจว่าร่างกายอยู่ในสภาวะปกติดี หากตรวจพบในระยะเนิน่ ๆ ในทางการแพทย์ ถื อ ว่ า มี โ อกาสรั ก ษาหายสู ง หากมี อ าการ ผิ ด ปกติ ค วรปรึ ก ษาแพทย์ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญ โดยเฉพาะ


Q

Management for

uality

Finance Report Strategy Marketing & Branding Idol & Model


Q

Finance for

uality

กลยุทธ์ของ “SoftBank Group Corp”

รองศาสตราจารย์ ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์

บริษัท

ของญี่ปุ่นที่ได้รับการกล่าวขวัญกันบ่อยในช่วงล่า ๆ มานี้ ก็คือ “SoftBank Group Corp” อันเป็นธุรกิจในแดนซามูไรที่มีอายุเพียงประมาณ 35 ปี ซึ่งถือว่าเป็นบริษัทที่ยังมีอายุน้อยมาก เมื่อเทียบกับบริษัทขนาดใหญ่ในญี่ปุ่นที่มักมีอายุ นับร้อย ๆ ปี เพราะจ�ำนวนมากได้รับการก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 แตกต่างจาก “SoftBank” ทีน่ ายมาซาโยชิ ซัน (Masayoshi Son) ได้กอ่ ตัง้ บริษทั ดังกล่าวขึน้ ในวันที่ 3 กันยายน 1981 ขณะที่นายซันเองยังมีอายุประมาณ 20 ปี ต้น ๆ อันเป็นบริษัทเล็ก ๆ ด้านการขายส่ง ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ บริษัทและบุคคล “ต้นแบบ” ที่เป็นแรงบันดาลใจส�ำคัญที่ท�ำให้ “Masayoshi Son” ก็คือ บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์ยกั ษ์ใหญ่นาม “Honda Motor” แม้วา่ ธุรกิจในปัจจุบนั ของ “SoftBank Group” จะแตกต่างกว่าของ “Honda Motor” มากก็ตาม ไม่อาจที่จะปฏิเสธได้ว่า “Soichiro Honda” ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งบริษัทฮอนด้า คือ แรงดลบันดาลใจส�ำคัญยิ่งที่ท�ำให้ “เด็กหนุ่ม” คนหนึ่งนามมาซาโยชิ ซัน ใช้เป็นแบบอย่างในการ ด�ำเนินธุรกิจ จนส่งผลให้ “SoftBank Group” กลายเป็นกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ที่มีมูลค่าตลาด (market capitalization) ในตลาดหุ้นสูงถึงกว่า 66,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วงปลายเดือน กรกฎาคม 2016 ที่ผ่านมา

26

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

ความชื่นชมและศรัทธาต่อผู้ก่อตั้ง บริ ษั ท ฮอนด้ า ได้ ส ่ ง ผลให้ “ซั น ” หาทาง ท�ำความรู้จักกับ มร.ฮอนด้า ด้วยวิธีการที่ แยบยลยิ่ง นั่นก็คือ การที่ “ซัน” ที่ยังมีอายุเพียง 20 ปีเศษเมื่อกว่าสามทศวรรษที่แล้วได้ขอให้ ทันตแพทย์ที่ทั้ง มร.ฮอนด้าและ “มาซาโยชิ ซัน” ต่างใช้บริการท�ำฟันของตนอยู่ด้วย หา ทาง “จัดคิว” การท�ำฟันของทั้งสองท่านให้อยู่ ในช่วงไล่เลี่ยกันและให้เป็นช่วงเวลาที่เป็น วาระส�ำคัญของ มร.ฮอนด้า ทันตแพทย์ท่านนั้น ซึ่งก็คงจะต้อง สนิทสนมกับ “ซัน” ไม่น้อย ก็ได้ตกลงร่วมมือ กับซัน โดยนัดหมายให้ทั้งคู่มาท�ำฟันในช่วง หลังวันเกิดของ มร.ฮอนด้าเล็กน้อย


“ซัน” ได้ท�ำ “เซอร์ไพรส์” แก่ มร.ฮอนด้าที่ได้สร้างความ ประทับใจแก่ผู้ก่อตั้งบริษัทมอเตอร์เป็นอันมาก ก็คือ การเตรียมเค้ก ไปอวยพร มร.ฮอนด้าในวาระครบรอบวันเกิดดังกล่าว “มิตรภาพ” ที่เริ่มก่อเกิดขึ้นจากบุคคลต่างวัยและต่างสถานะ กันอย่างมากดังกล่าว ได้ส่งผลให้ มร.ฮอนด้า ได้เชื้อเชิญให้ “ซัน” ไป ร่วมงานตกปลาและน�ำปลามาปรุงอาหารรับประทาน ภายหลังจากนั้น “ซัน” ก็ได้รับเชิญจาก มร.ฮอนด้า ไปร่วมงาน ตกปลาและปาร์ตี้ และมีโอกาสเรียนรู้กลยุทธ์ทั้งทางธุรกิจและการ เอาชนะใจคนและการสร้างแรงดลบันดาลใจที่ มร.ฮอนด้ามีความ สามารถอย่างยิ่งยวด อย่ า งไรก็ ต าม กลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฮอนด้ า และ “SoftBank Group” ก็ดูจะมีความแตกต่างกันไม่ใช่น้อย แม้ว่าจะมีที่ เหมือนกัน ก็คือ การให้ความส�ำคัญต่อเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่เป็น “จุดแข็ง” ของบริษัททั้งสองแห่ง นั่ น ก็ คื อ การที่ “ฮอนด้ า ” จะเน้ น ความส� ำ คั ญ ของความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น ความสามารถในการพัฒนารถยนต์ และ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักของตนให้มีคุณภาพที่ยอดเยี่ยมและ เป็น “ผู้น�ำ” ส�ำคัญในธุรกิจหลักของตน ดังที่ “Honda Motor” ได้ประสบ ความส�ำเร็จจากอดีตสู่ปัจจุบันดังเช่นที่เป็นอยู่ ส่วน “SoftBank Group Corp” นั้น ให้ความส�ำคัญต่อกลยุทธ์ การ “แตกหน่อ” และขยายกิง่ ก้านสาขาทางธุรกิจ ทีส่ ง่ ผลให้ “SoftBank” สามารถขยายตัวเติบใหญ่ได้ดว้ ยระยะเวลาอันสัน้ เมือ่ เทียบกับเส้นทาง พัฒนาการของธุรกิจขนาดใหญ่อื่น ๆ ในแดนซากุระ เมื่อลองประมวลออกมาอย่างคร่าว ๆ จะพบว่า “SoftBank” มี กลยุทธ์ในการเติบโตทางธุรกิจอยู่ 2-3 ประการ ตัวอย่างเช่น ประการแรกกลยุทธ์การขยายตัว (expansion strategy) ทัง้ ใน และต่างประเทศของธุรกิจหลัก คือ การเป็นผู้ให้บริการ (service provider) ด้าน “ICT” (Information and Communication Technology) เช่น การก่อตั้งและขยายบทบาทของบริษัท “Mobile Communication” ที่ให้บริการด้านกิจการโทรศัพท์ชนิดเคลื่อนที่และ “Fixed Line” ใน ประเทศญี่ปุ่นเอง ที่มีการขยายตัวอย่างมากนับตั้งแต่ต้นทศวรรษที่ 1980’s อันเป็นช่วงที่ “มาซาโยชิ ซัน” ได้กอ่ ตัง้ บริษทั ใหม่ ๆ ในต้นเดือน กันยายน 1981 นอกจากการประกอบการในญีป่ นุ่ เองแล้ว “SoftBank” ยังได้เข้า ใปซื้อกิจการประเภทเดียวกันในสหรัฐ ซึ่งก็คือ บริษัท “Sprint” ซึ่ง เป็นธุรกิจประกอบการด้านโทรศัพท์เคลื่อนที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 3 ของ แผ่นดินพญาอินทรีเอง ประการต่อมาของกลยุทธ์ธุรกิจของ “SoftBank Group” ก็คือ การกระจายตัวทางธุรกิจ (business diversification strategy) ทั้งใน และต่างประเทศ เช่น การขยายตัวสู่ธุรกิจค้าชิ้นส่วนไอที (IT acces-

sories) ธุรกิจอินเทอร์เน็ต วิดีโอเกม หรือแม้แต่การเข้าซื้อทีมเบสบอล คือ “Fukuoka Hawks Baseball Team” อันเป็นกีฬายอดนิยมในแดน ซามูไร ในต่างประเทศนั้น “ซัน” เป็นผู้ถือหุ้นส�ำคัญของ “Alibaba Group” ที่ให้บริการด้าน e-Commerce ยักษ์ใหญ่สุดของแดนมังกร ที่ ได้ท�ำหน้าที่เป็น “ห่านทองค�ำ” หรือ “Cash Cow” ให้แก่ “ซัน” จนถึงเท่า ทุกวันนี้ ไม่เพียงเท่านั้น “SoftBank Group” ยังเข้าถือหุ้นซื้อกิจการของ บริษัทผลิตวีดีโอเกมชั้นแนวหน้าของฟินแลนด์และของโลก คือ บริษัท “Super Cell” และล่าสุด ก็คือ การเข้าซื้อกิจการของบริษัทออกแบบชิฟ ของอังกฤษ คือ “ARM” ซึง่ ถือเป็นปฏิบตั กิ ารในการท�ำการบริหารมูลค่า เพิ่ม (value added management) ชนิด “ใจถึง” สุด ๆ ของ SoftBank โดยที่ “ARM” ถือเป็นบริษัทออกแบบชิฟ (chip) และเซมิคอนดักเตอร์ (semi conductor) ชั้นน�ำของโลกที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยีด้าน “Chip Design” ที่อยู่ในแถวหน้าสุดของโลก ทั้งนี้เป็นเพราะ “ARM” จะมีบทบาทส�ำคัญในการเป็นผู้น�ำ เทคโนโลยีด้าน “Internet of Things” (IOT’s) ในยุคความเฟื่องฟูขึ้นมา ของเทคโนโลยีแบบปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) และ เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality: VR) ที่จะเป็นเทคโนโลยี “ใหญ่” (big thing) ในช่วงประมาณ 5-10 ปีขา้ งหน้านี้ ทีจ่ ะก่อให้เกิด “Paradigm Shift” ขนาดใหญ่ในโลกเทคโนโลยีขา่ วสารและการสือ่ สาร (Information and Communication Technology: ICT) ในช่วงทศวรรษทีก่ �ำลังจะมา ถึงนี้ ที่จะน�ำไปสู่การเชื่อมโยงในทุก ๆ ด้าน เช่น การเชื่อมโยงทาง เทคโนโลยี (connected technology) การเชื่อมโยงทางสังคม (connected society) ชนิดที่มนุษยชาติไม่เคยพานพบมาก่อน

Vol.23 No.218 November-December 2016

Finance

27


Q

Finance for

uality

จะลงทุนซือ้ อพาร์ทเม้นต์ราคาเท่าไรดี:

การประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์ดว้ ยวิธรี ายได้

ตอนที่ 2

ดร.ภาวัต อุปถัมภ์เชื้อ Lean Six Sigma Black Belt ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา และอาจารย์ประจำ�สาขาวิชาธุรกิจดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ต่อจากฉบับที่แล้ว

ตัวอย่าง อาคารชุด 3 แห่ง มีราคาขาย และรายรับสุทธิรายปี จากการเช่าดังนี้ ราคาขาย รายรับสุทธิ อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ

ฉบับนี้

เรามาต่อกันเลย ในฉบับทีแ่ ล้วเราประมาณการ รายได้ และรายจ่ายไปแล้ว เราจะมาต่อที่การ ประมาณการอัตราผลตอบแทนที่นักลงทุนจะได้รับ 1.1 การประมาณการอัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทนใน ที่นี้ คือ อัตราผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่ นักลงทุนคาดการณ์ว่าจะได้รับ วิธีที่ใช้กันโดยทั่วไปที่นิยม ได้แก่ ➣ วิ ธี เ ปรี ย บเที ย บตลาด วิธีนี้เป็นวิธีในการหาอัตราส่วน ระหว่างรายได้ และราคาขายของอสังหาริมทรัพย์ที่มีสภาพใกล้เคียง กันจากสูตร รายได้สุทธิ อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ = ⎯⎯⎯⎯⎯ ราคาขาย

28

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

โครงการ A 3,000,000 330,000 11.00%

โครงการ B 2,500,000 270,000 10.80%

โครงการ C 4,000,000 400,000 10.00%

ดังนัน้ ผลตอบแทนต่อปีทนี่ ำ� มาค�ำนวณควรอยูใ่ นช่วงประมาณ 10-11% ส�ำหรับการประเมินราคาด้วยวิธรี ายได้ (income approach) นี้ มีขั้นตอนในการประเมินอยู่ 3 ขั้นตอน คือ ➣ ขัน ้ ตอนที่ 1 หาข้อมูลรายได้ของอสังหาริมทรัพย์ทตี่ อ้ งการ ประเมินให้ละเอียดที่สุดว่าห้องพักมีกี่ขนาด ห้องพัดลม ห้องแอร์ราคา ต่างกันเท่าไร มีจำ� นวนกีห่ อ้ ง รวมไปถึงอัตราว่าง อัตราหนีส้ ญ ู คาดคะเน แนวโน้มการเข้าพักในช่วงเวลาล่วงหน้าด้วย รวมไปถึงการค�ำนวณหา ค่าใช้จ่ายการด�ำเนินงานอย่างละเอียด และอัตราผลตอบแทนต่อปีที่ ต้องการ ➣ ขัน ้ ตอนที่ 2 น�ำข้อมูลต่าง ๆ มาจ�ำแนกใส่ตารางให้ละเอียด เพื่อจะได้ท�ำการคิดรายได้สุทธิ ➣ ขั้นตอนที่ 3 ประเมินราคาอสังหาริมทรัพย์จากสูตร

ราคาอสังหาริมทรัพย์ = ที่ต้องการประเมิน

รายได้สุทธิได้

⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯⎯

อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ จากการลงทุนอสังหาริมทรัพย์


Finance จากการส�ำรวจพบว่า ผลตอบแทนที่ต้องการต่อปีของอพาร์ทเม้นต์ทมี่ ลี กั ษณะเดียวกัน คิดเป็น 8% ต่อปี จะค�ำนวณหาราคาประเมิน ของอพาร์ทเม้นต์ต่อปีได้ดังนี้

จะเห็นว่าราคาอพาร์ทเม้นต์ที่ประเมินได้ในปีที่ 1 ถึงปีที่ 6 มี แนวโน้มราคาเพิ่มขึ้นตามล�ำดับ ท�ำให้ผู้ประเมินสามารถบอกผู้ลงทุน ได้ว่า อพาร์ทเม้นต์ที่ท�ำการประเมินมีแนวโน้มราคาในอนาคตเป็น อย่างไร ถ้าขายต่อจะมีแนวโน้มก�ำไรเป็นเท่าไร จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า แนวคิดในการประเมินรายได้เป็น แนวคิดที่จะท�ำให้ผู้ลงทุนสามารถที่จะประเมินราคาเบื้องต้นที่มีอยู่ใน ใจในการซื้อหรือขายอสังหาริมทรัพย์ ประเภทหอพัก คอนโดให้เช่าได้ หรืออะไรทีใ่ กล้เคียงได้ แต่ไม่ได้หมายถึงว่าราคานีจ้ ะเป็นราคากลางใน การตัดสินใจซือ้ ขาย ราคาขาย อาจต้องมีการดูราคาตลาดเปรียบเทียบ ส�ำรวจบริเวณใกล้เคียง เพื่อให้ราคาที่ได้ เป็นราคาที่คุ้มค่ามากที่สุด ฉบับหน้าจะมาว่ากันต่อว่า แล้วถ้าเราจะลงทุนอสังหาริมทรัพย์ สักแห่งหนึง่ เพือ่ ปล่อยเช่า ราคาทีเ่ หมาะสมทีค่ วรจะปล่อยเช่าควรเป็น เท่าไร ฉบับนี้เนื้อที่หมดแล้ว พบกันใหม่ฉบับหน้า

อ่านต่อฉบับหน้า

Vol.23 No.218 November-December 2016

ตั ว อย่ า ง ถ้ า ท่ า นผู ้ อ ่ า นซึ่ ง เป็ น ผู ้ ล งทุ น สนใจจะลงทุ น ซื้ อ อพาร์ทเม้นต์แห่งหนึง่ โดยผูล้ งทุนต้องการทราบราคาของอพาร์ทเม้นต์ แห่งนี้ในอีก 6 ปีข้างหน้า ว่าจะมีราคาเท่ากับเท่าไร ➣ ขั้นตอนที่ 1 หาข้อมูลค่ารายได้และค่าใช้จ่าย ได้ ข้อมูลว่า อพาร์ทเม้นต์แห่งนี้มีห้องเช่าทั้งสิ้น 30 ห้อง ให้เช่า เดือนละ 3,000 บาท โดยในปีที่ 1 ถึง 4 คาดว่าจะมีผู้มาเช่า ห้องที่ 22 ห้อง 23 ห้อง 24 ห้อง และ 25 ห้อง ตามล�ำดับ เนื่องจากในปีที่ 5 และปีที่ 6 คาดว่าจะมีจ�ำนวนนักศึกษาเพิ่ม มากขึ้นจากมหาวิทยาลัยที่อยู่ใกล้เคียงหอพัก โดยคาดการณ์ว่าจะมี การเข้าพักเต็ม และจะมีการปรับค่าเช่าในปีที่ 5 เป็นต้นไปอีก 20% ของ ราคาเดิม จากการตรวจสอบโดยเฉลี่ยพบว่า หอพักนี้มีอัตราหนี้สูญที่ เก็บค่าเช่าไม่ได้โดยเฉลี่ยเดือนละ 1 ห้อง อีกทั้งการส�ำรวจเพิ่มเติมยัง พบว่า อพาร์ทเม้นต์แห่งนี้ มีการให้บริการตู้น�้ำดื่มและเครื่องซักผ้า หยอดเหรียญ มีรายได้อีกเดือนละ 6,000 บาท ส่วนค่าใช้จา่ ยของอพาร์ทเม้นต์แห่งนีจ้ ากการตรวจสอบพบว่า มีคา่ ใช้จา่ ยด้านช่างเทคนิคดูแลรักษาซ่อมระบบน�ำ้ ไฟรายได้เฉลีย่ เดือน ละ 9,000 บาท ค่าน�้ำไฟส่วนกลางเดือนละ 3,000 บาท ค่าซ่อมแซมต่อ ปี โดยเฉลี่ย 20,000 บาท ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ อีกปีละ 10,000 บาท ค่า จัดท�ำบัญชีเดือนละ 2,500 บาท ภาษีโรงเรือนและที่ดินคิดเป็น 12.5% ของรายได้ค่าเช่าทั้งปี ส�ำหรับค่าใช้จ่ายของอพาร์ทเม้นต์แห่งนี้คาดว่า จะเท่ากันทุกปีในช่วง 6 ปีข้างหน้า ➣ ขัน ้ ตอนที่ 2 น�ำข้อมูลมาจ�ำแนกเพือ่ ค�ำนวณหารายได้สทุ ธิ ได้ดังตาราง

29


Q

Report for

uality

ตอนที่ 2

Front Runner Small but Strong Business Case from Japan ในเดือนมกราคม ปี 2016 ที่ผ่านมา งานนิทรรศการผลิตภัณฑ์ใหม่ที่จัดขึ้นในกรุง ปารีส มีบริษัทญี่ปุ่นที่มาออกบู๊ทเป็นครั้งแรก คือ บริษัท Yumeshokunin (ช่างผู้ช�ำนาญใน ฝัน) แห่งเมืองมิโน่โอซาก้า ประกอบธุรกิจ Venture Business ที่ ผ ลิ ต และจ� ำ หน่ า ย แปรงสีฟันระดับสูง ด้ามละ 1,000 เยน ใน แบรนด์ “Misoka” บรรดาผู้มาเยี่ยมชมบู๊ทได้ ทดลองใช้แปรงวิเศษแล้ว ต่างทึ่งใน ประสิทธิภาพของมัน และพูดกันปากต่อปาก

30

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

ไปอย่างกว้างขวางว่า ใช้แล้วรู้สึกฟันลื่นขึ้น แปรงวิเศษนี้ เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ปี 2007 โดย Misoka เน้นอย่างมากที่ดีไซน์ที่มี ราคาด้ามละ 1,000 เยน นอกจากนีย้ งั มีแปรง รุ่น “ISM” ที่มีราคาขายที่ 1,400 เยนอีกด้วย จากการพูดกันปากต่อไปท�ำให้ช่องทางการ ขายภายในประเทศค่อย ๆ ขยายตัว ไม่เพียง แต่ห้างสินค้าอุปโภคขนาดใหญ่อย่าง Tokyu Hands หรือ Loft แล้ว ยังวางจ�ำหน่ายในห้าง สรรพสินค้าชื่อดังอย่าง Takashimaya, Ise-

ผศ.รังสรรค์ เลิศในสัตย์ คณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น tan-Mitsukoshi อีกด้วย ในปี 2014 เริม่ ขยาย ตัวไปวางจ�ำหน่ายในต่างประเทศ คือ ไต้หวัน และในปีนเี้ ป้าหมายในการออกบูท๊ นิทรรศการ ที่กรุงปารีสก็เพื่อขยายตลาดไปยังยุโรป เช่น ผรั่งเศส อังกฤษ หรือเยอรมันนั่นเอง ความพิเศษของแปรงวิเศษ Misoka ก็ คือ ไม่ต้องใช้ยาสีฟัน ก็ท�ำให้ฟันสะอาดลื่น ปรื๊ด ด้วยเกิดขึ้นจาก “เทคโนโลยีการผสม ส่วนผสม Mineral ซึ่งท�ำให้เกิดการ Coating ที่มีลักษณะชอบน�้ำ (hydrophilicity) ที่ฟัน”


นั่นคือ ส่วนผสม Mineral ที่เคลือบอยู่ที่แปรง จะไปเกาะผิวของฟัน เมื่อแปรงฟันก็จะท�ำให้ ฟันอยู่ในสภาพที่ชอบน�้ำ เมื่อมีน�้ำมาปะทะก็ จะท�ำให้สิ่งสกปรกที่ฟันหลุดออกมาได้ ท�ำให้ สกปรกยาก มี ส ภาพที่ ลื่ น ปรื้ ด อยู ่ ไ ด้ น าน ส่วนผสม Mineral นั้น เป็นความลับของทาง บริษัทที่ไม่ได้รับการเปิดเผย รู้แต่เพียงว่า ส่วนผสม Mineral มีขนาดเล็กแบบ Nanosize ประเด็นส�ำคัญ คือ Coating ที่ใช้เทคนิคการ เกาะพิเศษที่แปรงสีฟันเป็นเรื่องที่น่าสนใจ การผลิตในโรงงานแบ่งเป็น 7 กระบวนการ แต่ละกระบวนการจะมีชา่ งผูช้ ำ� นาญ ดูแลและมีเทคนิคเฉพาะประจ�ำอยู่ ไม่ว่าจะ เป็นวัตถุดิบของแปรง หรือรูปทรง รวมทั้งการ ขึ้นรูปและดีไซน์ หีบห่อบรรจุภัณฑ์เน้นความ มีลักษณะพิเศษ ถึงแม้ว่าจ�ำนวนผลิตจะเพิ่ม สูงขึน้ แต่กย็ งั ใช้การผลิตด้วยมืออยูไ่ ม่เปลีย่ นแปลง ประธานบริษัท ซึ่งตั้งแต่สมัยยังเป็น พนักงานก็เน้นการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ เสมอ ท�ำให้สามารถค้นพบวิธีการผสมของ ส่วนผสม Mineral สร้างให้เกิด Hydrophilicity (ความชอบน�้ำ) ที่ท�ำให้เกิดสกปรกได้ยาก ซึ่ง ได้มาจากความชอบในรถยนต์ คือ ท�ำอย่างไร จึงจะท�ำให้รถยนต์ของตนเองไม่สกปรก

จากการคิ ด ค้ น และพั ฒ นาด้ ว ย เทคโนโลยีท�ำให้ผลลัพธ์ของ Hydrophilicity อยู่ได้ถึง 30 วัน จากนั้นน�ำเข้าสู่การพัฒนา เป็นสินค้า เพราะแปรงสีฟันนี้ท�ำให้ฟันลื่นอยู่ ได้ ป ระมาณ 30 วั น จึ ง ได้ น� ำ มาตั้ ง ชื่ อ ว่ า Misoka ที่แปลว่า 30 วันมาใช้ จ� ำ นวนการผลิ ต และการขายของ แปรงวิเศษ คาดว่าในปี 2016 จะได้เกิดกว่า 3 ล้านด้าม ผลประกอบการขยายอย่างต่อเนือ่ ง แต่ความพยายามและความยากล�ำบากของ

ผู้ก่อตั้งก็ยังไม่สิ้นสุด เพราะในช่วงแรกที่วาง จ�ำหน่ายมีแต่คนปรามาสว่าแปรงสีฟันด้าม ละ 1,000 เยน ใครจะซือ้ ท�ำให้ประธานบริษทั ต้ อ งไปท� ำ การสาธิ ต ด้ ว ยตั ว เองที่ Tokyu Hands ยักษ์ใหญ่ร้านสินค้าอุปโภค ซึ่งก็ยัง ท�ำให้ผู้บริโภคเข้าใจยากแม้จะบอกว่าเป็น สินค้าทีม่ ปี ระโยชย์ใช้สอยสูงก็ตาม ส่วนใหญ่ ลูกค้าก็ซื้อไปลองใช้ครั้งละด้ามเท่านั้น แต่ ผลลัพธ์ที่แท้จริงท�ำให้พูดกันปากต่อปาก อีก ทั้งสื่อก็ช่วยประโคมข่าว จึงท�ำให้ Repeater เพิม่ ขึน้ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ร้าน Tokyu Hands จึงขยาย จ� ำ นวนร้ า นเพิ่ ม ให้ ม ากขึ้ น จนในปั จ จุ บั น นอกจากจะมี ISM ที่มีราคาถึง 1,400 เยน ก็ ยังมีแปรงส�ำหรับเด็ก ๆ หรือแปรงส�ำหรับ เดินทางเพิ่มขึ้นด้วย จึงได้ตั้งเป้าหมายขาย เดือนละ 1 แสนด้าม Misoka จึงเป็นราชาแห่งวงการธุรกิจ แปรงสีฟัน หรือเป็นรถโรลรอยส์แห่งวงการ เหมาะอย่างยิง่ ส�ำหรับกลุม่ ทีม่ งั่ คัง่ ในโลกนี้ ใน ปี 2014 ทีผ่ า่ นมาก็ได้ประสบความส�ำเร็จ โดย สามารถขยายธุรกิจไปสู่ไต้หวัน กรณีศึกษานี้ จึงเล็งเห็นได้อยากชัดเจนว่า ความฝันของนัก ประดิษฐ์ที่มุ่งสู่โลกด้วยสินค้าเชิงนวัตกรรมที่ ท�ำลายสามัญส�ำนึกเดิมที่มีมาก�ำลังขยายตัว ขึ้นเรื่อย ๆ

Vol.23 No.218 November-December 2016

Report

31


Q

Strategy for

uality

ตอนที่ 3

การปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศ เพื่อรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ (Organizational Transformation for Excellence to cope with The 4th Industrial Revolution)

ดร.ฉัตรชัย ธนาฤดี ผู้บริหารและชำ�นาญการด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ อาจารย์พิเศษ และวิทยากรหลายสถาบัน dr.chatchai.thnarudee@hotmail.com

อ่านต่อฉบับหน้า ส�ำหรับตอนที่ 2 ทีผ่ า่ นมา ผูเ้ ขียนได้นำ� ทฤษฎีการบริหารจัดการ เปลี่ยนแปลงของ Kotter’s Process for Leading Change (ตามรูปที่ 1) ซึ่งหลักทั้ง 8 ประการนี้สามารถจะใช้ช่วยให้ท่านผู้บริหารสามารถ วางแผนการเปลีย่ นแปลงและน�ำแผนดังกล่าวไปปฏิบตั ใิ ห้สำ� เร็จลงได้ อย่างดี และที่ส�ำคัญ ก็คือ สามารถจะช่วยให้คณะผู้บริหารและเหล่า พนักงานของบริษัทของท่านมีทัศนคติต่อการเปลี่ยนแปลงไปในทาง เดียวกันและสอดคล้องกันและสามารถมองแบบองค์รวม (holistic thinking) ในการผลักดันและขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งการ ปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศเพื่อยกระดับขีดความสามารถ ของบริษัทและบุคลากรให้เหมาะสมกับการแข่งขันในยุคปัจจุบันและ เศรษฐกิจและสังคมยุคใหม่

32

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

▲ รูปที่

1: Kotter’s 8-Step Process for Leading Change (ทีม่ า: Kotter International, www.kotterinternational.com


Strategy

▲ รูปที่

2: เสาหลัก 4 เสาในการวางแผนในการขับเคลื่อนการเปลีย่ นแปลง และการปรับเปลีย่ น องค์การไปสู่ความเป็นเลิศและรองรับการปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่

เสาหลักที่ 1: Strategy, Business Model & Culture หรือ กลยุทธ์โมเดลทางธุรกิจและวัฒนธรรมขององค์การ เป็นเสาหลักที่ ส�ำคัญในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็น ภูมคิ มุ้ กันและสามารถสร้างโอกาสทางธุรกิจต่อผลของการเปลีย่ นแปลง ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมรอบที่ สี่ (ซึ่ ง เป็ น การปฏิ วั ติ อุตสาหกรรมทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของการปฏิวตั ดิ จิ ทิ ลั ทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะ โดยการผสมผสานและหลอมรวมของเทคโนโลยีซงึ่ ท�ำให้รอยต่อระหว่าง เศรษฐกิจและสังคมทางกายภาพ ทางดิจิทัล และทางชีวภาพแคบลง จนแทบทีจ่ ะแยกกันไม่ออก) ดังนัน้ ผูบ้ ริหารจ�ำเป็นต้องเข้าใจถึงกลยุทธ์ โมเดลทางธุรกิจและวัฒนธรรมขององค์การตัวเองว่าจะต้องปรับเปลีย่ น อย่างไร สิง่ ใดบ้างทีจ่ ำ� เป็นทีจ่ ะต้องปรับเปลีย่ น และกลยุทธ์โมเดลทาง ธุรกิจและวัฒนธรรมขององค์การใดบ้างที่เป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลงในการเข้าสูก่ ารปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมรอบทีส่ ี่ เรามีตวั อย่างทีด่ ที ใี่ ห้ เห็นจากธุรกิจหลายธุรกิจทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม รอบทีส่ ี่ ไม่วา่ จะเป็นการเข้ามาของ Airbnb ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อภาพรวม ของธุรกิจโรงแรม หรือแม้แต่การเข้ามาของ FinTech ส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมการเงินและการธนาคารและธุรกิจประกันภัย จะเห็นได้ ว่าการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงโดยมีลักษณะเป็นโครงการแล้วจบ ลงนั้น (project-based approach) ไม่สามารถที่จะขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลงแบบองค์รวมได้ เพราะฉะนั้นการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ ต้องการการเปลีย่ นแปลงลึกถึงระดับ DNA ขององค์การ ซึง่ ก็คอื กลยุทธ์ โมเดลทางธุรกิจและวัฒนธรรมขององค์การนั่นเอง ถ้าผู้บริหารไม่ได้

มองเห็นจุดนีเ้ สาหลักอืน่ ๆ ก็แทบจะไม่มคี วามหมายอะไร และทีส่ ำ� คัญ ไม่น้อยกว่ากันกัน คือ รูปแบบหรือสไตล์ของการบริหารของผู้บริหาร มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารในองค์การต้องเปิดใจรับต่อการ เปลีย่ นแปลงและสามารถปรับรูปแบบหรือสไตล์ของการบริหารของตัว เองให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งสนับสนุนให้ บุคลากรในองค์การกล้าที่จะทดลองอะไรใหม่ ๆ และแชร์ความคิดเห็น ใหม่ ๆ ได้ ตัวอย่างทีม่ ใี ห้เห็นเช่นผูบ้ ริหารทีม่ ลี กั ษณะอนุรกั ษ์นยิ ม ก็มกั ที่จะก�ำหนดกลยุทธ์และวัฒนธรรมองค์การแบบอนุรักษ์นิยมเช่นกัน และอาจท�ำให้เกิดระบบการท�ำงานทีท่ ำ� ให้กระบวนการตัดสินใจช้าและ ขาดประสิทธิภาพ และอาจท�ำให้บคุ ลากรไม่กล้าทีจ่ ะเสนอความคิดเห็น ใหม่ ซึ่งจะท�ำให้ไม่สามารถขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงส�ำหรับการ ปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด เพราะฉะนั้น ผูบ้ ริหารต้องมีความสามารถในการสร้างความตระหนักรูถ้ งึ ความส�ำคัญ ของการเปลีย่ นแปลงและให้ความส�ำคัญเร่งด่วนเป็นล�ำดับต้น ๆ ซึง่ เน้น ถึงผลลัพท์เชิงบวกของการเปลีย่ นแปลงเพือ่ สร้างความกระตือรือล้นให้ กับเหล่าพนักงานในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงไปด้วยกัน รวมถึง อาจจะจ�ำเป็นต้องปรับวิสัยทัศน์ขององค์การให้มีความชัดเจนที่เน้น การสร้างแรงขับที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ นวัตกรรม วิธีการใหม่ ๆ ที่ท�ำให้วิสัยทัศน์นั้นส�ำเร็จ เสาหลักที่ 2: People & Organizational Structure หรือ บุคลากรและโครงสร้างขององค์การ เป็นอีกเสาหลักถึงต้องผูบ้ ริหาร ไม่สามารถที่จะมองข้ามได้ เนื่องจากผู้บริหารไม่สามารถขับเคลื่อน การเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตัวคนเดียวหรือแม้แต่ทีมผู้บริหารเองก็ไม่ สามารถท�ำได้เองทัง้ หมด ถ้าขาดบุคลากรและโครงสร้างขององค์การที่ เหมาะสม ดังนั้น การออกแบบและวางโครงสร้างขององค์การ รวมไป ถึงการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะที่สามารถช่วยกันขับเคลื่อนการ เปลีย่ นแปลง และมอบหมายและสร้างทีมงานผูซ้ งึ่ มีทงั้ ความปรารถนา และความพร้อมในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และที่ขาดไม่ ได้ผู้บริหารจ�ำเป็นต้องขจัดอุปสรรคและปัญหาต่าง ๆ ที่ขัดขวางต่อ

Vol.23 No.218 November-December 2016

อย่างไรก็ตาม นอกจากหลักทัง้ 8 ประการข้างต้น ท่านผูบ้ ริหาร จ�ำเป็นจะต้องเข้าใจถึงภาพรวมของการวางแผนอย่างเป็นองค์รวมว่า ต้องมีมิติใดบ้างที่สามารถรองรับและสามารถปรับตัวต่อการปฏิวัติ อุตสาหกรรมรอบที่สี่ได้เป็นอย่างดี (ตามรูปที่ 2) เสาหลัก 4 เสานี้ถ้าใช้ ร่วมกับหลักทั้ง 8 ของ Kotter’s Process for Leading Change จะ สามารถช่วยในการวางแผนในการขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลงและการ ปรับเปลี่ยนองค์การไปสู่ความเป็นเลิศได้อย่างดีเยี่ยม

33


Strategy

Vol.23 No.218 November-December 2016

การเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้าง และวิธีการท�ำงาน เป็น สิ่งส�ำคัญที่จะน�ำพาองค์การให้เข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมรอบที่สี่ได้ เป็นอย่างดี เสาหลักที่ 3: Process & Workflow หรือกระบวนการท�ำงาน เป็นเสาหลักอีกเสาที่ต้องได้รับการขับเคลื่อนให้เป็นไปในทิศทาง เดียวกันของทุกเสาหลัก และต้องเน้นการพัฒนากระบวนการและ วิธีการท�ำงานให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง (continuous improvement หรือ Kaizen) โดยที่การพัฒนากระบวนการ ท�ำงานสามารถท�ำให้ความเป็นผู้น�ำขององค์การพัฒนาขึ้นได้อย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน และตอกย�้ำว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่ดีและเป็น ธรรมชาติขององค์การที่ต้องเปลี่ยนแปลงและปรับตัวอย่างสม�่ำเสมอ เสาหลักที่ 4: Technology & Innovation หรือเทคโนโลยี และนวัตกรรม เสาหลักสุดท้ายนี้เป็นเสาหลักที่ส�ำคัญไม่น้อยกว่า สามเสาที่กล่าวมาเนื่องจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมท�ำให้การสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งในด้านการสร้างความแตกต่างให้ กับผลิตภัณฑ์หรือการบริการ และการท�ำให้ต้นทุนต�่ำสุด สามารถเกิด ขึน้ ได้อย่างลงตัว ดังจะเห็นจากตัวอย่างทีเ่ กิดขึน้ ในหลายอุตสาหกรรม ที่การแข่งขันที่การข้ามอุตสาหกรรมมากขึ้น (cross-industries competition) ดังนั้น การเลือกและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับเสาหลักทุกเสานัน้ มีความจ�ำเป็นมาก บาง เทคโนโลยีและนวัตกรรมสามารถท�ำให้กลยุทธ์ โมเดลทางธุรกิจและ วัฒนธรรมขององค์การเปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิงเลยก็ได้ดังที่เห็นได้จาก การเข้ามาของ Uber ที่ใช้ดิจิทัลเทคโนโลยีในการบริหารจัดการและ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจการบริการรับส่งคนหรืออุตสาหกรรม

34

Logistics รวมถึงการเข้ามาของ Tesla ที่เปลี่ยนระบบวิศวกรรมของ ระบบเครื่องยนต์ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่ออุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมพลังงานและธุรกิจประกันภัยอย่างรุนแรง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เองที่ผู้บริหารจ�ำเป็นจะต้องเข้าใจถึงภาพรวม และสามารถเชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากเสาหลักทั้ง 4 เสา เข้าด้วยกันอย่างเป็นองค์รวมให้ได้ ผู้เขียนหวังท่านผู้บริหารที่ได้อ่าน บทความเรื่องนี้แล้วสามารถที่จะใช้ แนวคิดจากเสาหลัก 4 เสาและ ประยุกต์ใช้ร่วมกับหลักทั้ง 8 ของ Kotter’s Process for Leading Change เพือ่ ช่วยในการวางแผนในการขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลงและ การปรับเปลี่ยนองค์การของท่านผู้บริหารเพื่อน�ำไปสู่ความเป็นเลิศได้ อย่างดีเยีย่ มเพือ่ รองรับและสามารถปรับตัวต่อการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม รอบที่สี่ได้เป็นอย่างดีที่สุด


Q

Marketing & Branding for

uality

สร้าง Health Biz ตอนที่ 2 ติดตลาดด้วย Smart Content Marketing ผศ.ดร.พัลลภา ปีติสันต์

วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ต่อจากฉบับที่แล้ว

จาก

ในตอนที่แล้ว ทีมวิจัยการตลาดของวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ประกอบด้วย คุณสหพล เจนธนสาร คุณดิษญา โกวิทยามงคล คุณภัททิยา ผุดผ่อง คุณญาญนทุ์ โตเลิศมงคล คุณวริษา สุระพัฒน์ คุณศศิธร ศิริเสรีมงคล คุณเมจุฑา พัฒนมุข คุณฉัตร์ฐิตา วิริยนิธิเจริญ และคุณพิมพ์รพี สุรสนธิ ลงพื้นที่แล้วเพื่อเก็บข้อมูลในตลาดธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ และสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ธุรกิจ Health Biz ในปัจจุบันมีการสื่อสารเนื้อหา ข้อมูล 5 ประเภท คือ 1. เนื้อหาที่ให้ Idea น�ำเสนอวิธีการท�ำ เช่น ภาพของการน�ำ Yogurt มาเป็นองค์ประกอบในการสร้างสรรค์เมนูใหม่ ๆ เช่น เยลลี่ผลไม้ Yogurt for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

35


Marketing & Branding

ที่มา: https://www.facebook.com/DutchieYoghurt/

ที่มา: https://www.facebook.com/welbsnack

Vol.23 No.218 November-December 2016

2. เนือ้ หาทีใ่ ห้ความรูท้ เี่ กีย่ วข้องกับสินค้า ภาพกล่องผลิตภัณฑ์ 4. เนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องราวที่เป็นกระแสขณะนั้น เช่น การน�ำ ของ Banner โดยเนื้อหาบรรยายถึงเทคนิคช่วยจ�ำ ภาพที่เป็นกระแสจากซีรีส์บันทึกของตุ๊ดมา และเปลี่ยนเนื้อหาข้อความ ให้สอดคล้องกับแบรนด์ของตนเอง เพื่อท�ำให้แบรนด์ดูมีชีวิตชีวาและ ไม่ตกกระแส

36

ที่มา: www.bannerprotein.co.th

3. เนือ้ หาทีใ่ ห้บอกคุณสมบัตหิ รือสรรพคุณของสินค้า ภาพของ สตรอว์เบอรี่ Freeze Dried บอกคุณสมบัตขิ องสินค้าว่าผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มา: http://www.hatyailike.com/content/detail/ ที่ผ่านกระบวนการ Freeze Drying จะถูกคงสภาพเดิมไว้ทั้งกลิ่น สี รส ขนาด รูปร่าง เส้นใย และคุณค่าทางโภชนาการ


Marketing & Branding 5. เนื้อหาที่สร้างอารมณ์ความรู้สึก เช่น เนื้อหาที่ให้ความบันเทิง ความตลกขบขัน เนื้อหากินใจ เป็นต้น

ที่มา: https://th-th.facebook.com/CollyCollagen

ส�ำหรับการสือ่ สารเนือ้ หาข้อมูลทัง้ 5 รูปแบบนัน้ ธุรกิจต่าง ๆ สามารถเลือกใช้แบบไหนผสมผสานกันก็ได้ นอกจากเนือ้ หาข้อมูลนัน้ ทีมวิจยั พบว่าสิ่งส�ำคัญ คือ รูปแบบของการน�ำเสนอข้อมูลนับเป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ส�ำคัญในการท�ำ Content Marketing ให้ประสบความส�ำเร็จ พบกับ 9 รูปแบบของเคล็บการน�ำเสนอข้อมูลให้โดนใจผู้บริโภคต่อในตอนหน้า

Vol.23 No.218 November-December 2016

อ่านต่อฉบับหน้า

37


Q

Idol & Model for

uality

การบริหารจัดการอาคารครบวงจร

(TFM)

ต้องยกให้ “โอซีเอส” ดูแล

38

กองบรรณาธิการ

PCS เป็นองค์กรทีห่ ลายคนคุน้ ตาเพราะด�ำเนินงานให้บริการทางด้านความ สะอาดและความปลอดภัยจนได้รับความไว้วางใจจากลูกค้ามาในระยะเวลากว่า ทศวรรษ PCS จึงเปรียบเสมือนองค์กรแห่งการบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจร ทีม่ สี ว่ นส�ำคัญในการสรรค์สร้างความส�ำเร็จขององค์กรธุรกิจและสถาบันในทุกภาค ส่วนของสังคม โดยบริษัทมีจุดมุ่งหมาย คือ การให้บริการที่สนับสนุนการด�ำเนิน ธุรกิจหลักของลูกค้าทุกท่าน อาทิ การบริการท�ำความสะอาด บริการด้านโภชนาการ บริการรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร บริการก�ำจัดแมลง บริการดูแลสวน บริการตรวจนับสินค้า บริการซ่อมแซมอาคารและบริการสุขอนามัยภัณฑ์ บริการ เหล่านี้จะช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้ลูกค้าทุกท่านสามารถด�ำเนินธุรกิจได้อย่าง เต็มที่ ซึง่ ครอบคลุมทุกความต้องการไม่วา่ จะเป็นบริการเฉพาะด้านหรือบริการแบบ ครบวงจร เพือ่ สนองต่อความต้องการทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ ส�ำหรับธุรกิจ บริษทั จึงมีความ ภูมิใจที่ได้รับการยกย่องให้เป็นผู้น�ำในธุรกิจบริการบริหารจัดการอาคารแบบครบ วงจร ซึ่งให้บริการแก่กลุ่มลูกค้าหลากหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มสาธารณสุข การพาณิชย์และการค้าปลีกด้วยบริการที่เปี่ยมคุณภาพ และนอกเหนือจากชื่อเสียงด้านการท�ำความสะอาด PCS ยังโดดเด่นใน ด้านการรักษาความปลอดภัย ด้วยแนวคิดของผู้บริหารที่ว่า “คุณดูแลเรื่องการ บริหารจัดการธุรกิจหลักของคุณไป ส่วนโอซีเอส (OCS) จะดูแลเรือ่ งอาคารและ ความปลอดภัยให้คุณ” ซึ่งเป็นค�ำพูดที่หนักแน่นของ คุณบุญเกียรติ วิสิทธิกาศ ผู้อ�ำนวยการงานบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจร ในโอกาสที่ก้าวเข้ามาเป็น ส่วนส�ำคัญในเข้ามาดูแลภาพรวมส่วนการบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจร หรือ Total Facilities Management (TFM) บริษัท รักษาความปลอดภัย พีซีเอส และฟาซิลติ ี้ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด ผูใ้ ห้บริการบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจรใน เครือโอซีเอส กรุ๊ป ประเทศอังกฤษ และในวันนี้ท่านได้มาร่วมพูดคุยกับเราถึงการ

คุณบุญเกียรติ วิสิทธิกาศ

ผู้อำ�นวยการงานบริหารจัดการอาคารแบบครบวงจร for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016


Idol & Model

การบริการของบริษัท

คุณบุญเกียรติ กล่าวถึงการด�ำเนิน งานบริษัทว่า “TFM เป็นผู้ที่ควบคุมดูแลทุก บริการที่จ�ำเป็นส�ำหรับที่อยู่อาศัย สถานที่ ท�ำงาน สถานพยาบาล สถานศึกษา โรงงาน อุตสาหกรรม ห้างสรรพสินค้า ร้านค้าปลีก สาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐานอื่น ๆ ที่จ�ำเป็นต้องมี เช่น งานท�ำความสะอาด (แม่บ้าน) งานรักษาความปลอดภัย (รปภ.) งานสวน หรือแม้แต่งานวิศวกรรม ซึ่งธุรกิจ ประเภทนี้เกิดขึ้นมากมาย ซึ่งส่วนใหญ่ก็มี การจัดจ้างบริษัทที่ให้บริการแต่ละประเภท จากหลาย ๆ แห่ ง แต่ โ อซี เ อสให้ บ ริ ก าร ครอบคลุมทั้งหมด ทั้งพนักงานรักษาความ ปลอดภัย บริการท�ำความสะอาด บริการสุขอนามั ย ภายในห้ อ งน�้ ำ บริ ก ารดู แ ลสวน บริ ก ารก� ำ จั ด แมลงหรื อ สั ต ว์ ร บกวน หรื อ แม้แต่บริการตรวจนับสินค้าและจัดส่งสินค้า เป็นต้น”

เร่งขยายการด�ำเนินงาน เพื่อความเจริญเติบโตของบริษัท

“โอซีเอส มีความเป็นเอกภาพเรื่อง การบริ ห ารจั ด การระบบได้ อ ย่ า งดี เ ยี่ ย ม ควบคุมให้ทกุ งานบริการมีมาตรฐาน โอซีเอส จึงได้รับความไว้วางใจจากลูกค้าจากหลากหลายธุรกิจ ล่าสุดยังได้รบั เกียรติจากโรงเรียน นานาชาติฮาร์โรว์ กรุงเทพฯ ในการร่วมเป็น วิทยากรในงานประชุม Health & Safety Conference เวที แ ลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล การบริ ห ารจั ด การด้ า นสุ ข ภาพและความ ปลอดภั ย ในโรงเรี ย นนานาชาติ ในครั้ ง นี้ โอซีเอสได้แลกเปลีย่ นประสบการณ์ดา้ นการ วางระบบบริหารจัดการเพื่อสุขอนามัยและ ความปลอดภัยทีด่ ใี นสถานศึกษา ถือมีความ ส�ำคัญอย่างมาก ซึ่งดูจากข่าวสารต่าง ๆ ที่ เกิ ด เหตุ ก ารณ์ ร ้ า ยในสถานศึ ก ษา ความ ส�ำคัญของระบบนี้เราต้องมั่นใจว่าเด็กจะได้ รั บ ความปลอดภั ย ทั้ ง ในเรื่ อ งของอาหาร สุขอนามัยต่าง ๆ เช่น ในห้องน�้ำหรือระบบ

ปรับอากาศก็ตอ้ งควบคุมความสะอาด แม้แต่ การตรวจการเข้าออกของบุคคลภายนอก รวมถึงการจราจรที่ดีในโรงเรียน ส�ำคัญสุด ต้องมั่นใจว่าระบบอุปกรณ์ต่าง ๆ จะไม่สร้าง อุ บั ติ เ หตุ แ ก่ เ ด็ ก นั ก เรี ย นและบุ ค ลากรใน โรงเรียน นอกจากโรงเรียนนานาชาติฮาร์โรว์ ที่โอซีเอสดูแลเรื่องการบริหารจัดการอาคาร แบบครบวงจร (TFM) แล้ว เรายังได้รบั ความ ไว้วางใจให้ดูแลมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ในไทย และโรงเรียนนานาชาติในประเทศ สิงคโปร์และมาเลเซียอีกด้วย”

ศักยภาพของบุคลากรเป็นสิ่งสำ�คัญ

คุณบุญเกียรติ ยังได้กล่าวเพิม่ เติมถึง บุคลากรของบริษัทว่า “พนักงานรักษาความ ปลอดภั ย ของพี ซี เ อสผ่ า นการอบรมด้ ว ย มาตรฐานสูงสุดจากโอซีเอสสหราชอาณาจักร เพื่ อ เป็ น การเตรี ย มความพร้ อ มในการให้ บริการรักษาความปลอดภัย พนักงานรักษาความปลอดภัยของ พีซเี อสทุกคนท�ำงานภายใต้แนวทางของฝ่าย บริ ห ารจั ด การในพื้ น ที่ ซึ่ ง เข้ า ใจในความ ต้องการของลูกค้าเป็นอย่างดี เราส่งเสริมให้ พนักงานมีปฏิสมั พันธ์ทดี่ กี บั ลูกค้าเพือ่ การให้ บริการได้อย่างใกล้ชดิ โดยเฉพาะในหน่วยงาน สถานที่เช่นศูนย์การค้าหรือสถานที่พักผ่อน ต่าง ๆ ทีซ่ งึ่ พนักงานรักษาความปลอดภัยช่วย อ�ำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ให้แก่ลกู ค้า นอกจากนี้เรามีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง ในฐานะที่เป็นผู้ให้บริการรักษาความปลอดภัยรายแรกที่มีการอบรมพนักงานทุกคนใน เรื่องของสารเสพติด รวมถึงมีการตรวจสอบ พนักงานทุกคน” ส�ำหรับอาคารหรือสถานทีข่ องลูกค้า ซึ่ ง ไม่ มี ค วามจ� ำ เป็ น จะต้ อ งอยู ่ ป ระจ� ำ จุ ด ตลอด 24 ชัว่ โมง พีซเี อสสามารถให้บริการรับ ฝากกุ ญ แจหรื อ บริ ก ารสายตรวจ ที ม งาน พร้อมให้บริการรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชั่วโมงและได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ในการรับมือกับเหตุการณ์เหนือความคาดหมายต่าง ๆ ในกรณีทมี่ กี ารบุกรุก ทีมงานจะ รักษาพื้นที่เกิดเหตุอาชญากรรม พร้อมแจ้ง ให้ตำ� รวจและลูกค้าให้ทราบเรือ่ งและจะตรึง

ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ จ นกว่ า อาคารจะกลั บ สู ่ สภาวะปกติ “พนักงานรักษาความปลอดภัยของ พี ซี เ อสได้ รั บ การอบรมด้ า นการจั ด การ ควบคุมการเข้าออกอาคาร การตรวจสอบ ค้นหาและการควบคุมการจราจร พนักงาน ของพีซเี อสจึงสามารถพัฒนาทักษะต่าง ๆ ไป จนถึ ง การอบรมระดั บ สู ง อาทิ การเป็ น พนักงานต้อนรับและรักษาความปลอดภัย พนักงานปฏิบัติการกล้องโทรทัศน์วงจรปิด พนักงานรักษาความปลอดภัยธุรกิจขายปลีก และพนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย ของ โรงแรม ทั้งหมดทั้งนี้ก็เพื่อตอบสนองต่อทุก ความต้องการของลูกค้า”

เน้นการให้บริการที่เหมาะสมกับ ธุรกิจของลูกค้า

“การบริหารจัดการอาคารแบบครบ วงจร (TFM) มีความแตกต่างกันตามความ ต้องการของกลุม่ ลูกค้า เช่น โรงพยาบาลก็จะ เน้นเรือ่ งการบริการคนไข้ ดังนัน้ ความสะอาด สุขอนามัยก็ต้องมาเป็นอันดับต้น ๆ หรือ โรงงานอุตสาหกรรมจะเน้นเรื่องการรักษา ความปลอดภั ย และการป้ อ งกั น ทรั พ ย์ สิ น สูญหาย ซึง่ การทีโ่ อซีเอสมีประสบการณ์ดา้ น การให้บริการลูกค้าจากหลากหลายธุรกิจ และมีเครือข่ายอยูท่ วั่ โลกทีส่ ามารถตอบสนอง ทุกความต้องการของลูกค้าให้เกิดความพึง พอใจสูงสุด ถือเป็นความแตกต่างทีท่ ำ� ให้เรา กลายเป็นผูน้ �ำการบริหารจัดการอาคารแบบ ครบวงจร (TFM)” คุณบุญเกียรติ กล่าวเสริม และยั ง กล่ า วทิ้ ง ท้ า ยว่ า “ตราบใดที่ ง าน ท�ำความสะอาด งานรักษาความปลอดภัย และ งานวิศวกรรมอาคาร M&E (Mechanical and Electrical) การดูแลสาธารณูปโภคภายใน องค์กรหรืออาคารยังเป็นความต้องการส�ำคัญ ต่อธุรกิจ นั่นก็หมายถึง ความเติบโตของโอซีเอสที่จะขยายตลาดให้เติบโตมากขึ้น พร้อม กับการพัฒนาการบริหารจัดการอาคารแบบ ครบวงจร (TFM) ให้มีมาตรฐานสมกับการ เป็นผู้น�ำอีกด้วย” คุณบุญเกียรติ วิสิทธิกาศ กล่าว

Vol.23 No.218 November-December 2016

ด�ำเนินงานของบริษทั จนได้รบั ความไว้วางใจ จากลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ

39


Q

Special Scoop for

uality

Special Scoop

Special Issue


Q

Special Scoop for

uality

SIPA เศรษฐกิจดิจิทัล และประเทศไทย 4.0 องค์กรแห่งความร่วมมือสู่การขับเคลื่อน

กองบรรณาธิการ

จาก

ภารกิจหลักของ ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือซิป้า ซึ่งเป็น หน่วยงานหลักในการวางแผนและก�ำหนด นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ของ ประเทศ ให้สอดคล้องกับแผนแม่บทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต์ แ วร์ โ ดยมุ ่ ง เน้ น การ สนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ของประเทศ การพัฒนาบุคลากร การตลาด การลงทุ น กระบวนการผลิ ต และการให้ บริการที่ได้มาตรฐานสากล รวมถึงการสร้าง แรงจูงใจในการลงทุนทางด้านอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์โดยการเสนอแนะมาตรการทาง ด้านภาษี และสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ต่อคณะ รั ฐ มนตรี สนั บ สนุ น การค้ น คว้ า วิ จั ย การ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและจัดให้มีกฎระเบียบ และมาตรการทีจ่ ำ� เป็นต่อการส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ส่งเสริมให้เกิดการคุ้มครอง ด้านทรัพย์สินทางปัญญาส�ำหรับซอฟต์แวร์ และยังเป็นหน่วยงานหลักในการประสานงาน และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการด�ำเนินการทาง ด้านอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ให้มีบริการแบบ เบ็ดเสร็จ การด�ำเนินงานมาตลอดระยะเวลา กว่า 13 ปี เป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์การ ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์จนในวันนี้ ประเทศไทยถือเป็นอีกหนึ่งประเทศที่จะก้าว

เข้าสู่เวทีซอฟต์แวร์โลกด้วยการส่งเสริมและ สนับของซิป้าเป็นส�ำคัญ ฉบั บ นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ ากท่ า น ผูบ้ ริหารของ ส�ำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า คือ คุณศุภชัย จงศิริ กรรมการผู้ทรง คุณวุฒิ รักษาการในต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ ได้ กล่าวถึงกิจกรรมและการด�ำเนินการของซิป้า ในการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรม รวมไปถึง กิจกรรมขององค์กรที่สนับสนุนให้ภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมของไทยเป็นไปตามเป้าหมาย ที่ ว างแผนสู ่ เ ศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล และก้ า วสู ่ ประเทศไทย 4.0 ในระยะเวลาอันใกล้นี้ และ คุณสุวิมล เทวะศิลชัยกุล รองผู้อ�ำนวยการฯ ซึ่ ง ท่ า นพู ด คุ ย กั บ เราถึ ง สถานการณ์ ต ลาด ซอฟต์แวร์ของประเทศ

ซิป้ากับการสนับสนุน อุตสาหกรรมท่องเที่ยว

เมื่อเร็ว ๆ นี้ ซิป้าได้ด�ำเนินการในการ ส่งเสริมและสนับสนุนกลุม่ อุตสาหกรรมอย่าง เป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวที่เป็นอีกหนึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมที่ สร้างรายได้ให้กบั ประเทศอย่างมหาศาล และ คุ ณ ศุ ภ ชั ย จงศิ ริ กรรมการผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ รักษาการในต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ หรือ SIPA เปิดเผยถึงปัญหาทางด้านไอทีของ อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วและการสนั บ สนุ น อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วด้วยระบบไอทีของซิปา้ ว่า “ธุรกิจท่องเทีย่ วหลังจากทีน่ ำ� ระบบไอทีมา ใช้ นอกจากจะท�ำให้พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเปลี่ยนแปลงไปทั่วโลก เกิดผู้เล่นราย-

คุณศุภชัย จงศิริ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ รักษาการในตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือซิป้า

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

41


Vol.23 No.218 November-December 2016

Special Scoop

42

ใหม่เข้ามาเปลี่ยนแปลงโครงสร้างธุรกิจท่องเที่ยว และสร้างปัญหาในระดับเชิงนโยบาย ใหม่ ๆ เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวอย่าง ที่ภาครัฐและอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไม่อาจ เมินเฉยได้อีกต่อไป ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นเรื่องการ เติบโตของระบบเสิรช์ เอ็นจิน้ ในรูปแบบต่าง ๆ กับระบบการพิมพ์ชื่อค้นหาชื่อและต�ำแหน่ง ของโรงแรม หลายครั้งที่การก�ำหนดแหล่ง ค้นหาของประเทศไทยไม่สามารถดึงข้อมูล ผู้ประกอบการที่แท้จริงออกมาให้ผู้สืบค้นได้ ท�ำให้เสียโอกาสทางธุรกิจไป ซึ่งการก�ำหนด รหั ส สื บ ค้ น ที่ เ ป็ น มาตรฐานจะช่ ว ยเหลื อ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยทั้งประเทศได้ แต่ จะให้ผู้ประกอบการ หรือหน่วยงานท่องเที่ยว ที่ไม่คุ้นเคยกับโลกดิจิทัลมาจัดการตั้งมาตรฐานรหัสนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้ ความช่วยเหลือในเชิงนโยบายเช่นนี้จ�ำเป็นที่จะต้องมี ตัวกลาง เช่น SIPA และพันธมิตรทั้งหลาย เข้ามาแก้ไข อีกปัญหาหนึ่งก็คือ การเติบโตของ เว็ บ ไซต์ จ องโรงแรมชื่ อ ดั ง ทั่ ว โลก ทั้ ง ที่ มี จ�ำนวนมาก และมีระบบการใส่ขอ้ มูลการจอง ที่ทางโรงแรมต้องมาด�ำเนินการเอง รวมถึง ระบบการตั้งราคา และการให้ส่วนแบ่งต่าง ๆ ได้สร้างปัญหาให้กับผู้ประกอบการโรงแรม ทัว่ โลก รวมถึงประเทศไทยด้วย จนเกิดมีธรุ กิจ ตัวกลางรับท�ำหน้าที่กรอกข้อมูลและเปลี่ยนแปลงรายละเอี ย ดการซื้ อ ขายในเว็ บ และ แอปพลิเคชัน่ ของระบบจองโรงแรม ซึง่ เราเรียก ตัวกลางนี้ว่า Hotel Channel Management ยิ่ ง เว็ บ ไซต์ แ ละแอปพลิ เ คชั่ น จอง โรงแรมที่ พั ก เติ บ โตมากขึ้ น ระบบ Hotel Channel Management ก็เติบโตตามไปด้วย ก็ยิ่งจะท�ำให้ค่าใช้จ่ายของโรงแรม และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง เช่น บริษัททัวร์ต่าง ๆ ต้องปันส่วนแบ่งรายได้ให้กับระบบเหล่านี้ ที่ ส�ำคัญคือรายได้จากส่วนแบ่งจากอุตสาหกรรมท่ อ งเที่ ย วไทยที่ แ บ่ ง ไป รั ฐ บาลไม่ สามารถเก็บภาษีรายได้ในส่วนนีเ้ ลย เป็นการ น�ำเงินออกโดยทีไ่ ม่มสี ว่ นให้กบั เศรษฐกิจไทย

นอกจากนั้น ก็คือ การขาดแพลตฟอร์มกลางให้กับผู้ขายรายย่อยระดับ SMEs ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้กับบริษัททัวร์ เอเยนต์ที่มีอยู่ทั่วโลก เพราะระบบการขาย แพคเกจท่องเที่ยวในปัจจุบันบริการต่าง ๆ ของท่องเทีย่ ว ไม่วา่ จะเป็นการขายของทีร่ ะลึก การให้เช่ารถ การให้เช่าเรือท่องเที่ยว และ อื่น ๆ ขึ้นอยู่กับบริษัททัวร์เอเยนต์ ซึ่งมักจะ เป็นการติดต่อกับระหว่างทัวร์เอเยนต์ต้นทาง กับทัวร์เอเยนต์ปลายทาง โดยที่ทัวร์เอเยนต์ ปลายทางจะเป็ น ผู ้ กุ ม ชะตาการน� ำ เสนอ ทัง้ หมดเอาไว้ ซึง่ ท�ำให้ธรุ กิจ SMEs ทีเ่ กีย่ วกับ การท่องเที่ยวไทยจะเข้าถึงได้ยาก และมัก ขาดโอกาสในการตลาด จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี แพลตฟอร์มที่รวบรวมสินค้าและบริการของ SMEs การท่องเที่ยวไทยรวมกันขึ้นมา เพื่อ เป็นทางเลือกให้เอเยนต์ต่าง ๆ ทั่วโลก ได้ใช้ เป็นทางเลือก”

ซิป้า สร้างแพลตฟอร์มทางด้านไอที เพื่อรองรับปัญหาการท่องเที่ยวไทย

คุณศุภชัย เปิดเผยถึงการด�ำเนินงาน ของซิปา้ ว่า “ซิปา้ ได้ใช้เวลาถึง 2 ปีในการสร้าง แพลตฟอร์มทางด้านไอทีเพื่อรองรับปัญหา การท่องเทีย่ วไทย ทัง้ เพือ่ ก�ำหนดสิง่ ทีค่ วรเป็น มาตรฐาน สิ่งที่จะเกิดประโยชน์กับประเทศไทยในระยะยาว และช่วยเหลืออุตสาหกรรม ท่องเที่ยวในระดับรากหญ้า โดยมองที่ไอทีจะ เข้าไปแก้ไขปัญหาเหล่านีไ้ ด้ ซึง่ นีเ่ กิดจากการ ที่ซิป้าลงลึกเข้าไปในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว จริง ๆ เข้าไปค้นหาปัญหาและหาทางแก้ไขให้ ถูกจุดที่สุด ปัจจุบนั โครงการส่งเสริมประเทศไทย ให้เป็นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วในระดับสากล หรือ Tourism Thailand Open Platform ทีเ่ รียก สั้น ๆ ว่า ToTOP บางส่วนอยู่ระหว่างการ พัฒนา บางส่วนอยูร่ ะหว่างการรอประกาศใช้ ซึ่งภายใน 3 เดือนข้างหน้าทั้งหมดที่วางแผน ไว้จะด�ำเนินการเสร็จสิ้น และในช่วง 3 เดือน นี้ SIPA กับภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องก�ำลังเร่ง ท� ำ ความเข้ า ใจกั บ ภาคธุ ร กิ จ ท่ อ งเที่ ย วที่

เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ โดยคาดว่า จะมีเอเยนต์ทอ่ งเทีย่ วจากต่างประเทศเข้าร่วม มากกว่า 300 แห่ง และจะมีเอเยนต์ทอ่ งเทีย่ ว ในประเทศเข้าร่วมมากกว่า 50% ในช่วงนี้” สิ่งที่อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยต้อง ปรั บ ตั ว มาตลอดตั้ ง แต่ ก ารขายผ่ า นระบบ เอเยนต์ซี่ปกติมาเป็นการขายผ่านเว็บไซต์ ตัวกลางมาเจอกับปัญหาการค้นหาจากเสิร์ช เอ็นจิ้นที่ไม่ครอบคลุม มาเจอกับการผ่าน ตัวกลางอย่าง Channel Management หรือ พวกบริหารช่องทางจ�ำหน่ายอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งจะต้องมาปรับระบบไอทีภายในเพื่อ รองรับปริมาณความต้องการที่ซับซ้อน ปรับ ตัวกับการติดตั้งระบบไวไฟเพื่อรองรับความ ต้องใช้อนิ เทอร์เน็ต ปรับตัวกับการใช้โซเชียลมี เดียของลูกค้าที่พร้อมจะเป็นดาบสองคมให้ ธุรกิจ รวมถึงต้องปรับตัวเข้ากับการแข่งขัน แบบขายตรงแบบใหม่ที่ท�ำให้นักท่องเที่ยว ติดต่อโดยตรงกับเจ้าของบ้านที่เพิ่งกระโดด เข้ามาในธุรกิจท่องเทีย่ วแนวใหม่ เชือ่ ว่าธุรกิจ ท่ อ งเที่ ย วของโลกยั ง ต้ อ งปรั บ ตั ว ไปเมื่ อ มี นวัตกรรมใหม่เข้ามาอีกแน่ “การปรับตัวทุกครัง้ ถือเป็นต้นทุนทีจ่ ะ เข้ามาเพิม่ ขึน้ ให้กบั อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว ซึง่ พิ จ ารณาจากแนวโน้ ม แล้ ว ส่ ว นแบ่ ง ของ อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วจะต้ อ งจ่ า ยให้ กั บ ตัวแทนรูปแบบใหม่จะมากขึ้นทุกที หากยัง เป็นแนวโน้มเช่นนี้ต่อไป อุตสาหกรรมท่องเที่ยวจะไม่สามารถแบกรับได้ ขณะเดียวกัน ภาครัฐแม้จะเห็นตัวเลขการท่องเที่ยวที่ดีแต่


Special Scoop ไม่สามารถเก็บเกี่ยวรายได้จากการท่องเที่ยว ได้เลย ดังนัน้ ภาครัฐทางด้านไอทีจะต้องเร่ง เข้ า มาแก้ ไ ขปั ญ หาอั น เกิ ด จากเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ซึ่งทางฝั่งผู้ประกอบการท่องเที่ยวไม่ สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ดังนั้น โครงการส่งเสริมประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลาง การท่องเที่ยวในระดับสากล Tourism Thailand Open Platform: ToTOP จึงเป็นเหมือน สิง่ น�ำร่องทีร่ ฐั บาลก�ำลังใช้ไอทีแก้ปญ ั หาทีเ่ กิด จากไอที ขณะนี้หน้าที่ของซิป้า คือ เร่งสร้าง แพลตฟอร์มให้เสร็จสมบูรณ์ ขณะเดียวกัน กระทรวงไอซีทีและกระทรวงท่องเที่ยวและ กี ฬ าจะเป็ น เหมื อ นพี่ เ ลี้ ย งที่ ค อยสนั บ สนุ น และเป็นหน่วยงานการันตีว่าแพลตฟอร์มที่ ก�ำลังจะเกิดขึ้นนี้ มีประโยชน์กับทั้งอุตสาหกรรม โดยจะไม่มีผลกระทบต่อนักท่องเที่ยว แต่จะท�ำให้ธุรกิจท่องเที่ยวที่อยู่ในวงจรได้

ประโยชน์ในภาพรวม ท�ำให้ธุรกิจง่ายขึ้นโดย ไม่กลายเป็นต้นทุนส่วนเพิ่มให้กับธุรกิจเลย และจะท�ำให้ลดการเสียเปรียบทางการค้าให้ กับธุรกิจต่างประเทศมากขึ้น ถึงวันนี้ระบบ Standard Code หรือ รหัสมาตรฐานของธุรกิจท่องเทีย่ ว ซึง่ ทางซิปา้ ได้ร่วมกับ ส�ำนักงานพัฒนาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ETDA) ในการเข้ามาแก้ไขปัญหา ด้านการค้นหา หรือ Search ในระบบไอที ซึ่ง ขณะนีไ้ ด้ดำ� เนินการเสร็จสิน้ 100% แล้ว เหลือ เพียงรอการประกาศจากหน่วยงานมาตรฐาน หลังจากนั้นภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจะ สามารถน�ำไปใช้ และสร้างเป็นมาตรฐานให้ เกิดขึ้นเป็นแห่งแรกของโลกเลยทีเดียว ระบบ Hotel Channel Management ที่พัฒนาขึ้นครั้งนี้ จะเป็นระบบที่มีทั้งเทคโนโลยี Pushing และ Pulling ตัวระบบจะมี ความซับซ้อนพอ ๆ กับระบบคอมพิวเตอร์ของ ตลาดหุน้ เพราะแต่ละการจองห้องจะต้องลด

และเพิ่ ม ในที่ ต ่ า ง ๆ จ� ำ นวนมากในเวลา เดียวกัน ซึ่งในตลาดโลกตอนนี้ท�ำได้เพียง ระบบใดระบบหนึ่ง ไม่สามารถพัฒนาสอง ระบบได้ในแพลตฟอร์มเดียวกัน แต่ระบบที่ SIPA พัฒนาจะท�ำได้และจะเป็นแห่งแรกของ โลกอีกเช่นกัน ซึ่งขณะนี้ระบบพัฒนาไปได้ 60% และแล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคมที่ ผ่านมา แพลตฟอร์ม B2B Agent หรือตลาด เสนอสินค้าและบริการด้านท่องเทีย่ วทีส่ ง่ ตรง ถึงเอเยนต์ทวั ร์ตา่ งประเทศ จะเป็นตลาดกลาง ที่ท�ำให้เอเยนต์ทัวร์ทั่วโลกที่น�ำลูกทัวร์ต่าง ประเทศเข้าไทย สามารถปรับแพคเกจบริการ และสินค้าต่าง ๆ โดยดึงจากกลุม่ SMEs ด้าน ท่องเที่ยวของไทยได้โดยตรง ซึ่งขณะนี้ตัว ระบบคืบหน้าไปมากแล้วและก�ำลังประสาน งานจากหน่วยงานภาครัฐในแง่มุมต่าง ๆ เท่านั้น” คุณศุภชัย กล่าวทิ้งท้าย

คุณสุวิมล เทวะศิลชัยกุล

รองผู้อำ�นวยการฯ สำ�นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือซิป้า

ท่านรองผู้อ�ำนวยการฯ เริ่มต้นกล่าวถึงความเจริญเติบโต ของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในประเทศไทยว่า “ทีผ่ า่ นมาซิปา้ ได้รว่ มกับ IMC ส�ำรวจมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ปี 2558 ผลส�ำรวจที่ได้รับ คือ มูลค่าตลาดเติบโตขึ้นเพียงเล็กน้อยด้วยปัจจัย จากการชะลอตัวของเศรษฐกิจ (software-enable service) ท�ำให้ อุตสาหกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลง แต่คาดว่าปี 2559 และ 2560 ยังเติบโตต่อเนื่องร้อยละ 4.4 และ 4.3 ซึ่งผลที่ดีขึ้นเกิดจากการ กระตุ้นการใช้ Promptpay และการขยายโครงสร้างพื้นฐาน” ซึ่ง ท่านรองผู้อ�ำนวยการฯ ยังได้กล่าวถึงการส�ำรวจในครั้งนี้ว่า “การ ส�ำรวจมูลค่าตลาดซอฟต์แวร์ของประเทศไทย ประจ�ำปี 2558 จัดขึ้น เพือ่ ติดตามความก้าวหน้าและการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญในแต่ละปีของ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย เพือ่ น�ำข้อมูลดังกล่าวไปใช้ในการวางแผน นโยบายต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดย การส�ำรวจในปีนี้ ได้ขยายประเภทการส�ำรวจเพิ่มขึ้นในกลุ่มสถาบัน การศึกษาที่ผลิตบัณฑิตด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์และสารสนเทศ พร้อมรวบรวมข้อมูลกลุ่มผู้ประกอบการรายใหม่ด้านเทคโนโลยี (tech startup) ในประเทศไทย เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐและ ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์

Vol.23 No.218 November-December 2016

ตลาดซอฟต์แวร์ไทย

43


Special Scoop ส�ำหรับผลการส�ำรวจการผลิตซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ประจ�ำปี 2558 มี มูลค่ารวม 52,561 ล้านบาท เติบโตขึ้นจากปี 2557 เพียงร้อยละ 1.2 เนือ่ งจากการชะลอตัว ของเศรษฐกิ จ ท� ำ ให้ ก ารลงทุ น ในโครงการ ขนาดใหญ่ทั้งในภาครัฐและเอกชนชะลอตัว ตาม แต่ทั้งนี้ในกลุ่มธุรกิจขนาดกลาง ซึ่งมี รายได้ระหว่าง 100 - 500 ล้านบาท กลับมี อัตราการเติบโตทางธุรกิจเนื่องจากกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่ไม่ได้พึ่งพิงกับโครงการขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตาม ในปี 2559 มูลค่าการผลิต ซอฟต์ แ วร์ แ ละบริ ก ารซอฟต์ แ วร์ ยั ง คงมี การเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยคาดการณ์ อัตราการเติบโตราวร้อยละ 4.4 มีมูลค่ากว่า 54,893 ล้านบาท ขณะที่ปี 2560 คาดว่าจะมี อัตราการเติบโตร้อยละ 4.3 และมีมูลค่ากว่า 57,257 ล้านบาท”

ปัจจัยส่งเสริมการเจริญเติบโต ของอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์

รองผู้อ�ำนวยการฯ ยังกล่าวถึงปัจจัย สนับสนุนการเจริญเติบโตว่า “ปัจจัยหลัก ที่ท�ำให้อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์และบริการ ซอฟต์ แ วร์ ใ นปี 2559 มี อั ต ราเติ บ โต คื อ 1. ภาคการเงิน ได้รับการกระตุ้นเชิงนโยบาย

จากโครงการพร้อมเพย์ (promptpay) ผลักดัน ให้มีการลงทุนเพิ่มทั้งด้านซอฟต์แวร์ระบบ และซอฟต์แวร์และด้านความปลอดภัยของ ข้อมูล 2. ภาคโทรคมนาคม เกิดจากโครงการ ขยายเครือข่ายสื่อสารไร้สาย เทคโนโลยี 4G ที่ได้รับใบอนุญาตไปแล้ว ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอุ ป กรณ์ จ ากระบบ 3G สู ่ 4G และ โครงการขยายโครงข่ายบริการบรอดแบนด์ ทั่วประเทศ นอกจากนี้ผลการส�ำรวจด้านซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัวประจ�ำปี 2558 มีมลู ค่ารวม 6,039 ล้านบาท เติบโตขึ้นร้อยละ 3.5 จากปี ก่อน เกิดจากปัจจัยการขยายตัวของผูอ้ อกแบบ และพั ฒ นาระบบที่ ใ ช้ ซ อฟต์ แ วร์ ส มองกล ฝังตัว โดยมีทรัพย์สินทางปัญญาของตนเอง (IP-based system designer) และผู้พัฒนา ซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัว เพือ่ ใช้กบั สินค้าของ บริษัท โดยมีฐานะเป็นหน่วยผลิตภายใน (inhouse producer) อย่างไรก็ตาม คาดการณ์ ว่ามูลค่าการผลิตซอฟต์แวร์สมองกลฝังตัวจะ เติบโตกว่าร้อยละ 5 ในปี 2559 และร้อยละ 6.9 ในปี 2560 ส่ ว นมู ล ค่ า การส่ ง ออก ซอฟต์แวร์และบริการซอฟต์แวร์ ปี 2558 ของ ประเทศไทยมีมูลค่า 3,330 ล้านบาท โตขึ้น กว่าร้อยละ 0.3 ขณะที่การน�ำเข้าซอฟต์แวร์

และบริการซอฟต์แวร์จากต่างประเทศมีมลู ค่า 32,944 ล้านบาท และซอฟต์แวร์และบริการ ซอฟต์ แ วร์ เ พื่ อ การพั ฒ นาในองค์ ก ร (inhouse) มีมูลค่า 14,903 ล้านบาท ทั้ ง นี้ ก ารด� ำ เนิ น การปี นี้ ไ ด้ ท� ำ การ ส�ำรวจกลุ่มสถาบันการศึกษาที่ผลิตบัณฑิต ด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์และสารสนเทศ เป็ น ปี แ รก พบว่ า บั ณ ฑิ ต สาขาวิ ศ วกรรม คอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ ประจ� ำ ปี 2556 มี จ� ำ นวน 12,619 คน ซึ่ ง มี แ นวโน้ ม ลดลง นอกจากนี้ยังได้ท�ำการรวบรวมข้อมูลกลุ่ม ผู้ประกอบการรายใหม่ด้านเทคโนโลยี (tech startup) พบว่ า มี จ� ำ นวน 348 รายใน ประเทศไทย และมีมูลค่าการระดมทุนที่เปิด เผยได้ ก ว่ า 1,188 ล้ า นบาท (ข้ อ มู ล จาก Google, Temasek และ TechSauce)”

Vol.23 No.218 November-December 2016

พฤติกรรมการใช้ซอฟต์แวร์

44

คุณสุวิมล ยังกล่าวเพิ่มเติมถึงพฤติกรรมการใช้ซอฟต์แวร์ของคนไทยว่า “ผลการ ส�ำรวจในปีมีข้อสังเกตว่า พฤติกรรมการใช้ ซอฟต์แวร์สำ� เร็จรูปมีการเปลีย่ นแปลงไปสูก่ าร ใช้ SaaS (Software as a Service) มากขึน้ ซึง่ การแข่งขันจะพึง่ พิงจากเวนเดอร์ตา่ งประเทศ เป็นหลัก การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะเป็น ตั ว แปรที่ มี นั ย ส� ำ คั ญ ต่ อ การเติ บ โตของ อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ทนี่ า่ จับตามอง”


Q

Special Scoop for

uality

พัฒนารูปแบบการบริการ เพื่อตอบโจทย์ยุคแห่งดิจิทัล

กองบรรณาธิการ

เมื่อ

ดิจทิ ลั เข้ามาสูก่ ารประกอบธุรกิจและอุตสาหกรรมมากขึน้ ผูป้ ระกอบการจึงต้องปรับตัวเพือ่ รองรับการเปลีย่ นแปลง หากไม่เช่นนัน้ แล้ว คูแ่ ข่งอาจแซงหน้าเราไปอย่างไม่เห็นฝุน่ สิง่ หนึง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการยุคใหม่ตอ้ งด�ำเนินการ นัน่ คือ การปรับกระบวนการบริหารจัดการและ บริการเพือ่ ให้เท่าทันยุคดิจทิ ลั และอีกสิง่ หนึง่ คือ การสร้างเครือข่ายและพันธมิตรในการสนับสนุนสินค้าและบริการให้ตอบโจทย์ทนี่ บั วันจะยากขึน้ ฉบับนี้เราได้รับเกียรติจากผู้บริหาร 2 องค์กร คือ บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด และ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ได้ร่วมมือกันพัฒนาระบบการบริการของบริษัทจนเป็นที่ น่าสนใจ เรามาติดตามกัน

รู้จัก บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด

บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ผู้ให้ บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Value Added Network Services: VANS) ซึ่งปัจจุบันเป็น VANS อันดับ 1 โดยมีผใู้ ช้บริการมากทีส่ ดุ ในประเทศไทย และยังเป็นผู้น�ำด้านเทคโนโลยี Electronics Cargo Tracking System (ECTS) หรือระบบ ติดตาม และตรวจสอบความปลอดภัยตู้สินค้า ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซีล (E-Seal) เลือก

ใ ช ้

คุณอภิลักษณ์ แวงวรรณ (ขวา) ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จำ�กัด

คุณทวีศักดิ์ แสงทอง (ซ้าย)

อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด

for Quality Vol.23 No.218 November-December 2016

45


Special Scoop

SAS Visual Analytics ของบริ ษั ท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) เพื่อน�ำแนวคิด Data Mining เข้ า มาใช้ ใ นสั ง คมโลจิ ส ติ ก ส์ ข อง ประเทศไทย ในการมาสนับสนุนใช้ขอ้ มูลการ ตัดสินใจทีร่ วดเร็ว แม่นย�ำ ตรงตามเป้าหมาย เพื่อน�ำวงการโลจิสติกส์ไทยก้าวสู่โลกโลจิสติกส์ยุคใหม่

Vol.23 No.218 November-December 2016

รู้จักบริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

46

บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด เป็นผูน้ ำ� ในตลาดซอฟต์แวร์และบริการ ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงธุรกิจ (business analytics) ด้วยโซลูชั่นเชิงนวัตกรรมที่ให้ ลูกค้าในรูปของ Integrated Framework และ เทคโนโลยีส�ำหรับการรวบรวมข้อมูล การ วิเคราะห์ และการเข้าถึงข้อมูลช่วยให้ลูกค้า ของแซสที่มีมากกว่า 75,000 แห่งทั่วโลก สามารถตัดสินใจทางธุรกิจได้ดี และรวดเร็ว ยิ่งขึ้น และนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2519 เป็นต้นมา แซส เดินหน้าอย่างมุ่งมั่นในการเป็น “พลัง แห่งการรอบรู้” หรือ The Power to Know® ส�ำหรับลูกค้าทั่วโลก

ร่วมมือกันเพื่อก้าวสู่โลกโลจิสติกส์ยุคใหม่

ส� ำ หรั บ การพั ฒ นารู ป แบบการให้ บริการโดยร่วมมือกับ SAS ถือว่าเป็นการ สร้างสรรค์ให้เกิดแนวทางการพัฒนาระบบ โลจิสติกส์แบบใหม่ทเี่ หมาะสมกับประเทศไทย

ในยุคนี้ ซึง่ คุณอภิลกั ษณ์ แวงวรรณ ผูจ้ ดั การ ทั่วไป บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “การเลือกใช้ SAS Visual Analytics ของ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด สนับสนุนการใช้ขอ้ มูลเพือ่ การตัดสินใจในครัง้ นีเ้ พือ่ ก้าวสูโ่ ลกโลจิสติกส์ ยุคใหม่ โดยบริษัทมีเป้าหมายจะเป็นผู้น�ำใน การให้บริการแลกเปลีย่ นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ทางโลจิสติกส์ ของผู้ให้บริการในภาคธุรกิจ โลจิ ส ติ ก ส์ ทุ ก ด้ า นของประเทศไทย ทั้ ง นี้ เป็นไปตามวิสัยทัศน์ของบริษัทที่สนับสนุน นโยบายของภาครัฐ โดยเฉพาะกรมศุลกากร ที่ ต ้ อ งการยกระดั บ การให้ บ ริ ก ารด้ ว ยการ พัฒนาและปรับปรุงการเชื่อมโยงข้อมูลทาง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ร ะหว่ า งองค์ ก รของภาครั ฐ ภายในประเทศ (National Single Window: NSW) และในภู มิ ภ าคอาเซี ย น (ASEAN Single Window: ASW) เพื่ออ�ำนวยความ

สะดวกทางด้านการค้า และการขนส่งของ ประเทศไทย และภู มิ ภ าคอาเซี ย น ให้ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยบริษัทมีแนวคิด สนับสนุนนโยบายของรัฐบาลอย่างเต็มที่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปัจจุบนั รัฐบาล มีการปูทางไปสู่การพัฒนาระบบเชื่อมโยง ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างประเทศใน ภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Single Window: ASW) เพื่อส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศทั้ง ในระดับกลุ่ม AEC และระหว่าง AEC กับ ภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก ส่งผลให้อุตสาหกรรม โลจิ ส ติ ก ส์ ใ นภาพรวมมี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง


ก้ า วกระโดดสู ่ โ ลกโลจิ ส ติ ก ส์ ไ ร้ พ รมแดน ซึ่งจะน�ำไปสู่การเชื่อมโยงโครงข่ายการค้า และการขนส่ ง ทั้ ง โลกเข้ า ด้ ว ยกั น แบบไร้ ข้อจ�ำกัด โดยภารกิจหลักของบริษทั ฯ คือ การ สร้างระบบเพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้การ เชื่อมโยงนั้นเกิดขึ้นได้จริง”

เพิ่มประสิทธิภาพการบริการ เพื่อรองรับยุคดิจิทัล

คุณอภิลักษณ์ ยังได้กล่าวอธิบายถึง การขับเคลื่อนองค์กรเพื่อรองรับการขยายตัว ทางเศรษฐกิจอีกว่า “ภารกิจต่อมาของบริษัท คือ การก้าวสูก่ ารเป็นผูใ้ ห้บริการ Electronics Cargo Tracking System: ECTS ในตลาด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC โดย บริ ษั ท มองว่ า อุ ต สาหกรรมโลจิ ส ติ ก ส์ ใ น อนาคตไม่ได้อยู่แค่การขนส่งภายในประเทศ แต่ จ ะต้ อ งขยายไปในต่ า งประเทศอย่ า ง หลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ จากระบบการขนส่ ง ที่ มี ความสะดวกทั้ ง ทางบก ทางอากาศ และ ทางทะเล บริ ษั ท จึ ง พั ฒ นาระบบ “iSpot

Solutions” ซึ่ ง ก็ คื อ ระบบติ ด ตาม และ ตรวจสอบความปลอดภัยตู้สินค้า (ECTS) ที่ก�ำลังขนส่งไปยังปลายทางนั่นเอง โดยใช้ เทคโนโลยี Global Positioning System: GPS และ Radio Frequency Identification: RFID คอยติ ด ตามความปลอดภั ย ตู ้ สิ น ค้ า นั้ น ๆ ตลอดเวลา เพื่อรับประกันได้ว่าสินค้าที่ส่งไป นัน้ ถึงทีห่ มายปลายทางอย่างปลอดภัย ซึง่ จะ เป็นหนึง่ ในบริการทีจ่ ะท�ำให้บริษทั ฯ ก้าวขึน้ สู่ การเป็นผู้น�ำของผู้ให้บริการทางด้านธุรกิจ โลจิสติกส์ของประเทศในที่สุด”

ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน อุตสาหกรรมโลจิสติกส์

“ภารกิจที่ 3 ของบริษัทฯ คือ การน�ำ Advance Analytics หรือระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจมาสู่อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ และสนับสนุนให้มีการน�ำข้อมูล ซึ่งมีมูลค่ามหาศาลที่มีอยู่แล้วในระบบของ ลูกค้ามาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ และวางแผนธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และแม่นย�ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน โลจิสติกส์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นธุรกิจที่ต้องมีการ เตรียมเอกสารและข้อมูลจ�ำนวนมากมายใน การขนส่งสินค้าแต่ละชิ้น แต่ไม่เคยได้น�ำ ข้อมูลนั้นมาใช้ประโยชน์ต่อได้เลย ตรงจุดนี้ เองที่ บริษทั ทิฟฟ่า อีดไี อ เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด มองหาพันธมิตรทางธุรกิจทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ในการจัดการ สังเคราะห์ และวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิ ง ธุ ร กิ จ ที่ จ ะสามารถตอบโจทย์ ค วาม ต้องการในทุกมิติของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ ได้ และเราเล็งเห็นว่า บริษทั แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด คือ ค�ำตอบของความ ส�ำเร็จในเรื่องนี้” คุณอภิลักษณ์ กล่าว

ทิศทางการน�ำซอฟต์แวร์มาใช้ในการต่อยอด ธุรกิจ

ทางด้าน คุณทวีศักดิ์ แสงทอง อดีตกรรมการผู้จัดการ บริษัท แซส ซอฟท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ได้กล่าวถึงทิศทางและ

สถานการณ์การน�ำซอฟต์แวร์มาใช้ในการ พัฒนาบริการของภาคธุรกิจในประเทศไทยว่า “ปัจจุบันมีหลายองค์กรใช้ซอฟต์แวร์เพื่อการ วิเคราะห์สถานภาพของสินค้า การค�ำนวณ ทางสถิติ เพื่อช่วงชิงความได้เปรียบทางการ แข่งขัน และเพือ่ รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ มี ทิศทางการเติบโตทีน่ า่ สนใจ โดยมีการพัฒนา ระบบน� ำ เข้ า -ส่ ง ออกเอกสารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิกส์อย่างแพร่หลายเพื่อเชื่อมโยงข้อมูล ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ร ะหว่ า งองค์ ก รภายใน ประเทศ (National Single Window: NSW) กั บ กรมศุ ล กากรเพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวก และบริหารจัดการการน� ำเข้า-ส่งออกให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ส�ำหรับเมืองไทยนั้นในปัจจุบันมีทั้ง ธุรกิจค้าปลีก ห้างค้าปลีกสมัยใหม่ แม้แต่ ธุรกิจการขนส่ง เริม่ มีการน�ำเรือ่ งอะนาไลติกส์ มาใช้เพิม่ มากขึน้ แต่กย็ งั ไม่มากนักเมือ่ เทียบ กับต่างประเทศ และความร่วมมือกับ บริษัท ทิฟฟ่า อีดีไอ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด ในครั้งนี้ แซสมีความยินดีทที่ ฟิ ฟ่า อีดไี อ มีแนวคิดการ ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจด้วย SAS Visual Analytics ซึ่งเป็นเทรนด์ของเทคโนโลยีที่จะ ช่วยเปลีย่ นโลกของโลจิสติกส์ให้มกี ารพัฒนา ทีก่ า้ วหน้าเป็นการอ�ำนวยความสะดวกให้กบั องค์กรธุรกิจด้านการน�ำเข้า-ส่งออกเอกสาร ทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพ และ ตรวจสอบสถานภาพของสิ น ค้ า ได้ ส ะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น” คุณทวีศักดิ์ กล่าวสรุป

Vol.23 No.218 November-December 2016

Special Scoop

47



L A I C E P S

N O I T O M PRO

“ for a Limited Time Only “ 7

สมัครสมาชิกใหม ตออายุ 1 ป 12 ฉบับ ● รับที่รองแกวน้ำ Mr.Kaizen 1 อัน

90.-

สมัครสมาชิกใหม 1,550 .ตออายุ 2 ป 24 ฉบับ ● รับที่รองแกวน้ำ Mr.Kaizen 2 อัน + นิตยสารเพิ่ม 3 เดือน

ตั้งแตวันนี้ -30 - 30 พ.ย. 59 Application Form


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.