Technology Promotion and Innomag Magazine
Techno
logy
Leadership of all Industrial Enterprise Magazine
August - September Vol.42 No.242
www.tpaemagazine.com
INNOMag Gates to Inspiration of Innovation
ENERGY FROM WASTE Hot Issue:
“ขยะ” วิกฤตชาติ โรงไฟฟา คือ ทางออกจริงหรือ? เพิ่มมูลคาใหขยะ ดวย RDF Technology ขอควรรู กอนมีโรงไฟฟาพลังงานขยะ ระบบการจัดการพลังงานสำหรับรถไฟฟา ยานยนต ไรคนขับ ฝนที่ ใกลความจริง
ราคา 70 บาท
เคร�องมือวัดดานสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม และวิทยาศาสตรเพ�อคุณภาพชีวิต (Life Science)
เชื่อถือไดอับดับหนึ่ง
Vaisala เปนผูนำเครื่องมือวัดดานสิ่งแวดลอมและอุตสาหกรรมระดับโลก มีเครื่องมือวัดครอบคลุมทุกงานอุตสาหกรรม และสิ่งแวดลอม มีความแมนยำ ทนทานสูง เชื่อถือไดระยะยาว นานนับ 10 ป
เคร�องวัดความชื้น
เคร�องวัดความดัน
HM40 วัดความชื้นอากาศและ อุณหภูมิ แบบมือถือ จอแสดงผลเปนกราฟ
HM70 วัดความชื้นในอากาศและอุณหภูมิ สำหรับการสอบเทียบทรานสมิตเตอร ภาคสนาม
HMT120 วัดความชื้นและอุณหภูมิแบบ ทรานสมิตเตอร สำหรับงาน คลีนรูม, งาน HVAC
PTU300 วัดความดัน, ความชื้น และอุณหภูมิ แบบทรานสมิตเตอร สำหรับงานหนัก
HMT330 วัดความชื้นและอุณหภูมิแบบ ทรานสมิตเตอร สำหรับงาน อุตสาหกรรม
PTB330
HMW90
วัดความดันบรรยากาศ สำหรับงานระดับสูง เชน งานอุตุนิยมวิทยา, การบิน, หองแล็บ
เครื่องวัดความชื้นและอุณหภูมิแบบติดผนัง สำหรับงานควบคุมอากาศในอาคาร
เคร�องวัดคารบอนไดออกไซต
Data Logging
HMT140 GM70
DL2000
GMW90
ตรวจวัดคารบอนไดออกไซดตาม วัดกาซคารบอนไดออกไซด, อุณหภูมิ สถานที่ตางๆ เชน เรือนกระจก และฟารม และความชื้น แบบติดผนัง
เก็บบันทึกอุณหภูมิและความชื้น ไดพรอมกันหลายจุด เชื่อมตอดวย LAN
เครื่องวัดและบันทึก (Data Logging) อุณหภูมิและ ความชื้น เชื่อมตอดวย WiFi
เคร�องวัด Dew Point DM70 เครื่องวัด Dew Point แบบมือถือ ความแมนยำสูง บันทึกขอมูลไดในตัว
DMT340 เครื่องวัด Dew Point และ วัดอุณหภูมิ สำหรับอากาศแหงจัด
DMT152
DMT242
วัด Dew Point ต่ำไดถึง วัด Dew Point คาต่ำ -80 °C สำหรับติดตั้ง ในงานอุตสาหกรรมอบแหง ในเครื่องมือ OEM อื่นๆ สำหรับงาน OEM
สนใจติดตอ : คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ vaisala
เคร�องทดสอบเคร�องมือทางการแพทย
Biomedical Test Equipment
RIGEL เปนผูผลิตเคร�องมือสอบเทียบทางการแพทย ที่ ไดมาตรฐาน IEC 60601 & IEC 62353 ที่มีประสบการณยาวนาน 44 ป ไดรับรางวัล The Queen’s Award ในป 2012 รับประกันในคุณภาพและความเช�อมั่น Rigel Uni-Pulse Defibrillator Analyzer เคร�องสอบเทียบเคร�องกระตุกหัวใจ เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราหเครื่องกระตุกหัวใจ ซึ่งสามารถสอบเทียบไดทั้ง Mono-phasic, Bi-phasic, Standard and Pulsating waveform และ Automated external defibrillator (AED) สามารถพิมพผล Pass/Fail Label ไดทันทีผานเครื่องพิมพที่เชื่อมตอผาน Bluetooth
Rigel UNI-SIM : Vital Signs Simulator เคร�องวิเคราะหการทำงานเคร�องวัด สัญญาณชีพ 6 พารามิเตอร 1. 2. 3. 4.
คาออกซิเจนในเลือด (SPO2) คาสัญญาณแรงดันไฟฟาหัวใจ (ECG) คาความดันโลหิตในหลอดเลือด (IBP) คาความดันโลหิต (NIBP)
5. คาอุณหภูมิรางกาย (Temperature) 6. คาอัตราการหายใจ (Respiration)
Rigel Uni-Therm : High Current Electrosurgical Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องจี้ดวยไฟฟา
เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องตัดจี้ ดวยไฟฟา สามารถวัดคาพลังงานที่เครื่องตัดจี้ ที่ปลอยออกมา ทั้งในรูปแบบของ CUT, COAG และ CQM ตามมาตรฐาน IEC 60601-2-2 บันทึกขอมูล ในตัวเครื่องได
Rigel 288 : Electrical Safety Analyzer เคร�องทดสอบวิเคราะหความปลอดภัยทางไฟฟา เครื่องทดสอบความปลอดภัยทางไฟฟาประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับการทดสอบไดหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะ มาตรฐาน EN/IEC 62353, NFPA-99 และ EN/IEC 60601-1 ทดสอบ Ground bond โดยใช dual current high intensity
Rigel Multi-Flo : Infusion Pump Analyzer เคร�องวิเคราะหการทำงาน เคร�องใหสารละลายทางหลอดเลือด
เปนเครื่องมือใชสำหรับวิเคราะหเครื่องจายสารละลาย ทางหลอดเลือดทั้งที่เปนแบบ Infusion Pump และ Syringe Pumpเครื่องมือเหลานี้จะสามารถสอบเทียบ ไดทั้ง Flow/Volume Test และ Occlusion Test
IMT FlowAnalyzer Set V : Gas Flow Analyzer (PF300) เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�องชวยหายใจ
เปนเครื่องทดสอบเครื่องชวยหายใจแบบตั้งโตะ สามารถวิเคราะหแกสไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทย ไดดังนี้ 1. Ventilators CPAP/Bilevel 2. Ventilators ICU 3. Ventilators Infant 4. Ventilators High Frequency 5. Blood Pressure Analyzer 6. Oxygen Concentrators 7. Vacuum Pumps 8. Spirometers 9. Pipe Gases
IMT FlowAnalyzer Set VA : Anesthesia and Gas Flow Analzer (PF300 with OR-703)
เคร�องวิเคราะหการทำงานของเคร�อง เคร�องรมยาสลบและเคร�องชวยหายใจ เปนเครื่องวิเคราะหเครื่องรมยาสลบ ที่สามารถวิเคราะหแกสรมยาสลบ เชน CO2, N2O, Halothane, Enflurane, Isoflurane, Sevoflurane และ Desfluraneไดและยังวิเคราะห เครื่องชวยหายใจไดทั้ง อัตราการไหล แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณอ็อกซิเจน ที่มีความแมนยำสูง สามารถทดสอบเครื่องมือ ทางการแพทยไดดังนี้ 6. Blood Pressure Analyzer 1. Anesthesia Vaporizer 7. Oxygen Concentrators 2. Ventilators CPAP/Bilevel 8. Vacuum Pumps 3. Ventilators ICU 9. Spirometers 4. Ventilators Infant 10. Pipe Gases 5. Ventilators High Frequency
สนใจติดตอ: คุณเฉลิมพร 08-5489-3461, คุณมนัสนันท 08-7714-3630 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar
www.measuretronix.com/ rigel-biomedical
Group
Leaping Ahead from Yamatake’s 100 Years Human-centered Automation
Se
ve
Explosion Proof Limit Switch
ra
ly
ears
late r
For Harsh Environment Reliable Operation Ensuring Safety Reducing Mantenance Reducing Inventory
We can help you to change it for plant safety operation
1LX7001
VCX7001
Azbil (Thailand) Co., Ltd. Head office : 209/1 K Tower 19th-20th Fl., Sukhumvit 21 Road (Asoke), Klongtoey-Nua, Wattana, Bangkok 10110 Tel : (66) 0-2664-1900 Fax : (66) 0-2664-1912
Rayong Branch : 143/10 Mapya Road. T.Map Ta Phut, A.Muang, Rayong 21150 Tel : 0-3868-2453 Fax: 0-3868-2454
http://th.azbil.com
Amata Branch : Amata Service Center Bld. Unit No. 405, 4th Fl., 700/2 Moo 1 Amata Nakorn Industrial Estate, Bangna-Trad Km.57 Road, T.Klong Tumru, A.Muang, Chonburi 20000 Tel : 0-3845-7076-7 Fax : 0-3845-7078
&
August - September 2015, Vol.42 No.242
Activity Special Scoop
10
17 “ขยะ” วิกฤตชาติ
17
โรงไฟฟ้า คือ ทางออกจริงหรือ? โดย: กองบรรณาธิการ
Special Talk
23 เพิม่ มูลค่าให้ขยะ ด้วย RDF Technology โดย: กองบรรณาธิการ
26 ข้อควรรู้ ก่อนมีโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ โดย: กองบรรณาธิการ
Research
29 ซุปเปอร์เอนไซม์
โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
Inspiration
31 มิตใิ หม่ Colorful PV
ผลิตไฟฟ้าได้ สวยด้วย โดย: กองบรรณาธิการ
Management 33 กลยุทธ์ห่วงโซ่อุปทาน
33
ยุคเศรษฐกิจดิจิทัล โดย: โกศล ดีศีลธรรม
Electrical & Electronic
37 การทดสอบและทวนสอบการติดตั้ง
ระบบไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ เพือ่ ความปลอดภัย (ตอนที่ 3) แปลและเรียบเรียงโดย: สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
Production
39 เทคนิคประหยัดพลังงานและลดต้นทุน
การผลิตด้วยเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว (ตอนที่ 1) โดย: อ�ำนาจ แก้วสามัคคี
43 ความส�ำคัญของ Poka-Yake
ในกระบวนการผลิต (ตอนที่ 1)
โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ
37
39
Ads Sumipol for E-magazine Fullpage 8.5x11.5 inch.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
7/24/2558 BE
10:05
&
August - September 2015, Vol.42 No.242
Energy & Environmental 46 ระบบการจัดการพลังงาน
ส�ำหรับรถไฟฟ้า โดย: อารีย์ หวังศุภผล
Focus
50 พลังงานชีวมวล
ศักยภาพและโอกาสของไทย
โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
Worldwide
46
54 ยานยนต์ไร้คนขับ เรื่องจริง
ไม่ใช่หนังวิทยาศาสตร์อีกต่อไป
54
โดย: ดร. อดิสร เตือนตรานนท์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC) ที่ปรึกษา สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
Report
Visit
57 ทุม่ งบฯ เสริมฐานงานอนุรกั ษ์พลังงาน 65 เคมีภณ ั ฑ์เพือ่ ชีวติ และพลังงานทดแทน เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ
58 เคล็ด (ไม่) ลับ เทคโนโลยีสีเขียว สู่ความยั่งยืน เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ
Knowledge
60 มารู้จัก “Eco Sticker” กันเถอะ โดย: วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง
กลุม่ บริษทั ดาว เคมิคอล ประเทศไทย โดย: กองบรรณาธิการ
Show & Share 69 Books Guide 72 Buyer Guide 75 Travel
63 World Skill 2015 77 กราบหลวงปู่ ลอดโบสถ์เก่า โดย: บริษัท สุมิพล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด
เดินชม ชิม ช้อป @ วัดตะเคียน โดย: หมูดิน
65 57
Editor
Message from
&
August - September 2015, Vol.42 No.242
วาระแห่งชาติ ว่าด้วยเรื่อง “ขยะ”
“ขยะ”
เป็นปัญหาที่อยู่คู่สังคมไทยมาช้านาน โดยเฉพาะขยะชุมชน ที่ ขาดระบบในการจัดการที่ดีท�ำให้ส่งผลกระทบต่อชุมชน ไม่ว่าจะ เป็นน�้ำเสีย กลิ่นเหม็น รวมถึงเชื้อโรคที่มาพร้อมกับแมลงวัน และยุง การจัดการขยะด้วยวิธีดั้งเดิมที่นิยมใช้กันมาก คือ การฝังกลบ แต่ด้วย ปริมาณขยะทีม่ จี ำ� นวนมหาศาล และเพิม่ จ�ำนวนขึน้ ทุกวัน ท�ำให้หาพืน้ ทีฝ่ งั กลบได้ ยากมากขึ้น ทางเลือกทีน่ า่ จับตามอง คือ การเผาขยะ แต่จะเผาอย่างไรให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด และได้ประโยชน์จากการเผาขยะมากที่สุด “โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ” ดูเหมือนจะเป็นทางออกที่ดีที่สุดในเวลานี้ ทีผ่ า่ นมา ประเทศไทยใช่วา่ จะไม่เคยมีโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ เราเคยมีและ ยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน แต่จากประสบการณ์ที่ประชาชนได้รับ ท�ำให้เกิดความกังวล ว่า โรงไฟฟ้าอาจจะไม่ใช่ทางออกในการจัดการกับขยะ แต่จะเป็นการสร้างปัญหา รอบใหม่ให้กับสังคมไทยหรือไม่? ค�ำถามนี้เชื่อว่า ผู้มีอ�ำนาจในบ้านเมืองก็คง พยายามขบคิดเพื่อน�ำไปสู่วิธีที่ดีที่สุด ที่จะช่วยให้ประชาชนผ่อนคลายความกังวล ลงได้ อย่างไรก็ตาม การจัดการปัญหาขยะ คนในชาติควรจะต้องร่วมกันรับผิดชอบ นับตั้งแต่ต้นน�้ำยันปลายน�้ำ เพื่อให้เกิดวงจรการจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพและ ยั่ ง ยื น ส่ ว นแผนที่ รั ฐ วางโรดแมปไว้ ว ่ า จะมี โ รงไฟฟ้ า พลั ง งานขยะเกิ ด ขึ้ น ใน ประเทศไทย 53 แห่ง ก็เป็นอีกเรื่องที่ต้องติดตามกันต่อไปว่า จะเกิดได้หรือไม่ได้ อย่างไร และเราคนไทยจะมีทางออกร่วมกันในการจัดการปัญหาขยะที่ปลายทาง อย่างไร ส�ำหรับฉบับนี้ สวัสดีค่ะ ติดตามอ่านนิตยสาร Techno & InnoMag Online ได้ทุกต้นเดือนคู่ (กุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม ธันวาคม) ทาง www.tpaemagazine.com www.tpa.or.th/publisher www.issuu.com/tpaemagazine ติดตามความเคลื่อนไหวของนิตยสารในเครือ ส.ส.ท. ได้ที่ Facebook Fanpage “TPAeMagazine”
Published by:
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http://www.tpa.or.th
Advisors:
ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์
Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด
Editorial Assistant:
รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th
Art Director:
เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th
Production Design:
ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th
PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th
Advertising:
บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th
เป็นนิตยสารออนไลน์ราย 2 เดือน เผยแพร่ทุกต้นเดือนกุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม และธันวาคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน & ความรู้ทางวิชาการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และการจัดการภายในองค์การผลิตในสาขาต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนนักวิชาการในการเผยแพร่ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของประเทศ บทความและข้อความในนิตยสารออนไลน์นี้ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว และลิขสิทธิ์ของผู้เขียน จึงไม่มีส่วนผูกพันกับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) อีกทั้งข้อมูลต่าง ๆ อาจมีความผิดพลาด จึงควรตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนใช้อ้างอิง กรณีที่ผู้อ่านเห็นว่า บทความใดได้มีการลอกเลียน หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง หรือทำ�ให้เข้าใจผิดว่า เป็นผลงานของผู้เขียน กรุณาแจ้งให้สมาคมฯ ทราบ จักเป็นพระคุณยิ่ง
& เปิดศูนย์ OSS Activity
ม.ร.ว.ปรีดยิ าธร เทวกุล รองนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วย รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม และผู้บริหารบีโอไอ เปิดศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จด้านการลงทุน (OSS) ซึง่ เป็นส่วนขยายของศูนย์ประสานการ บริการด้านการลงทุน หรือ OSOS โดยศูนย์บริการเบ็ดเสร็จฯ จะช่วย เสริมสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการลงทุน และท� ำให้เกิดการลงทุน รวดเร็วขึน้ รวมถึงการให้บริการปรึกษา และแนะน�ำการลงทุนท�ำธุรกิจ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวน 10 พื้นที่
MOU สู่ความยั่งยืน
บริ ษั ท เฮงเค็ ล (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด และสถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ลงนามความร่วมมือให้ความรูเ้ รือ่ งความยัง่ ยืน ในโรงเรียนน�ำร่อง ภายใต้เครือข่ายโรงเรียนสะเต็มศึกษา โดยความร่วมมือในครั้งนี้ จะท�ำให้เกิดการบูรณาการหัวข้อเกี่ยวกับความยั่งยืนเข้ากับการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ในกลุ่มผู้เรียนในช่วงประถมศึกษาตอนต้น เพื่อให้นักเรียนสามารถสร้างความ เปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นต่อไปในอนาคตได้ นอกจากนี้ ทั้งสององค์กรยังได้ร่วมกันจัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมความยั่งยืนใน ครัวเรือนด้วยการจัดการแข่งขัน Thailand’s Most Sustainable Family ครอบครัว ไทย ใส่ใจความยัง่ ยืน เพือ่ กระตุน้ ให้สมาชิกในครอบครัวมีสว่ นร่วมในการก�ำหนดอนาคตของประเทศไทยในเรือ่ งความยัง่ ยืน โดยการ แข่งขันดังกล่าว จะจัดขึน้ บนเครือข่าย facebook เริม่ ตัง้ แต่บดั นี้ สิน้ สุดวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2558 ผูท้ สี่ นใจเข้าร่วมการแข่งขัน สามารถ เข้าไปชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.facebook.com/ThailandMostSustainableFamily/
คอนวูด
คว้ารางวัลสถานประกอบการดีเด่น 2 ปีซ้อน นายสุทธิพันธ์ วัชโรภาส ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท คอนวูด จ�ำกัด กลุ่มบริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จ�ำกัด (มหาชน) รับมอบรางวัล สถานประกอบการดีเด่นระดับประเทศ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานระดับประเทศ ประจ�ำปี 2558 จากงานสัปดาห์ ความปลอดภัยจากการท�ำงานแห่งชาติ ครั้งที่ 29 นับเป็นปีที่ 2 ติดต่อกันที่ คอนวูดได้รับรางวัลดังกล่าว >>>10
August-September 2015, Vol.42 No.242
&
Activity
เอ็นพีเอส ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ CSR-DIW
นายอภิชัย ซอปิติพร รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร์ ซัพพลาย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็นพีเอส (แถวนั่ง ที่สองจากซ้าย) ร่วมถ่ายภาพในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) โครงการ ส่งเสริมอุตสาหกรรมให้มกี ารพัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR-DIW) ซึ่งเอ็นพีเอสเข้าร่วมโครงการเป็นปีที่ 3 (CSR-DIW Continuous) โดยมี ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (แถวนั่ง ที่สี่จากซ้าย) เป็น ประธานในพิธี
ชาร์ป ร่วมปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำคืนสู่ทะเลไทย นายปรีชา ไชยศิวามงคล ผู้จัดการทั่วไป กลุ่มผลิตภัณฑ์ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ บริษัท ชาร์ป ไทย จ�ำกัด น�ำทีมพนักงาน ชาร์ปไทยกว่าร้อยคนร่วมกันจัดกิจกรรม SHARP LOVE.LIFE Living and Caring Day: ปฏิบัติการ ชาร์ป ช่วยโลก ปล่อยพันธุ์สัตว์น�้ำคืน สู่ทะเลไทย เพื่อร่วมรักษาสภาพแวดล้อมทางทะเลและคืนความ สมบูรณ์ให้แก่ทอ้ งทะเลไทย ซึง่ เป็นกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ เป็นประจ�ำทุกปี ณ กิจการท่องเทีย่ วหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน อ�ำเภอสัตหีบ จังหวัด ชลบุรี
“เชลล์”จัดกิจกรรมวันแห่งความปลอดภัยประจ�ำปี
บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จัดกิจกรรมวันแห่งความปลอดภัย ประจ�ำปี โดยมีพนักงาน ผู้รับเหมา และผู้บริหารสถานีบริการกว่า 500 คน เข้าร่วมในกิจกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรณรงค์การสร้างความ ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนให้กับชุมชน การรณรงค์สร้างความปลอดภัยในท้องถนนเป็นกิจกรรมที่เชลล์ ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งถือเป็นความท้าทายที่ส�ำคัญ เพราะทุก ๆ ปี จะมีคนเกือบ 1.3 ล้านคนทัว่ โลก เสียชีวติ บนท้องถนน และกว่า 50 ล้าน คน ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ นอกจากนี้เชลล์ยังบังคับใช้มาตรฐาน ความปลอดภัยบนท้องถนนเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกในสถานที่ท�ำงาน ด้วยการร่วมมือกับชุมชนและคู่ค้า เพื่อพัฒนามาตรฐาน ความปลอดภัยบนท้องถนนในประเทศที่ด�ำเนินกิจการอีกด้วย >>>12
August-September 2015, Vol.42 No.242
ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง
• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย TOO
SERVICE BENCH
TOOL MOBILE CABINET
โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม
ตู้ใส่ อปุ กรณ์ เครื่องมือเคลื่อนย้ ายสะดวก ท� ำ ด้ ว ยเหล็ก พ่น สี อี พ๊ อ กซี่ กัน สนิ ม ภายในมี ก ล่อ ง สามารถแบ่งแยกเก็บอุปกรณ์ มีกญ ุ แจล็อค พร้ อมมือ จับแข็งแรง ทนทาน เหมาะส�ำหรับใช้ งานในโรงงาน หรือ งานช่างทัว่ ไป ราคาประหยัด ผลิตในประเทศ บริ การ จัดส่ง พร้ อมบิการจากทีมงานที่มีปรสิทธิภาพ
• พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริ ง, หรื อแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่องไฟคูพ่ ร้ อมสายดิน ขนาด19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT
ST-150
ขนาด: 1500x600x1400mm.
ST-180
ขนาด: 1800x600x1400mm.
TOOL HANGING RACK CABINET ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวนเครื่ องมือช่าง, ตู้เก็บกล่อง อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ชิ น้ เล็ ก ที่ มี ห ลายขนาดเหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิดโครงสร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง ตู้-ชั น้ เก็บเครื่ องมือช่ างแบบเคลื่ อนที่ มีล้อส�ำหรั บ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท�ำงานในพื ้นที่มีหลาย ขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด
PTH 10565130 Part-tool hanging rack mix SIZE : 1050x650x1300 mm.
PRH 9030180
THC 9045145 ขนาด: 900x450x1450 mm. ท�ำด้ วย เหล็กแผ่นพ่นสีอีพ๊อกซี่ เจาะรูเพื่อแขวนอุปกรณ์มีหลาย ขนาดให้ เลือก
THC 903072
W/Stand wheel Tool hanging rack cabinet SIZE : 900x300x1800 mm. SIZE : 900x300x720 mm.
REF-753520 ตู้สูง Tool and part cabinet SIZE : 640x460x900 mm.
TS-6410 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 50 กก.
TS-858 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 39 กก.
ตู้เก็บอะไหล่ และเครื่ องมือต่ างๆ
จัดจ�ำหน่ ายโดย OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD. บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด
70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th
ศูนยรวมเคร�องมือวัดและทดสอบจาก Fluke Thermal Imager
Fluke Ti400, Ti300, Ti200 กลอง อิ น ฟาเรดถายภาพความรอนรุ นใหม พัฒนาที่ล้ำหนา
NEW
Fluke 1623-2 KIT, 1625-2 KIT เคร�องมือ ทดสอบสายดิน
3 รุนใหมลาสุดจาก Fluke กลองอินฟราเรดถายภาพ ความรอนทีม่ าพรอมระบบออโตโฟกัสใหม LaserSharpTM ใชแสงเลเซอรวัดระยะตรงไปยังวัตถุทต่ี องการวัดแสง ทำการปรับระยะโฟกัสทีร่ ะยะดังกลาวอยางแมนยำ จึงให ภาพความรอนที่คมชัดทุกรายละเอียดมองเห็นและ วิเคราะหปญหาไดชัดเจนกวา
Fluke Ti105 กลองถายภาพความรอน รุนทนทาน ใชงานงาย
NEW
ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา มีสมรรถนะตรงตามความตองการ ของผูใช สำหรับงานซอมบำรุงอุตสาหกรรมใชเซ็นเซอร VOx (Vanadium Oxide) ที่มีใชในเคร�องระดับสูง ระบบ IR-Fusion® ซอนภาพความรอนลงบนภาพแสงปกติ ชวยในการชี้จุดและทำความเขาใจปญหาไดงายดาย พรอมไฟฉายชวยสองสวางในที่แสงนอย
NEW
Fluke CNX 3000 Series ชุดเคร�องมือวัดไรสายที่ชวย ใหงานซอมบำรุงงายขึ้น
Fluke 1621-KIT เคร�องทดสอบและวัด ความตานทานกราวดดิน
ดวยการวัดคาทางไฟฟาและอุณหภูมิ ไดพรอมกันถึง 10 จุด
Fluke 37X Series แคลมปมิเตอรตระกูลใหม ที่ตอบสนองความตองการ ไดสูงสุด
ในพื้นที่คับแคบและมีมัดสายไฟที่ยากแกการวัดดวยแคลมปทั่วๆ ไป มีสายไฟ ขนาดโตมาก หรือมีรูปรางที่แคลมป มิเตอรทั่วไปไมสามารถคลองรอบได
ในการตรวจคนปญหาความรอนผิดปกติ กอนสราง
ความเสียหายรายแรงมีนวัตกรรมและฟงคชั่นที่ชวยให การตรวจสอบรังสีความรอนอินฟราเรดทำไเอยางรวด เร็วและมีประสิทธิภาพ ทั้งยังอำนวยความสะดวกในการ ทำเอกสารรายงานปญหาสำหรับติดตามงาน
Power Meter Fluke 434, 435 Series II เคร�องวิเคราะหการใชพลังงาน และแกไขคุณภาพไฟฟา 3 เฟส
โดยใชวิธีทดสอบแบบไมตองปกแทงโลหะ (Stakeless) ซึ่งเปน เทคนิ ค ที ่ ช วยหลี ก เลี ่ ย งอั น ตราย และลดการสู ญ เสี ย เวลา ในการตอสายกราวด หลายๆ เสน รวมถึงเวลาที่ ใชในการหา ตำแหนงปกแทงโหะ ทำใหคุณสามารถทดสอบกราวดไดในทุกที่ หรือในจุดที่ ไมสามารถเขาถึงดินไดโดยตรง
Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ อินฟราเรดเทอรโมมิเตอรรุนทนทรหด กันน้ำ กันฝุน ทนแรงกระแทก
ขนาดกระทัดรัด แมนยำสูง ใชงานงายเหมาะสำหรับงาน สมบุกสมบัน ใชประจำ ทั้งงานดานไฟฟา งานบริการ งาน HVAC งานกระบวนการผลิต
Fluke 1735 เคร�องวิเคราะห Fluke 566, 568 วัดไดทั้งแบบ และบันทึกคุณภาพไฟฟา 3 เฟส อินฟราเรดและแบบสัมผัส จอแสดงผลด็อตรแมตทริกซ ใชงานงาย ดวยปุ ม พรอมจอสี เหมาะอยางยิ่งสำหรับงานประหยัดพลังงานไฟฟาและการตรวจวิเคราะหศึกษา เกี่ยวกับโหลด สามารถเซ็ตอัพไดในเวลา อันสั้น มีโพรบวัดที่ยืดหยุน
Portable Oscilloscope
ซอฟตคีย 3 ปุม เขาถึงเมนูการวัดที่ซับซอนไดอยาง งายดาย ปรับคาอีมิสซีฟวิตี้ บันทึกขอมูลแบบดาตาล็อกกิ้ง เปดปดสัญญาณเตือน รูปทรงกระชับมือ แข็งแรง ทนทาน เหมาะกับงานอุตสาหกรรม งาน อิเล็กทรอนิกส และงานเคร�องกล
Installation Tester
Fluke 1555/1550C เคร�องทดสอบความตานทานฉนวน ที่มีแรงดันทดสอบสูงถึง 10 kV
Fluke 190-502 ออสซิลโลสโคปพกพา ขนาด 500 MHz 2 แชนเนล
แบนดวิ ด ธสู ง ถึ ง 500 MHz ขนาด 2 แชนเนล ทนนทานสูง กันฝุนและกันน้ำระดับ IP 51 มาตรฐาน ความปลอดภัยสูง CAT III 1000 V/CAT IV 600 V เหมาะสำหรับงานซอมบำรุงทางดานอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรม ในสภาพแวดลอมที่รุนแรง สมบุกสมบัน
Fluke 190 Series II ออสซิลโลสโคปแบบพกพาสมรรถนะ สูง สำหรับสภาพแวดลอม สมบุกสมบันโดยเฉพาะ
Fluke 320 Series แคลมปมิเตอรแบบ True-rms
Fluke 1630 แคลมปมิเตอรสำหรับวัดกราวด หลูปของดิน
Infrared Thermometer
วิเคราะหปญหาคุณภาพไฟฟาไดละเอียด ยิ่งขึ้น พรอมฟงคชั่นวิเคราะหการใชพลังงาน สามารถแจกแจงการสูญเสียจาก สาเหตุตางๆ และคำนวณตนทุนที่สูญเปลา
NEW
Clamp Meter
สำหรับงานตรวจซอมและแกไขปญหา ระบบกราวดของไฟฟา สามารถวัด ความตานทาน ดินไดโดยไมตองตัด วงจรเพิ ่ ม ความสะดวก และความ ปลอดภัยในการทำงาน
สำหรับงานตรวจวัดคาความตานทานดิน และทดสอบ ความเช�อถือไดของขั้วตอกราวดดิน มีความสามารถ ในการทดสอบ
Fluke Ti125, Ti110 สำหรับงาน อุตสาหกรรม เล็ก เบา ทน ใชงานงาย สะดวกสุดๆ
NEW
Earth Ground Testers
มียานแรงดันทดสอบครบครอบคลุมครบถวนตามขอกำหนดในมาตรฐาน IEEE 43-2000 ดีที่สุดในเคร�องมือ ระดับเดียวกัน พรอมความปลอดภัย CAT IV 600 V
บันทึกผลการวัด และเช�อมตอกับ PC ได
Fluke 1507, 1503 เคร�องทดสอบความเปนฉนวน
มีขนาดกะทัดรัด เช�อถือไดสูงและใชงานงาย มีแรงดัน ทดสอบหลายระดับเหมาะกับงานตรวจซอมแกไขปญหา การตรวจสอบ ความปลอดภัยและงานบำรุงรักษาเชิง เปนออสซิลโลสโคปพกพาขนาด 2 และ 4 แชนเนล ปองกัน มีฟงกชัน เสริมเพ�อใหงานทดสอบตางๆ ทำได ตัวแรกที่มีพิกัดความปลอดภัย CAT III 1000 V รวดเร็ว และประหยัด คาใชจายใหสมรรถนะที่ยอดเยี่ยม /CAT IV 600 V สู ง ที ่ ส ุ ด ที ่ ม ี อ ิ น พุ ต แยก ขาดจากกันทางไฟฟา มีพิกัดความปลอดภัยเพ�องานอุตสาหกรรม เปนสโคปที่ ไมมีใครเทียบ รวมความแข็งแรงทนทานและสะดวกพกพา เขากับสมรรถนะขัน้ สูงของสโคปตัง้ โตะ เหมาะสำหรับงานตรวจซอมตั้งแตระดับไมโครอิเล็กทรอนิกสขึ้นไปจนถึงงาน เพาเวอรอิเล็กทรอนิกส
สำหรับงานหนักในสภาพแวดลอมสมบุกสมบัน ทนทานตอสัญญาณรบกวน เหมาะอยางยิ่ง สำหรับชางเทคนิคในงานตรวจซอมไฟฟาทุก ประเภท
Vibration Meter NEW
Fluke 805 เคร�องวัดความสั่นสะเทือน ขนาดเล็ก
สำหรับงานตรวจสอบคัดกรองความผิดปกติของแบริ่ง สภาพ มอเตอรและเคร�องจักรหมุนตางๆ อยางรวดเร็ว เหมาะสำหรับ ชางเทคนิคทีอ่ ยูหนางานทีต่ องการเคร�อง- มือทีเ่ ช�อถือได วัดซ้ำได เพ�อการตัดสินใจวาเคร�องจักรหมุน ยังสามารถทำงานตอไปได หรือจำเปนตองซอมบำรุงแลว
Fluke 810เคร�องทดสอบ ความสั่นสะเทือนที่ ใหคำตอบ เพ�อแกปญหาไดทันที
ชวยควบคุมการหยุดขบวนการผลิตโดย ไมตัง้ ใจ ปองกันการเกิดปญหาซ้ำ จัดลำดับ ความสำคัญงานซอม และจัดการทรัพยากร ดวยแนวทางใหม โดยวิธีทดสอบความ สั่นสะเทือน
Thermometer Fluke 51, 52, 53, 54 Series II ดิจิตอลเทอรโมมิเตอรแบบสัมผัส ขนาดมือถือ
ใหผลตอบสนองในการวัดที่รวดเร็ว โดยมีความ ถู ก ตองแมนยำระดั บ หองทดลองที ่ ส ามารถ พกไปใชงานไดทุกที่ และมีความแข็งแรงทนทาน ตอสภาพแวดลอมตางๆ
Fluke 971 เคร�องวัดอุณหภูมิและความชื้น ภายในเคร�องเดียวกัน
สำหรั บ งานควบคุ ม คุ ณ ภาพอากาศในอาคารโดยเฉพาะ เพ�อการตรวจแกไขปญหา งานบำรุงรักษาคุณภาพอากาศ และงานตรวจรับรองเพ�อใหไดคุณภาพอากาศตามมาตรฐาน ที่ถูกตองในงาน HVACมีขนาดกะทัดรัด เหมาะมือ แข็งแรง ทนทาน ออกแบบมาสำหรับงานภาคสนาม จอแสดงผลสวาง ชัดเจน แสดงผล 2 บรรทัด พรอมกันทั้งอุณหภูมิและความชื้น ไมตองใชชารตในการคำนวณคาอีกตอไป สามารถคำนวณ อุณหภูมิแบบ wet bulb และ dew point ใหไดทันที
Digital Multimeter Fluke 287, 289 ดิจิตอล มัลติมิเตอรพรอมดาตาล็อกเกอร
เปนดิ จ ิ ต อลมั ล ติ ม ิ เ ตอรแบบ True-rms ความสามารถระดั บ สู ง สำหรั บ ทุ ก ความ ตองการในงานมืออาชีพโดยเฉพาะ รุน 287 สำหรับงานอิเล็กทรอนิกสรุน 289 สำหรับ งานอุตสาหกรรม
Fluke 175, 177, 179 ดิจิตอลมัลติมิเตอรความทนทานสูง Best Seller
นอกจากคุณสมบัตพิ น้ื ฐานเชนวัด V, A ทัง้ AC และ DC และความตานทานแลว ฟลุค 170 ซีรสี ยังมีฟงกชัน่ พิเศษ เพิ่มเติมอำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการทำงาน ของทาน
Fluke 117 ดิจิตอลมัลติมิเตอร สำหรับชางเทคนิคงานบริการดานไฟฟา
True-rms ขนาดกะทัดรัด สำหรับงานซอมไฟฟาทั่วๆไป มีฟงคชัน่ ตรวจวัดแรงดันไฟฟาโดยไมตองสัมผัส ชวยให ทำงานไดสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย
มีสินคาอีกมายมากหลายรุน สามารถติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่ :
บริษัท อุลตรา เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด 2/7 Soi Mooban Settakit 6, Bangka nua, Bangkae, Bangkok 10160 Tel : 0-2444-0844 FAX: 0-2444-1019 e-mail : Sales@ultraengineering.co.th
ªøÍàæČàÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´’›◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ČÆ∑≤Úfi´ Non-Contact Temperature
Gas Detection
Raytek MI3 Non-Contact Temperature àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ ¢Úfl´àÅç∑ ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi’‚§¶Ö§ 1800 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ ◊ÑÇÇÑ´ČÚÃÇfl÷ø¦ŸÚ’‚§¶Ö§ 180 Ÿ§ÿflà∫Åà∫¿‘’ øflÃfl¶‚∑ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚªøÍàæČ ˆÅfićŸfl◊flø ˆÅfić¢Ú÷, ćøǨ’Ÿ≥≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, 悦Ÿ≥, àćflŸfiÚ´Ñê∑≤ÑèÚ, ˆÅfićá∑¦Ç ∑øͨ∑, Gear Box áÅͧflÚªøÍàæČ◊ÅžŸ◊ÅŸ÷âÅ◊Í
NEW
NEW
àÃøÒ蟧ÇÑ´á∑ç’á≥≥˜∑˜fl’›◊øÑ≥˜ÒéÚČ¿èŸÑ≥Ÿfl∑flÿáÅ͘ÒéÚČ¿èŸÑÚćøfl‘ ÷¿ČÑé§á≥≥ Single Gas , Multi Gas (4 Gas) , Multi Gas (6 Gas) Čífl§flÚ§žfl‘´¦Ç‘à˜¿‘§ªÆŁ÷à´¿‘Ç Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl, ČÚČflÚ Audible Alarm Automatic pump àćÒŸÚ´¦Ç‘à’¿‘§ áÅÍ∑flø’ÑèÚà∫Úà∫ŸøÝ IP65/67 Č´’Ÿ≥∑ÑÚ∑øÍáČ∑’‚§¶Ö§ 6 ∂Æć
ÿ‚Ú‘ÝøÇ÷àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´áÅÍČ´’Ÿ≥¨fl∑ Fluke Ti105 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚøÆžÚČÚČflÚ ã≤¦§flÚ§žfl‘ ¢Úfl´àÅç∑ Úéífl◊ÚÑ∑à≥fl ÷¿’÷øø¶ÚÍćø§ ćfl÷ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑flø¢Ÿ§ ˆ‚¦ã≤¦ ’ífl◊øÑ≥§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧŸÆć’fl◊∑øø÷
Fluke CNX 3000 Series ≤Æ´àÃøÒ蟧÷ÒŸÇÑ´äø¦’fl‘Č¿è≤žÇ‘ã◊¦§flÚ∫žŸ÷≥ífløƧ§žfl‘ ¢ÖéÚ´¦Ç‘∑fløÇѴÞflČfl§ä∂∂łfláÅÍŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦˜ø¦Ÿ÷∑ÑÚ ¶Ö§ 10 ¨Æ´
Fluke 434, 435 Series II àÃøÒ蟧ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ áÅÍá∑¦ä¢ÃÆÙæfl˜ä∂∂łfl 3 à∂’ ÇfiàÃøflÍ◊ݪ½ş◊flÃÆÙæfl˜ä∂∂łflä´¦ ÅÍàŸ¿‘´‘fi觢ÖéÚ ˜ø¦Ÿ÷∂½§ÃÝ≤ÑèÚ ÇfiàÃøflÍ◊Ý∑fløã≤¦˜Åѧ§flÚ ’fl÷flø¶ á¨∑ᨧ∑flø’‚şà’¿‘¨fl∑’flà◊ćÆćžfl§¥ áÅÍÃíflÚÇÙć¦ÚČÆÚČ¿è’‚şàªÅžfl Fluke 1555/1550C àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷ć¦flÚČflÚ©ÚÇÚ Č¿è÷¿áø§´ÑÚČ´’Ÿ≥’‚§¶Ö§ 10 kV ÷¿‘žflÚáø§´ÑÚČ´’Ÿ≥Ãø≥ÃøŸ≥ÃÅÆ÷ Ãø≥¶¦ÇÚćfl÷¢¦Ÿ∑ífl◊Ú´ãÚ÷flćø°flÚ IEEE 43-2000 ´¿Č¿è’Æ´ãÚàÃøÒ蟧÷ÒŸ øÍ´Ñ≥à´¿‘Ç∑ÑÚ, ˜ø¦Ÿ÷ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT IV 600 V ≥ÑÚČÖ∑ˆÅ ∑fløÇÑ´ áÅÍà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ PC ä´¦
Honeywell H_EC-F2 àÃøÒ蟧ćøǨÇÑ´∑fløøÑèÇä◊Å¢Ÿ§ áŸ÷â÷àÚ¿‘ áÅÍ ’fløČíflÃÇfl÷ à‘çÚ˜ø¦Ÿ÷’ž§’ÑşşflÙàćÒŸÚ à˜ÒèŸÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ÇѴÞflä´¦ 100 ppm ◊øÒŸ÷fl∑∑Çžflà∫Úà∫ŸøÝ÷¿Ÿfl‘Æ ∑fløã≤¦§flÚ‘flÇ 3 - 4 ª¸
Honeywell XCD àÃøÒ蟧ćøǨ¨Ñ≥á∑ç’ćfi´ä∂ŸçŸ∑∫fià¨Ú áÅÍá∑ç’˜fiÉá≥≥ćfi´ćÑé§ ã≤¦’ífl◊øÑ≥øÍ≥≥ ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ãÚâø§§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷, âø§§flÚà∑¿è‘Ç∑Ñ≥ª˚âćøàÃ÷¿,◊¦Ÿ§à‘çÚ, øÍ≥≥≥ífl≥Ñ´Úéíflà’¿‘, â∑´Ñ§à∑ç≥’fløàÃ÷¿, âø§§flÚˆÅfić’fløàÃ÷¿, ◊¦Ÿ§ćfi´ćÑé§ àÃøÒ蟧‘Úć݈Åfić˜Åѧ§flÚ
Raytek Pi20 Thermal Imaging Camera ∑fløªøÑ≥ªøƧã◊÷žČfl§àČÃâÚâÅ‘¿ÃøÑé§ã◊şžČ¿èČíflã◊¦∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ Raytek ∑¦flÇÅéífl∑Çžfl‘¿é◊¦ŸŸÒèÚŸ‘žfl§à◊ÚÒŸ≤ÑéÚ ≤žÇ‘ã◊¦∑flø¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ’Í´Ç∑§žfl‘´fl‘ áÅÍ’fl÷flø¶ÇfiàÃøflÍ◊Ý¢¦Ÿ÷‚Åä´¦ČÑÚČ¿ãÚćÑÇàŸ§ ∑ŦŸ§¶žfl‘ æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ ÷¿ÃÇfl÷â´´à´žÚ´¦flÚ ÃÇfl÷ČÚČflÚ, ã≤¦§flÚ§žfl‘, ’÷øø¶ÚÍ’‚§ 䴦ાÚ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’÷øø¶ÚÍ’‚§ãÚČÆ∑øÍ´Ñ≥ Raytek EMS (EQUIPMENT MONITORING SYSTEM) øÍ≥≥àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’’ífl◊øÑ≥ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi≥Ñ’≥fløÝ ãÚ悦 MDB, circuit breakers, Gear Box, øÍ≥≥ÃÇ≥ÃÆ÷àćflŸ≥ćžŸ˜žÇ§◊ÑÇÇÑ´ä´¦ - ’‚§¶Ö§ 32 ◊ÑÇÇÑ´ - ÷¿’ÑşşflÙà’¿‘§àćÒŸÚ - ÷¿ software Data Temp Multidrop - øflÃfl¶‚∑ - ćfi´ćÑ駧žfl‘
Honeywell IAQPoint2 Touch screen indoor air quality Monitoring Číflä÷¶Ö§ć¦Ÿ§ã≤¦ IAQ Point2 ćøǨ’Ÿ≥ÞflÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸflÃflø ∑fløà∑fi´Ÿflø÷ÖÚ§§ãÚ¢ÙÍČ¿èČžflÚČífl§flÚ ¨ÍČíflã◊¦Å´ªøÍ’fiČÊfiæfl˜ãÚ∑fløČífl§flÚ ’flà◊ćÆ◊ÅÑ∑ÚÑéÚà∑fi´¨fl∑ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´ŸçŸ∑ä∫´Ý ãÚŸfl∑flÿ÷fl∑à∑fiÚäª ∑fløá∑¦ª½ş◊fl’žÇÚã◊şžˆ‚¦´‚áÅŸflÃflø¨ÍàÅÒŸ∑ã≤¦øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿá≥≥ćžŸàÚÒ蟧∫Ö觨Íà∑fi´Ãžflã≤¦¨žfl‘¨íflÚÇÚ÷fl∑ áćž’ífl◊øÑ≥ IAQ point2 ÚÑéÚ’fl÷flø¶≤žÇ‘ČžflÚªøÍ◊‘ѴÞflã≤¦¨žfl‘ä´¦Ÿ‘žfl§´¿ â´‘∑fløÇÑ´áŦǒfl÷flø¶Čífl§flÚøžÇ÷∑Ñ≥ øÍ≥≥øÍ≥fl‘Ÿfl∑flÿà÷ÒèŸ÷¿ªøfi÷flÙÃfløÝ≥ŸÚä´Ÿç-Ÿ∑ä∫´Ý÷fl∑à∑fiÚÞflČ¿è∑ífl◊Ú´
ã◊÷žá∑Í∑ÅžŸ§ Fluke 805 àÃøÒèŸ§Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ Č¿èã◊¦ÃíflćŸ≥ à˜ÒèŸá∑¦ª½ş◊flä´¦ČÑÚČ¿≤žÇ‘ÃÇ≥ÃÆ÷∑flø◊‘Æ´ ¢≥ÇÚ∑fløˆÅfićâ´‘ä÷žćÑé§ã¨, ªłŸ§∑ÑÚ∑fløà∑fi´ ª½ş◊fl∫éífl, ¨Ñ´Åífl´Ñ≥ÃÇfl÷’íflÃÑş§flÚ∫žŸ÷ áÅͨѴ∑flČøј‘fl∑ø´¦Ç‘áÚÇČfl§ã◊÷ž â´‘ÇfiÊ¿Č´’Ÿ≥ÃÇfl÷’ÑèÚ’ÍàČÒŸÚ
Fluke 1630 áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝ’ífl◊øÑ≥ÇÑ´∑øflÇ´Ý◊Å‚ª¢Ÿ§´fiÚ â´‘ã≤¦ÇfiÊ¿ Č´’Ÿ≥á≥≥ä÷žć¦Ÿ§ª½∑áČž§âÅ◊Í (Stakeless) ∫Öè§àª¾Ú àČÃÚfiÃČ¿è≤žÇ‘◊Å¿∑àſ葧ŸÑÚćøfl‘ áÅÍÅ´∑flø’‚şà’¿‘àÇÅfl ãÚ∑fløćžŸ’fl‘∑øflÇ´Ý ◊Åfl‘¥à’¦Ú øÇ÷¶Ö§àÇÅflČ¿èã≤¦ãÚ∑flø ◊flćíflá◊Úž§ª½∑áČž§â◊Í Číflã◊¦ÃÆÙ’fl÷flø¶Č´’Ÿ≥∑øflÇ´Ý ä´¦ãÚČÆ∑Č¿è ◊øÒŸãÚ¨Æ´Č¿èä÷ž’fl÷flø¶à¢¦fl¶Ö§´fiÚ䴦ⴑćø§
Fluke 62 Max, Fluke 62 Max+ ŸfiÚ∂øflàø´àČŸøÝ â÷÷fiàćŸøÝøÆžÚČÚČø◊´ ∑ÑÚÚéífl ∑ÑÚıÆŁÚ ČÚáø§∑øÍáČ∑ ¢Úfl´ ∑øÍČÑ´øÑ´ á÷žÚ‘ífl’‚§ ã≤¦§flÚ§žfl‘ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚãÚ’æfl˜áǴŦŸ÷ ČfløÆÙ ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ã≤¦ªøͨífl ČÑ駧flÚ ´¦flÚä∂∂łfl, §flÚ≥øfi∑flø, §flÚ HVAC, §flÚ∑øÍ≥ÇÚ∑fløˆÅfić
Fluke Ti32, Ti29, Ti27 ∑ŦŸ§¶žfl‘æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚ’ífl◊øÑ≥§flÚ ŸÆć’fl◊∑øø÷ã◊¦æfl˜ÃÇfl÷ø¦ŸÚÃÆÙæfl˜’‚§ ã≤¦§flÚ´¦Ç‘÷ÒŸà´¿‘ÇŸfiÚàćŸøÝà∂’ã≤¦§žfl‘ ˆžflÚ∑fløČ´’Ÿ≥’Æ´â◊´ Fluke IR-Fusion? Č¿èà◊ÚÒŸ∑ÇžflàªÅ¿è‘ÚàÅÚ’Ý ä´¦
Fluke 37X Series áÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝćøÍ∑‚Åã◊÷žČ¿èćŸ≥’ÚŸ§ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløä´¦’‚§’Æ´ ãÚ˜ÒéÚČ¿èÃÑ≥áÃ≥ áÅÍ÷¿÷Ñ´’fl‘ä∂Č¿è‘fl∑á∑ž∑fløÇÑ´´¦Ç‘ áÃŦ÷ªŽČÑèÇ¥äª ÷¿’fl‘ä∂¢Úfl´âć÷fl∑ ◊øÒŸ÷¿ø‚ªøžfl§Č¿èáÃÅ÷ªŽ÷fiàćŸøÝČÑèÇäª ä÷ž’fl÷flø¶ÃŦŸ§øŸ≥ä´¦
Fluke 287, 289 ´fi¨fićŸÅ÷ÑÅćfi÷fiàćŸøݘø¦Ÿ÷´flć¦fl ÅçŸ∑à∑ŸøÝ á≥≥ True-rms ÃÇfl÷ ’fl÷flø¶øÍ´Ñ≥’‚§ ’ífl◊øÑ≥ČÆ∑ ÃÇfl÷ć¦Ÿ§∑fløŸ‘žfl§÷ÒŸŸfl≤¿˜ øÆžÚ 287 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý øÆžÚ 289 ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷
Coating Thickness Gages
Fluke 190 Series II ŸŸ’∫fiÅâÅ’âêá≥≥˜∑˜fl’÷øø¶ÚÍ’‚§àª¾Ú ŸŸ’∫fiÅâÅ’âê˜∑˜fl¢Úfl´ 2 áÅÍ 4 á≤ÚàÚÅ ćÑÇáø∑Č¿è÷¿˜fi∑Ñ´ÃÇfl÷ªÅŸ´æÑ‘ CAT III 1000V/ CAT IV 600 V ’‚§’Æ´ Č¿è÷¿ŸfiÚ˜Æćá‘∑¢fl´¨fl∑∑ÑÚ Čfl§ä∂∂łflાڒâÃªČ¿èøÇ÷ÃÇfl÷á¢ç§áø§ČÚČflÚ áÅÍ’Í´Ç∑˜∑˜flࢦfl∑Ñ≥’÷øø¶ÚÍ¢ÑéÚ’‚§¢Ÿ§ ’âêćÑé§âćÐÍ à◊÷flÍ’ífl◊øÑ≥§flÚćøǨ∫žŸ÷ćÑé§áćžøÍ´Ñ≥ä÷âÃø ŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý¢ÖéÚ䪨ڶ֧§flÚà˜flàÇŸøÝŸfiàÅç∑ČøŸÚfi∑’Ý
Ultrasonics Thickness Gages PosiTest DFT,6000 Series,200 Series àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥øÍ´Ñ≥’‚§â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇ áÅÍ ÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§ˆfiÇàÃÅÒŸ≥Č¿èàÃÅÒŸ≥≥Ú≤fiéÚ§flÚ≤fiéÚ§flÚä´¦ČÑé§Č¿èાÚâÅ◊ÍáÅÍŸÍâÅ◊ÍøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘ ≤Úfi´à˜ÒèŸÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflˆfiÇàÃÅÒŸ≥ãÚáćžÅÍá≥≥ ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦ã≤¦ §flÚ§žfl‘’Í´Ç∑ćžŸ∑flø˜∑˜fløÇ÷¶Ö§∫Ÿ∂ČÝáÇøČ¿è’fl÷flø¶´‚Þfl∑fløÇÑ´á≥≥ćžfl§¥
MX Series, PX, PVX àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl≤fiéÚ§flÚøÍ´Ñ≥’‚§ â´‘ä÷žČíflÅfl‘˜ÒéÚˆfiÇ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚ’ífl◊øÑ≥§flÚŸÆć’fl◊∑øø÷ Č¿èć¦Ÿ§∑fløÃÇfl÷’Í´Ç∑øÇ´àøçÇáÅÍÃÇfl÷Úžflà≤Ò蟶ҟ䴦¢Ÿ§Ãžfl∑fløÇÑ´ ∫Ö角fl÷flø¶ã≤¦ÇÑ´ÃÇfl÷◊Úfl ¢Ÿ§≤fiéÚ§flÚä´¦◊Åfl∑◊Åfl‘ªøÍàæČ ’‚§’Æ´¶Ö§ 32 ≤Úfi´≤fiéÚ§flÚ (âÅ◊Íćžfl§¥øÇ÷¶Ö§˜Åfl’ćfi∑) ćÑÇàÃøÒ蟧ŸŸ∑á≥≥ã◊¦àª¾ÚŸÍÅ‚÷fiàÚ¿‘÷á¢ç§áø§ČÚČflÚાژfiàÿÉøÇ÷¶Ö§â˜ø≥◊Åfl∑◊Åfl‘≤Úfi´à˜ÒèŸ ÃÇfl÷à◊÷flÍ’÷ ¢Ÿ§§flÚÇÑ´ÃÇfl÷◊ÚflãÚáćžÅÍá≥≥ ∫Öè§ćÑÇàÃøÒ蟧ˆÅfićãÚªøÍàČÿŸà÷øfi∑fl
Laser Distance Meter
Temperature Datalogger
àÃøÒ蟧ÇÑ´øÍ‘ÍČfl§´¦Ç‘á’§àÅà∫ŸøÝ ÇÑ´ä´¦ä∑Ŷ֧ 200 à÷ćø ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿ’Çfićà∫ŸøÝáÅÚ´Ý àÃøÒ蟧÷ÒŸÚ¿é÷¿ªøÍâ‘≤ÚÝ÷fl∑’ífl◊øÑ≥§flÚÇÑ´˜ÒéÚČ¿è øÍ‘ÍČfl§ ∑flø◊flÃÇfl÷◊ÚflÇÑć¶Æ ∑fløªøÍ÷flÙ ÃÇfl÷’‚§∑Ǧfl§¢Ÿ§ÇÑć¶Æ ∑flø◊flªøfi÷flćø ∑Ǧfl§ x ‘flÇ x ’‚§ ∑flø◊fløÍ‘ÍáÚÇøfl≥¢¦fl÷ ’fiè§∑¿´¢Çfl§ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷´¦flÚä÷žàČžfl ∑fløã≤¦§flÚã≤¦ä´¦ČÑé§flÚæfl‘ãÚáÅÍæfl‘ÚŸ∑ ∑fløÃíflÚÇÙ˜ÒéÚČ¿è’¿èà◊Å¿è‘÷Ãfl§◊÷‚áÅÍ÷Æ÷Åfl´àŸ¿‘§ ∑fløà≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ ’fl÷flø¶ ∑ÑÚÚéífl∑ÑÚıÆŁÚä´¦ à◊÷flÍ∑Ñ≥§flÚ’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ÷¿øŸ§∑ÑÚ∑øÍáČ∑ãÚćÑÇàÃøÒ蟧 ć∑◊ÅžÚãÚøÍ‘Í ÃÇfl÷’‚§ 2 à÷ćøä´¦
SK-L200TH-II àÃøÒ蟧≥ÑÚČÖ∑ŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚãÚŸfl∑flÿ ˆÅfićæÑÙØÝÃÆÙæfl˜à‘¿è‘÷ ¨fl∑ªøÍàČÿàČÿş¿èªÆŁÚ ∫Öè§÷¿ÃÇfl÷á÷žÚ‘ífl’‚§ ’fl÷flø¶ŸžflÚÞflŸÆÙ◊æ‚÷fiáÅÍÃÇfl÷≤ÒéÚ¢ÙÍ≥ÑÚČÖ∑ ’fl÷flø¶ªøÑ≥ àČ¿‘≥ä´¦à÷ÒèŸÃžflä÷ž¶‚∑ć¦Ÿ§ćfl÷’ા∑ ˜ø¦Ÿ÷∫ŸøÝ∂áÇøÝ ãÚ∑fløà∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Å ∑fløŸžflÚÞflČíflä´¦ČÑé§≥ÑÚČÖ∑ ÞflČfié§äǦ áÅÍ≥ÑÚČÖ∑Þflá≥≥ RealTime≥Úß÷˜fiÇàćŸøÝ ’fl÷flø¶Úífl¢¦Ÿ÷‚ÅČ¿è≥ÑÚČÖ∑áªÅ§àª¾Úä∂ÅÝ Excel ä´¦ ’fl÷flø¶ćÑé§Ãžfl∑fløàćÒŸÚä´¦ČÑé§ Ãžfl’‚§áÅÍÞflćèífl ÷¿ã◊¦àÅÒŸ∑ä´¦ČÑé§à∫Úà∫ŸøÝá≥≥’ÑéÚ áÅÍá≥≥à∫Úà∫ŸøÝ÷¿’fl‘
Instruments Environmental systems HDV640: HD Video Scope with Handset ä´¦øÑ≥∑fløŸŸ∑á≥≥∑fløã≤¦§flÚãÚČfl§ªĆfi≥Ñćfi§flÚ Č¿è’÷≥Æ∑’÷≥ÑÚ ćfl÷’æfl˜áǴŦŸ÷ ä÷žÇžfl¨Íàª¾Ú Č¿è¢øÆ¢øÍ ãÚ’žÇÚČ¿è÷Ò´ àÃøÒ蟧ڿé∑ÑÚÚéíflä´¦ ã◊¦æfl˜ áÅÍÇ¿´¿âŸČ¿èÃ÷≤ÑÚŸÑÚâ´´à´žÚ à˜fiè÷ÃÇfl÷‘flÇ¢Ÿ§ ’fl‘ÇÑ´ä´¦÷fl∑’Æ´¶Ö§ 50 à÷ćø
NEW
SDL300Airflow Meters àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇÅ÷ ã≥˜Ñ´Čífl¨fl∑âÅ◊ÍČ¿è÷¿á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ ČÚŸÆÙ◊æ‚÷fiä´¦¶Ö§ 70 C ાÚá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸÃŸ÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´
HD450: Datalogging Heavy Duty Light Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´ÃÇfl÷ࢦ÷¢Ÿ§á’§’Çžfl§ ÷¿à∫çÚà∫ŸøÝÃÆÙæfl˜´¿ äÇćžŸ∑fløŸžflÚÇѴÞfl á¢ç§áø§ ČÚČflÚ àª¾ÚDatalogger à∑ç≥¢¦Ÿ§÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿software ÷flãÚ≤Æ´
HD600: Datalogging Sound Level Meter àÃøÒ蟧ÇÑ´à’¿‘§ ’fl÷flø¶ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 130dB á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§àª¾Úá≥≥≥ÑÚ÷ČÖ∑Þflä´¦ ãÚćÑÇàÃøÒ蟧à∑ç≥ ¢¦Ÿ÷‚Åŧ SD Card à≤ÒèŸ÷ćžŸ∑Ñ≥ß÷˜fiÇàćŸøÝ ä´¦ àª¾Ú Excel Format ÷¿ software ÷flãÚ≤Æ´
39240: Waterproof Stem Thermometer àÃøÒ蟧ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fiá≥≥à¢ç÷ ÇÑ´ä´¦¶Ö§ 200 C á¢ç§áø§ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑ RPM10: Combination Laser Tacho+ IR Thermometer ÇÑ´ÃÇfl÷àøçÇøŸ≥áÅÍ≥Ÿ∑ÇÑ´ŸÆÙ◊æ‚÷fi á≥≥ä÷ž’Ñ÷ˆÑ’ãÚàÃøÒ蟧ി‘Ç á¢ç§áø§ ČÚČflÚ’‚§ øflÃfl¶‚∑ ˆ∑˜fl’Í´Ç∑
ÁÕÊÔ¹¤ŒÒÍÕ¡ÁÒÂÁÒ¡ËÅÒÂÃØ‹¹ ÊÒÁÒöµÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè :
ºÃÔÉÑ· ÍØŵÌÒàÍ繨Ôà¹ÕÂÃÔè§ ¨íÒ¡Ñ´ 2/7 «ÍÂËÁÙ‹ºŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨ 6 á¢Ç§ºÒ§á¤à˹×Í à¢µºÒ§á¤ ¡ÃØ§à·¾Ï 10160
â·Ã. 02 444 0844 á¿š¡«#. 02 444 1019 E-mail: sales@ultraengineering.co.th
&
Special Scoop
“ขยะ” วิ ก ฤตชาติ โรงไฟฟ้า คือ ทางออกจริงหรือ? “ขยะ”
เป็นปัญหาที่อยู่คู่สังคมไทยมายาวนาน และก�ำลังจะกลายเป็นวิกฤตชาติที่ยากต่อการแก้ไข เนื่องจากขยะเป็นปัญหาทั้งกระบวนการนับตั้งแต่ครัวเรือน จนถึงระบบการจัดเก็บและก�ำจัด
วิกฤต
ขยะถู ก หยิ บ ยกขึ้ น มา พูดถึงอีกครั้ง ภายหลัง จากเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ครัง้ ใหญ่ทเี่ กิดขึน้ กับ บ่อขยะแพรกษา ที่จังหวัดสมุทรปราการ เมื่อ ช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา เหตุ ก ารณ์ ดั ง กล่ า ว ถื อ เป็ น ระฆั ง ยกแรกที่ ช่วยดึงความสนใจของรัฐบาลยุค คสช. ในการ ทีจ่ ะหันมาให้ความสนใจและหาวิธกี ารในการ จัดการเรือ่ งขยะอย่างจริงจัง จนน�ำมาสูก่ ารจัด ท�ำโรดแมปการจัดการขยะมูลฝอยและของ
เสียอันตรายทีผ่ า่ นการเห็นชอบจาก คสช. แล้ว เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ.2557 สาระส�ำคัญของโรดแมปฯ ดังกล่าว มุ่งเน้นการบริหารจัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง ยันปลายทาง นับตัง้ แต่ 1. ห้ามทิง้ ขยะเทกอง กลางแจ้ง 2. จัดการบ่อขยะเดิมที่ปฏิบัติไม่ ถูกต้อง 3. ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดก�ำกับดูแล ภาพรวม และมีคณะกรรมการท�ำแผนภาพ รวม 4. มีแผนแม่บทการจัดการขยะ โดย ระดับจังหวัดท�ำให้เสร็จภายใน 3 เดือน และ
กองบรรณาธิการ
ระดับประเทศท�ำให้เสร็จภายใน 6 เดือน 5. คัดแยกขยะจากต้นทาง 6. หารูปแบบ ใหม่ ๆ ในการจัดการขยะชุมชน เช่น มีการ จัดการแบบรวมศูนย์และมุ่งเน้นแปรรูปขยะ เป็นพลังงาน 7. สร้างระบบจัดการของเสีย อันตราย 8. ส่งเสริมให้เอกชนลงทุนและ ด�ำเนินการ หากเอกชนสามารถท�ำได้ดีกว่า และราคาถูกกว่า ส่วนรัฐจะท�ำหน้าทีต่ ดิ ตาม ตรวจสอบ 9. สร้ า งวิ นั ย คนในชาติ สู ่ ก าร จัดการทีย่ งั่ ยืน โดยการบรรจุเรือ่ งการจัดการ August-September 2015, Vol.42 No.242
17 <<<
&
Special Scoop ผลิต 500 เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ.2579 ด้วยเช่น กัน เพื่อสะท้อนมุมมองจากหลายฝ่าย ซึ่งจะน�ำไปสู่การหาแนวทางที่เหมาะสมกับ สังคมไทยมากที่สุด งานเสวนา “โรงไฟฟ้า ขยะ ทางออกทีย่ งั่ ยืนหรือวิกฤตสิง่ แวดล้อม รอบใหม่” จัดขึน้ ในงาน Renewable Energy Asia 2015 เมือ่ ต้นเดือนมิถนุ ายน พ.ศ.2558 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
ขยะไว้ในหลักสูตร สร้างธนาคารขยะ ลดใช้ ถุงพลาสติก และ 10. จัดการขยะอย่างยัง่ ยืน โดยค�ำนึงถึงขยะตั้งแต่ต้นทางนับตั้งแต่การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การด�ำเนินงานตามโรดแมปแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วน ซึ่งต้องท�ำให้เสร็จ สิ้นภายใน 6 เดือน มีพื้นที่เป้าหมาย 11 จังหวัด ได้แก่ การก�ำจัดขยะเก่าใน 6 จังหวัด หรื อ 619 องค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (อปท.) คื อ พระนครศรี อ ยุ ธ ยา สระบุ รี นครปฐม สมุทรปราการ ลพบุรี ปทุมธานี และจังหวัดน�ำร่องที่จัดการขยะรูปแบบใหม่ 5 จังหวัด คือ นนทบุรี ภูเก็ต สงขลา กรุงเทพฯ เชียงราย ระยะปานกลาง ต้องท�ำให้เสร็จสิ้น ใน 1 ปี มีพื้นที่เป้าหมาย 20 จังหวัด หรือ 2,172 อปท. ได้แก่ กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช เพชรบุ รี สุ ร าษฎร์ ธ านี ราชบุ รี ขอนแก่น ปราจีนบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี นครราชสีมา ล�ำปาง แพร่ ชัยนาท เพชรบูรณ์ ระนอง ชุ ม พร ยะลา ฉะเชิ ง เทรา กระบี่ และสมุทรสาคร และระยะยาว ซึ่งใช้เวลา 1 ปีขึ้นไป ทางกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) จะด�ำเนินการ ต่อในจังหวัดอืน่ ๆ ทีเ่ หลืออีก 46 จังหวัด หรือ 4,979 อปท. ต่อไป นั่นคือ สิ่งที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลา หนึง่ ปีเศษทีผ่ า่ นมา วันนีร้ ะฆังยกทีส่ องก�ำลัง จะเริม่ ขึน้ คือ การลงมือปฏิบตั ขิ องแต่ละภาค ส่วนว่า จะเป็นไปตามโรดแมปที่วางไว้ได้ >>>18
August-September 2015, Vol.42 No.242
ความเหมื อ นและความต่ า งของการ จัดการขยะไทยและต่างประเทศ
มากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะประเด็นที่ก�ำลัง เป็นทีก่ ล่าวถึงกันอยูใ่ นปัจจุบนั คือ การก�ำจัด ขยะด้วยวิธีการน�ำมาเผาเป็นเชื้อเพลิงผลิต กระแสไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม พลังงานจากขยะก็ เป็นหนึง่ ในแผนพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก (AEDP 2015) มีเป้าหมายในการ
ในวงเสนามี ก ารยกประเด็ น การ จัดการขยะของต่างประเทศขึ้นมาเป็นกรณี ศึกษา โดย คุณสนธิ คชวัฒน์ นักวิชาการ อิสระ ได้กล่าวถึงความเหมือนและความ แตกต่ า งของระบบการจั ด การขยะของ ประเทศไทยและต่างประเทศว่า จากโรดแมปการจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตรายของรัฐบาลยุค คสช. วางแผนจะมีการสร้างเตาเผาขยะเพื่อผลิต ไฟฟ้าจ�ำนวน 53 แห่ง ที่ด�ำเนินการแล้ว มี 2 แห่ง คือ ภูเก็ต และหาดใหญ่ ส่วนที่อยู่ใน ระหว่ า งก่ อ สร้ า ง คื อ หนองแขม พั ท ลุ ง ขอนแก่น อยู่ในระยะเซ็นต์ MOU คือ ระยอง และพระนครศรีอยุธยา อยู่ในระหว่างศึกษา หาความเหมาะสม คือ อุดรธานี และล�ำพูน
&
Special Scoop
ทีเ่ หลืออยูใ่ นระหว่างการเจรจา รวมทัง้ สิน้ 53 แห่ง ทั้งหมดนี้ คือ โรดแมปของชาติที่เรา ก�ำลังจะสร้าง Waste to Energy ทัง้ นีโ้ รงไฟฟ้าขยะ ไม่ใช่ของใหม่ แต่ มีการใช้ในต่างประเทศมานานแล้ว บาง ประเทศได้รบั ความนิยม ขณะทีบ่ างประเทศ กลับถูกต่อต้านอย่างหนัก อะไรคือ ปัจจัยที่ ท�ำให้โรงไฟฟ้าขยะเกิด หรือไม่เกิด? ในประเทศทีน่ ยิ มสร้างโรงไฟฟ้าขยะ คือ ประเทศในแถบยุโรป สแกนดิเนเวีย และ ญี่ปุ่น ขณะที่สหรัฐอเมริกาต้องระงับการ ก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ.2538 เนื่องจากถูก ประชาชนต่อต้านอย่างหนัก สหรัฐอเมริกาจึง มีรูปแบบการจัดการขยะอีกรูปแบบหนึ่ง คือ ขยะอินทรีย์จะถูกน�ำไปท�ำปุ๋ยหมัก อีกส่วน หนึง่ ทีร่ ไี ซเคิลไม่ได้ จะถูกน�ำไปฝังกลบอย่าง ถูกหลักสุขาภิบาล (sanitary landfill) ส่วนยุโรปกับญีป่ นุ่ เนือ่ งจากประเทศ มี พื้ น ที่ จ� ำ กั ด ขณะเดี ย วกั น มี ก ฎหมายที่ ก�ำหนดให้ประชาชนแยกขยะจากบ้านอย่าง แท้จริง และพลเมืองก็ปฏิบัติตามกฎหมาย อย่างเคร่งครัด ที่สวีเดนก็เช่นกัน เขามีระบบ ในการแยกขยะนับตัง้ แต่ครัวเรือน เพือ่ น�ำไป รีไซเคิล เหลือเพียง 4 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นที่ ต้องก�ำจัดด้วยวิธกี ารเผาเพือ่ ผลิตไฟฟ้า และ สวี เ ดนเองก็ ต ้ อ งน� ำ เข้ า ขยะชั้ น ดี จ ากต่ า ง ประเทศเข้ามาเผาเพื่อผลิตไฟฟ้า ทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ เนือ่ งจากขยะอินทรีย์ หรื อ ขยะเปี ย กมี ค วามชื้ น ค่ อ นข้ า งน้ อ ย
(ความชืน้ น้อยกว่าร้อยละ 40) ท�ำให้สามารถ น� ำ เข้ า เตาเผาได้ ทั้ ง หมด ประกอบกั บ มี การน�ำเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ มีการตรวจวัด ควบคุมคุณภาพมลพิษทีป่ ล่อยออกมาอย่าง เข้มงวด ท�ำให้โรงไฟฟ้าขยะสามารถอยู่ร่วม กับชุมชนได้โดยไม่ถูกต่อต้าน กลับกันทางฝัง่ สหรัฐอเมริกา สาเหตุ ที่ต้องระงับโครงการเนื่องจากประชาชนมี ความกังวลเรือ่ งสารไดออกซินและสารปรอท ทีก่ อ่ ให้เกิดมลพิษทางอากาศและทีส่ ะสมใน ขี้เถ้า ขณะเดียวกันกฎหมายว่าด้วยการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชนอย่างแท้จริง ท�ำ ให้มีการตั้งคณะท�ำงานขึ้นมาเพื่อพิจารณา
ร่วมกันกับภาคเอกชนว่าควรสร้างดีหรือไม่ และประชาชนเองก็มีความรู้ ขณะเดียวกัน สหรั ฐ อเมริ ก าเป็ น ประเทศที่ มี พื้ น ที่ ข นาด ใหญ่ และกระบวนการในการแยกขยะจาก บ้านยังมีค่อนข้างน้อย ส่วนใหญ่จะแยก เฉพาะเศษอาหารและขยะมี พิ ษ ออกไป ดังนั้นการท�ำบ่อฝังกลบ (sanitary landfill) และการท�ำปุย๋ หมัก จึงเป็นวิธกี ารทีเ่ หมาะสม ส�ำหรับสหรัฐอเมริกา ส�ำหรับประเทศไทย แม้ในอดีตที่ ผ่านมาจะเคยมีการรณรงค์เรื่องการคัดแยก ขยะ แต่กไ็ ม่ประสบผลส�ำเร็จ คนไทยไม่นยิ ม แยกขยะตั้งแต่ครัวเรือน ท�ำให้การจัดการ ขยะของประเทศไทยมีความยุ่งยากซับซ้อน ยิ่งขึ้น
จัดการขยะตั้งแต่ต้นทาง คนทิ้งต้อง ร่วมรับผิดชอบ
คุณปฏิการ มหัทธนารักษ์ กรรมการ สถาบั น สิ่ ง แวดล้ อ มอุ ต สาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สะท้อนมุม มองแนวคิดด้านการจัดการขยะนับตั้งแต่ ต้นทางว่า ตลอดระยะเวลากว่า 20 ปีทศี่ กึ ษา และท�ำเรือ่ งขยะมา พบว่า เราถกเถียงกันมา ตลอดว่า ขยะเป็นปัญหาของใคร? รัฐบาล ชาวบ้าน หรือท้องถิ่น กฎหมายก�ำหนดให้ เทศบาลดูแลจัดการขยะ แต่กลับไม่เห็นการ
August-September 2015, Vol.42 No.242
19 <<<
&
Special Scoop
ดูแลอย่างเป็นรูปธรรม แต่กลับเห็นความไม่ ลงรอยกันของหลายกระทรวง ทุกข์หนักตกที่ กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พลังงาน (พพ.) และกรมโรงงานอุตสาหกรรม ทีต่ อ้ งรับผิดชอบแก้ไขปัญหาทีป่ ลายเหตุ คือ หาวิธีก�ำจัด และขยะของเสียชุมชนกับขยะ อุตสาหกรรมก็มักวิ่งเข้าหากัน เพราะด้าน หนึ่งบ�ำบัดฟรี อีกด้านหนึ่งเสียเงินค่าบ�ำบัด โรงไฟฟ้าขยะเป็นตัวเลือกหนึ่งที่เรา คิดว่า ยิงกระสุนนัดเดียวได้นกสองตัว คือ ได้ ก� ำ จั ด ขยะด้ ว ย ได้ ไ ฟฟ้ า ด้ ว ย แต่ ห าก พิจารณาเรื่องการลงทุนจะพบว่า ความคุ้ม ทุนอยูท่ ตี่ รงไหน ค�ำนวณง่าย ๆ ลงทุนค่าเตา เผา 1,000 ล้านบาท แล้วเก็บค่าไฟฟ้าบวก ค่ า Adder ที่ รั ฐ สนั บ สนุ น ยั ง แทบไม่ พ อ ส�ำหรับจ่ายเงินต้นธนาคาร การจะเอาเงิน ภาษีสว่ นกลางไปอุดหนุนก็ไม่ใช่สงิ่ ทีถ่ กู ต้อง ดั ง นั้ น จึ ง อยากเสนอว่ า ไม่ ค วรจะออก กฎหมายจากส่วนกลางไปควบคุม แต่ควร ร่างกฎหมายให้เทศบาลทั้งหลายรับผิดชอบ และมีสทิ ธิท์ จี่ ะเลือกว่าจะเอาเตาเผา หรือจะ เอาหลุมฝังกลบ หากเลือกแล้ว ต้องจัดการ ให้ได้มาตรฐาน และที่ส�ำคัญการให้บริการ ก�ำจัดขยะชุมชนต้องไม่ใช่บริการฟรีหรือเก็บ >>>20
August-September 2015, Vol.42 No.242
ราคาถูก คนทิ้งต้องมีส่วนรับผิดชอบกับขยะ ของเขาด้วย ด้านคุณธีระพล ติรวศิน ประธาน กลุม่ อุตสาหกรรมการจัดการเพือ่ สิง่ แวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย แสดง ความคิ ด เห็ น ในมุ ม มองของนั ก ลงทุ น ว่ า โรงไฟฟ้าขยะมีความน่าสนใจหรือไม่ อย่างไร ในฐานะนักลงทุนทีม่ องว่า โรงไฟฟ้าขยะเป็น โอกาสใหม่ของการลงทุนหรือไม่ ขอมองใน 4 มิติ ดังนี้ มิตทิ ี่ 1 ด้านสิง่ แวดล้อม ปัญหาขยะ ในประเทศไทยวันนีต้ อ้ งเรียกว่า เข้าขัน้ วิกฤต โดยส่ ว นตั ว มองว่ า ถึ ง เวลาแล้ ว ที่ ต ้ อ งมี โรงไฟฟ้าขยะ แต่การจัดการต้องมีเงินทุน ที่ ต้องอัดฉีดเข้าไปในระบบไม่ว่ารูปแบบใด รู ป แบบหนึ่ ง เช่ น การเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย ม จัดเก็บขยะมากขึ้น มี Feed in Tariff เข้ามา ช่วย ก็จะท�ำให้การจัดการขยะเป็นไปได้มาก ขึ้น มิติที่ 2 ด้านเศรษฐศาสตร์ การที่จะ ท�ำให้โรงไฟฟ้าขยะเกิดขึ้นได้ โดยมี Feed in Tariff (FiT) เป็นทางออกสุดท้ายแล้วจริง หรือไม่? จากการค�ำนวณตัวเลข เชื้อเพลิง ขยะที่ผ่านการปรับปรุงแล้ว (Refuse De-
rived Fuel: RDF) หนัก 1 ตัน หากน�ำไปใช้ ในเตาเผาร่วม หรือเตาเผาอุตสาหกรรมที่ กรมโรงงานอนุญาตให้ใช้ได้แทนถ่านหิน จะ มีมูลค่าประมาณ 2,240 บาทต่อตัน แต่ใช้ ในโรงไฟฟ้าขยะที่ได้รับการอุดหนุนค่า FiT (ปัจจุบนั อยูท่ ี่ 5.60 บาทต่อหน่วย) จะพบว่า RDF ก้ อ นเดี ย วกั น นี้ จ ะมี มู ล ค่ า เพิ่ ม เป็ น 2,860 บาท แต่หากไม่ได้รับการอุดหนุน RDF ก้อนเดียวกันนี้จะมีราคาลดลงเหลือ เพี ย ง 480 บาท นั่ น หมายความว่ า เงิ น อุดหนุนจะอยู่ที่ 2,380 บาทต่อตัน โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ก�ำลังการผลิต 1 เมกะวัตต์ ใช้ RDF ประมาณ 7 พันตันต่อปี โรงไฟฟ้าจะได้รับเงินอุดหนุนประมาณ 16 ล้านบาทต่อปี ซึ่งก็คือ ค่า FT ที่ประชาชน ต้องจ่าย ในขณะเดียวกัน ประเทศไทยมีขยะ ชุมชนมากกว่า 20 ล้านตัน แบ่งเป็นขยะใน ระบบประมาณ 15-16 ล้านตัน ในจ�ำนวนนี้ มีขยะทีส่ ามารถท�ำ RDF ได้ประมาณ 6 ล้าน ตัน คิดเป็นเงินอุดหนุนประมาณ 14,000 ล้าน ยังไม่นับรวมเรื่อง Monitoring และค่า ด�ำเนินการต่าง ๆ ดังนัน้ ในเชิงเศรษฐศาสตร์ การสนับสนุนให้น�ำ RDF ไปผลิตไฟฟ้า เป็น จุดที่สมดุลที่สุด ประเทศชาติได้ประโยชน์
&
Special Scoop ที่สุดแล้วหรือไม่ โดยส่วนตัวมองว่า รัฐไม่ ต้องอุดหนุนเม็ดเงินมากถึง 14,000 ล้านบาท หากใช้วิธีการแบบผสมผสาน คือ ส่งเสริม การใช้แทนถ่านหินในเตาเผาอุตสาหกรรมที่ รับได้ ให้เต็ม Capacity เสียก่อน ทีเ่ หลือค่อย น�ำไปเผาในโรงไฟฟ้า จะท�ำให้เงินอุดหนุนลด ลงกว่าครึ่ง มิ ติ ที่ 3 ด้ า นมาตรฐานโรงไฟฟ้ า ประเทศไทยต้องการโรงไฟฟ้า เป็นทางเลือก ใหม่ส�ำหรับก�ำจัดขยะ สิ่งที่น่าเป็นห่วงคือ มาตรฐานในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าขยะ ซึ่ง ล้วนแล้วแต่เป็นเรื่องทางเทคนิค วิศวกรรม การเลือกใช้อุปกรณ์ค่อนข้างมีรายละเอียด ปลีกย่อยมาก อะไรเหมาะหรือไม่เหมาะเรา ยังไม่รู้ สิ่งที่ท�ำมาคือ สร้างให้เกิดไปก่อน มี ปัญหาแก้ตามหลัง เพราะเราเชื่อว่าบริหาร จัดการได้ แต่แท้จริงแล้วไม่ใช่ เพราะฉะนั้น ก่อนเริ่มต้นโครงการ ผู้ลงทุนควรจะศึกษา รายละเอียดอย่างรอบคอบรอบด้าน ส่วน ภาครั ฐ เองควรมี ม าตรฐานกลางออกมา ก�ำกับดูแลให้การก่อสร้างโรงไฟฟ้าขยะให้ เป็นไปตามมาตรฐานกลางอย่างเข้มงวด มิติที่ 4 ด้านการอยู่ร่วมกันกับสังคม อนาคตหากโรงไฟฟ้าขยะเกิดขึน้ จริง การอยู่ ร่วมกันระหว่างโรงไฟฟ้าและชุมชนเป็นเรื่อง ส�ำคัญ การเดินเครื่อง (operate) โรงไฟฟ้า เป็นศิลปะอย่างหนึ่ง เป็นวิทยาศาสตร์ผสม ผสานกั บ ความรู ้ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สังคม เมื่อใดก็ตามที่อุณหภูมิในเตาเผาลด
ลง มลพิษจะถูกปล่อยออกมาทันที ดังนั้น ระบบ Monitoring เป็นสิ่งส�ำคัญ และต้องมี ความชัดเจนว่า จะควบคุมดูแลอย่างไร รวม ถึงระบบในการบ�ำบัดมลพิษมีตน้ ทุนสูง หาก โรงไฟฟ้านัน้ ๆ มีการติดตัง้ ระบบแต่ไม่ได้เดิน เครื่องระบบบ�ำบัดมลพิษ จะมีกลไกอย่างไร ในการควบคุม ตรวจสอบ
บทเรียนโรงไฟฟ้าขยะในประเทศไทย
ด้าน ดร.บุญส่ง ไข่เกษ นายกสมาคม อนามัยสิง่ แวดล้อมไทย สะท้อนปัญหาทีเ่ กิด ขึน้ กับโรงไฟฟ้าขยะทีภ่ เู ก็ตว่า ประเทศไทยมี บทเรียนเรื่องเตาเผาขยะมาแล้ว ที่ภูเก็ต แม้ ก่อนขึ้นโครงการจะท�ำการศึกษาจนคิดว่า เลือกเทคโนโลยีที่ดีและเหมาะสมที่สุดแล้ว แต่เมื่อเดินเครื่องกลับพบว่า มีปัญหาเกิด ขึ้นมากมาย จนกระทั่งปัจจุบันภูเก็ตต้องให้ เอกชนเข้ามาด�ำเนินการ (operate) “ที่ผ่านมาคนไทยเราชอบท�ำอะไร แบบรวบรัดตัดความ เช่น การประเมินความ เหมาะสมของโรงไฟฟ้า ลักษณะของขยะใน ประเทศเป็นอย่างไร ขยะที่มีความชื้นสูง จะ ต้องใช้เตาเผาแบบ Stoker ทีม่ รี ะบบย่างขยะ ก่อนส่งเข้าเตาเผา เป็นต้น ด้ า นการเงิ น ก็ เ ป็ น ประเด็ น หนึ่ ง ที่ ส�ำคัญ ปัจจุบันท้องถิ่นหรือแม้แต่กรุงเทพฯ เองก็ประสบปัญหา กรุงเทพฯ เก็บค่าขยะ เดือนละ 20-40 บาท ซึ่งถูกมาก แต่กระนั้น ประชาชนก็ ไ ม่ ค ่ อ ยอยากจะจ่ า ย ขณะที่
กฎหมายใหม่ที่ก�ำลังยกร่างจะเก็บค่าก�ำจัด ขยะ 150 บาทต่อครัวเรือน ซึ่งบางคนอาจ มองว่าไม่ยุติธรรม เพราะขยะแต่ละบ้าน ไม่เท่ากัน รัฐจึงต้องหาวิธีท�ำอย่างไรจะเกิด ความยุติธรรม ประชาชนยอมรับ และยอม จ่ายค่าก�ำจัดขยะ” ดร.บุญส่ง กล่าว นอกจากนี้ ดร.บุญส่ง พยายามชี้ให้ เห็นว่า โรงไฟฟ้าขยะ ยังมีขอ้ ควรระวังอยูม่ าก โดยส่วนตัวท่านมองว่า ขอให้เตาเผาขยะเป็น ทางเลือกสุดท้าย ซึ่งโรดแมปของรัฐบาลเอง ก็ พ ยายามที่ จ ะไปในทิ ศ ทางนั้ น คื อ ลด จ�ำนวนขยะตัง้ แต่ตน้ ทางให้ได้มากทีส่ ดุ ก่อน เมื่อขยะเหลือไม่มากก็คงไม่ต้องมีโรงไฟฟ้า แต่หากจัดการต้นทาง กลางทางแล้ว ขยะ ปลายทางยังเหลืออีกมาก ก็ตอ้ งให้ประชาชน เป็นผูเ้ ลือกและตัดสินใจว่าจะเอาเตาเผาขยะ หรือฝังกลบอย่างถูกต้อง โดยส่วนตัวมองว่า ไม่ว่าจะเป็นเตาเผาหรือฝังกลบก็ต้องอาศัย การจัดการที่ไม่แตกต่างกัน
ปัจจัยที่ควรพิจารณา
ด้าน คุณสนธิ คชวัฒน์ เสริมข้อมูล เกี่ ย วกั บ การลงทุ น โรงไฟฟ้ า ขยะว่ า การ ลงทุนในโรงไฟฟ้าขยะแพงกว่าการฝังกลบ แบบถูกหลักสุขาภิบาล (sanitary landfill) ถึงร้อยละ 50 และลงทุนสูงกว่าโรงไฟฟ้า ถ่านหินในขนาดทีเ่ ท่ากัน ขณะเดียวกันระบบ บ�ำบัดอากาศของโรงไฟฟ้าขยะจะแพงกว่า โรงไฟฟ้าถ่านหินอย่างน้อย 2 เท่า และเตา เผาขยะสมัยใหม่ทมี่ รี ะบบป้องกันมลพิษทาง อากาศอย่างดี แต่ต้องลงทุนสูงเป็น 2 เท่า ของโรงไฟฟ้าถ่านหินเช่นกัน มีการค�ำนวณต้นทุนโรงไฟฟ้าขยะ มาตรฐานขนาด 300 ตันขยะ ใช้เงินลงทุน ประมาณ 7 ล้านบาทต่อตัน ค่า O&M 850 บาทต่ อ ตั น ต่ อ วั น ค่ า ใช้ จ ่ า ยต่ อ วั น ตก ประมาณ 2 แสนบาท ทั้งหมดหากไม่ได้รับ การสนับสนุนทุนจากรัฐส่วนหนึ่ง โรงไฟฟ้า ขยะเกิดยาก หรือหากเกิดก็จะเป็นโรงไฟฟ้า ขนาดเล็ก ท�ำเล็ก ๆ ง่าย ๆ ไม่มีระบบในการ บ�ำบัดมลพิษที่ได้มาตรฐาน สุดท้ายก็เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และชุมชน ในยุโรปแบ่งชัดเจนว่า โรงไฟฟ้าขยะ August-September 2015, Vol.42 No.242
21 <<<
&
Special Scoop
ขนาดใหญ่ตอ้ งสามารถรองรับขยะได้มากกว่า 300 ตันต่อวัน มูลฝอยที่คัดแยกเรียบร้อย แล้ว 1 ตัน ได้ไฟฟ้า 1 เมกะวัตต์ ขณะที่ขยะ เมืองไทย ไม่ได้มีการคัดแยก และพบว่ามี ความชืน้ มากว่า 60 เปอร์เซ็นต์ เมือ่ น�ำเข้าเตา เผาจะท�ำให้ได้ค่าความร้อนไม่สูงถึง 800 กิโลแคลอรีต่ อ่ กิโลกรัม ซึง่ เป็นจุดทีท่ ำ� ให้เกิด สารไดออกซิน ส�ำหรับข้อแนะน�ำในการสร้างโรง ไฟฟ้าขยะขนาด 300 ตัวต่อวัน ควรมีการ พิจารณาหลักเกณฑ์ต่าง ๆ คือ ที่ตั้ง ต้องอยู่ ในพืน้ ทีท่ สี่ ามารถหาขยะได้มากกว่า 300 ตัน ต่อวัน และพื้นที่ตั้งต้องห่างจากชุมชน 3-5 กิโลเมตร และมี Buffer zone ชัดเจน มีพื้นที่ อย่างน้อย 100 ไร่ น�ำ้ ไม่ทว่ ม มีเส้นทางขนส่ง ขยะเข้าสู่โรงงานโดยไม่ผ่านชุมชน และที่ ส�ำคัญต้องได้รับความยินยอมร่วมมือกับ คนในพื้ น ที่ ต้ อ งมี ก ารสร้ า งความรู ้ ค วาม เข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความไว้วางใจเชื่อ ใจให้กับชุมชน และท�ำให้พื้นที่ในชุมชนได้ ประโยชน์ด้วย นอกจากนี้จะต้องมีการศึกษาองค์ ประกอบของขยะโดยละเอียดว่า มีความชื้น เท่าไหร่ มีค่าพลังงานเท่าไหร่ด้วย และที่ ส�ำคัญ คือ การเข้าถึงสายส่งไฟฟ้า และต้อง มีเทคโนโลยีในการคัดแยกขยะก่อนเข้าเตา เผา เพื่อลดสารพิษที่เป็นอันตราย ความชื้น ของขยะต้องต�ำ่ กว่า ร้อยละ 40 ค่าความร้อน ขณะเผาต้องสูงกว่า 800 กิโลแคลลอรี่ต่อ >>>22
August-September 2015, Vol.42 No.242
กิโลกรัม อุณหภูมใิ นห้องเผาต้อง 850- 1300 องศาเซลเซียส มีระบบในการเผาแก๊สในห้อง เผาทีส่ อง และมีอปุ กรณ์ในการดักจับมลพิษ สารพิษอย่างครบถ้วน ที่กล่าวมาทั้งหมด ต้องใช้เงินลงทุนมหาศาล ดังนัน้ ผูล้ งทุนต้อง พิจารณาในรายละเอียดให้ดี คุณจุลพงษ์ ทวีศรี ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม กล่าว ถึงการด�ำเนินการของภาครัฐที่ผ่านมาว่า นโยบายของกระทรวง หรือนโยบายในการ จัดการขยะ เน้นจัดการตั้งแต่ต้นทาง ขยะที่ ยังใช้ประโยชน์ได้ ให้นำ� ไปใช้ประโยชน์ ส่วน ที่ใช้ประโยชน์ไม่ได้ค่อยน�ำไปก�ำจัดด้วยวิธี ต่าง ๆ วันนี้เราก�ำลังให้ความสนใจกับการ จัดการที่ปลายทาง คือ การก�ำจัดขยะด้วย โรงไฟฟ้าขยะ แต่จริง ๆ แล้ว ภาครัฐไม่ได้ ปฏิเสธหรือยอมรับวิธีใดวิธีหนึ่ง เรายอมรับ ทุกวิธี ทุกเทคโนโลยีทสี่ ามารถจัดการขยะได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามเหมาะสม ส�ำหรับพื้นที่นั้น ๆ แต่สิ่งที่ควรเน้น คือ การ บริหารจัดการที่ดี เมื่อเทคโนโลยีดี ต้องคู่กับ การบริหารจัดการที่ดีจึงจะส�ำเร็จได้ แผนแม่บทเรื่องการจัดการขยะแห่ง ชาติทกี่ ำ� ลังจะออกมา ก�ำหนดชัดเจนว่า การ จัดการขยะแบบรวมศูนย์ จะเป็นการจัดการ ขยะแบบผสมผสาน มีการจัดการขยะที่เป็น ระบบ สามารถทีจ่ ะคัดแยกขยะ ไปใช้ประโยชน์ ให้เหลือที่จะก�ำจัดให้น้อยที่สุด สิ่งที่ภาครัฐ
มอง คือ ความเหมาะสมในแต่ละพืน้ ที่ ไม่ใช่ ทุกพื้นที่ต้องมีเตาเผาขยะ ส�ำหรับในพื้นที่ที่ มีประชากรจ�ำนวนมาก มีขยะจ�ำนวนมาก เพียงพอที่จะสร้างเตาเผา ก็เห็นสมควรที่จะ ให้ภาคเอกชนได้เข้ามาลงทุน เพราะมีความ พร้อมและความคล่องตัวมากกว่าภาครัฐ เตาเผาขยะ 53 แห่ง ตามโรดแมป มี ความเป็นไปได้สูงเพียง 15 แห่ง และจะเป็น ตัวอย่างส�ำหรับการด�ำเนินการในแห่งต่อ ๆ ไป การเกิดขึ้นของเตาเผาขยะ ภาครัฐเองมี ความกังวลเรื่องมลพิษเช่นกัน หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องก็พยายามที่จะออกมาตรฐานและ กฎระเบียบออกมาควบคุมดูแล นอกเหนือ จาก พ.ร.บ.ขยะแห่งชาติทกี่ ำ� ลังจะออกมาใน อนาคตอันใกล้นี้ ขณะนี้ก�ำลังจัดท�ำร่างหลัก เกณฑ์ในการคัดเลือกพื้นที่ การออกแบบ ก่อสร้างและการจัดการขยะ โดยใช้เตาเผา ซึ่งด�ำเนินการได้ประมาณครึ่งทางแล้ว การจัดการขยะในมิตขิ องการน�ำไป ใช้เป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า ยัง คงเป็ น ประเด็ น ที่ ต ้ อ งติ ด ตามกั น ต่ อ ไป แม้ว่าโดยหลักการแล้ว โรงไฟฟ้าขยะจะ เป็นทางออกทีด่ สี ำ� หรับประเทศไทย เพราะ นอกจากจะได้ก�ำจัดขยะแล้ว ยังได้พลังงาน ไฟฟ้าด้วย แต่ส่วนที่ควรค�ำนึงถึงยังมีอีก มาก โดยเฉพาะเรือ่ งผลกระทบสิง่ แวดล้อม ทีต่ อ้ งตอบประชาชนให้ได้วา่ โรงไฟฟ้าขยะ จะไม่ ใ ช่ วิ ก ฤตรอบใหม่ ข องสั ง คมและ สิ่งแวดล้อมไทย
&
ขยะและการจั ด การยั ง คงเป็ น ประเด็ น ที่ เชื่อว่าหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องก�ำลัง ขะมั ก เขม้ น ค้ น หาวิ ธี ใ นการบริ ห ารจั ด การที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบายของรัฐบาลชุดปัจจุบันที่เร่งรัดแก้ไขปัญหา ก่อนที่ “ขยะ” จะกลายเป็นวิกฤตชาติที่ยากต่อการแก้ไข
กองบรรณาธิการ
ขยะ
RDF
ขยะ
เพิม่ มูลค่าให้
ปัญหา
Special Talk
ด้วย
Technology
เป็นผลพวงแห่งความล้มเหลวของกระบวนการจัดการตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน (supply chain) นับตั้งแต่ต้นทางที่คนในชาติขาดวินัยในการทิ้งขยะ ส่งผลต่อเนื่องท�ำให้กระบวนการใน การจัดการในล�ำดับถัดมาเกิดปัญหา ไม่วา่ จะเป็นกระบวนการในการจัดเก็บและการก�ำจัดทีไ่ ม่ถกู ต้อง ตามหลักสุขาภิบาล เกิดเป็นบ่อขยะทีส่ ร้างปัญหาให้กบั สังคมและสิง่ แวดล้อมนับ 4,000 แห่งทัว่ ประเทศ วันนี้เราก�ำลังมีการพูดถึง “โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ” ที่จะเข้ามาเป็นทางเลือกหนึ่งในการก�ำจัด ขยะ แต่ด้วยวัฒนธรรมการทิ้งขยะแบบตามใจฉัน ขาดระบบในการคัดแยกของคนไทย ได้สร้างความ กังวลให้กับโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ เนื่องมาจากการปะปนของขยะอินทรีย์ที่จะท�ำให้การเผาไหม้ใน โรงไฟฟ้าเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดปัญหามลพิษตามมา เทคโนโลยีในการแปลงขยะเป็นเชือ้ เพลิง หรือ RDF (Refuse Derived Fuel) ก่อนใช้เป็น เชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่เชื่อว่าจะช่วยปลดล็อกปัญหาโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ในประเทศไทยได้จริงหรือไม่ ในเรื่องนี้ คุณทักษ์สุตา ถิ่นสันติสุข กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีโรเวซท์ จ�ำกัด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีในการแปลงขยะเป็นเชื้อเพลิงนี้ว่า เป็นระยะเวลากว่า 30 ปี ที่กลุ่มบริษัทราชาอีคริปเมนท์ได้ด�ำเนินธุรกิจด้านการจ�ำหน่าย เครื่องจักรเพื่อสิ่งแวดล้อมให้กับหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงเครื่องจักรที่เกี่ยวกับ การจัดการขยะ ไม่วา่ จะเป็นเตาเผาขยะ รถขนขยะ สถานีขนถ่ายขยะ สิง่ ทีเ่ ราเรียนรูแ้ ละพยายาม หาทางออกมาโดยตลอด คือ เรื่องของการจัดการขยะอย่างยั่งยืน
▲
คุณทักษ์สุตา ถิ่นสันติสุข
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีโรเวซท์ จ�ำกัด
August-September 2015, Vol.42 No.242
23 <<<
&
Special Talk
จากสถิติ คนไทย 1 คน ผลิตขยะเฉลีย่ 1 กิโลกรัมต่อวัน หรือในหนึ่งปีคนไทยผลิต ขยะมากว่า 24 ล้านตันต่อปี และอัตราการ ผลิตขยะของคนไทยมีแนวโน้มจะเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ ตามจ�ำนวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ หากไม่มี วิธีการจัดการอย่างหนึ่งอย่างใด เชื่อแน่ว่า ขยะล้นเมืองไทยแน่นอน นี่จึงเป็นเหตุผลให้ บริษทั ได้เริม่ ต้นค้นหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามา ประยุกต์ใช้กบั ขยะในบริบทเมืองไทย เช่น เตา เผาขยะ แต่ที่สุดแล้วแม้เตาเผาขยะจะตอบ โจทย์เรือ่ งการก�ำจัดขยะ แต่ไม่ตอบโจทย์เรือ่ ง มลพิษได้อย่างยั่งยืน ท�ำให้ในระยะ 10 ปีให้ หลังมานี้ เราเริม่ ศึกษาข้อมูลจากต่างประเทศ มากขึ้น จนพบว่า ในต่างประเทศมีการท�ำ RDF (Refuse Derived Fuel) นานแล้ว เพื่อ ปรับปรุงคุณภาพขยะให้กลายเป็นเชื้อเพลิง คุณภาพดี ก่อนน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงป้อน หม้อไอน�้ำเพื่อผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน ซึ่ง จะช่วยทัง้ ในเรือ่ งค่าความร้อนภายในเตาเผา และลดผลกระทบด้านมลพิษต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม และเมื่อ 5 ปีที่แล้ว บริษัทฯ จึง น�ำเทคโนโลยี RDF จากประเทศฟินแลนด์เข้า มาในเมืองไทย และก่อตั้งบริษัท ซีโรเวซท์ จ�ำกัด ขึ้นมารองรับการด�ำเนินการ เป้าหมาย คือ มุ่งเน้นที่การจัดการขยะทุกประเภท ทั้ง ขยะชุมชน ขยะจากบ่อฝังกลบ ขยะอุตสาห>>>24
August-September 2015, Vol.42 No.242
กรรมที่ไม่อันตราย อนาคตจะขยายไปยัง กลุ่มขยะอิเล็กทรอนิกส์ (e-waste) รวมถึง ขยะติดเชื้อจากสถานพยาบาล
เปลีย่ นวิกฤตเป็นโอกาสด้านพลังงาน
วันนีข้ ยะถูกยกระดับให้เป็นวาระแห่ง ชาติ เกิดเป็นโอกาสของนักลงทุน แต่อย่างไร ก็ตาม การเลือกวิธีเผาขยะเพื่อผลิตไฟฟ้า ยังเป็นวิธีที่ไม่ได้รับการยอมรับจากเอ็นจีโอ และประชาชนในพื้นที่เนื่องจากเกรงว่าจะ เป็นสาเหตุของการก่อมลพิษรอบใหม่ การ แปลงขยะให้กลายเป็น เชื้อเพลิง RDF ก่อน จึงเป็นทางออกหนึง่ ทีจ่ ะช่วยลดทอนปัญหาที่ เกิดจากขยะ ไม่ว่าจะเป็น น�้ำเสีย กลิ่นเหม็น
มลพิษทางอากาศ และแหล่งเชื้อโรคลงได้ “ขยะเมือ่ ถูกแปลงเป็นเชือ้ เพลิง RDF แล้ว สามารถใช้แทนถ่านหินได้ และมีมลพิษ น้อยกว่าถ่านหินถึง 4 เท่า” คุณทักษ์สุตา กล่าวพร้อมอธิบายต่อว่า ข้อดีของการแปลง ขยะเป็ น เชื้ อ เพลิ ง RDF ยั ง ท� ำ ให้ ส ารพิ ษ ถูกแยกออกไป ความชื้นลดลง ได้เชื้อเพลิงที่ มีคา่ ความร้อนสูง โดยเชือ้ เพลิง RDF ปริมาณ 1.3 ตัน เทียบเท่ากับถ่านหินปริมาณ 1 ตัน และขยะยังเป็นสิ่งที่หาได้ภายในประเทศ ขณะที่ถ่านหินต้องน�ำเข้าจากต่างประเทศ “จากสถิตปิ ระเทศไทยผลิตขยะชุมชน ประมาณ 24 ล้านตันต่อปี ขยะอุตสาหกรรม 30 ล้านตันต่อปี นอกจากนี้ยังมีขยะที่ถูกฝัง อยู่ในบ่อฝังกลบอีกกว่า 30 ล้านตัน ที่ยังรอ การจัดการอยู่ แม้ทุกวันนี้จะมีการก�ำจัดขยะ ไปได้บ้างบางส่วน เป็นการก�ำจัดให้หมดไป แต่ไม่เน้นการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ขยะเท่าใด นัก แต่เมือ่ น�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการแปลง ขยะเป็นเชือ้ เพลิง RDF จะสามารถสร้างมูลค่า ให้กับขยะได้”
ต้นทุนและความคุ้มค่า
การลงทุนในเทคโนโลยีแปลงขยะ เป็นเชื้อเพลิง (RDF plant) แม้ว่าจะมีราคา ค่อนข้างสูง แต่อย่างไรก็ตาม คุณทักษ์สุตา ก็ยังมองว่า เป็นการลงทุนที่คุ้มค่า เนื่องจาก การลงทุนในเตาเผาดี ๆ สักเตา ทีม่ เี ทคโนโลยี ขั้นสูง สามารถจัดการไดออกซินได้ จนไม่ก่อ ให้เกิดไอเสียออกสู่ชุมชน จะมีมูลค่าสูงถึง 3,000 ล้านบาท และต้องมีการบริหารจัดการ
&
Special Talk ที่ดีมาก ส่วนการแปลงขยะเป็น RDF จะมี มูลค่าประมาณ 1,500-1,800 ล้านบาท
เทคโนโลยี RDF กับขยะเมืองไทย
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ควรพิจารณา คือ ขยะในแต่ละประเทศมีลักษณะที่แตกต่าง การเลือกใช้เทคโนโลยีจงึ ต้องเลือกทีเ่ หมาะสม กับลักษณะทางกายภาพของขยะ ณ ประเทศ นั้น ๆ โดยเฉพาะประเทศไทยที่ไม่มีระบบใน การคัดแยก และมีการจัดการแบบไทย ๆ “ในระหว่างที่เราก�ำลังศึกษาเครื่องจักรในแต่ละประเทศ เราต้องค�ำนึงถึงว่า เทคโนโลยี นั้ น ต้ อ งเหมาะกั บ ขยะและการ จัดการขยะแบบไทย ๆ จนพบว่า เทคโนโลยี จากประเทศฟินแลนด์ เป็นเทคโนโลยีที่ตอบ โจทย์ขยะเมืองไทยที่ไม่คัดแยกได้ ทั้งยังเป็น ระบบอัตโนมัติ เครื่องจะท�ำการคัดแยกขยะ ได้เอง ท�ำงานสะดวก รวดเร็ว สามารถแปลง ขยะเป็นเชื้อเพลิง RDF ได้ ด้วยระยะเวลาสั้น เพียง 3 นาที ส�ำหรับเหตุผลที่ต้องเร็ว เพื่อให้ ทันกับการจัดการขยะให้หมดภายในวันต่อวัน หากจั ด การไม่ ห มด จะเกิ ด สต็ อ กขยะใน โรงงาน ก่อให้เกิดมลพิษ ไม่ว่าจะเป็นน�้ำเสีย กลิ่นเหม็นตามมา”
ภาครัฐ และเสริมให้เกิดการ จัดการขยะแบบคู่ขนานและ ยั่งยืน” ในส่วนของ ซีโรเวทซ์เองได้จับ มือกับพาร์ทเนอร์ 2 แห่ ง คื อ บริ ษั ท ชั ย วัฒนา แทนนารี่ กรุ๊ป (CWT) และบริษัท ลาวี เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด เพื่อลงทุน พัฒนา โครงการรับจัดการขยะมูลฝอย ชุมชน (municipal solid waste) และน�ำขยะ
โอกาสในการลงทุน
ส� ำ หรั บ เทคโนโลยี แ ปลงขยะเป็ น เชือ้ เพลิงนี้ เมือ่ ประมาณ 4 ปีกอ่ น ได้ถกู น�ำไป ใช้ในโรงงานผลิตปูนซิเมนต์ 2 แห่ง เพื่อผลิต เชื้อเพลิง RDF จากขยะชุมชนที่อยู่ในรัศมี ของโรงปูน ก่อนน�ำไปเข้าเตาเผาโรงไฟฟ้าที่ ตั้งอยู่ภายใน นอกจากนี้นโยบายรัฐบาลที่จะ สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ จ�ำนวน 53 แห่ง ทั่วประเทศ ก็เป็นโอกาสใหม่ในการลงทุนใน โรง RDF เช่นกัน “หากโรงไฟฟ้าขยะสามารถเกิดได้ ตามแผนทีร่ ฐั บาลวางไว้ จะท�ำให้เกิดโรง RDF ได้เช่นกัน และไม่จ�ำเป็นที่จะต้องสร้างโรง RDF ติดกับโรงไฟฟ้าเสมอไป เราสามารถ สร้างโรง RDF กระจายอยู่ในศูนย์ก�ำจัดขยะ หรือสถานีขนถ่ายขยะได้ เพือ่ ส่ง RDF ไปขาย ให้กบั โรงไฟฟ้า ซึง่ ปัจจุบนั ภาคเอกชนมีความ พร้อมทีจ่ ะลงทุน เพือ่ แบ่งเบางบประมาณของ
จากหลุ ม ฝั ง กลบ (landfill) มาปรั บ ปรุ ง คุณภาพ เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแส ไฟฟ้ า ส่ ง ขายให้ แ ก่ ภ าครั ฐ นอกจากนี้ ยั ง วางแผนที่ จ ะลงทุ น ในโครงการขนาด 40 เมกะวัตต์ จ�ำนวน 3 แห่งในต่างประเทศ “เรื่องขยะ เป็นปัญหาระดับชาติ เรา ไม่สามารถท�ำงานคนเดียวได้ ต้องร่วมมือกับ พาร์ทเนอร์ทมี่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน มา ร่วมกันท�ำงาน ซีโรเวทซ์เอง นอกเหนือจาก การขายเทคโนโลยีแล้ว เรายังเข้าไปร่วม ลงทุนในโครงการต่าง ๆ เพื่อผลักดันให้เกิด การจัดการขยะอย่างยั่งยืนในประเทศไทย” คุ ณ ทั ก ษ์ สุ ต า กล่ า ว พร้ อ มทิ้ ง ท้ า ยไว้ ว ่ า โรงไฟฟ้าพลังงานขยะจะเกิดหรือไม่ ต้องอาศัย การสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่องจาก ภาครั ฐ รวมถึ ง ความร่ ว มมื อ จากภาค
ประชาชนที่จะต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหาด้วย “โรงไฟฟ้าขยะจะเกิดขึ้นไม่ได้เลย หากขาดการสนับสนุนด้านงบประมาณจาก ภาครัฐ การที่ภาครัฐสนับสนุนค่าไฟส่วนเพิ่ม (feed in tariff) ให้ ก็จะช่วยให้โรงไฟฟ้า พลังงานขยะสามารถเกิดได้ อย่างไรก็ตาม การจัดการที่ดี ควรเป็นเก้าอี้ 3 ขา ขาแรก เอกชนผู้ลงทุน ที่ต้องมีโนว์ฮาว มีเทคโนโลยี และมีคนที่จะต้องโอเปอเรทโรงงาน อีกขา หนึ่ง คือ ภาครัฐที่ต้องสนับสนุนเรื่อง Feed in Tariff อีกขาหนึ่งคือ ท้องถิ่น เทศบาล และ ประชาชนเจ้าของขยะ จะต้องจ่ายค่าก�ำจัด ขยะ เมื่อครบสามขา การจัดการจึงจะเกิดได้ แต่หากขาดขาใดขาหนึ่ง เช่น เทศบาลบาง แห่งมองว่า ขยะขายได้ จะขายขยะให้กับโรง ไฟฟ้า แทนที่จะจ่ายค่าก�ำจัดขยะ โครงการก็ ไม่สามารถเกิดขึน้ ได้ หรือในทางกลับกัน หาก ภาครัฐไม่มี Feed in Tariff โครงการก็เดินหน้า ต่อไปไม่ได้เช่นกัน เพราะค่าก�ำจัดขยะในเมือง ไทยต�่ำมากเฉลี่ยทั่วประเทศประมาณ 300 บาทต่อตันเท่านั้น”
August-September 2015, Vol.42 No.242
25 <<<
&
Special Talk
กระแส
การ
ด�ำเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการ ผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานขยะ สิ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนโครงการให้ประสบ ความส� ำ เร็ จ ได้ ห รื อ ไม่ ขึ้ น อยู ่ กั บ ปั จ จั ย 3 ประการ คือ เทคโนโลยีและการลงทุน (เทคโนโลยีแบบไหนที่เหมาะกับขยะเมือง ไทย) สิง่ แวดล้อม (การลงทุนด้านเทคโนโลยี ที่เหมาะสมต้องมีระบบการป้องกันมลพิษ อย่างเข้มงวด) และการยอมรับจากสังคม >>>26
August-September 2015, Vol.42 No.242
ข้อควรรู้
ก่อนมีโรงไฟฟ้า
พลังงานขยะ กองบรรณาธิการ
▲
โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ยังคง เป็ น ประเด็ น ที่ สั ง คมก� ำ ลั ง ถกเถียงกันอยู่ในปัจจุบันว่า ควรหรือไม่ที่จะสร้าง โรงไฟฟ้าพลังงานขยะในประเทศไทย ฟากหนึ่งมอง ว่ า โรงไฟฟ้ า พลั ง งานขยะจะเป็ น ทางออกของ ประเทศทั้งในเรื่องการแก้ปัญหาขยะที่ก�ำลังล้นเมือง และการผลิตพลังงานทางเลือกส�ำหรับคนไทย ขณะ ที่ประชาชนอีกฟากหนึ่งที่ไม่เ ห็นดีเ ห็นงามกับเรื่อง ดังกล่าว ด้วยเหตุผลด้านมลพิษ และที่ส�ำคัญไม่มี ใครอยากมี “โรงไฟฟ้าอยู่ข้างบ้าน” เมื่อประชาชน เสียงแตก การเกิดขึ้นของโรงไฟฟ้าพลังงานขยะจึง ไม่ใช่เรื่องที่จะด�ำเนินการได้ง่าย ๆ เพราะต้องผ่าน ด่านส�ำคัญ คือ ท�ำอย่างไรให้สังคมและประชาชน ยอมรับให้ได้เสียก่อน
คุณอุดมศักดิ์ แก้วศิริ
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลาวี เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
และประชาชน (ท�ำอย่างไรให้ โรงไฟฟ้าอยู่ร่วมกับชุมชนได้) ข้อควรรู้ ก่อนมีโรงไฟฟ้า พลังงานขยะ เป็นบทความที่ถอด จากการบอกเล่ า ประสบการณ์ ก าร พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานขยะของ คุณอุดมศักดิ์ แก้วศิริ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลาวี เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด และในอีกบทบาทหนึ่ง คือ กรรมการสมาคม
นักวิจัย น�ำเสนอแนวทางการออกแบบและ พิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อ
&
Special Talk
ให้โรงไฟฟ้าพลังงานขยะ อยู่ร่วมกับชุมชนได้ ในงานสัมมนาพลังงานทดแทนเพื่อพัฒนา ประเทศไทย จัดโดย สมาคมนักวิจัย
เรียนรู้และพัฒนา
คุณอุดมศักดิ์ เริ่มต้นด้วยการบอก เล่ า ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ เ รี ย นรู ้ จ ากการท� ำ โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล ก่อนน�ำมาสู่การท�ำ โรงไฟฟ้าพลังงานขยะว่า ในอดีตที่ผ่านมา ประเทศไทยส่งเสริมให้มีโรงไฟฟ้าพลังงาน ชีวมวล โดยเริ่มต้นที่การน�ำแกลบมาใช้เป็น เชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการ ท�ำโรงไฟฟ้าพลังงานแกลบ คือ ในแง่ของ เชื้อเพลิง เมื่อเกิดโรงไฟฟ้าขึ้นท�ำให้เกิดการ แย่งชิงเชื้อเพลิง ระหว่างโรงไฟฟ้ากับโรงงาน ทีใ่ ช้นำ�้ มันเตาเป็นเชือ้ เพลิง ท�ำให้ราคาแกลบ พุ่งสูงขึ้นถึงตันละ 1,600 บาท ในการท�ำโรงไฟฟ้าพลังงานจากแกลบ ท�ำให้พบปัญหาอย่างหนึง่ ว่า ในแกลบมีซลิ กิ า สูงถึง 92-93 เปอร์เซ็นต์ เมือ่ น�ำไปเผาแล้ว เกิด ขี้เถ้าสูง เป็นสาเหตุที่ท�ำให้เกิดการกัดกร่อนที่ ตัวหม้อต้ม (boiler) จึงเป็นทีม่ าของการคิดหา วิธีที่จะลดการกัดกร่อนของบอยเลอร์ ต่อมา พัฒนามาใช้เปลือกไม้ ก็ประสบปัญหาเรื่อง ความชื้น และโดยเฉพาะเปลือกไม้ยูคา หรือ พืชชนิดอื่น ๆ ที่มีกลิ่นฉุน นอกจากจะเจอ ปัญหาเรื่องความชื้นแล้ว ยังมีปัญหาเรื่อง คลอรีน เมื่อน�ำไปเผาจะเกิดสภาพเป็นกรด ที่ จะไปกัดกร่อนบอยเลอร์เช่นกัน จากเปลือกไม้ ได้พัฒนามาสู่การใช้ ทะลายปาล์มเป็นเชื้อเพลิง ในทะลายปาล์ม จะมีโพแทสเซียม หากเผาที่อุณหภูมิสูงจน เกินไป ขี้เถ้าจะละลายกลายเป็นตะกรันเกาะ
ที่ตัวบอยเลอร์ ท�ำให้ต้องหยุดเดินเครื่องเพื่อ ท�ำความสะอาดบ่อย ๆ จากนัน้ ได้มกี ารพัฒนา โดยเอาขยะมาผสมกับชีวมวล เพื่อสร้างทาง เลือกใหม่ ในกรณีเชื้อเพลิงทางเลือกหลัก ขาดแคลน หรือมีราคาสูง ที่ มิ ล าน อิ ต าลี เป็ น ตั ว อย่ า งที่ น ่ า สนใจ เป็นโรงไฟฟ้าที่คนไทยไปสร้างให้ เดิม วางแผนให้เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแกลบ พอ เดินเครื่องได้ประมาณ 1 ปี แกลบหมด เมื่อ แกลบหมดก็ต้องหาพลังงานทางเลือกอื่นมา ใช้ทดแทน ซึ่งก็คือ RDF (Refuse Derived Fuel) พอเริ่มเผา RDF ก็เริ่มเรียนรู้ว่าเผา อย่างไร สิ่งที่พบ คือ PVC ที่ปะปนมามีสาร คลอรีน ลักษณะเหมือนเปลือกไม้ยูคา แต่มี ความรุนแรงกว่ามาก หากมี PVC ปะปนใน
ขยะ เกิน 1 เปอร์เซ็นต์ ถือว่าอันตราย ที่กล่าวมาข้างต้นนั้น คุณอุดมศักดิ์ พยายามจะชี้ให้เห็นว่า โรงไฟฟ้าไม่ใช่จะเผา อะไรก็ได้ จะต้องพิจารณาและเลือกให้เหมาะ สมกับเชื้อเพลิงที่ใส่เข้าไป จากประสบการณ์ ที่ผ่านมา จะท�ำให้เกิดการเรียนรู้ที่จะน�ำไปสู่ การออกแบบโรงไฟฟ้าพลังงานขยะที่จะช่วย ลดทอนปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเทคโนโลยี
ในโรงไฟฟ้าพลังงานขยะก็เช่นกัน ปัจจัยที่จะเป็นตัวก�ำหนดว่า เทคโนโลยีที่ เหมาะสม คือ ลักษณะทางกายภาพของเชื้อ เพลิงขยะเป็นหลัก มีการค�ำนวณปริมาณขยะที่จะต้อง ใช้ในโรงไฟฟ้าขนาด 10 เมกะวัตต์ หากเป็น ขยะสดจะใช้ประมาณ 1,000 ตัน ขณะที่หาก แปลงเป็น RDF แล้ว จะใช้ประมาณ 600 ตัน นอกจากนี้ต้องแบ่งแยกประเภทขยะด้วยว่า เป็นขยะสด หรือขยะจากบ่อฝังกลบ (landfill) หากเป็นขยะสดจากเทศบาล จะมีขยะอินทรีย์ ปะปนประมาณ 40-50 เปอร์เซ็นต์ ที่สามารถ น�ำไปท�ำไบโอแก๊สได้ประมาณ 1 เมกะวัตต์ ดังนั้นขยะ 1,000 ตัน จะสามารถผลิตไฟฟ้า ได้ประมาณ 10+1 เมกะวัตต์ ด้วยความ สามารถของเทคโนโลยี ที่ ดี ที่ สุ ด ในวั น นี้ (ยกเว้น พลาสม่า และแก๊สซิฟิเคชั่น)
August-September 2015, Vol.42 No.242
27 <<<
&
Special Talk จากการค�ำนวณตัวเลขดังกล่าวจะ พบว่า ในประเทศไทย มีพนื้ ทีท่ มี่ ขี ยะเพียงพอ ส�ำหรับขึ้นโรงไฟฟ้าขนาด 10 เมกะวัตต์ได้ มี ไม่ เ กิ น 5-10 แห่ ง นอกจากนี้ สิ่ ง ที่ ต ้ อ ง พิจารณาในล�ำดับถัดมา คือ ประเภทของขยะ และลักษณะทางกายภาพของขยะ ซึ่งเป็น ความท้าทายของโรงไฟฟ้าว่า จะบริหารจัดการ และควบคุมปัจจัยผันแปรเหล่านี้อย่างไร ปัญหาทีเ่ กิดในโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ บ้านเราคือ การ Sampling ขยะ ยกตัวอย่าง โรงไฟฟ้าพลังงานขยะทีภ่ าคใต้ วิศวกรผูอ้ อกแบบได้ขยะ Sampling ที่ 2,200 กิโลแคลอรี่ แต่ขยะที่จะต้องเผาจริงกลับมีค่าความร้อน เพียง 800-1,000 กิโลแคลอรีเ่ ท่านัน้ ท�ำให้เกิด ปัญหาพืน้ ทีใ่ นการเผา และพืน้ ทีร่ บั ความร้อน ไม่พอ ท�ำให้ประสิทธิภาพในการเผาไหม้ไม่ดี ดังนั้นการที่จะตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ต้อง ดูค่าความร้อนของขยะในพื้นที่นั้น ๆ ด้วยว่า มีค่าความร้อนเท่าไหร่ และนอกจากขยะ ปัจจุบนั แล้ว จะต้องมีการคาดการณ์ลว่ งหน้า ว่า พื้นที่ดังกล่าวใน 10-20 ปีข้างหน้า จะมี การเติบโตของชุมชนอย่างไร ดังนั้นการจะท�ำโรงไฟฟ้าสักโรง สิ่ง ที่ต้องท�ำประการแรก คือ การสุ่มตัวอย่าง (sampling) ขยะ โดยการเก็บตัวอย่างขยะใน 2 กลุ่มใหญ่ คือ ขยะจากบ่อฝังกลบ และขยะ ชุมชน น�ำมาหาค่าเฉลีย่ ส�ำหรับโรงไฟฟ้าทีจ่ ะ รับได้ต่อไป อีกประการหนึ่งที่ต้องพิจารณา คือ ระยะทางในการขนขยะไม่ควรเกิน 30-50 กิโลเมตร หากเกินจะเกิดต้นทุนด้านโลจิสติกส์ ขึ้นทันที หากแปลงขยะเป็น RDF การออกแบบโรงไฟฟ้าก็จะง่ายขึ้น แต่ RDF ไม่ใช่ของ ฟรี แต่มตี น้ ทุน และไม่ได้คา่ Tipping Fee แต่ จะได้จากค่าก�ำจัดขยะ ประมาณ 200-1,000 บาทต่อตัน ขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ ส่วนต้นทุน ผลิต RDF จะตกประมาณ 300-600 บาทต่อ ตัน ด้วยคุณสมบัติของขยะเมื่อแปลงเป็น RDF แล้ว น�ำ้ หนักเบา ภายในสมาคมนักวิจยั เองก็มแี นวคิดว่า หากเป็นจังหวัดทีม่ อี าณา เขต ติดต่อกัน ควรมีการจัดการขยะร่วมกัน โดย อาจเลือกจังหวัดที่มีขยะในปริมาณมาก เป็น ที่ตั้งของโรงไฟฟ้า ส่วนจังหวัดใกล้เคียงก็ตั้ง >>>28
August-September 2015, Vol.42 No.242
โรง RDF และขนส่งเข้ามาที่โรงไฟฟ้า แต่ อย่างไรก็ตาม ยังติดปัญหาเรื่องต้นทุนค่า ขนส่ง ในบางประเทศ เช่น สวีเดน จึงแก้ ปัญหาด้วยการอัดเป็นก้อนแทน ส�ำหรับค่า ความร้อนของ RDF จะอยู่ที่ประมาณ 3,0004,000 กิโลแคลอรี่ ส� ำ หรั บ ท� ำ เลที่ เ หมาะสมส� ำ หรั บ โรงไฟฟ้า คือ บริเวณบ่อฝังกลบ เพราะเป็นที่ ที่เจอปัญหาวิกฤตขยะ การท�ำประชาคมจะ ง่ายกว่า และการขนส่งจากแหล่งขยะไป โรงไฟฟ้ า ซึ่ ง จะเจอปั ญ หาเรื่ อ งกลิ่ น เหม็ น และน�้ำเสียจากรถขนขยะ อีกทั้งโรงไฟฟ้าไม่ สามารถเดินเครือ่ งต่อเนือ่ ง ต้องมีการหยุดเพือ่ บ�ำรุงรักษา วันที่โรงไฟฟ้าหยุดเดินเครื่อง แต่ ขยะหยุดรับไม่ได้ หากโรงไฟฟ้าไม่ได้อยู่ใน บริเวณบ่อฝังกลบ จ�ำเป็นต้องสร้างบังเกอร์ ส�ำหรับรองรับขยะอย่างน้อย 1-2 อาทิตย์ ซึ่ง ต้องใช้เงินลงทุนค่อนข้างสูง แต่หากโรงไฟฟ้า อยูใ่ นบริเวณบ่อฝังกลบ ในวันทีโ่ รงไฟฟ้าหยุด เดินเครื่อง ก็สามารถที่จะน�ำขยะไปเก็บไว้ ที่ บ ริ เ วณบ่ อ ฝั ง กลบก่ อ นได้ และที่ ส� ำ คั ญ โรงไฟฟ้าต้องอยู่ใกล้สายส่งไฟฟ้าด้วย
เทคโนโลยีเตาเผา (furnace technology)
ส�ำหรับเทคโนโลยีเตาเผาขยะที่นิยม ใช้ ทั่ ว โลก ประกอบด้ ว ย เตาเผาประเภท Moving Grate เป็นเทคโนโลยีทเี่ หมาะส�ำหรับ ขยะทีม่ คี วามชืน้ ประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ หรือ ขยะที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันมาก ๆ เตาเผา อีกประเภทหนึง่ คือ Rotary Kiln เป็นเตาเผาที่
มีคุณลักษณะพิเศษ คือ ภายในจะมีลักษณะ คล้ายกรงกระรอก สามารถหมุนให้ขยะคลุกเคล้ากันได้ เพือ่ ให้ออกซิเจนเข้าไปช่วยในการ สับดาปได้ดี แต่มีข้อด้อย คือ Moving Part เยอะ ท�ำให้เกิดต้นทุนในการบ�ำรุงรักษาตาม มา ส่วนเตาเผาอีกประเภทหนึง่ คือ Fluidized Bed เป็นเทคโนโลยีที่นิยมใช้ในประเทศจีน เทคโนโลยีนี้พัฒนามาจากโรงไฟฟ้าถ่านหิน วิธีคือ จะเอาขยะไปเผากลางอากาศ เหมาะ ส�ำหรับขยะที่มีคุณสมบัติไม่ต่างกันมาก ส�ำหรับประเทศไทยได้ให้ความสนใจ ในเทคโนโลยี Fluidized Bed เช่นกัน อย่างไร ก็ตาม ต้องพิจารณาองค์ประกอบของขยะ ภายในประเทศว่ า เข้ า กั น ได้ ห รื อ ไม่ เช่ น ขยะอุตสาหกรรมที่ความชื้นไม่มาก อาจใช้ Fluidized Bed ได้ และหากเป็นขยะทีไ่ ม่ผา่ น การคัดแยกใด ๆ Rotary Kiln จึงเป็นทางเลือก ที่ เ หมาะสมกว่ า นอกจากนี้ เ ตาเผาแต่ ล ะ ประเภทยังมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมาก รวมไปถึ ง การเลื อ กใช้ ร ะบบในการบ� ำ บั ด มลพิษที่เหมาะสมและได้มาตรฐาน ทั้งหมด ล้วนมีต้นทุนที่สูง ดังนั้นผู้ลงทุนควรศึกษา รายละเอียดความคุ้มค่าในการลงทุน รวมไป ถึงความต่อเนื่องของนโยบายภาครัฐ และ ที่ส�ำคัญประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม และการ ยอมรับของสังคมและประชาชนยังเป็นสิ่งที่ ภาครัฐบาล ท้องถิ่น และนักลงทุนจะต้อง สร้างความรูค้ วามเข้าใจกับประชาชนในพืน้ ที่ เกิดการยอมรับให้โรงไฟฟ้าพลังงานขยะอยู่ ร่วมกับสังคมไทยได้
&
ซุปเปอร์
Research
ประชาสัมพันธ์ มจธ.
จาก
การจัดอันดับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของเอเชีย 200 อันดับแรก โดย QS Asian Universities Ranking 2015 เมื่อเร็ว ๆ นี้ พบว่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้อันดับที่ 171-180 และอันดับในไทยขยับสูงขึ้นจากปีก่อน จากอันดับที่ 8 มาอยู่ในอันดับที่ 6 มีคะแนนรวม 37.7 นับเป็น ความส�ำเร็จของ มจธ. ที่สามารถพัฒนาศักยภาพได้อย่างโดดเด่นจนสามารถติดอันดับต้น ๆ ในระดับนานาชาติได้ ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นน� ำอื่น ๆ ของประเทศไทย นอกจากผลงานด้านการจัดการเรียนการสอนแล้ว งานวิจัยก็เป็นหนึ่งในผลงานที่เชิดหน้าชูตาของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ โดยนิตยสาร Techo & InnoMag จะขอน�ำเสนอผลงานวิจัยด้านพลังงานทางเลือกที่น่าสนใจมาน�ำเสนอ ดังนี้
ซุปเปอร์เอนไซม์
กว่า 30 ปีที่คณะวิจัยของห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีเอนไซม์ สถาบันพัฒนาและ ฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ (สรบ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ได้ด�ำเนินการ คัดแยกและจ�ำแนกแบคทีเรียเพือ่ ผลิตเอนไซม์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงต่อการย่อยพอลิแซ็กคาไรด์ ในผนังเซลล์พชื ของชีวมวล เพือ่ ใช้ประโยชน์ในด้าน Bio Refinery มาอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะ ในกลุ่มเอนไซม์ย่อยผนังเซลล์พืชจากแบคทีเรีย กระทั่งได้ค้นพบแบคทีเรียที่ผลิตเอนไซม์ที่มี คุณสมบัติที่ดีหลาย ๆ ชนิด โดยเอนไซม์จากแบคทีเรียแต่ละชนิดมีความพิเศษเฉพาะตัวที่ แตกต่างกัน ท�ำให้สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้หลากหลาย เช่น อุตสาหกรรม การผลิตไบโอเอทานอล กรดอินทรีย์ อาหารสัตว์ และก๊าซชีวภาพ เป็นต้น เอนไซม์ย่อยผนังเซลล์พืชที่ขายในท้องตลาดมีประสิทธิภาพต�่ำมากใน การย่อยชีวมวลที่มีการจับตัวกันแน่นของเซลลูโลส จึงต้องใช้สารเคมีต่าง ๆ ใน การปรับสภาพก่อนย่อยต่อด้วยเอนไซม์ ท�ำให้สิ้นเปลืองทั้งค่าสารเคมี และการ ก�ำจัดของเสีย หลังจากความร่วมมือด้านงานวิจัยกับศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์ การเกษตรนานาชาติแห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan International Research Center for Agricultural Sciences: JIRCAS) ภายใต้กระทรวงเกษตรและประมง ประเทศญี่ปุ่น มากกว่า 10 ปี ท�ำให้ค้นพบเชื้อ Clostridium thermocellum S14 ซึ่งผลิตเอนไซม์เชิงซ้อนในกลุ่มที่ย่อยเซลลูโลสที่มีศักยภาพสูงในการ ▲
รศ.ดร.กนก รัตนะกนกชัย
หัวหน้าคณะท�ำงานฯ จากห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีเอนไซม์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ (สรบ.) มจธ.
August-September 2015, Vol.42 No.242
29 <<<
&
Research
ย่อยพอลิแซ็กคาไรด์ในผนังเซลล์พืชของ ชีวมวล และมีประสิทธิภาพดีกว่าเอนไซม์ ทางการค้ า จึ ง ได้ จ ดสิ ท ธิ บั ต รร่ ว มกั น ใน ประเทศญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา เมื่อปี พ.ศ. 2554 เพื่อใช้เอนไซม์จากเชื้อดังกล่าวที่เรียก ว่า “ซุปเปอร์เอนไซม์” (Super Enzyme) ซึ่ง สามารถย่อยสารชีวมวลได้ดี โดยไม่ตอ้ งผ่าน การปรับสภาพ และเปลี่ยนพอลิแซ็กคาไรด์ ในชีวมวลให้เป็นน�ำ้ ตาล เพือ่ ใช้เป็นสารตัง้ ต้น ส�ำหรับงานด้าน Bio refinery รศ.ดร.กนก รัตนะกนกชัย หัวหน้า คณะท�ำงานฯ จากห้องปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยี เอนไซม์ สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงาน ต้นแบบ (สรบ.) มจธ. เปิดเผยว่า “ซุปเปอร์ เอนไซม์” เป็นเอนไซม์ทไี่ ด้จากการเพาะเลีย้ ง แบคทีเรียภายใต้สภาวะไม่ใช้อากาศ ซึง่ แตก ต่ า งจากเอนไซม์ ที่ มี ข ายทั่ ว ไปที่ ไ ด้ จ าก จุ ลิ น ทรี ย ์ ใ นกลุ ่ ม เชื้ อ ราที่ ผ ลิ ต เอนไซม์ ใ น รูปแบบเอนไซม์อิสระ โดยเอนไซม์ที่คัดแยก ได้จากห้องปฏิบัติการฯ เป็นเอนไซม์ที่อยู่ ร่วมกันเป็นกลุ่มก้อน สามารถท�ำงานแบบ ยืดหยุน่ และย่อยวัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร และของเสียจากอุตสาหกรรมการเกษตรได้ อย่างมีประสิทธิภาพภายในเวลาสั้น โดยไม่ ต้องผ่านการปรับสภาพด้วยสารเคมี และ สามารถท�ำงานได้ แม้จะไม่ได้อยูร่ วมกันเป็น ก้อน จึงเป็นเอนไซม์ที่สามารถท�ำงานได้ถึง 2 ต่อ และจากการค้นพบเทคนิคเฉพาะใน การคัดแยกเชื้อ และจากคุณสมบัติจ�ำเพาะ
>>>30
August-September 2015, Vol.42 No.242
▲ ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ เตชะอภัยคุณ
ของ “ซุปเปอร์เอนไซม์” ทีส่ ามารถย่อยสลาย วัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร และของเสียจาก อุตสาหกรรมการเกษตรโดยไม่ต้องผ่านการ ปรับสภาพได้เป็นรายแรก ๆ ของโลก ส่งผลให้ ได้รับความสนใจจากภาคเอกชนที่จะน�ำผล งานวิจยั ไปต่อยอดทางการค้า เช่น IHI Enviro Corporation ซึง่ เป็นบริษทั ทีม่ ชี อื่ เสียงและมี ความช�ำนาญด้านการผลิตก๊าซชีวภาพจาก ประเทศญีป่ นุ่ สนใจและต้องการน�ำแบคทีเรีย ที่ เ จริ ญ ในสภาวะไม่ ใ ช้ อ ากาศ และผลิ ต เอนไซม์ในลักษณะ “ซุปเปอร์เอนไซม์” ไปใช้ ประโยชน์ จึงเกิดเป็นความร่วมมือ 3 ฝ่าย ระหว่าง JIRCA, SIHI Enviro และ มจธ.ขึน้ เมือ่ วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2558 ทีผ่ า่ นมา
ส� ำ หรั บ ก๊ า ซชี ว ภาพนั้ น ผศ.ดร. จั ก รกฤษณ์ เตชะอภั ย คุ ณ หนึ่ ง ในคณะ ท�ำงานกล่าวว่า ปัจจุบันปัญหาของการผลิต ก๊าซชีวภาพ คือ ไม่สามารถผลิตก๊าซชีวภาพ จากสารชี ว มวลที่ เ ป็ น ของแข็ ง ได้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง หากจะใช้ ชี ว มวลแข็ ง จะต้องผ่านการปรับสภาพต่าง ๆ ท�ำให้มี ค่าใช้จ่ายสูง อย่างไรก็ตาม แบคทีเรีย และ “ซุ ป เปอร์ เ อนไซม์ ” ที่ทางคณะฯ ค้นพบ สามารถใช้ชีวมวลแข็งเป็นสารตั้งต้นในการ ผลิตก๊าซชีวภาพได้โดยไม่ต้องผ่านการปรับ สภาพ หรือปรับสภาพในสภาวะที่ไม่รุนแรง ย่นระยะเวลาการย่อยสลาย ซึง่ จะช่วยลดค่า ใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการได้มาก ที่ส�ำคัญ สามารถผลิ ต ก๊ า ซชี ว ภาพจากของเสี ย อุตสาหกรรมเกษตร เช่น ชานอ้อย ฟางข้าว กากมันส�ำปะหลัง ฯลฯ ซึ่งแต่ละปีจะมีของ เหลือทิ้งเหล่านี้จากกระบวนการผลิตเป็น จ� ำนวนมาก ซึ่ งจะเป็ น เรื่ อ งที่ดี ม าก หาก สามารถเปลี่ยนสารเหล่านี้ให้เป็นสารที่มี มูลค่าสูงขึ้น หรือผลิตเป็นพลังงานทดแทน ป้อนกลับเข้าไปใช้ในโรงงานแทนการเผา หรือฝั่งกลบที่ส่งผลให้เกิดมลพิษ ด้วยเหตุนี้ บริษทั IHI ในฐานะบริษทั ทีด่ ำ� เนินธุรกิจผลิต ก๊ า ซชี ว ภาพล� ำ ดั บ ต้ น ๆ ของญี่ ปุ ่ น ซึ่ ง มี เทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพจากของเหลว จึงให้ความสนใจทีจ่ ะน�ำผลงานวิจยั ดังกล่าว ไปต่อยอดเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพจากชีวมวล แข็งต่อไป
&
มิติใหม่
Colorful PV
ผลิตไฟฟ้าได้ สวยด้วย กองบรรณาธิการ
วง
การพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ไ ทยพั ฒ นาอี ก ขั้ น เมื่ อ นั ก วิ จั ย ค้ น พบกระบวนการผลิ ต แผ่ น เซลล์ แสงอาทิตย์ ชนิดมีสี (Colorful PV) เตรียมสร้างมิติใหม่ให้กับวงการอสังหาริมทรัพย์ด้วยแนวคิด อาคารประหยัดพลังงาน ที่ไม่เพียงผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ แต่ยังสามารถรังสรรค์ให้อาคารสถานที่นั้น ๆ มีเอกลักษณ์เฉพาะ (unique) โดดเด่น และสวยงาม
C
olorful PV เกิดจากแนวคิดของ ปตท. ที่ ต้องการหาพลังงานทางเลือกเพื่อ เสิรฟ์ สังคม ขณะเดียวกันภายในองค์กรเองก็ มีการน�ำพลังงานทางเลือกมาใช้เช่นเดียวกัน โดยเฉพาะในสถานีบริการน�้ำมัน ที่ไม่เพียง แต่ต้องการยกระดับให้ เป็น “สถานีบริการ น�ำ้ มันอนุรกั ษ์พลังงาน” แล้ว ยังต้องการสร้าง สถานีนนั้ ให้เป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่อกี ด้วย ดร.ณัฐพงษ์ บริรกั ษ์สนั ติกลุ นักวิจยั ฝ่ายเทคนิคพลังงานประยุกต์และเครือ่ งยนต์ ทดสอบ สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี ปตท. ให้ ข้อมูลถึงเบือ้ งหลังแนวคิดการพัฒนาเทคนิค กระบวนการผลิตโซล่าร์เซลล์ ชนิดมีสี ว่า
จากนโยบายองค์กรทีต่ อ้ งการน�ำพลังงานทาง เลือกมาใช้ภายในองค์กรมากขึน้ ประกอบกับ เมื่อประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา ปตท. ก�ำลังจะ
Inspiration
เปิดสถานีบริการน�้ำมันแห่งใหม่ บนถนน ชั ย พฤกษ์ ใกล้ กั บ คริ ส ตั ล พาร์ ค เพื่ อ เป็ น แลนด์มาร์คแห่งใหม่ ปตท. มีแนวคิดทีจ่ ะติด ตั้งแผงโซล่าร์เซลล์ ณ สถานีบริการแห่งนี้ แต่ ด ้ ว ยโจทย์ ที่ ต ้ อ งการให้ ส ถานี แ ห่ ง นี้ มี เอกลักษณ์ การติดแผงโซล่าร์เซลล์แบบเดิม ๆ จึงไม่ตอบโจทย์ จึงเป็นที่มาของการคิดค้น และพัฒนาโซล่าร์เซลล์แบบใหม่นี้ขึ้นมา เนื่ อ งจากโซล่ า เซลล์ มี ก ารพั ฒ นา รูปแบบการใช้งานในหลาย ๆ แอปพลิเคชั่น โดยเฉพาะการประยุกต์ใช้ในอาคารส�ำนักงานทดแทนผนั ง กระจก โดยเฉพาะใน ต่างประเทศ มีการใช้ในลักษณะ Building Integrated Photovoltaic แต่จะเป็นลักษณะ แผ่นใส ไม่มีสี เนื่องจากเป็นแอปพลิเคชั่น ที่เหมาะกับเมืองหนาว ต้องการให้แสงส่อง ผ่านเข้าในตัวอาคาร เพื่อสร้างความอบอุ่น แต่ส�ำหรับประเทศไทย เนื่องจากเป็นเมือง ร้อน โซล่าร์ แอปพลิเคชั่น ในลักษณะเดียว กับทีใ่ ช้ในต่างประเทศจึงไม่เหมาะสม ดังนัน้ ทางทีมวิจยั จึงได้มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีแผง เซลล์ชนิดผลึกแบบมองทะลุผ่านให้มีสีสัน สวยงาม และลดการส่งผ่านความร้อน ด้วย การใช้กระจกสี เป็น Back Sheet หรือใช้วสั ดุ PVB สีร่วมกับโครงสร้าง เพื่อใช้เป็นวัสดุ ตกแต่งอาคารในขณะที่สามารถผลิตไฟฟ้า ได้ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้รูปแบบ
▲
ดร.ณัฐพงษ์ บริรักษ์สันติกุล
นักวิจัยฝ่ายเทคนิคพลังงานประยุกต์และเครื่องยนต์ทดสอบ สถาบันวิจัยและเทคโนโลยี ปตท.
August-September 2015, Vol.42 No.242
31 <<<
&
Inspiration
ใหม่ และเหมาะสมกับการใช้งานในเขตภูมิ อากาศร้อนชื้นแบบประเทศไทย ในด้ า นเทคนิ ค ดร.ณั ฐ พงษ์ ได้ อธิบายว่า Colorful PV ออกแบบให้มีความ หนาถึง 5 ชัน้ ประกอบด้วย แผ่น Back Glass แผ่น PVB แผ่นเซลล์ แผ่น EVA และแผ่น Cover glass แตกต่างจากแผ่นโซล่าร์เซลล์ ปกติที่มีเพียง 3 ชั้น เนื่องจากต้องใช้เป็น โครงสร้างอาคาร จึงต้องออกแบบให้มคี วาม แข็ ง แรงและปลอดภั ย ขณะเดี ย วกั น ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าไม่ลดลง ส� ำ หรั บ จุ ด เด่ น ของเทคโนโลยี ประกอบด้วย ➲ โครงสร้างแผงเซลล์แสงอาทิตย์ Colorful PV สามารถใช้งานหรือเปลีย่ นแทน กระจกของอาคาร ซึ่งสามารถเลือกสีและ ขนาดได้ตามความต้องการ และสามารถ ผลิตไฟฟ้าได้ ➲ ลดการส่ อ งผ่ า นของแสง UV และ IR ที่ท�ำอันตรายต่อผิวหนังมนุษย์ ➲ ลดการสะท้ อ นของแสงแดดที่ เป็นอันตรายต่อสายตาของผู้ที่อยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง ➲ ป้องกันความร้อนจากภายนอก อาคาร ช่วยลดการใช้พลังงานของเครือ่ งปรับ อากาศ ➲ เพิม ่ มูลค่าและความสวยงามให้ กับอาคาร รวมถึงส่งเสริมภาพลักษณ์ของ องค์ ก รในด้ า นการส่ ง เสริ ม และอนุ รั ก ษ์ พลังงาน ➲ สามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ง านได้ หลากหลาย สิ่งที่ท�ำให้ Colorful PV มีความแตก ต่ า ง คื อ การน� ำ แผ่ น PVB (Poly Vinyl Butyral) ชนิดมีสี มาใช้แทนแผ่น EVA ซึ่ง เป็นแผ่นกาวยางชนิดไม่มสี ี มาใช้เป็นวัสดุใน การช่วยยึดเกาะกระจกเข้าด้วยกัน “กระบวนการผลิตแผงโซล่าร์เซลล์ ทั่วไปจะใช้แผ่น EVA หรือ แผ่นกาวยาง ซึ่ง มีเฉพาะสีใสมาใช้ แต่ในกระบวนการผลิต >>>32
August-September 2015, Vol.42 No.242
โซล่าร์เซลล์แบบใหม่ เราน�ำเอากระบวนการ ผลิตกระจก กับกระบวนการผลิตโซล่าเซลล์ มารวมกัน (merge) เพือ่ ให้ได้แผงโซล่าเซลล์ ออกมา ส่วนเรื่องสี ชั้นที่เป็นสีจะอยู่หลังชั้น แผ่นเซลล์ไปแล้ว จะเกิดจากวัสดุ PVB ซึ่ง มีหลายสี ท�ำให้แผ่นเซลล์มีหลายสีมากขึ้น และสามารถดีไซน์ใส่ลูกเล่นให้แผ่นโซล่า เซลล์ได้” ดร.ณัฐพงษ์ กล่าว ส� ำ หรั บ การผลิ ต ไฟฟ้ า ของโซล่ า ร์ เซลล์ ชนิด Colorful PV ยังคงมีประสิทธิภาพ เฉกเช่ น โซล่ า ร์ เ ซลล์ โ ดยทั่ ว ไป ในเรื่ อ งนี้ ดร.ณัฐพงษ์ อธิบายเพิ่มเติมว่า ข้อดีของ Colorful PV คือ สามารถปรับหรือเลือกชั้น วั ส ดุ อ ะไรก็ ไ ด้ สามารถเลื อ กใช้ เ ซลล์ ที่ มี ประสิทธิภาพสูงหรือต�่ำก็ได้ ขึ้นอยู่กับการ Customize ให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบ การใช้งาน เช่น หากต้องการประสิทธิภาพ ที่ดี ในพื้นที่จ�ำกัด ควรเลือกใช้ แบบ Poly Crystalline ปัจจุบันมีเซลล์ชนิดหนึ่งชื่อ HIT (Heterojunction with Intrinsic Thin Layer) เป็นเซลล์ชนิดใหม่ที่มีประสิทธิภาพในการ ผลิตไฟฟ้าสูงที่สุดในขณะนี้ พัฒนาและมีใช้ ในประเทศญี่ปุ่น ในอนาคตก็จะเป็นอีกตัว เลือกหนึ่งของการติดตั้งในพื้นที่ที่มีอยู่จ�ำกัด หรือในอาคารบางแห่งเน้นสวยงาม และผลิต ไฟฟ้าได้บา้ ง ควรเลือกใช้เซลล์ชนิดฟิลม์ บาง ที่สามารถมองทะลุผ่านได้ เป็นต้น ส�ำหรับนวัตกรรม Colorful PV ทีม วิจัย ปตท. ใช้เวลาในการพัฒนาหนึ่งปีครึ่ง โดยร่ ว มกั บ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารพลั ง งานแสง อาทิตย์ (STL) ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ท�ำ หน้าทีใ่ นการทดสอบทางด้านโครงสร้างและ ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า ปัจจุบนั Colorful PV ถูกน�ำไปทดลอง ติดตัง้ ในหน่วยงานภายใน ปตท. อาทิ ส�ำนักงานใหญ่ ปตท. ถนนวิภาวดีรังสิต โรงคั่ว กาแฟอเมซอน และที่ ส ถาบั น วิ จั ย และ เทคโนโลยี ปตท. อ� ำเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา
“การท� ำ งานในเฟสแรกนี้ ถื อ ว่ า ประสบความส�ำเร็จและเป็นที่ยอมรับของ หน่วยงานภายใน โดยมีการทยอยติดตั้งใน หลายหน่วยงานภายใน นอกจากนี้ ผลงาน ดังกล่าวยังได้รบั ความสนใจจากภาคเอกชน ที่มีความต้องการจะไลเซนส์เพื่อน�ำไปผลิต และจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์แล้วหลายราย” ดร.ณัฐพงษ์ กล่าว Colorful PV นับเป็นนวัตกรรมทาง ด้านพลังงาน ทีส่ ามารถประยุกต์ใช้งานได้ใน หลายแอปพลิเคชั่น ไม่ว่าจะใช้เป็นก�ำแพง ผนังด้านนอกอาคาร หลังคาบ้าน อาคาร หรือ สะพานลอย เป็นต้น ส่งผลให้นวัตกรรม ดังกล่าวได้รบั รางวัล เทคโนโลยีเครือ่ งจักรกล ยอดเยี่ยม รางวัลที่ 1 ประจ�ำปี 2557 สาขา เครื่องจักรกลเพื่อพลังงานและสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังได้รับรางวัลสุดยอดเทคโนโลยี เครื่องจักรกลยอดเยี่ยม (คัดเลือกจากที่ 1 ของ 3 สาขา คือ สาขาเครื่องจักรกลเพื่อ พลังงานและสิง่ แวดล้อม สาขาเครือ่ งจักรกล การผลิต และสาขาเครือ่ งจักรกลการเกษตร) จัดโดย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) Colorful PV จะเป็นจุดเริม่ ต้นในการ ปฏิวตั กิ ารออกแบบและก่อสร้างอาคารสมัย ใหม่ในประเทศไทย ที่ไม่เพียงจะยกระดับ อาคารธรรมดาให้เป็นอาคารอนุรกั ษ์พลังงาน แล้ว ยังน�ำแผง Colorful PV ไปติดทดแทน ผนังกระจก หรือหลังคา เพื่อรังสรรค์ความ เป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่ โดดเด่นให้กบั อาคาร นั้น ๆ ได้ไม่ยาก
&
Management
กลยุทธ์หว่ งโซ่อปุ ทาน
ยุคเศรษฐกิจดิจทิ ลั ด้วย
สภาพการแข่งขันทางธุรกิจที่เผชิญปัจจัยความผันผวนที่ก่อให้ เกิดความเสี่ยง และส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินงานขององค์กร ท�ำให้ผู้ประกอบการให้ความส�ำคัญกับแนวคิดบูรณาการเพื่อสร้างประสิทธิผล การตอบสนองที่สร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า โดยเฉพาะการบริหารโลจิสติกส์ และห่วงโซ่อุปทานเป็นประเด็นเกี่ยวเนื่องกับหลายองค์กร ตั้งแต่ธุรกิจระดับต้นน�้ำ ถึงปลายน�้ำ ดังนั้นการบริหารจัดการที่ดีจะส่งผลให้เกิดการลดความสูญเสีย ใน กระบวนการ โดยห่วงโซ่อุปทานถูกร้อยเรียงเสมือนทุกกระบวนการถูกน�ำมา ต่อเป็นสายโซ่เดียวกัน กล่าวได้ว่า ทุกขั้นตอนมีความต่อเนื่อง ซึ่งไม่สามารถ ปล่อยให้เกิดการหยุดชะงักได้
ตาม
ผลการศึกษาพบว่า องค์กรชั้นน�ำส่วนใหญ่มุ่งประสาน ความร่ ว มมื อ เพื่ อ สร้ า งผลิ ต ภาพการด� ำ เนิ น งาน ซึ่ ง สามารถลดความล่าช้าและความผิดพลาดในการด�ำเนินธุรกรรม การลด ช่วงเวลาน�ำ จัดหา จัดซื้อ และปัญหาของขาดหรือสินค้าล้นสต็อก โดย มีการเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่างองค์กรทั้งระดับต้นน�้ำและปลายน�้ำ ท�ำให้เกิดสมดุลอุปสงค์กับอุปทานด้วยการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการ เข้าถึงข้อมูลเพื่อให้คู่ค้าร่วมใช้ข้อมูลส�ำหรับการวางแผนและควบคุม ท�ำให้เกิดการตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้ลกู ค้า
การวางแผนพยากรณ์ร่วมกัน
โดยทั่วไปความเสี่ยงในการพยากรณ์ เกิดจากความคลาด เคลื่อนระหว่างการคาดการณ์กับอุปสงค์ แท้จริงนั่นคือ หากคาด-
โกศล ดีศีลธรรม
การณ์ต�่ำเกินไปจะส่งผลให้จัดเตรียมสินค้าไว้ไม่พอจ�ำหน่ายและ สูญเสียโอกาสสร้างรายได้ให้กับธุรกิจ แต่หากคาดการณ์สูงเกินไปก็ จะส่งผลต่อภาระจัดเก็บสต็อกและการเสื่อมค่าของสินค้า ความคลาดเคลือ่ นในการพยากรณ์จะส่งผลกระทบการบริหาร ห่วงโซ่อุปทาน เช่น เมื่อเริ่มมีค�ำสั่งซื้อจากร้านค้าปลีกไปยังผู้ส่งมอบ ก็จะแสดงข้อมูล เพื่อแจ้งสถานะค�ำสั่งซื้อ ท�ำให้คู่ค้า ผู้ค้าปลีก ผู้ส่ง มอบ และผู้ผลิตทราบสถานะเพื่อวางแผนจัดเตรียมให้สอดคล้องกับ ปริมาณอุปสงค์ แต่ปัญหาคือ เมื่อมีค�ำสั่งซื้อจากลูกค้าเข้ามา ก็จะส่ง ข้ อ มู ล ไปยั ง ผู ้ ส ่ ง มอบเพื่ อ จั ด หาของและส่ ง มอบให้ ลู ก ค้ า หาก เกิดความล่าช้าทางข้อมูลก็จะส่งผลต่อสมรรถนะ หรืออัตราการ ตอบสนองลูกค้า เนื่องจากผู้ส่งมอบส่วนใหญ่ได้รับค�ำสั่งซื้อที่ไม่ แน่นอน และเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง ท�ำให้เกิดความผันผวนมากและ เกิดปรากฏการณ์แส้หวด (bullwhip effect) ความผันผวนทีเ่ กิดขึน้ จะ ถูกส่งผ่านเครือข่ายห่วงโซ่อุปทาน ดังนั้นข้อมูลจากทุกส่วน อาทิ ประวัติการขาย ค�ำสั่งซื้อจากลูกค้า การพยากรณ์ยอดขาย ข้อมูล ส่งเสริมการขาย ข้อมูลสินค้าที่จัดส่งจริง และปัจจัยอื่น ๆ จ�ำเป็นต้อง อัปเดตข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์และวางแผนอุปสงค์ (demand planning) ให้ใกล้เคียงและเหมาะสมที่สุด การบริหารห่วงโซ่อุปทานภายใต้ความผันผวนถือเป็นโจทย์ ปัญหาของผูบ้ ริหารงานโลจิสติกส์ทมี่ สี ายห่วงโซ่อปุ ทานยาวและความ August-September 2015, Vol.42 No.242
33 <<<
&
Management ไม่แน่นอนในอุปสงค์ ซึ่งปัญหาพื้นฐานสามารถแก้ไขด้วยการสร้าง ความร่วมมือระหว่างคู่ค้าและการพยากรณ์โดยการเฉลี่ยความเสี่ยง เพื่อก�ำหนดจุดสั่งซื้อด้วยเครื่องมือสนับสนุน อาทิ ระบบบริหารสต็อก โดยผู้จ�ำหน่าย (vendor managed inventory) หรือ VMI ระบบการ เติมเต็มอย่างต่อเนื่อง (continuous replenishment program) การ วางแผนพยากรณ์และเติมเต็มสินค้าร่วมกัน (collaborative planning forecasting and replenishment) หรือ CPFR ซึ่งต้องสนับสนุนให้ เกิดความร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดกับผู้ส่งมอบและผู้ผลิต โดยยึดตาม ความต้องการลูกค้าเป็นหลัก โดยการให้ผู้ส่งมอบมีส่วนร่วมสร้าง ประโยชน์รว่ มกันทุกฝ่ายแบบ Win-Win เพือ่ ให้เกิดความแข็งแกร่งใน การแข่งขัน ซึ่งมุ่งความร่วมมือปรับปรุงประสิทธิภาพเครือข่ายห่วง โซ่อุปทาน โดยน�ำเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการพยากรณ์และ บริหารสินค้าคงคลังให้ตอบสนองลูกค้าทีร่ วดเร็ว และเกิดการไหลของ งานอย่างต่อเนื่อง ผู้จ�ำหน่ายเสื้อผ้าแฟชั่นรายหนึ่งที่มีสาขาทั่วโลกได้ใช้ระบบ โลจิสติกส์และเครือข่ายห่วงโซ่อุปทานซึ่งส่งข้อมูลการขายที่ร้านค้า แต่ละสาขาสู่ส�ำนักงานใหญ่เพื่อพยากรณ์ยอดขาย เมื่อได้ข้อมูล ยอดขายแล้วจะส่งค�ำสั่งซื้อไปยังผู้ผลิตทั่วโลกโดยใช้ฮ่องกงเป็น ศูนย์รวบรวมสินค้า เพื่อเตรียมส่งไปยังศูนย์ที่สหรัฐอเมริกา ศูนย์นี้จะมีการติดราคาและคัดเลือกสินค้าเพื่อจัดส่งไปยัง สาขาโดยรถบรรทุกและเครื่องบิน รูปแบบความร่วมมือการวางแผน พยากรณ์ร่วมกันได้สนับสนุนกระบวนการรับค�ำสั่งซื้อ การคลังสินค้า และก�ำหนดแผนจัดส่งที่มีประสิทธิผล ซึ่งคู่ค้าจะร่วมใช้ข้อมูลระบบ บริหารสต็อกโดยผู้จ�ำหน่าย หรือ VMI เพื่อตอบสนองการเติมเต็ม ค�ำสั่งซื้อ (order fulfillment) โดยผู้ส่งมอบหรือผู้ค้าส่งจะด�ำเนินการ บริหารสต็อกให้กับร้านค้าปลีกเพื่อสร้างความมั่นใจว่า ระดับสต็อก ร้านค้าปลีกจะได้รับการเติมเต็มอัตโนมัติโดยใช้ระบบจัดเก็บข้อมูล ด้วยสแกนเนอร์ ณ จุดขายเมื่อลูกค้าซื้อสินค้าในร้านแล้วมาช�ำระเงิน ที่เคาน์เตอร์และข้อมูลที่ผ่านเครื่องอ่านบาร์โค้ดได้ถูกหักจากยอด สต็อก ท�ำให้ผสู้ ง่ มอบสินค้าทราบความเปลีย่ นแปลงระดับสต็อกแบบ เวลาจริง และสามารถวางแผนการส่งมอบที่มีประสิทธิผล รวมทั้ง รักษาระดับคุณภาพสินค้าที่ส่งมอบ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอาหารที่เน้นความสดของสินค้า เมื่อ ระดับสต็อกลดลงถึงจุดสั่งซื้อก็จะออกค�ำสั่งซื้อไปยังผู้ส่งมอบโดย อั ต โนมั ติ เ พื่ อ ให้ จั ด ส่ ง สิ น ค้ า ทั้ ง นี้ ผู ้ จ� ำ หน่ า ยจะใช้ ข ้ อ มู ล ดั ง กล่ า ว คาดการณ์ แ นวโน้ ม อุ ป สงค์ สิ น ค้ า แต่ ล ะประเภท รวมถึ ง วางแผน ก�ำหนดการผลิตและสนับสนุนกระบวนการจัดหาจัดซื้อ เพื่อส่งมอบได้ ทันด้วยการเข้าถึงระบบข้อมูลส�ำคัญ อาทิ อัตราการหมุนของสต็อกสินค้า อัตราการคืนสินค้า มูลค่ายอดขายที่จ�ำแนกตามประเภทสินค้า เป็นต้น
ระบบจัดหาจัดซื้อ
ประเด็นการจัดหาจัดซือ้ ยุคใหม่ ได้เน้นการสืบค้นรายละเอียด สินค้าและบริการผ่านทางระบบออนไลน์ (e-procurement) ที่มุ่ง >>>34
August-September 2015, Vol.42 No.242
ปรับปรุงประสิทธิภาพโดยใช้ซอฟต์แวร์สนับสนุนตัง้ แต่การจัดหาทาง แคตตาล็อกออนไลน์และแสดงข้อมูลบนเว็บไซต์ ผู้ใช้งานสามารถ สืบค้นข้อมูลและติดตามสถานะการจัดซื้อทางเว็บไซต์ รวมถึงจัดท�ำ ใบเรียกเก็บเงินทางเว็บด้วยออนไลน์ฟอร์ม ท�ำให้ลดต้นทุนงานเอกสาร และขจัดความสูญเปล่างานธุรกรรม ดังกรณีอุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ได้เชื่อมโยงเครือข่าย ผูส้ ง่ มอบด้วยระบบออนไลน์ ท�ำให้ทราบระดับสต็อกสินค้าและจัดส่ง สินค้า เมื่อสต็อกถึงจุดสั่งซื้อ ตลอดจนส่งเอกสารเรียกเก็บเงินใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ฟอร์มทันทีหลังการส่งมอบ องค์กรชั้นน�ำหลาย แห่ง น�ำเทคโนโลยีสนับสนุนการออกค�ำสั่งซื้อด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยออกค�ำสั่งซื้อ (computer aided ordering) หรือ CAO เพื่อ ปรับปรุงประสิทธิภาพงานธุรกรรม ท�ำให้ลดความล่าช้าในการออก ค�ำสั่งซื้อระหว่างผู้ส่งมอบกับผู้จัดซื้อและลดต้นทุนธุรกรรมจัดหา จัดซือ้ โดยเฉพาะการออกค�ำสัง่ ซือ้ รายการจ�ำเป็นในปริมาณทีต่ อ้ งการ ใช้จริงและการร่วมพันธมิตรระหว่างคูค่ า้ กับผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ เพือ่ ให้เกิดความประหยัดจากขนาดการจัดส่ง ดังกรณี ฟอร์ดร่วมมือกับ นิสสันสร้างเครือข่ายระบบจัดหาจัดซื้อทางออนไลน์เพื่อลดต้นทุน ธุรกรรมและใช้บริการ UPS เพื่อติดตามการเคลื่อนย้ายสินค้าจาก โรงงานไปยังตัวแทนจ�ำหน่าย โดยแต่ละปีสามารถติดตามสินค้า ประเภทรถยนต์และรถบรรทุกได้กว่า 4 ล้านคัน ด้วยระบบบาร์โค้ด และอินเทอร์เน็ต ตัวแทนจ�ำหน่ายสามารถเข้าสู่เว็บไซต์เพื่อติดตาม สถานะค�ำสั่งซื้อในระบบกระจายสินค้ารวมทั้งลูกค้าสามารถติดตาม ค�ำสั่งซื้อและท�ำให้ทราบก�ำหนดการรับสินค้าที่สั่งซื้อผ่านทางระบบ e-Commerce B2B
ผู้ส่งมอบ e-Trade
ผู้ผลิต
B2B e-Trade
e-SCM
ช่องทางธุรกรรมออนไลน์
ผู้ค้าปลีก
B2C ลูกค้า
C2C ลูกค้า
ส่วนผู้ประกอบการไทยอย่าง บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) เห็นถึงความส�ำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน ของตัวแทนจ�ำหน่าย ซึ่งเป็นคู่ค้าหลักของบริษัท จึงได้น�ำระบบ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ PDA มาช่วยในโครงการ Van Sales Automation (VSA) บริหารร้านค้าและรถเร่ ช่วยให้พนักงานปฏิบัติงาน เป็นไปตามขั้นตอน ทั้งยังช่วยเพิ่มการควบคุมและปรับปรุงระบบ รายงานเกีย่ วกับร้านค้าทีร่ บั บริหารดีขนึ้ เช่น มีสนิ ค้าอะไรบ้าง ขายไป เท่าไหร่ รวมทัง้ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงานตัวแทน
&
Management การบริหารคลังสินค้า
การบริหารคลังสินค้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบโลจิสติกส์ที่ เชื่อมต่อกับกิจกรรมห่วงโซ่อุปทาน ดังนั้นการเลือกขนาดคลังสินค้าที่ เหมาะสมจะช่วยให้องค์กรมีโครงสร้างสนับสนุนการไหลของสินค้า ดังกรณีผดู้ ำ� เนินธุรกิจค้าปลีกวัสดุกอ่ สร้าง ซึง่ มีการขยายสาขาต่อเนือ่ ง ช่วงที่ผ่านมา แต่ละสาขาต้องมีภาระการจัดการคลังสินค้าและรับ สินค้าจากคู่ค้ากว่า 200 ราย ทางผู้บริหารมีแนวคิดสร้างคลังสินค้า กลางและจัดตั้งศูนย์โลจิสติกส์ใกล้กับโชว์รูม เพื่อกระจายสินค้าให้ สาขาต่าง ๆ โดยศูนย์กระจายสินค้าสามารถจัดเก็บสินค้ากว่า 20,000 พาเลท ช่วยลดภาระร้านสาขาทีต่ อ้ งแบกรับสินค้าคงคลัง สามารถลด ขั้นตอนและการส่งสินค้าจากโรงงานคู่ค้าหรือผู้ส่งมอบให้ส่งที่ศูนย์ กระจายสินค้าแห่งเดียว ซึ่งเป็นการช่วยให้ร้านสาขาใช้พื้นที่จัดเก็บ สินค้าเพือ่ ส่งมอบให้ลกู ค้าได้หลากหลาย แทนการแบกภาระรับสินค้า เก็บไว้ในสาขาเอง โดยมีการเติมเต็มสินค้ารวดเร็วและรับประกันการ ส่งสินค้าให้สาขาได้ภายใน 24 ชัว่ โมง ทัง้ ยังน�ำซอฟต์แวร์ระบบบริหาร คลังสินค้า (warehouse management system) ช่วยบริหารจัดการ ด้านคลังสินค้า และแจ้งเตือนการเติมเต็มสินค้าอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังใช้ระบบ WMS ร่วมกับ Barcode ติดบนสินค้า เมื่อเข้าสู่เครื่องสแกนจะแจ้งไปยังศูนย์กระจายสินค้าทันที พร้อมทั้ง ประมวลผลการสัง่ งานผ่านเครือข่ายไร้สาย ส�ำหรับสินค้าทีเ่ ริม่ ล้าสมัย ระบบจะแจ้งเตือนให้ลดราคา ซึ่งอาจอยู่ในคลังสินค้าหรือร้านสาขา เพื่อช่วยลดพื้นที่การจัดเก็บ จ�ำหน่ายและได้รับข้อมูลรวดเร็วที่น�ำไปใช้วิเคราะห์เพิ่มช่องทางจัด จ�ำหน่ายอย่างแม่นย�ำ ถือเป็นการเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางธุรกิจ ให้กับตัวแทนจ�ำหน่ายขณะที่พนักงานประจ�ำรถ เมื่อใช้เครื่อง PDA สามารถน�ำเสนอราคาและขายสินค้าให้ลูกค้าได้ถูกต้องและรวดเร็ว รวมถึงประมาณการสินค้าทีข่ นขึน้ รถเร่ไปจ�ำหน่ายอย่างเหมาะสม โดย สามารถลดขั้นตอนงานเอกสาร และสร้างโอกาสต่อยอดทางธุรกิจ มากขึน้ นอกจากนีร้ า้ นค้าทีล่ งระบบดังกล่าวสามารถเข้าไปช่วยระบบ หลังร้าน เช่น การจัดคลังสินค้าให้มีประสิทธิภาพเพื่อให้สามารถ หมุนเวียนสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลให้ก�ำไรเพิ่มขึ้น นอกจากนีธ้ รุ กิจชัน้ น�ำของไทยทีม่ เี ครือข่ายธุรกิจค้าปลีกและ โรงแรมหลายแห่งได้เห็นความส�ำคัญการน�ำเทคโนโลยีมาใช้บริหาร จัดการโดยเฉพาะระบบงานเอกสารในการติดต่อคู่ค้าจ�ำนวนมาก แต่เดิมใช้การส่งผ่านแฟกซ์ บางครัง้ ขาดความชัดเจน ท�ำให้เกิดความ ผิ ด พลาดมาก ทางกลุ ่ ม ผู ้ บ ริ ห ารได้ ร ่ ว มกั บ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารพาณิ ช ย์ อิเล็กทรอนิกส์ พัฒนาระบบการรับ-ส่งข้อมูล เป็นระบบแลกเปลี่ยน ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EDI ส่งผลให้การท�ำธุรกรรมระหว่างองค์กร กับคู่ค้ารวดเร็วขึ้น สามารถลดค่าใช้จ่ายเอกสารและความผิดพลาด ในระบบข้อมูล รวมทั้งน�ำระบบบริหารสต็อกโดยผู้จ�ำหน่าย หรือ VMI มาใช้ทำ� ให้ลดการสต็อกสินค้าลงหลายเท่าตัว ทางกลุม่ ธุรกิจดังกล่าว เร่งพัฒนาร่วมกับคู่ค้าให้เป็นระบบไร้เอกสาร
ส�ำนักงานใหญ่ สารสนเทศ การขาย ระบบการ พยากรณ์
โรงงาน/ผู้ผลิต ระบบวางแผนตาราง การผลิตล่วงหน้า (APS) ระบบปฏิบัติการและ ติดตามการผลิต (MES)
EDI/Internet
EDI/Internet
EDI/Internet ศูนย์แลกเปลี่ยน สารสนเทศ
ระบบบริหาร ปฏิบัติการ
EDI/Internet
คู่ค้า
POS/Scanner
ระบบบริหาร การขนส่ง
ร้านค้าปลีก
EDI/Internet/RFID ระบบบริหารคลัง สินค้า (WMS)
ระบบบริหารคลัง สินค้า (WMS)
RFID
RFID
สแกนเนอร์
สแกนเนอร์
แนวคิดบูรณาการเทคโนโลยีสนับสนุนห่วงโซ่อุปทาน
เทคโนโลยีสนับสนุนการขนส่ง
ปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ไ ด้ มี บ ทบาทสนั บ สนุ น การด� ำ เนิ น งาน และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กบั ธุรกิจ โดยผูบ้ ริหารองค์กร ควรพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับกระบวนการธุรกิจ August-September 2015, Vol.42 No.242
35 <<<
&
Management เนื่องจากการขนส่งสินค้า จ�ำเป็นต้องมีการวางแผนเส้นทางขนส่ง เพือ่ ประหยัดค่าใช้จา่ ยทีต่ อ้ งสูญเสียกับการเดินทางผูป้ ระกอบการควร ท� ำ อย่ า งไรให้ ร ถส่ ง สิ น ค้ า สามารถส่ ง ของได้ ห ลายแห่ ง และใช้ ประโยชน์รถวิ่งเที่ยวกลับมากขึ้น ดังนัน้ ระบบบริหารการขนส่ง (transportation management system) หรือ TMS มีหน้าที่หลัก คือ การจัดสรรรถบรรทุก การจัดเส้น ทางเดินรถ ก�ำหนดตารางการจัดส่ง ติดตามการจัดส่งและประเมิน ต้นทุนจัดส่ง โดยฐานข้อมูลหลักระบบ TMS ประกอบด้วย เส้นทาง การเดินรถ จุดพักจอดรถ เส้นทางแวะรับส่งสินค้า อัตราการใช้ เชื้อเพลิงระยะทางวิ่งที่เหมาะสมของรถแต่ละประเภท และตาราง เวลารถเข้า-ออก รวมทั้งระบบติดตามต�ำแหน่ง (GPS) ติดตั้งในรถส่ง สินค้า เพือ่ ติดตามคนขับรถไม่ให้ขบั รถนอกเส้นทางและวิเคราะห์เส้น ทางเดินรถ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการขนส่ง ทั้งนี้ผู้ประกอบการยัง น�ำเทคโนโลยีเพื่อสร้างความปลอดภัย การจัดส่งที่สามารถติดตาม สถานะสินค้าตั้งแต่ต้นทางสู่ปลายทาง ด้วยเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล โดยสามารถตรวจจับและป้องกันความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ ด้วยระบบ บ่งชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ (Radio Frequency Identification) หรือ RFID สามารถติดตามและสอบกลับแหล่งที่มา (traceability) หากสินค้าเกิดปัญหาก็สามารถสืบย้อนกลับหาสาเหตุปัญหาและ เรียกคืนสินค้าที่มีปัญหาได้เมื่อต้องการ ท�ำให้ผู้ประกอบการขนส่งสามารถให้บริการแจ้งกับลูกค้า ทุกเที่ยวที่ท�ำการส่งของเรียบร้อย เช่น แถบป้าย RFID ติดตั้งที่ รถบรรทุก เมือ่ รถบรรทุกเข้ามายังศูนย์บริการ เครือ่ งอ่าน RFID ทีป่ ระตู จะระบุตัวรถและแจ้งการมาถึงผ่านระบบไร้สาย ผู้ดูแลจะก�ำหนดว่า รถต้องไปเทียบท่าที่ไหน โดยคนขับรถจะได้รับค�ำสั่งผ่านระบบที่ติด ตั้งภายในรถ ท�ำให้ทุกฝ่ายทราบสถานะสินค้าว่าอยู่ต�ำแหน่งหรือ ขัน้ ตอนใด เพือ่ สนับสนุนการวางแผนแบบทันเวลาพอดี ทัง้ ยังสามารถ ปรับปรุงการจัดตารางเดินรถ การบริหารสินค้าคงคลังและจ�ำนวน แรงงาน หรือจ�ำนวนรถขนส่งที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
>>>36
August-September 2015, Vol.42 No.242
การประยุกต์ ใช้ RFID
(ที่มา:เชษฐา อุดมวงศ์ สืบค้นจาก http://www.rfid.in.th) นอกจากนี้ ผู ้ ป ระกอบการภาคการผลิ ต ได้ มี ก ารใช้ ร ะบบ บาร์โค้ดร่วมกับ GPS เพือ่ ติดตามบรรจุภณ ั ฑ์ เนือ่ งจากระบบดังกล่าว มีคา่ ใช้จา่ ยไม่สงู เกินไป และสนับสนุนการป้องกันบรรจุภณ ั ฑ์สญ ู หาย ทั้งยังสามารถติดตามพฤติกรรมพนักงานขับรถ โดยหลักการท�ำงาน จะด�ำเนินการด้วยการติดบาร์โค้ดไว้บนบรรจุภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง เมื่อ น�ำบรรจุภัณฑ์เข้าออกจากโรงงานและผู้ส่งมอบชิ้นส่วนจะท�ำการ สแกนบาร์โค้ดทีต่ วั บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ บันทึกข้อมูลการน�ำเข้าและส่งออก ระบบจะบอกสถานะบรรจุภัณฑ์ว่าอยู่ที่ส่วนใดในเครือข่ายหรือก�ำลัง อยู่ระหว่างขนส่ง รวมทั้งจ�ำนวนบรรจุภัณฑ์และบอกรายระเอียด ครบถ้วน ดั ง นั้ น การน� ำ ระบบบาร์ โ ค้ ด ร่ ว มกั บ GPS เพื่ อ ติ ด ตาม บรรจุภัณฑ์ท�ำให้เกิดผลิตภาพ อาทิ การติดตามบรรจุภัณฑ์ว่า ถูก จัดส่งหรือตกค้างอยู่ที่ใด เพื่อป้องกันปัญหาบรรจุภัณฑ์ไม่เพียงพอ และป้องกันบรรจุภณ ั ฑ์สญ ู หายหลังจากใช้งาน หรือหากมีการสูญหาย ก็ ส ามารถทราบปั ญ หาได้ ทั น ที รวมทั้ ง ข้ อ มู ล เกิ ด การเชื่ อ มโยง ระหว่างคู่ค้าและผู้ให้บริการโลจิสติกส์เพื่อบริหารการขนส่งอย่างมี ประสิทธิผล เอกสารอ้างอิง 1. Charles C. Poirier, Using Models to Improve the Supply Chain, St. Lucie Press, 2004. 2. McClellan, Michael, Collaborative Manufacturing: Using Real-time Information to Support the Supply Chain, St. Lucie Press, 2003. 3. Mckie, Stewart, E-business Best Practices: Leveraging Technology for Business Advantage, John Wiley &Sons , 2001. 4. Shinohara, Isao, New Production System : JIT Crossing Industry Boundaries, Productivity Press,1998. 5. Turban, McLean and Wetherbe, Information Technology for Management: Transforming Business in the Digital Economy. John Wiley & Sons, 2002. 6. โกศล ดีศีลธรรม, นวัตกรรมเทคโนโลยีสนับสนุนการด�ำเนินงาน แห่ ง สหั ส วรรษ, ศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ (NECTEC), 2548. 7. โกศล ดีศีลธรรม, การวางแผนปฏิบัติการโลจิสติกส์ส�ำหรับโลก ธุรกิจใหม่, ส�ำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์, 2551. 8. โกศล ดีศลี ธรรม, โลจิสติกส์และห่วงโซ่อปุ ทานส�ำหรับการแข่งขัน ยุคใหม่, ส�ำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์, 2551. 9. http://www.rfid.in.th 10. http://www.thaibev.com
&
Electrical & Electronic
ตอนที่ 3
การทดสอบและทวนสอบ การติดตั้งระบบไฟฟ้าแรงดันต�่ำเพื่อความปลอดภัย แปลและเรียบเรียงโดย สุพจน์ ตุงคเศรวงศ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายเครื่องมือมาตรวิทยา บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จำ�กัด
(ต่อจากฉบับที่แล้ว) อันตรายจากระบบติดตั้งทางไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าที่อันตรายต่อร่างกาย
ระบบติดตัง้ ทางไฟฟ้า คือ ต้นก�ำเนิดของอันตรายหลายอย่าง มี 2 อย่างที่เป็นอันตรายมากที่สุด คือ 1. เกิดความร้อนมากเกินไป โดยเกิดการแผ่ความร้อนออก มากไป หรือฉนวนบกพร่อง เสีย ในอุปกรณ์ทตี่ ดิ ตัง้ และอุปกรณ์ไฟฟ้า 2. แรงดันไฟฟ้าที่สัมผัสถูกสูงเกินไป โดยเกิดบนส่วนตัวน�ำ ไฟฟ้าที่สัมผัสถูกได้ และตามมาด้วยการมีกระแสอันตรายไหลผ่าน ร่างกายได้
ในทีน่ จี้ ะกล่าวถึงอันตรายจากแรงดันไฟฟ้าผิดพร่อง และเป็น เหตุให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ แม้กระแสไฟฟ้าจะมี ปริมาณเล็กน้อยในระดับมิลลิแอมป์ (mA) ก็สามารถมีอันตรายได้ ระยะเวลาที่กระแสไหลผ่านร่างกายก็เป็นสิ่งส�ำคัญเช่นกัน กราฟที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณกระแสไฟฟ้า กับระยะเวลา และอิทธิพลกระทบต่อร่างกายมนุษย์
ปัญหาทั้ง 2 สามารถเกิดรุนแรงต่อเนื่อง อุบัติเหตุยังคงเกิด ขึ้นทุกวัน ตารางที่ 1 แสดงจ�ำนวนอุบตั เิ หตุการตายจากไฟฟ้าในเยอรมนี จ�ำนวนยังมากอย่างสังเกตได้ แม้ว่าเยอรมนีจะเป็นประเทศหนึ่งที่มี ความเข้มงวดเรื่องกฎระเบียบด้านความปลอดภัย และได้สร้างระบบ ความปลอดภัยก้าวหน้าอย่างมากในช่วง 10 ปีหลังมานี้ โชคไม่ดีที่มี แนวโน้มไม่ดนี กั ในประเทศทีก่ ฎระเบียบเข้มงวดน้อยกว่าและไม่ใส่ใจ ค่าใช้จา่ ยและราคาค่าอุบตั เิ หตุทตี่ ามมาและความเสียหาย เมือ่ เปรียบ เทียบกับการติดตั้งทางไฟฟ้าจะมีมากกว่าการลงทุนกับการออกแบบ ที่เหมาะสม การบ�ำรุงรักษาและการทดสอบเป็นอย่างมาก
กราฟที่ 1
ประชากร ปริมาณการใช้ไฟฟ้า จำ�นวนคนตายจากอุบัติเหตุทางไฟฟ้า
ปี 1950 10 ล้าน 50 TWh 270
ปี 1975 60 ล้าน 300 TWh 215
ปี 2000 80 ล้าน 500 TWh 100
ตารางที่ 1 จำ�นวนคนตายจากอุบัติเหตุทางไฟฟ้าในเยอรมนี (ที่มา: VDEW Frankfurt) August-September 2015, Vol.42 No.242
37 <<<
&
Electrical & Electronic ในพื้นที่ที่ 1 ไม่มีปัญหา เพียงรู้สึกว่าถูกไฟฟ้าดูด ในพื้นที่ที่ 2 เกิดปฏิกิริยารุนแรง กล้ามเนื้อหดตัว รู้สึกเจ็บ “ขยับตัวไม่ได้” ในพื้นที่ที่ 3 (อาจถึงตาย) มีปัญหากับการหายใจ เกิดการ กระตุกกล้ามเนื้อหัวใจ หัวใจหยุดชะงัก ในพื้นที่ที่ 4 (เหมือนตาย) อวัยวะไหม้ หัวใจหยุดชะงัก มาตรฐานสากล IEC 61140 ได้นิยามค่าสูงสุดที่ยอมให้ได้ กับความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับแรงดันไฟฟ้าที่สัมผัส ดังตารางที่ 2 แรงดันผิดพร่อง (Voltage: Uc) /ระยะเวลาสูงสุดที่สัมผัส (Maximum time of Exposure: S Second: วินาที) Maximum Time of Exposure >5s to ∞ < 0.4s < 0.2s <0.04s
Voltage Uc≤ 50VAC or ≤120VDC Uc≤ 115VAC or ≤1800VDC Uc≤ 200VAC Uc≤ 250VAC
ตัวอย่างการเกิดความร้อนเกินในระบบไฟฟ้า
ในภาพที่ 2 จะแสดงให้เห็นว่า การเกิดความร้อนเกินไปใน ต�ำแหน่งใช้งานได้อย่างไร
ตารางที่ 2
จะเห็นได้ว่า ขีดจ�ำกัดเวลาในตารางที่ 2 จะมีความสัมพันธ์ อย่างใกล้ชิดกับขีดจ�ำกัดเวลาของการตัดวงจรไฟฟ้าของอุปกรณ์ตัด วงจรไฟฟ้า เมื่อมีกระแสรั่วไหลมากผิดปกติเกิดขึ้น (RCCD, RCBO, etc)
ภาพที่ 2 ต้นกำ�เนิดความร้อนเกิน
เช่น
1. เมื่อเกิดความผิดพร่องในบางต�ำแหน่งของระบบไฟฟ้า
ฉนวนเสือ่ มเสียระหว่างสายเส้นน�ำไฟกับสายดิน (PE : 1) สายน�ำไฟกับสายศูนย์ (N : 2) ➲ อุปกรณ์ไฟฟ้าเสือ ่ มเสีย (3) เกิดลัดวงจร ติดขัด ท�ำงานไม่ ปกติ ฯลฯ 2. ผลที่เกิดขึ้น คือ กระแสผิดพร่องก็จะเริ่มไหลผ่านระบบ ไฟฟ้า ถ้าการติดตั้งหรือชิ้นส่วนของอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ได้ออกแบบให้มี ขนาดเพียงพอต่อขนาดกระแสไฟฟ้าผิดพร่อง ก็จะท�ำให้เกิดความร้อน สูงเกินไป แล้วสิ่งที่เกิดตามมาก็คือ เกิดไฟไหม้ขึ้น ภาพที่ 3 ระบบ TN-C
➲
(อ่านต่อฉบับหน้า) อ้างอิงจากเอกสาร: Guide for Testing and Verification of Low Voltage Installations ของ METREL
>>>38
August-September 2015, Vol.42 No.242
&
Production
(ตอนที่ 1)
เทคนิคประหยัดพลังงาน และลดต้นทุน
การผลิตด้วยเครื่องปั๊มเซอร์โว (energy saving and cost reduction by servo press application)
ค่า
ใช้จ่ายด้านพลังงาน เป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนการผลิตที่มี แนวโน้มสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ ซึ่งก็มีส่วนผลักดันให้ผู้เกี่ยวข้อง ทัง้ หลายตระหนักถึงเรือ่ งนี้ และท�ำให้มกี ารวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ พลังงานต่าง ๆ ที่อยู่รายรอบตัวเราอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา เพื่อให้ สามารถลดการใช้พลังงานให้น้อยลงกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรือใช้ ในรูปแบบที่เป็นพลังงานทางเลือกหรือทดแทนที่สามารถแข่งขันได้ กับรูปแบบเดิมที่มีอยู่ ทั้งนี้อัตราเร่งที่ท�ำให้งานที่พัฒนาไว้แล้วถูกน�ำมาใช้จริง คือ ราคาของพลังงานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด ตัวอย่างการพัฒนาที่เห็นได้ชัดเจนในปัจจุบัน คือ เชื้อเพลิงที่ใช้กับ เครื่องยนต์ ที่ในปัจจุบันมีทั้งอากาศยาน อย่าง “โซล่าร์ อิมพัลส์ 2” ที่ สามารถบินไปทั่วโลกได้ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ ยานยนต์รุ่น “มิไร (มิระอิ)” ของบริษัทโตโยต้า ที่ได้ผลิตออกจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ ซึ่ง เปลีย่ นไปใช้เชือ้ เพลิงแบบไฮโดรเจนอย่างจริงจัง และแม้แต่มกี ารผลิต เชื้อเพลิงจากหินดินดาน (shale) ออกมาจ�ำหน่ายโดยสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
อำ�นาจ แก้วสามัคคี ในส่ ว นของเครื่ อ งปั ๊ ม ในโรงงานอุ ต สาหกรรมเองก็ ไ ด้ ห า ทางออกในการช่วยลดต้นทุนการผลิตโดยพัฒนาจนกลายมาเป็น เครื่องปั๊มเซอร์โวที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้าที่ต�่ำกว่าเครื่องปั๊มแบบ ธรรมดาดั้งเดิมได้เป็นอย่างมาก
เครื่องปั๊มแบบมีมอเตอร์ช่วยควบคุม หรือเครื่องปั๊มเซอร์โว (Servo press)
เมื่อปลายปี พ.ศ. 2557 บริษัท Jaguar Land Rover จ�ำกัด (มหาชน) ได้ตัดสินใจลงทุนด้วยเงินจ�ำนวนมากถึง 45 ล้านปอนด์ (£, ปอนด์สเตอร์ลิง) ส�ำหรับสายงานการผลิตใหม่ที่ใช้เครื่องปั๊ม เซอร์โว หรือเครื่องปั๊มแบบมีมอเตอร์ช่วยควบคุม ของบริษัท ไอดะ (AIDA) ทีโ่ รงงานในเมือง Halewood ประเทศอังกฤษ เป็นสายงานการ ผลิตแรก เริ่มเดินเครื่องผลิตได้เต็มที่ในฤดูใบไม้ร่วงของปี พ.ศ.2557 ส�ำหรับใช้ปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนโครงผนังต่าง ๆ ของรถยนต์ของ Jaguar Land Rover ทีผ่ ลิตทัง้ จากเหล็กและอลูมเิ นียม โดยจะช่วยท�ำให้ความ สามารถในการผลิตรถยนต์ของตนเองได้มากยิ่งขึ้น ด้วยการเพิ่ม August-September 2015, Vol.42 No.242
39 <<<
&
Production ประสิทธิภาพ ความเร็ว คุณภาพ และความปลอดภัยให้กบั โรงงานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึ้นรูป ซึ่งสายงานผลิตใหม่นี้จะมีการใช้ก�ำลังคนที่น้อยลง และยังมีระบบรวบรวม และกู้คืนพลังงานกลับมาโดยการดักจับเอา พลังงานจากขัน้ ตอนการดึงขึน้ รูปแล้วน�ำมาแปลงกลับไปเป็นพลังงาน ไฟฟ้า และด้วยการออกแบบของบริษทั ไอดะ (AIDA) ก็ชว่ ยท�ำให้การ เปลีย่ น และติดตัง้ แม่พมิ พ์ทำ� ได้รวดเร็วกว่าเดิมมาก โดยแม่พมิ พ์ทใี่ ช้ ในการปั๊มขึ้นรูปชิ้นส่วนโครงผนังของรถยนต์นั้น จะสามารถเปลี่ยน แม่พิมพ์ให้เสร็จสิ้นได้ภายในเวลา 5 นาที ในขณะที่เครื่องปั๊มเชิงกล แบบเดิมนั้น จะใช้เวลานานถึง 55 นาที จึงท�ำให้โรงงานปั๊มมีความ คล่องตัว และยืดหยุ่นยิ่งขึ้น ท�ำให้ความสามารถในการผลิต และ ปริมาณชิ้นงานที่ผลิตเพิ่มขึ้นได้อีกด้วย เครื่องปั๊มเซอร์โวจะมีส่วนมอเตอร์เซอร์โว หรือมอเตอร์ช่วย ควบคุม (servo motor) จะช่วยท�ำให้การเคลื่อนที่ของแรมหรือสไลด์ ของเครือ่ งปัม๊ สามารถยืดหยุน่ ได้ ทัง้ ในด้านความแม่นย�ำความเร็วใน การเคลือ่ นที่ และการควบคุมต�ำแหน่งด้วย และด้วยลักษณะทีย่ ดื หยุน่ เช่นนี้ จะช่วยท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการเคลื่อนที่ได้อย่างไม่มี ที่สิ้นสุด เช่น ช่วยเพิ่มคุณภาพของชิ้นงาน และกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่ การพ่นสี และท�ำการประกอบได้ภายในเพียงช่วงชักเดียวของ การปั๊ม
มอเตอร์เซอร์โวที่ออกแบบโดยบริษัท ไอดะ
ตัวเก็บประจุและแหล่งจ่ายกำ�ลัง
เฟืองเกียร์ตัวหลัก
เพลาข้อเหวี่ยง เพลาส่งกำ�ลังพร้อมข้อต่อ
ตัวควบคุมเซอร์โว-แอม พลิไฟเออร์หรือตัวขยาย
การเคลื่ อ นที่ ข องแรมหรื อ สไลด์ (slide motion) ใน กระบวนการแบบอัตโนมัติ แรมหรือสไลด์ของเครือ่ งปัม๊ ทีล่ ดความเร็ว ลง ณ ที่จุดสูงสุดของระยะชักจะท�ำให้เกิดผลดี เพราะลักษณะนี้จะ ช่วยท�ำให้เวลาในการส่งผ่านชิ้นงานไปต่อนั้นมีเวลาเพิ่มขึ้น ด้วย เหตุนี้จึงท�ำให้สายงานการปั๊มแบบส่งผ่านสามารถเดินเครื่องผลิตใน รูปแบบต่อเนื่อง แทนที่การผลิตในรูปแบบจังหวะเดียวได้ คุณภาพชิ้นงาน (part quality) ในแง่ของคุณภาพ และการ คลาดเคลื่อนไปจากค่าพิกัดความเผื่อของชิ้นงานนั้น ก็จะได้รับผลดี จากความสามารถที่เข้ากันได้ กับการเคลื่อนที่ของแรมเครื่องปั๊ม ส�ำหรับกระบวนการปัม๊ ตัดเฉือน - ขึน้ รูปนัน้ ๆ เป็นการเฉพาะ ตัวอย่าง เช่น การดึงขึ้นรูปลึก (deep drawing) การตัดเฉือนแผ่นแบลงก์ (blanking) การปั๊มบีบอัดประทับตรา หรือ คอยน์นิ่ง (coining) หรือ การดัดขึ้นรูป (bending) เป็นต้น กรณีที่รู้จักกันดี คือ ในกระบวนการ ดึงขึ้นรูปลึกนั้น การขึ้นรูปด้วยความเร็วต�่ำจะช่วยเพิ่มการไหลของ โลหะได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากสภาวะการเสียดทาน อันเนื่องมา จากความเร็วในการเคลื่อนที่ขึ้นรูปของพันช์เข้าสู่ดายตัวเมีย อายุการใช้งานของเครื่องปั๊ม และแม่พิมพ์ (press and tool life) ด้วยความสามารถในการลดความเร็วของการกระแทก และ เปลีย่ นแปลงความเร็วในการขึน้ รูปได้ จึงช่วยลดการสัน่ สะเทือนทีเ่ กิด กับเครื่องปั๊ม และแม่พิมพ์ลงได้เป็นอย่างมาก ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ ความเค้นทีเ่ กิดกับแม่พมิ พ์ และเครือ่ งปัม๊ ลดลงแล้ว ยังส่งผลให้มอี ายุ การใช้งานเพิ่มมากยิ่งขึ้น ความแม่นย�ำ (accuracy) เครื่องปั๊มที่ใช้มอเตอร์ช่วยควบคุม พร้อมด้วยกลไกแบบข้อต่อหรือแบบลิงก์ จะท�ำให้ได้มาซึง่ ระยะชักใน การเคลื่อนที่ไปมาของแรมของเครื่องปั๊ม ด้วยการตรวจวัดต�ำแหน่ง ของแรมที่อยู่ทางด้านซ้าย และขวาได้โดยอาศัยตัวเซนเซอร์ตรวจจับ เชิงเส้น (linear sensors) จึงท�ำให้สามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของ มอเตอร์เซอร์โว หรือมอเตอร์ชว่ ยควบคุมทัง้ สองตัวได้ ดังนัน้ การขนาน ของแรมกับแผ่นโบลสเตอร์ก็จะยังคงรักษาเอาไว้ได้
เบรกนิรภัย มอเตอร์เซอร์โว เพลาขับพร้อม เฟืองส่งกำ�ลัง ส่วนป้องกันภาระเกิน มอเตอร์ปรับแรมหรือสไลด์ ส่วนนำ�ทางแรมหรือสไลด์
ภาพที่ 1 มอเตอร์เซอร์โวแบบกระแสตรงที่ได้รับการออกแบบ และพัฒนาให้มีความสามารถ สูง ซึ่งจะให้แรงบิดสูงได้ ณ ที่ความเร็วรอบต�่ำภายในเครื่องปั๊มไอดะ (AIDA) ผู้มีสิทธิบัตรเป็นของตนเอง
>>>40
ข้อดีของการขับเคลื่อนแบบมีตัวช่วยควบคุม (servo-drive advantages)
August-September 2015, Vol.42 No.242
&
Production
การเคลื่อนที่ขึ้น-ลงเป็นจังหวะ แบบที่ 1 (Pulse Motion 1)
ชิ้นงานที่ดึงขึ้นรูปจากเครื่องปั๊มธรรมดา ซึ่งทำ�ให้เกิดรอยยับย่น
เครื่องปั๊มเซอร์โวอะมะดะ แบบ SDE/SDEW
ชิ้นงานที่ดึงขึ้นรูปจากเครื่องปั๊มเซอร์โว ซึ่งทำ�ให้ปราศจากรอยยับย่น
ภาพที่ 2 เปรียบเทียบชิ้นงานที่ผ่านการดึงขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์ ซึ่งใช้เครื่องปั๊มแบบธรรมดา (ด้านล่างซ้ายมือ) และเครื่องปั๊มเซอร์โว รุ่น SDE ของ บริษัท อะมะดะ (Amada) ทีเ่ ลือกใช้รปู แบบการเคลือ่ นทีข่ องแรมในการปัม๊ ดึงขึน้ รูปชิน้ งานเป็นแบบพัลซ์หรือ แบบเคลื่อนที่ขึ้น-ลงเป็นจังหวะ (ด้านล่างขวามือ)
ข้อดีของเครื่องปั๊มแบบมีมอเตอร์ช่วยควบคุม หรือเครื่อง ปั๊มเซอร์โว (the servo press advantage)
เครือ่ งปัม๊ แบบมีมอเตอร์ชว่ ยควบคุม หรือเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว ได้ มีการน�ำมอเตอร์ช่วยควบคุมหรือมอเตอร์เซอร์โวมาใช้แทนมอเตอร์
หลัก ล้อช่วยแรง และชุดคลัตช์/เบรกในเครื่องปั๊มแบบเดิม ซึ่งจะให้ แรงบิดสูงทีค่ วามเร็วรอบต�ำ่ เครือ่ งปัม๊ เซอร์โวสามารถเขียนโปรแกรม หรือชุดค�ำสัง่ ควบคุมการเคลือ่ นที่ และระยะชักได้อย่างเต็มที่ โดยผูใ้ ช้ งานเครื่องปั๊มสามารถที่จะเลือกใช้รูปแบบการเคลื่อนที่ของแรมของ เครื่องได้จากหลาย ๆ รูปแบบที่ได้มีการเขียนโปรแกรมควบคุมเอาไว้ ให้ภายในเครื่องแล้ว หรืออาจจะท�ำการเขียนชุดค�ำสั่งโดยเฉพาะขึ้น มาใช้ทำ� การควบคุมการเคลือ่ นทีข่ องแรมให้เหมาะกับแต่ละลักษณะ งานเป็นการพิเศษก็ได้ จึงท�ำให้สามารถเลือกใช้ความยาวของระยะ ชักให้เหมาะสมกับรูปร่าง-ลักษณะชิ้นงานที่จะเดินเครื่องผลิตโดยแม่ พิมพ์ชนิดนั้น ๆ ภายในเครื่องปั๊มได้โดยง่าย ข้อดีหลักทีส่ ำ� คัญอย่างหนึง่ ของเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว คือ การเพิม่ สมรรถนะ และผลผลิตด้วยกลไกการเคลือ่ นทีอ่ ย่างไม่มขี อ้ จ�ำกัดท�ำให้ การเคลื่อนที่ของแรมเครื่องปั๊มมีความเหมาะสมที่สุดตามความ ต้องการราวกับเสือ้ ผ้าทีต่ ดั ตามขนาดทีส่ งั่ (tailor-made) ซึง่ ใช้สำ� หรับ ชิน้ งานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปในแต่ละรูปร่างชิน้ งานทีม่ คี วามแตกต่างกัน ให้เป็นความจริงขึ้นมาได้ อันถือเป็นหัวใจที่ส�ำคัญของเครื่องปั๊มแบบ เซอร์โว ส�ำหรับการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเครื่องปั๊มเซอร์โว กับ เครื่องปั๊มเชิงกลแบบดั้งเดิมทั้งแบบข้อต่อ (mechanical link press) และแบบข้อเหวีย่ ง (mechanical crank press) รวมทัง้ เครือ่ งปัม๊ แบบ ไฮดรอลิก (hydraulic press) สามารถแสดงได้ดังในภาพที่ 3 ต่อไปนี้
August-September 2015, Vol.42 No.242
41 <<<
&
ความสามารถในการผลิต
(สูง)
Production
แบบเซอร์โว แบบข้อเหวี่ยง
แบบข้อต่อ
(ต�่ำ)
แบบไฮดรอลิก
(ต�่ำ)
ความสามารถในการขึ้นรูป
เครื่องปั๊มเซอร์โวโคะมัทซึ รุ่น HCP3000 พร้อมด้วยอุปกรณ์คลายม้วนวัสดุ และตู้ควบคุมการทำ�งาน
(สูง)
ภาพที่ 3 ต�ำแหน่งทีถ่ กู จัดวางเอาไว้ทางด้านความสามารถในการผลิต และความสามารถใน การขึน้ รูปชิน้ งานของเครือ่ งปัม๊ เซอร์โว ซึง่ เปรียบเทียบกับเครือ่ งปัม๊ แบบข้อเหวีย่ ง (crank press) แบบข้อต่อหรือแบบลิงก์ (link press) และแบบไฮดรอลิก (hydraulic press) ซึ่งเครื่องปั๊มเซอร์โวจะมีความสามารถในการผลิตสูงที่สุด ในขณะที่ความ สามารถในการขึ้นรูปจะเป็นรองก็แต่เพียงเครื่องปั๊มไฮดรอลิกเท่านั้น
ชิ้นงานดึงขึ้นรูปขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 สูง 20 และหนา 0.6 มิลลิเมตร
30%
ต้นทุนการผลิต
กรณีตัวอย่างการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้วยเครื่องปั๊ม เซอร์โวโคะมัทซึ (Komatsu) รุ่น HCP3000 ด้วยการท�ำให้ปริมาณ ชิน้ งานในการผลิตของกระบวนการดึงขึน้ รูป (drawing process) วัสดุ ด้วยแม่พิมพ์เพิ่มสูงมากยิ่งขึ้น และนอกจากนี้ก็ยังส่งผลให้ต้นทุน การผลิตโดยรวมลดลงได้มากถึง 40 เปอร์เซ็นต์ เมือ่ เทียบกับการผลิต โดยเครือ่ งปัม๊ แบบใช้ขอ้ เหวีย่ งในการส่งก�ำลัง ซึง่ จะมีการเปลีย่ นแปลง ทั้งในส่วนต้นทุนแรงงาน (labor cost) จากเดิม 30 เปอร์เซ็นต์ เป็น 15 เปอร์เซ็นต์ ต้นทุนการดูแลรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ในระหว่าง การผลิต (running cost) จากเดิม 57 เปอร์เซ็นต์ เป็น 30 เปอร์เซ็นต์ และต้นทุนการซ่อมแม่พมิ พ์ (die repair cost) จากเดิม 13 เปอร์เซ็นต์ เป็น 15 เปอร์เซ็นต์ ดังแสดงในภาพต่อไปนี้
ต้นทุนลดลง 40 เปอร์เซ็นต์
ต้นทุนแรงงาน
100%
0
15%
57% ต้นทุนการดูแล ระหว่างการผลิต
30%
13%
15%
เครื่องปั๊มแบบข้อเหวี่ยง
ต้นทุน ซ่อมแม่พิมพ์
เครื่องปั๊มเซอร์โว HCP3000
ภาพที่ 4 เครื่ อ งปั ๊ ม เซอร์ โ วโคะมั ท ซึ (Komatsu) รุ ่ น HCP3000 ช่ ว ยท� ำ ให้ ต ้ น ทุ น ใน การผลิตโดยรวมลดลงได้ และกรณีการดึงขึ้นรูปชิ้นงานตัวอย่างในรูปจะมี ประสิทธิภาพสูงมากขึ้นกว่าเดิมอีก 75 เปอร์เซ็นต์ โดยจะสามารถเพิ่มความเร็ว ในการผลิตเป็น 70 รอบต่อนาที ซึ่งเดิมจะผลิตโดยเครื่องปั๊มแบบข้อเหวี่ยง ด้วยความเร็วเพียง 40 รอบต่อนาทีเท่านั้น
แหล่งข้อมูลอ้างอิง 1. http://www.thefabricator.com 2. http://www.aida-global.com 3. http://www.komatsupress.com 4. http://www.4wheelsnews.com 5. http://www.amt.amada.co.jp 6. http://www.aminonac.ca 7. http://www.seyiamerica.com >>>42
August-September 2015, Vol.42 No.242
(อ่านต่อฉบับหน้า)
&
Production
ความส�ำคัญของ Poka-Yoke
ในกระบวนการผลิต1 พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
ตอนที่
ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ
เรา
จะพบว่าปัจจุบันนี้การแข่งขันใน ระดับโลก ท�ำให้หลาย ๆ บริษัท ต่างแสวงหาวิธีการปรับปรุงคุณภาพสินค้า หรือบริการอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ควบคุมคุณภาพ ของสินค้าหรือบริการ บางองค์กรอาจใช้ เทคนิคการตรวจสอบ การควบคุมคุณภาพ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 เทคนิคหลัก ๆ คือ 1. การตัดสินใจในการตรวจสอบ โดยมีการแยกของเสียออกจากสินค้าทีด่ ภี าย หลังจากผลิตแล้วเสร็จ เพื่อป้องกันไม่ให้ส่ง ของเสียไปให้กบั ลูกค้า แต่อตั ราของเสียของ บริษัทไม่มีทีท่าจะลดลงแต่ประการใด 2. การตรวจสอบสารสนเทศ เป็น การสืบสวนเพื่อค้นหาผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ปกติ
เป็นการค้นหาสาเหตุที่ท�ำให้เกิดของเสีย และมี ก ารแจ้ ง ข้ อ มู ล ของเสี ย กลั บ ไปยั ง กระบวนการผลิต เพื่อให้กระบวนการผลิต ลดอัตราของเสียลง 3. การตรวจสอบแหล่ ง ที่ ม า ผลลัพธ์ของของเสียอาจมีผลกระทบอย่างใด อย่างหนึ่ง ซึ่งปกติแล้วเกิดจากสาเหตุของ ความผิดพลาด การตรวจสอบแหล่งที่มา 100 เปอร์เซ็นต์ เพื่อแก้ไขความผิดพลาดที่ เกิดขึน้ ก่อนทีจ่ ะเกิดของเสีย จะท�ำให้ของเสีย เป็นศูนย์เกิดผลสัมฤทธิ์ การควบคุมกระบวนการด้วยสถิติ (Statistical Process Control: SPC) ได้ถูก พัฒนาขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา กิจกรรม
SPC เป็ น กิ จ กรรมที่ ต ้ อ งมี ก ารตรวจสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ ท�ำให้ต้องแบกรับภาระและ ใช้เวลาในการตรวจสอบค่อนข้างมาก และ ยังมีการสุม่ ตรวจและใช้หลักสถิติ จริง ๆ แล้ว การใช้หลักสถิติอาจจะไม่สามารถคาดเดา งานที่ท�ำได้ เพราะของที่ผลิตแทนที่จะผลิต ออกมาเหมื อ นกั น แต่ ก ลั บ ผลิ ต ออกมา แตกต่างกัน ท�ำให้เกิดระดับของของเสียขึ้น ในระบบควบคุมคุณภาพให้เป็นศูนย์ การ ตรวจสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ จะประสบความ ส�ำเร็จได้ต้องมีการใช้ Poka-Yoke ซึ่งเป็น แนวทางหนึ่งที่จะลดของเสียให้เป็นศูนย์ ได้ โดยวิธีการนี้ใช้ความพยายามน้อยมาก และมี ร าคาไม่ แ พงมากนั ก นั่ น ก็ คื อ การ
August-September 2015, Vol.42 No.242
43 <<<
&
Production ตรวจสอบสารสนเทศเป็นวิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิผลที่ดี โดยการตรวจเช็ครอบของการผลิต กับรอบของการป้อนข้อมูลย้อนกลับแต่จะ ไม่ตรวจสอบจนกว่าของเสียจะเกิดขึ้นแล้ว จึ ง ค่ อ ยท� ำ การตรวจสอบ การตรวจสอบ สารสนเทศต้องมีการตรวจสอบในแต่ละช่วง เวลา SPC จึงเป็นเครื่องมือควบคุมคุณภาพ เครือ่ งมือหนึง่ แต่มนั จะไม่สามารถขจัดแหล่ง ที่มาของของเสียได้ ดังนั้นกระบวนการควบคุมคุณภาพ หากปราศจากการใช้ แ ผนภู มิ ค วบคุ ม (control chart) เราไม่ เ รี ย กว่ า เป็ น การ ควบคุมคุณภาพ การควบคุมคุณภาพมีส่วน ช่วยรักษาระดับการยอมรับอัตราของของเสีย แต่ไม่ได้หมายความว่าเป็นการลดของเสียให้ เป็นศูนย์ การควบคุมคุณภาพให้เป็นศูนย์ มี องค์ประกอบด้วยกัน 3 องค์ประกอบ ในการ ขจัดของเสียให้เป็นศูนย์ คือ 1. ตรวจสอบแหล่งที่มา เป็นการ ตรวจเช็คปัจจัยต่าง ๆ ทีท่ ำ� ให้เกิดสาเหตุของ ความผิดพลาด แต่ไม่มีผลต่อของเสีย 2. การตรวจสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยใช้ Poka-Yoke (เป็นการป้องกันการ ท�ำงานผิดพลาด) 3. การลงมื อ ปฏิ บั ติ ทั น ที ทั น ควั น เป็นการหยุดปฏิบัติงานทันที เมื่อเกิดความ ผิดพลาดขึ้นและไม่สามารถท�ำให้ลดลงได้ จนกว่าจะมีการแก้ไขหรือปรับปรุงเท่านั้น องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของการควบคุม คุณภาพให้เป็นศูนย์ เป็นระบบหนึง่ ทีจ่ ะน�ำพา ไปสู่ของเสียเป็นศูนย์ แต่ทั้งนี้ต้องใช้ความ ละเอี ย ดรอบคอบ เครื่ อ งมื อ Poka-Yoke มีบทบาทส�ำคัญต่อการควบคุมคุณภาพให้ เป็นศูนย์ ซึ่งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ และเป็นเทคนิคที่ไม่มีความ ยุง่ ยากในการใช้งาน และไม่มรี าคาแพง รวม ทั้งเป็นเครื่องมือในการขจัดของเสียให้ลดลง ตลอดจนลดความผิ ด พลาดที่ เ ป็ น สาเหตุ ท�ำให้เกิดของเสีย เราจะพบว่าแนวความคิด นี้ได้ถูกน�ำไปใช้ในโรงงานของสหรัฐอเมริกา จนท�ำให้ของเสียกลายเป็นศูนย์ได้ในทีส่ ดุ จึง สรุปได้ว่า หลังจากที่มีการใช้ Poka-Yoke >>>44
August-September 2015, Vol.42 No.242
ท�ำให้เราเข้าใจว่า Poka-Yoke เป็นเครือ่ งมือ หนึ่งที่จะท�ำให้การควบคุมคุณภาพประสบ ความส�ำเร็จได้ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก า ร ค ว บ คุ ม คุณภาพให้เป็นศูนย์ เราสามารถให้น�้ำหนัก ไปที่ 1. การตรวจสอบแหล่งที่มา เป็น 60 เปอร์เซ็นต์ 2. การตรวจสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ (Poka-Yoke) เป็น 30 เปอร์เซ็นต์ 3. การลงมือปฏิบัติทันทีทันควัน เป็น 10 เปอร์เซ็นต์
โดยข้ อ เท็ จ จริ ง มนุ ษ ย์ เ รามั ก จะ หลงลืมและท�ำอะไรผิดพลาด บ่อยครั้งเมื่อ เราต�ำหนิผคู้ นทีท่ ำ� งานผิดพลาด โดยเฉพาะ อย่างยิ่งภายในองค์กร การต�ำหนิคนจะเป็น บ่อเกิดท�ำให้ผู้คนที่ถูกต�ำหนิท้อแท้ หรือ หมดก�ำลังใจและไม่ใช่วธิ กี ารแก้ไขปัญหาที่ ดีเลย Poka-Yoke จึงเป็นเทคนิคหนึง่ ทีจ่ ะลด ความผิดพลาดในการท�ำงานของคนเราได้
อะไรคือ Poka-Yoke?
ถึงแม้ว่าแนวความคิดของ PokaYoke ที่ใช้งานอยู่ในเวลานี้ อาจจะมีอยู่ด้วย กันหลายรูปแบบก็ตามที Poka-Yoke ถูก พัฒนาขึ้นโดย Mr.Shigeo Shingo ซึ่งเป็น วิศวกรการผลิตชาวญี่ปุ่นโดยเขาได้พัฒนา เครื่องมือนี้ขึ้นมา จนท�ำให้ลดของเสียเป็น
ศูนย์ได้เป็นผลส�ำเร็จ และในท้ายทีส่ ดุ ยังขจัด การตรวจสอบการควบคุมคุณภาพลงได้อีก ด้วย ซึง่ นับว่าวิธกี ารนีม้ สี ว่ นสนับสนุนในการ ป้องกันการท�ำงานแบบโง่เขลาเบาปัญญา Poka-Yoke จึ ง เป็ น เครื่ อ งหมายในการ ป้องกันการแหกกฎของคนงาน ซึ่ง Shingo เห็นว่า Poka-Yoke มีความหมายว่า “เป็น การป้องกันคนงานไม่ให้ท�ำอะไรผิดพลาด” หรือ “ท�ำงานด้วยความปลอดภัยโดยไม่ท�ำ อะไรที่เสี่ยงอันตราย” (ค�ำว่า Yokeru แปล ว่า หลีกเลี่ยง และ Poka แปลว่า ขาดความ ใจใส่จนก่อให้เกิดความผิดพลาด) เบื้องหลังความคิดของ Poka-Yoke อยู ่ ที่ ก ารให้ ค วามเคารพสติ ป ั ญ ญาของ คนงาน เนื่องจากคนงานจะท�ำงานนั้น ซ�้ำ ๆ กันอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้พวกเขาต้องเฝ้า ระมัดระวังและมีสติอยู่ตลอดเวลา PokaYoke จึงเป็นการปลดปล่อยให้คนงานมีเวลา ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และมีจิตใจในการ เพิม่ มูลค่าให้กบั กิจกรรมต่าง ๆ ทีพ่ วกเขาท�ำ หลาย ๆ ครั้งที่เราประสบกับการ ท�ำงานที่ผิด ๆ ซึ่งเกิดขึ้นกับสภาพแวดล้อม ที่ยุ่งยากในสถานที่ท�ำงาน และทุก ๆ วัน สภาพแวดล้อมที่ยุ่งยากในสถานที่ท�ำงาน มีโอกาสท�ำให้เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ง่าย จนน� ำ ไปสู ่ ก ารผลิ ต ของเสี ย ซึ่ ง ของเสี ย ที่ เกิดขึ้น ก็คือ การสูญเปล่า นั่นเอง หากของ เสียไม่สามารถตรวจพบได้ ของเสียก็จะหลง ออกไปสูล่ กู ค้าได้ ท�ำให้ลกู ค้าผิดหวังทีไ่ ด้รบั สินค้าที่ไม่มีคุณภาพ เบื้องหลังของ Poka-Yoke จึงเป็น การพิสูจน์ความผิดพลาดที่เกิดขึ้น จนไม่ สามารถยอมรับได้ ถึงแม้ว่าสินค้าที่ผลิต ออกมาจะมีของเสียไม่มากนักก็ตาม จะเห็น ว่าคู่แข่งในระดับโลกทุกวันนี้ ท�ำให้บริษัท ต่าง ๆ ต้องเร่งน�ำเอาปรัชญา และวิธีการ ต่าง ๆ ไปผลิตสินค้าที่ปราศจากของเสีย หรื อ ลดของเสี ย ให้ เ ป็ น ศู น ย์ วิ ธี ก ารของ Poka-Yoke จึงเป็นวิธกี ารแบบเรียบง่ายทีจ่ ะ ท�ำให้เป้าประสงค์การผลิตของเสียให้เป็น ศูนย์สัมฤทธิผล
&
Production ประเภทของ Poka-Yoke
ในบทความนี้ เราจะใช้ Poka-Yoke ในแง่มุมที่มุ่งเน้นให้คนงานให้ความส�ำคัญ กับการปรับปรุง ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่ง หรือหลาย ๆ องค์ประกอบหลักของระบบ การควบคุมคุณภาพให้เป็นศูนย์ตามหลัก แนวความคิดของ Mr.Shingo ซึ่งได้กล่าว ไปแล้วข้างต้น แต่ที่แน่ ๆ คือ เป็นเทคนิคเบื้องต้น ที่ต้องการป้องกันของเสียไม่ให้เกิดขึ้นใน สถานที่ท�ำงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความส�ำคัญ ต่อองค์กร เครื่องมือนี้จะตรวจจับของเสีย และหยุดทันทีเมื่อชิ้นส่วนที่ผลิตออกมาเป็น ของเสีย เพื่อลดจ�ำนวนของเสียไม่ให้ผลิต ออกมานั่นเอง มีหลายตัวอย่างด้วยกันทีจ่ ำ� เป็นต้อง ได้ รั บ การปรั บ ปรุ ง โดยเฉพาะการเปลี่ ย น แปลงในการออกแบบ มีทางเลือกอยูด่ ว้ ยกัน หลาย ๆ ทางเลื อ ก นอกเหนื อ จากการ ปรับปรุงเครือ่ งจักรและกระบวนการหลังจาก ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตัวผลิตภัณฑ์ จะเห็นว่า สิ่งเหล่านี้ค่อนข้างจะไม่มีความยุ่งยากอะไร เลย อย่างเช่น การขจัดรูที่ไม่ใช้งานในแผง วงจร เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งความพลั้ ง เผลอใน ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ลงไปในรูที่ไม่ใช้งาน ในหลาย ๆ บริษัท งานการออกแบบดั้งเดิม จะต้องท�ำให้การออกแบบหรือวิศวกรรม ประสบความส�ำเร็จ ถึงแม้ว่าฝ่ายต่าง ๆ จะ มีปัจจัยในการผลิตเป็นเงื่อนไขก�ำหนดไว้
ก็ตาม แต่สนิ ค้าทุกวันนีจ้ ะมีอยูห่ ลายขัน้ ตอน ในการกลัน่ กรองและออกแบบสินค้าใหม่ ใน การรักษาจิตวิญญาณทางด้าน Poka-Yoke และกระบวนการคัดกรองการออกแบบให้ รวมเอาประสบการณ์ต่าง ๆ ในการผลิตของ คนงานเข้าไปด้วย เนื่องจากพวกเขาจะรู้ดี และสามารถค้นหาการออกแบบองค์ประกอบ ต่าง ๆ ทีเ่ ป็นสาเหตุของความยุง่ ยากได้ และ จะดูว่างานที่ท�ำตรงจุดไหนบ้างที่ไม่ก่อให้ เกิดมูลค่าเพิ่มบ้าง คุณไม่จำ� เป็นต้องให้โรงงานของคุณ เป็นโรงงานอัตโนมัติหรอก แต่คุณสามารถ น�ำความคิดนีไ้ ปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เครือ่ ง มือ Poka-Yoke เป็นเครือ่ งมือทีใ่ ช้งานได้งา่ ย และมีราคาไม่แพง เพียงแต่รบกวนให้คุณ เซาะร่องให้เป็นรูปของ Jig รูปแบบต่าง ๆ เพือ่ วาง Jig หรืออาจใช้ Limit Switch เพือ่ ส่ง สัญญาณเตือนให้คณ ุ แก้ไขชิน้ งาน เครือ่ งมือ นี้ไม่จ�ำเป็นต้องใช้คนงานที่มีฝีมือ เพียงแต่ ให้ใช้รหัสสีเขียนไว้ที่แม่พิมพ์ที่เจาะรูไว้ ซึ่ง มีแม่พิมพ์อยู่ด้วยกันหลาย ๆ รูปแบบ ท�ำให้ คนงานง่ายต่อการปฏิบัติงานและแก้ไขงาน ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถน�ำไปใช้งาน ยังทีอ่ นื่ ๆ อย่างเช่น ทีห่ น้าเคาน์เตอร์หรือการ ส่งสัญญาณเตือนด้วยเสียงเมื่อมีการผลิต ของเสียเกิดขึ้น ท�ำให้คนงานต้องเร่งตอบ สนองทันที มีค�ำพูดที่พูดกันอยู่บ่อย ๆ คือ ภายหลังสิ่งเหล่านี้จะกลายเป็นนวัตกรรมที่
จะไม่เพียงป้องกันความผิดพลาดทั้งหมด เท่านัน้ แต่ยงั จะท�ำให้คนงานขันอาสาในการ ตอบสนองในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตาม ความเหมาะสม เมือ่ พนักงานได้รบั แรงจูงใจ และให้ความสนใจในการปรับปรุงสินค้าหรือ กระบวนการ แต่อย่างไรก็ดี เครื่องมือนี้มี ส่วนช่วยลดจ�ำนวนความผิดพลาดที่เกิดขึ้น อย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งมีผลต่อภาพรวมของ องค์กร หน้าทีค่ วามรับผิดชอบในการรณรงค์ ความส�ำเร็จของของเสียให้เป็นศูนย์ต้อง อาศั ย ฝ่ า ยบริ ห าร ผู ้ น� ำ องค์ ก รจะต้ อ งมี วิสยั ทัศน์ทางด้านคุณภาพเพือ่ ผลิตสินค้าให้ มีคุณภาพและสร้างวัฒนธรรมองค์กร รวม ทัง้ สร้างสภาพแวดล้อมในการจูงใจพนักงาน ให้เกิดขึน้ ทัว่ ทัง้ องค์กร เป็นไปตามวิสยั ทัศน์ ของฝ่ายบริหาร ในทีน่ หี้ มายความว่า จะต้อง จัดให้มีเวลาและสนับสนุนทรัพยากรต่าง ๆ ให้ กั บ ที ม งาน เพื่ อ ให้ ที ม งาน สามารถ วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งมีการใช้ ระบบข้อเสนอแนะด้วยการจ่ายผลตอบแทน ให้กบั พนักงานเพือ่ เป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้ พนักงานสามารถลงมือแก้ไขสาเหตุของของ เสีย ในระดับขัน้ พืน้ ฐานของเครือ่ งมือ PokaYoke Poka-Yoke จะถูกปลูกฝังลงไปใน ตั ว ของพนั ก งาน ท� ำ ให้ พ นั ก งานมี ค วาม ช�ำนาญในการท�ำงานและยังสร้างช่องทาง ต่าง ๆ ให้เกิดขึ้นภายในองค์กร อย่างเช่น ความรู้และทักษะต่าง ๆ ที่กล่าวไปแล้วข้าง ต้น นอกจากนี้ยังรักษาบรรยากาศในการ แสดงออกในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ส่งผล ประโยชน์ที่ดีต่อบริษัท
(อ่านต่อฉบับหน้า) August-September 2015, Vol.42 No.242
45 <<<
&
Energy & Environmental
ระบบการจัดการพลังงาน
ส�ำหรับรถไฟฟ้า อารีย์ หวังศุภผล
ความเป็ น มาของการศึ ก ษาระบบการจั ด การพลั ง งานใน รถไฟฟ้า
แหล่ ง พลั ง งานของโลกที่ เ กิ ด จากการทั บ ถมของซากพื ช และสัตว์ที่อยู่ในเปลือกโลกที่ได้เคยอาศัยในหลายล้านปีที่ผ่านมา ที่ เรียกว่า พลังงานจากฟอสซิล ตัวอย่างของพลังงานเหล่านี้ คือ ถ่านหิน น�้ำมันและก๊าซธรรมชาติ จากวิกฤตน�้ำมันในปี พ.ศ.2516 ท�ำให้ ประชาชาติมีความใส่ใจในความจริงที่ว่าพลังงานจากฟอสซิลเป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าที่มันอยู่ในแผ่นดินและต้องใช้อย่างคุ้มค่าที่สุด ในรอบ 20 ปีที่ผ่านมา ราคาน�้ำมันดิบเบรนท์ในตลาดสหรัฐได้เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่องจาก 17.85 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล ในเดือนมกราคม ปี พ.ศ.2539 เป็น 132.72 ในเดือนมิถุนายน ปี พ.ศ.2551 และมีความ ผันผวนระหว่าง 50-125 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล นับตั้งแต่นั้นมา สิ่งนี้ท�ำ ให้รฐั บาลและอุตสาหกรรมทัว่ โลกมีแนวคิดอย่างจริงจังทีจ่ ะปรับปรุง การประหยัดพลังงานส�ำหรับกิจกรรมทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการผลิต การจัดจ�ำหน่ายและการบริโภค >>>46
August-September 2015, Vol.42 No.242
รายงานการใช้พลังงานที่เกี่ยวกับการสร้างคาร์บอนไดออกไซด์แยกเป็นรายภาคของ U.S. Energy Information Administration ได้แสดงว่า การบริโภคพลังงานของภาคขนส่งมีปริมาณมากเป็น อันดับสองของการใช้พลังงานหลัก รองจากภาคผลิตพลังงานไฟฟ้า[1] ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ก ่ อ ให้ เ กิ ด สภาวะก๊ า ซเรื อ นกระจกและ ภาวะโลกร้อนที่มีผลกับชีวิตทั้งหมดบนโลก ก๊าซเรือนกระจกไม่ได้มี เฉพาะก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เท่านั้น แต่ยังประกอบไปด้วยก๊าซ ที่เป็นอันตรายของมนุษย์อื่น ๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน ไนโตรเจนออกไซด์ ก�ำมะถัน และก๊าซมีเทน ซึ่งก่อให้ เกิดความเสียหายในทางอ้อมอีกมากมาย[2] ด้วยเหตุผลนี้ รัฐบาลและภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ จึงได้มี นโยบายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลดการปล่อย มลพิษจากรถยนต์ที่ผลิตขึ้นมา โดยยานพาหนะเครื่องยนต์สันดาป ภายใน นอกจากนีร้ ถยนต์ไฟฟ้าก็ได้รบั การพัฒนาขึน้ มา เพือ่ ลดปัญหา มลพิษและวิกฤตน�้ำมัน
&
Energy & Environmental ภาพรู ป ที่ 1 แสดงการกระจายตั ว ของการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ จาก 3 ภาคส่วนหลัก ในปี พ.ศ.2552 ซึ่งในภาค การผลิตพลังงานไฟฟ้ามีอัตราส่วนการปล่อยก๊าซมากที่สุด
โดยทัว่ ไปแบตเตอรีล่ เิ ธียม-ไอออน มีพลังงานจ�ำเพาะถึง 265 Wh/kg และก�ำลังงานจ�ำเพาะประมาณ 1000 kW/kg ส�ำหรับการขับขี่ โดยทัว่ ไป ทีร่ ะยะทาง 50 กิโลเมตร จะใช้พลังงานประมาณ 2,700 Wh ดังนั้นแบตเตอรี่น�้ำหนัก 10 กิโลกรัม ก็เพียงพอส�ำหรับระยะทางนี้ ความจุของแบตเตอรีล่ เิ ธียม-ไอออนนี้ ท�ำให้ BEVs มีความสามารถที่ จะขับเคลื่อนได้เป็นระยะทาง 500 กิโลเมตร เช่นเดียวกับ ICEVs ที่ บรรจุนำ�้ มันทีม่ พี ลังงานส�ำหรับขับขีใ่ นระยะทางทีเ่ ท่า ๆ กัน แต่อย่างไร ก็ตาม แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน ยังคงมีข้อเสียในแง่ของสมรรถนะใน การใช้จา่ ยพลังงานและระยะเวลาชาร์จประจุใหม่ เมือ่ เทียบกับ ICEVs ที่ใช้เวลาในการเติมน�้ำมันที่รวดเร็วกว่ามาก ในภาพที่ 2 เป็นการเปรียบเทียบ BEVs และ ICEVs แบบ สัมพัทธ์ โดย 0, 1, 2, 3, 4, 5 หมายความว่า แย่มาก, แย่, ไม่ดีไม่เลว, ดี, ดีกว่า และ ดีกว่ามาก ตามล�ำดับ [4]
▲ ภาพที่ 1 อัตราส่วนการปล่อยก๊าซคาร์บอนจากภาคส่วนหลักต่าง ๆ ในปี พ.ศ.2552
รายงานโดย U.S. Energy Information Administration
รถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicle: EV) ไม่ได้เป็นรถชนิดใหม่ แต่มีการผลิตและเปิดตัวในปี พ.ศ.2373 จากนั้นมีการซื้อขายในเชิง พาณิชย์ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 แต่รถยนต์ไฟฟ้านี้ ก็ได้เลือนหาย ไปในช่วงเวลาดังกล่าว EV ได้รับการยอมรับว่า มีประสิทธิภาพใน การขับขี่ที่ดี แต่มีระยะการขับขี่สั้น ค่าใช้จ่ายสูง ระยะเวลาการชาร์จ แบตเตอรี่นาน แบตเตอรี่ราคาแพงและยังไม่ทนทานมาก ในขณะที่ รถยนต์ เ ครื่ อ งสั น ดาปภายใน (Internal Combustion Engine Vehicles: ICEVs) ที่คิดค้นขึ้นในปี พ.ศ.2403 นั้น มีค่าใช้จ่ายเรื่อง เชือ้ เพลิงทีถ่ กู กว่า มีการใช้งานทีส่ ะดวกกว่า และมีเทคโนโลยีการผลิต ที่เชื่อถือได้ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ EV แทบหยุดการผลิตในช่วงต้นทศวรรษ ที่ 1930[3] แต่อย่างไรก็ตาม EVs ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้ แบตเตอรี่อย่างเดียว (Batter Electric Vehicles: BEVs) หรือรถยนต์ ไฟฟ้าแบบเซลล์เชื้อเพลิง/แบตเตอรี่ (Fuel Cell Electric Vehicles: FCEVs) ก็ถูกปลุกขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เนื่องจากเหตุผลดังที่ได้กล่าวมา แล้ว ตัง้ แต่ในช่วงหลังของศตวรรษที่ 20 โดยเฉพาะอย่างยิง่ BEVs ได้รับการพัฒนาทางเทคนิคในด้านการออกแบบแบตเตอรี่มอเตอร์ ไฟฟ้า และอินเวอร์เตอร์ขนึ้ มาใหม่ให้มปี ระสิทธิภาพเหมาะสมกับการ ขับขี่ในชีวิตประจ�ำวันทั้งสภาพในเมืองและนอกเมือง[4] BEVs เป็นยุคต่อไปของระบบยานพาหนะทีใ่ ช้ไฟฟ้า หลังจาก ICEVs และยานพาหนะไฟฟ้าไฮบริด (Hybrid Electric Vehicles: HEVs) เนื่องจากเทคโนโลยีในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบตเตอรี่ ชนิด ลิเธียม-ไอออน ได้รับการปรับปรุงให้มีพลังงานและก�ำลังงาน จ�ำเพาะ (specific energy and specific power) ที่สูงขึ้น เมื่อเทียบ กับแบตเตอรี่อื่น ๆ เช่น นิกเกิล-โลหะ นิกเกิล-แคดเมียม และตะกั่วกรดแบตเตอรี่ ดังนั้นแบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน สามารถน�ำมาใช้เป็น แหล่งพลังงานหลักใน BEVs ได้
▲ ภาพที่ 2 การเปรียบเทียบแบบสัมพัทธ์ระหว่าง BEVs กับ ICEVs
แบตเตอรี่ ชนิด ลิเธียม-ไอออน ไม่มี Memory Effect ตลอด อายุการใช้งาน มันมีความสามารถที่จะจ่ายก�ำลังไฟฟ้าสูง แต่เก็บ พลังงานจากการเบรกได้ไม่สูงมาก ตัวอย่างแบตเตอรี่ที่ใช้ในการ ศึกษาครัง้ นี้ สามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ถงึ 6 เท่าของค่ากระแสไฟฟ้า ในการชาร์จปกติ (Charging: C) ส�ำหรับใช้ในการเร่งความเร็วแต่รับ กระแสไฟฟ้าจากการเบรกได้ 2 เท่าของ C เท่านั้น ดังนั้นพลังงานที่ เกิ ด จากการเบรกจึ ง ไม่ ส ามารถถู ก เก็ บ ได้ โ ดยแบตเตอรี่ ทั้ ง หมด พลังงานนี้จึงสูญเปล่าไปโดยการเบรกทางกล การเบรกนี้ไม่เพียงแต่ สร้างความร้อน แต่ยังท�ำให้อนุภาคเล็ก ๆ ของโลหะฟุ้งกระจายใน อากาศ เป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อม บุคคลที่อยู่โดยรอบและ อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้อย่างคาดไม่ถึง ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า แบตเตอรี่ลิเธียม-ไอออน มีความสามารถในการรับพลังงานเบรกที่ต�่ำ และมีอุณหภูมิสูงใน ขณะจ่ายพลังงานมาก ๆ ในขณะออกตัวของรถยนต์ไฟฟ้า อุณหภูมทิ ี่ สูงนี้ ท�ำให้ความต้านทานภายในสูงขึ้น ดังนั้นการระบายอากาศที่ดี จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นเพื่อรักษาวงจรชีวิตของมัน เพือ่ ลดปัญหาเหล่านีอ้ ปุ กรณ์สำ� หรับบัฟเฟอร์พลังงานพลวัตร ดังเช่น Super Capacitors (SCs) หรือ Flywheels สามารถต่อร่วม August-September 2015, Vol.42 No.242
47 <<<
&
Energy & Environmental เข้าไปกับแบตเตอรี่แหล่งพลังงานหลัก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ ระบบจ่ายพลังงานโดยรวม แต่ในปัจจุบนั Flywheels ยังมีปญ ั หาด้าน ความปลอดภัย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อมีการใช้ Onboard[5] ดังนั้น การน�ำ SCs มาใช้จงึ เป็นค�ำตอบทีเ่ ป็นไปได้ในปัจจุบนั เพราะมันได้รบั การตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้งานด้านก�ำลังงานและพลังงาน ทีจ่ า่ ย การสูญเสีย ความปลอดภัย และความคุม้ ค่าในทางเศรษฐศาสตร์ ท�ำให้สรุปว่า มีความเป็นไปได้ในการน�ำมาใช้งานในรถไฟฟ้า[6] SCs เป็ น ตั ว เก็ บ ประจุ ไ ฟฟ้ า หลายชั้ น มี พื้ น ที่ ที่ ใ ช้ บ รรจุ คาร์บอน (activated carbon) มากเป็นพิเศษ[7] มีพลังงานจ�ำเพาะถึง 6 Wh/kg และก�ำลังงานจ�ำเพาะถึง 14 kW/kg[8] เมือ่ เทียบกับแบตเตอรี่ ลิเธียม-ไอออน มันมีพลังงานจ�ำเพาะต�่ำกว่ามาก แต่มีก�ำลังงาน จ�ำเพาะสูงกว่ามาก และที่ส�ำคัญที่สุดมีอายุการใช้งานที่สูงมากถึง หนึง่ ล้านรอบ[9] ดังนัน้ จึงเป็นการรวมตัวทีเ่ หมาะสมในการใช้งานของ อุปกรณ์เก็บพลังงานทั้งสองนี้ส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ ไฮบริด (BHEV) เพื่อให้มีประสิทธิภาพที่เหนือกว่า BEVs
ปัญหาการจัดการพลังงาน
ในปัจจุบันนักวิจัยที่น�ำเสนอผลงานในเรื่อง แหล่งพลังงาน ไฮบริดส�ำหรับรถไฟฟ้า ส่วนใหญ่ใช้คอนเวอร์เตอร์ DC-DC แบบสอง ทิศทางตัวเดียวต่อกับ SCs[10] หรือกรณีใช้คอนเวอร์เตอร์หลายตัวต่อ กับแหล่งพลังงานแต่ละตัว[11] หรือแม้กระทัง่ ใช้คอนเวอร์เตอร์ตวั เดียว ที่มีหลายอินพุท[12] การใช้งานคอนเวอร์เตอร์แบบตัวเดียวต่อกับ SCs จะก่อให้ เกิดแรงดันบัสทีแ่ ปรตามแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ ข้อดี คือ เป็นการ ใช้คอนเวอร์เตอร์เพียงตัวเดียว ท�ำให้มคี วามสูญเสียน้อยและน�ำ้ หนัก เบาด้วย ส�ำหรับการใช้งานคอนเวอร์เตอร์หลายตัวจะมีข้อดี คือ แรง ดันบัสคงที่ แต่ก็เป็นการเพิ่มน�้ำหนักและความสูญเสียที่เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งเป็นตรงกันข้าม ในปัจจุบันการใช้งานคอนเวอร์เตอร์แบบตัวเดียว นั้น มีความเหมาะสมและเป็นไปได้ เนื่องจากระบบขับเคลื่อนที่ ประกอบไปด้วยอินเวอร์เตอร์และมอเตอร์ที่ออกแบบมาเฉพาะใช้กับ รถไฟฟ้ามีความสามารถในการรับแรงดันที่ตกลงกึ่งหนึ่งของแรงดัน ปกติ ดังนั้นการต่อใช้งานวิธีนี้จึงมีความเป็นไปได้มากในการใช้งาน จริง ขณะทีใ่ นแง่ของความสูญเสียดูเหมือนจะมีความใกล้เคียงกันกับ คอนเวอร์เตอร์สองตัว เนื่องจากการใช้งานแบบคอนเวอร์เตอร์จะมี การสูญเสียทีอ่ นิ เวอร์เตอร์มากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม น�ำ้ หนักโดยรวม ที่น้อยกว่าก็เป็นสิ่งที่คอนเวอร์เตอร์ตัวเดียวมีเหนือคอนเวอร์เตอร์ สองตัวอย่างชัดเจน เพราะน�ำ้ หนักของรถไฟฟ้ามีผลอย่างมากต่อระยะ การเดินทาง ปัญหาหลักของวิธกี ารควบคุม SCs ในงานวิจยั ต่าง ๆ คือ การ ประมาณค่าอ้างอิงที่เหมาะสมแบบเรียลไทม์ของแรงดันและกระแส ไฟฟ้าของ SCs การออกแบบค่าอ้างอิงเรียลไทม์ทมี่ ากเกินไป จะท�ำให้ SCs คายประจุออกทั้งหมดก่อนที่จะสิ้นสุดการเร่งความเร็ว และก่อ >>>48
August-September 2015, Vol.42 No.242
ให้เกิดการแกว่งของแรงดันไฟฟ้าทีบ่ สั สูงร่วมกับการสูญเสียทีส่ งู ด้วย เช่นกัน ในทางกลับกัน หากค่าอ้างอิงต�่ำเกินไป ก็จะท�ำให้การใช้ ประโยชน์ของ SCs นั้น ไม่เต็มที่ เพื่อแก้ปัญหานี้ วิธีการควบคุมการ จัดการพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพส�ำหรับการปรับปรุงประสิทธิภาพของ แหล่งพลังงานส�ำหรับ BHEV จึงเป็นที่นิยมศึกษากันอย่างแพร่หลาย ในช่วงสิบปีที่ผ่านมา
วิธีการจัดการพลังงานของ SCs ในบทความนี้
บทความนีจ้ ะน�ำเสนอการควบคุมแบบใหม่ ส�ำหรับการจัดการ พลังงานของรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ไฮบริด ซึ่งแรงดันไฟฟ้าและ กระแสไฟฟ้าอ้างอิงของ SCs นัน้ ขึน้ อยูก่ บั ความเร็วและอัตราเร่งโดย พิจารณาประสิทธิภาพการชาร์จไฟของ SCs เข้าไปด้วย โดยการน�ำ เสนอในบทความนี้ เป็นการออกแบบที่ชัดเจนทุกขั้นตอน สามารถน�ำ ไปใช้ได้จริง การน�ำเสนอจะประกอบไปด้วย 1. การประเมินขนาดของ SCs ทีเ่ หมาะสมโดยมีการออกแบบ โดยอ้างอิงอัตราเร่ง (acceleration-based design) และอ้างอิงอัตรา การลดความเร็ว (deceleration-based design) เป็นส�ำคัญ 2. การพัฒนาวิธกี ารควบคุมใหม่สำ� หรับการควบคุมพลังงาน ของ SCs ทั้งสองวิธี 3. น�ำเสนอการสร้างแบบจ�ำลอง (simulation) ของ DC-DC คอนเวอร์เตอร์ เพื่อใช้ควบคุม SCs ในขนาด Scale จริงของรถยนต์ ไฟฟ้าโปรตอน ซากา ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ โดยทดสอบกับการ ขับเคลื่อนแบบอัตราเร่งสูงสุด (Maximum Acceleration Driving: MADC) และการขับขี่แบบในเมือง (Extra Urban Driving Cycle: EUDC) 4. การสร้างชุดทดลองขนาดเล็ก ส�ำหรับการตรวจสอบผล การจ�ำลองการท�ำงานที่ได้ด�ำเนินการ
ขอบเขตการดำ�เนินงาน
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการน�ำเสนอ ขอบเขตต่อไปนี้ จะได้รับการเผยแพร่ 1. การทบทวนวรรณกรรมของแหล่งพลังงานเสริม SCs และ แบตเตอรี่แหล่งพลังงานหลัก 2. การศึกษาโครงสร้างต่าง ๆ ของคอนเวอร์เตอร์ DC-DC แบบสองทิศทางส�ำหรับ Hybrid แหล่งพลังงานทั้งสอง 3. การศึกษาโครงสร้างและเทคนิคการควบคุม SCs โดยเน้น ข้อดีและข้อเสีย 4. การออกแบบและจ�ำลองด้วยคอมพิวเตอร์ของ DC-DC คอนเวอร์เตอร์ที่ใช้กับ SCs เพื่อขนานกับแบตเตอรี่ 5. เสนอการออกแบบโดยใช้เทคนิค Deceleration-based Design และ Acceleration-based Design เพื่อเปรียบเทียบเทคนิค การควบคุมแบบอื่น และ Pure Battery Electric Vehicle
&
Energy & Environmental 6. การวิเคราะห์และตรวจสอบความเป็นไปได้ของการใช้ เทคนิคการควบคุมที่น�ำเสนอผ่านการจ�ำลองด้วยคอมพิวเตอร์ด้วย สัญญาณขนาดใหญ่ โดยใช้ MATLAB / Simulink ซึ่งประกอบด้วย SCs และการต่อเชือ่ มกับ DC-DC คอนเวอร์เตอร์แบบสองทิศทาง โดย ทดสอบกับการขับขี่แบบต่าง ๆ 7. การออกแบบและสร้างชุดทดลองขนาดเล็ก ประกอบด้วย DC-DC คอนเวอร์เตอร์แบบสองทิศทาง แบตเตอรี่ SCs และชุดขับ เคลือ่ นแบบ 2 Quadrant DC Motor Drive ต่อกับโหลดความเฉือ่ ยสูง ควบคุมการท�ำงานโดยการ์ดควบคุม dSPACEDS1104 ส�ำหรับการ ควบคุมพลังงานของ SCs และความเร็วมอเตอร์ 8. ท�ำการทดสอบผลการจ�ำลองการท�ำงานด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อยืนยันข้อดีของเทคนิคการควบคุมที่น�ำเสนอ โดยใช้รูปแบบการ ขับขี่แบบต่าง ๆ
สรุปผลงานที่นำ�เสนอ ต่อไปนี้
การศึกษาที่น�ำเสนอในบทความนี้มุ่งเน้นการน�ำเสนอในเรื่อง
1. การออกแบบสร้างชุดทดสอบระบบจ่ายพลังงานแบบ Hybrid โดยใช้ชุดขับเคลื่อน 2 Quadrant DC Motor Drive ที่มี ความเฉื่อยสูง 2. วิธกี ารออกแบบและสร้างชุดควบคุม SCs แหล่งพลังงาน เสริมเชือ่ มต่อกับแบตเตอรีแ่ หล่งพลังงานหลัก โดยใช้หลักการควบคุม ทั้งสองแบบที่น�ำเสนอ
เอกสารอ้างอิง [1] “Emissions of Greenhouse Gases in The U.S.” [Online]. Available: http://www.eia.gov/environment/emissions/ghg_report/ghg_ overview.cfm [2] M. Ehsani, Y. Gao, and A. Emadi, Modern Electric, Hybrid Electric, and Fuel Cell Vehicles: Fundamentals, Theory, and Design. CRC Press, 2009. [3] B. D. McNicol and D. A. J. Rand, Power Sources for Electric Vehicles, vol. 11. Elsevier, 1984. [4] L. James and L. John, “Electric Vehicle Technology Explained,” 2003 [5] J.-P. Moskowitz and J.-L.Cohuau, “STEEM: ALSTOM and RATP Experience of Supercapacitors in Tramway Operation,” in Vehicle Power and Propulsion Conference (VPPC), 2010 IEEE, 2010, pp. 1–5. [6] D. Iannuzzi and P. Tricoli, “Optimal Control Strategy of onBoard Supercapacitor Storage System for Light Railway Vehicles,” in Industrial Electronics (ISIE), 2010 IEEE International Symposium on, 2010, pp. 280–285.
[7] G. Zorpette, “Super Charged,” Spectrum, IEEE, Vol. 42, No. 1, pp. 32–37, 2005. [8] A. Schneuwly, “Maxwell Technologies White Paper Automotive Electronics,” 2009. [9] M. Cohen and R. Smith, “Power Modules Enable Electric Drive Systems,” Maxwell Technology White Papers, 2005. [10] A. Wangsupphaphol, N. R. N. Idris, A. Jusoh, N. D. Muhamad, and I. Alsofyani, “Acceleration-based Design Auxiliary Power Source for Electric Vehicle Applications,” in Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology (ECTI-CON), 2014 11th International Conference on, 2014, pp. 1-6. [11] J. Wong, N. Idris, M. Anwari, and T. Taufik, “A Parallel Energy-Sharing Control for Fuel Cell-Battery-Ultracapacitor Hybrid Vehicle,” in Energy Conversion Congress and Exposition (ECCE), 2011 IEEE, 2011, pp. 2923–2929. [12] L. Solero, A. Lidozzi, and J. A. Pomilio, “Design of Multipleinput Power Converter for Hybrid Vehicles,” Power Electronics, IEEE Transactions on, vol. 20, no. 5, pp. 1007–1016, 2005.
August-September 2015, Vol.42 No.242
49 <<<
&
Focus
พลั ง งาน ศักยภาพและโอกาสของไทย การ
เพิ่ ม จ� ำ นวนของประชากรโลก การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และการบริโภคของชนชั้นกลางที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล เป็ น ปั จ จั ย ที่ ท� ำ ให้ ค วามต้ อ งการทรั พ ยากรธรรมชาติ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะด้ า นพลั ง งาน พลั ง งานรู ป แบบเดิ ม ๆ (เช่น ปิโตรเลียม) มีจ�ำกัด เทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่พยายามน�ำพลังงาน ประเภทนี้มาใช้ยังคงมีราคาแพง และต้องแลกกับผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะภาวะโลกร้อน การจัดหาและการใช้พลังงานจึงมีความเชือ่ มโยงอย่างใกล้ชดิ กับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสม ซึ่งทุกภาคส่วน ทั้ง ภาครัฐ ภาคสังคม และภาคธุรกิจ ต้องผนึกก�ำลังกันในการพัฒนา เศรษฐกิจโดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า และก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รายงานเรื่อง Megatrends 2015 Making Sense of a World in Motion โดย EY Global ซึง่ ตีพมิ พ์เมือ่ ต้นปี พ.ศ.2558 ระบุแนวโน้ม ด้านทรัพยากรธรรมชาติของโลกไว้ 5 ประเด็น ดังนี้ 1. จะมี ก ารแย่ ง ชิ ง ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ มี อ ย่ า งจ� ำ กั ด รุนแรงขึ้น เนื่องจากประชากรโลกจะสูงถึง 1.2 พันล้านคน ในปี พ.ศ. 2573 โดยเฉพาะอย่างยิ่งประชากรในประเทศก�ำลังพัฒนา ซึ่งหมาย ถึงความต้องการพลังงาน อาหาร และน�ำ้ จะสูงขึน้ เป็นเงาตามตัว โดย >>>50
August-September 2015, Vol.42 No.242
ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
คาดการณ์กันว่า ความต้องการพลังงานในปี พ.ศ.2578 จะสูงกว่า ปัจจุบนั ถึงร้อยละ 33 เทคโนโลยีใหม่ ๆ ท�ำให้เราสามารถเข้าถึงแหล่ง ทรัพยากรในที่ที่ไม่เคยเข้าถึงได้มาก่อน อย่างไรก็ตาม การเข้าถึงแหล่งทรัพยากรจะยังคงยากล�ำบาก และมีต้นทุนสูง ท�ำให้รัฐต้องมีมาตรการเพื่อรักษาความมั่นคงของ ทรัพยากรเหล่านี้ โดยในปี พ.ศ. 2578 ทั่วโลกจะมีค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้พลังงานสูงถึง 4.20 แสนล้านเหรียญ สหรัฐ ซึ่งส่งผลทุกฝ่ายต้องตระหนักและเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ ทรัพยากรให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็นระดับปัจเจกบุคคล องค์กร หรือระดับประเทศ 2. พลังงานรูปแบบใหม่ๆ รวมทั้งพลังงานหมุนเวียน จะมี บทบาทมากขึ้น พลังงานฟอสซิลยังอยู่เป็นแหล่งพลังงานที่ทั่วโลก ต้องใช้ต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมีเทคโนโลยีขุดเจาะแนวนอน (horizontal drilling) และการสร้างรอยแยกในชั้นหินด้วยไฮดรอลิก (hydraulic fracturing) ทีส่ ามารถดึงปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติจาก แหล่งที่ไม่เคยเข้าถึงได้มากก่อน (เช่น ชั้นหินดินดาน) นอกจากนี้
& มีการขุดเจาะปิโตรเลียมทะเลลึก (ultra-deepwater drilling) สูงขึ้น ถึงร้อยละ 22 ตั้งแต่ปี พ.ศ.2555 ท�ำให้แหล่งผลิตปิโตรเลียมเคลื่อน ย้ า ยจากแถบยู เ รเซี ย และตะวั น ออกกลางไปยั ง อเมริ ก าเหนื อ ออสเตรเลีย บราซิล และแอฟริกา ในอีกด้านหนึ่ง พลังงานทดแทนจะมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด (clean technology) ให้ มีใช้ในท้องตลาด และมีตน้ ทุนไม่สงู มากนัก ท�ำให้พลังงานทดแทนเข้า มามีบทบาทได้กว่ากึง่ หนึง่ ของพลังงานทีท่ วั่ โลกใช้ ประชาชนทัว่ ไปจะ ไม่ ใ ช่ ผู ้ ใ ช้ พ ลั ง งานเท่ า นั้ น แต่ ยั ง เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต พลั ง งานด้ ว ย ท� ำ ให้ โครงสร้างพืน้ ฐานด้านพลังงานเปลีย่ นไป แหล่งเงินทุนจ�ำเป็นต้องปรับ ตัวให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น 3. ความมั่นคงด้านน�้ำจะเป็นปัจจัยท้าทายความมั่นคง ด้านอาหารและพลังงาน การใช้น�้ำในศตวรรษที่ผ่านมาเพิ่มสูงขึ้น เป็น 2 เท่าของอัตราการเพิ่มจ�ำนวนประชากรของโลก องค์การ สหประชาชาติประมาณการว่า อุปสงค์ของน�้ำจะมากกว่าอุปทานถึง ร้อยละ 40 ในปี พ.ศ.2573 และจะมีประชากรของโลก กว่าร้อยละ 50 ได้รับผลกระทบ ภาคการเกษตรมีการใช้นำ�้ ถึงร้อยละ 70 ซึง่ จะได้รบั ผลกระทบ เป็นด่านแรก ท�ำให้ประชากรมากกว่า 870 ล้านคน ขาดแคลนอาหาร และไม่สามารถเข้าถึงอาหาร ร้อยละ 90 ของการผลิตพลังงานทั่วโลกต้องใช้น�้ำ แหล่งน�้ำที่ หายากขึ้น ย่อมส่งผลกระทบต่อการผลิตพลังงาน ท�ำให้ภาครัฐและ ภาคเอกชนต้องร่วมมือกันในการสร้างนวัตกรรมเพือ่ จัดการความเสีย่ ง ด้านอุปทานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 4. ภาวะโลกร้อนและสภาพภูมอิ ากาศแบบสุดขัว้ ท�ำให้ตอ้ ง มีมาตรการปรับตัวแบบเชิงรุกและสร้างความยืดหยุ่น อุณหภูมิ พืน้ ผิวโลกในช่วงปี พ.ศ.2493-2553 สูงขึน้ เป็น 6 เท่า เมือ่ เทียบกับช่วงปี พ.ศ.2433-2493 องค์การสหประชาชาติคาดการณ์วา่ ในช่วงครึง่ แรก ของศตวรรษนีจ้ ะมีผคู้ นในเมืองใหญ่ทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากพายุไซโคลน แผ่นดินไหว และอุทกภัย สูงกว่าปัจจุบนั มากกว่า 2 เท่าตัว ภาวะโลกร้อนและสภาพภูมิอากาศแบบสุดขั้ว น�ำไปสู่ความ ไม่มั่นคงและเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความขัดแย้งในบางพื้นที่ และอาจ ท�ำให้สภาพปัญหารุนแรงยิง่ ขึน้ ในเขตเมือง ท�ำให้ตอ้ งออกแบบโครงสร้าง พื้นฐานให้มีความยืดหยุ่นและฟื้นตัวให้เร็วที่สุดในขณะเดียวกัน ต้อง เสริมความแข็งแกร่งให้กับโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่เดิม
Focus
รัฐบาลในหลายประเทศได้พยายามผลักดันการพัฒนาเพือ่ มุง่ สู่เศรษฐกิจคาร์บอนต�่ำ (low-carbon economy) ด้วยการจัดท�ำ มาตรการต่าง ๆ เช่น ภาษีคาร์บอน โปรแกรมการซือ้ ขายสิทธิก์ ารปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (emission trading program) เป็นต้น 5. วิกฤติด้านความโปร่งใสและความมั่นคงของห่วงโซ่ อุปทานของโลก การส�ำรวจของ World Economic Forumในปี พ.ศ. 2555 รายงานว่า ผู้ตอบแบบสอบถามกว่าร้อยละ 90 ให้ข้อมูลว่า ในช่วง 5 ปีทผี่ า่ นมา องค์กรของตนจัดให้ความเสีย่ งด้านห่วงโซ่อปุ ทาน และการขนส่งมีความส�ำคัญมากขึน้ นอกจากนี้ รายงาน Allianz Risk Barometer on Business Risks 2014 แสดงให้เห็นว่า การหยุดชะงัก ทางธุรกิจและความเสียหายที่เกิดกับห่วงโซ่อุปทานท�ำให้เกิดความ เสียหายถึงร้อยละ 50-70 เปอร์เซ็นต์ ของทรัพย์สินที่ท� ำประกันไว้ ภัยจากธรรมชาติ ภูมิรัฐศาสตร์ เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี จะยังคง เป็นสาเหตุให้ห่วงโซ่อุปทานของโลกต้องสะดุดลงเป็นระยะ ๆ ดังนั้น ภาคธุรกิจจ�ำเป็นต้องมีแผนบริหารจัดการวัตถุดิบของตนผ่านการ บูรณาการในแนวตัง้ (vertical integration) และสร้างความร่วมมือใน พัฒนาร่วมกับซัพพลายเออร์ สิง่ ทีจ่ ะได้รบั ความสนใจเพิม่ ขึน้ ได้แก่ การใช้ระบบโลจิสติกส์ ร่วมกัน การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และการน�ำกลับมาใช้ ซ�้ำอีก ทั้งนี้นวัตกรรมทั้งเชิงผลิตภัณฑ์และเชิงกระบวนการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและความมั่นคงของห่วงโซ่อุปทานจะท�ำให้สามารถ สร้างความแตกต่างในการแข่งขันได้ ในด้านความโปร่งใสนั้น โซเชียลมีเดียจะท�ำให้หน่วยงาน ก�ำกับดูแลและผู้บริโภคเรียกร้องการตรวจสอบย้อนกลับวัตถุดิบ (raw material traceability) และความโปร่งใสของกลยุทธ์ในการ จัดหามากขึ้น บริษัทที่มีผลการด�ำเนินงานด้านสังคมหรือสิ่งแวดล้อม ต�ำ่ กว่ามาตรฐาน มีความเสีย่ งทีจ่ ะถูกลดความน่าเชือ่ ถือและจะส่งผล ร้ายต่อบริษัท ด้วยเหตุนี้ ความโปร่งใสจึงมีความส�ำคัญมากขึ้น เรื่อย ๆ ส�ำหรับทุกองค์กร
อนาคตพลังงานไทย
ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2557 กระทรวงพลังงานได้จดั ท�ำภาพ อนาคตพลังงานไทย โดยเป็นการจ�ำลองสถานการณ์ด้านพลังงาน เพื่อสนองนโยบายด้านพลังงานระดับประเทศ เพื่อหาแนวทางใน การตอบสนองกับประเด็นท้าทายที่ส�ำคัญ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ
August-September 2015, Vol.42 No.242
51 <<<
Focus
&
ทิศทางการพัฒนาพลังงานของไทยในอนาคตในอีก 20 ปีข้างหน้า (พ.ศ.2558-2578) โดยอาศัยข้อมูลจากรายงานการศึกษาเกี่ยวกับ อนาคตของพลั ง งานของหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ทั่ ว โลก เช่ น Shell Scenario to 2050 ของ Shell Global, World Energy Model ของ International Energy Agency (IEA) เป็นต้น ท�ำให้ได้ปัจจัยที่ถือได้ ว่า เป็นแรงขับเคลือ่ นทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อความมัน่ คงและยัง่ ยืนของ พลังงานของไทยในอีก 20 ปีข้างหน้า ดังนี้ 1. ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจและศักยภาพการแข่งขันของ ประเทศสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 2. ความเสี่ยงจากความไม่แน่นอนจากภาวะเศรษฐกิจและ ราคาพลังงาน 3. สิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. การพึ่งพาการน�ำเข้าพลังงานและการขาดดุลการค้า 5. ค่าครองชีพและค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน 6. ความขัดแย้งในสังคมและข้อมูล การประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารดั ง กล่ า วท� ำ ให้ ไ ด้ ภ าพอนาคต พลังงานไทยทั้งสิ้น 3 ภาพ ประกอบด้วย Baseline Scenario : เป็ น ภาพอนาคตที่ ส ะท้ อ นการ เปลีย่ นแปลงในอนาคตทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานของแนวโน้มการเปลีย่ นแปลง ดังเช่นในอดีตที่ผ่านมา และเป็นภาพที่สะท้อนถึงพัฒนาการและ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากนโยบายและเป้าหมายต่าง ๆ ในอดีต Reference Scenario : เป็นภาพที่สะท้อนนโยบายและ เป้าหมายของแผนด้านต่าง ๆ ที่ประกาศในปัจจุบัน และเป็นภาพที่ ชี้ให้เห็นถึงผลกระทบในด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น หากเป้าหมายต่าง ๆ สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ได้อย่างเต็มที่ Blueprint Scenario : เป็นภาพอนาคตทางเลือกที่เชื่อมโยง ปั จ จั ย ต่ า ง ๆ ด้ า นพลั ง งานกั บ การพั ฒ นาประเทศในองค์ ร วมมี เป้าหมายในระยะยาวที่จะชะลอระดับการพึ่งพาแหล่งพลังงานจาก ต่างประเทศไม่เกินร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ.2578 ทั้งนี้ Blueprint Scenario ได้แสดงแนวคิดในการพัฒนา พลังงานของประเทศในมิติต่าง ๆ ดังนี้ ➲ พัฒนาระบบพลังงานทีเ่ ชือ ่ มโยงกับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ไปพร้อมกัน เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม โครงสร้างพืน้ ฐานทางราง และการเชือ่ มโยงในภูมภิ าคการบริหาร จัดการน�้ำ การกระจายรายได้จากธุรกิจพลังงานขนาดเล็ก เป็นต้น ➲ ระบบพลั ง งานที่ เ น้ น พึ่ ง พาตนเอง ลดรายจ่ า ย และ สามารถสร้างรายได้ เช่น การผลิตไฟฟ้าและความร้อนร่วม (Cogeneration หรือ Combined Heat and Power : CHP) ในภาค อุตสาหกรรมและอาคารขนาดใหญ่ระบบผลิตพลังงานแบบกระจาย ศูนย์ การพัฒนาพืชพลังงาน การผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ ติดตั้งบนหลังคา (solar rooftop) เป็นต้น ➲ ระบบพลังงานที่มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ เช่น รถยนต์ที่สามารถใช้เชื้อเพลิงที่มีเอทานอลในสัดส่วนตั้งแต่ 0 ถึง ร้อยละ 85 (Flex-Fuel Vehicle : FFV) รถยนต์ไฮบริด (hybrid vehicle) โครงข่ายพลังงานอัจฉริยะ (smart grid) เป็นต้น ➲ การปรับเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับผู้ใช้มีความคุ้มค่า มี >>>52
August-Septembe 2015, Vol.42 No.242
ประสิทธิภาพสูงและสอดคล้องกับการพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคต เช่น การใช้พลังงานไฟฟ้าในระบบราง การใช้ก๊าซไบโอมีเทนอัด (Compressed Biomethane Gas : CBG) ทดแทนการใช้ก๊าซ ธรรมชาติอัด CNG ส�ำหรับผู้ใช้ที่อยู่นอกแนวท่อการลดจ�ำนวนชนิด เชื้อเพลิงและการค่อย ๆ ลดการใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas : LPG) ในภาคคมนาคมขนส่ง ➲ การน�ำศักยภาพของประเทศมาผลิตพลังงานหมุนเวียน อย่างเต็มที่ เช่น พืชพลังงาน พลังงานจากขยะ พลังงานน�้ำ และ พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น
ศักยภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทย
รายงานการส�ำรวจเบื้องต้นโดยบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้าน พลังงานและสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึง่ เสนอต่อส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ พบว่า ในปี พ.ศ.2555 ศักยภาพพลังงาน ชีวมวลของประเทศไทยมีมากถึง 16,813 ktoe โดยทีม่ สี ดั ส่วนจากเศษ วัสดุชวี มวลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตรเพือ่ ผลิตไฟฟ้า และความร้อน 9,232 ktoe ชีวมวลเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพ 6,560.82 ktoe และชีวมวลเพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ 1,020.24 ktoe เมื่อพิจารณาเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของประเทศไทยที่ สอดคล้องกับห่วงโซ่อุปทานแล้ว สามารถจ�ำแนกได้แสดงในภาพที่ 1 ต้นน�้ำ (upstream)
กลางน�้ำ (upstream)
1. การเพิ่มผลผลิตชีวมวล 2. การปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ ชีวมวล
1. กระบวนการทางความร้อนเคมี การเผาไหม้ การผลิตก๊าซเชื้อเพลิงชีวมวล ไพโรไลซีส การผลิตไฟฟ้าและความร้อนจากขยะชุมชน 2. การผลิตเชื้อเพลิงเหลว การผลิตเอทานอล การผลิตไบโอดีเซล การผลิตเชื้อเพลิงเหลวขั้นสูง 3. การผลิตและปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ
ปลายน�้ำ (downstream) 1. การใช้พลังงาน
● ● ● ●
● ● ●
▲ ภาพที่ 1 เทคโนโลยีการผลิตพลังงานชีวมวลจำ�แนกตามห่วงโซ่อุปทาน
กล่าวเฉพาะเทคโนโลยีการผลิตพลังงานชีวมวลโดยกระบวนการทางความร้อนเคมี (thermochemical conversion technology) รายงานฉบับดังกล่าวได้แสดงสถานภาพของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ดังแสดงในตารางที่ 1
ศักยภาพและโอกาสของชีวมวลของไทย
ข้ อ มู ล จากโครงการวิ จั ย เชิ ง นโยบาย เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การใช้ พลังงานหมุนเวียนและการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ของ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ชี้ให้เห็นประเด็น ดังต่อไปนี้ ➲ สัดส่วนของชีวมวลทีย ่ งั ไม่ได้น�ำไปใช้ยงั คงสูง โดยชีวมวล ที่ยังไม่ได้น�ำไปใช้ประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพ ได้แก่ ฟางข้าว ยอด และใบอ้อย ซังข้าวโพดและทะลายปาล์มเปล่า โดยศักยภาพรวม
&
Focus
ตารางที่ 1 สถานภาพปัจจุบันของเทคโนโลยีการผลิตพลังงานชีวมวลของประเทศไทย
ประเภทของเทคโนโลยี
สถานภาพปัจจุบันของเทคโนโลยี
1. เทคโนโลยีการเผาไหม้ (combustion) และการผลิ ต ไฟฟ้ า ความร้ อ นร่ ว ม (Combined Heat and Power : CHP)
➢ ใช้อย่างแพร่หลายในเชิงพาณิชย์ทงั้ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ และใช้กบ ั เชือ้ เพลิงหลากหลายประเภท ทัง้ เชือ้ เพลิง
2. เทคโนโลยีการผลิตก๊าซเชื้อเพลิง (gasification)
➢ มีการน�ำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมเพื่อผลิตความร้อน แต่ยังไม่เป็นที่แพร่หลายเท่าใดนัก ➢ มีการพัฒนาและวิจัย รวมทั้งสาธิตระบบผลิตก๊าซเชื้อเพลิง เพื่อผลิตความร้อนและไฟฟ้า แต่ยังไม่ประสบความ
เดี่ยวและเชื้อเพลิงผสม ส�ำหรับผลิตไฟฟ้า ความร้อน และไฟฟ้าความร้อนร่วม
➢ กังหันไอน�้ำชนิด Extraction-condensing ที่ให้ประสิทธิภาพสูง มีใช้บ้าง แต่ยังไม่แพร่หลายมากนัก
ส�ำเร็จเท่าที่ควร
➢ ระบบสาธิตการผลิตไฟฟ้าเป็นแบบ Fixed-bed Downdraft Gasifier ก�ำลังการผลิต 1 เมกะวัตต์ หรือน้อยกว่า
3. เทคโนโลยีไพโรไลซิส (Pyrolysis)
➢ เทคโนโลยีไพโรไลซิสชีวมวลเพื่อผลิตน�้ำมันชีวภาพ
ปัจจุบันยังอยู่แค่เพียงในขั้นตอนการวิจัย โดยยังไม่มีการน�ำ มาใช้ในเชิงพาณิชย์ มีเพียงการผลิตน�้ำมันจากพลาสติกหรือยาง
4. เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าและความร้อน จากขยะชุมชน (electricity and heat production from MSW)
➢ ปัจจุบันมีเพียงเทคโนโลยีเตาเผา
5. เทคโนโลยีปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิง (pre-treatment technology)
➢ กระบวนการอบแห้งมีการน�ำมาใช้ในเชิงพาณิชย์ ➢ กระบวนการเพิ่มความหนาแน่นของเชื้อเพลิง ได้แก่
(Incineration) ที่ได้มีการน�ำมาใช้ในเชิงพาณิชย์แล้ว และมีเพียงแห่งเดียวที่ ด�ำเนินการต่อเนือ่ ง คือ เตาเผาขยะมูลฝอยชุมชนเพือ่ ผลิตไฟฟ้าของเทศบาลนครภูเก็ต ขนาดก�ำลังการผลิตไฟฟ้า 12 MW
การอัดแท่ง (briquette) อัดเม็ด (pellet) มีการผลิตในเชิง พาณิชย์ ➢ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิง ได้แก่ Torrefaction ยังอยู่ในระหว่างการวิจัยและพัฒนา
ขัน้ ต�ำ่ ทีค่ าดว่าสามารถน�ำมาใช้จริงได้เท่ากับ 5,306 ktoe หรือ 2,076 MWe ➲ หากมีการเปลีย ่ นแปลงโครงสร้างการเกษตร ตัวอย่างเช่น หากการเพิม่ พืน้ ทีก่ ารเพาะปลูกและเพิม่ ผลผลิตอ้อยจนมียอดและใบ อ้อยเพิ่มจากเดิมขึ้นอีกร้อยละ 30 และมีอัตราการเก็บคืนวัสดุเหลือ ทิ้งทางการเกษตรทั้งหมดเป็นร้อยละ 90 รวมทั้งมีการใช้เทคโนโลยี การผลิตไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ เป็นร้อยละ 25 จะท�ำให้ศกั ยภาพ รวมเพิ่มขึ้นเป็น 7,491 ktoe หรือ 3,663 MWe ➲ การปลูกไม้โตเร็วเพือ ่ เป็นแหล่งพลังงาน (energy crops) เช่น ยูคาลิปตัส กระถิน ที่ประเทศไทยได้มีการริเริ่มด�ำเนินการในเชิง พาณิชย์ จะมีบทบาทอย่างสูงในการเพิ่มศักยภาพชีวมวลได้อีก จาก การประเมินพบว่า ไม้โตเร็วมีศักยภาพการผลิตไฟฟ้าได้สูงสุดกว่า 1,300 MWe ➲ จากการประเมินศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจากขยะชุมชน โดยภาพรวมของทั้งประเทศ ปี พ.ศ.2554 พบว่า มีศักยภาพในการ ผลิตไฟฟ้าขั้นต�่ำ 384 MWe อย่างไรก็ตาม การเพิม่ ศักยภาพชีวมวลของประเทศ นอกจาก ประเด็นการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมแล้ว จ�ำเป็นต้องมีวิธีการ บริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และการสนับสนุนในระดับนโยบาย อย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและ เศรษฐศาสตร์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
แหล่งข้อมูล 1. บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม (2549) โครงการ วิจัยเชิงนโยบายเพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนและการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน. 2. บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม (2558) โครงการ สมุดปกขาวฐานข้อมูลและศักยภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลในประเทศไทย เสนอต่อ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ. 3. สัมมนาเชิงวิชาการเพื่อระดมความคิดเห็นในการศึกษา “ภาพ อนาคตพลังงานไทย 2558”, โครงการภาพจ�ำลองสถานการณ์ด้านพลังงานเพื่อ สนองนโยบายด้านพลังงานระดับประเทศ, 17 กรกฎาคม 2557, กระทรวง พลังงาน. 4. ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (2557) รายงานสถานภาพเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลของ ประเทศไทย 2556. 5. EY Global (2015) Megatrends 2015 - Making Sense of a World in Motion. 6. World Economic Forum (2012) New Models for Addressing Supply Chain and Transport Risk.
August-September 2015, Vol.42 No.242
53 <<<
&
Worldwide
ยานยนต์ เรื่องจริงไม่ใช่หนังวิทยาศาสตร์อีกต่อไป แน่
นอนว่า หนึ่งในบริษัทเทคโนโลยี ชัน้ น�ำทีเ่ อ่ยชือ่ ก็เป็นทีร่ จู้ กั กันดี แต่ ท่านอาจจะไม่ทราบว่าบริษทั นีก้ ำ� ลังเป็นผูน้ ำ� ในเทคโนโลยีด้านนี้ นั่นก็คือ Google ซึ่ง เริม่ ต้นโครงการวิจยั นีใ้ น Google ต่อยอดมา จากรถยนต์ไร้คนขับของทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ที่เข้าร่วมแข่งขันและ เป็นผู้ชนะในการแข่งขัน DARPA Grand Challenge ในปี พ.ศ.2548 ที่ผ่านมา และ >>>54
August-September 2015, Vol.42 No.242
ดร. อดิสร เตือนตรานนท์
ผู้อำ�นวยการ ศูนย์นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่ปรึกษา สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
ตั้งแต่
สมัยผมยังเป็นเด็ก เราคุ้ยเคยกับหนังแนววิทยาศาสตร์ หรือ Sci-fi กันดี และหนึ่งในฉาก ของหนังแนวนี้ เราจะต้องเห็นยานพาหนะแห่งอนาคต รูปร่างคล้ายรถยนต์หรือจรวด วิ่งหรือบินไปมาในเมืองแห่งอนาคตที่เต็มไปด้วยตึกสูงระฟ้า และผู้คนใส่ชุดแปลก ๆ ทันสมัย และมักจะสังเกต ได้ว่า ยานพาหนะเหล่านี้ มันวิ่งหรือบินได้โดยไม่ต้องมีคนขับ ซึ่งภาพเหล่านี้ยังคงอยู่ในความทรงจ�ำของ พวกเราตั้งแต่เด็กจนโต และผมเชื่อว่า มันก็ยังอยู่ในหัวสมองของเหล่านักวิจัยและพัฒนาทั่วโลก จึงท�ำให้ เป็นแรงบันดาลใจให้นักวิจัยและพัฒนาเหล่านี้มุ่งมั่นที่จะสร้างยานพาหนะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งรถยนต์ที่ไม่ต้อง มีคนขับ หรือที่เราเรียกว่า ยานยนต์ไร้คนขับ (Driverless Vehicle หรือ Self-Driving Vehicle)
&
Worldwide วิจัยพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดย ที่ ป ั จ จุ บั น มี ร ถยนต์ ต ้ น แบบที่ เ รี ย กกั น ว่ า Google Car ออกมาวิ่งและทดสอบจริงบน ท้องถนนแล้ว นอกจากนีย้ งั ได้รบั การอนุญาต ให้วิ่งใน 4 มลรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา อย่างถูกต้องตามกฎหมาย ได้แก่ California, Washington D.C., Nevada และ Michigan โดยบริษัท Google ตั้งเป้าไว้ว่า จะผลิตออก มาขายให้ได้ใช้อย่างแพร่หลายภายในปี พ.ศ.2563 นับว่าเป็นโครงการวิจยั ทีน่ า่ ตืน่ เต้น และอาจจะเปลี่ยนแปลงโลกได้อีกครั้ง นอกจากรถดังกล่าวจะถูกทดสอบ อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกาแล้ว ทวีปเอเชียก็ ก�ำลังด�ำเนินการทดสอบยานยนต์ไร้คนขับ เช่นกัน แต่อยูท่ ปี่ ระเทศเล็ก ๆ ใกล้ ๆ บ้านเรา แต่มคี วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิสยั ทัศน์ก้าวไกลมาก นั่นคือ ประเทศสิงคโปร์ นัน่ เอง โดยทดสอบทีม่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยี ที่มีชื่อเสียงของสิงคโปร์ นั่นคือ Nanyang Technological University (NTU) ซึ่งการที่ จะใช้รถยนต์ไร้คนขับได้โดยไม่เกิดอุปสรรค หรืออุบัติเหตุนั้น ต้องประกอบด้วย 2 ส่วน คื อ ตั ว รถยนต์ ที่ ต ้ อ งปรั บ ปรุ ง เพื่ อ เป็ น รถ หุ่นยนต์ หรือ Robotcar และระบบจราจร อัจฉริยะ (intelligent transport system) ที่ ควบคุมการเดินรถไม่ให้เกิดอุบัติเหตุหรือ ชนกัน โครงการนี้เป็นการร่วมมือกันระหว่าง Nanyang Technological University (NTU) และบริษัท NXP Semiconductors โดยเน้น พัฒนาสนามทดสอบรถยนต์ไร้คนขับ เรียก โครงการนี้ว่า Smart Mobility Test Bed เพื่อ ท�ำการทดสอบเทคโนโลยีการสือ่ สารระหว่าง รถยนต์ไร้คนขับกับสิง่ ต่าง ๆ ทีแ่ วดล้อม หรือ เรียกว่าเป็น Vehicle-to-Everything หรือย่อ ว่า V2X เป็นเทคโนโลยีที่ท�ำให้รถยนต์แต่ละ คันสามารถติดต่อสือ่ สารกันได้ และยังติดต่อ ไปยังระบบควบคุมการจราจรได้อกี ด้วย เพือ่ ป้องกันการชนกัน และหลบหลีกเส้นทางกัน ได้ โดยโครงการนีไ้ ด้ใช้ถนนในมหาวิทยาลัย NTU เป็นที่ทดลอง โดยได้น�ำรถยนต์สาธิต 3 คัน ที่ปราศจากคนขับ ให้รถยนต์วิ่งไป รอบ ๆ วิทยาเขต โดยรถยนต์ไร้คนขับเหล่านี้ จะส่งข้อมูลแบบ Real-time ถึงกัน และส่งไป
ยั ง ศู น ย์ ค วบคุ ม การจราจร โดยระบบจะ จัดการการเดินรถและลบทิง้ ทุก ๆ 2 กิโลเมตร โครงการนี้ ล งทุ น ด้ ว ยทุ น วิ จั ย มู ล ค่ า สู ง ถึ ง 22 ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ หรื อ ประมาณ 700 ล้านบาท โดยบริษัทได้ท�ำสัญญามอบ ให้มหาวิทยาลัยไปท�ำวิจยั โดยมีเป้าหมายที่ วางไว้ว่า ภายใน 5 ปีข้างหน้า จะต้องมี รถยนต์ไร้คนขับออกวิ่งบนถนนได้ 100 คัน และมีถนนมากกว่า 50 สายในสนามทดสอบ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ รถยนต์ไร้คนขับจะสามารถ ขับอยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัยในช่วงเวลาเร่ง ด่วนในอนาคตอันใกล้ และทางมหาวิทยาลัย ได้เตรียมการมากกว่าหนึ่งปีที่ผ่านมา และ เปลี่ยนให้ NTU เป็นห้องวิจัยที่มีชีวิต โดย มหาวิทยาลัยมุ่งหวังว่าจะเปลี่ยนแปลงให้ วิทยาเขตของ NTU พัฒนาอย่างต่อเนือ่ งด้วย เทคโนโลยีใหม่ ๆ และสร้างสรรค์ให้สิงคโปร์ เป็นสังคมที่น่าอยู่และทันสมัย จะเห็นได้วา่ ถ้าโครงการนีป้ ระสบผล ส�ำเร็จ จะเป็นโครงการต้นแบบในการพัฒนา รถยนต์ไร้คนขับโดยคนสิงคโปร์เอง และ
สามารถพัฒนาเพื่อส่งออกไปใช้บนถนนใน ประเทศต่าง ๆ และถ้าประเทศไทยไม่ทำ� วิจยั เรือ่ งนี้ สิงคโปร์กจ็ ะมาขายเทคโนโลยีนใี้ ห้เรา ในอนาคตอย่างแน่นอน ประเทศสิงคโปร์มี นโยบายและวิสัยทัศน์เน้นพัฒนาแนวคิด Smart Mobility เพื่อมุ่งสู่ Smart Nation จะ เห็นได้วา่ ประเทศสิงคโปร์มเี ป้าหมายในการ เป็นผู้น�ำด้านนี้ในอนาคต แต่สิงคโปร์ไม่ได้ วิ จั ย ด้ า นยานยนต์ ไ ร้ ค นขั บ ไปไกลกว่ า ประเทศต้นต�ำรับด้านนี้ นัน่ คือ สหรัฐอเมริกา เมือ่ เราข้ามไปดูเทคโนโลยียานยนต์ไร้คนขับ ในฝั่งสหรัฐอเมริกาแล้ว นอกจาก Google จะเปิดตัว Google Car ไปแล้ว ผมอยากจะกล่าวถึงบริษัทที่เราไม่ คุ ้ น เคยแต่ เ ป็ น ผู ้ ผ ลิ ต อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละ เซนเซอร์ในรถยนต์เจ้าใหญ่ของโลก นั่นคือ บริษัท Delphi Automotive เมื่อต้นเดือน เมษายนที่ผ่านมา บริษัทได้ประสบความ ส�ำเร็จในการทดสอบยานยนต์ไร้คนขับที่ บริษัทสร้างขึ้น โดยใช้เส้นทางตั้งต้นจาก เมือง San Francisco จุดมุ่งหมายที่เมือง
August-September 2015, Vol.42 No.242
55 <<<
&
Worldwide New York City ระยะทางประมาณ 5,600 กิโลเมตร ใช้ระยะเวลาในการเดินทางรวมทัง้ สิ้น 8 วัน เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ ยานยนต์ไร้คนขับสามารถเดินทางข้ามทวีป อเมริกาได้อย่างปลอดภัย โดยโครงการยานยนต์ไร้คนขับคันนี้ได้น�ำเอารถยนต์ SUV ยี่ห้อ Audi รุ่น SQ5 ล่าสุด มาติดตั้งระบบ ยานยนต์ไร้คนขับที่ทางทีมวิจัยของบริษัท พัฒนาขึ้น โดยมีเรดาร์ระยะสั้น ทั้งสิ้น 4 ตัว มีกล้อง 3 ตัว และมี Lidar หรือเรดาร์แบบ สแกนด้วยแสงเลเซอร์อกี จ�ำนวน 6 ตัว ฝังอยู่ รอบคัน ที่ส�ำคัญไม่จ�ำเป็นต้องมีเรดาร์หมุน อยู่บนหลังคา เหมือนที่ Google Car ต้องมี อี ก ด้ ว ย มั น ดู เ หมื อ นรถปกติ ธ รรมดา ไม่ เหมื อ นรถตั ว ประหลาด เบื้ อ งหลั ง ความ ส� ำ เร็ จ ในการทดสอบรอบนี้ ท� ำ ให้ ที ม วิ จั ย สามารถเก็บข้อมูลมากกว่า 2 ล้านล้านไบต์ หรือ Terabytes เพือ่ มาพัฒนาระบบเซนเซอร์ และระบบซอฟต์ แ วร์ เ พื่ อ ประมวลผลใน การน�ำทาง และเพือ่ เพิม่ ระบบความปลอดภัย ของการเดินทางครั้งต่อไป ทั้งนี้ตั้งแต่เริ่มโครงการมา บริษัท มีรายได้เพิ่มมากถึง 14,000 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ หรือประมาณ 450,000 ล้านบาท ใน ปี พ.ศ.2557 ทีผ่ า่ นมา เนือ่ งจากสามารถขาย เทคโนโลยี Active Safety ให้ แ ก่ ผู ้ ผ ลิ ต รถยนต์ยี่ห้อต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งช่วยให้รถยนต์ ไม่ขบั ไถลข้ามช่องทางจราจรและระบบหยุด รถยนต์ทสี่ ามารถหยุดรถได้เร็วกว่าการเบรก ของมนุษย์อีกด้วย ในการทดสอบยานยนต์ ไร้คนขับครั้งนี้ ยานยนต์ไร้คนขับจะขับข้าม สหรัฐอเมริกาและขับไปโดยใช้ความเร็วตาม ที่ถนนแต่ละรัฐควบคุมความเร็วไว้ และจะ ขับเพียงวันละ 8 ชั่วโมงเท่านั้น โดยมีผู้ที่นั่ง อยู ่ ใ นต� ำ แหน่ ง คนขั บ ตลอดเส้ น ทางเพื่ อ ป้องกันเหตุไม่คาดฝัน และการทดสอบ Testdrive ครัง้ นีผ้ า่ นพ้นไปด้วยดี ไม่เกิดอุบตั เิ หตุ และยังถึงเป้าหมายได้ในเวลาที่ก�ำหนดไว้ อีกด้วย นับว่าโครงการนี้เป็นก้าวส�ำคัญของ แวดวงยานยนต์ที่สามารถผลิตยานยนต์ไร้ คนขับต้นแบบออกมาได้จริง อีกไม่นานคง เริม่ ผลิตออกมาสูต่ ลาดในรถยนต์ยหี่ อ้ ต่าง ๆ >>>56
August-September 2015, Vol.42 No.242
ในไม่ชา้ หรืออาจจะสามารถอัปเกรดรถยนต์ ของท่านเป็นแบบไร้คนขับก็เป็นได้ไม่ยาก ใน อนาคตการเดินทางไปไหนมาไหนก็จะสะดวก มากขึน้ โดยเฉพาะผูพ้ กิ าร และทีส่ ำ� คัญความ ปลอดภัยบนท้องถนนคงมีมากขึ้น เพราะ ยานยนต์ไร้คนขับนี้คงจะดีกว่าเมาแล้วขับ เป็นไหน ๆ เมือ่ พูดถึงความปลอดภัยในการขับขี่ แล้ว นอกจากพัฒนาในรถยนต์นงั่ ส่วนบุคคล ในขณะนี้ได้มียานยนต์ไร้คนขับอีกประเภท หนึง่ ทีก่ ำ� ลังออกมาทดลองบนถนน นัน่ คือ รถ บรรทุ ก พ่ ว งที่ ใ ช้ บ รรทุ ก สิ น ค้ า เป็ น ตู ้ แ ละ วิ่งในระยะทางไกล (freightliner) ข่าวดีคือ รถบรรทุกพ่วงไร้คนขับ ที่กล่าวมานี้ ได้รับ ใบอนุญาตจากมลรัฐ Nevada ให้สามารถ ขับได้บนถนนของมลรัฐและก�ำลังจะขยาย ไปทัว่ ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยต้องมีผขู้ บั ขี่ รถที่ได้รับใบอนุญาตในการขับรถบรรทุก ชนิดนี้ นั่งอยู่หลังพวงมาลัยตลอดเวลา แต่ พนักงานขับรถ ไม่ต้องขับรถตลอดเวลา เขา สามารถท�ำอย่างอื่นที่จ�ำเป็นได้ เช่น นั่งดู แผนที่ หาข้อมูล หรือแม้แต่อ่านหนังสือ ดู หนัง หรือเล่นเกมส์ได้ เพียงแต่ห้ามหลับ เท่านัน้ เพราะในบางช่วงของถนน ยังต้องการ พนักงานขับรถเพื่อควบคุมรถอยู่ และด้วย เทคโนโลยีที่ได้รับอนุญาตในปัจจุบันยังคง ใช้ได้ดกี บั สภาพถนนทีม่ พี นื้ ถนนเรียบ ในช่วง เวลากลางวัน และสภาพอากาศดีเท่านัน้ ดัง นั้นการมีพนักงานขับรถคอยควบคุมอยู่หลัง พวงมาลั ย นั้ น ยั ง จ� ำ เป็ น อยู ่ เ พื่ อ ป้ อ งกั น อุบตั เิ หตุจากสภาพถนนทีไ่ ม่ปกติ หรือ สภาพ อากาศแปรปรวน กรมการขนส่งของสหรัฐอเมริกา หรือ U.S. Department of Transportation’s National Highway Traffic Safety Administration (NHTSA) ได้แบ่งระดับของยาน ยนต์ไร้คนขับไว้ 5 ระดับ ตั้งแต่ Level (0 No-automation) คือ ไม่มรี ะบบอัตโนมัตเิ ลย พนักงานขับรถต้องควบคุมรถตลอดเวลา Level 1 (function-specific automation) คือ การท�ำงานในระบบควบคุมรถอัตโนมัตินั้น จะควบคุมเพียง 1 ส่วนเท่านั้น แต่ยังต้องใช้ พนักงานขับรถควบคุมรถ เช่น ระบบเบรก
นิรภัย ที่ช่วยให้การท�ำงานของเบรกรวดเร็ว ขึ้นกว่าใช้พนักงานขับรถเพียงอย่างเดียว Level 2 (combined function automation) คือ ระดับที่จะใช้ระบบอัตโนมัติ อย่างน้อย 2 ส่วน เช่น ระบบ Cruise Control ร่วมกับ ระบบ Lane Tracking Level 3 (limited self-driving automation) ยานยนต์ในระดับ นี้ จะให้ผู้ขับสามารถควบคุมรถยนต์ในส่วน ทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัย ภายใต้สถานการณ์ทกี่ ำ� หนดไว้ หรือ สภาวะแวดล้อมทีไ่ ม่ ปกติ ซึ่งเมื่อเกิดสถานการณ์ดังกล่าว ผู้ขับ สามารถเปลี่ยนโหมดให้เป็นระบบคนขับ ปกติได้ และจนกระทั่ง Level 4 (full selfdriving automation) คือ ระดับที่ยานยนต์ ได้รับการออกแบบมาให้ขับเคลื่อนไปอย่าง อัตโนมัติทั้งหมดไม่ว่าสถานการณ์รอบด้าน และสภาพถนนจะเป็นอย่างไร ผู้ขับขี่มีหน้า ที่ เ พี ย งใส่ จุ ด หมายของเส้ น ทางลงไปใน ระบบน�ำทางเท่านั้น ส�ำหรับรถบรรทุกไร้คน ขับที่กล่าวถึงอยู่นี้ ยังอยู่ในระดับ 3 เท่านั้น โดยใช้ระบบ GPS ในการน�ำทาง ทั้งยังมี ระบบรักษาระดับความเร็วให้คงที่เพื่อไม่ให้ เกินระดับความเร็วตามที่กฎหมายก�ำหนด ทั้งยังออกแบบมาเพื่อประหยัดพลังงานเมื่อ ขับไปเป็นขบวน (platoon) ช่วยท�ำให้ระบบ อากาศพลศาสตร์ที่ดีขึ้น โดยขับตามกันเป็น ขบวนโดยเว้นระยะห่างของรถแต่ละคันไว้ ตามทีโ่ ปรแกรมไว้ ซึง่ ท�ำให้สามารถประหยัด น�้ำมันได้ร้อยละ 5-8 อีกด้วย สามารถช่วย ประหยัดพลังงานทัง้ ประเทศได้ปลี ะมหาศาล ทางบริษัทผู้ผลิตยังกล่าวว่า เมื่อใช้ระบบรถ บรรทุกไร้คนขับนี้จะสามารถลดอุบัติเหตุลง ได้มากถึงร้อยละ 90 อีกด้วย เนื่องจากด้วย สาเหตุของคนขับที่ง่วงนอน หรือไม่มีสมาธิ ในการขับ ในอีกไม่นาน เทคโนโลยียานยนต์ ไร้คนขับนี้มาใช้ได้จริง จะช่วยลดอุบัติเหตุ บนท้องถนนจากการหลับในได้อย่างมาก อยากให้รีบมาใช้กับถนนบ้านเราโดยเร็ว ที่สุดครับ
&
Report
ทุ่มงบฯ เสริมฐานงานอนุรักษ์พลังงาน
และพลังงานทดแทน กองทุน
เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เตรียมงบวิจัยประมาณ 120 ล้านบาท ให้สถาบัน ต่าง ๆ หวังดึงนักวิจัยเติมเต็มรอยต่อแผนอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
กองบรรณาธิการ: เรียบเรียง
ของประเทศ
นาย
คุรุจิต นาครทรรพ ปลัดกระทรวงพลังงาน ในฐานะ ประธานอนุกรรมการกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงาน เปิดเผยภายหลังการประชุมเมือ่ วันที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ.2558 ว่าได้พิจารณาคัดเลือกงานวิจัยด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน ทดแทนกว่า 100 โครงการ ที่หน่วยงานต่าง ๆ เสนอขอทุนวิจัยประจ�ำ ปี 2558 โดยได้จัดสรรเป็นทุนวิจัยด้านอนุรักษ์พลังงาน 14 โครงการ 76 ล้านบาท และทุนวิจัยด้านพลังงานทดแทน 10 โครงการ 44 ล้าน บาท ผลที่คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัยปีนี้ จะช่วยให้กระทรวง พลังงานมีข้อมูลสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงานและ พลังงานทดแทนได้ชดั เจนมากขึน้ เช่น การจะช่วยอนุรกั ษ์พลังงานใน กลุม่ SMEs และภาคประชาชนให้ตรงจุดมากขึน้ โดยความร่วมมือกับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสถาบันต่าง ๆ รวบรวมปัญหา เชิงลึกจากพื้นที่ และน�ำมาวิเคราะห์พิจารณาแนวทางด�ำเนินการให้ เหมาะสมกับปัญหา รวมถึงการน�ำรูปแบบการอนุรกั ษ์พลังงานทีใ่ ช้ได้ ผลดีกบั กิจการขนาดใหญ่ทมี่ กี ารรับประกันความเสีย่ งในผลประหยัด พลังงานที่คาดว่าจะได้รับหรือที่เรียกว่า บริษัท จัดการพลังงาน (ESCO) ไปทดลองกับ SMEs เพื่อน�ำร่องให้ผู้ประกอบกิจการเกิด ความเชื่อมั่นและตัดสินใจลงทุน นอกจากนี้ยังมีงานศึกษาความเหมาะสมที่จะน�ำรูปแบบการ อนุรกั ษ์พลังงานทีก่ ำ� หนดให้ผปู้ ระกอบการผลิตไฟฟ้า เช่น 3 การไฟฟ้า ของประเทศไทย จะต้องมีกิจกรรมลดการใช้พลังงานให้กับผู้บริโภค
หรือลูกค้าของตนด้วย ตลอดจนงานวิจยั การประหยัดพลังงานในตูแ้ ช่ เย็นแสดงสินค้า ซึง่ ปัจจุบนั ร้านสะดวกซือ้ เช่น 7-Eleven, Family Mart ฯลฯ มีมากกว่า 1 หมื่นแห่ง เท่ากับมีตู้แช่ไม่น้อยกว่า 1 หมื่นตู้ มีการ ใช้ไฟฟ้าปีละ 257 ล้านหน่วย หรือเทียบเท่าปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตจาก โรงไฟฟ้าขนาด 35 เมกะวัตต์ ถ้างานวิจัยยืนยันผลประหยัดพลังงาน ได้ 20-40 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ก็ จ ะได้ ต ่ อ ยอดงานวิ จั ย ไปขยายผลกั บ ร้านสะดวกซือ้ ทีม่ อี ยูเ่ ป็นจ�ำนวนมากในชุมชนและสถานีบริการน�ำ้ มัน ก่อให้เกิดผลการประหยัดพลังงานในภาพรวมของประเทศได้ ส�ำหรับงานวิจัยพลังงานทดแทน เน้นการพัฒนาแนวทาง การน�ำเศษวัสดุเหลือใช้และทิ้งในพื้นที่การเกษตรที่มีอยู่เป็นจ�ำนวน มาก มาประยุกต์ใช้เป็นถ่านชีวภาพ ทั้งในรูปแบบการเข้าไปรวบรวม แล้วน�ำออกมาแปรรูป จัดเก็บและจัดการด้วยระบบธนาคารชีวมวล กับรูปแบบการเข้าไปจัดการในพื้นที่การเกษตรด้วยระบบผลิตถ่าน ชีวภาพแบบเคลื่อนที่ โดยหวังจะช่วยลดปัญหาหมอกควันที่เกิดจาก การเผาวัสดุเหลือใช้ทางเกษตรหลังการเก็บเกี่ยว โดยเฉพาะในเขต ภาคเหนือตอนบน ทีก่ ระทรวงพลังงานได้มอบหมายให้พลังงานจังหวัด เชียงใหม่เร่งด�ำเนินการศึกษาหาแนวทางน�ำเศษวัสดุการเกษตร เหล่านั้นมาใช้เป็นพลังงาน ซึ่งการวิจัยโครงการนี้อาจจะเป็นอีกหนึ่ง ทางเลือก ถ้าผลสรุปการวิจัยมีความชัดเจนว่า มีความเหมาะสมทั้ง ทางเทคโนโลยีและความคุ้มค่าการลงทุน ก็จะสามารถขยายไปยัง ภูมิภาคอื่น ๆ และยังเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย “การสนับสนุนทุนวิจัยด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงาน ทดแทน เป็นการเปิดโอกาสให้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถใน สถาบั น ต่ า ง ๆ และภาคเอกชน ได้ เ ข้ า มามี ส ่ ว นร่ ว มในการคิ ด สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ช่วยเติมเต็มและต่อยอดให้แผนอนุรักษ์พลังงาน และพลังงานทดแทนชัดเจนมากขึน้ และในปี พ.ศ.2559 ทีป่ ระเทศไทย เป็นเจ้าภาพจัดงานพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเซีย 2559 หรือ SETA 2016 จะเป็นเวทีทกี่ ระทรวงพลังงานจะน�ำผลงานวิจยั ด้าน พลังงานที่ได้รับการสนับสนุนและประสบความส�ำเร็จไปเผยแพร่ เพื่อประโยชน์กับประเทศสมาชิกในการน�ำไปประยุกต์ใช้และเป็น ประโยชน์กับนักวิจัยไทยที่จะได้รับการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ พัฒนาให้งานวิจัยเข้มแข็งมากขึ้น” นายคุรุจิต กล่าว August-September 2015, Vol.42 No.242
57 <<<
&
Report
เคล็ด (ไม่) ลับ
เทคโนโลยีสีเขียวสู่ความยั่งยืน กองบรรณาธิการ: เรียบเรียง
เป็น
อี ก ปี ห นึ่ ง ที่ ชไนเดอร์ อิ เ ล็ ค ทริ ค ผู ้ น� ำ ด้ า นการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานระดั บ โลก จั ด งาน Xperience Efficiency 2015 ระดมผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงาน มาร่วมเผยเคล็ดลับเทคโนโลยีสีเขียว น�ำความยั่งยืนสู่ธุรกิจ และแนวทางในอนาคต ยกประเด็นอาคารส�ำนักงานใหญ่ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศฝรั่งเศส เป็นกรณีศึกษาจากการใช้โซลูชั่นสุดไฮเทคประหยัดพลังงานได้ถึง 4 เท่า พร้อมยกทัพจัด เต็มเทคโนโลยีการจัดการไฟฟ้าและพลังงาน ทั้งในโรงงาน อาคาร และที่พักอาศัย ตลอดจนดาต้าเซ็น เตอร์ ตอบโจทย์ครบทุกธุรกิจ
มร.
มาร์ค เพลิทิเยร์ ประธาน บริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย กล่าวว่า ในโลกของธุรกิจทุกวันนี้ ค่าใช้จ่าย ด้านพลังงานเป็นปัญหาส�ำคัญอันดับต้น ๆ ส�ำหรับภาคธุรกิจ ยกตัวอย่างเช่น อาคาร ไม่ ว่าจะเป็น ธุรกิจโรงแรม โรงพยาบาล อาคาร พาณิชย์ พลังงานจะถูกใช้ไปในส่วนต่าง ๆ โดยกระบวนการวางระบบความร้อน-เย็น และระบายอากาศ (HVAC) ใช้พลังงานคิด เป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 50 ของพลังงานที่ใช้ ทั้งหมด ในขณะที่ระบบแสงสว่างมีการใช้ พลังงานร้อยละ 20 และระบบท�ำความร้อน ใช้พลังงานร้อยละ 10 และการใช้พลังงานใน ด้านอื่น ๆ อีก 20 เปอร์เซ็นต์ จะเห็นได้ว่า ในอาคารมีการใช้พลังงานมากมาย การ ประหยัดพลังงานให้ได้ถงึ ขีดสุด การใช้ความ ร่วมแรงร่วมใจของพนักงานอาจจะยังไม่ >>>58
August-September 2015, Vol.42 No.242
เพียงพอ การใช้เทคโนโลยีและโซลูชั่นของ ระบบจัดการพลังงาน และการออกแบบ ระบบต่าง ๆ เข้ามาช่วย จะท�ำให้เกิดการ ลดการใช้ พ ลั ง งานได้ ม ากที่ สุ ด และเกิ ด ประสิทธิภาพสูงสุด จากกรณีศึกษา อาคารเลอไฮว์ ซึ่ง เป็นส�ำนักงานใหญ่ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ที่ประเทศฝรั่งเศส มีพื้นที่ 35,000 ตาราง เมตร เป็นส�ำนักงาน 7 ชั้น มีพนักงาน 1,850 คน ในปี พ.ศ.2551 ใช้พลังงานทั้งสิ้น 320 กิโลวัตต์-ชัว่ โมงต่อตารางเมตร ต่อปี ปัจจุบนั ใช้พลังงานเพียง 74 กิโลวัตต์-ชั่วโมง ต่อ ตารางเมตร ต่อปี ซึ่งถือว่าประสบความ ส�ำเร็จในการลดการใช้พลังงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อาคารเลอไฮว์เป็นอาคารแห่ง แรกของโลกทีผ่ า่ นใบรับรอง 4 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน ISO 50001
มาตรฐานด้านการจัดการพลังงาน มาตรฐาน ISO 140001 มาตรฐานด้ า น สิง่ แวดล้อม มาตรฐาน HQE ใบรับรองด้าน การจัดการอาคารอย่างยัง่ ยืน และมาตรฐาน BREEAM (Building Research Establishment Environmental Assessment Method for buildings) ใบรับรองด้านโมเดลพลังงาน และการปฏิบตั กิ ารด้านพลังงาน โซลู ชั่ น ในการจั ด การพลั ง งานที่ อาคารเลอไฮว์ คือ “ระบบจั ด การอาคาร อัจฉริยะ หรือ Building Management System (BMS)” ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่รวมเทคโนโลยี ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ได้แก่ การมอนิเตอร์ การ ควบคุมและการจัดการพลังงาน ระบบแสง สว่าง ระบบป้องกันเพลิงไหม้ ระบบรักษา ความปลอดภัย และระบบจัดการกระบวนการ วางระบบความร้อน-เย็น และระบายอากาศ โดยสามารถบริหารจัดการพลังงานส่วนต่าง ๆ ได้ ให้ความคุ้มค่าในการลงทุนด้วยแนวคิด การวางระบบสถาปั ต ยกรรม แบบ EcoStruxure คือ การเลือกติดตั้งอุปกรณ์หรือ ดัดแปลงตามความจ�ำเป็นของลูกค้าตาม ธุรกิจ และซอฟต์แวร์บริหารจัดการ
& มร.มาร์ ค กล่ า วต่ อ ว่ า ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นผู้น�ำด้านการบริหารจัดการ พลั ง งานระดั บ โลกรายแรก ๆ ที่ มี ก ารใช้ เทคโนโลยี ไ อที เ ข้ า มาช่ ว ยในการบริ ห าร จัดการพลังงาน พร้อมทัง้ พัฒนาแพลตฟอร์ม และซอฟต์แวร์ของตัวเอง เพื่อใช้ในการส่ง ผ่านข้อมูล หรือควบคุมอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทัง้ ของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค และอุปกรณ์แบรนด์อื่น ได้อย่างลงตัว ในโครงสร้างสถาปัตยกรรม อีกทั้งวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ ภายใต้แบรนด์ ชไนเดอร์ อิ เ ล็ ค ทริ ค ยั ง ผลิ ต จากวั ส ดุ ที่ สามารถน�ำไปรีไซเคิลได้ และได้รบั มาตรฐาน ระดับโลกอีกด้วย นอกจากโซลูชนั่ ส�ำหรับอาคาร ภายใน งาน Xperience Efficiency 2015 ชไนเดอร์ อิ เ ล็ ค ทริ ค ยั ง ได้ น� ำ นวั ต กรรมและโซลู ชั่ น อื่ น ๆ อี ก มากมายมาจั ด แสดง ที่ ช ่ ว ยให้ องค์กรต่าง ๆ สามารถขับเคลื่อนองค์กรได้ อย่างยั่งยืน เช่น
โซลูชั่นสำ�หรับกรีนไอที และดาต้าเซ็นเตอร์
ด้วยทีมงานผู้เชี่ยวชาญที่สามารถ น�ำเอาอุปกรณ์ซงึ่ ผลิตจากวัสดุทเี่ ป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม อุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง และสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น เครือ่ ง ยูพเี อส เทคโนโลยีลา่ สุด Galaxy VM, Inrow Cooling, StruxureWare มาออกแบบได้อย่าง ลงตัว โดยสามารถลดการใช้พลังงานได้ อย่ า งเห็ น ผล และสามารถแสดงพร้ อ ม ค�ำนวนการใช้พลังงานได้ทั้งระบบอย่างมี ประสิทธิภาพ ผ่านระบบบริหารจัดการดาต้าเซ็ น เตอร์ แ บบครบวงจรที่ สุ ด ในโลกของ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (DCIM) ซึง่ ผูด้ แู ลดาต้าเซ็ น เตอร์ ส ามารถตรวจสอบ ด� ำ เนิ น การ
Report
วิเคราะห์ และจัดสรรการใช้พลังงาน ระบบ ท�ำความเย็น ระบบรักษาความปลอดภัย และระบบต่าง ๆ ให้ทำ� งานได้อย่างเหมาะสม และช่วยลดต้นทุนธุรกิจ ดังนั้น องค์กรก็ช่วย ลดสภาวะโลกร้อนและคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ได้ อีกด้วย
โซลูชั่นสำ�หรับบ้านและที่อยู่อาศัย
เปลี่ยนบ้านธรรมดาให้กลายเป็น บ้านอัจฉริยะ โดยควบคุมผ่านสมาร์ทโฟน หรือแทบเล็ต ไม่ว่าจะเป็นระบบแสงสว่าง แอร์คอนดิชนั่ ระบบม่าน หรือเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ต่าง ๆ ภายในบ้าน ที่สามารถเพิ่มฟีเจอร์ ได้ตามความต้องการ ด้วยเทคโนยีลา่ สุด อีซี่ อินสตอลล์ 3 ทีถ่ กู ออกแบบมาเพือ่ ให้ใช้งาน ง่าย สามารถรองรับการติดตั้งอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ต้องการเพิ่มเติมได้อีกในอนาคต สามารถ เรียกดูสถานะการใช้พลังงานในส่วนต่าง ๆ ได้แบบเรียลไทม์ เพิ่มความสะดวกสบาย และช่วยประหยัดพลังงานให้กับผู้ใช้ในยุค ดิจิทัลได้อย่างลงตัว
โซลูชั่นสำ�หรับโรงงาน
ยกระดั บ โรงงานให้ เ ป็ น โรงงาน อัจฉริยะด้วยระบบออโตเมชัน่ นวัตกรรมด้าน การบริ ก ารที่ ฝ ั ง ตั ว มากั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ และ โซลูชนั่ แบบครบวงจร ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ ให้โรงงาน ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน งานนี้ เป็นการเผยโฉมเทคโนโลยีระบบควบคุม มอเตอร์ประหยัดพลังงานครั้งแรก Altivar Process อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ ประหยัดพลังงานช่วยลดฮาร์มอนิกได้สูงสุด มาพร้อมกับจุดเด่นในการให้บริการ โดยมี คิวอาร์โค้ดที่ผู้ใช้สามารถลิงก์เข้าหน้าสเปก โปรดักส์ได้ทันที และถ้าเกิดความผิดพลาด
ในระบบ ตัวมันเอง และอุปกรณ์รุ่นใหม่ สามารถตรวจสอบข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ได้ ผ ่ า น อินเทอร์เน็ต ง่ายในการใช้งานภายในงานยัง มีการสาธิตโซลูชั่นซอฟต์แวร์ระบบควบคุม ไฟฟ้าแบบอัตโนมัติของสถานีไฟฟ้า PACiS Substation Automation รุน่ ล่าสุด ช่วยตรวจ สอบและควบคุมระบบไฟฟ้าส�ำหรับโรงงาน กลุ่มอุตสาหกรรม รวมถึงโรงไฟฟ้า ซึ่งให้ ความปลอดภั ย สู ง ด้ ว ยการตั ด โหลดไฟ ภายในเวลา 0.08 วินาที นอกจากนี้แล้ว ยัง มีบริการ ECOFIT เป็นการอัปเกรดระบบจ่าย ไฟฟ้าในโรงงานโดยใช้เวลาทีส่ นั้ ทีส่ ดุ เพือ่ ให้ โรงงานปิดซ่อมบ�ำรุงในระยะเวลาสั้นที่สุด และการท�ำงานเป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง จากการจัดงาน Xperience Efficiency 2015 ในครัง้ นี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค คาดหวัง ในการเป็นส่วนหนึ่งที่กระตุ้นให้ทั้งภาค ธุรกิจและประชาชน ตระหนักถึงการใช้ พลังงานอย่างคุม้ ค่าและมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น ถือเป็นการลดการใช้ทรัพยากรในการ ผลิตพลังงานอีกด้วย ซึง่ นอกจากช่วยองค์กร แล้ว ยังเป็นการช่วยโลก ช่วยชาติอีกทาง หนึง่ ด้วย
August-September 2015, Vol.42 No.242
59 <<<
&
Knowledge
มารู้จัก
“EcoEco Sticker”
กันเถอะ วงศกร ตระกูลหิรัญผดุง
ใน
ระหว่างนี้ พวกเราสามารถพบเห็น ป้ายดังกล่าวแล้ว เพราะภาครัฐได้ ขอความร่วมมือจากค่ายรถยนต์ทกุ ค่าย ติด Eco Sticker ส�ำหรับรถยนต์ใหม่ทอี่ อกขายใน ปีนี้ โดย Eco Sticker จะเป็นข้อมูลส�ำคัญให้ ผู้ซื้อสามารถเปรียบเทียบรถยนต์รุ่นที่สนใจ กับรุน่ อืน่ ๆ เพือ่ ประกอบการตัดสินใจในการ เลือกซือ้ รถยนต์ นอกเหนือจากความสวยงาม การได้ลองขับขี่ และเงื่อนไขการส่งเสริม การขาย รวมทัง้ ราคา การดูปา้ ย Eco Sticker จะท�ำให้ทราบข้อมูลเพิ่มเติม ถึงสมรรถนะ >>>60
August-September 2015, Vol.42 No.242
Sticker หรือ ป้ายข้อมูลรถยนต์ หมายถึง แผ่นป้ายที่แสดงข้อมูลส�ำคัญของรถยนต์ โดยมี การระบุข้อความ แผนภาพ หรือรูปภาพ ที่แสดงข้อเท็จจริงและผลการทดสอบตามมาตรฐาน ที่ได้รับการยอมรับของอุตสาหกรรมยานยนต์ ตลอดจนข้อมูลอื่น ๆ อัน เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค ซึ่ง กฎหมายก�ำหนดให้ผู้ประกอบการต้องติดป้ายข้อมูลรถยนต์ดังกล่าวกับรถยนต์คันใหม่ทุกคันที่ขายใน ประเทศ นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2559 เป็นต้นไป
โดยรวมของรถ รู้เรื่องความปลอดภัย การ ปกป้องหากเกิดอุบัติเหตุ อัตราสิ้นเปลือง น�้ำมัน หรือรายการอุปกรณ์ที่ติดตั้งมาจาก โรงงาน เพือ่ ใช้ในการตรวจสอบ ทัง้ หมดนี้ ก็ เพือ่ จะได้เห็นถึงความคุม้ ค่า สมราคาของรถ ทีเ่ ราสนใจ นอกจากนี้ วัตถุประสงค์หลักจริง ๆ ของ Eco Sticker ยังเกีย่ วข้องกับมาตรการ ทางด้านภาษีของภาครัฐด้วย จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2555 ได้เปลี่ยนหลักเกณฑ์ การให้สิทธิลดหย่อนอัตราภาษีจากรถยนต์
ที่มี ขนาด “ซี.ซี.ต�่ำ-แรงม้าน้อย” มาเป็น รถยนต์ที่มีคุณสมบัติ “สะอาด-ประหยัดปลอดภัย” และได้กำ� หนดให้ผผู้ ลิตรวมทัง้ ผูน้ ำ� เข้ารถยนต์ ที่จะขอใช้สิทธิลดหย่อนภาษี สรรพสามิต ของรถยนต์ภายใต้โครงสร้างภาษี สรรพสามิตรถยนต์ใหม่ จะต้องยื่นขอป้าย ข้อมูลรถยนต์นตี้ อ่ กระทรวงอุตสาหกรรม
&
Knowledge แนะนำ�การอ่านป้าย Eco Sticker
ป้ า ยสี่ เ หลี่ ย มขนาดพอประมาณ ราวๆ กระดาษเอสี่ ซึง่ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงการคลัง ตัง้ ใจผลิตออกมา เพือ่ ให้สอดคล้องกับโครงสร้างภาษีรถยนต์ใหม่ นัน้ ถูกก�ำหนดให้ตอ้ งแสดง “ข้อมูลทีส่ ำ� คัญ เกี่ ย วกั บ รถยนต์ คั น นั้ น ” อย่ า งชั ด เจนบน กระจกรถยนต์ทกุ คัน ก่อนทีร่ ถยนต์จะถูกส่ง ไปยังผูแ้ ทนจ�ำหน่าย (dealer) โดยรถยนต์ทมี่ ี 4 ประตูให้ตดิ Eco Sticker ทีก่ ระจกข้างด้าน หลังฝั่งเดียวกับคนขับ ส่วนรถที่มีสองประตู ให้ติดไว้ที่กระจกบังลมหน้า โดยคนที่มีสิทธิ ลอกออก คือ ผูซ้ อื้ รถยนต์เท่านัน้ Eco Sticker ประกอบด้วยข้อมูล ส�ำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ 1. ข้อมูลการผลิตของรถยนต์ เช่น โรงงานที่ผลิต /ผู้น�ำเข้า ประเทศที่ผลิต ชื่อ บริษทั ทีอ่ ยู่ เว็บไซต์ เป็นต้น 2. ข้อมูลพื้นฐานของรถยนต์ เช่น ชือ่ รุน่ แบบ เครือ่ งยนต์ เชือ้ เพลิงทีส่ ามารถ ใช้ได้ รายละเอียดโครงรถ เครือ่ งยนต์ ระบบ เกียร์และขนาดยาง เป็นต้น 3. มีการบันทึกรายการอุปกรณ์ที่ ติดตัง้ มาจากโรงงาน เพือ่ ประโยชน์ในการให้ ผูบ้ ริโภคตรวจสอบ 4. ผลการทดสอบตามมาตรฐาน อ้างอิง ได้แก่ ➲ อั ต ราการใช้ พ ลั ง งาน (หน่วย ลิตรต่อ 100 กิโลเมตร) ใน 3 รูปแบบการใช้ งาน คือ สภาวะในเมือง และ สภาวะนอกเมือง และแถบแสดงอัตราการใช้น�้ำมันอ้างอิงใน สภาวะรวม (combined) ซึ่งทดสอบโดยใช้ น�ำ้ มันเบนซินหรือดีเซล หรือน�ำ้ มัน E85 (ถ้ามี) ตามมาตรฐาน UN Reg.101 ➲ อัตราการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (หน่วย กรัมต่อกิโลเมตร) เช่น ค่ามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) และค่าตาม มาตรฐานยุโรป ตัง้ แต่ยโู ร 4-6 โดยใช้วธิ กี าร ให้ “ดาว” โดยการทดสอบใช้เกณฑ์มาตรฐาน UN Reg.101 และมาตรฐานการปล่อยมลพิษ
ไอเสีย ตามมาตรฐาน UN Reg.83 ซึง่ ประเด็น การปล่อย CO2 และค่าไอเสีย เกีย่ วข้องกับ การคิดภาษีใหม่ เพราะยิ่งค่าน้อย ก็ยิ่งเสีย ภาษีสรรพสามิตลดลง ➲ มาตรฐานความปลอดภัย ได้แก่ 1. เรือ่ งการป้องกันก่อนเกิดเหตุ มีการติดตัง้ เบรก ABS คือเบรกแล้วล้อไม่ลอ็ ก ส่วน ESC (Electronic Stability Control) คือ ระบบ ควบคุมการทรงตัวของรถ โดยการทดสอบ ระบบเบรกเป็นไปตามมาตรฐาน เช่น UN R13 เป็นการทดสอบระบบเบรก ส�ำหรับ รถตู้ รถ บรรทุก และหัวลาก ส่วนใครทีจ่ ะซือ้ รถยนต์นงั่ ให้ดวู า่ ผ่านมาตรฐาน UN R13H หรือไม่ และ 2. การปกป้องผูโ้ ดยสารหากเกิดอุบตั เิ หตุการ ชน ผ่านทดสอบการชนด้านหน้าของตัวรถ เป็นไปตามมาตรฐาน UN Reg.94 หรือไม่ ผ่านทดสอบการชนด้านข้างของตัวรถ เป็นไป ตามมาตรฐาน UN Reg.95 หรือไม่ หากผ่าน การทดสอบด้านไหนก็จะถูกระบุไว้
ประโยชน์ของ Eco Sticker มิตทิ ี่ 1 ด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม ยานยนต์ไปสูเ่ ป้าหมายการใช้รถยนต์อย่าง ยั่งยืน เนื่องจากการประกาศใช้ระบบ Eco Sticker และโครงสร้างภาษีสรรสามิตใหม่ ควบคูก่ นั สามารถแก้ไขการบิดเบือนโครงสร้าง
ภาษีแบบเดิมได้ เพราะรถยนต์รุ่นใหม่ไม่ได้ ค�ำนึงแค่ ซี.ซี. หรือแรงม้าเป็นเงือ่ นไขส�ำคัญ อีกต่อไปแล้ว (เช่น รถยนต์ไฟฟ้า EV รถอีโค คาร์) สิง่ ทีภ่ าครัฐด�ำเนินการนีจ้ ะส่งผลต่อการ ยกระดับขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของ อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ให้สอดคล้องกับ ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ โลก ตามแนวทางของการเคลื่อนที่ที่ยั่งยืน (sustainable mobility) มากขึน้ มิติที่ 2 ก่อให้เกิดการยกระดับการ ประหยัดพลังงาน สนับสนุนให้ผบู้ ริโภคมอง หารถยนต์ทปี่ ระหยัดพลังงาน มีประสิทธิภาพ เครือ่ งยนต์สงู มิตทิ ี่ 3 ส่งเสริมความเป็นธรรม ทัง้ ในส่วนของผูบ้ ริโภค ผูป้ ระกอบการ และภาค รัฐผ่านการช�ำระภาษี เพราะ Eco Sticker จะ ท�ำให้ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงรถยนต์ที่เป็น มาตรฐานเดียวกัน เพือ่ ประโยชน์ในการเปรียบ เทียบและการตรวจสอบได้ นอกจากนี้ ยังจะ ช่วยสร้างความเป็นธรรมให้ค่ายรถยนต์ทุก ค่ า ยแข่ ง ขั น กั น บนคุ ณ สมบั ติ ที่ ตั้ ง อยู ่ ใ น พืน้ ฐานและมาตรฐานเดียวกัน โดยภาครัฐยัง สามารถเชือ่ มโยงข้อมูลการทดสอบคุณสมบัติ รถยนต์ไปสูก่ ารก�ำหนดอัตราภาษี โดย Eco Sticker จะแจ้งข้อมูลให้ผบู้ ริโภคทราบด้วยว่า ผูผ้ ลิตหรือผูน้ ำ� เข้าได้แจ้งช�ำระภาษีเรียบร้อย
August-September 2015, Vol.42 No.242
61 <<<
&
Knowledge แล้ ว โดยข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ แ จ้ ง ขอช� ำ ระภาษี สรรพสามิตของผูป้ ระกอบการ จะเป็นข้อมูล เดียวกับทีแ่ สดงต่อผูบ้ ริโภคบน ECO Sticker มิตทิ ี่ 4 เป็นการด�ำเนินงานภายใต้ การก้าวสู่ระบบดิจิทัลอีโคโนมีของรัฐบาล เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการ เข้าถึงข้อมูลทีถ่ กู ต้องผ่านอินเทอร์เน็ต และใช้ ในการอ้างอิงเพือ่ ประโยชน์ของผูบ้ ริโภค
การติดป้ายข้อมูลรถยนต์ประเทศต่าง ๆ
การใช้ป้ายข้อมูลรถยนต์ เป็นกลไก ส� ำ คั ญ ที่ ใ ช้ อ ยู ่ อ ย่ า งแพร่ ห ลายในหลาย ประเทศอุตสาหกรรมยานยนต์ชั้นน�ำทั่วโลก ไม่วา่ จะเป็น สหรัฐอเมริกา ญีป่ นุ่ กลุม่ สหภาพ ยุโรป ออสเตรเลีย ซาอุดอิ าระเบีย แอฟริกาใต้ บราซิล อินเดีย จีน และอีกหลายประเทศ เพื่อรองรับ Eco Sticker รถยนต์ กระทรวงอุ ต สาหกรรม โดย ส� ำ นั ก งาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ส�ำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง โดย กรมสรรพสามิต กรมศุลกากร และค่าย รถยนต์ทุกค่าย ได้ร่วมมือกันพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ (information technology) เพื่อช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับ ผูป้ ระกอบการรถยนต์ในการขออนุมตั ใิ ช้ปา้ ย แสดงข้อมูลรถยนต์ และเพือ่ ช่วยให้ผบู้ ริโภค เข้ า ถึ ง ป้ า ยแสดงข้ อ มู ล รถยนต์ ที่ ถู ก ต้ อ ง
รวดเร็ว และทันสมัย โดยสามารถเข้าถึงข้อมูล ทีล่ ะเอียดขึน้ ผ่านทางเว็บไซต์ www.car.go. th และสามารถเชือ่ มโยงเข้าเว็บไซต์โดยการ ยิงบาร์โค้ดผ่านป้าย Eco Sticker ก็ได้ โดย ระบบป้ายข้อมูลรถยนต์จะถูกสร้างขึ้นเป็น Cloud Base Application อย่างสมบูรณ์แบบ ภายในปี พ.ศ.2558 ส่วนผู้ประกอบการเอง ก็สามารถติดต่อยืน่ เอกสารผลทดสอบ ตลอด จนถึงการติดตามตรวจสอบขั้นตอนการขอ อนุมตั ิของภาครัฐได้ ผ่านแอปพลิเคชัน่ ที่จะ ท�ำขึน้ เพราะรถยนต์คนั หนึง่ มิใช่ราคาถูก ๆ กว่าจะเป็นเจ้าของได้ คนส่วนใหญ่ต้องเก็บ ออมเป็นเวลานาน หรือยอมเป็นหนีผ้ อ่ นช�ำระ ค่างวดหลายปี และใช่ว่ารถยนต์ทุกคันที่ ส่งมอบให้ลูกค้าแล้วจะไม่มีปัญหา กรณี ทุบรถฮอนด้าซีอาร์วี กรณีบริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์
เรียกรถคืนเพือ่ เข้าศูนย์ฯ ตรวจแก้ไขอุปกรณ์ ภายใน หรือ กรณีซอื้ รถยนต์ใหม่ใช้งานไม่นาน แล้วต้องซ่อม เหตุเหล่านีล้ ว้ นเกิดขึน้ จริง เพียง แต่จะเป็นข่าวหรือไม่ เท่านัน้ ทางด้านกฎหมายว่าด้วยความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย ยังมิได้มี ความคืบหน้าเท่าที่ควร มีเพียงกฎหมาย คุม้ ครองผูบ้ ริโภคเท่านัน้ ทีจ่ ะเป็นช่องทางใน การฟ้องร้องได้ ทว่าข้อมูลหลักฐานอย่างเป็น ทางการ ซึ่งทางค่ายรถยนต์กับผู้บริโภคมีไว้ ตรงกัน สมัยก่อนอาจไม่มีชัดเจน การใช้สื่อ โฆษณาประชาสัมพันธ์ทเี่ ก็บไว้ หรือค�ำพูดของ ตัวแทนจ�ำหน่าย อาจไม่มีน�้ำหนักเพียงพอ ดังนัน้ ข้อมูลจาก Eco Sticker ทีแ่ ปะไว้ตรง กระจกรถ และข้อมูลรุน่ แบบที่ปรากฏอยูใ่ น เว็บไซต์ www.car.go.th จะเป็นหลักฐานที่ ใช้งานได้ตอ่ ไป และทุกฝ่ายก็ลว้ นยอมรับ นี่ ก็ อ าจเป็ น ประโยชน์ ท างอ้ อ ม ประการหนึง่ ของ Eco Sticker “แน่นอนถูกใจ ผูบ้ ริโภค แต่คา่ ยรถยนต์ตอ้ งรอบคอบ” ทีม่ า ดุสิต อนันตรักษ์. Eco Sticker (ป้ายข้อมูลรถยนต์). วารสาร สศอ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 39 เดือนมกราคม - มีนาคม 2558, หน้า 35-36
>>>62
August-September 2015, Vol.42 No.242
&
Knowledge
การแข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ World Skill 2015 สาขาเครื่องมิลลิ่งอัตโนมัติ (CNC Milling)
4–19 สิงหาคม 2558 ณ เมืองเซาเปาโล สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
การ
แข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ (world skill) มีประวัติ มาอย่างยาวนานกว่า 65 ปี ก�ำหนดจัดแข่งขันเป็น ประจ�ำทุก ๆ 2 ปี โดยมีผแู้ ทนเยาวชนประเทศต่าง ๆ จากทุกทวีปทัว่ โลก เข้าร่วมการแข่งขัน รูปแบบของการแข่งขันเป็นการลงมือปฏิบตั งิ านจริง โดยมีกติกาใช้เครื่องจักรกลและเครื่องมือที่เกี่ยวข้องผลิตชิ้นงานตาม แบบที่ก�ำหนด ผู้ที่สามารถสร้างชิ้นงานได้ถูกต้องเที่ยงตรงแม่นย�ำ มี ความเรียบร้อยสวยงามทีส่ ดุ จะเป็นผูช้ นะ การแข่งขันในครัง้ นีน้ บั เป็นครัง้ ที่ 43 และเป็นครัง้ แรกทีจ่ ดั ให้มขี นึ้ ในทวีปอเมริกาใต้ ณ เมืองเซาเปาโล
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล โดยก�ำหนดการแข่งขันรวมทัง้ สิน้ 50 สาขา คาดว่าจะมีเข้าร่วมการแข่งขันมากกว่า 1,200 คน จากกว่า 50 ประเทศ ส�ำหรับประเทศไทย กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวง แรงงาน ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักของภาครัฐ ได้ด�ำเนินการคัดเลือก ผูแ้ ทนเยาวชนเข้าร่วมแข่งขัน ทัง้ สิน้ 21 สาขา การแข่งขัน World Skill ครัง้ ที่ 42 ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ในปี พ.ศ.2556 ทีผ่ า่ นมา ผู้แทนเยาวชนไทยประสบความส�ำเร็จสามารถคว้าเหรียญรางวัลได้ 2 เหรียญทอง จากสาขาเครื่องกลึงอัตโนมัติ (CNC Turning) และ สาขาการสร้างและประกอบแม่พมิ พ์ และอีก 1 เหรียญเงิน จากสาขา ออกแบบโมเดล
August-September 2015, Vol.42 No.242
63 <<<
&
Knowledge ในปี พ.ศ.2557 บริษทั สุมพิ ล คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ได้ให้การสนับสนุน การแข่งขันระดับชาติ ร่วมกับภาครัฐและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจัดการแข่งขันระดับ ชาติรวม 3 สาขา คือ CNC Turning, CNC Milling และมาตรวิทยาด้านมิติ ในส่วน ของการแข่งขันด้าน CNC Milling “World Skill 2015” ประเทศไทยได้สง่ ผูแ้ ทน เยาวชนไทย ซึ่งเป็นผู้ชนะเลิศระดับประเทศ คือ นายก�ำแหง พันธุ์จนั ทร์ดี จาก วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี เข้าร่วมการแข่งขัน บริษทั สุมพิ ล คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด เป็นผูใ้ ห้การสนับสนุนหลัก ร่วมกับบริษทั ในเครือข่าย ได้แก่ Sumitomo, OSG, Big Daishowa, Mazak และ Mitutoyo โดยความร่วมมือของ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา (วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี และวิทยาลัย เทคนิคสมุทรสงคราม) สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ สถาบันไทย-เยอรมัน สมาคม อุตสาหกรรมแม่พมิ พ์ไทย บริษทั คูลซอฟท์ฯ บริษทั ยูเทค ซอฟท์ฯ และบริษทั ซีเอ็น ซี ดีไซน์ฯ สนับสนุนงบประมาณ เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ อุปกรณ์ สถานที่ และบุคลากร ผูฝ้ กึ สอน ในการเตรียมความพร้อมให้แก่ผเู้ ข้าแข่งขัน มีคณะอนุกรรมการเทคนิค การแข่งขันฝีมือแรงงานนานาชาติ สาขาเครื่องมิลลิ่งอัตโนมัติ (CNC Milling) เป็นผูก้ ำ� หนดแผน ควบคุมการฝึกซ้อม ฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ เป็นเวลานานกว่า 6 เดือนมาแล้ว เมือ่ วันที่ 18 มิถนุ ายน พ.ศ.2558ทีผ่ า่ นมา คณะผูบ้ ริหารระดับสูงจาก ทุกหน่วยงาน น�ำโดย นายทองพล อุลปาทร กรรมการ, ผูจ้ ดั การฝ่ายขายและการ ตลาด บริษัท สุมิพล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด, Mr.Teruhiro Enami กรรมการผูจ้ ดั การ Sumitomo Electric Hardmetal Manufacturing (Thailand) Ltd., Mr. Masakazu Seike กรรมการผูจ้ ดั การ OSG Thai Co., Ltd. Mr. Henry H. Takenaga ผูจ้ ดั การ ฝ่ายขายเอเซีย Big Daishowa Seiki Co., Ltd. ประเทศญีป่ นุ่ , Mr.Ryoma Oshima ผูจ้ ดั การทัว่ ไป Mazak (Thailand) Co., Ltd., นายอนุสรณ์ ทนหมืน่ ไวย์ หัวหน้าฝ่าย มาตรวิทยามิติ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ นายมานพ ทองแสง ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ เครือ่ งจักรและระบบอัตโนมัติ สถาบันไทย-เยอรมัน ผูแ้ ทนสมาคมอุตสาหกรรม แม่พมิ พ์ไทย และทีมงาน ได้นำ� ผูแ้ ทนเยาวชนไทย คือ นายก�ำแหง พันธุจ์ นั ทร์ดี เจ้าหน้าที่เทคนิค แผนกบริการลูกค้าของบริษัท สุมิพล คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด เข้าคารวะ พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงแรงงาน เพื่ อ รายงานความพร้อมในการเข้าแข่งขันใน ครั้ ง นี้ โดย มล.ปุ ณ ฑริ ก สมิ ติ อธิ บ ดี กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ร่วมให้เกียรติ ต้อนรับ ในการนี้ พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และ มล. ปุณฑริก สมิติ อธิบดีกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ได้ร่วมรับฟังรายงานและแสดง ความชืน่ ชมทีท่ กุ หน่วยงานจากภาครัฐและ เอกชน ได้ให้การสนับสนุนทัง้ งบประมาณ ต่าง ๆ และเครือ่ งมืออุปกรณ์ทจี่ ะต้องน�ำไป >>>64
August-September 2015, Vol.42 No.242
ใช้ในการแข่งขัน ในมูลค่าที่สูงมาก พร้อมทั้งได้ให้โอวาส เพื่อเป็นก�ำลังใจแก่ผู้แทนเยาวชนไทยและถ่ายรูปร่วมกับ คณะผูบ้ ริหารเป็นทีร่ ะลึก คณะผูบ้ ริหารระดับสูงและทีมงาน ทุกคนต่างให้ความมัน่ ใจกับท่านรัฐมนตรีฯ ว่า จะน�ำความ ส�ำเร็จกลับมาสูป่ ระเทศไทย เพือ่ สร้างชือ่ เสียงให้ทดั เทียมกับ ประเทศต่าง ๆ ในระดับสากล
&
Visit
เคมี ภ ณ ั ฑ์ เ พื อ ่ ชี ว ต ิ กลุ่มบริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย กองบรรณาธิการ
หาก
กล่ า วถึ ง “เคมี ” สิ่ ง ที่ ผู ้ ค นมั ก จดจ� ำ คื อ สารที่ เ ป็ น อั น ตราย ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม แต่ในอีกมุมหนึ่ง เคมี ก็เป็นหนึ่ง สารประกอบในสิ่งของเครื่องใช้ อาหาร หรือแม้แต่ยารักษาโรค ที่มนุษย์อุปโภคบริโภคเข้าไปแทบทั้งสิ้น ทั้งหมดเกิดจากพลังแห่งการคิดค้น พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ มาอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลาหลายร้อยหลายพันปีของมนุษย์ จนก่อเกิดเป็น เทคโนโลยีที่สามารถแปลงสิ่งที่เป็นโทษมหันต์ ให้กลายเป็นคุณที่สร้างประโยชน์ อเนกอนันต์ให้กับมวลมนุษยชาติได้
ภาพรวมธุรกิจดาว เคมิคอล
▼
ดาว เคมิคอล เป็นตัวอย่างของบริษัทเคมีภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุด ในสหรัฐอเมริกา และเป็น 1 ใน 3 บริษัทที่ใหญ่ที่สุดในโลก เป็นบริษัท ทีใ่ ช้องค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการสร้างนวัตกรรม ใหม่ ๆ เพื่อแก้โจทย์ปัญหาที่ท้าทายของโลก ตลอดระยะเวลากว่า 118 ปี ที่ดาว เคมิคอล ก่อตั้งและด�ำเนิน ธุรกิจ สามารถผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า มากกว่า 6,000 รายการ จัดจ�ำหน่ายไปยังลูกค้าใน 180 ประเทศทัว่ โลก มีโรงงานผลิต จ�ำนวน 201 โรงงาน ใน 36 ประเทศ มีพนักงาน รวม ประมาณ 53,000 คน ทัว่ โลก และทีส่ ำ� คัญดาว เคมิคอลให้ความส�ำคัญ กั บ งานทางด้ า นวิ จั ย และพั ฒ นา (R&D) โดยปี ห นึ่ ง ๆ จะใช้ งบประมาณในการวิจยั มากกว่า 1.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ และมีจำ� นวน นักวิจัยกว่า 6,800 คน
คุณจิรศักดิ์ สิงห์มณีชัย
กรรมการผู้จัดการ บริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย
August-September 2015, Vol.42 No.242
65 <<<
&
คุณจิรศักดิ์ สิงห์มณีชัย กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย กล่ า วถึ ง ภาพรวมของกลุ ่ ม บริ ษั ท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย ว่า ดาว เคมิคอล ใน ประเทศไทย นั บ เป็ น ฐานการผลิ ต ที่ ใ หญ่ ที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกโดยเริ่มเข้ามา ด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทย เมื่อปี พ.ศ.2510 ปัจจุบนั มีบริษทั ในเครือทัง้ หมด 9 บริษทั และ มีโรงงานผลิตรวม 15 โรงงาน ผลิตเคมีภัณฑ์ ในระดับต้นน�้ำและกลางน�้ำ ตั้งอยู่ในนิคม อุตสาหกรรมมาบตาพุด นิคมอุตสาหกรรม เอเชีย และนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก ประกอบด้วย โรงงานเลเท็กซ์ โพลิออลสไตรีนโมโนเมอร์ โพลิเอททิลีน โพลิสไตรีน โพรพิลีนออกไซด์ โพลิอีเทอร์ และโพลิออล แห่งใหม่ ก�ำลังการผลิตปีละประมาณ 2.13 ล้านตัน ยอดขายสุทธิทงั้ กลุม่ บริษทั ในปี พ.ศ. 2557 อยู่ที่ 124,219 ล้านบาท หรือราว ๆ 3.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ จากวิสัยทัศน์ที่เราจะเป็นบริษัทด้าน วิ ท ยาศาสตร์ ที่ ท รงคุ ณ ค่ า และได้ รั บ การ ยกย่อง เพือ่ มุง่ สร้างสรรค์นวัตกรรมเพือ่ ลูกค้า โดยอาศัยความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ที่สั่งสม มายาวนานมากกว่า 100 ปี โดยปฏิบัติการ ภายใต้ค่านิยมในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต เคารพผู้อื่น และพิทักษ์โลก มีการเชื่อมโยง ผลส� ำ เร็ จ ด้ า นกระบวนการทางเคมี แ ละ นวัตกรรมเข้าด้วยกัน เพือ่ แสวงหาผลิตภัณฑ์ ที่ตอบโจทย์ความท้าทายของโลก ได้แก่ การ มีน�้ำสะอาดอย่างเพียงพอ การอนุรักษ์และ ผลิตพลังงานจากแหล่งเชือ้ เพลิงทดแทน และ การเพิม่ ประสิทธิผลทางด้านการเกษตร ขณะ
>>>66
August-September 2015, Vol.42 No.242
เดียวกันผลิตผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า อาทิ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก เทคโนโลยีชั้นน�ำส�ำหรับอุตสาหกรรมเคมีภั ณ ฑ์ พิ เ ศษ อุ ต สาหกรรมเคมี ภั ณ ฑ์ ที่ ใ ช้
เทคโนโลยีชั้นสูง อุตสาหกรรมด้านวิทยาศาสตร์การเกษตร และอุตสาหกรรมพลาสติก รวมถึงภาคธุรกิจที่มีอัตราการเติบโตสูง เช่น ธุรกิจด้านอิเล็กทรอนิกส์ น�้ำ พลังงาน สาร เคลือบสี และธุรกิจการเกษตร
เคมีภัณฑ์เพื่อชีวิต
▼
Visit
คุณฉัตรชัย เลื่อนผลเจริญชัย
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขายและการตลาด
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละธุ ร กิ จ ของ ดาว เคมิ ค อล ในประเทศไทย มุ ่ ง เน้ น พั ฒ นานวั ต กรรมและ เทคโนโลยีทจี่ ะเพิม่ มูลค่าให้แก่ สิ น ค้ า ของลู ก ค้ า และยั ง ท� ำ หน้าที่เป็น Solution Provider ให้กับลูกค้าอีกด้วย คุณฉัตรชัย เลื่อนผลเจริญชัย ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายขายและ การตลาด ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ว่า ดาว เคมิคอล ประเทศไทย มีทั้งผลิตภัณฑ์ทผี่ ลิตเองภายในประเทศ และน�ำเข้ามา เพือ่ จ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าในกลุม่ อุตสาหกรรม ต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรมเครื่องส�ำอาง และผลิตภัณฑ์ดูแลร่างกาย อุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง และ อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ มากกว่ า พั น รายการ ส� ำ หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ผ ลิ ต ในประเทศไทย สามารถแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. โพลีเอททิลีน (Polyethylene) เป็นวัตถุดบิ ส�ำหรับการผลิตสินค้าส�ำหรับชีวติ ประจ�ำวัน หลากหลาย รวมถึงฟิล์มยืดห่อหุ้ม
& อาหาร ถุ ง บรรจุ ผ งซั ก ฟอก หลอดเคลื อ บ (ลามิเนต) แผ่นฟิล์มส�ำหรับการเกษตรและ ชัน้ ฟิลม์ กับซึมส�ำหรับบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดยืดหยุน่ ทีใ่ ช้กบั อาหาร นอกจากนีย้ งั สามารถน�ำไปขึน้ รูปด้วยวิธีหมุน เพื่อผลิตของใช้ภายในบ้าน และของเล่นส�ำหรับเด็กทีม่ คี วามทนทานเป็น พิเศษ 2. อีลาสโตเมอร์ (Elastomer) เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีความยืดหยุ่นพิเศษ มีน�้ำหนัก เบา แข็งแรง ทนทาน ค่อนข้างจะมีความ วาไรตี้ สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ปลายทาง ได้หลากหลายชนิด และหลายแอปพลิเคชั่น เช่น ใช้ในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ ใช้ใน อุปกรณ์กฬี า เช่น รองเท้าส�ำหรับวิง่ ทีต่ อ้ งการ รองรั บ แรงกระแทก และมี น�้ ำ หนั ก เบา นอกจากนี้ อีลาสโตเมอร์ยังสามารถน�ำไป ผลิตเป็นแผ่นกันน�้ำบนดาดฟ้าของอาคาร ใช้ ท�ำผ้าอ้อมเด็ก และของเล่นเด็ก เป็นต้น 3. โพลียรู เิ ทน (Polyurethanes) ใช้ ในหลายกลุม่ อุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรม เฟอร์นเิ จอร์ อุตสาหกรรมยา ใช้ทำ� ทีน่ อนและ เบาะรถยนต์ ส�ำหรับโพลีไกลคอล สามารถใช้ ในอุตสาหกรรมอาหารได้ 4. โค้ ท ติ้ ง (Coating) กลุ ่ ม สาร เคลือบผิว ที่อยู่ในสีทาภายใน ภายนอก และ สารเคลือบผิววัสดุชนิดต่าง ๆ 5. โพลีสไตรีน (Polystyrene) เม็ด พลาสติกชนิดเอนกประสงค์ ที่พบได้ในชีวิต ประจ�ำวัน ในเครื่องมือทางการแพทย์ ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์สอื่ สารโทรคมนาคม ของเล่นเด็ก อุปกรณ์ส�ำนักงาน เป็นต้น
นอกจากนี้ ดาว เคมิคอล ยังร่วมกับ ลูกค้าในการคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มี มูลค่าเพิ่ม สามารถแข่งขันกับตลาดได้ และ เข้าถึงความต้องการของผู้บริโภคให้ได้มาก ที่สุด ขณะเดียวกันการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ ดาว ยังค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นการส่งเสริมการท�ำ ธุรกิจอย่างยั่งยืน
เทคโนโลยี ก ารผลิ ต เป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม
เพื่อพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อม กลุ่ม บริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย ให้ความ ส�ำคัญตัง้ แต่ขนั้ ตอนการออกแบบโรงงาน และ การวางแผนการผลิ ต ในทุ ก ขั้ น ตอน ด้ ว ย เทคโนโลยีทดี่ ที สี่ ดุ ในขณะนัน้ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุด โดย ตัวอย่างที่ส�ำคัญ คือ
Visit
เมื่ อ เที ย บกั บ เทคโนโลยี ที่ มี อ ยู ่ ใ น ปัจจุบนั เทคโนโลยีขนั้ สูงของโรงงานโพรพิลนี ออกไซด์ (PO) ของ ดาว เคมิคอล ช่วยลด ปริมาณน�้ำเสียลงถึงร้อยละ 70-80 ช่วยลด การใช้พลังงานลง ประมาณร้อยละ 35 และ ยั ง ลดความต้ อ งการใช้ ส าธารณู ป โภคขั้ น พื้นฐาน และใช้วัตถุดิบการผลิตที่ซับซ้อนให้ น้อยลง เพือ่ การใช้ทรัพยากรทีค่ มุ้ ค่าและเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนวัตกรรมการผลิตนี้ ได้รับรางวัลนวัตกรรมและความเป็นเลิศใน สาขาวิศวกรรมเคมี จากสถาบันวิศวกรรมเคมี แห่งสหราชอาณาจักร ในปี พ.ศ.2552 และ รางวัล Presidential Green Chemistry Challenge Award จากองค์กรพิทักษ์สิ่งแวดล้อม สหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ.2553 อีกตัวอย่าง โรงงานโพลีเอทิลีนชนิด ยืดหยุน่ พิเศษ ถูกออกแบบให้เป็นระบบปิด มี การรวบรวมไอระเหยจากกระบวนการผลิตไป ก�ำจัดที่หอเผา ไม่ใช้สารที่เป็นสารก่อมะเร็ง และสารทีเ่ ป็นสารประกอบอินทรียร์ ะเหยง่าย ในกระบวนการผลิต ไม่มีการปล่อยออกไซด์ August-September 2015, Vol.42 No.242
67 <<<
Visit
& ที่สุด เพื่อให้เกิด Reliability ที่ดีที่สุด โรงงาน เดินเครื่องจักรได้อย่างราบรื่นไม่สะดุด เทคโนโลยีทดี่ ที สี่ ดุ จะส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม น้อยที่สุด และเทคโนโลยีที่ดีที่สุด จะมีระบบ ควบคุ ม และป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด อุ บั ติ เหตุ ใ น โรงงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุด โดย ดาว เคมิคอล จะมีหน่วยงานที่เรียกว่า Technology Center ในการเป็นผูแ้ สวงหาและคัดสรร เทคโนโลยีที่ดีที่สุด เพื่อน�ำมาลงทุนในแต่ละ ประเทศ” มร.ทอดด์ ซัททอน กรรมการและ ผู้อ�ำนวยการโรงงาน กล่าว
ความปลอดภัย สิง่ แวดล้อม และสังคม
ดาว เคมิคอล ยึดมั่นในพันธสัญญา เรื่อง “การปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ” (Responsible Care®) พนักงานของเราต้อง ได้ รั บ การฝึ ก อบรมด้ า นการท� ำ งานตาม กระบวนการเพือ่ ความปลอดภัยต่าง ๆ ตัง้ แต่ ขั้นตอนการท�ำงานด้วยความปลอดภัยใน กระบวนการผลิตและการรับมือต่อเหตุฉกุ เฉิน ในกระบวนการผลิต ไปจนถึงโครงการต่าง ๆ ทีส่ ง่ เสริมการปฏิบตั งิ านควบคูไ่ ปกับการดูแล สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย อาทิ โครงการ ลดของเสีย “Waste Reduction Always Pays (WRAP)” และโครงการรณรงค์การปฏิบตั -ิ งานอย่างปลอดภัย “อุบัติเหตุ เป็นศูนย์” (drive to zero) ทั้งนี้
เพื่อให้มั่นใจว่าพนักงานและผู้รับเหมาจะ สามารถเดินทางกลับบ้านได้อย่างปลอดภัย ทุกวัน ด้านการดูแลดูแลชุมชนและสังคม กลุ่มบริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย มุ่ง เติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยให้ความ ส�ำคัญในการเติบโตทางธุรกิจไปพร้อม ๆ กับ ความส� ำ เร็ จ ของสั ง คมและชุ ม ชน โดยได้ ด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ เสริมสร้างความส�ำเร็จให้ สังคมและชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นใน ด้านการศึกษา สิง่ แวดล้อม และความเป็นอยู่ ทีด่ ขี องชุมชน รวมทัง้ ให้การสนับสนุนพนักงาน ในการร่วมกิจกรรมกับชุมชน เพือ่ ปลูกฝังการ ตระหนักรู้ถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
▼
ของซัลเฟอร์ ใช้เทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อ ให้ลดการก่อตัวของออกไซด์ของก๊าซไนโตรเจนในกระบวนการผลิต ในหัวเผาและหม้อ ต้มน�้ำ กลุม่ บริษทั ดาว เคมิคอล ประเทศไทย ที่นิคมอุตสาหกรรมเอเชียได้น�ำเทคโนโลยีที่ ทันสมัยในโรงบ�ำบัดน�้ำเสีย ด้วยกลไกบ�ำบัด ทางชีวภาพที่ทันสมัย ซึ่งสามารถสร้างความ เชื่ อ มั่ น ว่ า คุ ณ ภาพของน�้ ำ ที่ ป ล่ อ ยออกสู ่ ภายนอกจะเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด โรงงานโพลีออล (DMC Polyol) ซึ่ง เป็นโรงงานใหม่ที่เปิดด�ำเนินการได้ไม่นาน เป็นโรงงานโพลีออลที่ใช้เทคโนโลยีดีเอ็มซีที่ ใหญ่ที่สุดในโลกมาใช้ ท�ำให้สามารถท�ำการ ผลิตได้อย่างต่อเนื่อง ประหยัดพลังงานและ รักษาสิ่งแวดล้อม โดยสามารถลดการใช้ พลั ง งานและลดการปล่ อ ยน�้ ำ เสี ย จาก กระบวนการผลิตได้ถงึ 50-75 เปอร์เซ็นต์ และ ไม่กอ่ ให้เกิดกากของเสียในกระบวนการผลิต นอกจากนี้ ดาว เคมิคอล ประเทศไทย ยังมีการลงทุนสร้างห้องแล็บที่ใช้เทคโนโลยี ชัน้ สูงระดับโลก ท�ำให้สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูล ที่ซับซ้อน หรือแก้ปัญหาที่เกิดจากกระบวนการผลิตได้อย่างเทีย่ งตรง รวมทัง้ ยังสามารถ เพิ่มศักยภาพในกระบวนการผลิตได้อีกด้วย “ทุกการลงทุนของ ดาว เคมิคอล ใน ประเทศต่ า ง ๆ เราจะเลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี เดียวกัน คือ เทคโนโลยีที่ดีที่สุด ณ ขณะนั้น ค�ำว่า เทคโนโลยีที่ดีที่สุดในความหมายเรา มองใน 4 มิติ เทคโนโลยีที่ดีที่สุด เพื่อ พัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุด เทคโนโลยีที่ดี
มร.ทอดด์ ซัททอน
กรรมการและผู้อ�ำนวยการโรงงาน >>>68
August-September 2015, Vol.42 No.242
& เผยโฉม เปิด
Show & Share
ครั้งแรกในประเทศไทย
มิติใหม่ส�ำหรับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในประเทศไทย เมื่อ ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ (Universal Robots–UR) เปิดตัว “UR3” หุ่นยนต์ส�ำหรับงานอุตสาหกรรม แบบตั้งโต๊ะ ที่มีขนาดกะทัดรัด น�้ำหนักเบา ที่มาพร้อมลักษณะโดดเด่นล�้ำสมัยที่สุด ด้วยศักยภาพในการท�ำงานร่วมกับมนุษย์ (collaborative robots)
“UR3”
เป็นผลิตผลทาง ความคิด พัฒนา และต่อยอดของทีมวิศวกรยูนเิ วอร์แซล โรบอทส์ พวกเขาใช้เวลากว่า 3 ปี ใน การคิดค้นพัฒนา UR3 จนเป็นผล ส�ำเร็จ และมีลกั ษณะโดดเด่น คือ เป็น หุน่ ยนต์แบบตัง้ โต๊ะ (tabletop robot) มี น�้ ำ หนั ก เพี ย ง 11 กิ โ ลกรั ม แต่ สามารถรองรับน�ำ้ หนักได้ถงึ 3 กิโลกรัม ทั้งยังมีความสามารถในการบิดหมุน ของข้อต่อทุกข้อได้ 360 องศา และข้อ ต่อชิ้นสุดท้ายนั้น สามารถหมุนวนได้ไม่จ�ำกัด (infinite rotation) เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า “เราเชื่อมั่นในการ น�ำพลังการท�ำออโตเมชั่นภายในโรงงานมาสู่มือของนักธุรกิจ โดย หุ่นยนต์ รุ่น UR3 นี้จะช่วยให้ผู้ผลิตมีความคล่องตัวในการใช้พื้นที่ การท�ำงาน ติดตั้งใช้งานได้ง่าย ในขนาดที่กะทัดรัดและมีฟีเจอร์การ ใช้งานที่แสนง่าย กลุม่ ผลิตภัณฑ์ดา้ นการแพทย์ เวชภัณฑ์ และแผงวงจรไฟฟ้า เป็นตัวอย่างของอุตสาหกรรมที่อาศัยประโยชน์จากศักยภาพของ หุ่นยนต์ UR3 เข้าไปช่วยในด้านความรวดเร็ว ความถูกต้อง แม่นย�ำ และความเทีย่ งตรงสม�ำ่ เสมอของงานภายในพืน้ ทีก่ ารท�ำงานทีจ่ ำ� กัด จ�ำเขี่ย เมื่อน�ำเทคโนโลยีการโปรแกรมที่แสนง่ายอันเป็นจุดเด่น
UR3 ทากาวลงบนวัตถุด้วยแรงกดที่แน่นอน นิ่งเท่ากันทั้งชิ้นงาน
ในวงการหุ่นยนต์ของ UR มาหลอมรวมเข้ากับฟีเจอร์การควบคุม แรงของแขนกล (force control features) ได้รับการพัฒนาเพิ่ม ศักยภาพ ท�ำให้ UR3 เป็นหุน่ ยนต์ทอี่ อกแบบมาเพือ่ ให้เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ งานฝีมือตัวจริงของวงการเลยทีเดียว ตั้งแต่ กิจกรรมในรูปแบบของ การจับวาง (pick and place) ประกอบชิ้นส่วน หรือจะเป็นการขัด ติดกาว และการขันสกรู หุ่นยนต์รุ่น UR3 นี้ จะช่วยให้ผู้ผลิตสามารถ ที่จะรักษาบรรทัดฐานความเที่ยงตรงของชิ้นงานได้เสมอกัน เช่น หุ่นยนต์สามารถหยิบสกรู จับวางเข้าที่และขันให้แน่นด้วยแรงหมุน คงที่ทุกครั้งไป ในด้านความปลอดภัย ถือเป็นปัจจัยหลักของ UR3 หุ่นยนต์ ที่เปิดโอกาสให้ผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าความปลอดภัยตามความ เหมาะสมของงาน และเป็นขั้น Advance ได้ถึง 15 ค่าด้วยกัน หนึ่ง ในนัน้ ได้แก่ ฟีเจอร์การสัมผัสรับแรงกระแทกทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ตัวของ UR3 ที่จ�ำกัดแรงกระแทกได้ หากหุ่นยนต์สัมผัสหรือกระทบ กับสิง่ กีดขวาง ตามค่าความปลอดภัยทีต่ งั้ ออกมาจากโรงงาน (default setting) นั้น UR3 สามารถ จะสั ม ผั ส แรงกระแทกได้ 150 นิ ว ตั น แต่ ผู ้ ใ ช้ ง าน สามารถทีจ่ ะตัง้ โปรแกรมให้ UR3 หยุ ด การเคลื่ อ นไหว ทั้งหมดได้ หากสัมผัสแรง กระแทก แม้แต่เพียง 50 นิว ตั น ในระหว่ า งทิ ศ ทางการ เคลื่อนที่ของแขนกลก็ย่อม ได้
UR3 ขันสกรูให้แน่น ด้วยแรงหมุนที่เหมาะสม August-September 2015, Vol.42 No.242
69 <<<
&
Show & Share
Video Door Station จาก แอ็กซิส แอ็กซิส ขอแนะน�ำ “AXIS A8004-VE Network Video Door Station” อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ติ ด ตั้ ง บริ เ วณประตู ท� ำ งานบนระบบ ไอพีแบบเปิด มีประสิทธิภาพใน การสื่ อ สารโต้ ต อบกั น ให้ วิ ดี โ อ ที่มีความคมชัดสูง และสามารถ ควบคุมการเข้าออกได้จากระยะ ไกล อุ ป กรณ์ นี้ เ ป็ น ส่ ว นเสริ ม ที่ สมบูรณ์ของการติดตั้งกล้องตรวจ การณ์ เฝ้าระวัง ทั้งยังเพิ่มความ ปลอดภั ย ด้ ว ยความสามารถใน การระบุรปู พรรณและการควบคุมการเข้าออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ AXIS A8004-VE เป็นอุปกรณ์ทไี่ ด้รบั การทดสอบแล้วว่า ทนต่อแรงทุบท�ำลายและสภาพอากาศ เหมาะกับการติดตัง้ ทัง้ ภายใน และภายนอกอาคาร อุปกรณ์นี้มาพร้อมฟังก์ชั่นระบบติดต่อสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพสูง สามารถพูดคุยโต้ตอบกับผูม้ าเยือนได้อย่างชัดเจน ปราศจากเสียงสะท้อน ทั้งยังผสานการท�ำงานของกล้อง HDTV เข้า กับ WDR สามารถท�ำงานได้ดีเยี่ยมแม้ในสภาพแสงน้อย ท�ำหน้าที่
ระบุรปู พรรณของผูม้ าเยือนตลอด 24 ชัว่ โมงทุกวัน แม้จะอยูใ่ นสภาพ แวดล้อมที่ไม่เอื้ออ�ำนวยก็ตาม เนื่องจากอุปกรณ์นี้ใช้ไฟผ่านอีเธอร์เน็ตจึงติดตั้งได้ด้วยสาย เคเบิ้ลเน็ตเวิร์กเพียงเส้นเดียว และจ่ายไฟได้เพียงพอที่จะสนับสนุน และควบคุมระบบการท�ำงานของประตูได้โดยตรงจากชุดอุปกรณ์ AXIS A8004-VE ท�ำงานบนระบบโอเพ่นสแตนดาร์ด และ Application Programming Interfaces (APIs) จึงสามารถท�ำงาน ร่วมกับระบบอื่น ๆ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและไม่ยุ่งยาก ไม่ว่าจะ เป็น ONVIF VAPIX หรือ SIP จึงรองรับการติดตั้งในพื้นที่หรือองค์กร ขนาดใหญ่ เช่น สนามบิน หรือโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ซึ่ง อุปกรณ์ที่จะติดตั้งในองค์กรขนาดใหญ่เหล่านี้จ�ำเป็นต้องท�ำงานร่วม กับระบบต่าง ๆ ที่มีอยู่ เช่น กล้องวิดีโอตรวจการณ์ เฝ้าระวัง ระบบ ควบคุมการเข้าออก และระบบโทรศัพท์ผ่านระบบเครือข่ายไอพี ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การที่ AXIS A8004-VE ของแอ็กซิสท�ำงานบนระบบ โอเพ่นสแตนดาร์ด ท�ำให้พันธมิตรพัฒนาแอปพลิเคชั่นของแอ็กซิส (Axis’ application aevelopment partners) สามารถสร้างสรรค์โซลูชนั่ ทีต่ อบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างเฉพาะเจาะจง
เอ็ ก ซ์ 930 ซี ร ส ่ ี ์ สวิตซ์สลับสัญญาณประสิทธิภาพสูง
ต้องการและการใช้งานเครือข่ายหลักในลักษณะกระจายได้อย่าง ครอบคลุม นอกจากนี้ เอ็กซ์ 930 ซีรี่ส์ รองรับอัลไลด์เทเลซิสแมเนจเม้นท์ เฟรมเวิร์ก หรือ เอเอ็มเอฟ (Allied Telesis Management Framework™ (AMF)) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเฉพาะของบริษัท อัลไลด์ เทเลซิส ที่พร้อมช่วยองค์กรลดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานและช่วยให้ผู้ดูแล
จากอัลไลด์ เทเลซิส อัลไลด์ เทเลซิส เปิดตัว เอ็กซ์ 930 ซีรี่ส์ (x930 Series) สวิตช์สลับสัญญาณ (distribution switch) ประสิทธิภาพสูง โดย สวิตช์ในซีรีส์นี้มีอยู่ด้วยกัน 5 รุ่น ทั้งหมดสามารถช่วยผู้ใช้ในการ ก�ำหนดค่าพอร์ตได้อย่างหลากหลายรองรับอัปลิงก์ที่ระดับ 10 กิกะบิต และยังได้รับแรงเสริมจากอัลไลด์เทเลซิสเวอร์ชวลแชส ซิส หรือ วีซีสแตค (Allied Telesis Virtual Chassis Stacking (VCStack™)) ด้วย ดังนั้น เอ็กซ์ 930 ซีรี่ส์จึงมีทั้งความยืดหยุ่น และความมีประสิทธิภาพทีพ่ ร้อมให้การรองรับการรวมระบบตาม >>>70
August-Septembe 2015, Vol.42 No.242
&
Show & Share ระบบไอที ลดภาระงานในแต่ละวันลงได้ ด้วยคุณสมบัติของเอเอ็ม เอฟช่วยให้งานด้านการจัดการทั่วไปที่มีอยู่เป็นจ�ำนวนมากสามารถ ด�ำเนินการในรูปแบบอัตโนมัติ เช่น การเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ท�ำงาน ล้มเหลว การแก้ไข การก�ำหนดค่า การอัปเกรดเฟิรม์ แวร์ หรือการขยาย เครือข่าย ท�ำให้ผดู้ แู ลระบบไอทีมอี นิ เทอร์เฟซการจัดการแบบรวมศูนย์ และช่วยให้การติดตัง้ อุปกรณ์และการกูค้ นื ระบบไม่ตอ้ งไปด�ำเนินการ ทีห่ น้าเครือ่ ง จึงช่วยประหยัดทัง้ เงินและเวลาได้อย่างมาก และถือเป็น ข้อดีหลักในกรณีที่มีการปรับใช้งานสวิตช์เชื่อมต่อเป็นจ�ำนวนมาก อัลไลด์ เทเลซิส เอ็กซ์ 930 ซีรสี่ ์ จะรวมศูนย์การบริหารจัดการ ของเครือข่ายแบบมีสายและไร้สายขนาดใหญ่ไว้บนแพลตฟอร์มเดียว
เพื่อลดความซับซ้อนและเพิ่มความต่อเนื่องในการบริหารจัดการ ขณะที่อัลไลด์เทเลซิสไวร์เลสเมเนเจอร์ (Allied Telesis Wireless Manager ) จะท�ำงานในรูปแบบแอปพลิเคชัน่ บน เอ็กซ์ 930 ซีรสี่ ์ เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยเพิม่ เติม และช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการบริการครอบคลุม ทัง้ โครงสร้างพืน้ ฐานของระบบไร้สาย เมือ่ ใช้งานไวร์เลสเมเนเจอร์ ร่วม กับเอเอ็มเอฟ ข้อดีของอินเทอร์เฟซการจัดการแบบรวมศูนย์ก็จะ ปรากฏให้เห็นชัดเจนยิง่ ขึน้ โดยครอบคลุมทัง้ เครือข่ายแบบมีสายและ ไร้สาย ท�ำให้การบริหารจัดการง่ายขึน้ และช่วยลดภาระของการเรียก ใช้และการดูแลเครือข่ายไร้สายด้วย
Logitech Keys-To-Go แป้นพิมพ์พกพา “โลจิเทค” เปิดตัว แป้นพิมพ์พกพา Logitech® Keys-ToGo ส�ำหรับอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Android™ และ Windows® โดยแป้นพิมพ์ Logitech Keys-To-Go ซึ่งมีพร้อมให้ใช้ งานส�ำหรับระบบปฏิบัติการ iOS® ด้วยเช่นกันนั้น เป็นแป้นพิมพ์ Bluetooth® แบบสแตนอโลนทีม่ รี ปู ทรงเพรียวบาง เหมาะส�ำหรับ การใช้งานและพกพาไปได้ในทุกที่ รองรับทั้งแทบเล็ต แฟบเล็ต และสมาร์ทโฟน ด้วยรูปทรงทีบ่ างและเบาของแป้นพิมพ์ ท�ำให้สามารถใส่ ไว้ในกระเป๋าถือ กระเป๋าชายหาด หรือกระเป๋าเสื้อโค้ทได้โดยไม่ เปลืองพืน้ ทีห่ รือรูส้ กึ หนักในการพกพา แป้นพิมพ์ Logitech KeysTo-Go ห่อหุ้มด้วย FabricSkin ที่มีคุณสมบัติกันน�้ำ ช่วยปกป้อง แป้นพิมพ์จากน�้ำที่หก หรือสิ่งสกปรกต่าง ๆ โดยสามารถเช็ด ท�ำความสะอาดได้โดยง่าย นอกจากนี้ยังมีความทนทานส�ำหรับ การใช้งานทั้งภายในและภายนอกอาคารอีกด้วย
August-September 2015, Vol.42 No.242
71 <<<
&
Books Guide
หนังสือเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสครบ ๖๐ พรรษา ๖๐ พรรษารัตนราชสุดา
วิทยาปริทรรศน์
โครง
การเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดย ฝ่ายเลขาโครงการฯ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดท�ำหนังสือแห่งปี “๖๐ พรรษารัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ 60 พรรษา เนื้อหาภายในเล่ม เป็นการรวบรวมโครงการทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีบทบาทต่อประชาชนชาวไทยที่ครบ สมบูรณ์ นี่คือ หนึ่งในเหตุผล…ว่าท�ำไมคนไทยควรอ่าน หนังสือเล่มนี้… “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นนักพัฒนา ที่มีพระราชปณิธานแน่วแน่ ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน หนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมโครงการในพระราชด�ำริของพระองค์ท่าน ที่น�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปพัฒนา และยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนชาวไทยมากมายหลายโครงการ จึงอยากให้คนไทยได้อ่านหนังสือเล่มนี้” ดร.มนู อรดีดลเชษฐ์ กรรมการโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชด�ำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
“๖๐ พรรษารัตนราชสุดา วิทยาปริทรรศน์”
จำ�หน่ายในราคา 499 บาท รายได้ทูลเกล้าถวาย โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย หาซื้อได้ที่ร้านหนังสือชั้นนำ�ทั่วไป
>>>72
August-September 2015, Vol.42 No.242
&
Books Guide
ค�ำกริยาเกาหลี
“ง่าย”นิดเดียว ผู้เขียน ผศ.สิทธินี ธรรมชัย ราคา 85 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม
ใน
ช่วง 1-2 ปีมานี้ ส�ำนักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม ผลิตหนังสือ เสริมความรูภ้ าษาเกาหลีเพิม่ ขึน้ มากมายหลายเล่ม และทุก เล่มก็ได้รบั เสียงตอบรับจากผูอ้ า่ นเป็นอย่างดี รวมไปถึงเล่มทีก่ ำ� ลังจะ น�ำมาแนะน�ำกันในฉบับนี้ คือ “ค�ำกริยาเกาหลีง่ายนิดเดียว” ด้วย ถือ เป็นคัมภีรข์ นาดย่อมส�ำหรับผูเ้ รียนภาษาเกาหลีทกุ คนทีค่ วรจะมีตดิ ตัว ไว้ใช้ยามฉุกเฉินเลยทีเดียว ส่วนเนือ้ หาจะเป็นอย่างไร มาท�ำความรูจ้ กั กันครับ ก่ อ นอื่ น ขอเกริ่ น เรื่ อ งค� ำ กริ ย าในภาษาเกาหลี กั น สั ก นิ ด โครงสร้างทางไวยากรณ์ของภาษาเกาหลีจะค่อนข้างคล้ายคลึงกับ ภาษาญี่ปุ่น (จะเรียกว่า “เหมือน” ก็คงจะได้) โดยเฉพาะเรื่องระดับ ภาษาและกาล (Tense) ของประโยคจะคล้ายกันมากโดยค�ำที่ท�ำ หน้าที่เป็นภาคแสดงของประโยคอย่างค�ำกริยาหรือค�ำคุณศัพท์จะ เรียกรวมกันว่าเป็น V (Verb) ทัง้ หมด แต่จะแบ่งเป็น AV (Action Verb) หรือ ค�ำกริยานีแ่ หละครับ กับ DV (Descriptive Verb) หรือเรียกง่ายๆ คือ ค�ำคุณศัพท์ (ค�ำกริยาที่บรรยายสภาพ) และค�ำเหล่านี้จะมีการ ผันรูปไปตามวรรณะของผู้พูด (เช่น ผู้ที่อาวุโสกว่า สนิทกัน เด็กกว่า เป็นต้น) และความเป็นปัจจุบนั อดีต หรืออนาคตด้วย ซึง่ การผันรูปกริยา ทั้งหมดทั้งมวลนี้ ท�ำเอาผู้เรียนหลาย ๆ คนต้องพึ่งยาพาราเซตามอล
คนละก�ำมือ วันละ 3 เวลาแก้ปวดหัวกันเลย เพราะมันมีหลายรูปมาก ไม่ว่าจะรูปธรรมดา กันเอง สุภาพ ค�ำสั่ง ขอร้อง ชักชวน สามารถ ไม่ สามารถ ยกย่อง เชื่อมประโยค ฯลฯ โอย...ชีวิตนี้จะจ�ำหมดหรือเปล่า ยังไม่รเู้ ลย แต่ “ค�ำกริยาเกาหลีงา่ ยนิดเดียว” จะน�ำท่านไปสูแ่ สงสว่าง ทีป่ ลายอุโมงค์และพบกับอนาคตของการเรียนภาษาเกาหลีทรี่ อเราอยู่ ข้างหน้า...ในเล่มจะรวบรวมการผันค�ำกริยา (AV) และค�ำคุณศัพท์ (DV) ในระดับต้นไว้กว่า 500 ค�ำ พร้อมรูปแบบการผันที่ถูกต้อง 21 รูป (พิมพ์ไม่ผดิ หรอกครับ 21 จริง ๆ) ไล่เรียงกันมาในรูปแบบตาราง เหมาะส�ำหรับน�ำไว้ใช้ประกอบการเรียนเพือ่ ความมัน่ ใจและเช็กความ ถูกต้องว่าเราผันถูกหรือเปล่านะ เพราะเมื่อเรียนในระดับสูงขึ้นไป รูปแบบการผันก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนบางครั้งก็อาจจะสับสน จนเอารูปการผันมาสลับกันมั่วไปหมด ไม่มีอะไรเข้าใจง่ายกว่านี้อีกแล้วครับ เพื่อน ๆ ที่เรียนภาษา เกาหลีอยู่แล้วก�ำลังประสบปัญหา RAM ในสมองส่วนที่ประมวลผล การผันค�ำกริยาเริ่มต�่ำ แนะน�ำให้มี “ค�ำกริยาเกาหลีง่ายนิดเดียว” ติดตัวไว้ หน่วยความจ�ำของเราก็จะท�ำงานได้ไหลลื่นขึ้น ไม่กิน RAM จดอืดอีกต่อไป 또 만나요~ อาทิตย์ นิ่มนวล ฝ่ายสำ�นักพิมพ์
August-September 2015, Vol.42 No.242
73 <<<
&
Books Guide
เป็นหนึง่ เดียว ดีกว่า เป็นทีห่ นึง่ ผู้เขียน Kotaro Hisui, Mihiro Hitaka ผู้แปล ดร.จารุนันท์ ธนสารสมบัติ ราคา 190 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.
Switch
สู่อิสระในการ “เลือก” ใช้ชีวิตให้สนุกและมีความสุขมากกว่าเมื่อวานเป็น 100 เท่า
พวกเรามักจะคิดว่า... เราควร “เปลี่ยน” ตัวเอง เพื่อท�ำบางสิ่งให้ส�ำเร็จลุล่วง ซึ่งหากคิดกลับกัน เท่ากับว่า... เราก�ำลัง “ปฏิเสธ” ตัวเองในตอนนี้ ต่อให้เราพยายามแค่ไหน ถ้าเราไม่ยอมรับตัวเอง ทุกอย่างก็เปล่าประโยชน์ เหมือนคุณก�ำลังเหยียบคันเร่ง พร้อม ๆ กับเหยียบเบรกไปด้วย แม้เราไม่ใช่คนที่สมบูรณ์แบบ แต่จุดอ่อน คือสิ่งที่ช่วยเสริมให้จุดเด่นของเราเด่นชัดขึ้น และท�ำให้เรามีจุดแข็งที่แตกต่างจากคนอื่น เฉกเช่นเดียวกับ จันทร์เสี้ยว ก็มีเสน่ห์เฉพาะตัว ที่ชวนหลงใหลและประทับใจคนมากมาย แม้ไม่ใช่ จันทร์เต็มดวง คุณ “เลือก” ใช้ชีวิตอย่างมีอิสระและมีความสุขแบบที่ไม่มีใครจะเหมือนคุณได้ ด้วยเรื่องราวที่ตั้งใจมอบไว้ในเล่ม ➢ 12 เรื่องราวที่จะท�ำให้คุณ “รักตัวเอง” มากขึ้น ➢ 10 เรื่องราวที่จะท�ำให้คุณ “เป็นสุข” นับตั้งแต่วินาทีนี้ ➢ 11 เรื่องราวที่จะท�ำให้คุณรู้ว่า “คุณไม่ได้เดียวดาย” ➢ 12 เรื่องราวที่จะท�ำให้คุณ “ใช้ชีวิตสนุก” ยิ่งขึ้น ➢ 16 เรื่องราวที่จะท�ำให้ “ความฝัน” ของคุณเป็นจริงได้
>>>74
August-September 2015, Vol.42 No.242
ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด
&
Buyer Guide
โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com
PROMAX PROLITE-57 เครื่องวัดแสงของสายไฟเบอร์ออปติก ส�ำหรับงานติดตั้ง FTTx ราคาประหยัด PROLITE-57 เป็นเครื่องวัดกำ�ลังแสงของไฟเบอร์ออปติก ขนาดมือถือ ออกแบบ มาสำ�หรับงาน FTTx ที่ใช้เทคโนโลยี Passive Optical Network หรือ PON วัดได้ 3 ความยาวคลื่น 1310nm, 1490nm และ 1550nm สำ�หรับงานสัญญาณเสียง ข้อมูล และ วิดีโอ พร้อมกันในสายเส้นเดียวกัน ➢ เหมาะสำ�หรับงานทดสอบภาคสนามและในห้องแล็บ ➢ ใช้วัดสัญญาณแบบปกติ และการวัดแบบ Pass/Fail ที่ตั้งค่าได้ตามต้องการ ➢ ตรวจจับและวัดสัญญาณ Upstream Burst ที่ 1310nm ➢ ใช้ได้กับเน็ตเวิร์ก APON, BPON, EPON และ GPON ➢ มีสัญญาณแจ้ง Pass, Fail และ Warning ที่สังเกตได้ง่าย ➢ ทำ�งานด้วยแบตเตอรี่ Ni-MH ได้ต่อเนื่อง 20 ชั่วโมง หรือใช้อะแดปเตอร์ ➢ มีอินเตอร์เฟส USB ➢ มีนาฬิกาในตัวแบบ Real-time
PROMAX PROLITE-63B เครื่องวัดก�ำลังแสงของสายไฟเบอร์ออปติก รุ่นราคาประหยัด PROLITE-63B เป็นเครื่องวัดกำ�ลังแสงของสายไฟเบอร์ออปติกที่ใช้งาน ได้หลากหลาย เหมาะสำ�หรับงานในห้องแล็บ, LANs, WANs และ CATV รวมถึง งาน Optical Network ระยะไกล มีทั้งมิเตอร์วัดกำ�ลังและตัวกำ�เนิดเลเซอร์ในตัว สามารถแยกแยะสายสัญญาณ วัดการลดทอน ตรวจสอบความต่อเนื่องสัญญาณ ประเมินคุณภาพการเชื่อมต่อสัญญาณของไฟเบอร์ลิงก์ ➢ สำ�หรับความยาวคลื่น 850, 1300, 1310, 1490, 1550, 1650nm ➢ มีฟังก์ชั่นสำ�หรับการกำ�หนดค่าอ้างอิง (reference) ➢ เก็บข้อมูลได้ 999 ค่า ส่งข้อมูลไปยัง PC ผ่าน USB ➢ จอ LCD มีไฟแบล็กไลท์ ทำ�งานสะดวกในที่แสงน้อย ➢ มีคอนเน็กเตอร์หลายแบบและอุปกรณ์เสริมที่สลับใช้งานได้ ➢ ทำ�งานด้วยแบตเตอรี่ในตัวแบบชาร์จได้ หรือใช้อะแดปเตอร์ ➢ ไดนามิกเรนจ์กว้าง สามารถวัดกำ�ลังแสง -40 ถึง +10 dBm ➢ ปิดเครื่องอัตโนมัติ ประหยัดไฟ ทำ�งานภาคสนามได้ยาวนาน ➢ มีหัวไฟเบอร์ออปติก ถอดเปลี่ยนได้หลายแบบ August - September 2015, Vol.42 No.242
75 <<<
&
Inspiretion
ผลิตภัณฑ์ ใหม่ บริษัท ไฟฟ้าอุตสาหกรรม จ�ำกัด โทรศัพท์ : 0-2642-6700 แฟกซ์ : 0-2642-4250 เว็บไซต์ : www.ie.co.th อีเมล : sale@ie.co.th
Model SM-100
Model PHP-1
เครื่องวัดเสียง แบบพกพา ➢ ย่านการวัด 30 ถึง 130 dB (A) ➢ ความแม่นยำ� ±1.5 dB ➢ สามารถตัง้ ค่าการวัดเป็น Fast (125 ms) และ Slow (1 sec)
ปั๊มลมมือแบบนิวเมติกส์ สำ�หรับงานสอบเทียบ ➢ กำ�เนิดความดันใช้งาน -28 inHg ถึง 600 PSI (-0.960 ถึง 40 bar) ➢ ขนาดขั้วต่อเข้ากับท่อ 1/4” NPT ➢ ทำ�งานในลักษณะการสูบแบบมือบีบ สามารถปรับละเอียดได้ (fine adjustment)
Model A-396A ปั๊มลมมือแบบนิวเมติกส์ สำ�หรับงานสอบเทียบ ➢ กำ�เนิดความดันใช้งานสูงสุด 72 PSI (5 bar) ➢ อุณหภูมิใช้งานสูงสุด 49 องศาเซลเซียส ➢ ขนาดขั้วต่อเข้ากับท่อ 1/8” NPT ➢ ทำ�งานในลักษณะการสูบแบบชัก สามารถปรับละเอียดได้ (fine adjustment)
>>>76
August - September 2015, Vol.42 No.242
&
ตลาด
น�้ำวัดตะเคียน ตลาดน�้ำ ที่เกิดจากด�ำริของหลวงปู่ แย้ม แห่งวัดตะเคียน ซึง่ ตลาดน�ำ้ แห่งนีส้ ร้างขึน้ เพื่อช่วยสร้างอาชีพให้กับชุมชนรอบ ๆ บริเวณ วัด โดยรูปแบบยังคงวิถีการด�ำรงชีวิตของคน ริมน�้ำ ถ้ามาเที่ยวที่ตลาดน�้ำนี้ มี 3 สิ่งที่ต้อง ท�ำให้ได้ คือ 1. กราบสรีระสังขารหลวงปู่แย้ม ซึ่ง หลวงปู่ท่านได้ละสังขารไป เมื่อ พ.ศ.2557 สังขารของท่านบรรจุอยูใ่ นโลงแก้วทีว่ ดั ตะเคียน มีผู้คนเดินทางไปกราบไหว้ตลอดไม่ขาดสาย 2. ลอดโบสถ์สะเดาะเคราะห์ หัวเสือ ปากมังกร วัดแห่งนี้เป็นวัดเก่าแก่มาก มีอายุ กว่าร้อยปี คาดว่าน่าจะสร้างขึ้นมาก่อนสมัย รัชกาลที่ 5 เมื่อเดินทางมาถึงวัดแห่งนี้ สิ่งที่ไม่ ควรพลาด คือ การเดินลอดใต้โบสถ์เก่า ซึ่งเชื่อ กันว่าหากได้ลอดโบสถ์อันเป็นสถานที่ที่สะอาด
Travel
กราบหลวงปู ่ ลอดโบสถ์เก่า เดินชม ชิม ช้อป @วัดตะเคียน
บริสทุ ธิ์ และศักดิส์ ทิ ธิจ์ ะเป็นการล้างอาถรรพณ์ และเสริมความเป็นมงคลให้แก่ผู้ที่เดินทางมา ลอดโบสถ์ แต่ถ้าสังเกตให้ดีทางเข้าของโบสถ์เก่า ด้านซ้ายมือจะเป็นรูปหัวเสือขนาดใหญ่ และ ส่วนที่เป็นทางออกเป็นรูปมังกร เป็นการสร้าง ตามหลักฮวงจุ้ยที่ว่า “เข้าทางหัวเสือ คือ เพื่อ ขจัดความชัว่ ร้ายทัง้ ปวงให้สนิ้ ไป” “ส่วนทางออก
มังกร ตามเชื่อของชาวจีน เพิ่มพูนมงคลและ สิ่งดีงามให้แก่ชีวิต” 3. เดินชม ชิม ช้อป ที่ตลาดน�้ำวัด ตะเคียน มีทั้งตลาดบกและตลาดน�้ำ อยู่ภายใน วัด มีนานาสารพันสินค้า ทั้งพืชผัก ผลไม้ ที่ชาว บ้านปลูกและขายเอง รวมถึงอาหารการกิน ต่างๆ มีทงั้ พายเรือมาขาย ท�ำกันใหม่ ๆ ไม่วา่ จะ เป็นผัดไท ราดหน้า เป็ดพะโล้ หรือจะเป็นอาหาร August-September 2015, Vol.42 No.242
77 <<<
Travel
&
ทานเล่น เช่น ไส้กรอกอีสาน ลูกชิ้นปิ้ง หรือจะ เป็นขนมต่าง ๆ เช่น ไอศกรีมมะพร้าวอ่อน นาง เล็ด ฝอยทอง ทองหยอด ลูกชุบ ขนมถ้วย ขนม ตาล ขนมเบื้องญวน และที่พลาดไม่ได้ต้องแวะ ชิม คือ ก๋วยเตี๋ยวเรือ ชามละ 15 บาท ซึ่งถ้า ไม่ได้ทานเหมือนมาไม่ถึงตลาดน�้ำวัดตะเคียน แห่งนี้ วัดแห่งนี้เปิดทุกวัน แต่บรรยากาศใน ตลาด จะคึกคักมากในวันหยุดเสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดเทศกาลต่าง ๆ อย่าลืมมาสัมผัสวิถี ชี วิ ต ของคนไทยมี ค วามผู ก พั น กั บ สายน�้ ำ ที่ วัดตะเคียน เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่จะสร้างความ ประทับใจ ให้ทุกท่านที่มาเยือน เป็นอีกหนึ่ง ความภาคภูมิใจของคนเมืองนนท์
>>>78
August-September 2015, Vol.42 No.242
การเดินทางนัน้ ไม่ยาก จากแยกแคราย จังหวัดนนทบุรี วิ่งตรงข้ามสะพานพระราม 5 จากนัน้ วิง่ ตรงไปตามถนนนครอินทร์ จนถึงถนน กาญจนาภิเษก ให้ชดิ ซ้ายกลับรถใต้สะพานข้าม แยก (ที่จะไปเข้าเส้นตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี) แล้ว มุ่งหน้าย้อนกลับมาทางเดิมประมาณ 1.30 กิโลเมตร ก่อนถึงสะพานลอยคนข้าม จะเห็น ซอยที่มีป้ายวัดตะเคียน ด้านหน้าซอยเป็นร้าน เซเว่นอีเลฟเว่น ให้เลีย้ วซ้ายเข้าซอยไปตามป้าย วัดตะเคียนอีกประมาณ 1.30 กิโลเมตร
ที่ตั้ง
ตลาดน�้ำวัดตะเคียน
ต�ำบลบางคูเวียง อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เปิดบริการทุกวัน ตั้งแต่ เวลา 09.00-16.00 น.
MTX_2015_EXH_ADS_8.5x11.5.indd 1
7/6/58 BE 5:00 PM
โรงเรียนภาษาและวัฒนธรรม สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 泰日経済技術振興協会付属語学学校(ソーソートー)
School of Language and Culture
新コース!
20 タイ入門コース
คอรสสนทนาภาษาไทยเบื้องตน 20 ชั่วโมง
時間
(初心者コース)
タイ語会話の基礎を勉強しながらタイ文化やタイ人の考え方を知ることができるコース
กฃ ขค
คอรสเรียนสนทนาภาษาไทยเบื้องตนควบคูไปกับการเรียนรูวัฒนธรรมและความคิดของคนไทย 対象者 คุณสมบัติผูเรียน
ง
タイで生活している方、 タイで仕事をしている方。
タイで、 より充実した生活を送るため、 あるいは職場でタイ人と円滑に
コミュニケーションを図るためのタイ語に関する基礎知識を学びたい方。
初心者向けのタイ語及びタイ文化やタイ人の考え方を学びたい方。
ชาวญี่ปุนที่อาศัยอยู ในเมืองไทย มีความตองการเรียนรูพื้นฐานภาษาไทย รวมทั้งวัฒนธรรมไทย ความรูสึกนึกคิดของคนไทย เพ�อใหการส�อสารในชีวิตประจำวันและการทำงานเปนไปอยางราบร�น
จำนวนผูเรียน
時間
เวลาเรียน
曜日
教材
8−16名
9:00-12:00
月∼金
場面で役立つ
人数
8-16 คน
วันเรียน
(最終日のみ 9:00-11:00) 全7回
9.00-12.00 น. (9.00-11.00 น. เฉพาะวันสุดทายของการเรียน) รวม 7 ครั้ง
スケジュール
กำหนดการเปดคอรส
お問い合わせ先
ติดตอสอบถาม
จันทร-ศุกร
受講料
คาเรียน
5,000B.
หนังสือเรียน 使えるタイ語・
単語帳 150B.
รวมศัพท พูด (ภาษา) ไทยใหเกง ราคา 150 บาท
コード รหัสคอรส
申込締切 วันปดรับสมัคร
受講期間 ระยะเวลาเรียน
TN1-15-001 TN1-15-002 TN1-15-003 TN1-15-004
June 10, 2015 July 8, 2015 July 28, 2015 August 26, 2015
June 15-23, 2015 July 13-21, 2015 August 3-11, 2015 September 1-9, 2015
TEL : 0-2258-0320-5, 0-2259-9160 ext. 1651, 1652 E-mail : thschool@tpa.or.th