TN245 February - March 2016 Vol.42 No.245

Page 1

Technology Promotion and Innomag Magazine

Techno

February-March 2016 Vol.42 No.245

www.tpaemagazine.com

logy

INNOMag Gates to Inspiration of Innovation

Leadership of all Industrial Enterprise Magazine

เคร�องวัดและบันทึก (Data Logging)

อุณหภูมิและความชื้น

เช�อถือไดอันดับหนึ่ง

ติดตั้งไดงายทั้งแบบไรสายดวย Wi-Fi และสาย LAN มอนิเตอรผานอินเทอรเน็ตไดจากทุกที่แบบ Real-time HMT 140

วัดและบันทึกอุณหภูมิ และความชื้น

เช�อมตอกับ เน็ตเวิรก ที่มีอยู

รุน DL2000

วัดไดหลายจุดพรอมกัน มาตรฐาน cGMP

สงขอมูล ผานระบบ Wi-Fi มอนิเตอรขอมูล, บันทึก, แจงเตือน

มอนิเตอรระยะไกล ผานอินเทอรเน็ต

ใชงานรวมกับ Veriteq Power over Ethernet

DL2000 แจงเตือนระยะไกล ทางโทรศัพท

ตูแชเย็นจัด

ตูเย็น

เตาอบ

รุน HMT330 รุน HMT140

แบบทรานสมิตเตอร สำหรับงานขั้นสูง

เช�อมตอดวย Wi-Fi สะดวกติดตั้ง

สนใจติดตอ : คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com

Hot Issue:     

จับกระแสนวัตกรรมอาหารเพ�อสุขภาพ ทางเลือกเพ�อความปลอดภัยและยืดอายุอาหาร จากพีเอ็มเอสสูอุตสาหกรรม ยุค 4.0 5 แนวโนมกำหนดทิศทางไอทีและธุรกิจ ป 2559 กวาจะเปน...ขาวไทยคุณภาพระดับโลก

www.measuretronix.com/ vaisala

ราคา 70 บาท


ME A

R RE T ONIX SU

V

D. LT

ดวย Fluke Connect อยูที่ ไหนก็ทำงานได

®

PASSED ER

I F I C AT I O

N

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

ยุคใหมของเครื่องมือวัดที่เชื่อมตอถึงกันไดทุกตัว ดูผล, บันทึก, วิเคราะห, รายงานผล, ทำงานรวมกันไดจากทีมงานทุกที่ทั่วโลก ผานระบบคลาวด ดวยระบบ Fluke Connect ที่มีในตัว เครื่องมือวัดรุนใหมทุกตัว ทำงานรวมกับ App ในสมารตโฟน หรือแท็บเลต ทั้งระบบ Android และ iOS รวมทั้ง PC Software

วิศวกรอยูที่ไซตงาน ตางประเทศ ตรวจสอบคาวัด, กราฟตางๆ, รูปถาย, วิดิโอ ขณะนั้น และ ขอมูล ยอนหลัง ใหคำแนะนำ แกผูจัดการโรงงาน และชางเทคนิค

ผูจัดการโรงงาน อยูที่สำนักงานใหญ

ชางเทคนิคอยูที่หนางาน ตรวจพบความผิดปกติ จึงแจงไปยัง ผูจัดการโรงงาน พรอมขอมูลลาสุด รูปถายประกอบ หรือคลิปวิดิโอ และขอคำปรึกษาวิศวกร

ตรวจสอบขอมูลและคำแนะนำ สอบถามขอมูลเพิ่มเติมประเมิน สถานการณและตัดสินใจ เพื่อสั่งดำเนินการ

เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานรวมกันเปนทีม ไมวาจะอยูที่ใดก็ตาม ก็สามารถรวมกันแกปญหาจากระยะไกลได โดยการเขาถึง และ แบงปนขอมูลกันไดจากทุกที่ ดูผลกราฟรายงานผลการวัดจากเครื่องมือหลาย ๆ ตัวพรอมกันได ไมวาจะเปนคาทางกล คาทางไฟฟา และอุณหภูมิ ของเครื่องจักรหรือ อุปกรณโดยจัดการไดเปนรายตัว ออกแบบใหติดตั้งใชงานไดงาย โดยไมตองพึ่งพาแผนก IT แตอยางใด ใคร ๆ ก็ใชได ทำงานอัตโนมัติ วัดคาและสงขอมูลดวยระบบไรสาย ไมตองจด ลงกระดาษอีกตอไป ลดโอกาสผิดพลาด และลดเวลาในการคนหา บันทึกขอมูลของเครื่องจักรตาง ๆ

ปจจุบันมีเครื่องมือ Fluke ที่มีเทคโนโลยี Fluke Connect แลวประกอบดวย  Fluke Ti400/300/200, Fluke TiS Series, Fluke TiX560/520 Infrared Camera  Fluke 376/375/374 FC True-rms AC/DC Clamp Meter  Fluke 805 FC Vibration Meter  Fluke 1587 FC Insulation Multimeter

 Fluke 3000 FC Series Wireless Multimeter  Fluke x3000 FC Wireless Test Modules  Fluke pc3000 FC Wireless PC Adapter

®

วันนี้ คุณสามารถติดตั้ง Fluke Connect App เพื่อทดสอบการใชงานไดฟรี

(และจะมีรุนอื่น ๆ ที่เพิ่มเทคโนโลยี Fluke Connect มากขึ้น จนครบทุกรุน)

สนใจติดตอ : คุณพลธร 08-1834-0034, คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณสิทธิโชค 084-710-7667, คุณเนตรนภางค 089-895-4866 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ fluke-connect


ME A

V

สำหรับงานงานซอมบำรุงในอุตสาหกรรม, งานประหยัดพลังงาน และงานอาคาร Fluke TiX1000, TiX660, TiX640, TiX560, TiX520

รุน พรีเมี่ยม

สำหรับงานวิศวกรรม, งานวิจัยและพัฒนา (R&D) และงานถายภาพความรอนขั้นสูง ที่ตองการคุณภาพของภาพความรอนระดับพรีเมี่ยม

ชวงวัดอุณหภมิ

ขนาดเซ็นเซอร

D:S

ความไว

-40°C to +1200°C

1024 x 768

1811:1

≤0.05°C

TiX660/640*

-40°C to +1200°C

640 x 480

1187:1

≤0.03°C

TiX560

-20°C to +1200°C

320 x 240

764:1

≤0.05°C

TiX520

-20°C to +850°C

320 x 240

764:1

≤0.05°C

TiX1000

*รุน 640 ไมมีโหมด Super Resolution

พัฒนาการอีกขั้นของการเชื่อมตอไรสาย Fluke Connect App สามารถสงภาพความ รอนและรายงานจาก หนางานผาน iPhone, iPad หรือ Android เพื่อแชรขอมูล ใหทีมงาน, ที่ปรึกษาหรือผูตัดสินใจ ไดทันที ทุกที่ทั่วโลก

รุน มืออาชีพ

N

กลองอินฟราเรดถายภาพความรอน รุนสำหรับมืออาชีพ

สำหรับมืออาชีพในงานถายภาพความรอน ที่ตองการคุณภาพของภาพความรอน ที่คมชัดเหนือกวาและฟงคชั่นใชงานขั้นสูง ใชงานไดอยางหลากหลาย ครอบคลุมทุกลักษณะงาน สามารถถายภาพที่มีโฟกัสดีเยี่ยม คมชัด และมีรายละเอียดสูง ไดรวดเร็วกวา ดวยระบบโฟกัสอัตโนมัติ LaserSharp® ที่โฟกัสไปยังเปาหมายอยางแมนยำดวย เลเซอร จอแสดงผล LCD ควบคุมแบบ สัมผัส พรอมเลนสเทเลโฟโตและเลนส มุมกวาง เชื่อมตอไรสาย Fluke Connect

ชวงวัดอุณหภมิ

ขนาดเซ็นเซอร

D:S

ความไว

Ti400

รุน

-20°C to +1200°C

320 x 240

764:1

≤0.05°C

Ti300

-20°C to +650°C

240 x 180

573:1

≤0.05°C

Ti200

-20°C to +650°C

200 x 150

477:1

≤0.075°C

รุน ใหมลาสุด ั กวา ภาพชด ั ระหยด ในราคาป

Fluke TiS65, TiS60, TiS55, TiS50, TiS45, TiS40, TiS20, TiS10 กลองอินฟราเรดถายภาพความรอน รุนสำหรับผูใชงานทั่วไป สำหรับผูใชงานทั่วไป, ชางเทคนิค และผูใหบริการ ที่ตองไดรายละเอียดภาพความรอนดวยการสแกนที่รวดเร็ว หรือการตรวจสอบความรอนที่ผิดปกติอยางรวดเร็ว ใหคุณภาพของภาพถายความรอนที่ดีใน ราคาประหยัด ดวยความละเอียดที่ดีกวา ถึง 84% เมื่อเทียบกับรุนของคูแขง และ หนาจอใหญกวาถึง 32% ใหรายละเอียด ในภาพถายไดมากขึ้น มาพรอม SD การด ที่ถอดออกได, ตัวเครื่องแข็งแรง พรอม สายคลองขอมือแบบปรับได

ระบบโฟกัสล้ำสมัย และซอฟตแวรความสามารถสูง รุน SuperResolution โหมดเพิ่มความละเอียด 4 เทา ใหภาพอินฟราเรด คมชัดสูงอยางไมเคยทำได มากอน

I F I C AT I O

Fluke TiX560, TiX520

จอแสดงผล LCD ขนาดใหญ 5.7 นิ้ว มีตัวเลือกการโฟกัสที่ล้ำสมัย ใหภาพความรอน ที่ชัดเจนทุกสถานการณ ทั้งระบบโฟกัสอัตโนมัติ LaserSharp®, ระบบแมนนวลโฟกัส, ระบบโฟกัสหลายระยะ EverSharp และโหมดเพิ่มความละเอียดของภาพ Super Resolution รุน

ER

ฟลุค..โดยเมเชอรโทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

ู นะสง สมรรถ าร ุ วงก ในทก

ุ ได  มน เลนสห ศา 180 อง

Fluke TiX1000, TiX660, TiX640

PASSED

Fluke Ti400, Ti300, Ti200

กลองอินฟราเรดถายภาพความรอน รุนสำหรับผูเชี่ยวชาญ

ู ี ดสง ะเอย ความล HD ั ระดบ

D. LT

กลองอินฟราเรดถายภาพความรอน

R RE T ONIX SU

LaserSharp™ Auto Focus ระบบโฟกัสที่แมนยำดวยการใช เลเซอรวัดระยะจริงของวัตถุ แกปญหาโฟกัสผิดระยะ ใหภาพความรอนที่ถูกตอง คมชัดกวา

Free Software SmartView ทุกรุน สำหรับรายงานการตรวจ สอบปญหาอยางชัดเจน พรอมภาพความรอน 3D

ชวงวัดอุณหภมิ

ขนาดเซ็นเซอร

D:S

ความไว

TiS65*/60

-20°C to +550°C

260x195

417:1

≤0.08°C

TiS55*/50

-20°C to +450°C

220x165

353:1

≤0.08°C

TiS45*/40

-20°C to +350°C

160x120

257:1

≤0.09°C

TiS20

-20°C to +350°C

120x90

193:1

≤0.10°C

TiS10

-20°C to +250°C

80x60

128:1

≤0.15°C

*ระบบ Manual Focus, ที่เหลือเปน Fixed Focus (Focus Free)

ซื้อ Fluke Ti Series จากบริษัท เมเชอรโทรนิกซ จำกัด มั่นใจไดมากกวา

เรามีคอรสฝกอบรมการใชงานทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ทุก Level มีศูนยซอมโดยผูชำนาญ พรอมอะไหลแท มีศูนยสอบเทียบมาตรฐาน ไดสเปกถูกตองตลอดอายุการใชงาน

สนใจติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณเนตรนภางค 089-895-4866, คุณสิทธิโชค 084-710-7667 ติดตามขาวสาร อบรม/สัมมนา ไดที่ www.measuretronix.com/seminar

www.measuretronix.com/ infrared-camera


&

February- March 2016, Vol.42 No.245

Activity

8

Cover Story

12 เครื่องวัดและบันทึก (Data Logging)

อุณหภูมิและความดัน

โดย: บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด

Special Scoop

20 จับกระแสนวัตกรรมอาหารเพือ่ สุขภาพ

เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ

20

Special Talk

26 Irradiated Food: Innovative

Alternative นวัตกรรมทางเลือกเพือ่ ความ ปลอดภัยและยืดอายุอาหาร โดย: กองบรรณาธิการ

Inspiration

30 เครื่องวิเคราะห์การทรงท่าของทารก

ฝีมือนักวิจัยรายแรกของไทย

โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

Innovation

32 เผยโฉมเทคโนโลยีสุดล�้ำจาก BOSCH

โดย: กองบรรณาธิการ

Management

34 เทคนิคการบริหารจัดการขนส่ง

30

และสินค้าคงคลัง (ตอนที่ 1) โดย: เศรษฐภูมิ เถาชารี วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

38 ท�ำไม “ภาวะผูน้ ำ� ” จึงจ�ำเป็นต่อองค์กร

โดย: พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

Production

41 จากพีเอ็มเอสสู่ Industry 4.0

โดย: นพดล คะเตปะนานนท์ บริษัท มิกซ์เอ็น คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

46 การปัม๊ ชิน้ งานเทีย่ งตรงจิว๋ ระดับไมครอน

(precision micro stamping) (ตอนที่ 2)

Energy & Environmental

50 พลังงานไฟฟ้าจากเซลล์เชือ้ เพลิง

ชนิดออกไซด์แข็ง

โดย: ดร.ญาณีพร พัชรวรโชติ1 และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ2 1ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการ เชิงค�ำนวณ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โดย: อ�ำนาจ แก้วสามัคคี

46


Actual size of Keysight E36104A DC Power Supply Actual size of Keysight E36104A DC Power Supply

Small Small footprint, footprint, big big performance. performance. These compact (2U, Ÿ rack) power supplies bring a powerful punch to your bench. Packed full of features, the These compact (2U, Ÿ rack) power supplies bring a powerful punch to your bench. Packed full of features, the oYH PRGHOV RIIHU WR : DQG XS WR $ RU 9 RI UHOLDEOH SRZHU :KDWHYHU WKH WDVN ZLWK WKH ( 6HULHV oYH PRGHOV RIIHU WR : DQG XS WR $ RU 9 RI UHOLDEOH SRZHU :KDWHYHU WKH WDVN ZLWK WKH ( 6HULHV '& 3RZHU 6XSSOLHV \RXjOO KDYH HYHU\WKLQJ \RX QHHG WR SRZHU '87V TXLHWO\ VDIHO\ DQG DFFXUDWHO\ '& 3RZHU 6XSSOLHV \RXjOO KDYH HYHU\WKLQJ \RX QHHG WR SRZHU '87V TXLHWO\ VDIHO\ DQG DFFXUDWHO\ Actual size of Keysight E36104A DC Power Supply – ,QWXLWLYH RQ VFUHHQ PHQXV – ,QWXLWLYH RQ VFUHHQ PHQXV – /$1 DQG 86% FRQQHFWLYLW\ – /$1 DQG 86% FRQQHFWLYLW\ – Low current measurements – Low current measurements

Small footprint, big performance. Model Maximum output E36102A 6V 5Abring a powerful 30W These compact (2U, Ÿ rack) power supplies punch to your bench. Packed full of features, the E36103A 20V 2A 40W oYH PRGHOV RIIHU WR : DQG XS WR $ RU 9 RI UHOLDEOH SRZHU :KDWHYHU WKH WDVN ZLWK WKH ( 6HULHV E36104A 35V 1A 35W '& 3RZHU 6XSSOLHV \RXjOO KDYH HYHU\WKLQJ \RX QHHG WR SRZHU '87V TXLHWO\ VDIHO\ DQG DFFXUDWHO\ E36105A 60V 0.6A 36W See the E36100 Series videos, datasheet and –E36106A ,QWXLWLYH RQ VFUHHQ PHQXV 100Vvideos, datasheet 0.4A and 40W See Series morethe at:E36100 www.keysight.com/find/BenchPower –www.keysight.com/find/e36100 /$1 DQG 86% FRQQHFWLYLW\ more at: www.keysight.com/find/BenchPower

– A: Low current measurements US 800 829 4444 CAN: 877 894 4414 USA: 800 829 4444 CAN: 877 894 4414 Š Keysight Technologies, Inc. 2016. Š Keysight Technologies, Inc. 2016.

IRC Technologies Limited

Authorized Distributor and Cervice Center 719, 4th Floor, KPN Tower, Rama 9 Road, Bangkapi, Huay Kwang, Bangkok 10310 Thailand Tel: +66 2717 1400 Fax: +66 27171422 E-mail: info@irct.co.th Website: www.irct.co.th

See the E36100 Series videos, datasheet and more at: www.keysight.com/find/BenchPower

Unlocking Measurement Insights


February- March 2016, Vol.42 No.245

Computer & IT

55 5 แนวโน้ม ก�ำหนดทิศทางระบบไอที

และธุรกิจปี 2559

&

55

โดย: ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์

58 สิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับยุค IoT

โดย: ไรอัน โกห์ ซีบรา เทคโนโลยีส์ เอเชียแปซิฟิค

Focus

60 เทคโนโลยีชวี ภาพกับการพัฒนาเศรษฐกิจ

(bioeconomy)

โดย: ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

Report

58

64 กระแสธุรกิจมาแรงแห่งปี 2559

เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ

Visit

66 กว่าจะเป็น... ข้าวไทยคุณภาพระดับโลก

โดย: กองบรรณาธิการ

Show & Share 70 Buyer Guide 72 Books Guide 75

64

66


CREATIVE & IDEA

} l ¤ ¥ |Ö ¨ ¤| ¨l¤s« ¡ Ö jÓ ¡ l ¡Ó i

นิตยสาร

JANUARY 2016 VOLUM 10

NUMBER

112

Creative & Idea KAIZEN

pi ¨l¤s« j °p i ¤ u ¬ Í

¨l¤s«

i Ò o}Ò ¤ ï o

ฉลองปรับโฉม พรอมกาวเขาสูปที่ 10

j Ï pj j j} ~t× }

คืนกำไรใหผูอาน ดวยโปรโมชั่นสุดพิเศษ 2 ตอ ตั้งแตบัดนี้ จนถึงสิ้นเดือนเมษายน 2559

ion Vis zen Kai ¬¤ Ú ¡ Ö i p i l ¨l¤s« j o ¡Ó i io | ¡ ¤ ¨ p i

0 110121 120157

CREATI

นิตยสาร

70

นิตยสาร นิตยสาร ครี

เอทีฟ แอนด

ไอเดีย ไคเซ็น

ศูนยรวมขอ

ตอที่

EA VE & ID

่ปุน & ศญีIDEA E ์จากประเท CREATIV เซ็น ลิขสิทธิ

มูล ความรู

สำหรับกิจกรรมไค

คูปอง CREATIVE & IDEA มกับสิทธิ์ เง�อนไขการใช งครั้งเดียว และไมสามารถใชรวโปรโมชั่นอ�น ๆ ได ั้ง ดเพีย ส.ส.ท. รวมท อง 1. คูปองนี้ ใชไ ิกทุกประเภ ทข ดสมาชารใชคูปอง อนไขก วนล สเง� ในเครือ ส.ส.ท. ธิ์ นิตยสาร

นิตยสาร ครีเอทีฟ แอนด

ไอเดีย ไคเซ็น ศูนยรวมข

อมูล ความรู สำหรับกิจกรรมไคเซ็น

ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุน

1

งสำนักพิมพ สามารถใชส.สรว.ท.มกับสิท องนีาะห้ ใชนัไดงเสืพีอยของครั้งเดียว และไม ปเฉพ สือ ้งโปรโมชั่นอ�น ๆ ได นยหนั.งรวมทั 2. ซื1.้อไดคูเง� และศูส.ส.ท mทของ อww นไขการใช ค.coูปอง กประเภ กทุook มาชิpab วทนลดส ส w.t าร 18อ)ส.ส.ท. ่ ี ได ฒนาก 3. ซื้อ 1. คูปองนี(สุ้ ใชขไดุมงเวิสืพีทอยของส พในเครื งครัแล ้งำนั เดีะพักยพิว มและไม สามารถใช ขา นั 29 ...เทานัรว้นมกับสิทธิ์ 2.ทั้งซื้อ2ไดสาเฉพาะห ..........งรวมทั ..... ..... . ่นอ�น ๆ ได ..... สวนลดสมาชิ ก ทุ ก ประเภทของ ส.ส.ท. ้งโปรโมชั ..... ห ย .......... ok.com และศูน นั สือ ส.ส.ท tpabo ไดถึง..... ้อไดนีท้ ใชี่ www. 4.3.คู2.ปซือง 18) นาการ ฒ และพั ซื อ ้ ได เ ฉพาะหนั ง สื อ ของสำนั ก พิ ม พ ใ นเครื อ ส.ส.ท. 29 ท วิ ม ุ ข (สุ สาขา 2 ทั้ง ้น นั า ท ........เ .......... ้อไดท้ ใี่ชwww.tpabook.com และศูนยหนังสือ ส.ส.ท. ไดถึง.............................. 4.3.คูปซืองนี ทั้ง 2 สาขา (สุขุมวิท 29 และพัฒนาการ 18) 4. คูปองนี้ ใชไดถึง................................................เทานั้น นิตยสาร ครีเอทีฟ แอนด ไอเดีย ไคเซ็น ศูนยรวมขอมูล ความรู สำหรับกิจกรรมไคเซ็น ลิขสิทธิ์จากประเทศญี่ปุน

สมัครสมาชิกใหม หรือตออายุ ตอที่ 1

รับคูปองสวนลดทันที 20 %

ตอที่ 2

เลือกรับฟรี 1 เลม ❏ KAIZEN Best Practices เลม 1 ❏ KAIZEN Best Practices เลม 2 ❏ KAIZEN Best Practices เลม 3 ❏ 5ส ที่คน ไทยไมเคยรูจัก

1 ป

(790.-)

สมัครสมาชิกใหม หรือตออายุ

2 ป

(1,550.-)

ตอที่ 1

รับคูปองสวนลด 20 %

ตอที่ 2

เลือกรับหนังสือ ❏ Kaizen Best Practices เลม 1-3 หรือ เลือกรับหนังสือได 1 เลม ❏ การพัฒนาบุคลากรในโรงงานแบบ Monozukuri

❏ 7 จุดบอดแฝง ที่ขัดขวางการเพิ่ม ตอที่

2

ขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เจาหนาที่งานสมาชิกสัมพันธ โทรศัพท 0 2258 0320 ตอ 1740 (คุณจารุภา) โทรสาร 0 2662 1096 E-mail: maz_member@tpa.or.th

หมายเหตุ คูปองมีอายุ 30 วัน สามารถใชเปนสวนลดในการซื้อหนังสือในเครือ ส.ส.ท. เทานั้น

ผลผลิตของโรงงาน

❏ เขาใหผมเปนผูจัดการคุณภาพ


Editor

Message from

&

February- March 2016, Vol.42 No.245

เมื่อเศรษฐกิจโลก กำ�ลังอ่อนล้า

สวัสดีค่ะ

คุณผู้อ่านทุกท่าน เปิดศักราชใหม่ เข้าสู่ปี 2559 เป็นอีกปี แห่งความหวังที่มีต่อเศรษฐกิจโลกว่าจะดีขึ้น แต่พอก้าวเข้าสู่ ปีใหม่ได้เพียงไม่กี่วัน ตลาดหุ้นจีนร่วงทั้งกระดาน เป็นสัญญาณเตือนให้ทั่วโลก พึงระวังผลกระทบที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น ส�ำหรับประเทศไทยเราคงต้องลุ้นกันตัวโก่ง อีกปีว่า เศรษฐกิจไทย เราจะฟื้นขึ้นมาบ้างหรือไม่ อย่างไรเสีย ประเทศไทยก็ยงั โชคดีทมี่ ขี มุ ทรัพย์อยูใ่ นมือ นัน่ คือ การเกษตร และอาหาร แม้ว่าแนวโน้มของโลกจะเปลี่ยนไปอย่างไร แต่เรื่องปากท้องยังเป็น ความจ�ำเป็นอันดับหนึง่ ส�ำหรับทุกคน ดังนัน้ เทรนด์อาหารทีค่ าดการณ์วา่ จะมาแรง และน่าจับตามอง คือ อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารส�ำเร็จรูป อาหารฮาลาล อาหาร และเครื่องดื่มเสริมสุขภาพและความงาม และอาหารเพื่อผู้สูงอายุ เป็นโอกาสของ ผูป้ ระกอบการทีจ่ ะพัฒนาและปรับเปลีย่ นผลิตภัณฑ์และบริการอาหารทีส่ อดคล้อง กับความต้องการของผู้บริโภค นิตยสาร Technology Promotion & InnoMag Online ฉบับนี้ จะน�ำท่าน ไปพบกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพแบบไทย ๆ ที่มาพร้อมกัน เทรนด์เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ทจี่ ะผ่านเข้ามาในปีนี้ พบกันใหม่ในฉบับต่อไป ค่ะ ผูอ้ า่ นสามารถติดตามความเคลือ่ นไหวของนิตยสารในเครือ ส.ส.ท. ได้ทาง Facebook Fanpage “TPAeMagazine” และอ่านเนื้อหาฉบับเต็มทั้งฉบับปัจจุบัน และย้อนหลังได้ทาง ● www.tpaemagazine.com ● www.tpa.or.th/publisher ● www.issuu.com/tpaemagazine

Published by:

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0-2258-0320-5, 0-2259-9160-9 แฟกซ์: 0-2662-1096, 0-2662-1016 http://www.tpa.or.th

Advisors:

ศ.ดร. วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์ รศ.ดร. วุฒิชาติ สุนทรสมัย คุณพิมลพร ยุติศรี คุณธัญญา ผลอนันต์ คุณธงชัย กัณฑานนท์

Executive Editor: สมใจ วัฒนบรรเจิด

Editorial Assistant:

รถจณา เถาว์พันธ์ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1710 e-mail: technology@tpa.or.th

Art Director:

เชิดศักดิ์ ศรีเมือง โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1731 e-mail: chirtsak@tpa.or.th

Production Design:

ประครอง ไชยศรีทา นระ บุญตา โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1732, 1708 e-mail: prakrong@tpa.or.th, nara@tpa.or.th

PR & Advertising Supervisor: ฬียากร ขุพินิจ โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1730 e-mail: liyakorn@tpa.or.th

Advertising:

บุษบา ปั้นงาม โทรศัพท์ 0-2259-9160 ต่อ 1750 e-mail: butsaba@tpa.or.th

ภาพประกอบบางส่วนจาก: www.shutterstock.com

เป็นนิตยสารออนไลน์ราย 2 เดือน เผยแพร่ทุกต้นเดือนกุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน สิงหาคม ตุลาคม และธันวาคม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอด แลกเปลี่ยน & ความรู้ทางวิชาการด้านเทคโนโลยี นวัตกรรม และการจัดการภายในองค์การผลิตในสาขาต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนนักวิชาการในการเผยแพร่ผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของประเทศ บทความและข้อความในนิตยสารออนไลน์นี้ ถือเป็นความคิดเห็นส่วนตัว และลิขสิทธิ์ของผู้เขียน จึงไม่มีส่วนผูกพันกับสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) อีกทั้งข้อมูลต่าง ๆ อาจมีความผิดพลาด จึงควรตรวจสอบให้ชัดเจนก่อนใช้อ้างอิง กรณีที่ผู้อ่านเห็นว่า บทความใดได้มีการลอกเลียน หรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง หรือทำ�ให้เข้าใจผิดว่า เป็นผลงานของผู้เขียน กรุณาแจ้งให้สมาคมฯ ทราบ จักเป็นพระคุณยิ่ง


ใบสมัครสมาชิก รูปแบบ Magazine

Download Form: www.tpaemagazine.com

ในนาม

1 ป (12 ฉบับ) 790 บาท 2 ป (24 ฉบับ) 1,550 บาท เริม่ ฉบับเดือน (ระบุ) .............................

นิติบุคคล บุคคล สมัครสมาชิกใหม ตออายุ (ระบุรหัส) ..............................

จัดสงนิตยสารที่ ช�อ-นามสกุล...................................................................................................... ตำแหน�ง...................................................................... ฝาย/แผนก............................................. ช�อ (หน�วยงาน)........................................................................................................ ที่อยู......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................ รหัสไปรษณีย................................. โทรศัพท........................................................ ตอ..................... โทรสาร........................................................ E-mail (รับขาวสาร) .....................................................................

ระดับการศึกษา

ต่ำกวาปริญญาตรี

จัดสงใบเสร็จรับเงินที่

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร

ปริญญาเอก

จัดสงตามที่อยูดานลาง

( ) สำนักงานใหญ่

( ) สาขาที่...............

ตัวแทน / ผูรับใบเสร็จ (ช�อ-นามสกุล).......................................................................................................................................................... (สำหรับจาหนาซองลงทะเบียน) ที่อยูออกใบเสร็จ (หน�วยงาน)................................................................................................. ที่อยู....................................................................................................................... เลขประจำตัวผู้เสียภาษี(13หลัก) ......................................................................................................................................................................................................................................................................................

ทานทราบขอมูล-ขาวสาร จากที่ ใด

 เขาชมทางเว็บไซต (www.tpaemagazine.com)  บริษัทเปนสมาชิก ส.ส.ท.  รานคา ....................................  นิทรรศการตาง ๆ (Booth)งาน.......................................................................................................(ระบุ)  อ�น ๆ....................................................................................................................................................(ระบุ)

ประเภทธุรกิจที่ดำเนินการ กรุณาเลือกประเภทกิจการ

อุตสาหกรรมกาซ อุตสาหกรรมการจัดการเพ�อสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑกระดาษ อุตสาหกรรมแกรนิตและหินออน อุตสาหกรรมแกวและกระจก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลการเกษตร อุตสาหกรรมเคร�องจักรกลและโลหะการ อุตสาหกรรมเคร�องนุงหม อุตสาหกรรมเคร�องปรับอากาศและเคร�องทำความเย็น อุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต อุตสาหกรรมซอฟตแวร อุตสาหกรรมเซรามิกส

ผูผลิต ผูนำเขา อ�น ๆ (โปรดระบุ)

ผูสงออก

อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปูนซีเมนต อุตสาหกรรมผลิตภัณฑยาง อุตสาหกรรมผูผลิตไฟฟา อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมไมอัด ไมบาง และวัสดุแผน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยานยนต

ผูจัดจำหนาย

หนวยงานราชการ

อุตสาหกรรมเย�อและกระดาษ อุตสาหกรรมรองเทา อุตสาหกรรมโรงกลั่นน้ำมันปโตรเลียม อุตสาหกรรมโรงเล�อยและโรงอบไม อุตสาหกรรมสมุนไพร อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมหนังและผลิตภัณฑหนัง อุตสาหกรรมหลังคาและอุปกรณ อุตสาหกรรมหัตถอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมอะลูมิเนียม อุตสาหกรรมอัญมณีและเคร�องประดับ อุตสาหกรรมอาหาร

วิธีการชำระเงิน เงินสด (กรณีชำระที่สมาคมฯ เทานั้น) โอนเงินเขาบัญชีธนาคาร ช�อบัญชี สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุขุมวิท 43 บัญชีสะสมทรัพย เลขที่บัญชี 172-0-239233 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาสุขุมวิท 45 บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 009-2-23325-3

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม หรือสงใบสมัครมาที่

เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธสมาชิก ฝายธุรกิจสิ่งพิมพ ส.ส.ท.

PR_NW

สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 โทรศัพท 0-2258-0320-5 ตอ 1740 โทรสาร 0-2662-1096 หรือ E-mail maz_member@tpa.or.th


&

Activity

รางวัลสุดยอดนักไซเบอร์

ด้านความมั่นคงปลอดภัยไทย

ดร. อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (แถวหลังคนที่ 8 จากซ้าย) เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลแก่ผู้ชนะ การแข่งขัน ไทยแลนด์ ซีทีเอฟ คอมเพททิชั่น 2015 (Thailand CTF Competition 2015) สุดยอดนักไซเบอร์ดา้ นความมัน่ คงปลอดภัยระดับประเทศไทย จัดโดย ส�ำนักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สพธอ.) หรือ ETDA (เอ็ตด้า) ส�ำหรับทีมทีช่ นะเลิศและรองชนะเลิศ ได้แก่ ทีม Pwnladin (พาวน์ลาดิน) และ ทีม asdfghjkl โดยทั้งสองทีมจะได้เข้าร่วมการแข่งขันระดับอาเซียน ในงานไซเบอร์ ซี เกม (Cyber Sea Game) ณ ประเทศอินโดนีเซีย และหาก ผ่านรอบดังกล่าวแล้ว จะได้เข้าร่วมแข่งขันระดับโลกในงาน เซคคอน ซีทีเอฟ 2015 (SECCON CTF 2015) ณ ประเทศญี่ปุ่น

ดาว ประเทศไทย

รับรางวัลด้าน CSR 5 ปีซ้อน

กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย น�ำโดย นางภรณี กองอมรภิญโญ (กลาง) ผู้อ�ำนวยการฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ ได้รับรางวัล “องค์กรที่มีความรับผิดชอบต่อ สังคมดีเด่น ประจ�ำปี 2558 ระดับทอง ที่มีความร่วมมือกับพันธมิตรอย่าง สร้างสรรค์” จาก ฯพณฯ กลิน ที เดวีส์ (ที่ 4 จากซ้าย) เอกอัครราชทูต สหรัฐอเมริกา ประจ�ำประเทศไทย ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพฯ โดยรางวัล ดังกล่าวจัดขึ้นโดย หอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM) รางวัล “องค์กรทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคมดีเด่นระดับทอง” จะมอบ ให้กับองค์กรที่ด�ำเนินกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมดีเด่น ติดต่อกันเป็น ระยะเวลา 5 ปี ด้วยผลคะแนนดีเยี่ยมใน 7 หัวข้อ ประกอบด้วย ความมุ่งมั่น ต่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจและความต้องการทางสังคม การสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง การสร้างความเติบโตด้าน เศรษฐกิจและสังคมในระยะยาว ผลที่สามารถวัดได้รวมถึงการประเมินผลกระทบ ความมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย การสื่อสารและ แบ่งปันการปฏิบัติอันเป็นเลิศ และความยั่งยืนของโครงการ ในขณะที่ประกาศนียบัตรความร่วมมือกับพันธมิตรอย่างสร้างสรรค์จะมอบให้ กับองค์กรที่ด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่โดดเด่น ภายใต้แนวคิดริเริ่มโดยหุ้นส่วนเชิงสร้างสรรค์ไทย-สหรัฐอเมริกา

HI-TEK ROADSHOW 2015 เสร็จสิ้นไปแล้ว ส�ำหรับกิจกรรมคาราวานสัญจร HI-TEK ROADSHOW 2015 น�ำโดย คุณสุรินทร์ วรสาธิต กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทย อิเล็คทริคซิตี้ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด ผูผ้ ลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์อปุ กรณ์ไฟฟ้าและแสงสว่าง ครบวงจร ที่จัดกิจกรรมฉลอง 12 ปี แห่งความส�ำเร็จ ด้วยการจัดคาราวานสัญจร “HI-TEK ROADSHOW 2015” คืนก�ำไรครั้งใหญ่ให้กับลูกค้าทั่วภูมิภาคอีสานและ ภาคตะวันออกรวมกว่า 23 จังหวัด พร้อมเดินหน้ารุกตลาดกลุ่มสินค้า LED แนะน�ำ ผลิตภัณฑ์ใหม่ทั้ง ECO Series และ HI-EFF Series ชูจุดเด่นผลิตภัณฑ์คุณภาพ ประหยัดพลังงาน ตอบโจทย์การใช้งานกลุ่มครัวเรือนและกลุ่มอุตสาหกรรม >>>8

February-March 2016, Vol.42 No.245



&

Activity

เยี่ยมโรงงานในโครงการ OPOAI

เมื่อเร็ว ๆ นี้ นายพิสิฐ รังสฤษฎ์วุฒิกุล ผู้ตรวจราชการกระทรวง อุตสาหกรรม (ที่ 4 จากซ้าย) ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสถานประกอบการใน ภาคกลางที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของ อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค (One Province One AgroIndustrial Product) OPOAI ได้แก่ บริษัท ซัมเมอร์สปริง จ�ำกัด ซึ่งเป็น บริษทั ทีด่ ำ� เนินกิจกรรมการผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าประเภทเครือ่ งดืม่ จาก พืช ผักและผลไม้ ยี่ห้อ P-Fresh โดยเข้าร่วมโครงการประเภทแผนงาน ที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งกิจการมีความเจริญก้าวหน้าเป็น ไปตามตัวบ่งชี้ ตามเป้าหมายโครงการเพื่อยกระดับเพิ่มผลผลิตทางการ เกษตร สู่เกษตรอุตสาหกรรมแปรรูปอย่างครบวงจร ณ บริษัท ซัมเมอร์ สปริง จ�ำกัด ต.ลาดใหญ่ อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม

ฟูจิ ซีร็อกซ์ รับรางวัล “Green Office ระดับทอง”

มร.โคจิ เทสึกะ ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ขึ้นรับโล่ รางวัลหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการเป็นส�ำนักงานสีเขียว ระดับดีเยี่ยม “Green Office ระดับทอง” จาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เนื่องในงาน “วันสิ่งแวดล้อมไทยและวันอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อมหมู่บ้านแห่งชาติ ประจ�ำปี 2558” เพื่อแสดงให้เห็นว่า ฟูจิ ซีร็อกซ์ เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ารก� ำ หนดนโยบายด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ ม ให้ ค วามรู ้ แ ละการฝึ ก อบรมให้ พ นั ก งานใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนมีกระบวนการในการก�ำจัดของเสียให้ถกู วิธี จนได้รบั การ รับรองในระดับดีมาก (เงิน) ในปี พ.ศ.2557 และพัฒนาแนวทางการด�ำเนินธุรกิจ ตามมาตรฐานส�ำนักงานสีเขียวอย่างต่อเนื่อง จนคว้ารางวัลระดับดีเยี่ยมในปีนี้

บี.กริม เพาเวอร์ มั่นใจโซลูชั่นดาต้าเซ็นเตอร์

พร้อมใช้จากชไนเดอร์ อิเล็คทริค

คุณธนัตถ์ เตชะธนบัตร (ขวาสุด) รองประธาน กลุม่ ธุรกิจไอที ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย พร้อมน�ำเสนอ โซลูชนั่ ดาต้าเซ็นเตอร์พร้อมใช้ (Prefabricated Data Center) ทีม่ คี วามโดดเด่น ด้านการออกแบบระบบดาต้าเซ็นเตอร์และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ตามความ ต้องการของลูกค้า ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ พร้อมความสามารถในการเคลือ่ นย้ายได้ สะดวกในทุกสถานการณ์ ให้กับ บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด โดยมี คุณโชติ ชูสุวรรณ (กลางซ้าย) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานควบคุมปฏิบัติการ และคุณนภดล รัตนวราหะ (กลางขวา) First Vice President -Information and Communication Technology เป็นผูร้ ว่ มออกแบบความต้องการขององค์กร พร้อมด้วยคุณกนกกมล เลาหบูรณะกิจ (ซ้ายสุด) รองประธาน ฝ่ายกลยุทธ์ และลูกค้าองค์กร กลุ่มงานขาย บริษัท ฟูจิตสึ ซีสเต็มส์ บีสซีเนส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นพันธมิตรคู่ค้าของชไนเดอร์ อิเล็คทริค >>>10

February-March 2016, Vol.42 No.245


ผลิต ออกแบบ และติดตัง้ เฟอร์ นิเจอร์ /อุปกรณ์ ช่าง

• โต๊ ะซ่ อม โต๊ ะประกอบอุปกรณ์ ประจ�ำห้ องแลป และ ห้ อง MAINTENANCE • ตู้แขวนเครื่ องมือ • ตู้เก็บกล่ องอุปกรณ์ ส�ำหรั บอุตสาหกรรมยานยนต์ L STORAGE SYSTEM • ระบบระบายควันกรด ฝุ่ น และชุดก�ำจัดในโรงงานอุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ งานช่ าง คุณภาพเหนือราคา พร้ อมบริ การหลังการขาย TOO

SERVICE BENCH

TOOL MOBILE CABINET

โต๊ ะปฏิบตั กิ ารช่ างซ่ อม

ตู้ใส่ อปุ กรณ์ เครื่องมือเคลื่อนย้ ายสะดวก ท� ำ ด้ ว ยเหล็ก พ่น สี อี พ๊ อ กซี่ กัน สนิ ม ภายในมี ก ล่อ ง สามารถแบ่งแยกเก็บอุปกรณ์ มีกญ ุ แจล็อค พร้ อมมือ จับแข็งแรง ทนทาน เหมาะส�ำหรับใช้ งานในโรงงาน หรือ งานช่างทัว่ ไป ราคาประหยัด ผลิตในประเทศ บริ การ จัดส่ง พร้ อมบิการจากทีมงานที่มีปรสิทธิภาพ

• พื ้นโต๊ ะไม้ ปิดผิวด้ วยฟอร์ ไมก้ า, ไม้ จริ ง, หรื อแผ่นเหล็ก • แผงแขวนอุปกรณ์ 3 ด้ านขนาดสูง 600 mm. • ตู้เหล็กขนาด 600x500x800 mm. พ่นสีพอ็ กซี่ • กล่องไฟคูพ่ ร้ อมสายดิน ขนาด19AMP.220V.1 PHASE แสงสว่าง FLUORESCENCE 18 WATT

ST-150

ขนาด: 1500x600x1400mm.

ST-180

ขนาด: 1800x600x1400mm.

TOOL HANGING RACK CABINET ตู้เก็บอุปกรณ์ ส�ำหรับแขวนเครื่ องมือช่าง, ตู้เก็บกล่อง อุ ป กรณ์ ส� ำ หรั บ ชิ น้ เล็ ก ที่ มี ห ลายขนาดเหมาะสมกับ ลักษณะงานทุกชนิดโครงสร้ าง ท�ำด้ วย เหล็กแผ่น พ่นสี แข็งแรง ตู้-ชั น้ เก็บเครื่ องมือช่ างแบบเคลื่ อนที่ มีล้อส�ำหรั บ เคลื่อนย้ ายได้ เพื่อสะดวกในการท�ำงานในพื ้นที่มีหลาย ขนาด ที่เหมาะสมกับลักษณะงานทุกชนิด

PTH 10565130 Part-tool hanging rack mix SIZE : 1050x650x1300 mm.

PRH 9030180

THC 9045145 ขนาด: 900x450x1450 mm. ท�ำด้ วย เหล็กแผ่นพ่นสีอีพ๊อกซี่ เจาะรูเพื่อแขวนอุปกรณ์มีหลาย ขนาดให้ เลือก

THC 903072

W/Stand wheel Tool hanging rack cabinet SIZE : 900x300x1800 mm. SIZE : 900x300x720 mm.

REF-753520 ตู้สูง Tool and part cabinet SIZE : 640x460x900 mm.

TS-6410 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 50 กก.

TS-858 ขนาด: 640x460x900 mm. น�ำ้ หนัก 39 กก.

ตู้เก็บอะไหล่ และเครื่ องมือต่ างๆ

จัดจ�ำหน่ ายโดย OFFICIAL EQUIPMENT MANUFACTURING CO.,LTD. บริษทั ออฟฟิ เชียล อีควิปเม้ นท์ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ำกัด

70 หมู่7 ซอยเพชรเกษม 130 ถนนเพชรเกษม ต�ำบลไร่ ขงิ อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 70 Moo7, Phetkasem Road Soi 130, T.Raikhing, A.Sampran, Nakornpathom 73210 Tel. : 0-2420-5999,0-2420-5021-2 Fax.: 0-2420-4997-8 E-mail :sales@official.co.th www.officail.co.th


&

Cover Story

เครื่องวัดและบันทึก (Data Logging) อุณหภูมิและความชื้น

เชื่อถือได้อันดับหนึ่ง

ติดตั้งได้ง่าย แบบไร้สาย ด้วย Wi-Fi และสาย LAN มอนิเตอร์ผ่านอินเทอร์เน็ตได้จากทุกที่แบบ Real-time รุ่น HMT140 เชื่อมต่อด้วย Wi-Fi สะดวกติดตั้ง

รุ่น DL2000 วัดได้หลายจุดพร้อมกัน มาตรฐาน cGMP

สนใจติดต่อ: คุณวิชัย 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com

การมอนิเตอร์อุณหภูมิและความชื้นอย่างต่อเนื่อง

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด www.measuretronix.com

www.measuretronix.com /vaisala

ในงานที่เกี่ยวข้องกับชีวะวิทยาศาสตร์ (life science) หรืองานที่ต้องถูกควบคุมโดยข้อก�ำหนดของหน่วยงานด้านอาหารและยา จ�ำเป็น ต้องมีการมอนิเตอร์พารามิเตอร์ส�ำคัญของสภาพแวดล้อมในพื้นที่งานอย่างต่อเนื่อง (เช่น อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์) ซึ่งโดยหลักการแล้ว ก็เป็นเรื่องง่าย ๆ แต่การท�ำความเข้าใจโดยละเอียดว่า ระบบมอนิเตอร์ท�ำงานอย่างไร จะช่วยให้การมอนิเตอร์เป็นไปตามข้อก�ำหนดต่าง ๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ >>>12

February-March 2016, Vol.42 No.245


&

Cover Story

เครื่องมือที่ ใช้ในการมอนิเตอร์

ระบบมอนิเตอร์ที่ใช้ในสมัยก่อนเป็นระบบง่าย ๆ มีเพียง เทอร์โมมิเตอร์ติดตั้งในห้องแช่แข็งที่มีปากกาและกระดาษส�ำหรับ จดบันทึก แต่วา่ วิธนี หี้ ากเกิดความผิดปกติขนึ้ เช่น ระบบท�ำความเย็น ขัดข้อง กว่าจะรู้ก็ต้องรอจนกว่าจะถึงรอบการจดบันทึก หรือมีใคร สักคนมาอ่านค่าเทอร์โมมิเตอร์ ซึ่งในระหว่างนั้นเราไม่มีทางทราบได้ เลยว่าเกิดอะไรขึ้นในห้องแช่แข็งบ้าง ของที่แช่ไว้เป็นอย่างไร มีความ เสี่ยงแค่ไหน อาจจ�ำเป็นต้องประเมินในทางเลวร้ายสุดเอาไว้ก่อน ในบทความนี้ จ ะกล่ า วถึ ง แนวทางและวิ ธี ก ารมอนิ เ ตอร์ แบบต่าง ๆ และข้อพิจารณาในการเลือกระบบมอนิเตอร์ที่เหมาะสม กับลักษณะงาน ระบบควบคุม และโครงสร้างพื้นฐานที่มี

ทำ�ไมต้องมอนิเตอร์อุณหภูมิและความชื้น

หากงานของคุณถูกควบคุมโดยหน่วยงานด้านอาหารและยา (FDA) ความจ�ำเป็นในการมอนิเตอร์ก็เนื่องจากจ�ำเป็นต้องควบคุม คุณภาพให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติและกฎหมายที่ก�ำหนด ข้อปฏิบัติ เหล่านี้ก็เพื่อลดความเสี่ยงที่จะก่อสาเหตุของการเจ็บป่วย และเพื่อ ประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม ที่กฎหมายก�ำหนด

ลองนึกถึงสถานการณ์ที่ผลิตภัณฑ์ถูกปล่อยปละละเลยจน อุณหภูมิเปลี่ยนไปไม่อยู่ในช่วงปลอดภัยต่อการบริโภค หากปัญหา ถูกตรวจพบก่อน คงจ�ำเป็นต้องทิง้ ผลิตภัณฑ์เหล่านัน้ เป็นจ�ำนวนมาก เลยทีเดียว หรือหากมีปัญหาในขั้นตอนผลิต การเก็บรักษา หรือการ กระจายสินค้า ย่อมเกิดอันตรายต่อผู้บริโภคปลายทางอย่างแน่นอน ระบบมอนิเตอร์อุณหภูมิที่ออกแบบมาให้สอดคล้องตาม ข้อก�ำหนด และแนวทางปฏิบตั ขิ อง GxP (GMP, GCP, GLP) จะช่วย ลดความเสี่ยงเหล่านี้ นี่คือสาเหตุที่เราจ�ำเป็นต้องมอนิเตอร์อุณหภูมิ และความชืน้ และการบังคับให้มอนิเตอร์สภาพแวดล้อมในข้อก�ำหนด ของ cGMPs (Current Good Manufacturing Practices)

ในปี 1888 ได้มีผู้ประดิษฐ์เครื่องบันทึกชาร์ตบนกระดาษ (chart recorder) และมีการน�ำมาใช้ในการบันทึกการเปลี่ยนแปลง อุ ณ หภู มิ ต ามเวลาในการจั ด การระบบควบคุ ม สภาพแวดล้ อ ม ประโยชน์อนั ใหญ่หลวงของการวัดและติดตามค่าอุณหภูมดิ ว้ ยเครือ่ ง บันทึกบนแถบกระดาษก็คือ เมื่อระบบท�ำความเย็นบกพร่อง เรา สามารถตรวจดู ย ้ อ นหลั ง ได้ ว ่ า สภาพแวดล้ อ มในห้ อ งมี ค วาม เปลี่ยนแปลงอย่างไร อุณหภูมิออกนอกช่วงที่ก�ำหนดเป็นระยะเวลา นานเท่าใด เพือ่ ประเมินได้วา่ ผลิตภัณฑ์ทแี่ ช่ไว้เกิดความเสียหายมาก น้อยเพียงใด ถึงแม้วา่ เครือ่ งบันทึกชาร์ตจะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถเหนือ กว่าวิธใี ช้เทอร์โมมิเตอร์และการจดบันทึกก็ตาม แต่มขี อ้ เสียทีใ่ นเรือ่ ง ค่าใช้จา่ ยการบ�ำรุงรักษาทีส่ งู มาก ทัง้ การซ่อมชิน้ ส่วนทีช่ ำ� รุดเสียหาย การเปลีย่ นกระดาษ หมึก และปากกา การเก็บกระดาษบันทึกเข้าแฟ้ม เพื่อการอ้างอิงภายหลัง ระบบการเก็บบันทึกข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ (electronic data loggers) เป็นพัฒนาการต่อจากเครือ่ งบันทึกชาร์ตแบบกระดาษ ซึง่ ท�ำหน้าทีบ่ นั ทึกการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมติ ามเวลาเช่นเดียวกัน แต่ ท�ำได้ดกี ว่าและมากกว่า ทีช่ ดั เจน คือ ต้องการการบ�ำรุงรักษาน้อยกว่า และเก็บบันทึกค่าอุณหภูมิเป็นอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสะดวกต่อการ รวบรวม เรียกดู และจัดการได้โดยง่าย February-March 2016, Vol.42 No.245

13 <<<


&

Cover Story

การมอนิเตอร์อย่างต่อเนื่อง (CMS)

ระบบมอนิเตอร์สภาพแวดล้อมต่อเนื่อง หรือ CMS (Continuous Monitoring Systems) รุ่นใหม่ ๆ มีการพัฒนาปรับปรุงวิธี ปกป้องผลิตภัณฑ์ทอี่ ยูใ่ นการมอนิเตอร์มากยิง่ ขึน้ สามารถเก็บบันทึก ข้อมูลอุณหภูมิอย่างต่อเนื่อง โดยการบันทึกข้อมูลที่สอดคล้องตาม ข้อก�ำหนดต่าง ๆ และมีระบบการแจ้งเตือนหากอุณหภูมหิ ลุดออกนอก ช่วงค่าที่ก�ำหนดส�ำหรับการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์

นอกจากอุณหภูมิแล้ว ระบบมอนิเตอร์ต่อเนื่องนี้ยังใช้กับ พารามิเตอร์ทางสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ได้ เช่น ความชื้นสัมพัทธ์ และ ความดันบรรยากาศ สามารถต่อกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้ เอาต์พุตอื่น ๆ ได้ อีกทั้งไม่ต้องอ่านค่าทุกวัน ไม่ต้องเปลี่ยนกระดาษ ไม่ตอ้ งคอยอัปโหลดข้อมูล ช่วยประหยัดเวลา ลดความเสีย่ งจากความ ผิดพลาดของคน ช่วยให้โฟกัสกับงานที่ส�ำคัญ ๆ ได้อย่างเต็มที่

ข้อพิจารณาในการเลือกระบบมอนิเตอร์ต่อเนื่อง

ต่อไปนีค้ อื คุณลักษณะทีส่ ำ� คัญ 9 อย่างทีต่ อ้ งพิจารณาในการ เลือกระบบมอนิเตอร์สภาพแวดล้อมต่อเนื่อง ให้สอดคล้องเหมาะสม กับงาน ในที่นี้จะยังไม่กล่าวรวมถึงระบบเน็ตเวิร์ก 1. ส่วนติดต่อผู้ใช้ ส่วนติดต่อผู้ใช้ หรือ UI (User Interface) ของ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ ควรเข้าใจได้ ง่ายตรงตามความต้องการ ไม่ซบั ซ้อนจนท�ำให้เกิดความ สับสน ซึ่งมีผลต่อประสิทธิภาพในการท�ำงาน และเกิด ความผิดพลาดได้

>>>14

February-March 2016, Vol.42 No.245

UI ที่ดีควรจะมีส่วนช่วยเหลือผู้ใช้ที่ละเอียด ฟังก์ชั่นใช้งานที่ ใช้ได้งา่ ย เช่น การลากแล้ววาง การเลือกด้วยแท็ป สามารถตัง้ ชือ่ ของ งานและส่วนประกอบต่าง ๆ ตามที่ต้องการได้ (เช่น รูป หรือแผนผัง ของพื้นที่) บางระบบมีอินเตอร์เฟสส�ำหรับการใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน ให้ด้วย 2. ซอฟต์แวร์บนเว็บ หรือซอฟต์แวร์ติดตั้งที่เครื่อง ซอฟต์ แ วร์ ส� ำ หรั บ งานมอนิ เ ตอร์ มี ทั้ ง แบบติ ด ตั้ ง ที่ เ ครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ผใู้ ช้ทเี่ ชือ่ มต่อโดยตรงกับเซิรฟ์ เวอร์ และแบบใช้งานผ่าน บราวเซอร์ทสี่ ามารถเข้าจากคอมพิวเตอร์เครือ่ งใดก็ได้ โดยการล็อกอิน ทางอินเทอร์เน็ต แบบใช้งานผ่านบราวเซอร์มีความยืดหยุ่นกว่า ไม่ จ�ำเป็นต้องติดตั้งซอฟต์แวร์ที่คอมพิวเตอร์ 3. ความยืดหยุ่นในการขยายระบบ ในบางครัง้ เราอาจเริม่ ต้นด้วยระบบมอนิเตอร์ขนาดเล็ก ๆ แล้ว มีการขยายเพิม่ เติมเมือ่ เวลาผ่านไป จึงต้องพิจารณาถึงความยากง่าย ในการปรับเปลีย่ น หรือเพิม่ อุปกรณ์ตรวจวัด การย้ายระบบจากทีห่ นึง่ ไปยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งควรจะท�ำได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มหรือลดขนาด การถอดและประกอบใหม่เพื่อเคลื่อนย้าย ทั้งนี้เพื่อเป็นการประหยัด งบประมาณในระยะยาว 4. การแจ้งเตือน ฟังก์ชั่นการแจ้งเตือนควรมีหลายรูปแบบและหลายช่องทาง ทั้งทางอีเมล ข้อความ โทรศัพท์ ไฟกระพริบ และเสียงเตือน ควรระบุ ได้ทั้งผู้รับ ตารางเวลา ค�ำเตือน ค�ำอธิบาย และรายละเอียดอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องได้ 5. เอกสารรายงาน พิจารณาในรายละเอียดว่าต้องการให้มีอะไรในรายงาน เริ่มจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่ควบคุม และข้อก�ำหนดตาม ความต้องการของ GxP ที่จะใช้ ซึ่งแนวทางปฏิบัติและข้อก�ำหนดมี รายละเอียดที่กว้างมาก จึงควรเลือกรายงานในรูปแบบ Scientific and Risk-based Approach


&

Cover Story ความสามารถในการออกรายงานที่ ป รั บ ได้ ต ามสภาพ แวดล้อมและผลิตภัณฑ์ที่ควบคุม ช่วยให้การเตรียมเอกสารส�ำหรับ การรับรอง cGMP ท�ำได้อย่างสมบูรณ์ นอกจากนี้หากท�ำรายงาน อัตโนมัตติ ามตารางเวลาได้ ก็จะช่วยลดปริมาณงานลงไปเป็นอันมาก 6. สอดคล้องมาตรฐานสากล ระบบมอนิเตอร์ต่อเนื่องจ�ำเป็นต้องสอดคล้องกับข้อก�ำหนด และได้รับการรับรองแล้ว ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากรายละเอียด ผู้ผลิต ควรเลือกใช้ระบบจากผู้ที่สามารถให้การรับรองที่ได้รับการ ยอมรับเท่านัน้ อย่าเสีย่ งกับเรือ่ งเหล่านี้ เพราะการทีต่ อ้ งเปลีย่ นระบบ ใหม่มีราคาแพงกว่ากันมาก ให้แน่ใจว่าระบบมอนิเตอร์ตอ่ เนือ่ งได้รบั การออกแบบให้เป็น ไปตามข้อก�ำหนด CFR 21 Part 11 และมีช่องทางในการ Audit ได้ โดยสะดวก มีระบบข้อมูลคู่ขนานเมื่อโครงสร้างพื้นฐานล้มเหลว หรือ ข้อมูลทีบ่ นั ทึกเสียหาย มีวธิ กี ารบันทึกและท�ำลายเซนต์อเิ ล็กทรอนิกส์ พร้อมการจัดการขั้นตอนเองได้ 7. ข้อมูลไม่สูญหาย ข้อนี้มักไม่ค่อยพูดถึงกันนัก เนื่องจากท�ำได้ยาก แต่มีความ จ�ำเป็นมาก ส�ำหรับงานในพื้นที่ซึ่งไฟฟ้าเชื่อถือไม่ได้ หรือโครงสร้าง พื้นฐานทางไอที อยู่นอกเหนือการควบคุม การบันทึกข้อมูลแบบ Failsafe หมายถึง แต่ละจุดวัดข้อมูลจะถูกบันทึกต่อเนือ่ งโดยอัตโนมัติ ที่ตัวอุปกรณ์ แม้ไฟฟ้าดับหรือระบบเน็ตเวิร์กล่ม ด้วยการบันทึกข้อมูลคู่ขนานบนตัวอุปกรณ์ที่จุดวัด ข้อมูล จะยังคงมีอยู่หลังจากระบบได้รับการกู้คืนให้ท�ำงานได้เป็นปกติ ไม่มี การสูญหายแม้แต่ช่วงเวลาเดียว

8. เป็นระบบเฉพาะ หรือระบบใช้งานร่วมได้ ระบบมอนิเตอร์ต่อเนื่องที่เป็นระบบเฉพาะ ไม่เข้ากับคนอื่น (black box) มักเกิดปัญหาการสนับสนุนภายหลัง มีข้อจ�ำกัดในการ ปรับเปลีย่ นโครงสร้าง ต้องท�ำสัญญาข้อตกลงแบบผูกพัน หากจ�ำเป็น ต้องใช้ขอ้ มูลร่วมกับระบบอืน่ ๆ ควรตรวจสอบการเข้ากันได้ของข้อมูล ก่อน 9. การมอนิเตอร์ร่วม หรือแยกขนาน ในพื้นที่งานที่มีระบบอาคารอัตโนมัติ หรือ BAS (Building Automation Systems) อาจเลือกระบบมอนิเตอร์ผ่าน BAS โดยมีตัว มอนิเตอร์ร่วมกัน อย่างไรก็ตาม ระบบสมัยใหม่จะลดความเสี่ยงโดย ใช้ผ่านระบบมอนิเตอร์ของแต่ละชุด ในการมอนิเตอร์ บันทึกค่า รายงาน และแจ้งเตือนสภาพแวดล้อม

เครื่องวัดและบันทึก (Data Logging) อุณหภูมิและความชื้นจาก Vaisala Vaisala เป็นผู้น�ำระดับโลกทางเครื่องมือตรวจวัดทางด้าน สิ่งแวดล้อม ชีวะวิทยาศาสตร์ และอุตสาหกรรม ที่มีคุณภาพสูง อายุ ใช้งานยาวนาน เชื่อถือได้อันดับหนึ่ง

Vaisala HMT140 ดาต้าล็อกเกอร์อุณหภูมิและความชื้นระบบ Wi-Fi

Vaisala HMT140 เป็นดาต้าล็อกเกอร์แบบไร้สาย ส�ำหรับ วัดและเก็บข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้น และสัญญาณอะนาล็อก ใน งานมอนิเตอร์สภาพแวดล้อมในห้องคลังสินค้า ห้องแช่แข็งอาหาร ถังแช่แข็งด้วยไนโตรเจน ห้องปฏิบัติการ ธนาคารโลหิต งานทาง วิทยาศาสตร์อนื่ ๆ โรงพยาบาล ดาต้าเซ็นเตอร์ คลีนรูม โรงงานชิน้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์ โรงงานผลิตอาหาร February-March 2016, Vol.42 No.245

15 <<<


&

Cover Story Vaisala DL2000 เครื่องเก็บบันทึกข้อมูลอุณหภูมิและความชื้น

รุ่น HMT140

เก็บข้อมูลในตัวเองได้ แบตเตอรี่ท�ำงานได้ 18 เดือน ® ● ใช้เซนเซอร์ HUMICAP ● ทนทานต่อฝุ่นละอองและสารเคมี ● มาตรฐาน NIST (พร้อมใบรับรอง) ● ●

Vaisala DL2000 Series เป็นเครื่องวัดและเก็บบันทึกข้อมูล หรือดาต้าล็อกเกอร์ส�ำหรับอุณหภูมิและความชื้น ที่ออกแบบมาให้ สอดคล้องกับข้อก�ำหนดในงานอุตสาหกรรม/เภสัชกรรมโดยเฉพาะ ด้วยมาตรฐาน NIST-traceable, ISO/IEC 17025 Calibration วัดค่า ได้ตาม cGMP-compliant และบันทึกอุณหภูมิและความชื้นแบบ คู่ขนาน (redundant recording)

ส่งข้อมูลผ่าน ระบบ Wi-Fi

ระบบเน็ตเวิร์ก ที่ใช้อยู่

มอนิเตอร์ข้อมูล บันทึก แจ้งเตือน

วัดและบันทึกอุณหภูมิ และความชื้น แจ้งเตือนระยะไกล

รุ่น HMT140 เชื่อมต่อด้วย Wi-Fi สะดวกติดตั้ง

คุณสมบัติเด่น ➠ เชื่อมต่อด้วย Wi-Fi ไปยังระบบมอนิเตอร์ของ Vaisala ➠ ใช้ได้กับ Wi-Fi Access Points เดิมที่มีอยู่ได้เลย ➠ ท� ำ งานอั ต โนมั ติ มี ร ะบบแจ้ ง เตื อ นในพื้ น ที่ แม้ ไ ม่ ไ ด้

เชื่อมต่อกับเน็ตเวิร์ก ➠ เก็บข้อมูลในตัวเอง เพื่อความต่อเนื่องและปลอดภัยของ ข้อมูลเวลาระบบมีปัญหา ➠ แบตเตอรี่ท�ำงานต่อเนื่องได้ 18 เดือน ➠ ใช้ เ ซนเซอร์ วั ด ความชื้ น รุ ่ น HUMICAP ® 180R ที่ มี เทคโนโลยี Vaisala HUMICAP® ถอดเปลี่ยนได้ เพื่อความสะดวกใน การสอบเทียบ ➠ มี 2 อินพุต ส�ำหรับ แรงดันกระแส หน้าสัมผัส RTDs หรือ อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ (RH) ➠ วัดสัญญาณทั้งหลายด้วยความแม่นย�ำและเชื่อถือได้ ➠ ทนทานต่อฝุ่นละอองและสารเคมีมาตรฐาน IP65 ➠ มีรุ่นที่มีจอแสดงผล LCD ให้เลือก ➠ มีรุ่นติดผนัง และรุ่นแยกโพรบวัดระยะไกล ➠ มาตรฐาน NIST ตรวจสอบย้อนกลับได้ (พร้อมใบรับรอง) ➠ เหมาะส� ำ หรั บ งานคลี น รู ม และงานชี ว ะวิ ท ยาศาสตร์ (life science) >>>16

February-March 2016, Vol.42 No.245

รุ่น DL2000

ส�ำหรับสภาพแวดล้อมสุดขั้ว ● ปรับช่วงเวลาการเก็บบันทึกข้อมูลได้ ● พร้อมระบบป้องกันด้วยพาสเวิร์ด ●

● ●

แบตเตอรี่ใช้งานได้นาน 10 ปี บันทึกข้อมูลต่อเนือ่ งได้นานหลายปี

ใช้งานร่วมกับ Veriteq Power over Ethernet เพื่อเชื่อมต่อกับเน็ตเวิร์กที่มีอยู่ได้

มอนิเตอร์ข้อมูล, บันทึก แจ้งเตือน

มอนิเตอร์ ระยะไกลผ่าน อินเทอร์เน็ต ตู้แช่เย็นจัด

ตู้เย็น

เตาอบ ระบบเน็ตเวิร์ก ที่ใช้อยู่

แจ้งเตือน ระยะไกลทาง โทรศัพท์

รุ่น DL2000 วัดได้หลายจุดพร้อมกัน มาตรฐาน cGMP

คุณสมบัติเด่น ➠ เป็นดาต้าล็อกเกอร์ที่วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์

ในตัว ขนาดพกพา ส�ำหรับสภาพแวดล้อมวิกฤต ➠ มีเซนเซอร์ภายในตัว และหน่วยความจ�ำ พร้อมแบตเตอรี่ ใช้งานได้นาน 10 ปี ➠ มีชอ่ งต่ออินพุตภายนอกส�ำหรับวัดแรงดันหรือกระแส ใช้ บันทึกความดันต่างระดับ จ�ำนวน ความน�ำไฟฟ้า หรือ CO2 ได้


&

Cover Story ➠ มี ช ่ อ งต่ อ เสริ ม ส� ำ หรั บ สวิ ต ช์ ป ระตู

➠ มีรุ่นพิเศษ ส�ำหรับอุณหภูมิสูง

หรื อ หน้ า สั ม ผั ส

➠ ตัวถังโลหะทั้งตัว ทนทาน สมบุกสมบัน

สัญญาณเตือน ➠ ทนทานต่อการถูกงัดแงะ ปลอดภัยต่อข้อมูลที่บันทึกใน งานตรวจสอบมาตรฐาน ➠ พร้อมระบบป้องกันด้วยพาสเวิรด์ ในการตัง้ ค่า ดาวน์โหลด และสอบเทียบข้อมูล ➠ ความแม่นย�ำการวัดอุณหภูมิ และ RH ระดับเครือ่ งมือวัด ที่ตรวจสอบย้อนกลับได้ (tinstrument-grade) ➠ ปรับช่วงเวลาการเก็บบันทึกข้อมูลได้ พร้อมความสามารถ บันทึกข้อมูลต่อเนื่องได้นานหลายปี ➠ เซนเซอร์คณ ุ ภาพสูง ระดับเดียวกับดาต้าล็อกเกอร์ทใี่ ช้ใน งานสอบเทียบ

➠ มาพร้อม NIST Certificate

Vaisala HM40 เครื่องวัดความชื้นอากาศและอุณหภูมิ แบบมือถือ

HM40 เป็ น เครื่ อ งวั ด ความชื้ น และ อุณหภูมิ ขนาดกะทัดรัด สะดวก พกพา ส� ำ หรั บ การวั ด แบบ เคลื่อนที่เฉพาะจุดใช้งานได้ กว้าง สามารถแสดงผลเป็น กราฟแสดงค่าพร้อมกันได้ทงั้ ความชื้นและอุณหภูมิ

Vaisala HMT330 Series เครื่องวัดความชื้นในอากาศ และวัดอุณหภูมิ แบบทรานส์มิตเตอร์ สำ�หรับงานขั้นสูง

HMT330 Series เป็ น ทรานส์ มิ ต เตอร์ วั ด ความชื้ น และ อุณหภูมิ รุ่นสูงสุด ส�ำหรับงานตรวจวัดตามจ�ำนวนผู้ใช้ มีจอแสดงผล ตัวเลขและกราฟิกขนาดใหญ่ ปรับตัง้ ค่าการท�ำงานทรานส์มติ เตอร์ได้ ครบถ้วน มีความสามารถเสริมท�ำดาต้าล็อกกิ้ง และอินเตอร์เฟสด้วย (W) LAN

คุณสมบัติเด่น ➠ จอแสดงผลเป็นกราฟแสดงค่าพร้อมกันทั้งความชื้นและ

อุณหภูมิ +60 °C

➠ ช่วงวัดความชื้น

0 ถึง 100 %RH อุณหภูมิ -10 °C ถึง

➠ แสดงค่าได้ทั้ง: RH, T, Td, Tw, a x, h ➠ ขนาดกะทัดรัด แข็งแรง ทนทาน ➠ มีปุ่มหยุดภาพบนหน้าจอได้ ➠ ถอดเปลี่ยนโพรบได้

➠ ใช้เซนเซอร์คุณภาพสูง Vaisala HUMICAP®

Vaisala HM70 เครื่องวัดความชื้นในอากาศและอุณหภูมิ สำ�หรับงานภาคสนาม เครื่องวัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ VAISALA HMT330 Series หนึง่ ในความแม่นย�ำและทนทานทีส่ ดุ ส�ำหรับงานอุตสาหกรรม รุน่ แรกจาก VAISALA ทีก่ ล้ารับประกันการใช้งานถึง 10 ปี ความคุม้ ค่า ในระยะยาวส�ำหรับงานหนัก เช่น วัดความชื้นในกระบวนการผลิตยา เครื่องมือแพทย์ การนึ่งฆ่าเชื้อ ฯลฯ

คุณสมบัติเด่น ➠ รุ่นใหม่ จอแสดงกราฟได้ในตัว ➠ ส�ำหรับวัดต่อเนื่องในอุตสาหกรรม ➠ มีรุ่นพิเศษ ส�ำหรับความดันสูง

February-March 2016, Vol.42 No.245

17 <<<


&

Cover Story Vaisala HM70 เหมาะส�ำหรับการสอบเทียบทรานสมิตเตอร์ ภาคสนาม และการตรวจวัดตามจุดต่าง ๆ มีใบรับรองสอบเทียบให้ ด้วย

คุณสมบัติเด่น ➠ ช่วงวัดความชื้น 0-100% RH ➠ แสดงผลการวัดต่อเนื่องเป็นกราฟได้ ➠ ใช้ เ ซนเซอร์ เ ทคโนโลยี Vaisala HUMICAP® อั น ทรง

ประสิทธิภาพ ➠ มี 3 โพรบวัด ครอบคลุมช่วงวัดอุณหภูมิ -70 and +180 °C ➠ ใช้กับโพรบวัด Dew Point และ CO2 ได้ ➠ ต่อโพรบวัดได้ 2 โพรบพร้อมกัน ➠ แสดงพารามิเตอร์ความชื้นได้หลากหลาย

Vaisala HMD/W80Series เครื่องวัดความชื้นและอุณหภูมิแบบทรานส์มิตเตอร์ สำ�หรับงาน HVAC

ใช้เซนเซอร์ Vaisala INTERCAP® คุณภาพสูง ส�ำหรับงาน ควบคุมถ่ายเทอากาศในอาคาร ติดตั้งและบ�ำรุงรักษาได้ง่ายวัด อุณหภูมิ Dew Point, Wet Bulb, และ Enthalpy

Vaisala HMW90 Series เครื่องวัดความชื้นและอุณหภูมิแบบติดตั้งกับที่

HMW90 Series เป็นเครื่องวัดความชื้นและอุณหภูมิแบบติด ผนัง ส�ำหรับงานตรวจวัดและควบคุมสภาพแวดล้อมในอาคาร ที่ ต้องการความแม่นย�ำสูง มีเสถียรภาพ และเชื่อถือได้ เช่น ห้องแล็บ ห้องทดสอบ ดาต้าเซ็นเตอร์ โรงงานผลิต คลังสินค้า เป็นต้น

มีให้เลือกตามลักษณะงาน ➠ รุ่น TMW82/83 แบบติดผนัง รุ่นมาตรฐาน วัดอุณหภูมิ

และความชื้น มีรุ่นวัดอุณหภูมิอย่างเดียวให้เลือก ➠ รุน ่ HMW88/89(D) แบบติดผนัง ทนน�ำ้ ทนฝุน่ ระดับ IP65 ส�ำหรับพื้นที่ความชื้นสูง มีให้เลือกทั้งมีจอและไม่มีจอแสดงผล ➠ รุน ่ HMD82/83(D) แบบยึดกับท่ออากาศ วัดอุณหภูมแิ ละ ความชื้น มีให้เลือกทั้งมีจอและไม่มีจอแสดงผล ➠ รุน ่ HMS82/83 ส�ำหรับใช้งานกลางแจ้ง ติดตัง้ นอกอาคาร วัดอุณหภูมิและความชื้น

Vaisala HMP60 โพรบวัดความชื้นและอุณหภูมิ

คุณสมบัติเด่น ➠ ให้เอาต์พุตควบคุมทั้งแบบดิจิทัลและอะนาล็อก ➠ ติดตั้งง่าย ปรับแต่งและตั้งค่าใช้งานได้สะดวก ➠ ค�ำนวณพารามิเตอร์ความชื้น Td, x, h, Tw, a, T-Td ➠ เปลี่ยนโมดูลวัดความชื้นได้ ➠ มีใบรับรองสอบเทียบ ➠ ใช้เซนเซอร์คุณภาพสูง Vaisala HUMICAP®

>>>18

February-March 2016, Vol.42 No.245

โพรบวัดความชื้นและอุณหภูมิ รุ่น HMP60 ใช้เทคโนโลยี Vaisala INTERCAP® ที่ทนทาน เชื่อถือได้สูง เหมาะส�ำหรับติดตั้งใน เครื่องมืออื่น ๆ ตู้อบ ตู้ทดลอง โรงเรือน ดาต้าล็อกเกอร์


&

Cover Story

+60°C

คุณสมบัติเด่น ➠ เป็นโพรบขนาดเล็ก กินไฟน้อย ➠ ช่วงวัดความชื้น 0 ถึง 100 %RH และอุณหภูมิ -40 ถึง ➠ ใช้ขั้วต่อ M8 ถอดสายเคเบิ้ลได้ ➠ อยู่ในตัวเรือนโลหะที่แข็งแรง

➠ ถอดเปลี่ยนเซนเซอร์ภายในได้

➠ เลือกรุ่นที่มีเอาต์พุต RS485 ได้ ➠ มีรุ่นใช้วัด Dew Point ได้

Thunder Model 2500 เครื่องกำ�เนิดความชื้นสำ�หรับการสอบเทียบเครื่องวัด

เครื่องวัดความชื้นจ�ำเป็นต้องมีการสอบเทียบมาตรฐานตาม ระยะเวลา เพื่อให้ได้ความแม่นย�ำตามข้อก�ำหนด ในการสอบเทียบ เครื่องวัดความชื้นนั้น ต้องใช้เครื่องก�ำเนิดความชื้นที่สามารถควบคุม พารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องได้อย่างแม่นย�ำ

Thunder Model 2500 เป็นเครื่องก�ำเนิดความชื้นในอากาศ โดยใช้หลักการสองความดันทีไ่ ด้รบั การรับรองจาก NIST สามารถจ่าย ความชืน้ ตามค่าทีก่ ำ� หนดอย่างต่อเนือ่ งได้ละเอียดแม่นย�ำ ส�ำหรับการ สอบเทียบเครื่องวัดความชื้น

คุณสมบัติเด่น ➠ ค่าความไม่มั่นคงความชื้น 0.5 %RH ➠ มาตรฐาน NIST สอบย้อนกลับได้ ➠ มีตู้เก็บและรถเข็นในตัว ➠ ควบคุมค่าที่ตั้งจุดท�ำงานได้อัตโนมัติ ➠ มีซอฟต์แวร์ควบคุมอัตโนมัติ 2500 ControLog® ➠ และซอฟต์แวร์สอบเทียบ HumiCalc® ➠ คอมเพรสเซอร์เสียงเบาพร้อม Air Dryer ➠ อินเตอร์เฟส RS-232C

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมติดต่อได้ท:ี่ คุณวิชยั 08-1934-2570, wichai@measuretronix.com บริษทั เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกดั 2425/2 ถนนลาดพร้าว ระหว่างซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์ 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: http://www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com

February-March 2016, Vol.42 No.245

19 <<<


&

Special Scoop

จันวับตกระแส กรรมอาหารเพื่อสุขภาพ หนึ่ง

ในเมกะเทรนด์ที่ส�ำคัญของโลกในเวลานี้ ต้องยกให้เรื่องของสุขภาพ ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากการที่ ผู ้ ค นหั น มาใส่ ใ จรั ก ษาสุ ข ภาพกั น มากขึ้ น ส่ ง ผลให้ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การออกก� ำ ลั ง กาย การแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข รวมถึงอาหารเพื่อสุขภาพมีอัตราการเติบโตอย่างก้าวกระโดด

เรียบเรียงโดย: กองบรรณาธิการ

BCC Research ได้สรุปเทรนด์การบริโภคอาหารของคนยุคนี้ ว่า อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารส�ำเร็จรูป อาหารฮาลาล อาหารและ เครื่องดื่มเพื่อเสริมความงาม รวมถึงอาหารเพื่อผู้สูงอายุ คือ สิ่งที่ ผู้บริโภคยุคใหม่นี้ต้องการ ทั้งหมดเป็นผลมาจากผู้บริโภคค�ำนึงถึง สุขภาพมากขึ้น และนี่คือสิ่งที่ผู้บริโภคคาดหวังว่าจะได้รับผลิตภัณฑ์ และบริการด้านอาหารคุณภาพจากฝั่งผู้ผลิตจากทั่วโลก ส�ำหรับประเทศไทย ถือเป็นโอกาสในการที่จะเข้าสู่ตลาด อาหารเพือ่ สุขภาพ เนือ่ งจากมีความพร้อมด้านวัตถุดบิ อย่างไรก็ตาม เรายังมีจุดอ่อนอยู่หลายประการที่ควรได้การส่งเสริม โดยเฉพาะ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่ยังขาดในหลาย ๆ ด้าน การสัมมนาหัวข้อ Trends of Innovation Health Food in Food Services & Food Industry จัดโดย สถาบันอาหาร นับเป็นการเปิดประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับผู้ประกอบการอาหารไทย ในการเรียนรู้ และปรับตัว หากอยาก เข้าสู่ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพ

รู้เขา รู้เรา รู้โลก

ก่อนเข้าสู่ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพ สิ่งแรกที่ผู้ประกอบการ ต้องศึกษา เรียนรู้ คือ แนวโน้ม ตลาด และพฤติกรรมของผู้บริโภคใน ปัจจุบนั ว่า มีแนวโน้มไปในทิศทางใด ในเรือ่ งนี้ คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันอาหาร เปิดเผยข้อมูลทีน่ า่ สนใจว่า จากการส�ำรวจ >>>20

February-March 2016, Vol.42 No.245

คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ์

ผู้อ�ำนวยการสถาบันอาหาร

ของ The Nielsen Global Health & Wellness Survey 2015 ระบุว่า เหตุผลส�ำคัญที่ท�ำให้คนหันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น พบว่า กว่า 49 เปอร์เซ็นต์ ของผู้บริโภคเชื่อว่าตนเองน�้ำหนักเกิน และ 50 เปอร์เซ็นต์ มีความพยายามทีจ่ ะลดน�ำ้ หนัก อาหารทีค่ นเหล่านีม้ องหา คือ อาหาร จากธรรมชาติ ทีม่ คี วามสด ผ่านการแปรรูปน้อย และทีส่ �ำคัญต้องการ คุณประโยชน์จากส่วนผสมในอาหารที่จะช่วยในการป้องกันโรค และเสริมสร้างสุขภาพที่ดี


&

Special Scoop ขณะเดียวกันผู้บริโภคเองยินดีที่จะจ่ายในราคาสูงขึ้น เพื่อ แลกกับสินค้าเกรดพรีเมี่ยม โดยเฉพาะผู้บริโภคที่มีอายุน้อย หรือ คนวัยท�ำงาน ขณะที่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพมีการเติบโตมากกว่า อาหารทานเล่น ส�ำหรับตลาดที่ผู้ประกอบการไทยจะแทรกเข้าไปได้ คือ ตลาดอาหารควบคุมน�้ำหนัก ปัจจัยในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารของผู้บริโภคพบว่า ให้ความส�ำคัญกับผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปราศจากการตัดต่อ พันธุกรรม (GMO) เป็นอันดับแรก รองลงมาคือ อาหารที่ไม่ผ่านการ สังเคราะห์ รวมถึงผูบ้ ริโภคหันมาให้ความส�ำคัญกับแหล่งผลิตวัตถุดบิ ด้วย นอกจากนีผ้ บู้ ริโภคยังให้ความส�ำคัญกับอาหารทีม่ คี อเลสเตอรอล ต�ำ่ เกลือต�ำ่ ไขมันต�ำ่ (less is more) ขณะเดียวกันก็ตอ้ งการผลิตภัณฑ์ ที่มีไฟเบอร์ โปรตีน แคลเซียม วิตามิน และเกลือแร่ (more is more) ส�ำหรับตลาดอาหารเพื่อสุขภาพ (healthy food) อาหาร กึ่งสุขภาพ (semi-healthy) หรืออาหารทานเล่นทั่วไป (indulgent) ซึ่ง มีการส�ำรวจระหว่างปี พ.ศ.2553-2557 พบว่า อาหารเพื่อสุขภาพมี ยอดจ�ำหน่ายเพิ่มขึ้นทุกภูมิภาค แม้จะมีการชะลอตัวบ้างในภูมิภาค ยุโรป อันเป็นผลกระทบมาจากภาวะเศรษฐกิจ และประเทศที่มีการ ขยายตัวมากทีส่ ดุ คือ ตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ ส่วนอาหาร กึ่งสุขภาพ (semi-health) ไม่ค่อยเติบโตมากนัก ขณะที่อาหารทาน เล่น มีการเติบโตค่อนข้างน้อย ทั้งนี้ ผู้อ�ำนวยการสถาบันอาหาร ยังเปิดเผยข้อมูลตลาด อีคอมเมิร์ชอีกด้วยว่า จากการรายงานของ New Nutrition Business ระบุ ประเภทอาหารที่มีการสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วย อาหารจากผลิตภัณฑ์นม อาหารส�ำหรับผูพ้ กั ฟืน้ อาหารจากธรรมชาติ อาหารประเภททีใ่ ห้พลังงานสูง อาหารทีม่ นี ำ�้ ตาลน้อย อาหารช่วยย่อย และอาหารเพือ่ เสริมความงาม ทัง้ นีใ้ นรายงานยังระบุดว้ ยว่า แนวโน้ม การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ มีผลกระทบต่อตลาดสินค้าที่ซื้อแบบ ฉับพลัน แสดงให้เห็นว่า ผู้บริโภคมีความยับยั้งชั่งใจก่อนตัดสินใจซื้อ มากขึ้น

ส�ำหรับมูลค่าการค้าอาหารและเครื่องดื่มผ่านตลาดอีคอมเมิรซ์ ของโลก พบว่ามีการเติบโตอย่างก้าวกระโดด โดยในปี พ.ศ.2557 มีมูลค่า 23,496 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และคาดว่าจะเติบโต 33.52 เปอร์เซ็นต์ ในปี พ.ศ.2558 และคาดว่าในอีก 5 ปีข้างหน้า คือ ปี พ.ศ. 2563 จะมีมูลค่าตลาดสูงกว่า 64,749 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส�ำหรับตลาดอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย ปี พ.ศ.2557 พบว่า มีมูลค่า 38.77 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และในปี พ.ศ.2558 มีอัตราการ เติบโตที่ใกล้เคียงกัน และคาดว่าจะเติบโตอย่างก้าวกระโดดถึง 146.694 ล้านดอลลาร์ ในปี พ.ศ.2563 ดังนัน้ ตลาดอีคอมเมิรซ์ จึงเป็น ช่องทางหนึง่ ทีน่ า่ สนใจส�ำหรับผูป้ ระกอบการไทย โดยเฉพาะเอสเอ็มอี เนื่องจากต้นทุนต�่ำ และที่ส�ำคัญต้องมีเว็บไซต์ ที่เปรียบเสมือนหน้า ร้านออนไลน์ และมีเจ้าหน้าทีท่ จี่ ะคอยให้ขอ้ มูลกับลูกค้า และต้องหา พาร์ทเนอร์ที่ดี ทั้งนี้ ผู้อ�ำนวยการสถาบันอาหาร ยังได้แบ่งปันกลยุทธ์สู่ ความส�ำเร็จของผู้ประกอบการอาหารเพื่อสุขภาพว่า สิ่งส�ำคัญของ ธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพ คือ การให้ความรู้แก่ผู้บริโภค โดยเฉพาะ ข้อมูลบนฉลากที่ติดไปกับผลิตภัณฑ์ ต้องแสดงข้อมูลที่ชี้ให้ผู้บริโภค เห็นว่า เมื่อทานไปแล้วจะเกิดผลดีต่อสุขภาพอย่างไร และที่ส�ำคัญ ต้องเป็นฉลากที่อ่านเข้าใจง่าย การแสดงข้อมูลด้านสุขภาพ ต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง โปร่งใส และเป็นข้อมูลที่พิสูจน์ได้ทางวิทยาศาสตร์ รวมถึงรายละเอียดด้าน ต่าง ๆ เช่น แหล่งวัตถุดิบ แหล่งแปรรูปอาหาร ต้องแสดงเพื่อสร้าง ความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค และยังเป็นจุดขายให้กับผลิตภัณฑ์ด้วย นอกจากนี้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ควรน�ำข้อมูลที่ผ่านการ ศึกษาวิจัยว่า อาหารคือยา มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ก็ จะช่วยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ รวมถึงการท�ำการ ตลาดร่วมกับผู้ค้าปลีก เพื่อจะได้ใกล้ชิดกับผู้บริโภคและขยายฐาน กลุ่มผู้บริโภค และที่ส�ำคัญต้องรับรู้ในความแตกต่างของผู้บริโภคใน แต่ละประเทศ เพราะธุรกิจไม่มีสูตรส�ำเร็จตายตัว การที่ประสบความ ส�ำเร็จในประเทศหนึ่ง ไม่ได้การันตีความส�ำเร็จกับอีกประเทศหนึ่ง

February-March 2016, Vol.42 No.245

21 <<<


&

Special Scoop ตัวอย่างที่ประสบความส�ำเร็จในอุตสาหกรรมอาหารเพื่อ สุขภาพ

ภายนอกดูเหมือนเทรนด์จะเป็นใจให้ธรุ กิจอาหารเพือ่ สุขภาพ ของไทย สามารถเข้าสู่ตลาดได้ไม่ยาก ด้วยเหตุและปัจจัยดังที่กล่าว มาข้างต้น อย่างไรก็ตาม แม้นี่จะเป็นโอกาส แต่โอกาสจะมีให้กับ ผู้ที่มีความพร้อมเสมอ ตัวอย่างผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร เพื่อสุขภาพที่จะน�ำเสนอต่อไปนี้ เชื่อว่าจะเป็นพลังจุดประกายไอเดีย ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กบั วงการอาหารเพือ่ สุขภาพของ ไทย

นวัน�ตำทางสู กรรม ่ธุรกิจอาหารเพื่อสุขภาพ

บริษัท ฟอร์แคร์ จ�ำกัด น�ำโดย คุณถิรมณ ชูประภาวรรณ เป็นบริษัทที่เริ่มต้นและขับเคลื่อนธุรกิจด้วยนวัตกรรม เมื่อ 12 ปีก่อน ฟอร์แคร์เริ่มต้นธุรกิจจากงานวิจัยเพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้กับ ผู้บริโภคที่รักษาสุขภาพ แนวคิดในการเริ่มต้นธุรกิจของฟอร์แคร์ มีที่มาจากโรคหัวใจ ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของโลก และเมื่อสืบสาวไปถึง ต้นตอแล้วพบว่า กะทิมะพร้าวที่บริโภคกันในชีวิตประจ�ำวันนั้น เป็น อันตรายต่อสุขภาพของหัวใจเป็นอย่างยิง่ ฟอร์แคร์จงึ ค้นคว้าและวิจยั ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ดีต่อสุขภาพ ภายใต้แนวคิด “อร่อยแบบกะทิ ดีต่อ หัวใจ” จนกระทั่งสามารถผลิตกะทิธัญพืชเชิงพาณิชย์ เป็นทางเลือก ให้กับผู้บริโภคได้ครั้งแรกในปี พ.ศ.2549

ข้าวโอ๊ต เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ไม่มีสารเจือปน ต่อมาได้ วิจัยและพัฒนา ไอศกรีมซอฟท์เสิร์ฟ น�้ำนมข้าวเกษตรอินทรีย์ โดย ฟอร์แคร์ มีความตั้งใจที่จะเดินหน้าสู่การเป็นผู้น�ำด้านนวัตกรรมทาง อาหาร เพื่อเป็นตัวเลือกที่ดีส�ำหรับสุขภาพที่ดีกว่าของผู้บริโภค กว่าจะมีวันนี้ได้ ฟอร์แคร์ต้องฟันฝ่าอุปสรรคมาไม่น้อย “คุณถิรมณ” เปิดใจในการท�ำธุรกิจให้ฟังว่า เมื่อ 12 ปีที่แล้ว ช่วงที่ ออกผลิตภัณฑ์กะทิธัญพืช เป็นช่วงที่กะทิมะพร้าวราคาไม่สูง การที่ จะแข่งขันกับผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นเจ้าตลาดนับเป็นเรือ่ งทีย่ ากมาก ไม่เพียง เท่านั้นยังต้องผ่านอุปสรรคนับตั้งแต่ยื่นขอจดทะเบียนอาหารกับ องค์การอาหารและยา (อย.) เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ท�ำจากน�้ำมัน ร�ำข้าว เพื่อใช้แทนกะทิ จะเรียกชื่อผลิตภัณฑ์ว่าอะไร เพราะ อย. มอง ว่า กะทิต้องมาจากมะพร้าวเท่านั้น เราต้องหาวิธีที่จะอธิบายให้ อย. เข้าใจและยอมรับให้เราใช้ชื่อว่า กะทิธัญพืช ซึ่งต้องใช้เวลาและ ความพยายามเป็นอย่างมาก จะเห็นได้ว่า ในช่วง 3 ปีแรก ความยากอยู่ที่การสร้างความ เข้ า ใจและการสร้ า งการรั บ รู ้ ใ ห้ กั บ ผู ้ บ ริ โ ภค ในฐานะที่ ดิ ฉั น เป็ น นักวิทยาศาสตร์ดา้ นอาหาร (food scientists) “การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เป็นเรื่องที่ไม่ยาก แต่ความยากอยู่ที่การใช้ R&D สร้างผลิตภัณฑ์ที่ ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริโภคนัน้ ยากกว่า” คุณถิรมณ กล่าว

ผลิตภัณฑ์เฉพาะ ส�ำหรับตลาดเฉพาะ

คุณถิรมณ ชูประภาวรรณ

ภายหลังพัฒนากะทิธัญพืช เป็นผลส�ำเร็จแล้ว ฟอร์แคร์ ไม่หยุดทีจ่ ะพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสูต่ ลาด โดยฟอร์แคร์ได้พฒ ั นา เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ที่ผลิตจากจมูกข้าวกล้อง จมูกข้าวสาลี และ >>>22

February-March 2016, Vol.42 No.245

เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์เฉพาะ ผลิตภัณฑ์แรกของฟอร์แคร์ ที่ผลิตขึ้นมาจึงไม่ได้วางจ�ำหน่ายตามร้านค้าปลีกทั่วไป แต่เลือกที่ จะจ�ำหน่ายในกลุ่มโรงพยาบาล ก่อนที่จะขยายตลาดสู่ร้านค้าปลีก ในเวลาต่อมา “เดิมที่เราท�ำกะทิธัญพืช เพื่อจ�ำหน่ายให้กับโรงพยาบาล เพราะก่ อ นหน้ า ที่ จ ะพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เรามี โ อกาสได้ คุ ย กั บ นักโภชนาการหลายโรงพยาบาลถึงสาเหตุที่ผู้ป่วยโรคหัวใจทานกะทิ มะพร้ า วไม่ ไ ด้ และเราก็ น� ำ ข้ อ มู ล เหล่ า นั้ น มาพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ โรงพยาบาลแรกที่ท�ำงานร่วมกับเรา คือ โรงพยาบาลกรุงเทพ โดยน�ำ


&

Special Scoop ไปปรุงอาหารให้กับผู้ป่วยรับประทานพร้อม ๆ กับให้ความรู้กับผู้ป่วย ภายหลังจากผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลไปแล้ว เขาก็หากะทิธัญพืช ไปปรุงอาหารแทนกะทิมะพร้าว ตรงนี้เป็นจุดเริ่มต้นที่ผู้บริโภคหันมา สนใจทานกะทิทางเลือกทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มา” คุณถิรมณ กล่าว และอธิบาย ต่อว่า “เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของเราเริ่มต้นจากการวิจัยและพัฒนา จนเกิดเป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรม มีการจดอนุสิทธิบัตร และยังเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ เป็นจุดที่ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ ของเราที่แต่เดิมอยู่ในตลาดเฉพาะกลุ่ม (niche market) เริ่มขยาย เข้าสูต่ ลาดค้าปลีก เราเริม่ ท�ำกิจกรรมการตลาดมากขึน้ มีจดั กิจกรรม ร่วมกับซุปเปอร์มาเก็ต จัดบูทสาธิตการชงชิม ให้ผลิตภัณฑ์ใกล้ชิด ลูกค้ามากขึ้น ขณะเดียวกันยุคนี้เป็นยุคที่โซเชียลมีเดีย มีอิทธิพลต่อ การท�ำตลาด เราก็อาศัยช่องทางนี้ ในการสือ่ สารประชาสัมพันธ์ไปยัง ผู้บริโภค เน้นการให้ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องกับผู้บริโภค”

โอกาสและอุปสรรคในตลาดเออีซี

ส�ำหรับตลาดเออีซีจะเป็นโอกาสส�ำหรับฟอร์แคร์หรือไม่ คุณถิรมณ มองว่า ก่อนหน้านีฟ้ อร์แคร์มกี ารเตรียมความพร้อมหลาย อย่าง โดยเฉพาะด้านการตลาดและกิจกรรมส่งเสริมการขาย ส่วน ตลาดเออีซสี ำ� หรับฟอร์แคร์มองว่า เป็นโอกาสทัง้ ในเรือ่ งการผลิตและ

ขาย ด้านการผลิต ฟอร์แคร์มีความตั้งใจตั้งแต่ต้นแล้วว่า จะไม่ตั้ง โรงงานผลิตของตัวเอง แต่จะใช้วิธีการ Outsource แทน ซึ่งจะท�ำให้ เรามีความคล่องตัวในการผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภคได้อย่างแท้จริง ขณะเดียวกันยังสะดวกในการ ขยายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้าน โดยน�ำองค์ความรู้ที่เรามี ออกไปหาโรงงานผลิตทีไ่ ด้มาตรฐานและสามารถผลิตสินค้าให้เราได้ ในส่ ว นการขายและการตลาด เนื่ อ งจากพฤติ ก รรมของ ผู้บริโภค ณ วันนี้ มองหาผลิตภัณฑ์ที่มาจากธรรรมชาติ (back to natural) มีสารปรุงแต่งน้อย ขณะเดียวกันก็ต้องการสารเติมแต่ง ประเภท วิตามิน แคลเซียม เกลือแร่ที่มาจากธรรมชาติมากขึ้น ผลิตภัณฑ์ของฟอร์แคร์คอ่ นข้างตอบโจทย์ โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศ เออีซีที่พัฒนาแล้ว อย่างประเทศสิงค์โปร์ นอกจากโอกาสแล้ว ยังมีอุปสรรคส�ำหรับเอสเอ็มอีไทยที่ไม่ ควรมองข้าม โดยเฉพาะเรื่องก�ำลังการผลิต การรักษาจุดยืนของ ผลิตภัณฑ์ “สิง่ ทีเ่ อสเอ็มอีตอ้ งเผชิญ เป็นด่านแรกเลย คือ การออก จากตลาดทีแ่ คบ ๆ สูต่ ลาดทีก่ ว้างขึน้ ขณะทีผ่ ลิตภัณฑ์ยงั คง เป็นเฉพาะกลุม่ อยู่ (niche market) เราต้องใช้พละก�ำลัง มหาศาลในการให้ความรู้กับผู้บริโภค ส่วนในสาย การผลิตต้องบาลานซ์ระหว่างดีมานด์กบั ซัพพลายให้ดี ขณะเดียวกันจะต้อง จั ด ล� ำ ดั บ ความส� ำ คั ญ ของงาน (priority) ให้ดีว่า งานไหนส�ำคัญ ท�ำก่อน และสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของการ ท�ำธุรกิจ คือ ต้องมีความชัดเจน และมีเป้าหมาย ตัง้ แต่ตน้ ในสิง่ ทีจ่ ะท�ำ อย่างฟอร์แคร์ตงั้ เป้าหมาย ตั้งแต่ต้นว่า จะผลิตสินค้าที่ดี มีคุณภาพ แม้ ต้นทุนการผลิตจะสูง แต่ราคาขายต้องไม่สงู จน ผู้บริโภคเอื้อมไม่ถึง สิ่งเหล่านี้ผู้ประกอบการต้องบริหารจัดการให้ได้” คุณถิรมณ กล่าว February-March 2016, Vol.42 No.245

23 <<<


&

Special Scoop

ตัวอย่างที่ประสบความส�ำเร็จในธุรกิจบริการด้านอาหาร

อีกตัวอย่างหนึง่ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จของผูป้ ระกอบการธุรกิจ บริการด้านอาหาร คือ คุณธีรนาฎ โชควัฒนา ผู้บริหาร SPA Foods และบริษัท นูทรีชั่น เฮ้าส์ จ�ำกัด คุณธีรนาฎ คือ ผู้ประการการที่เริ่มต้นธุรกิจจากการเป็น ผู้บริโภคที่มีความชอบและความมุ่งมั่น (passion) ที่อยากจะเป็น ผูผ้ ลิตอาหารเพือ่ สุขภาพ เป็นทางเลือกให้กบั ผูบ้ ริโภค โดยคุณธีรนาฎ เล่าว่า เธอเริม่ ต้นธุรกิจจาก Passion ล้วน ๆ แต่ไม่คดิ ทีจ่ ะหาก�ำไรจาก ธุรกิจนี้ เพราะเธอมีธุรกิจหลักอื่นอยู่แล้วหลายธุรกิจ หนึ่งในนั้นคือ นิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร “ดิฉันเป็นคนชอบรับประทานมาก โดยเฉพาะในสมัยเด็ก ๆ คุณพ่อคุณแม่ชอบให้ทานเนือ้ สัตว์ จนกระทัง่ เกิดจุดเปลีย่ นในชีวติ คือ เห็นชาวบ้านฆ่าสัตว์ทำ� ให้กลัวการทานเนือ้ สัตว์ จนกระทัง่ ล้มป่วยด้วย โรคขาดสารอาหาร ท�ำให้ต้องกลับมาทานเนื้อสัตว์อีกครั้ง เมื่อโตขึ้น เรารูจ้ กั เลือกมากขึน้ เรารูว้ า่ โปรตีนไม่จำ� เป็นต้องมาจากเนือ้ สัตว์เสมอ ไป แต่เนือ่ งจากเป็นคนชอบทานอาหาร อาหารทีไ่ ม่สวย ไม่อร่อย ก็ไม่ อยากทาน ความต้องการไม่ลงตัว ท�ำอย่างไร ดังนั้นเราจึงมองหา อาหารทางเลือกที่ไม่มีเนื้อสัตว์ จึงกลายมาเป็น “กระท่อมมังสวิรัติ” ร้านอาหารปลอดเนื้อสัตว์ ส่วนหนึ่งที่ท�ำ เพราะชอบ อีกส่วนหนึ่ง ท�ำ เพือ่ เป็นอนุสรณ์แด่คณ ุ แม่ทที่ า่ นสอนให้รวู้ า่ ทุกชีวติ ไม่วา่ คนหรือสัตว์ ไม่มีใครอยากตาย ดังนั้นเราก็ไม่ควรไปเบียดเบียนชีวิตของใคร” คุณธีรนาฎ กล่าว >>>24

February-March 2016, Vol.42 No.245

คุณธีรนาฎ โชควัฒนา

จากความรักความมุ่งมั่น กลายมาเป็นธุรกิจ

คุณธีรนาฎ เน้นย�้ำว่า ธุรกิจของเธอเกิดจากความชอบ ท�ำให้ มีข้อดีเกิดขึ้น คือ มีความมุ่งมั่นและมั่นใจในสิ่งที่ท�ำ ซึ่งเป็นทางให้คิด และเดินต่อไปได้เรื่อย ๆ ไม่มีที่สิ้นสุด “โจทย์ในการท�ำอาหารของดิฉัน คือ ต้องสวย หน้าตาดี และ ต้องอร่อยด้วย ในยุคเริม่ ต้นยังไม่มคี วามรูด้ า้ นโภชนาการ แต่วนั นีด้ ฉิ นั ศึกษาเรียนรู้มามากพอสมควรแล้ว แล้วเข้าใจในอาหารมากขึ้น มัน เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ภายหลังทีเ่ ราเรียนรูใ้ นสิง่ ทีเ่ ราอยากท�ำ ถามว่า อาหาร ในแบบทีด่ ฉิ นั ท�ำ มีดมี านด์ไหม มีดมี านด์จากทัว่ โลก แต่ตอนนีเ้ ราคิด ในฐานะคนที่มี Passion อย่างเดียว ไม่มีหัวในการท�ำธุรกิจเลย อยาก ท�ำตามใจอยาก แต่วนั หนึง่ เราท�ำอย่างทีค่ ดิ อยากท�ำไม่ได้แล้ว เราบอก ว่าอยากท�ำเพือ่ คุณแม่ แต่เราไม่สามารถรักษาคุณแม่ของเราไว้ได้ แต่ เราก็ตั้งใจที่จะให้คุณแม่ของคนอื่นที่เจ็บป่วย อาหารของดิฉันมีส่วน ช่วยในด้านการบ�ำบัด ที่เรียกว่า Palliative Care ช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัว เร็วขึ้น ข้อดีอีกประการหนึ่งของการเริ่มต้นท�ำอะไรจากจากรัก คือ ท�ำให้ดีที่สุด หากไม่ดีจะไม่ท�ำ ดิฉันค่อย ๆ ปั้นธุรกิจร้านอาหารขึ้นมา


&

Special Scoop จากวันนั้นถึงวันนี้ ร่วม 20 ปีแล้ว เราพบว่า จากกระแสบอกต่อของ ลูกค้า ท�ำให้มีลูกค้าทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมาทานอาหารที่ร้าน จ�ำนวนมาก ทัง้ ๆ ทีท่ ำ� เลทีต่ งั้ ไม่ได้เหมาะส�ำหรับท�ำร้านอาหาร เพราะ อยู่ในซอยลึก ส่วนเมนูอาหารได้มีการพัฒนาให้มีความหลากหลาย ร้านทั่วไปมีเมนูอะไร ที่กระท่อมมังสวิรัติก็มีเช่นกัน เพียงแต่ไม่ใช้ เนื้อสัตว์ แต่ใช้เนื้อทางเลือก (meat alternative) แทน”

นวัตกรรมเนื้อทางเลือก (meat alternative)

เมือ่ กล่าวถึงเนือ้ ทางเลือก หลายท่านอาจสงสัยว่าคืออะไร จะ ใช่โปรตีนเกษตร อย่างทีร่ จู้ กั กันโดยทัว่ ไปหรือไม่ คุณธีรนาฎ ให้ความ กระจ่างว่า เนื้อทางเลือกในนิยามของเธอ ไม่ใช่โปรตีนเกษตร แต่ เป็นเนื้อที่ผ่านการพัฒนาต่อยอดจากผลงานวิจัยของอาจารย์ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เป็นต้นแบบให้กับเอกชนน�ำไปพัฒนา ต่อยอด “โดยปกติโปรตีนจากถั่วเหลือง มักจะแปรรูปให้มีลักษณะ แบบแห้ง ท�ำให้บางครัง้ เมือ่ น�ำมาปรุงอาหารแล้ว จะยังคงมีกลิน่ เหม็น เขียวจากถั่วเหลือง ซึ่งเป็นสิ่งที่ดิฉันไม่ชอบเป็นอย่างมาก และหาก เก็บไว้นาน ๆ อาจมีกลิ่นหืนตามมา เราพัฒนาจากจุดนี้ จนกระทั่ง กลายมาเป็น เนื้อทางเลือกแบบ Ready to Cook สามารถแกะซอง และปรุงได้เลย ไม่มกี ลิน่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ทที่ ำ� ให้อาหารเสียรสชาติอกี ต่อไป” ภายหลักจากปลุกปั้น กระท่อมมังสวิรัติจนติดตลาดแล้ว คุณธีรนาฎได้พัฒนาต่อยอดจากร้านอาหารมังสวิรัติไปสู่แบรนด์ SPA Foods ย่อมาจาก Soy Protein Advance กลายเป็นผลิตภัณฑ์ อาหารโปรตีนจากธัญพืช “อยากฝากถึงผู้ประกอบการ อยากให้น�ำเรื่อง Passion ไปใช้ บ้าง ไม่ควรคิดเฉพาะก�ำไรขาดทุนอย่างเดียว และไม่

ควรท�ำธุรกิจแบบลอกเลียนแบบ ควรคิด และสร้างสรรค์ขนึ้ มาเองบ้าง และสิง่ ทีค่ ดิ และท�ำ ไม่จำ� เป็นต้องเป็น Mass เสมอไป บางครัง้ Niche ก็ทำ� ให้อยูไ่ ด้ แม้จดุ เริม่ ต้นจะเป็นเรือ่ งยาก เพราะเราต้องอธิบายขยาย ความและท�ำให้ผู้บริโภคเห็น และเกิดความเชื่อมั่น แต่เมื่อท�ำส�ำเร็จ ก็จะขยายกลุ่มลูกค้าออกไปได้กว้างขวางมากขึ้น” อดีต SPA Foods อาจเป็นอาหารตามฤดูกาล เฉพาะเทศกาล ถือศีลกินเจ แค่วันนี้เทรนด์เปลี่ยนไป คนหันมารักษาสุขภาพกันมาก ขึน้ และเริม่ เข้าใจว่า อาหารเหล่านีด้ อี ย่างไร และลูกค้าส่วนใหญ่ของ เรา คือ กลุม่ แพทย์ ปัจจุบนั ปัญหาของเรา คือ สินค้าไม่พอขายในช่วง เทศกาลกินเจ เป็นโอกาสให้คนอืน่ เข้ามาแทรกตลาดได้ ขณะเดียวกัน เรื่องการส่งออกก็ยังเป็นปัญหา เนื่องจากก�ำลังการผลิตมีจ�ำกัด ไม่ เพียงพอที่จะส่งออก ดังนั้น หากจะส่งออกต้องเตรียมการ ไม่ว่าจะ เป็นการเพิ่มก�ำลังการผลิต การขนส่ง และระบบโลจิสติกส์ รวมถึง มาตรฐานสินค้าอาหารส่งออกแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน นี่เป็น อุปสรรคของเอสเอ็มอีทุกราย ไม่เฉพาะ SPA Foods “ถามว่าจุดยืนผลิตภัณฑ์อาหารของ SPA Foods คืออะไร เจ หรือ มังสวิรัติ แต่เรา คือ เนื้อทางเลือก (meat alternative) ที่พัฒนา จากอุปสรรคให้กลายเป็นโอกาส และสร้างทางเลือกมากกว่าหนึง่ ทาง เลือกให้กับผู้บริโภคเสมอ วันนี้ SPA Foods ก�ำลังขยายอีกหลายเท่า เพื่อรองรับความต้องการของตลาดในอนาคต” คุณธีรนาฎ กล่าว ทิ้งท้าย วันนี้เรื่องของสุขภาพ และผลิตภัณฑ์ส�ำหรับกลุ่มคนรักษ์ สุขภาพจะไม่เป็น Niche Market อีกต่อไป เพราะทุกคนอยากมีสขุ ภาพ ที่แข็งแรง มีอายุที่ยืนยาว การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อ ร่างกาย เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด ดีที่สุด เป็น Preventive Healthcare ซึ่ง เป็นเทรนด์ที่ก�ำลังมาแรงอยู่ในปัจจุบันนี้

February-March 2016, Vol.42 No.245

25 <<<


&

Special Talk

Irradiated Food :

Innovative Alternative นวัตกรรมทางเลือกเพือ่ ความปลอดภัย และยืดอายุอาหาร กองบรรณาธิการ

ค�ำว่า

“อาหารฉายรังสี” ส�ำหรับคนทั่วไป ฟังแล้วอาจดูน่ากลัว เพราะค�ำว่า รังสี คือ ภาพด้านลบที่ติดอยู่ภายในความรู้สึกของผู้คนมานานแสนนาน แต่ท่านทราบหรือ ไม่ว่า รังสีที่แสนน่ากลัวนี้ กลับสร้างประโยชน์มหาศาลในเกือบทุกกิจกรรมของมนุษย์ ไม่ว่าจะ เป็นงานด้านการแพทย์ อุตสาหกรรม การเกษตรและอาหาร รวมถึงงานด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งใน รูปแบบที่สัมผัสได้ และสัมผัสไม่ได้

การ

รูจ้ กั ใช้ประโยชน์จากรังสี เป็นความฉลาดของมนุษย์ในการเสาะแสวงหาพลังงาน ในรูปแบบใหม่ รังสีเป็นพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ จากสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และการน�ำเทคโนโลยีรังสีมาใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร เกิดขึ้น ครั้งแรกในปี พ.ศ.2496 เริ่มมีการใช้อาหารฉายรังสีในกองทัพสหรัฐอเมริกา ตามมาด้วย ประเทศเยอรมนี มีการฉายรังสีเครื่องเทศเพื่อการค้า ในปี พ.ศ.2500 ก่อนที่จะมีการขยายตัว ไปทั่วโลก ปัจจุบันหลายประเทศยอมรับถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีรังสี และมีการน�ำมาใช้ใน ภาคอุตสาหกรรมมากกว่า 60 ประเทศทัว่ โลก ส่วนในอุตสาหกรรมอาหารมีประเภทอาหารทีไ่ ด้ รับอนุญาตให้ฉายรังสีมากกว่า 60 ชนิดแล้ว แม้อาหารฉายรังสีจะเป็นที่ยอมรับในหลาย ๆ ประเทศ แต่ส�ำหรับประเทศไทย อาหารฉายรังสี ยังเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งสร้างความรูค้ วามเข้าใจให้กบั คนไทย ถึงประโยชน์ และความปลอดภัยของอาหารฉายรังสี โดยสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) คือ หน่วยงานที่ขับเคลื่อนภารกิจนี้ ควบคู่กับการวิจัยและ พัฒนา รวมถึงให้บริการฉายรังสีด้วย สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ เป็นองค์การมหาชนในก�ำกับของ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งแยกออกมาจากส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ในปี พ.ศ.2549 “เราเป็ น องค์ ก รน� ำ ในการส่ ง เสริ ม และสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า น นวัตกรรมเพื่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ” ดร.หาญณรงค์ ฉ�่ ำ ทรั พ ย์ รั ก ษาการผู ้ อ� ำ นวยการสถาบั น เทคโนโลยี นิ ว เคลี ย ร์ แ ห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) กล่าว พร้อมอธิบายต่อว่า ภายหลังแยกออกมาจาก ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติแล้ว ภารกิจของทั้งสองหน่วยงานมีความเด่นชัด มากขึ้น ดร.หาญณรงค์ ฉ�่ำทรัพย์

รักษาการผู้อ�ำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) >>>26

February-March 2016, Vol.42 No.245


&Specia Talk

▲ ภาพ สัญลักษ์อาหารฉายรังสีบนบรรจุภัณฑ์

ส�ำหรับจุดเริ่มต้นของการน�ำนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ใน ประเทศไทยเกิดขึน้ ครัง้ แรกประมาณ ปี พ.ศ.2504 เมือ่ รัฐบาลในสมัย นั้นเห็นความจ�ำเป็นของการน�ำนิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ ต่อมาใน ปี พ.ศ.2505 มีการน�ำเครือ่ งปฏิกรณ์ปรมาณูสำ� หรับงานวิจยั มาติดตัง้ ณ อาคารปฏิกรณ์ปรมาณู ส�ำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ถนนวิภาวดีรังสิต นับเป็นจุดเริ่มต้นของการวิจัยและพัฒนาการน�ำพลังงาน นิวเคลียร์มาใช้ในการพัฒนาชาติไทย ก่อนที่จะมีการแยกออกเป็น 2 หน่วยงานที่มีภารกิจของตนเองอย่างชัดเจน กล่าวคือ ส�ำนักงาน ปรมาณูเพื่อสันติ ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยงานควบคุมและก�ำกับดูแล (regulator) ส่วนสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) เป็นหน่วยงานปฏิบตั กิ าร (operator) ดูแลงานด้านการศึกษา วิจัยและพัฒนา ตลอดจนเผยแพร่ความรู้ และสนับสนุนการใช้ ประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ มีส�ำนักงาน 3 แห่ง คือ ส�ำนักงาน บางเขน ศูนย์ฉายรังสี คลอง 5 จ.ปทุมธานี และศูนย์วิจัยองครักษ์ จ.นครนายก “เราเป็นองค์กรในก�ำกับรัฐเพียงแห่งเดียวที่มีเครื่องปฏิกรณ์ ปรมาณู และเราต้องการจะเป็นผู้ให้บริการนิวเคลียร์แอปพลิเคชั่นที่ ดีที่สุด” ดร.หาญณรงค์ กล่าวด้วย ความมุ ่ ง มั่ น ก่ อ นที่ จ ะกล่ า วถึ ง ภารกิจของสถาบันฯ ทีด่ ำ� เนินการอยู่ ในปัจจุบัน ประกอบด้วย ➢ ศูนย์บริการเทคโนโลยี นิวเคลียร์ ซึ่งจะให้บริการ ด้านการ ตรวจวิเคราะห์หอกลั่น งานตรวจวัด กัมมันตภาพรังสี สินค้าส่งออกและ น� ำ เข้ า งานบริ ก ารประเมิ น ค่ า ปริมาณรังสีจากเครื่องวัดปริมาณ รังสีประจ�ำตัวบุคคล TLD & OSL งานบริ ก ารตรวจวิ เ คราะห์ ธ าตุ ใ น ตัวอย่าง งานตรวจสภาพอุปกรณ์ ถ่ายภาพด้วยรังสี งานตรวจสอบโดย ไม่ ท� ำ ลาย (RT) งานบริ ก ารสอบ

เที ย บเครื่ อ งวั ด รั ง สี และงานบริ ก ารตรวจวั ด หี บ ห่ อ บรรจุ วั ส ดุ กัมมันตรังสี ➢ ศูนย์ฉายรังสีอัญมณี เพื่อปรับปรุงสีสันให้กับอัญมณีให้ เป็นที่ต้องการของตลาดและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับอัญมณีไทย ➢ ศูนย์ไอโซโทปรังสี ผลิตสารไอโซโทปรังสี (radioisotope) สารประกอบติดฉลากรังสี (labeled compounds) เภสัชภัณฑ์ ส�ำเร็จรูปของเทคนีเซียม -99 เอ็ม (Tc-99 Radiopharmaceutical kits) และ Sealed Source เพื่อใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ การเกษตร และการศึกษาวิจัย ➢ ศู น ย์ จั ด การกากกั ม มั น ตรั ง สี ให้ บ ริ ก ารจั ด การกาก กัมมันตรังสี แก่ผทู้ ใี่ ช้สารกัมมันตรังสีทวั่ ประเทศ รวมถึงเป็นศูนย์กลาง ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการจัดการกากกัมมันตรังสีให้กับบุคคลที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้บริการวิเคราะห์กัมมันตรังสีในน�้ำทิ้งจากโรงงาน อุตสาหกรรม โรงพยาบาล และชุมชน ➢ ศูนย์ฉายรังสี ส�ำหรับให้บริการฉายรังสี และบริการตรวจ วิเคราะห์เชื้อจุลินทรีย์ ส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร

รังสีกับอาหาร

คุณอรรจยา มาลากรอง ผู้จัดการศูนย์ฉายรังสี ให้ข้อมูล เกี่ ย วกั บ การฉายรั ง สี ใ นอาหารว่ า ศู น ย์ ฉ ายรั ง สี ที่ ตั้ ง อยู ่ ภ ายใน

คุณอรรจยา มาลากรอง ผู้จัดการศูนย์ฉายรังสี

February-March 2016, Vol.42 No.245

27 <<<


&

Special Talk เทคโนธานี คลอง 5 แห่งนี้ ถือเป็นโรงงานฉายรังสีที่เปิดให้บริการกับ ผู้ประกอบการอาหารและการเกษตร โดยรังสีที่ใช้ คือ รังสีแกมมา ที่มี ต้นก�ำเนิดจากโคบอลต์-60 (Co-60) ซึ่งเครื่องมือและเครื่องฉายรังสี ดังกล่าวได้รับความอนุเคราะห์มาจากรัฐบาลแคนาดา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 และใช้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ส�ำหรับรังสีที่น�ำมาฉาย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (พ.ศ.2553) เรือ่ งอาหารฉายรังสี อนุญาตให้ใช้รงั สี 3 ชนิด ในการฉาย รังสีอาหารและใช้เป็นเกณฑ์ในการฉายรังสีสินค้าอื่น ๆ ด้วย คือ รังสี แกมมา จากต้นก�ำเนิด โคบอลต์-60 (Co-60) หรือซีเซียม-137 (Cs137) รังสีเอกซ์ จากเครือ่ งผลิตรังสีเอกซ์ ทีร่ ะดับพลังงานไม่เกิน 5 MeV (ล้านอิเล็กตรอนโวลต์) และรังสีอิเล็กตรอน จากเครื่องเร่งอนุภาค อิเล็กตรอน ทีร่ ะดับพลังงานต�ำ่ ไม่เกิน 10 MeV (ล้านอิเล็กตรอนโวลต์) ส�ำหรับการฉายรังสีในอาหารและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรให้ ประโยชน์ที่แตกต่าง ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการฉายรังสี ประเภท ของผลิตภัณฑ์ที่จะฉายรังสี และปริมาณรังสี ดังนี้ ➢ ปรับปรุงพันธุ์พืช ปริมาณรังสีสูงสุดไม่เกิน 100 เกรย์ สามารถใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืชได้ โดยประเทศไทยใช้การฉายรังสี กับพืชล้มลุก เช่น ข้าว ไม้ดอกไม้ประดับ เพือ่ ปรับปรุงสายพันธุใ์ ห้ดขี นึ้ ทนแล้ง ทนต่อเชื้อโรค และให้ผลผลิตดี ➢ ยั บ ยั้ ง การงอก ปริ ม าณรั ง สี สู ง สุ ด ไม่ เ กิ น 1 กิ โ ลเกรย์ จะช่วยยับยัง้ การงอกในพืช ประเภท หอมหัวใหญ่ หอมแดง กระเทียม มันฝรั่ง ท�ำให้ช่วยยืดอายุ สามารถเก็บไว้ได้นานขึ้น ➢ ชะลอการสุกหรือการบานของเห็ด รังสีประมาณ 1-2 กิโลเกรย์ จะช่วยชะลอการบานของเห็ด ท�ำให้อายุในการวางตลาด (shelflife) เพิ่มขึ้น ➢ ควบคุมการแพร่พันธุ์ของแมลง ปริมาณรังสีสูงสุดไม่เกิน 2 กิโลเกรย์ จะช่วยควบคุมการแพร่พนั ธุข์ องแมลงได้ โดยประเทศไทย สามารถส่งออกผลไม้ฉายรังสี 7 ชนิด คือ ล�ำไย มังคุด มะม่วง เงาะ สับปะรด ลิ้นจี่ และแก้วมังกร ไปยังประเทศสหรัฐอเมริกาได้ ส่วน ประเทศนิวซีแลนด์ และออสเตรเลียอนุญาตน�ำเข้า ล�ำไยกับลิ้นจี่ ฉายรังสีจากประเทศไทย และประเทศออสเตรเลียก�ำลังจะเพิ่มอีก ชนิดหนึ่ง คือ มะม่วง ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนของเอกสาร

>>>28

February-March 2016, Vol.42 No.245

➢ ลดปริ ม าณปรสิ ต

ปริ ม าณรั ง สี ไ ม่ เ กิ น 4 กิ โ ลเกรย์ สามารถท�ำลายพยาธิต่าง ๆ เช่น พยาธิตัวกลม พยาธิตืดหมู ใน อาหารประเภท แหนม ➢ ยืดอายุการเก็บรักษา ปริมาณรังสีสงู สุดไม่เกิน 7 กิโลเกรย์ รังสีสามารถท�ำลายจุลนิ ทรียท์ กี่ อ่ ให้เกิดการเน่าเสีย การฉายรังสีควบคู่ กับการเก็บรักษาในห้องเย็น สามารถใช้ได้กบั อาหารประเภทเนือ้ สัตว์ อาหารทะเล ➢ ลดปริ ม าณจุ ลิ น ทรี ย ์ แ ละจุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด โรค ปริมาณรังสีไม่เกิน 2-20 กิโลเกรย์ สามารถลดปริมาณจุลินทรีย์และ จุลนิ ทรียท์ ที่ ำ� ให้เกิดโรคโดยไม่มผี ลต่อคุณภาพของสินค้า อาหารทีน่ ำ� มาฉาย ได้แก่ เครื่องเทศ และสมุนไพร

การได้มาซึ่งเทคนิคและวิธีการฉายรังสี

คุณเสาวพงศ์ เจริญ

นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ ช�ำนาญการพิเศษ

นับเป็นเวลายาวนานกว่าครึ่งศตวรรษ ที่นักวิจัยไทยให้ความ ส�ำคัญกับงานด้านการวิจัยและพัฒนาด้านรังสี โดยคุณเสาวพงศ์ เจริญ นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ ช�ำนาญการพิเศษ เล่าให้ฟังว่า งาน วิจัยด้านรังสีในประเทศไทยเริ่มต้นขึ้นประมาณ ปี พ.ศ.2506 สมัยนั้น ยังคงเป็นงานวิจัยระยะสั้น ๆ เนื่องจากเครื่องมือและเทคโนโลยียังไม่ พร้อม จนกระทั่งปี พ.ศ.2523 คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญร่วมของ องค์กรอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) องค์การ อนามัยโลก (WHO) และทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (IAEA) ได้ประกาศว่า อาหารฉายรังสีในปริมาณไม่เกิน 10 กิโลเกรย์ ปลอดภัยส�ำหรับการบริโภคและไม่จ�ำเป็นต้องท�ำการทดสอบเรื่อง ความปลอดภัยอีก งานวิจัยเกี่ยวกับการฉายรังสีในประเทศไทยก็เริ่ม มีบทบาท และมีความหลากหลายมากขึ้น มีการวิจัยและพัฒนา เทคนิคการฉายรังสี เพื่อใช้กับเนื้อสัตว์ อาหารทะเล ผักผลไม้ อาหาร แช่แข็ง และแหนมฉายรังสี เป็นต้น


&

Special Talk

ด้าน ดร.สุ วิ ม ล เจตะวั ฒ นะ นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ ช�ำนาญการพิเศษ กล่าวถึงการฉายรังสีในอาหารว่า การฉายรังสี อาหารเป็นกระบวนการถนอมอาหารชนิดหนึ่งที่ได้รับการยอมรับ วิธี การฉายรังสี จะมีการน�ำอาหารที่บรรจุภาชนะหรือหีบห่อที่เหมาะสม ไปผ่านรังสีในห้องก�ำบังรังสีในปริมาณรังสีทเี่ หมาะสม และในเวลาที่ ก�ำหนด อย่างไรก็ตาม ก่อนการฉายรังสี จะต้องมีการวัดการกระจาย ของปริมาณรังสีในผลิตภัณฑ์โดยใช้เครื่องวัดปริมาณรังสี (dosimeter) เพื่อให้ทราบบริเวณที่จะได้รับปริมาณรังสีสูงสุดและต�่ำสุด โดย ปริมาณรังสีสูงสุดจะต้องไม่ท�ำให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์เสียไป ส่วน ปริมาณรังสีตำ�่ สุดจะต้องสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของการฉายรังสี การฉายรังสีมลี กั ษณะพิเศษเฉพาะตัว และมีขอ้ ได้เปรียบเมือ่ เทียบกับวิธีการอื่น คือ การฉายรังสีเพื่อก�ำจัดแมลง ให้ผลเช่นเดียว กับการรมด้วยสารเคมี แต่จะไม่มีสารพิษตกค้างในอาหาร การฉาย รังสีเพื่อท�ำลายจุลินทรีย์ ให้ผลเช่นเดียวกับการใช้ความร้อน แต่ไม่ ท�ำให้อณ ุ หภูมเิ ปลีย่ นแปลง และไม่ทำ� ให้คณ ุ ภาพ หรือรูปลักษณ์ของ ผลิตภัณฑ์เสียไป และการฉายรังสีสามารถกระท�ำได้ภายหลังจาก บรรจุ เป็นการป้องกันมิให้ผลิตภัณฑ์ปนเปื้อนอีกครั้ง อย่างไรก็ดี การฉายรังสีอาจไม่มีความจ�ำเป็น หากกระบวนการอืน่ ให้ผลเป็นทีน่ า่ พอใจอยูแ่ ล้ว เช่น การใช้ความร้อนกับของเหลว ประเภทนมและผลิตภัณฑ์นม และในบางกรณี การฉายรังสีเพียงอย่าง เดียวอาจไม่พอ ควรกระท�ำควบคูก่ บั วิธกี ารอืน่ เช่น การแช่เย็นส�ำหรับ ผลิตภัณฑ์เนื้อ ปลา ผักสด เป็นต้น

ดร.สุวิมล เจตะวัฒนะ

นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ ช�ำนาญการพิเศษ

ในด้านความปลอดภัย การฉายรังสีได้รับการทดสอบอย่าง ละเอียดถี่ถ้วนมากกว่าวิธีการอื่นที่ใช้กับอาหารว่า มีความปลอดภัย และไม่กอ่ ให้เกิดความเป็นพิษ ทัง้ ในด้านจุลชีววิทยา และปัญหาทาง โภชนาการ ท�ำให้อาหารฉายรังสีเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก ทั้งนี้ ดร.สุวิมล ฝากถึงผู้ประกอบการที่ต้องการใช้ประโยชน์ จากรังสีในการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์วา่ การฉายรังสีเป็นวิธี การถนอมอาหารอย่างหนึ่งที่ได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย ส�ำหรับผู้บริโภค และอาหารปลอดภัย การฉายรังสีจะช่วยลดจ�ำนวน หรือก�ำจัดจุลนิ ทรียใ์ นอาหาร ลดอัตราความเจ็บป่วยทีเ่ กิดจากอาหาร ลดการสูญเสียอาหารจากการเน่าเสีย ทั้งยังคงคุณค่าทางโภชนาการ ในอาหารเอาไว้ได้ อาจกล่าวได้ว่า การฉายรังสีอาหาร มีศักยภาพใน การเตรียมอาหารพร้อมรับประทานที่มีความปลอดภัย มีคุณค่าทาง โภชนาการ และสะดวกในการใช้งานโดยเฉพาะในด้านความมั่นคง และการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย อย่างไรก็ตาม แม้อาหารฉายรังสีจะได้รับการยอมรับ แต่ กฎหมายควบคุมอาหารฉายรังสีในแต่ละประเทศจะแตกต่างกันไป เช่น ชนิดของอาหารที่อนุญาตให้มีการฉายรังสี และรายละเอียดที่ ต้องระบุบนฉลากของอาหารฉายรังสี และในปัจจุบันทั่วโลกมี แนวโน้มเปลี่ยนจากการฉายรังสีแกมมา เนื่องจากมีความ ยุง่ ยากในการจัดหาและขนส่งต้นก�ำเนิดรังสีแกมมา มาเป็นการ ฉายรังสีจากเครื่องเร่งอนุภาคอิเล็กตรอนหรือเอกซเรย์ ซึ่งมี ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี เ ครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคมากกว่ า ส�ำหรับประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) มีแผนที่จะลงทุนติดตั้งเครื่องเร่งอนุภาค อิเล็กตรอน (E-beam accelerator) คาดว่าภายใน 3 ปี จะ สามารถให้บริการฉายรังสีเอกซ์ และรังสีอเิ ล็กตรอนจากเครือ่ งเร่ง อนุภาคอิเล็กตรอนกับผูป้ ระกอบการ รวมถึงใช้ในงานวิจยั และ พัฒนาภายในประเทศด้วย February-March 2016, Vol.42 No.245

29 <<<


&

Inspiration

เครื่องวิเคราะห์การทรงท่าของทารก ฝีมอื นักวิจยั รายแรกของไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

การ

ตรวจคัดกรองเด็กทารกที่มีพัฒนาการช้าเป็นสิ่งจ�ำเป็น หากตรวจพบได้เร็วจะช่วยลดความพิการถาวรลงได้ แต่การคัดกรองที่แ ม่นย�ำยังมีข้อจ�ำกัด โดยเฉพาะในกรณีที่มีความผิดปกติไม่รุน แรง หรือมีการแสดงออกของอาการไม่ชัดเจน

องค์การอนามัยโลกได้ประมาณการไว้วา่ ปัญหาความพิการด้านใดด้านหนึง่ ในระดับปานกลางจนถึงระดับรุนแรงจะเกิดขึน้ กับประชากร เด็กมากถึงร้อยละ 5 ซึ่งการประเมินพัฒนาการในด้านความสามารถในการทรงท่าและการเคลื่อนไหวร่างกายส่วนมากยังต้องท�ำโดย แพทย์เฉพาะทางที่มีประสบการณ์จากการสังเกตการเคลื่อนไหวของทารกด้วยตาเปล่า จึงเป็นที่มาของการท�ำวิจัยและพัฒนา “เครื่องวิเคราะห์ การทรงท่าของทารก” หรือเครือ่ งสแกนเด็กพิการทางสมอง โดยทีมนักวิจยั จากสถาบันวิทยาการหุน่ ยนต์ภาคสนาม (ฟีโป้) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

>>>30

February-March 2016, Vol.42 No.245


&

Inspiration ดร.ปราการเกียรติ ยังคง อาจารย์ ประจ�ำสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) หัวหน้าทีมวิจยั เปิดเผยว่า การพัฒนา ต้นแบบเครื่องวิเคราะห์การทรงท่าดังกล่าว ตอบโจทย์ให้กับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการ ฟื้นฟูการเคลื่อนไหวของเด็ก โดยเป็นเครื่อง ทีใ่ ช้วดั ความสมมาตรของการทรงท่า ซึง่ เป็น สิ่งที่เด็กควรต้องมีพัฒนาการที่สมวัย เช่น ทารกในวัยก่อนสามเดือนจะมีการทรงท่า นอนหงายที่ไม่สมมาตร เอียงซ้ายขวาสลับ ไปมา แต่เมื่อหลังอายุสามเดือนเด็กปกติจะ มีการทรงท่าทีม่ กี ารลงน�ำ้ หนักตัวอย่างสมดุล อยูใ่ นแนวกลางตัวได้มากและนานขึน้ ดังนัน้ ต้นแบบเครือ่ งวิเคราะห์การทรงท่าของทารก ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ นีจ้ ะถูกน�ำไปใช้สำ� หรับการตรวจ คัดกรองเด็กทารกที่มีพัฒนาการช้าในด้าน การทรงท่าและการเคลื่อนไหว ซึ่งเหมาะกับ เด็กทารกในระหว่างอายุ 0-4 เดือน เครือ่ งวิเคราะห์การทรงท่ามีลกั ษณะ คล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร มีการติดตั้งกล้อง และระบบเซนเซอร์ไว้ภายใน โดยน�ำเด็ก ทารกวางลงบนกระจกใสที่อยู่ด้านบนเบื้อง ต้นพื้นที่สัมผัสระหว่างทารกกับเครื่องจะ ท�ำการวิเคราะห์ในท่านอนคว�่ำและท่านอน หงาย การเอียงซ้าย เอียงขวา หรือ การทรง

ท่าของเด็กทารกจะถูกเก็บบันทึกด้วยเทคนิค การประมวลผลภาพดิ จิ ทั ล เพื่ อ ใช้ ใ นการ ค�ำนวณหาค่าดัชนีความสมมาตร และเครือ่ ง จะท�ำการจัดเก็บข้อมูลและถ่ายภาพการ เคลื่อนไหวของเด็กในท่าทางต่าง ๆ เพื่อให้ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการฟื้นฟูเด็กน�ำไป ใช้ประกอบในการวินิจฉัยต่อไป ว่าเด็กคน ดังกล่าวมีพัฒนาการสมวัยหรือมีแนวโน้ม ความผิดปกติทางสมองหรือไม่ เป็นการช่วย คัดกรองในเบื้องต้น หากเราสามารถพบ เด็กทารกทีม่ พี ฒ ั นาการช้าได้เร็วเท่าไหร่กจ็ ะ ช่วยให้การรักษาได้เร็วและถูกต้องตั้งแต่ ต้นทาง หากพบปัญหาดังกล่าวเมือ่ เด็กโตขึน้ แล้วจะสามารถท�ำได้เพียงรักษาตามอาการ เท่านั้นซึ่งเป็นการรักษาที่ปลายเหตุ ดร.ปราการเกียรติ กล่าวว่า เบือ้ งต้น เครื่องวิเคราะห์การทรงท่าถูกน�ำไปทดสอบ เปรียบเทียบการทรงท่าของเด็กปกติที่มีอายุ ระหว่าง 2 เดือน กับ 4 เดือน พบว่า ค่าดัชนี ความสมมาตรของร่ า งกายในกลุ ่ ม เด็ ก แตกต่างกัน โดยกลุ่มเด็กสุขภาพดีจะมีค่า ดัชนีความสมมาตรต�ำ่ (ทรงท่าดี) ทัง้ ท่านอน หงายและท่ า นอนคว�่ ำ นอกจากนี้ เ ครื่ อ ง วิเคราะห์การทรงท่ายังช่วยวิเคราะห์พื้นที่ สัมผัสของเด็กที่กระท�ำกับพื้น โดยได้รับการ ออกแบบให้ใช้หลอดไฟแอลอีดี สีเขียวติดตัง้ เข้ากับด้านข้างของแผ่นอะคริลิคที่อยู่ด้าน บนของเครือ่ ง ท�ำให้แสงสะท้อนกลับหมดไม่ ส่องเข้าตาเด็กทารกและท�ำให้ได้ภาพพื้นที่ สัมผัสทีแ่ นบกับแผ่นอะคริลคิ เกิดแสงสีเขียว ส�ำหรับการค�ำนวณหาค่าดัชนีความสมมาตร การทดลองวัดพื้นที่สัมผัสเบื้องต้น เกิดขึ้น ณ โรงพยาบาลส�ำโรงการแพทย์ กับ เด็กทารกที่มีอายุระหว่าง 0-8 เดือน จ�ำนวน 20 คน พบว่า ในขณะที่ทารกทรงตัวในท่า นอนหงายบริเวณส่วนหัวจะถ่ายแรงในทิศ ตรงข้ามเสมอ ท�ำให้การค�ำนวณดัชนีความ ไม่สมมาตรได้ค่าที่ไม่เหมาะสม จึงต้องตัด พื้นที่ส่วนนี้ออกไปและใช้เพียงพื้นที่สัมผัส ส่ ว นล� ำ ตั ว ในการค� ำ นวณข้ อ มู ล ที่ น� ำ มา วิเคราะห์ภายหลังปรับปรุงแล้วพบว่า ทารก

ทีม่ อี ายุมากกว่า 5 เดือน จะวัดการทรงท่าได้ ยาก เนือ่ งจากทารกเริม่ พลิกตัวหรือคลานเอง ได้ แ ล้ ว ขณะที่ ท ่ า นอนคว�่ ำ มี ค ่ า ความ แปรปรวนของข้อมูลสูง จึงไม่เหมาะที่จะใช้ ในการหาค่า และเมื่อเปรียบเทียบภาพของ พื้นที่สัมผัสในท่านอนหงายของทารกอายุ 2 เดือน กับ 4 เดือน พบว่า ทารกมีลักษณะ การทรงท่าและการลงน�้ำหนักตัวที่แตกต่าง กัน คือ ดัชนีความสมมาตรของทารกอายุ 2 เดือน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.601 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 6.926 ในขณะที่ทารก อายุ 4 เดือน มีค่าดัชนีความสมมาตรเฉลี่ย เท่ากับ 5.585 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 2.795 ท�ำให้สามารถสรุปได้วา่ ทารก อายุ 4 เดือน สามารถทรงท่าได้สมมาตร มากกว่า ทัง้ นี้ ต้นแบบเครือ่ งวิเคราะห์การทรง ท่าของทารกนีไ้ ด้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง มีมาตรฐานเครือ่ งมือแพทย์รองรับและอยูใ่ น ระหว่างการจดสิทธิบัตร คาดว่าน่าจะส�ำเร็จ ลุล่วงในปี 2559 และเป็นครื่องวิเคราะห์ การทรงท่าส�ำหรับทารกเครื่องแรกโดยฝีมือ นักวิจัยไทย February-March 2016, Vol.42 No.245

31 <<<


&

Innovation

เผยโฉมเทคโนโลยีสดุ ล�ำ้ จาก กองบรรณาธิการ

เพื่อ

แสดงให้เ ห็นถึงความมุ่งมั่นในพันธกิจที่ยึดถือมาอย่างยาวนาน บ๊อช ประเทศไทย จัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ ที่เป็นไฮไลต์ ภายใต้แนวคิด “เทคโนโลยีเพื่อชีวิต” (Invented for Life) เพื่อ สนองตอบการใช้ชีวิตและธุรกิจอุตสาหกรรมในยุค 4.0

BOSCH

ทั้งนี้บ๊อชได้น�ำเสนอข้อมูลจากแผนกธุรกิจหลักทั้ง 6 หน่วย ธุรกิจ โดยชูประเด็นหลักด้านความก้าวหน้าใหม่ ๆ ของโซลูชนั่ แห่งการ ขับเคลื่อน (mobility solutions) รวมถึงเทคโนโลยีการเชื่อมต่อด้วย อินเทอร์เน็ต (connected technology) ซึ่งมีบทบาทผลักดันให้เกิด นวัตกรรมต่าง ๆ อีกมากมาย

โซลูชั่นแห่งการขับเคลื่อน (mobility solutions)

ในปีที่ผ่านมา บ๊อชได้ลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนากว่า 5 พันล้านยูโร หรือประมาณ 192,000 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ10 ของยอดขายรวมของกลุ่มบริษัทบ๊อช โดยเฉพาะเมื่อ เร็วๆ นี้ บ๊อชได้เปิดศูนย์วิจัยแห่งใหม่ที่เมืองเรนนิงเก้น ประเทศ เยอรมนี ซึ่งใช้เงินลงทุนมูลค่า 310 ล้านยูโร และจะด�ำเนินงานโดย ยึดคติพจน์ที่ว่า “Connected for Millions of Ideas” หรือ “เชื่อมโยง กัน ปันนับล้านไอเดีย” โดยท�ำหน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลางเครือข่ายการวิจยั และพัฒนาระดับโลกของบ๊อช ปั จ จุ บั น บ๊ อ ชมี เ ครื อ ข่ า ยวิ ศ วกรซอฟต์ แ วร์ 15,000 คน ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาโซลูชั่น Internet of Things (IoT) 3,000 คน และมีแผนทีจ่ ะว่าจ้างบัณฑิตทีผ่ า่ นการอบรมแล้วอีกกว่า 12,000 คนทั่วโลก บ๊อชไม่เพียงแต่เป็นผู้น�ำตลาดโลกในด้านอุปกรณ์ตรวจจับ เครื่องกลระดับไมโคร (micromechanical sensors) เท่านั้น แต่ยัง ขยายขอบเขตไปสู่ธุรกิจด้านซอฟต์แวร์ด้วยในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากเล็งเห็นศักยภาพมหาศาลในธุรกิจบริการที่จะเกิดขึ้นต่อ เนื่องจากการขับเคลื่อนด้วยอินเทอร์เน็ต (connectivity) >>>32

February-March 2016, Vol.42 No.245

แผนกอะไหล่ทดแทนยานยนต์ในประเทศไทยได้อวดโฉม เทคโนโลยีอันล�้ำหน้าทางด้านอะไหล่ยานยนต์ต่าง ๆ มากมาย อาทิ แบตเตอรีช่ นิดต่าง ๆ ทีม่ พี ลังงานจุมากกว่าเดิมเพือ่ รองรับสถานการณ์ ทีจ่ ำ� เป็นต่าง ๆ รวมถึงใบปัดน�ำ้ ฝนทีผ่ สานเทคโนโลยียางปัดน�ำ้ ฝนอัน ล�ำ้ สมัยกับการเคลือบแบบพิเศษทีม่ สี ทิ ธิบตั รเฉพาะ และหัวเทียนชนิด ต่าง ๆ ที่ผ่านกรรมวิธีเชื่อมด้วยแสงเลเซอร์ ท�ำให้มีอายุการใช้งานที่ ยาวนานกว่าเดิม และมีประสิทธิภาพมากขึ้น บ๊อชยังได้สนับสนุนแคมเปญ ‘Stop the Crash’ ของหน่วยงานทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยด้านยานยนต์ระดับโลกอย่าง Global NCAP (Global New Car Assessment Program) เพื่อ ส่งเสริมการขับขีอ่ ย่างปลอดภัย จากข้อมูลของ NCAP พบว่า ทุก ๆ วัน อุบัติภัยบนท้องถนนได้คร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 3,000 คนทั่วโลก บ๊อช เป็นผู้คิดค้นและจดสิทธิบัตรระบบเบรค ABS (Anti-Lock Braking System) รายแรกของโลกในการควบคุมรถและคงเสถียรภาพการ ทรงตัวให้คงอยู่ได้ ระบบนี้เป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ของโซลูชั่นแห่งการ


&

Innovation

ขับเคลื่อน ทั้งนี้ระบบควบคุมเสถียรภาพการทรงตัวของรถ (Electronic Stability Program: ESP) ยังถือเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีพื้นฐาน ส�ำหรับระบบการช่วยเหลือผูข้ บั ขี่ ซึง่ มีหลากหลาย เช่น ระบบเบรคใน สถานการณ์ฉุกเฉิน ที่จะมีส่วนช่วยผู้ขับขี่ให้รอดพ้นจากอันตรายใน กรณีที่เกิดสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ

เทคโนโลยีการเชื่อมต่อด้วยอินเทอร์เน็ต (connected technology)

แผนกขับขี่และควบคุม (drive and control unit) ของบ๊อชมี ส่วนช่วยส่งเสริมความก้าวหน้าด้านวิศวกรรมโรงงานและเครื่องกล ต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วโลก ด้วยเทคโนโลยีอันล�้ำสมัย ผสานเข้ากับความรู้ และช�ำนาญทางอุตสาหกรรมทีโ่ ดดเด่น สิง่ เหล่านีช้ ว่ ยเสริมสมรรถนะ การท�ำงานให้กับเครื่องจักร ประสิทธิภาพของผู้ผลิต และผู้ใช้งาน ผลิตภัณฑ์นั้นโดยตรง (end user) ปัจจุบันบ๊อชเดินหน้าเข้าสู่ยุค อุตสาหกรรม 4.0 (industry 4.0) ซึ่งเป็นยุคที่มนุษย์ เครื่องจักร และ อินเทอร์เน็ตเชื่อมโยงถึงกัน แขนกลต่าง ๆ ที่น�ำมาแสดงในงาน นิทรรศการแสดงให้เห็นว่า การควบคุมสายการผลิตต่าง ๆ สามารถ ท�ำได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่มุมใดของโลก โดยผ่านทาง อินเทอร์เน็ต การขับเคลื่อนด้วยอินเทอร์เน็ตนั้นแทรกซึมอยู่ในทุกวงการ ธุรกิจ บ๊อชจึงมีบทบาทส�ำคัญในการเชือ่ มโยงเมืองทัง้ เมืองเข้าด้วยกัน

และได้นำ� ยานยนต์ตา่ ง ๆ เข้าสูร่ ะบบออนไลน์ ช่วยให้สามารถควบคุม ระบบการท� ำ ความร้ อ นได้ ด ้ ว ยแอปพลิ เ คชั่ น และรวบรวมกลุ ่ ม ซัพพลายเออร์ให้เข้ามาอยู่ในซัพพลายเชน นอกจากนี้ ยังได้คิดค้น เตาไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ ภายในบ้านที่สามารถเชื่อมต่อกัน ผ่านอินเทอร์เน็ต ส่วนแผนกเครือ่ งมือไฟฟ้า ได้เปิดศักราชใหม่ของ “ระบบชาร์จ แบตแบบไร้สาย” ขึ้นเป็นครั้งแรกของโลก ด้วยระบบการชาร์จระบบ ไฟฟ้าเหนี่ยวน�ำ (inductive charging) แบบไร้สาย ที่ช่วยประหยัด เวลาให้กับผู้ใช้ โดยสามารถชาร์จแบตเตอรี่ในระหว่างเปิดเครื่อง ท�ำงานได้ และอีกนวัตกรรมเด็ดอีกอย่างของบ๊อช คือ อุปกรณ์เครื่อง วัดเลเซอร์ ที่สามารถเชื่อมต่อกับระบบดิจิทัลอื่น ๆ ด้วยโซลูชั่น อัจฉริยะสามารถส่งข้อมูลและบันทึกผลการวัดต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย ระบบรักษาความปลอดภัยของบ๊อชนั้น มีบทบาทส�ำคัญใน ยามที่อัตราการเกิดอาชญากรรมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ รวมไปถึงเหตุการณ์ ความไม่สงบที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง เทคโนโลยีอันล�้ำสมัยด้านระบบรักษา ความปลอดภัยของบ๊อชช่วยให้สามารถบันทึกและจับภาพที่คมชัด อย่างยอดเยีย่ ม ผ่านเครือข่ายกล้องวงจรปิดจอกว้างทีเ่ ชือ่ มโยงถึงกัน สร้างความอุ่นใจให้กับชีวิตของผู้คนได้ดียิ่งขึ้น โดยผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่สามารถเรียกดูข้อมูลได้ทางเว็บไซต์ (web-enabled product) และเข้าถึงผ่านบริการระบบอินเทอร์เน็ต จะ เป็นทัพหน้าทีแ่ ข็งแกร่งของเราในการพัฒนาระบบขับเคลือ่ น และการ เชื่อมต่อกันผ่านอินเทอร์เน็ต (connectivity) บ๊อชยังคงมุง่ มัน่ ในการน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ ใหม่ ๆ ที่มีเทคโนโลยีล�้ำสมัย โซลูชั่นที่สามารถ เชื่อมต่อถึงกันได้ รวมทั้งโซลูชั่นด้านซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ ส�ำหรับระบบท�ำความร้อนอัจฉริยะ และ ระบบที่ใช้ในอาคาร ระบบที่รองรับการเชื่อมต่อกัน ระหว่างอุตสาหกรรม (connected industry) และ ระหว่ า งอุ ป กรณ์ เ คลื่ อ นที่ ต ่ า ง ๆ (connected mobility) February-March 2016, Vol.42 No.245

33 <<<


&

Management

ตอนที่

1

คงคลัง

เทคนิคการบริหารจัดการ

การขนส่งและสินค้า

เศรษฐภูมิ เถาชารี

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยนานาชาติพระนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โลจิสติกส์

คื อ ส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการโซ่ อุ ป ทาน โดยท� ำ การวางแผนเพื่ อ น� ำ ไปปฏิ บั ติ และ ท�ำการควบคุมการไหลเวียนของสินค้า การบริการ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จากจุดเริ่มต้นไปจนถึงจุดที่มีการบริโภค เพื่อ ที่จะบรรลุถึงความต้องการของลูกค้า โลจิสติกส์ หรือการส่งก�ำลังบ�ำรุง มี การใช้สลับไปมาในวงการธุรกิจและอุตสาหกรรมอยู่ตลอดมา โซ่อุปทาน คือ อนุกรมของเหตุการณ์ที่มุ่งมั่นในการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ซึ่งจะ รวมเอาการจั ด หา การผลิ ต การกระจายสิ น ค้ า และการก� ำ จั ด ทิ้ ง รวมถึ ง กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การขนส่ง การจัดเก็บ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

โซ่อุปทานในมุมมองเชิงกระบวนการธุรกิจ

เมื่อเราจะสร้างโซ่อุปทานให้เป็นแนวคิดใหม่ในยุคนี้แล้ว จะ ต้องมีแนวคิดที่เป็นพื้นฐานในการคิดเพื่อประยุกต์ใช้ในทุกธุรกิจ อุตสาหกรรม (cross industry) ดังนั้นเราจึงมองโซ่อุปทานในเชิง กระบวนการธุรกิจ มองกระบวนการธุรกิจว่า เป็นกระบวนการที่ สร้างสรรค์คุณค่าให้กับลูกค้า โดยแบ่งออกเป็นกระบวนการเพิ่ม คุณค่า (value added process) และกระบวนการโลจิสติกส์ (logistics process) >>>34

February-March 2016, Vol.42 No.245

กระบวนการเพิ่มคุณค่า (value added process) จะเป็น กระบวนการที่แปรสภาพวัตถุดิบไปเป็นผลิตภัณฑ์ หรือเป็นชิ้นส่วน วัตถุดิบที่มีคุณค่า พร้อมที่จะผ่านกระบวนการเพิ่มคุณค่า เพื่อใช้ใน ขัน้ ตอนต่อไป กระบวนการเพิม่ คุณค่านีจ้ ะหมายถึง เครือ่ งจักรประเภท ต่าง ๆ กระบวนการผลิตต่าง ๆ ซึ่งจะเกี่ยวพันกับคุณค่าหรือประโยชน์ โดยตรงต่อลูกค้า เพราะคุณลักษณะของกระบวนการเหล่านี้จะ ตรงกับคุณค่า ซึ่งเป็นลักษณะและข้อก�ำหนดในผลิตภัณฑ์ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ดังนั้นบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวพันกับ กิจกรรมตรงนีจ้ ะต้องมีความรู้ ความสามารถเฉพาะทางในกระบวนการ ผลิตแต่ละชนิด โดยใช้ความรู้เชิงเทคนิคและเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อ ก่อให้เกิดการบริหารจัดการในกระบวนการเพิ่มคุณค่า ส่วนกระบวนการโลจิสติกส์ (logistics process) นั้น ไม่ได้มี การเพิ่มคุณค่าหรือประโยชน์ในเชิงคุณลักษณะการใช้งานในตัว ผลิตภัณฑ์เลย แต่กระบวนการโลจิสติกส์จะช่วยสนับสนุนในการ เคลื่อนย้ายขนถ่ายวัตถุดิบ ชิ้นส่วน จากกระบวนการเพิ่มคุณค่าหนึ่ง ไปยังกระบวนการเพิม่ คุณค่าหนึง่ ตลอดทัง้ กระบวนการธุรกิจทัง้ หมด หรือทั้งโซ่อุปทาน ดังแสดงในภาพที่ 1


&

Management ฝ่ายจัดซื้อ ผู้ส่งมอบ

ฝ่ายผลิต องค์กร

ฝ่ายขาย ลูกค้า

ภาษากลาง (common language) เอาไว้ส�ำหรับสื่อสารข้อมูล ตลอด จนความคิดและความเข้าใจ

ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของประเทศไทย

การไหลของวัตถุดิบ LOGISTICS การไหลของข้อมูล

การควบคุมโซ่อุปทาน โดย Logistics

▲ ภาพที่ 1 แสดงกระบวนการโลจิสติกส์ภายในห่วงโซ่อุปทาน

ส�ำหรับบุคลากรในการบริหารจัดการกระบวนการโลจิสติกส์นี้ ไม่ได้ระบุเฉพาะลงไปในกระบวนการเพิม่ คุณค่าแต่ละชนิด การจัดการ กระบวนการโลจิสติกส์นี้ ต้องใช้บคุ คลทีม่ ี หรือใช้ความรูใ้ นการจัดการ การด�ำเนินการทั่วไป การจัดการผลิต การจัดการจัดซื้อจัดหา การ จัดการขนส่ง หรือความรูใ้ นการจัดการแบบดัง้ เดิม แต่จะต้องมีมมุ มอง ที่เปลี่ยนไปจากแบบดั้งเดิม ที่เป็นแบบล�ำดับขั้น และเป็นแบบหน้าที่ การท�ำงาน มาเป็นการด�ำเนินงานแบบการบริหารกระบวนการธุรกิจ (business process) หรือโซ่อุปทาน (supply chain) สิ่งที่แตกต่าง จากแนวคิดแบบดั้งเดิมที่คิดเป็นแบบแผนก (department-centric) คือ การที่ทุกแผนกในองค์กรมารวมตัวกันสร้างกระบวนการธุรกิจ ที่มีการเชื่อมโยงกัน เหมือนกับเป็นการสร้างองค์กรเสมือนขึ้นมา ภายในบริษัทหรือองค์กร และทุกแผนกที่มีส่วนเกี่ยวข้องจะเป็น กระบวนการย่อยของกระบวนการ

กรอบการทำ�งานของกระบวนการในโซ่อุปทาน

การบริหารการจัดการโซ่อุปทานนั้น ขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ของ แต่ละองค์กร คงมีแต่องค์กรเท่านั้นที่ตัดสินใจได้ว่าจะใช้กลยุทธ์ ใด เพื่อที่จะก�ำหนดว่าจะออกแบบหาจุดที่เหมาะสม (optimal) และ วั ด ประเมิ น โซ่ อุ ป ทานได้ อ ย่ า งไร และตั ด สิ น ใจว่ า กิ จ กรรมของ กระบวนการธุรกิจใดจะถูกพิจารณาว่าเป็นส่วนหนึ่งของโซ่อุปทาน และกิ จ กรรมใดที่ อ ยู ่ น อกเหนื อ จากขอบเขตของกระบวนการใน โซ่อปุ ทาน ซึง่ มีวธิ กี ารทีแ่ ตกต่างกันมากมายในการวิเคราะห์และสร้าง แบบจ�ำลองของโซ่อุปทาน โซ่อุปทานนั้นมีลักษณะที่ส�ำคัญอยู่อย่าง หนึ่ง คือ การบูรณาการ (integration) เป็นกิจกรรมที่รวมเอาหลายสิ่ง หลายอย่าง ถึงแม้จะไม่เหมือนกันเลย แต่มจี ดุ มุง่ หมายเดียวให้มาอยู่ รวมกันได้ และแนวคิดการบูรณาการจะใช้แนวคิดของการท�ำให้เป็น มาตรฐาน (standardization) สิ่งแรกที่ควรค�ำนึงถึงในการจัดการ โซ่อุปทาน คือ การสร้างมาตรฐานของการสื่อสารกัน และคงจะไม่ใช่ แค่การสื่อสารข้อมูลเท่านั้น แต่จะเป็นการสื่อสารความคิดและความ เข้าใจของสมาชิกในโซ่อปุ ทานด้วยกันเอง เพราะการบริหารจัดการใน โซ่อปุ ทานเป็นหลักส�ำคัญ ดังนัน้ การจัดการโซ่อปุ ทานจึงจ�ำเป็นต้องมี

เนื่องจากในปัจจุบันต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของประเทศไทยประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์ ของ GDP ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่งขันที่ส�ำคัญ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา 9 เปอร์เซ็นต์ ประเทศญี่ปุ่น 11 เปอร์เซ็นต์ สหภาพยุโรป 11 เปอร์เซ็นต์ ประเทศอินเดีย 13 เปอร์เซ็นต์ ของ GDP ตามล�ำดับ ดังแสดงในภาพที่ 2 ข้างล่างนี้ ต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP โดยเปรียบเทียบ China Thailand India EU Japan USA

21% 18% 13% 11% 11% 9%

Source: The Economist, June 17th 2006 & NESDB ▲ ภาพที่ 2 แสดงต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP โดยเปรียบเทียบ

โดยมีตน้ ทุนค่าขนส่งสินค้า ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง เป็นองค์ประกอบหลัก ดังแสดงในภาพที่ 3 ข้างล่างนี้ % 20.00 18.00 16.00 14.00 12.00 10.00 8.00 6.00 4.00 2.00 0.00

19.4

20

19.6

18.1

17.7

17.3

18.3

19.1

18.9

9.9

8.8

8.4

8

8.8

8.7

8.6

8.5

9.7

10.1

7.9

8.1

7.9

7.7

7.7

7.7

8.5 8.1

1.8

1.8

1.8

1.6

1.6

1.6

1.7

1.7

1.7

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

ตันทุนโลจิสติกส์รวม ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า ต้นทุนการเก็บรักษา สินค้าคงคลัง ต้นทุนบริหารจัดการ โลจิสติกส์

ที่มา สศช.

▲ ภาพที่ 3 แสดงองค์ประกอบหลักของต้นทุนโลจิสติกส์รวม

การขนส่ง (transportation) เป็นการเคลื่อนย้ายคน สิ่งของ หรือสินค้าจากทีห่ นึง่ ไปยังอีกทีห่ นึง่ โดยสามารถแบ่งวิธกี ารขนส่งออก ได้ 5 รูปแบบ ดังนี้คือ 1. การขนส่งทางรถบรรทุก (trucking) อุตสาหกรรมการผลิต ส่วนใหญ่จะขนส่งสินค้าด้วยวิธีนี้เป็นหลัก เนื่องจากมีความยืดหยุ่น และมีประโยชน์หลายด้าน บริษทั ขนส่งได้นำ� ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการตรวจสอบสภาพอากาศ ค้นหาเส้นทางขนส่งที่เหมาะสม และ วิเคราะห์วิธีการขนส่งที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด February-March 2016, Vol.42 No.245

35 <<<


&

Management 2. การขนส่งทางรถไฟ (railroads) เหมาะส�ำหรับการขนส่ง สินค้าจ�ำนวนมาก มีขนาดใหญ่ หรือมีน�้ำหนักมาก โดยใช้ตู้เสบียง รถไฟ หรือตัวฐานส�ำหรับบรรจุสินค้าในการขนส่ง 3. การขนส่งทางอากาศ (airfreight) ได้มีการขยายตัวอย่าง กว้างขวาง เห็นได้จากการขยายกิจการของบริษัทขนส่งชั้นน�ำระดับ โลก ตัวอย่างเช่น บริษัท Federal Express บริษัท UPS และบริษัท DHL วิธีการนี้เป็นการขนส่งที่เชื่อถือได้ และสะดวกรวดเร็ว เหมาะ ส�ำหรับสินค้าที่มีน�้ำหนักเบา เสียง่าย เช่น ยา ดอกไม้ ผลไม้ หรือ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ 4. การขนส่งทางน�้ำ (waterways) เป็นวิธีการขนส่งที่เก่าแก่ ที่สุด โดยเคลื่อนย้ายผ่านแม่น�้ำ คลอง ทะเลสาบ ชายฝั่งทะเล และ มหาสมุทรที่เชื่อมกับประเทศต่าง ๆ เหมาะส�ำหรับสินค้าที่มีปริมาณ มากหรือมีมูลค่าต�่ำ เช่น แร่เหล็ก เมล็ดพืช ซีเมนต์ ถ่านหิน เคมีภัณฑ์ หินปูน และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม วิธีการนี้เหมาะสมเมื่อต้นทุน การขนส่งมีความส�ำคัญมากกว่าระยะเวลาที่ใช้ 5. การขนส่งทางท่อ (pipelines) มีความส�ำคัญในการขนส่ง สินค้าประเภทน�้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม รวมทั้งเคมีภัณฑ์ต่าง ๆ

บทบาทของคลังสินค้าและประเภทของคลังสินค้า

เป้าหมายหลักของคลังสินค้าส่วนใหญ่ ก็คือ การเป็นจุดพัก ในการเคลือ่ นทีข่ องสินค้าผ่านโซ่อปุ ทานถึงลูกค้าปลายทาง โดยมีการ ถือครองสินค้าที่แตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ เนื่องจากการถือครอง สินค้าเป็นเวลานานใน Modern Trade นั้น นอกจากจะไม่ก่อให้เกิด มูลค่าเพิม่ อันใดให้กบั ลูกค้าแล้ว ยังจะเป็นการท�ำให้ตน้ ทุนเพิม่ สูงขึน้ เนื่องจากการเก็บสินค้าเป็นเวลานานจะก่อให้เกิดต้นทุนที่สูงขึ้นตาม ระยะเวลาทีส่ นิ ค้าคงอยูใ่ นคลังสินค้า ยกตัวอย่างเช่น ค่าบริหารจัดการ ค่าประกันภัย ค่าระบบสาธารณูปโภค เช่น ค่าน�้ำ ค่าไฟฟ้า เป็นต้น ดังนัน้ รูปแบบของศูนย์กระจายสินค้าจึงเป็นทีน่ ยิ มในร้านค้าปลีกสมัย ใหม่ (modern trade) หรือร้านสะดวกซื้อ (mini-mart)

บทบาทของคลั ง สิ น ค้ า ในปั จ จุ บั น จึ ง มี ค วามหลากหลาย ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของคลังสินค้า แต่ไม่ว่าจะมีวัตถุประสงค์ใด องค์ประกอบพื้นฐานของคลังสินค้ามีอยู่ 3 องค์ประกอบหลัก คือ 1. เป็นสถานทีพ่ กั สินค้า ไม่วา่ คลังสินค้าจะถูกออกแบบมา เพื่อวัตถุประสงค์ใด ทุกคลังสินค้าจะตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเป็น สถานที่พักสินค้า หากแต่การบริหารจัดการที่ดีจะท�ำให้มีการระบาย สินค้าออกจากคลังสินค้าโดยเร็วทีส่ ดุ เพือ่ ลดรอบการเก็บสินค้าคงคลัง (inventory turn) ในปัจจุบันเนื่องด้วยอิทธิพลแนวความคิดแบบการ ท�ำงานแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT) ท�ำให้มีความพยายาม ในการลดการถือครองสินค้าลงจนท�ำให้เกิดการพัฒนารูปแบบการจัด ตารางการส่งสินค้าและปรับลดระยะเวลาในสถานที่พักสินค้าลงให้ มากที่สุด จนกลายเป็นรูปแบบของศูนย์กระจายสินค้า (distribution center) 2. การให้บริการมูลค่าเพิ่ม คือ กิจกรรมต่าง ๆ ที่ให้บริการ แก่ลูกค้า นอกเหนือจากการให้บริการเป็นจุดที่พักสินค้าระหว่างทาง ตัวอย่างการให้บริการมูลค่าเพิม่ ได้แก่ บรรจุภณ ั ฑ์ การจัดเรียงสินค้า ตามใบสั่งซื้อ การตรวจสอบ (inspection) ตามความต้องการของ ลูกค้า 3. การกระจายสินค้า คือ การบริหารจัดการรถและเส้นทาง การเดินรถให้มีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพสูงสุด

การให้บริการมูลค่าเพิ่ม (value-added processing)

นอกเหนือจากการเป็นสถานที่เก็บสินค้าแล้ว สิ่งหนึ่งที่ยาก จะแยกออกได้ ก็คือ การให้บริการมูลค่าเพิ่มที่นอกเหนือไปจาก กิจกรรมหลักในคลังสินค้า อันเป็นการให้บริการทีจ่ ำ� เพาะส�ำหรับลูกค้า แต่ละรายที่แตกต่างกัน (customization) การให้บริการเสริมนี้นับวัน จะยิง่ เพิม่ มากขึน้ เนือ่ งจากคลังสินค้าเป็นเสมือนจุดนัดพบของสินค้า และวัตถุดบิ ต่าง ๆ ดังนัน้ การลดระยะเวลาในการเคลือ่ นย้ายและเวลา >>>36

February-March 2016, Vol.42 No.245


&

Management

ที่เสียไป เนื่องมาจากการส่งมอบจึงยังผลให้เกิดกิจกรรมต่าง ๆ ขึ้นใน คลังสินค้า รวมไปถึงการรองรับการ Outsource ในกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น 1. การรับประกอบเล็กๆ น้อยๆ (light assembly) เป็น บริการเสริมทีผ่ ผู้ ลิตสินค้าอาจต้องการให้คลังสินค้าท�ำหน้าทีป่ ระกอบ เพียงเล็กน้อยก่อนส่งสินค้าออก 2. งานบรรจุภณ ั ฑ์ (packaging) คลังสินค้าสามารถให้บริการ เสริมในเรื่องของการบริการบรรจุลงหีบห่อตามความต้องการของ ลูกค้า นอกจากนีก้ ารให้บริการเสริมนีอ้ าจให้บริการบรรจุหบี ห่อให้ใหม่ (repackaging) ในกรณีที่มีรายการส่งเสริมการขาย ท�ำให้ต้องบรรจุ อยูใ่ นหีบห่อทีม่ สี ญ ั ลักษณ์ของการส่งเสริมการขาย แต่เมือ่ พ้นการจัด รายการส่งเสริมการขายแล้ว สินค้าจะต้องถูกน�ำมาบรรจุในกล่องใหม่ หรือเป็นการบรรจุหีบห่อใหม่เมื่อสินค้ามีรายการส่งเสริมการขายเป็น ชุด (banded pack) 3. งานติดชื่อ/ที่อยู่ (labeling) เป็นการรับการติดฉลากชื่อ/ ที่อยู่ของลูกค้า โดยอาจจะติดลงบนตัวสินค้าเองหรืออยู่บนกล่อง/ ซองอีกทีหนึ่ง 4. การติดฉลากราคา (pricing) การติดฉลากราคาเป็น กิจกรรมทีส่ ามารถกระท�ำได้ตามความต้องการทีห่ ลากหลาย เช่น การ ติดฉลากราคาลงไปบนสินค้าที่ยังไม่มีราคาขายบนฉลาก การติด ฉลากราคาที่แก้ไขจากราคาบนฉลาก 5. การตรวจสอบสินค้า (inspection) กิจกรรมเสริมชนิดนี้ โดยปกติมักกระท�ำในโรงงานหรือสถานที่รับสินค้า แต่ในปัจจุบัน บริษทั สามารถ Outsource กิจกรรมเหล่านี้ หรือจัดให้มกี ารตรวจสอบ สินค้าตั้งแต่การรับสินค้าเข้ามา หรือก่อนจะมีการส่งสินค้าออกจาก คลังสินค้า กิจกรรมตรวจสอบสินค้ามักจะถูกน�ำมาใช้รวมกับการผลิต แบบลีน (Lean manufacturing) หรือการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT)

6. การให้บริการคัดแยก (sortation) การคัดแยกสินค้า สามารถกระท�ำได้หลายรูปแบบ โดยมักจะถูกน�ำมาใช้ร่วมกับศูนย์ กระจายสินค้า ทัง้ นีเ้ พราะการให้บริการคัดแยกเป็นองค์ประกอบหลัก ของศูนย์กระจายสินค้า เนื่องจากสินค้าต้องการเปลี่ยนเส้นทางของ การขนส่ง ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของกิจกรรมนี้ ก็คือ การคัดแยกพัสดุ ของผู้ขนส่งต่าง ๆ เช่น ไปรษณีย์ไทย UPS, FedEx หรือการคัดแยก สินค้าของศูนย์กระจายสินค้าของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ 7. การจัดเรียงสินค้าตามใบสั่งซื้อ (part order sortation) การจัดเรียงสินค้าตามความต้องการของลูกค้านั้น ถือได้ว่าเป็น กิจกรรมทีม่ กั ถูกน�ำมาเพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า โดย เฉพาะลูกค้าทีใ่ ช้การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just In Time: JIT) โดยที่ โรงงานสามารถส่งความต้องการมายังคลังสินค้าว่าตนเองต้องการการ จัดเรียงสินค้าตามสายการผลิต กิจกรรมเสริมชนิดนี้สามารถตอบ สนองได้ดี โดยจะมีการจัดส่งอุปกรณ์เรียงตามตารางการผลิต (ไม่ได้ เรียงตามรายการในใบสั่งซื้อ) 8. การให้บริการคืนสินค้า (returns processing) กิจกรรม ชนิดนีเ้ ป็นกิจกรรมทีส่ ร้างความปวดศีรษะให้กบั ผูด้ แู ลคลังสินค้าเป็น อย่างยิง่ โดยถ้าหากคลังสินค้าไม่ได้ถกู ออกแบบกระบวนการให้ตอบ สนองต่อการคืนสินค้าแล้ว จะท�ำให้มีผลกระทบอย่างยิ่งกับระบบ สินค้าคงคลัง และกิจกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น การขนส่ง การ วางแผนการผลิต การวางแผนการสั่งวัตถุดิบ การวางแผนการตลาด ภาษี ตลอดจนการใช้ทรัพยากรในคลังสินค้า เช่น พื้นที่ แรงงาน นอกจากนี้ผลการรับคืนสินค้าสามารถท�ำให้เกิดปัญหาสินค้าล้นคลัง สินค้า ดังนั้นระบบการจัดการจึงต้องถูกออกแบบและมีการจัดการ อย่างเป็นระบบตลอดโซ่อุปทาน นอกจากนี้ยังเป็นการรองรับการ ซื้อสินค้าผ่านอินเทอร์เน็ตที่ก�ำลังขยายตัวมากขึ้นเรื่อย ๆ (ซึ่งมัก จะมีอัตราการส่งคืนสินค้ามากกว่าการซื้อสินค้าในร้านค้า)

อ่านต่อฉบับหน้า February-March 2016, Vol.42 No.245

37 <<<


&

Management

ท�ำไมภาวะผูน้ ำ� จึงจ�ำเป็นต่อองค์กร

พิชัย ลีพิพัฒน์ไพบูลย์

ที่ปรึกษาอิสระและนักวิจัยแห่งชาติ

ปัจจุบัน

องค์กรขนาดใหญ่ หรือองค์กรชั้นน�ำของโลก ต่างให้ ความส�ำคัญกับเรื่องภาวะผู้น�ำ (leadership) กัน เพิ่ม มากขึ้น การที่องค์กรขนาดใหญ่หรือองค์กรชั้นน�ำของโลกต่างพยายามสรรหา และคัดสรรผู้น�ำที่เก่งคิด เก่งท�ำ และเก่งพูด เนื่องจากผู้น�ำองค์กรจะมีวิสัยทัศน์ ในการมองการณ์ไกลเพื่อน�ำพาองค์กรก้าวไปสู่อนาคตได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น วิสัยทัศน์ที่ดี (the best vision) จึงจ�ำเป็นต้องมีอยู่ด้วยกัน 4 ส่วน คือ

1. วิสัยทัศน์ที่ดี ต้องบ่งบอกว่าตอนนี้เราอยู่ที่ไหนกันหละ 2. วิสัยทัศน์ที่ดี ต้องบ่งบอกว่าเราก�ำลังจะไปที่ไหนกันเหรอ 3. วิสัยทัศน์ที่ดี ต้องบ่งบอกว่าเราจะไปที่โน้นได้อย่างไร 4. วิสัยทัศน์ที่ดี จะต้องสร้างแรงจูงใจขั้นสูงสุดให้กับพนักงานภายในองค์ ก รและต้ อ งเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ให้ พนักงานภายในองค์กรสามารถก้าวไปสู่ที่โน้น(อนาคต)ได้ ซึ่งถือว่า เป็นเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญในการขับเคลือ่ นวิสยั ทัศน์ขององค์กรทีเดียว >>>38

February-March 2016, Vol.42 No.245

จะเห็นว่าวิสัยทัศน์ขององค์กร เปรียบเสมือนกับการเปลี่ยน ผ่านที่น่ามหัศจรรย์ใจจริง ๆ เฉกเช่นเดียวกับหนอนผีเสื้อที่ดิ้นรน พยายามเปลี่ยนผ่านตัวเองให้กลายเป็นผีเสื้อ ดังนั้นการเป็นผู้น�ำของ องค์กรเปรียบเสมือนกับผีเสือ้ เว้นเสียแต่วา่ ผูน้ ำ� ระดับต้นจะต้องมีการ พัฒนาศักยภาพเพือ่ เปลีย่ นผ่านและก่อนทีจ่ ะเริม่ ต้นก้าวเดิน โดยผูน้ ำ� ระดับต้นจะต้องมีการเรียนรู้บทบาทใหม่ ๆ เสียก่อน ก่อนที่จะเริ่มต้น ปฏิบัติงานประจ�ำวัน ทั้งนี้ผู้น�ำจะต้องสร้างทีมงานขึ้นมาทีมงานหนึ่ง โดยทีมงานนั้นจะต้องมีการพัฒนาทักษะต่าง ๆ ทางด้านความเป็น ผู้น�ำระดับสุดยอดให้ได้เสียก่อน อาทิ 1. การก�ำหนดวิสัยทัศน์ของทีมงาน 2. สร้างแรงจูงใจให้กับทีมงาน 3. ตัดสินใจที่เด็ดขาด 4. จัดการกับวิกฤตต่าง ๆ 5. มีความซื่อสัตย์สุจริต


&

Management ดังนั้นผู้น�ำระดับต้น จะต้องปรับเปลี่ยน Mindset ของตัวเอง ให้ถกู ต้องอยูเ่ สมอ โดยจะต้องเรียนรูแ้ ละมองหาอนาคตอยูต่ ลอดเวลา กล่าวคือ ต้องเค้นทักษะต่าง ๆ ทีจ่ ำ� เป็นออกมาเพือ่ ก้าวไปสูอ่ นาคตให้ จงได้ รวมทั้งต้องมีการเรียนรู้ทักษะต่าง ๆ ตั้งแต่บัดนี้ เราจะพบว่าเรื่องภาวะผู้น�ำ หลาย ๆ คนคิดว่า เรื่องภาวะผู้น�ำ เป็นเรือ่ งของผูน้ ำ� ระดับสูงสุดเท่านัน้ ความเข้าใจเช่นนีเ้ ป็นความเข้าใจ ที่ผิดอย่างมหันต์ ทุกคนในองค์กรจะต้องมีภาวะผู้น�ำกันทั้งนั้น และ ไม่จ�ำเป็นต้องมีมาตั้งแต่เกิด แต่สามารถพัฒนาทักษะภาวะผู้น�ำได้ ซึง่ อาจไม่จำ� เป็นต้องเข้ารับการฝึกอบรมให้กลายเป็น Super Hero แต่ ต้องฝึกฝนและลงมือปฏิบตั ดิ ว้ ยตัวเองทุกวัน เพือ่ ให้ทกุ คนมีภาวะผูน้ ำ� ทีด่ ี สิง่ ทีย่ ากทีส่ ดุ อยูท่ กี่ ารปรับเปลีย่ น Mindset ของตัวเองไม่มที ฤษฎี ใด ๆ มาปรับเปลี่ยน Mindset ของเราได้ เว้นเสียแต่เราต้องลงมือ ปฏิบัติด้วยตัวเราเองเท่านั้นนะครับ อะไรหละทีเ่ ป็นตัวหยุดยัง้ การพัฒนาการปรับเปลีย่ น Mindset ของเรา เราจะพบว่าเรามักจะจมปลักอยูก่ บั ความคิดเก่า ๆ โดยไม่ยอม ปรับเปลีย่ น Mindset ของเรา จริง ๆ แล้วการปรับเปลีย่ น Mindset เรา จ�ำเป็นต้องเรียนรูแ้ ละปรับตัวเองอยูต่ ลอดเวลาโดยลดความอยากให้ น้อยลง แต่ให้มงุ่ เน้นไปสร้างความเชือ่ ในตัวเรา อาทิ ความกล้า ความ ผ่อนปรนและความคาดหวังให้มากขึ้น ในทางปฏิบัติการปรับเปลี่ยน Mindset จะต้องไม่เร่งรีบ แต่ค่อยปรับเปลี่ยนไปอย่างช้า ๆ อยู่ตลอด เวลา หรือค่อยเป็นค่อยไปเหมือนกับเด็ก ๆ หัดเดิน แม้ว่าเราจะล้มลุก คลุกคลานแต่เราต้องพยายามลุกขึน้ เดินต่อไปให้ได้ เมือ่ เราพยายาม ปฏิบัติเช่นนี้ทุก ๆ วัน เราก็จะเรียนรู้และปรับตัวเราเองไม่ให้จมปลัก อยู่กับความคิดเดิม ๆ ได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่หยุดยั้งจนท�ำให้เราจมปลักอยู่ กับการไม่ปรับเปลี่ยน Mindset เช่น เราจมปลักอยู่กับความส�ำเร็จ จมปลักอยู่กับอดีตที่หวานชื่น จมปลักอยู่กับผลงานที่ดีและความ หวาดกลัว การที่เราจะหลุดพ้นจากการจมปลักเหล่านี้ได้ เราต้องรู้ว่า ตอนนี้เราอยู่ที่ไหน หากเราไม่รู้ว่าเราอยู่ไหนแล้ว เราก็จะไม่สามารถ หลุดพ้นออกจากการจมปลักเหล่านั้นไปได้ นอกจากนี้เราต้องสลัด การจมปลักเหล่านั้นทิ้งไปจากสถานที่ท�ำงานของเราให้ได้เสียก่อน

สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ อยูท่ เี่ ราจะต้องใช้วงจรการปรับเปลีย่ น Mindset ในตัวเราให้ได้เสียก่อน เราจะพบว่า Mindset ทั้งหมดที่อยู่ในตัวเราก็ คืออุปนิสัยทั้งหมดที่อยู่ในตัวเรานั่นเอง การปรับเปลี่ยน Mindset ใน ตัวเราจึงเป็นเรื่องที่ยากมาก ๆ แต่ห้ามเราท้อแท้หรือถอดใจนะครับ ลองน�ำวงจรการปรับเปลี่ยน Mindset ไปใช้ดู ซึ่งวงจรนี้จะหมุนอย่าง ต่อเนือ่ งเช่นเดียวกับวงจร PDCA ในกิจกรรมควบคุมคุณภาพ โดยเริม่ ต้นทีก่ ารสร้างความท้าทาย (challenge) ให้กบั ตัวเราเองก่อน ต่อจาก นัน้ เราจะคิดค้นหาเป้าประสงค์ใหม่ ๆ ได้อย่างไร เราสามารถปรับปรุง ได้อย่างไรบ้าง รวมทั้งเราจะเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร และเราจะต้อง ทุ่มเทบางสิ่งบางอย่างได้อย่างไร เพื่อให้เราเริ่มต้นกับกระบวนการ เรียนรู้ทักษะต่าง ๆ ได้ตั้งแต่บัดนี้ รวมทั้งให้มีการจดบันทึกผลการ ด�ำเนินการควบคู่ไปด้วย ดังนัน้ การทีเ่ ราจะเป็นผูน้ ำ� ทีด่ ไี ด้ เราจ�ำเป็นต้องค้นหาเส้นทาง การเดินให้ได้เสียก่อน จากนัน้ เราจึงค่อยตระเตรียมเป้าประสงค์ในการ เดินทาง เราจะเห็นว่าการปรับเปลี่ยน Mindset นั้น มีตัวแปรต่างๆ ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยน Mindset ที่เราจ�ำเป็นต้องเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนตัวเราเอง เช่น ปฏิรูปการปรับเปลี่ยน Mindset ของ ตัวเราเอง คุณลักษณะของภาวะผู้น�ำและการปรับเปลี่ยน Mindset การปรับเปลี่ยน Mindset กับทักษะต่าง ๆ การปรับเปลี่ยน Mindset กับการศึกษา การวิจยั การปรับเปลีย่ น Mindset ท�ำไมการปรับเปลีย่ น Mindset จึงมีข้อที่แตกต่างกันและข้อสรุป 7 ประการ ในการปรับ เปลีย่ น Mindset จะบ่งบอกว่าการปรับเปลีย่ น Mindset เปรียบเสมือน กับการเล่นระเบิด เพราะมนุษย์เรานัน้ มีเส้นประสาทจ�ำนวนมากอยูใ่ น สมอง ที่ท�ำหน้าที่ขับเคลื่อนตัวเรา และเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพในตัว เราหรือสร้างความสับสนวุ่นวายในสมองของเรา การเปลี่ยนแปลง Mindset จึงเป็นเรือ่ งทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้ยากและเปลีย่ นแปลงได้ชา้ มาก ดังนั้นทุกคนรู้ว่าจุดแข็งทางด้าน Mindset ของตัวเองอยู่ที่ตรงจุดไหน February-March 2016, Vol.42 No.245

39 <<<


&

Management

ทุก ๆ วันให้เราดึงเอาจุดแข็งต่าง ๆ ออกมาใช้ เช่น ความคิดแง่บวกหรือมองโลกในแง่ดี กล้า ตัดสินใจอย่างเด็ดเดี่ยว มีจิตใจที่โอนอ่อน ผ่ อ นปรนหรื อ มี จิ ต ใจที่ เ มตตาปราณี และ สามารถท�ำงานร่วมมือร่วมใจกันได้ดี การ พั ฒ นาวุ ฒิ ภ าวะ มี ค วามทะเยอทะยานสู ง และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ (ตัวแปรทั้ง 7 ข้อ) ซึ่งตัวแปรเหล่านี้มีผลต่อภาวะผู้น�ำที่ดีที่จะท�ำให้งานต่าง ๆ ประสบความส�ำเร็จได้ตามเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ ก่อนจบให้เราจดจ�ำไว้เสมอว่า ผูน้ ำ� ก็คอื ปุถชุ นคนธรรมดา ดัง ที่เช็คสเปียร์กล่าวว่า หากคุณหยิบยื่นให้เราท�ำ เลือดของเราจะต้องไม่หลั่งไหลออกมาให้ใครเห็น หากคุณป้อนงานให้เราท�ำ เราจะไม่หัวเราเยาะ หากคุณวางยาพิษเรา เราจะไม่ยอมตาย และหากคุณท�ำผิดกับเรา เราจะไม่อาฆาตพยาบาท ผมเห็นว่า การปรับเปลี่ยน Mindset เป็นอาวุธลับที่จะน�ำพา เราไปสูว่ สิ ยั ทัศน์ได้มากกว่าทีต่ วั เราจะนัง่ จินตนาการไปวัน ๆ และการ ปรับเปลีย่ น Mindset ไม่ใช่ผลผลิต แต่ผลผลิตจะเกิดขึน้ ได้เราจะต้อง เปลีย่ น Mindset ของเราออกไปสูต่ า่ งแดนเพือ่ ค้นหาแรงงานราคาถูก >>>40

February-March 2016, Vol.42 No.245

เราจะพบว่า Mindset ของเราไม่มีใครลอก เลียนแบบได้ และ Mindset ของแต่ละคนก็ไม่ จ�ำเป็นต้องถามว่าท�ำไมแต่ละคนจึงมี Mindset ไม่เหมือนกัน การที่เราจะเป็นผู้น�ำที่ดีได้ เราจ�ำเป็นต้องมีเคล็ดลับในปรับเปลี่ยนความ คิดในสมองของเราใหม่ เราจึงจะประสบความ ส�ำเร็จในการเป็นผู้น�ำที่ดีได้ จงปลดปล่อย พลังความคิดทีม่ อี ยูอ่ อกมาโดยปราศจากความหวาดกลัวใด ๆ ทัง้ สิน้ ไม่มีใครท�ำนายอนาคตของเราได้ แต่สิ่งที่เราต้องท�ำ คือ การก�ำหนด เส้นทางการเดินทางทั้งหมด ซึ่งเส้นทางที่ก�ำหนดแต่ละเส้นทาง อาจจะมีความแตกต่างกันไป หากเป้าประสงค์ที่เราก�ำหนดมีการ เปลี่ยนแปลงไป เราจ�ำเป็นต้องปรับเส้นทางการเดินทางของเราให้ สอดคล้องกับเป้าประสงค์ไปด้วย และเราต้องท�ำให้ดที สี่ ดุ ไม่วา่ จะเกิด อะไรก็ตามขอให้เราสนุกกับมัน และอย่าถอดใจหรือท้อแท้ใจเป็น อันขาด เพราะความท้อแท้ใจ คือ ความเสีย่ งทีจ่ ะท�ำให้เราไม่สามารถ น�ำพาตัวเราไปสู่ความส�ำเร็จได้นั่นเองนะครับ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ท่านจะต้องปรับเปลี่ยน Mindset ของ ตัวเองเพื่อท�ำให้ท่านกลายเป็นผู้น�ำที่ยิ่งใหญ่เช่นเดียวกับนโปเลียน หรือจูเลียส ซีซาร์นะครับ


&

Production

จากพีเอ็มเอสสู่ Industry 4.0

การ

พัฒนากระบวนการผลิตในปัจจุบันมีความก้าวหน้ามาก ซึ่งในช่วงเวลานี้เป็นช่วงเวลาในการเปลี่ยนผ่านไปสู่ยุค Industry 4.0 แต่ระบบที่มีมาก่อนหน้า นี้ และก�ำลังจะถูกพัฒนาไปเป็นส่วนหนึ่งของ Industry 4.0 นั่นก็คือระบบ “พีเอ็มเอส” หรือ Production Monitoring System ระบบพีเอ็มเอสเป็น ระบบในการติดตามยอดการผลิต (tracking) เพื่อเทียบกับเป้าหมายที่ได้วางแผนไว้ โดยระบบนี้จะท�ำการเชื่อมต่อกับระบบเซนเซอร์ (sensor) ต่าง ๆ เพื่อรายงานผล และแจ้งผลแบบทัน เวลา (real-time) ซึ่งผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้วางแผนสามารถรู้ปัญหาได้ล่วงหน้าก่อนที่จะหมดเวลาการผลิต เช่น ผลิตงานล่าช้า 10 เปอร์เซ็นต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังส่งสัญญาณแจ้งเตือนหากเครื่องจักรหรือสายการผลิตมีปัญหาไม่สามารถผลิตได้

นพดล คะเตปะนานนท์

บริษัท มิกซ์เอ็น คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด

ภาพที่ 1: ภาพรวมของระบบพีเอ็มเอส

ซึ่ง

โดยปกติแล้วยอดการผลิตจะถูกก�ำหนดด้วย Cycle Time แต่เมื่อท�ำการผลิตจริง ยอดการผลิตมักจะไม่ได้เป็นไปตาม เป้าหมายที่วางแผนไว้ โดยสามารถสรุปปัจจัยปัญหาได้ 3 ปัจจัย คือ 1. เครื่องจักรหรือสายการผลิตไม่พร้อมในการผลิต เช่น เครื่องจักรไม่สามารถท�ำงานแบบต่อเนื่องได้ เครื่องจักรหยุดการ ท�ำงานเป็นระยะ ๆ ปัญหาวัตถุดบิ มาไม่ทนั ตามแผนการผลิตเป็นเหตุ ให้ไม่สามารถเดินสายการผลิตได้ เหตุการณ์นี้เรียกว่า “Down Time Loss”

ภาพที่ 2 : Down time

February-March 2016, Vol.42 No.245

41 <<<


&

Production 2. ก�ำลังการผลิตหรือความเร็วในการผลิตไม่ได้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ ยกตัวอย่างเช่น เครื่องจักรผลิตเก่าขาดการดูแล รักษาที่เหมาะสม ท�ำให้ไม่สามารถเดินเต็มก�ำลังได้ การเกิดคอขวด ในกระบวนการผลิต เนือ่ งจากขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านต้องใช้พนักงาน หยิบชิ้นงาน เข้า-ออก เครื่องจักรผลิต ท�ำให้เกิดเหตุการณ์ที่เรียกว่า “Speed Loss” 3. เกิ ด ของเสี ย จากการผลิ ต หรื อ ปั ญ หาด้ า นคุ ณ ภาพ ปัญหานีน้ อกจากจะท�ำให้การผลิตไม่ได้ตามเป้าหมายแล้ว ยังส่งผล ต่อต้นทุนการผลิตอีกด้วย เหตุการณ์นี้เรียกว่า “Quality Loss”

เครื่องจักรยังท�ำงานเป็นปกติอยู่หรือไม่ เซนเซอร์ในการนับชิ้นงานที่ เครื่องจักรผลิตเสร็จ และเซนเซอร์ในการตรวจสอบชิ้นงานเสียจาก การผลิ ต โดยเซนเซอร์ เ หล่ า นี้ จ ะท� ำ การส่ ง สั ญ ญาณไปที่ ห น่ ว ย ประมวณผล เพื่อท�ำการคิดค�ำนวณต่อไป

Total Available Time Planned Production Time Planned Down Time Operating Time Down Time Loss Net Operating Time Speed Loss Total Pieces Good Pieces Quality Loss

ภาพที่ 3: ภาพรวมของปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการผลิต

เมื่อเกิดปัญหาการผลิตทั้ง 3 ปัจจัย และสายการผลิตไม่มีระบบติดตามผลการ ผลิตแบบทันเวลา (real-time) หรือระบบ พีเอ็มเอสแล้ว ผู้ผลิตสินค้าจะทราบปัญหา เมือ่ จบกะการผลิต ท�ำให้ไม่สามารถส่งสินค้า คุณภาพในปริมาณและเวลาที่ลูกค้าก�ำหนด ไว้ได้ และก่อให้เกิดผลพวงตามมา คือ การสร้างสต็อคสินค้า (inventory) เกิดปัญหาต้นทุนเงินจม (sunk cost) มากขึ้น และถือได้ว่าเป็น ความสูญเปล่า (waste) ชนิดหนึ่งที่ควรหลีกเลี่ยง หลักการส�ำคัญของระบบพีเอ็มเอส คือ จะต้องสามารถแสดง ผลการผลิตในเวลาจริง (real-time) ได้ โดยข้อมูลทีแ่ สดงจะต้องมีการ เปรียบเทียบกับเป้าหมายหรือแผนที่ได้วางไว้ เมื่อเกิดความผิดปกติ จะต้องแจ้งเตือนด้วยความแม่นย�ำ (precision) ณ ต�ำแหน่งที่เกิด ความผิดปกติและข้อมูลที่ถูกต้อง (accuracy) เชื่อถือได้ (reliability) โดยเป็นไปแบบทันเวลา (real-time) และที่ขาดไม่ได้ คือ ระบบ ประมวลผล (processing) การแสดงผล (visualization) และการ บันทึกข้อมูล (data recording) เพือ่ ให้สามารถน�ำข้อมูลนัน้ ไปปรับปรุง กระบวนการผลิต (continuous Improvement) ให้มปี ระสิทธิภาพสูง ขึ้นได้ ส่วนประกอบส�ำคัญของระบบพีเอ็มเอส จะประกอบไปด้วย 1. ระบบเซนเซอร์ (sensor) เป็นอุปกรณ์ในการตรวจจับการ ท�ำงานของเครื่องจักรและสายการผลิต เพื่อที่จะได้รายงานสถานะ ปัจจุบันให้กับผู้ปฏิบัติงานหรือหัวหน้างานทราบ เซนเซอร์ที่จ�ำเป็น ในระบบพีเอ็มเอสจะประกอบไปด้วย เซนเซอร์ส�ำหรับตรวจจับว่า >>>42

February-March 2016, Vol.42 No.245

ภาพที่ 4: เซนเซอร์

2. หน่วยประมวลผล (processor unit) จะท�ำหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเซนเซอร์ต่าง ๆ เพื่อท�ำการค�ำนวณประสิทธิผลของการผลิต เทียบกับเป้าหมายทีไ่ ด้วางแผนไว้ ท�ำการตรวจสอบความผิดปกติของเครื่องจักรและแจ้งเตือน ทันที เมื่อพบว่าเกิดปัญหา หน่วยประมวลผล จะต้องท�ำการบัญทึกข้อมูลการผลิตที่ส�ำคัญ เช่น ข้อมูลการหยุด ท�ำงานของเครือ่ งจักร หรือข้อมูลการขาดวัตถุดบิ (material shortage) เป็นต้น นอกจากนี้หน่วยประมวลผลของระบบพีเอ็มเอสจะต้องมี ความทนทาน (robust) ต่อสภาพแวดล้อมของโรงงาน เช่น ฝุ่น การสั่นสะเทือน ความร้อน ไอน�้ำมัน และสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้า (noise) เป็นต้น 3. ระบบการแสดงผล เป็นส่วนส�ำคัญของระบบพีเอ็มเอส เพราะการแสดงผลในเวลาจริง (real-time) ของยอดการผลิตมีส่วน ช่วยทางด้านจิตวิทยาในการกระตุ้นการท�ำงานของผู้ปฏิบัติงาน เพราะผู้ปฏิบัติงานจะสามารถรู้ได้ว่า ณ เวลาปัจจุบันตนเองท�ำงาน ช้าหรือเร็วกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนั้นระบบการแสดงผลของ พีเอ็มเอสยังแสดงการแจ้งเตือนเมือ่ สายการผลิตเกิดปัญหา เพือ่ ทีจ่ ะ ให้ฝ่ายวางแผนหรือฝ่ายซ่อมบ�ำรุง เข้ามาแก้ไขในเวลาที่รวดเร็ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีของพีเอ็มเอสจะมีอยู่ 3 เทคโนโลยี คือ ➲ ระบบพีเอ็มเอสทีใ่ ช้การแสดงผลเป็นป้ายไฟ หรือแอลอีดี ➲ ระบบพีเอ็มเอสที่ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ➲ ระบบพีเอ็มเอสที่ใช้เทคโนโลยีระบบสมองกลอัจฉริยะ ฝังตัวขั้นสูง (advance embedded system)


&

Production

ภาพที่ 5: การเชื่อมต่อระหว่างระบบเซนเซอร์ หน่วยประมวลผล และส่วนแสดงผล

ระบบพีเอ็มเอสที่ ใช้การแสดงผลเป็นป้ายไฟ หรือแอลอีดี

ระบบนี้เป็นระบบที่มีมาแต่ดั้งเดิม โดยเริ่มจากการใช้หลอด ไฟสีต่าง ๆ มาแสดงผลในช่วงแรกจะแสดงแค่ 3 สี คือ เขียว เหลือง และแดง (เรียกว่า Andon) เพื่อบอกสถานะของสายการผลิต ต่อมา มีการพัฒนาเพิม่ ขึน้ โดยการน�ำหน่วยประมวลผลขนาดเล็กมาช่วยใน การนับชิ้นงาน และค�ำนวณความเร็วของการผลิตเทียบกับ Cycle Time ที่ได้วางแผนไว้

ภาพที่ 6: ระบบพีเอ็มเอสที่ใช้การแสดงผลเป็นป้ายไฟ หรือแอลอีดี

ข้อดี ของระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ ➲ ระบบไม่ซบั ซ้อน ส่วนใหญ่จะเป็นกลไกทางไฟฟ้า เช่น ใช้ Relay ในการเปิดปิดไฟ ➲ ทนต่อสภาพแวดล้อมของโรงงาน ➲ ราคาถูก ข้อเสีย ของระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ ➲ เป็นเทคโนโลยีเก่าท�ำให้ประสิทธิภาพในด้านความเร็วใน การประมวลผลไม่เป็นเวลาจริง (not real-time) ➲ มีข้อจ�ำกัดเรื่องการแสดงผลเป็นแบบ Fixed Display ท�ำให้ผู้ใช้งานไม่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลได้ด้วย ตนเอง ➲ ตัวป้ายมีน�้ำหนักมาก เพราะวิธีการผลิตเกิดจากการน�ำ เอาแอลอีดี มาบัดกรีลงแผ่นวงจร (PCB) ➲ ปัญหาการบ�ำรุงรักษาและการซ่อมแซม เพราะการแสดง ผลด้วยแผง LED ท�ำให้หาก LED ดวงใดดวงหนึ่งดับไปจะต้องถอด แผงวงจรทัง้ หมดลงมาเพือ่ บัดกรี อีกทัง้ ผูใ้ ช้งานไม่สามารถทีซ่ อ่ มแซม ได้ด้วยตัวเองเพราะเป็นเทคโนโลยีของผู้ผลิต ➲ อุปกรณ์ต่อพ่วงจะต้องเป็นของผู้ผลิตเท่านั้น ไม่สามารถ ใช้อุปกรณ์ที่เป็น Commercial Part ได้ทั่วไป ➲ ระบบการส่งข้อมูลใช้การส่งข้อมูลแบบ RS-485 ความเร็ว ในการส่งข้อมูลต�ำ่ ท�ำให้เกิดปัญหา คือ ข้อมูลไม่เป็นข้อมูลในเวลาจริง ➲ ระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ส่วนใหญ่จะไม่รองรับฐานข้อมูล หรือไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ February-March 2016, Vol.42 No.245

43 <<<


&

Production ระบบพีเอ็มเอสที่ ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

ระบบนีจ้ ะเป็นการน�ำเอาคอมพิวเตอร์มาท�ำการเขียนโปรแกรม เพือ่ แสดงค่าพีเอ็มเอส ระบบคอมพิวเตอร์จะประกอบไปด้วยฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ โดยในส่วนของซอฟต์แวร์จะมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวจัดการ

➲ ปัญหาการบ�ำรุงรักษาและการซ่อมแซม ผู้ดูแลรักษา

ต้องมีความรู้ค่อนข้างมาก ➲ ราคาแพงและต้องใช้ต้นทุนเริ่มต้น (initial cost) มาก

ระบบพีเอ็มเอสที่ ใช้เทคโนโลยีระบบสมองกลอัจฉริยะฝังตัว ขั้นสูง (advance embedded system) เทคโนโลยีนี้ถูกพัฒนาต่อยอดมาจากระบบฝังตัว (embedded system) องค์ประกอบที่ส�ำคัญของเทคโนโลยีนี้ คือ หน่วย ประมวลผลที่มีประสิทธิภาพสูง (Hi-performance processor) ท�ำงานร่วมกับระบบปฏิบัติการในเวลาจริง (Real Time Operating System: RTOS) เมื่อน�ำเทคโนโลยีนี้มาออกแบบระบบพีเอ็มเอสจึง ท�ำให้ระบบพีเอ็มเอสมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับการใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์

ภาพที่ 7: ระบบพีเอ็มเอสที่ใช้การแสดงผลแบบคอมพิวเตอร์

ข้อดี ของระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ ➲ ระบบคอมพิวเตอร์มเี ครือ่ งมือในการออกแบบหลากหลาย ท�ำให้ระยะเวลาในการออกแบบและปรับแต่งใช้เวลาน้อยท�ำให้ตน้ ทุน ทางด้านการออกแบบต�่ำ ➲ การแสดงผลผ่านทาง LED Monitor หรือ LED TV ได้ ท�ำให้ปัญหาข้อจ�ำกัดในการแสดงผลแบบ Fixed Display หมดไป ผู้ใช้งานสามารถที่จะปรับเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลได้ด้วยตนเอง ➲ อุปกรณ์ต่อพ่วงของคอมพิวเตอร์เป็น Commercial Part สามารถซื้อได้ทั่วไป ➲ ระบบการส่งข้อมูลเป็น LAN หรือ Wi-Fi ซึง่ มีประสิทธิภาพ มากกว่า RS-485 และ Protocol ของ LAN ยังเป็นมาตรฐาน เช่น การส่งข้อมูลด้วย Protocol TCP/IP เป็นต้น ➲ ระบบคอมพิวเตอร์มีฐานข้อมูล (data base) ให้เลือก ใช้ได้อย่างหลากหลาย ข้อเสีย ของระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ ➲ ระบบคอมพิวเตอร์ไม่ทนต่อสภาวะแวดล้อมในโรงงาน ที่ มีทั้งฝุ่น ความร้อน การสั่นสะเทือน และไอน�้ำมัน เพราะไปมีผลต่อ ชิ้นส่วน ฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ ➲ ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ไม่เสถียร (stable) เพราะสัญญาณรบกวนจากเครื่องจักร ➲ ระบบปฏิบตั กิ ารของคอมพิวเตอร์ไม่ได้เป็นระบบปฏิบตั กิ าร ในเวลาจริง (not real time operating system) ดังนั้นเมื่อเซนเซอร์ ส่งสัญญาณมายังคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์อาจไม่ตอบสนองในทันที หรืออาจไม่ตอบสนองเลยก็ได้ >>>44

February-March 2016, Vol.42 No.245

ภาพที่ 8: ระบบพีเอ็มเอสที่ใช้เทคโนโลยีระบบสมองกลอัจฉริยะฝังตัวขั้นสูง (advance embedded system)

ข้อดี ของระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ ➲ ทนต่อสภาวะแวดล้อม (robust) ในโรงงานได้เป็นอย่าง ดีและมีความเสถียร (stable) ➲ ใช้ระบบปฏิบัติการในเวลาจริง (Real Time Operating System: RTOS) ซึ่งเมื่อได้รับสัญญาณจากระบบเซนเซอร์สามารถ ตอบสนองได้ทันทีและแม่นย�ำ


&

Production ➲ สามารถแสดงผลผ่าน LED Monitor หรือ LED TV ได้

เช่นเดียวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ท�ำให้สามารถออกจากข้อจ�ำกัด ของการแสดงผลแบบ Fixed Display ➲ หน่วยประมวลผลถูกแยกห่างจากส่วนแสดงผล (module) มีน�้ำหนักเบา ติดตั้งง่าย และดูแลรักษาง่าย ➲ มีฐานข้อมูลภายในที่จะท�ำการบันทึกข้อมูลการผลิตได้ ➲ ส่งผ่านข้อมูลด้วย LAN หรือ Wi-Fi ➲ รองรับการสั่งงานการผลิตด้วยระบบ Barcode ➲ อุปกรณ์ต่อพ่วงเป็น Commercial Part สามารถซื้อได้ ทั่วไป ข้อเสีย ของระบบพีเอ็มเอสชนิดนี้ ➲ ออกแบบยาก ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบโดย เฉพาะและใช้เวลานาน ➲ ต้นทุนสูงท�ำให้ราคาสูงกว่าแบบป้ายไฟ หรือแอลอีดี ตารางที่ 1: เปรียบเทียบเทคโนโลยีของระบบพีเอ็มเอส

จากประสิทธิภาพของระบบพีเอ็มเอส จากเดิมทีเ่ ป็นส่วนเกินในสายการผลิตแต่ในวันนีร้ ะบบพีเอ็มเอส กลายเป็นส่วนทีส่ ำ� คัญและจ�ำเป็น อย่างยิ่ง ทั้งด้วยระบบประมวลผลและระบบเซนเซอร์ และการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุค Industry 4.0 แล้ว ระบบพีเอ็มเอสยิ่งมีความส�ำคัญยิ่งขึ้นไป อีก ซึ่งในอนาคตระบบพีเอ็มเอสมีแนวโน้มที่จะพัฒนาไปถึงระบบภาพเสมือนโรงงาน (visual factory) ที่จะรายงานสภาวะการผลิตต่าง ๆ ผ่าน ระบบเซนเซอร์อจั ฉริยะ แจ้งเตือนและเข้าถึงปัญหาได้อย่างแม่นย�ำ ซึง่ จะท�ำให้โรงงานผลิตสมัยใหม่ (smart factory) มีประสิทธิภาพในการผลิต สูงสุด

February-March 2016, Vol.42 No.245

45 <<<


&

Production

ตอนที่

การปั๊มชิ้นงานเที่ยงตรงจิ๋ว 2 ระดับไมครอน (precision micro stamping) (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

การใช้

วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพนั้น เป็นกุญแจที่ท�ำให้เกิดข้อดี เมื่อท�ำการผลิตชิ้นงานที่เล็กมากจากโลหะล�้ำค่าราคาแพง โดยเฉพาะอย่างยิ่งทองค�ำ และแพลทินัมที่น�ำไปใช้ตามที่ก�ำหนดในทางการแพทย์ และอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับต้นทุนต่อชิ้นของการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปนั้นจะต�่ำกว่า ที่ได้จากการตัดเฉือน (machining) เพราะว่าการปฏิบัติการขึ้นรูปภายในแม่พิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นดัดขึ้นรูป (bending) การปั๊มบีบอัดประทับตราหรือคอยน์นิ่ง (coining) การเฉือนซอยเป็น แผ่นครีบบาง ๆ (skiving) และการดึงขึ้นรูป (drawing) จะให้ความเที่ยงตรงสูง และยังมีนัยส�ำคัญว่าจะเกิดส่วนที่กลายเป็น เศษวัสดุที่ น้อยกว่าการกัดหรือเจียระไน (milling or grinding) ซึ่งในความจริงแล้ว การ ใช้วัสดุในงานปั๊มนั้นสามารถที่จะใช้ได้สูงสุดมากถึง 100 เปอร์เซ็นต์ เลยทีเดียว และเนื่องจากราคาของโลหะที่ล�้ำค่านั้น มีราคาสูงเกินกว่า 1,000 ดอลลาร์ต่อ หนึ่งออนซ์ ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงค่าใช้จ่ายที่เกิดจากเหตุที่กล่าวมานี้

>>>46

February-March 2016, Vol.42 No.245

ความ

อำ�นาจ แก้วสามัคคี

ส� ำ คั ญ ของความเท่ า กั น วั ส ดุ ช นิ ด พิ เ ศษหรื อ โลหะที่ล�้ำค่าเหล่านี้มีความยุ่งยากต่อการจัดการ มากกว่าวัสดุทวั่ ไปในการตัดเฉือนด้วยเครือ่ งศูนย์รวมเครือ่ งมือตัดเฉือน (machining center) ในเชิงเปรียบเทียบแล้วแม่พมิ พ์ในระดับเกรดเอ และในงานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปชัน้ เลิศจะต้องการการจัดการด้วยความ เที่ยงตรงในระดับจุลภาคเป็นเรื่องปกติ แม้แต่ในขณะที่ใช้วัสดุที่บาง ยิ่งกว่ากระดาษ หรือเป็นเหล็กกล้าสเตนเลสผสมเกรดที่มีความแข็ง เต็มที่ ซึ่งมีความแข็งเกือบจะเท่ากับเหล็กเครื่องมือที่ใช้สร้างแม่พิมพ์ นั้น ดังนั้นจึงต้องตระหนักในเรื่องเหล่านี้ด้วย ปัจจัยส�ำคัญอันดับที่ 3 ความเป็นผู้น�ำในแม่พิมพ์ระดับ คุณภาพชั้นเลิศ (leading with premier class tooling) ในแต่ละวันที่ผ่านไป การก�ำหนดค่าพิกัดความเผื่อส�ำหรับ ลักษณะเฉพาะของชิ้นงานที่มีความซับซ้อนขั้นสูงในระดับไมครอน โดยผูอ้ อกแบบผลิตภัณฑ์ และหรือวิศวกรก็ยงิ่ กลายเป็นความจริงมาก


&

Production ขึ้น แต่ส�ำหรับด้านแม่พิมพ์แล้ว ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องดูเหมือนว่าจะ มีความคุ้นเคย และความชัดเจนในเรื่องนี้น้อยอยู่ เป็นเหตุให้การ ประเมินอิทธิพลของแม่พิมพ์ที่มีผลต่อสิ่งที่จะได้รับออกมา นับตั้งแต่ คุณภาพ ความเที่ยงตรง ต้นทุนของชิ้นงาน ไปจนถึงการซ่อมบ�ำรุง ความเชื่อถือได้ และอายุการใช้งานของแม่พิมพ์ต�่ำไปบ้าง ดังนั้น ความคงทนที่สามารถใช้งานได้ยาวนาน ความมีสมรรถนะสูง และมี ความเชือ่ ถือได้สงู ของแม่พมิ พ์กจ็ ะช่วยแก้ปญ ั หาให้เป็นไปตามค�ำสัง่ เฉพาะของลูกค้าในโครงการการผลิตชิ้นงานจิ๋วที่ท้าทายเป็นการ เฉพาะนีไ้ ด้ ส�ำหรับแม่พมิ พ์ระดับบนทีด่ เี หนือกว่านัน้ ก็จะมีศลิ ป์ในการ ออกแบบกลไกอย่างประณีต และการลงทุนก็จะสะท้อนให้เห็นภาพ ของแม่พิมพ์ที่ลงทุนนี้ด้วย จึงอาจจะกล่าวได้ว่า “ศาสตร์และศิลป์ ที่ มีการศึกษาเชี่ยวชาญเป็นการเฉพาะในการสร้างสรรค์แม่พิมพ์ที่มี คุณภาพสูง ท�ำให้สามารถผลิตชิน้ ส่วนประกอบจิว๋ ทีม่ คี ณ ุ ภาพดีได้” การผลิตชิ้นส่วนประกอบจิ๋วคุณภาพสูงนั้น ก็มีความจ�ำเป็น ต้องใช้แม่พิมพ์ที่มีคุณภาพสูงด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นความจริงที่ว่า แม่พิมพ์ที่มีสมรรถนะสูงนั้น เป็นที่ต้องการส�ำหรับงานปั๊มตัดเฉือนขึ้นรูปจิ๋วชั้นเลิศ ซึ่งเข้ากันไม่ได้กับแม่พิมพ์ชนิดที่มีการออกแบบด้าน วิศวกรรมในราคาที่ถูก คุณภาพถือเป็นส่วนหนึ่งในต้นทุนขั้นต้น หาก แต่ว่าการลงทุนในแม่พิมพ์เป็นสิ่งที่ท�ำให้เป็นที่เชื่อถือ และถือเป็น ความคิดทีห่ ลักแหลม เพราะจะท�ำให้ได้รบั ความสามารถซึง่ จะปรากฏ ให้เห็นได้ในที่สุด และไม่มีความเสี่ยงตามมา ดังนั้นจึงต้องสนับสนุน แนวความคิดในการลงทุนด้านแม่พิมพ์เพื่อควบคุมคุณภาพ ความ เที่ยงตรง และต้นทุนให้ได้รับผลที่ดีที่สุด ในท้ายที่สุดแล้ว ต้องจ�ำไว้ว่าสิ่งที่ผู้ผลิตงานปั๊มตัดเฉือนขึน้ รูปวัสดุตอ้ งท�ำให้เป็นจริงขึน้ ได้ คือ ผลก�ำไร แม้วา่ จะไม่ได้จากการ ปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปชิ้นงานทั้งหมดทุกชนิดชิ้นงานก็ตาม เพื่อคุ้มครอง แผนสร้างผลก�ำไรให้กับผู้ผลิตงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป และรวมถึง ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดที่เป็นไปได้ส�ำหรับลูกค้านั้น ซึ่งไม่ได้เกิดจากเพียง การพัฒนา และสร้างแม่พิมพ์เท่านั้น แต่ต้องเกิดจากนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และมาตรฐานที่สูงอีกด้วย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะน�ำไปสู่การ แก้ปัญหาของแม่พิมพ์ได้

ภาพที่ 3 สายงานการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปชิ้นงานโลหะขนาดจิ๋วภายในโรงงานของ

ปัจจัยส�ำคัญอันดับที่ 4 การใช้เทคนิค และยุทธวิธีต่าง ๆ ที่ ก้าวหน้าขัน้ สูง (Advanced, Progressive Techniques and Tactics) ด้วยศักยภาพในการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปเที่ยงตรงจิ๋วที่สูงกว่า ซึง่ มีอยูใ่ นตัวของผูเ้ ชีย่ วชาญ ซึง่ ดูแลโครงการชิน้ ส่วนประกอบจิว๋ ของ บริษัท Top Tool และบริษัทชั้นน�ำที่ซัพพลายเออร์รายอื่นไม่สามารถ ออกแบบ ไม่มีความรู้ด้านวิศวกรรม และการผลิตในด้านนี้อยู่ ซึ่งจะ ต้องส่งวิธแี ก้ปญ ั หาแบบครบวงจรเบ็ดเสร็จส�ำหรับงานทีม่ คี วามแม่นย�ำ และเทีย่ งตรงในระดับไมครอน โดยจะต้องเตรียมการเป็นพิเศษในส่วน ประกอบที่ซับซ้อนจ�ำนวนมากอย่างต่อเนื่องและเป็นทางการ รวมทั้ง การปฏิบัติที่เยี่ยมที่สุดด้านเทคนิค และยุทธวิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่ ซอฟต์แวร์การผลิตแบบ 3 มิติ ที่ทันสมัยไปจนถึงอุปกรณ์ตรวจสอบ อัตโนมัติแบบภาพถ่าย (automated vision inspection) ส�ำหรับ ตัวอย่างทั้งสองที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้จะแสดงให้เห็นถึงวิธีที่ก้าวหน้า ขั้นสูงในการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปเที่ยงตรงจิ๋ว

ภาพที่ 4 ม้วนโลหะที่เป็นวัสดุสำ�หรับใช้ในการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปเป็นชิ้นงานขนาดจิ๋ว และ อุปกรณ์ตรวจสอบอัตโนมัติแบบภาพถ่าย

คุณสมบัติของชิ้นงานที่เข้มงวดสูงมาก (rigorous part qualification)

สุ ด ยอดผู ้ เ ชี่ ย วชาญเฉพาะทางในงานชิ้ น ส่ ว นประกอบ เที่ยงตรงจิ๋วที่ซับซ้อนนั้น จะมีความสนใจอย่างต่อเนื่องในโครงการที่ มีการก้าวไปสูง่ านปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปเทีย่ งตรงใหม่ ๆ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อมีงานที่เข้มงวดสูงมากเข้ามานั้น แต่ละซัพพลายเออร์จะมีการ ตอบสนองต่องานลักษณะนีท้ แี่ ตกต่างกันไปอย่างใดอย่างหนึง่ ในสาม รูปแบบต่อไปนี้ คือ “เอ” ปฏิเสธที่จะเสนอราคาเนื่องจากไม่มั่นใจว่า จะสามารถสร้างแม่พิมพ์ และท�ำการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปชิ้นงานที่ เข้มงวดนี้ได้ ส่วน “บี” จะเสนอราคาของโครงการนี้โดยหวังเอาไว้ว่า จะสามารถแก้ไขปัญหาในงานที่เข้มงวดนี้ได้ในระหว่างที่ด�ำเนิน โครงการ และ “ซี” มีความมั่นใจแต่ก็ยังเสาะหาความแน่นอนเสริม เพิ่มขึ้นไปอีก เพื่อจะท�ำให้ได้แม่พิมพ์ และการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป ตรงกันกับความต้องการของลูกค้า และรวมถึงเป้าหมายด้านผลก�ำไร ของตนเองอีกด้วย

บริษัท Top Tool

February-March 2016, Vol.42 No.245

47 <<<


&

Production ซึง่ ทัง้ ซัพพลายเออร์ “บี” และ “ซี” ถือว่ามีความเหมาะสมทัง้ คู่ แต่กย็ งั ไม่สามารถทีจ่ ะรับประกันได้วา่ จะสามารถทำ�การผลิตชิน้ งาน นีอ้ ย่างเหมาะสมได้ ทัง้ นีก้ ข็ นึ้ อยูก่ บั ว่าซัพพลายเออร์รายนัน้ จะนิยาม และประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดคุณสมบัติของชิ้นงานนั้นเป็นอย่างไร ช่วงคุณสมบัติของชิ้นงานอาจมีช่วงนับจากชิ้นงานอย่างง่าย ทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดอยูบ่ า้ ง ไปจนถึงชิน้ งานทีม่ คี วามเข้มงวดอย่างแท้จริง โดย งานเที่ ย งตรงจิ๋ ว ที่ ซั บ ซ้ อ นนี้ ใ นรุ ่ น ที่ มี ค วามเข้ ม งวดสู ง ก็ จ ะเป็ น ที่ ต้องการมาก ถึงแม้ว่าจะผ่านการตรวจสอบงานที่ออกมาช่วงแรก (First Article Inspection: FAI) โดยการน�ำชิ้นงาน 5 ชิ้นมาท�ำให้ ปรากฏออกมาเป็นภาพทีแ่ ท้จริงของชิน้ งาน เรียกว่า กระบวนการตรวจ คุณสมบัตไิ ปได้แล้วก็ตาม แต่ถงึ กระนัน้ กระบวนการ “FAI” ก็เป็นเพียง หนึ่งการสุ่มตัวอย่างของปัจจัยที่ส�ำคัญเท่านั้น ซึ่งไม่เพียงพอที่จะใช้ เป็นเหตุผลในการรับรองแม่พิมพ์นั้นว่า มีความสามารถในการผลิต ขั้นสุดท้ายอย่างสมบูรณ์แท้จริงได้ และถึงแม้ว่าจะผ่านกระบวนการ “FAI” ไปแล้วก็ตาม แต่ก็ยังมีโอกาสที่เป็นไปได้ที่จะท�ำการผลิตโดย ต้องเสียค่าใช้จ่ายในส่วนที่เป็นเศษ ซึ่งเกิดจากของเสียได้มากถึง 15 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งบางทีอาจเป็นเพราะข้อจ�ำกัดในการวิเคราะห์จึงท�ำให้ ไม่สามารถคาดการณ์การสึกหรอที่มีลักษณะเฉพาะของแม่พิมพ์ได้ ดังนั้นจึงต้องมีการบริหารความเสี่ยงอย่างมีระเบียบแบบแผนในทุก ๆ ขั้นตอนเพิ่มขึ้นด้วย การผลิตชิน้ งานอย่างรวดเร็ว ด้วยจ�ำนวนน้อยๆ (quick-turn, low-volume) ได้ จึงท�ำให้มคี วามสามารถสมบูรณ์อย่างเต็มทีย่ งิ่ ขึน้ ซึง่ ผูเ้ ชีย่ วชาญได้พสิ จู น์แล้วว่า งานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปโลหะเทีย่ งตรงเป็น ทางออกในการผลิตชิ้นงานจิ๋ว ซึ่งผสมผสานด้านคุณภาพ ความเร็ว และราคาเข้าไว้ด้วยกัน แม้แต่การประยุกต์ใช้ในการผลิตชิ้นงาน ต้นแบบอย่างรวดเร็วหรือผลิตในจ�ำนวนน้อยไปจนถึงปานกลาง และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะมีความท้าทายมากในงาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ ลักษณะเฉพาะรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อน เที่ยงตรง และมีค่าพิกัด ความเผื่อในระดับไมครอนด้วย

>>>48

February-March 2016, Vol.42 No.245

การวิจัยและพัฒนา คือ บทบาทที่สำ�คัญในงานปั๊มตัดเฉือนขึ้นรูป (R&D is a stamping role)

ชิน้ งานย่อส่วนทีเ่ ป็นแบบผลิตตามค�ำสัง่ ของลูกค้า และได้รบั ความร่วมมือในการวิจัยพัฒนา เป็นการล่วงหน้าโดยซัพพลายเออร์ ในโครงการงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูป ดัง 2 ตัวอย่าง ต่อไปนี้ ➲ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในการออกแบบวงจร ที่ไม่ สามารถยอมให้ใช้เวลาในการสร้างภายใน 2 หรือ 3 สัปดาห์ตามวิธี การดั้งเดิมด้วยแม่พิมพ์ที่ยึดตายตัว ดังนั้นการระดมสมองกับลูกค้า เพื่อเริ่มด�ำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการแยกส่วน มีการ ขับเคลื่อนด้วยชิ้นส่วนแบบสอดใส่ ท�ำให้สามารถสร้างแม่พิมพ์ตาม สั่งได้ภายในเวลาเพียง 2 ถึง 3 วัน และยังท�ำให้มีต้นทุนแม่พิมพ์เพียง ครึ่งเดียวเท่านั้น พร้อมกันนี้ยังได้รับการปรับปรุงคุณภาพ และมี สมรรถภาพที่ดียิ่งขึ้นกว่าเดิมอีกด้วย ➲ ผู้ออกแบบแม่พิมพ์ และวิศวกรอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้ มี ค วามร่ ว มมื อ กั น ในการออกแบบชิ้ น งานปั ๊ ม ตั ด เฉื อ น-ขึ้ น รู ป เที่ยงตรงจิ๋วย่อส่วน ส�ำหรับอุปกรณ์ที่สามารถปลูกถ่ายได้ โดยที่ใน ขั้นตอนล่วงหน้านั้น พันธมิตรทางธุรกิจต่างก็ได้ร่วมขับเคลื่อนหา ทางออกในการออกแบบ ด้านวิศวกรรมทีส่ มั พันธ์กบั ความสามารถใน การผลิตให้เป็นจริง และการประกอบภายในห้องสะอาด หรือห้อง ปลอดเชื้อได้ สิทธิบัตรแม่พิมพ์ขนาดย่อส่วน (The Miniature Die Unit: MDU) ของบริษัท Top Tool เป็นตัวอย่างในการใช้การปั๊มตัดเฉือนขึ้นรูปเที่ยงตรงส�ำหรับการผลิต และสร้างชิ้นงานต้นแบบที่มีจ�ำนวน น้อย ๆ ได้ โดยจะมีส่วนโครงแม่พิมพ์หรือดายเซ็ตมาตรฐานพร้อมใช้ ไว้ในคลังสินค้า เพื่อรับรองการส่งมอบการผลิตของตนเอง และสร้าง แม่พมิ พ์ทเี่ ข้มงวดตามสัง่ ได้ภายในเวลาหนึง่ สัปดาห์หรือน้อยกว่า แล้ว ก็ยังได้รวมศักยภาพที่มีความสามารถอย่างสมบูรณ์เต็มที่ทั้งหมด ส�ำหรับงานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปเทีย่ งตรงชัน้ เลิศเข้าไว้ดว้ ย เพือ่ เป็นย่าง ก้าวส�ำหรับการผลิตชิ้นงานจิ๋วต่อไปอีก ลูกค้าจะใช้ความคล่องตัว ระยะเวลาที่รวดเร็วในการสร้าง แม่พมิ พ์ขนาดย่อส่วน เพือ่ แก้ไขปัญหาการสร้างแม่พมิ พ์ปม๊ั ตัดเฉือนขึ้นรูประดับจุลภาคที่เข้มงวด เพื่อให้สามารถเข้าถึงในขั้น “ต้องการ เดี๋ยวนี้” ของงานต้นแบบที่ใช้ในขั้นตอนการวิจัย และพัฒนาได้ ซึ่ง ชิน้ งานจิว๋ หรือชิน้ งานจิว๋ ย่อส่วนในช่วงก่อนหน้านี้ อาจจะต้องวางกอง ซ้อน ๆ กันไว้เพื่อรอการตัดเฉือนด้วยเส้นลวดหรือแสงเลเซอร์ ซึ่งมี นัยส�ำคัญด้านต้นทุนต่อชิ้นที่สูงกว่า ในส่วนบริษัทชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์การแพทย์โดยเฉพาะทั้งหลาย ก็จะมีอิทธิพล ผลักดันให้มกี ารน�ำแม่พมิ พ์ขนาดย่อส่วนมาใช้ในการหาทางออก และ แก้ปญ ั หา เพือ่ ก�ำหนดให้การปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปนีเ้ ป็นวิธกี ารผลิตทีไ่ ด้ ผ่านการทดสอบ-รับรองแล้วอีกด้วย


&

Production

ปัจจัยส�ำคัญอันดับที่ 5 ความเป็นผู้เชี่ยวชาญ และปรับแก้ อย่างประณีตในระบบพื้นฐาน (specialized, fine-tuned and infrastructure) การจัดหากระบวนการปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปทีเ่ หมาะกับการผลิต ชิน้ ส่วนประกอบจิว๋ นัน้ จะพิจารณาจากชุดทักษะอันเป็นแก่นแท้ทจี่ ะ ก่อให้เกิดระบบพืน้ ฐานซึง่ เป็นตัวก�ำหนด และท�ำให้มสี มรรถนะในการ ท�ำงาน อย่างไรก็ตาม ในแต่ละซัพพลายเออร์จะมีความแตกต่างกัน ของระดับทักษะใน 3 เรื่องพื้นฐานส�ำคัญซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงถึงความ สามารถปรับละเอียดในการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปจิ๋วที่มีการปฏิบัติงาน ในระดับสูง ต่อไปนี้

ความชำ � นาญที่ ผ่ า นการทดสอบ-พิ สู จ น์ ใ นการวิ จั ย และ พัฒนาแล้ว (tested, proven R&D skills)

ส�ำหรับทางออกในเรือ่ งนีท้ ำ� ได้ดว้ ยการเสาะหาซัพพลายเออร์ ที่ได้อุทิศตน เพื่องานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปจิ๋วที่มีความก้าวหน้าใน ขั้นตอนการวิจัย และพัฒนาชิ้นส่วนประกอบจิ๋ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทาย ถึงแม้ว่าจะมีผู้ผลิตอุปกรณ์-ชิ้นส่วนแท้ดั้งเดิม ซึ่งมีความคลุมเครือ หรือมีความไม่น่าเชื่อถือในการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปนี้อยู่ด้วย ก็จะต้อง เฟ้นหาอย่างหนัก เพื่อให้การยอมรับหรือแม้แต่ท�ำการจูงใจให้กลาย เป็นซัพพลายเออร์ชนิ้ ส่วนประกอบจิว๋ ชัน้ เลิศขึน้ มา และควรหลีกเลีย่ ง ผลักดันผูผ้ ลิตงานปัม๊ ตัดเฉือน-ขึน้ รูปทีม่ คี วามช�ำนาญน้อย ซึง่ ไม่รสู้ กึ ท้าทายในงานลักษณะนี้ออกไป ส่วนซัพพลายเออร์ที่มีประสิทธิภาพ สูง ซึ่งมีความก้าวหน้าในทักษะด้านวิศวกรรม และการรับประกัน คุณภาพนัน้ ควรได้รบั การสนับสนุนเครือ่ งมือทีช่ ว่ ยส่งเสริมให้กา้ วไป สู่ขอบเขตของการปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปชิ้นส่วนประกอบจิ๋วให้ได้

การสร้างชิ้นงานต้นแบบขั้นสูง (advanced prototyping)

ส�ำหรับข้อจ�ำกัดในเรื่องเวลา และต้นทุนนั้นอาจกล่าวได้ว่า เป็นสิ่งที่มีมาพร้อมกับการสร้างชิ้นงานต้นแบบตั้งแต่เกิดอย่างแยก จากกันไม่ได้ อันถือเป็นสิง่ ทีส่ วนทางต่อการบรรลุสกู่ ารตรวจยืนยันให้ เป็นจริงอย่างทั่วถึง สมบูรณ์ น่าเชื่อถือได้นั่นเอง อย่างไรก็ดี การกด ให้ชนิ้ งานมีราคาต�ำ่ ทีส่ ดุ นัน้ ไม่ใช่สงิ่ จ�ำเป็นต่อการรับรองหรือป้องกัน ว่าจะได้ผลลัพธ์ออกมาอย่างน่าพึงพอใจหรืออย่างน้อยในระดับที่ พึงพอใจ ถ้าหากว่าชิ้นงานต้นแบบอยู่ต�่ำกว่าระดับที่เหมาะสม ก็จะ ท�ำให้รับรู้ได้ถึงความอ่อนด้อย และปิดโอกาสที่จะท�ำการขัดเกลาให้ ดียิ่งขึ้นได้ รวมทั้งการใช้วิธีชั่วคราวในการสร้างแม่พิมพ์อย่างลวก ๆ และใช้วสั ดุทดแทนโดยเฉพาะอย่างยิง่ วัสดุทเี่ ลว ซึง่ ผลทดสอบ-รับรอง ไม่ถูกต้องตามวิธีการผลิตชิ้นส่วนประกอบจิ๋วที่ซับซ้อน ไม่ใช่เรื่องจ�ำเป็นในการที่จะพยายามลดต้นทุน และท�ำให้ ก�ำหนดการลดลงเหลือน้อยที่สุด ซึ่งเผยให้เห็นถึงการท�ำชิ้นงาน ต้นแบบให้น้อยที่สุดเท่าที่จะน้อยได้ โดยแทบจะไม่จ�ำเป็นต้องใช้ ความรู้เลย แต่ส�ำหรับในงานปั๊มตัดเฉือน-ขึ้นรูปจิ๋วชั้นเลิศนั้น ควรจะ ต้องมีนัยส�ำคัญในการสร้างชิ้นงานต้นแบบให้สูงกว่าความคาดหวัง โดยเริ่มด้วยมุมมองที่จะท�ำให้ได้ผลดีที่สุด สมบูรณ์แบบในการสร้าง ระดับโลก แล้วจึงย่อยงานลงให้เป็นมาตรฐานในการท�ำให้น้อยที่สุด เท่าที่จะน้อยได้

อ่านต่อฉบับหน้า

February-March 2016, Vol.42 No.245

49 <<<


&

Energy & Environmental

การ

พลังงานไฟฟ้า

ขยายตัวของประชากรและการเจริญ เติ บ โตทั้ ง ทางด้ า นเศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรม ต่างเป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อ ความต้องการใช้พลังงานที่สูงขึ้นทั่วโลก ปัจจุบัน พลังงานไฟฟ้าถือเป็นสิง่ จ�ำเป็นพืน้ ฐานต่อการด�ำรง ชีวิตประจ�ำวันของมนุษย์และมีความส�ำคัญต่อการ พัฒนาความเจริญในด้านต่าง ๆ ดังนั้นเราจึงควร ให้ความส�ำคัญการผลิตและการใช้พลังงงานอย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทั้งช่วยกันประหยัดพลังงาน ลองคิดดูว่าหากวันหนึ่งเราไม่มีไฟฟ้า เราจะด�ำรง ชีวิตอยู่กันอย่างไร

จากเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง 1ภาควิชาวิศวกรรมเคมี

ดร.ญาณีพร พัชรวรโชติ1 และ ดร.อมรชัย อาภรณ์วิชานพ2

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2หน่วยปฏิบัติการวิจัยวิศวกรรมกระบวนการเชิงคำ�นวณ

การผลิตไฟฟ้าจากกระบวนการเผาไหม้

ปัจจุบันการผลิตไฟฟ้าส่วนใหญ่ได้มาจากกระบวนการเชิง ความร้อนโดยการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล (fossil fuel) ได้แก่ น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เชื้อเพลิงฟอสซิลเหล่านี้เป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ แล้วหมดไป ไม่สามารถเกิดขึน้ มาใหม่ในระยะเวลาอันสัน้ ส่งผลให้ใน อนาคตอาจเกิดการขาดแคลน เมื่อพิจารณาการใช้เชื้อเพลิงในการ ผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ข้อมูลจากกระทรวงพลังงานในปี พ.ศ.2558 ชี้ให้เห็นว่า ปัจจุบันก๊าซธรรมชาติถูกน�ำมาใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าภายใน ประเทศสูงถึง 66 เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 1) โดยส่วนใหญ่สามารถผลิตได้ ภายในประเทศประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ และต้องอาศัยการน�ำเข้าจาก ต่างประเทศประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเชื้อเพลิงที่เริ่มเข้ามามี บทบาทในการผลิตพลังงานไฟฟ้ารองลงมา คือ ถ่านหิน ซึ่งมีสัดส่วน ในการใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าสูงถึง 21 เปอร์เซ็นต์ ตามมาด้วยน�้ำมัน 1 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียน (รวมพลังงานน�้ำ) มี >>>50

February-March 2016, Vol.42 No.245

เพียง 5 เปอร์เซ็นต์ และน�ำเข้าพลังงานไฟฟ้าจากต่างประเทศอีก 7 เปอร์เซ็นต์ จากการส�ำรวจข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ในการผลิต พลังงานไฟฟ้าพบว่า แนวโน้มของการใช้ถา่ นหินมาทดแทนการใช้กา๊ ซ ธรรมชาติจะเพิ่มขึ้นทุก ๆ ปี อย่างไรก็ดี การเผาไหม้ถ่านหินก่อให้เกิด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณสูงถึง 30 เปอร์เซ็นต์ นอกจากแหล่ง พลังงานเชื้อเพลิงที่มีปริมาณลดลงแล้ว การผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก กระบวนการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลยังก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม เนื่องจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมักปล่อยก๊าซอันตราย ต่างๆ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) และก๊าซออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gas) ออกสู่บรรยากาศเป็น สาเหตุที่ท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนที่คนทั่วโลกเริ่มตระหนักและหันมา ขบคิดกันแล้วว่าจะช่วยลดหรือแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร


&

Energy & Environmental Share of Power Generation by Fuel Type in 2014 Coal/Lignite 21% Natural Gas 66%

Oil 1% Hydro 3% Import 7% Others 2% Total 180,945 GWh

พลังงานทดแทน (alternative energy)

แนวทางหนึ่งที่หลาย ๆ ประเทศก�ำลังด�ำเนินการ คือ การ แสวงหาแหล่งพลังงานทดแทนอื่น ๆ เพื่อน�ำมาใช้ในการผลิต ไฟฟ้า เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ (solar energy) พลังงานลม (wind energy) พลังงานน�้ำ (water energy) และพลังงานความร้อนใต้ พืน้ พิภพ (geothermal energy) (ภาพที่ 2) รวมถึงการใช้พลังงาน ชีวมวล (biomass energy) อย่างไรก็ตาม การน�ำพลังงานทดแทน เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ยังคงจ�ำกัดเฉพาะพื้นที่เท่านั้น และมี ข้อจ�ำกัดในการพัฒนา เช่น มีราคาแพง ใช้เวลาก่อสร้างนาน ไม่ สามารถควบคุมก�ำลังการผลิตไฟฟ้าได้ตามความต้องการ เป็นต้น

▲ ภาพที่ 1 สัดส่วนในการใช้แหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย

(ที่มา: รายงานสถิติพลังงานของประเทศไทย 2558)

ภาพที่ 2 พลังงานทดแทนรูปแบบต่าง ๆ

(ที่มา: http://www.solarcell2013.com/b/2

http://www.connectpositronic.com/wind-energy-connectors

http://www.f9solar.com/site/water

http://www.conserve-energy-future.com/GeothermalEnergyHistory.php)

February-March 2016, Vol.42 No.245

51 <<<


&

Energy & Environmental เซลล์เชื้อเพลิง (fuel cell)

นอกจากการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน ปัจจุบันยังมี การคิ ด ค้ น และพั ฒ นาเทคโนโลยี ใ นการผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า ให้ มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น เซลล์เชื้อเพลิงเป็นอุปกรณ์ผลิตกระแสไฟฟ้า อีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรงจากการ เปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีภายในเชื้อเพลิงไปเป็นพลังงานไฟฟ้าผ่าน กระบวนการไฟฟ้าเคมี (electrochemical process) เซลล์เชื้อเพลิง จึงมีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าสูง และที่ส�ำคัญการผลิต ไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิงจะไม่เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมเพราะ เป็นการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ไม่ได้ใช้กระบวนการเผาไหม้ มีเพียงน�้ำ และความร้อนเป็นผลพลอยได้ นอกจากนี้การท�ำงานของเซลล์เชื้อเพลิงยังไม่เกิดมลภาวะ ทางด้านเสียง เนือ่ งจากส่วนประกอบหลักของเซลล์เชือ้ เพลิงมีเพียง 3 ส่วน คือ สารพาไอออนหรืออิเล็กโทรไลต์ (electrolyte) ซึ่งคั่นอยู่ตรง กลางระหว่างขั้วไฟฟ้าอิเล็กโทรด 2 ขั้ว คือ ขั้วแอโนด (anode) และ ขั้วแคโทด (cathode) จึงไม่มีส่วนประกอบใดภายในเซลล์เชื้อเพลิงที่ เกิดการเคลือ่ นที่ ท�ำให้ไม่กอ่ ให้เกิดเสียงรบกวนระหว่างการด�ำเนินงาน เซลล์เชือ้ เพลิงเริม่ เข้ามามีบทบาทส�ำคัญต่อการผลิตพลังงาน ไฟฟ้า ปัจจุบันมีการพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงขึ้นมาหลายชนิด เซลล์ เชื้อเพลิงแต่ละประเภทมีลักษณะการด�ำเนินงานที่แตกต่างกันตาม ชนิดของอิเล็กโทรไลต์ที่ใช้ และจากความหลากหลายของเซลล์ เชือ้ เพลิงนี้ ท�ำให้สามารถน�ำเซลล์เชือ้ เพลิงมาประยุกต์ใช้งานได้หลาย ลักษณะขึน้ อยูก่ �ำลังไฟฟ้าทีจ่ ะน�ำไปใช้งาน เช่น น�ำไปใช้ในสถานีผลิต ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เพือ่ แจกจ่ายกระแสไฟฟ้าไปยังบ้านเรือนหรือโรงงาน อุตสาหกรรม หรือน�ำมาใช้ในอุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์แบบพกพาและ ยานพาหนะก็ได้

เซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง (solid oxide fuel cell)

เป็นเซลล์เชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่ใช้โลหะออกไซด์เป็นอิเล็กโทรไลต์ โครงสร้างของเซลล์เชื้อเพลิงที่เป็นของแข็งทั้งหมด ท�ำให้เซลล์ เชือ้ เพลิงชนิดนีไ้ ม่มปี ญ ั หาเรือ่ งการกัดกร่อนของเซลล์และการแพร่ของ เชือ้ เพลิงจากขัว้ ไฟฟ้าหนึง่ ไปยังอีกขัว้ ไฟฟ้าหนึง่ เหมือนเซลล์เชือ้ เพลิง ทีใ่ ช้สารละลายหรือใช้เยือ่ แลกเปลีย่ นโปรตอนเป็นอิเล็กโทรไลต์ เซลล์ เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งสามารถด�ำเนินงานได้ที่อุณหภูมิสูงในช่วง 800-1,000 องศาเซลเซียส จึงมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนก๊าซ ไฮโดรเจนไปเป็นพลังงานไฟฟ้าค่อนข้างสูง (50-60 เปอร์เซ็นต์) เมื่อ เปรียบเทียบกับเซลล์เชื้อเพลิงชนิดอื่น ๆ (ภาพที่ 3) การด�ำเนินงานที่ อุณหภูมสิ งู ท�ำให้ไม่จำ� เป็นต้องใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าทีเ่ ป็นโลหะราคาแพง ในการเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมีที่ขั้วอิเล็กโทรด ส่งผลให้ต้นทุนการผลิต ลดลง นอกจากนี้ยังสามารถใช้ก๊าซเชื้อเพลิงได้หลากหลายชนิด เช่น >>>52

February-March 2016, Vol.42 No.245

มีเทน เอทานอล เมทานอล แอมโมเนีย เนื่องจากการด�ำเนินงานที่ อุณหภูมสิ งู เชือ้ เพลิงเหล่านีส้ ามารถเปลีย่ นรูปเป็นก๊าซไฮโดรเจนเพือ่ ใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์เชือ้ เพลิงชนิดออกไซด์แข็งได้ ข้อดีอีกประการของการด�ำเนินการที่อุณหภูมิสูง คือ สามารถน�ำก๊าซ ทิ้งที่ออกจากเซลล์เชื้อเพลิงที่มีอุณหภูมิสูงมาใช้งานในกระบวนการ ผลิตพลังงานความร้อนร่วม เพื่อใช้ภายในระบบเซลล์เชื้อเพลิง การ ออกแบบระบบของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งโดยพิจารณา การน�ำความร้อนกลับมาใช้ประโยชน์จะท�ำให้ประสิทธิภาพรวมของ ระบบสูงถึง 80-85 เปอร์เซ็นต์

DC electricity e-

e-

H2

O2-

O2

H2

O2-

O2

H2O Anode Electrolyte Cathode รูปที่ 3 เซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง

ระบบการผลิตไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง

เนื่องจากเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งมีประสิทธิภาพสูง ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า และการใช้อิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของแข็ง ท�ำให้สามารถด�ำเนินการได้ง่ายโดยไม่มีปัญหาด้านการจัดการน�้ำที่ เกิดขึน้ และการกัดกร่อนของวัสดุตามมา ปัจจุบนั มีนกั วิจยั จ�ำนวนมาก ได้ท�ำการศึกษาและพัฒนาเกี่ยวเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้ เพราะระบบ ของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้งาน ได้หลากหลาย และมีก�ำลังการผลิตไฟฟ้าตั้งแต่ระดับกิโลวัตต์ถึง ระดับเมกะวัตต์ การผลิตไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิง ไม่ว่าจะเป็นเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดใดก็ตาม จ�ำเป็นต้องมีการป้อนก๊าซเชื้อเพลิงเข้าไปยังเซลล์ เชือ้ เพลิง ดังนัน้ ระบบเซลล์เชือ้ เพลิงจึงต้องมีหน่วยกักเก็บก๊าซเชือ้ เพลิง โดยทั่วไปก๊าซไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงที่เหมาะสมส�ำหรับการผลิต ไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิง อย่างไรก็ตาม เนื่องจากก๊าซไฮโดรเจนเป็น ก๊าซทีไ่ วไฟ หากเกิดการรัว่ ไหลออกสูบ่ รรยากาศจะท�ำให้เกิดการติดไฟ


&

Energy & Environmental

Synthesis gas Hydrogen-rich DC Gas current Hydrocarbon Fuel Power SOFC Stack fuels Professor Conditioner Water Heat

lytic burner) หน่วยส�ำหรับป้อนน�้ำ (water for start-up) หน่วยป้อน อากาศ (air supply) ระบบการน�ำความร้อนทีเ่ หลือมาใช้งาน (anode recycle) รวมถึงเครือ่ งแลกเปลีย่ นความร้อน (heat exchanger) แล้ว ระบบการผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งยังประกอบ ด้วยหน่วยปฏิบตั กิ ารอืน่ ๆ เช่น ระบบจัดการเชือ้ เพลิง (fuel management) และระบบควบคุม (control unit) เป็นต้น (ภาพที่ 6) Exhaust De-sulphuriser Pre-reformer SOFC

Water for start-up

Anode recycle

Catalytic Burner

Cathode

NG

Anode

ได้งา่ ย ดังนัน้ การใช้กา๊ ซไฮโดรเจนจึงยังมีปญ ั หาในด้านการเก็บรักษา และการขนส่ง ส�ำหรับประเด็นปัญหานี้ มีนักวิจัยก�ำลังค้นคว้าและ พัฒนาวิธีการกักเก็บก๊าซไฮโดรเจนส�ำหรับใช้ในเซลล์เชื้อเพลิง เพื่อ ท�ำให้ระบบการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิงมีความน่าเชื่อถือและ เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์นั้น ไม่จ�ำเป็นต้องใช้ก๊าซไฮโดรเจนบริสุทธิ์เป็นเชื้อเพลิงเพียงอย่างเดียว แต่ยงั สามารถใช้กา๊ ซเชือ้ เพลิงไฮโดรคาร์บอนอืน่ ๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติ มีเทน เอทานอล เมทานอล หรือน�้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิงก็ได้ โดย เชื้อเพลิงเหล่านี้จะถูกเปลี่ยนไปเป็นก๊าซไฮโดรเจนภายในเซลล์ เชื้อเพลิง อย่างไรก็ดี การด�ำเนินงานในลักษณะดังกล่าวอาจท�ำให้ ประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิงลดลง เนื่องจากปัญหาการเกิด คาร์บอนขึ้นที่ขั้วไฟฟ้าระหว่างการเปลี่ยนรูปเชื้อเพลิงภายในเซลล์ เชื้อเพลิง ดังนั้นโดยทั่วไปมักจะท�ำการเปลี่ยนรูปเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์บอน (fuel processing) ให้เป็นก๊าซไฮโดรเจนก่อนน�ำมาป้อนเข้า สูเ่ ซลล์เชือ้ เพลิง โดยก๊าซไฮโดรเจนทีผ่ ลิตได้จากกระบวนการดังกล่าว จะสามารถน�ำมาใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าได้ต่อไป เนื่องจากไฟฟ้าที่ผลิตได้จากเซลล์เชื้อเพลิงเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ดังนั้นระบบเซลล์เชื้อเพลิงจ�ำเป็นต้องมีหน่วยแปลงกระแสไฟฟ้า (power conditioner) เพื่อเปลี่ยนไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแส สลับส�ำหรับน�ำไปใช้งานในระบบไฟฟ้า (ภาพที่ 4)

Air supply

ภาพที่ 5 แผนภาพการไหลของก๊าซเบือ้ งต้นสำ�หรับระบบเซลล์เชือ้ เพลิงชนิดออกไซด์แข็งขนาด 250 กิโลวัตต์ ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง (Fontell และคณะ, 2004)

AC Electricity

Exhaust

AC current

Cogeneration or Bottoming cycle

ภาพที่ 4 ระบบเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็ง

นอกจากระบบการป้อนเชื้อเพลิงและการแปลงกระแสไฟฟ้า แล้ว ระบบการผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งนั้น จ�ำเป็นต้องมีการดึงก๊าซสารตั้งต้นที่เหลือและความร้อนที่ได้จากการ ท�ำปฏิกริ ยิ าภายในเซลล์เชือ้ เพลิงไปใช้ประโยชน์ เพือ่ ให้ระบบการผลิต ไฟฟ้าโดยเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งมีความสมดุล (balance of plant) จึงจ�ำเป็นต้องมีการเพิ่มระบบปฏิบัติการอื่น ๆ เข้ามาด้วย จาก ตัวอย่างการผลิตไฟฟ้าร่วมกับพลังงานความร้อนของเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็งทีใ่ ช้กา๊ ซธรรมชาติเป็นเชือ้ เพลิง (ภาพที่ 5) ซึง่ มีกำ� ลัง ในการผลิตไฟฟ้าขนาด 250 กิโลวัตต์ (Fontell และคณะ, 2004) จะเห็นได้ว่า นอกจากหน่วยก�ำจัดซัลเฟอร์ (de-sulphuriser unit) ที่ ปนมากับก๊าซธรรมชาติ หน่วยเปลี่ยนรูปก๊าซเชื้อเพลิงขั้นต้น (prereformer) หน่วยเผาไหม้ของก๊าซเชื้อเพลิงและอากาศที่เหลือ (cata-

1. Fuel Cell Stacks 2. Fuel Pre-reformer 3. Process Gas Heater 4. Fuel De-sulphuriser 5. Air Pre-heater 6. Post-combustion 7. Heat Recovery

8. Fuel Management 9. Air Blower 10. Control Unit 11. Power Conversion Unit 12. Back-up Power Unit 13. Purge Gas 14. Water Purification for Start-up Steam

ภาพที่ 6 แบบจำ�ลอง 3 มิติ ของระบบเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็งขนาด 250 กิโลวัตต์ ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง (Fontell และคณะ, 2004)

February-March 2016, Vol.42 No.245

53 <<<


&

Energy & Environmental ข้อจำ�กัดของการผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็ง

แม้ว่าการผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งมี แนวโน้มที่สามารถน�ำไปใช้ในสถานีผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ในอนาคต แต่เนื่องจากการด�ำเนินงานที่อุณหภูมิสูงของเซลล์เชื้อเพลิง ชนิด ออกไซด์แข็ง จึงท�ำให้การศึกษา วิจัยและพัฒนาระบบเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็งค่อนข้างมีความท้าทาย โดยปัญหาหลักที่เกิดขึ้น เนื่องจากการด�ำเนินงานที่อุณหภูมิสูง ก็คือ ➲ องค์ประกอบของเซลล์แต่ละส่วนมีค่าสัมประสิทธิ์การ ขยายตัวทางความร้อนไม่เท่ากัน ส่งผลให้เซลล์เชือ้ เพลิงเกิดการขยาย ตัวและแยกออกจากกัน ➲ เกิดความเค้นภายในองค์ประกอบของเซลล์ อาจะท�ำให้ เซลล์เชื้อเพลิงเกิดการแตกหักได้ ➲ ต้องการวัสดุที่ทนต่อการด�ำเนินงานภายใต้อุณหภูมิสูง ซึ่งมีราคาแพง ➲ อายุการใช้งานของเซลล์เชื้อเพลิงสั้น ➲ ใช้เวลาในการเริ่มเดินเครื่องและปิดเครื่องนาน ปัญหาต่าง ๆ เหล่านี้เป็นอุปสรรคส�ำคัญในการพัฒนาเซลล์ เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งเชิงพาณิชย์ เนื่องจากท�ำให้เซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็งมีราคาในการสร้างและด�ำเนินงานค่อนข้างสูงขึ้น เมือ่ ท�ำการประเมินค่าใช้จา่ ยในการสร้างระบบการผลิตไฟฟ้า ร่วมกับพลังงานความร้อนของเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็งที่ ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในภาพที่ 6 นั้น พบว่า ค่าใช้จ่ายในการ สร้างระบบเซลล์เชื้อเพลิงหลัก ๆ เกิดจากการสร้างเซลล์เชื้อเพลิง ชนิดออกไซด์แข็ง ซึ่งออกแบบโดยใช้ขั้วแอโนดเป็นโครงสร้างรองรับ

>>>54

February-March 2016, Vol.42 No.245

ถึ ง 31 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ดั ง ที่ ค าดการณ์ ไ ว้ ตามมาด้ ว ยหน่ ว ยด้ า น อิเล็กทรอนิกส์ที่ท�ำหน้าที่ในการเปลี่ยนจากไฟฟ้ากระแสตรงให้เป็น กระแสสลับ 15 เปอร์เซ็นต์ ระบบควบคุม 17 เปอร์เซ็นต์ และหน่วย อืน่ ๆ ดังนัน้ การปรับปรุงและพัฒนาหน่วยของเซลล์เชือ้ เพลิงออกไซด์ แข็งจึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญต่อการผลักดันให้การผลิตไฟฟ้าโดยเซลล์ เชื้อเพลิงชนิดออกไซด์แข็งสามารถเกิดขึ้นได้จริง โดยแนวทางหนึ่ง ที่สามารถลดปัญหาต่าง ๆ ข้างต้นได้ คือ การด�ำเนินงานของเซลล์ เชือ้ เพลิงชนิดออกไซด์แข็งด้วยอุณหภูมทิ นี่ อ้ ยลงในช่วงอุณหภูมปิ าน กลาง (intermediate temperature) ระหว่าง 600 และ 800 องศา เซลเซียส โดยการด�ำเนินงานทีส่ ภาวะดังกล่าว ท�ำให้สามารถเลือกใช้ วัสดุในการสร้างเซลล์เชือ้ เพลิงได้หลากหลายมากขึน้ ซึง่ จะช่วยลดค่า ใช้จ่ายในการสร้างเซลล์เชื้อเพลิงได้เป็นอย่างมาก นอกจากนี้หากใน อนาคตมีการพัฒนาวัสดุอเิ ล็กโทรดทีม่ คี วามทนทานต่อสิง่ เจือปนมาก ขึน้ หรือใช้เชือ้ เพลิงชีวภาพทีไ่ ม่มซี ลั เฟอร์เจือปนก็จะสามารถลดหน่วย ก�ำจัดสิ่งเจือปนอย่างหน่วยก�ำจัดซัลเฟอร์ออกไปจากระบบเซลล์ เชื้อเพลิงได้ ยิ่งไปกว่านั้นถ้ามีการพัฒนาและแก้ไขปัญหาการเกิด คาร์บอนระหว่างการเปลี่ยนรูปเชื้อเพลิงภายในเซลล์ได้ จะท�ำให้เชื้อ เพลิงชนิดออกไซด์แข็งด�ำเนินการในลักษณะการเปลี่ยนรูปเชื้อเพลิง ภายในได้ ส่งผลให้ลดภาระการใช้หน่วยเปลีย่ นรูปเชือ้ เพลิง นอกจาก นีก้ ารเปลีย่ นรูปเชือ้ เพลิงภายในเซลล์เชือ้ เพลิงยังสามารถลดอุณหภูมิ ภายในเซลล์เชื้อเพลิงและลดความต้องการการป้อนอากาศเย็นเพื่อ ลดอุณหภูมิของเซลล์เชื้อเพลิงได้ เอกสารอ้างอิง 1. ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, ‘รายงานสถิติพลังงานของ ประเทศไทย 2558’ 2. ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน, ‘แผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า ของประเทศไทย พ.ศ.2558-2579’ 3. E. Fontell, T. Kivisaari, N. Christiansen, J.B. Hansen, J. Pålsson, Conceptual study of a 250 kW planar SOFC system for CHP application, Journal of Power Sources 131 (2004) 49–56. 4. “History Of Geothermal Energy”. [Online]. Available: http:// www.conserve-energy-future.com/GeothermalEnergyHistory.php 2015. 5. “Water”. [Online]. Available: http://www.f9solar.com/site/ water 2015. 6. “WIND ENERGY CONNECTORS AND WIND TURBINES”. [online]. Available: http://www.connectpositronic.com/wind-energy-connectors/ 2015. 7. “Solar cell (พลังงานโซล่าเซลล์)”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http:// www.solarcell2013.com/b/2 2558.


&

Computer & IT

แนวโน้ ม 5 ก�ำหนดทิศทางระบบไอทีและธุรกิจ ปี 2559

ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์

บริษัท

ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น (HDS) ธุรกิจในเครือของบริษัท ฮิตาชิ จ�ำกัด เผยคาดการณ์ 5 แนวโน้มธุรกิจและไอทีของภาคพื้น เอเชียแปซิฟิก ในปี พ.ศ.2559 โดย มร.เอเดรียน เดอ ลูกา ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายเทคโนโลยีของบริษัทฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ เอเชีย แปซิฟิกว่า องค์กรต่าง ๆ จะเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่สู่ระบบดิจิทัลในปีนี้ เพื่อเตรียมพร้อมรับรูปแบบการท�ำงานต่าง ๆ ทั้งฝ่ายที่เกี่ยว และไม่เกี่ยวกับเทคโนโลยีในองค์กร

มร.เอเดรียน เดอ ลูกา กล่าวว่า การเปลีย่ นแปลงสูย่ คุ ดิจทิ ลั ก�ำลังจะกลายเป็นประเด็นส�ำคัญขององค์กรอย่างรวดเร็ว โดย ผู้บริหารฝ่ายสารสนเทศ หรือ ซีไอโอ จะไม่ได้เป็นผู้น�ำหลักในการ เปลีย่ น แต่ผบู้ ริหารในทุกภาคส่วนต่าง ๆ ในองค์กรจะเป็นผูผ้ ลักดัน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้ ยกตัวอย่างเช่น ผู้บริหารฝ่ายการตลาด หรือ ซีเอ็มโอ จะพบว่า กลยุทธ์การตลาดแบบเดิม ๆ จะไม่ได้ผลอีก ต่อไป ในขณะที่ผู้บริหารฝ่ายการเงิน หรือ ซีเอฟโอ จะพบว่า รูปแบบ การท�ำธุรกรรมของลูกค้าและผู้จัดจ�ำหน่ายได้เปลี่ยนไป ทุกภาคส่วน ต้องปรับมุมมองใหม่ด้วยการใช้ระบบดิจิทัลมาช่วยในการท�ำงาน

มร.เอเดรียน เดอ ลูกา February-March 2016, Vol.42 No.245

55 <<<


&

Computer & IT

โดย 5 แนวโน้มหลักทีจ่ ะก�ำหนดทิศทางของระบบสารสนเทศ และธุรกิจในเอเชียแปซิฟิกในปีนี้ มีดังนี้

1

องค์กรที่ ไม่เคยปรับตัวจะก้าวสู่ระบบดิจิทัล

จากผลส�ำรวจของ Gartner CIO Agenda Insights Report ปี พ.ศ.2558 รายงานว่า ในปีที่ผ่านมาซีไอโอคาดหวังว่ารายได้ของ ธุรกิจจากช่องทางดิจิทัลเพียงร้อยละ 16 แต่ในปีนี้ตัวเลขดังกล่าวได้ เพิม่ ขึน้ เกิน 2 เท่า ไปเป็นร้อยละ 37 จึงเป็นการตอกย�ำ้ ว่า การใช้ระบบ ดิจทิ ลั จะไม่ได้ถกู ผลักดันจากฝ่ายสารสนเทศอีกต่อไป หากแต่ผนู้ ำ� ของทุกภาคส่วนได้ริเริ่มสร้างแพลตฟอร์ม และหันมาใช้ระบบ ดิจิทัลเพื่อการใช้งานของฝ่ายด้วยตัวเอง ยกตัวอย่างในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ฝ่ายซีเอ็มโอจะไม่ไปหา แผนกสารสนเทศเพือ่ สร้างระบบอีกต่อไป แต่จะไปหาผูใ้ ห้บริการทีใ่ ห้ บริการในรูปแบบ As a Service ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการใน ภาพรวมของธุรกิจ เพือ่ ตอบสนองความจ�ำเป็นในเชิงรุก มากกว่าทีจ่ ะ รอให้บริษัทผู้ค้าหรือคู่แข่งสร้างแพลตฟอร์มใหม่ขึ้นมา

2

บริษัทอัจฉริยะจะช่วยสร้างเมืองอัจฉริยะ

เมืองอัจฉริยะเป็นประเด็นที่ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกให้ความ สนใจมานานแล้ว โดยมีหลายประเทศเริม่ โครงการมากมาย เพือ่ ตอบ โจทย์ด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ความปลอดภัยสาธารณะจนถึงการเพิ่ม ศักยภาพระบบขนส่ง อย่างไรก็ดี ยังมีรัฐบาลของเพียงไม่กี่ประเทศที่

>>>56

February-March 2016, Vol.42 No.245

มีประสบการณ์ หรือช่องทางระดมทุนในการสร้างและด�ำเนินโครงการ ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง หากแต่ต้องร่วมเป็นพันธมิตรกับผู้ประกอบการ รายใหญ่ทไี่ ด้ลงทุนในระบบ Internet of Things (IoT) และน�ำทรัพย์สนิ ทางปัญญาของตนพร้อมกับพันธมิตรในกลุ่มเทคโนโลยีเพื่อพัฒนา โซลูชนั่ ทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะให้เป็นรูปธรรมได้รว่ มกัน นัน่ ย่อมหมายความว่า บริษทั อัจฉริยะต่าง ๆ จะเป็นตัวกระตุน้ ให้เมืองอัจฉริยะเกิดขึ้นได้จริง ในขณะที่รัฐบาลในประเทศต่าง ๆ ได้ เปิดโอกาสส�ำหรับโครงการใหม่ ๆ อาทิ Digital India, Smart Nation Singapore และ Digital China ซึ่งเป็นโอกาสทางธุรกิจส�ำหรับบริษัท ในธุรกิจอุตสาหกรรมนี้จะมีมาก โดยมูลค่าการลงทุนเฉพาะด้าน เทคโนโลยีในแต่ละปีจะเพิ่มขึ้นเป็น 4 เท่า หรือเท่ากับ 11.3 พันล้าน เหรียญสหรัฐ ในปี พ.ศ.2566 ตามที่บริษัทวิจัย Navigant Research ได้คาดการณ์ไว้

3

ระบบสารสนเทศแบบ Cross-modal จะรวมธุรกิจ เป็นหนึ่งเดียว

เป็นที่ทราบกันดีว่าองค์กรฝ่ายสารสนเทศมี 2 รูปแบบ ในการ ตอบสนองความต้องการขององค์กรดิจิทัล ได้แก่ รูปแบบที่ 1 แอปพลิเคชัน่ ทีร่ องรับระบบการบันทึกแบบเดิม ๆ อาทิ ระบบ CRM และอีคอมเมิร์ซ ซึ่งระบบเหล่านี้ถูกสร้างภายใต้ การคาดคะเนได้ ความแม่นย�ำ และการพร้อมใช้งาน เพือ่ รองรับข้อมูล ที่มีความส�ำคัญกับองค์กร


&

Computer & IT รูปแบบที่ 2 ระบบส�ำหรับข้อมูลเชิงลึกทีต่ อ้ งอาศัยการท�ำงาน เชิงลึก อาทิ การวิเคราะห์ข้อมูล Big Data เพื่อน�ำเสนอมุมมองความ เป็นไปของธุรกิจในเชิงลึกให้ผู้ใช้สามารถทดสอบสมมติฐานบาง ประเภทได้ โดยการจัดเรียงชั้นของชุดข้อมูล ระบบเหล่านี้ต้องอาศัย ความคล่องตัวและความเร็ว เพื่อให้องค์กรสามารถทดลองความคิด ใหม่ ๆ ให้ธุรกิจได้อย่างรวดเร็วและประหยัด พร้อมกับก�ำจัดสิ่งที่ไม่ เกิดผล และพร้อมทดสอบสิ่งใหม่ได้ตลอดเวลา ความจ�ำเป็นในการรวมทั้ง 2 รูปแบบเข้าด้วยกัน เพื่อสร้าง ระบบ Cross-modal จะทวีความส�ำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะส�ำหรับ องค์กรที่ต้องการความคุ้มค่าสูงสุดในการด�ำเนินงาน และประสาน ระบบส�ำหรับการพัฒนารูปแบบธุรกิจใหม่ และการตอบสนองของ ลูกค้า โดยองค์กรที่จะได้รับประโยชน์สูงสุด ได้แก่ องค์กรที่สามารถ เลือกใช้กระบวนการที่มีความคล่องตัวในการท�ำงาน และพร้อมน�ำ เสนอ Application Programming Interfaces (API) ซึ่งเป็นช่องทาง ตัวกลางการเชื่อมต่อโปรแกรมประยุกต์หรือระบบปฏิบัติการอื่น ๆ ท�ำให้เกิดความรวดเร็วส�ำหรับการบริการด้านธุรกิจ และองค์กรที่ สามารถสร้าง Data Lake ส�ำหรับสินทรัพย์ดจิ ทิ ลั และสร้างมาตรฐาน ให้กับโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีของตนจะอยู่รอดได้เป็นอย่างดี เช่นกัน

4

ระบบ Multi-cloud ช่วยต่อยอดธุรกิจระหว่าง ภูมิภาค

การเกิดขึ้นของความตกลงหุ้นส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ เอเชีย-แปซิฟิก หรือ Trans-Pacific Partnership (TPP) จะสร้าง ประโยชน์ อ ย่ า งมากให้กับภูมิภ าคเอเชีย แปซิฟ ิก ด้ า นเงื่ อนไข การค้า และเพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์สงู สุดจากข้อตกลงการค้าดังกล่าว การลงทุนด้านโครงสร้างเทคโนโลยีจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งยวด เพื่อเชื่อมต่อภูมิภาคเศรษฐกิจนี้ หลายองค์กรได้มีการริเริ่มเพิ่ม ศักยภาพให้ดาต้าเซ็นเตอร์ โดยการใช้ระบบคลาวด์คอมพิวติง้ มาก ขึ้น นอกจากนี้ยังลงทุนด้านการพัฒนาการเชื่อมต่อความเร็วสูง ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเชื่อมต่อโดยตรงระหว่าง พื้นที่ส�ำคัญระหว่างเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และ สหรัฐอเมริกา ก็ก�ำลังมีการด�ำเนินการไปได้ด้วยดี

การเปิดตลาดจะมีผลกระทบต่อการใช้ระบบคลาวด์ และ เพิม่ ทางเลือกจากทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั โดยกว่าร้อยละ 70 ขององค์กร ได้มกี ารใช้หรือก�ำลังพิจารณาระบบ Hybrid Cloud ในปัจจุบนั รวม ถึงข้อก�ำหนดต่าง ๆ ใน TPP เพื่อคุ้มครองข้อมูลนอกประเทศ และ หลีกเลี่ยงภาษีอิเล็กทรอนิกส์จะยิ่งตอกย�้ำถึงความส�ำคัญในการ สร้างระบบ Multi-cloud ระหว่างภูมภิ าคเพือ่ การขยายตัวทางธุรกิจ ต่อไปในอนาคต

5

การขาดแคลนทักษะจะสร้างกระแสการจ้าง ผู้เชี่ยวชาญ

ในปี พ.ศ.2559 จะมีหลายปัจจัยกระทบต่อตลาดการจ้างงาน ในสายเทคโนโลยี ส่งผลให้หลายองค์กรต้องมองหาหนทางในการจ้าง ผู้เชี่ยวชาญมาสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อสร้างความสามารถในการ แข่งขันโดยการขาดแคลนผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสารสนเทศนีไ้ ม่ได้เกีย่ วกับ แค่การสร้างเด็กจบใหม่ทมี่ คี วามช�ำนาญเฉพาะทางอย่างสาขา Data Science หากต้องรวมถึงการสร้างศักยภาพให้กับพนักงานในองค์กร ที่มีอยู่เดิมเพื่อเติมเต็มช่องว่างในระยะยาว มร. เอเดรียน กล่าวเพิ่มเติมว่า “การท�ำงานของวัยท�ำงาน ในกลุ่ม Gen Z แตกต่างจากกลุ่มอื่นก่อนหน้านี้อย่างมาก เพราะ พวกเขามีแนวโน้มในการท�ำงานโดยเฉลีย่ 17 ต�ำแหน่งงาน ตลอด ช่วงชีวิตการท�ำงาน ซึ่งพวกเขาจะพัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่หลาก หลาย และในธุรกิจอุตสาหกรรมต่าง ๆ ดังนั้น องค์กรต้องหาช่อง ทางใช้ประโยชน์จากจุดนี้ เพราะคนกลุ่มนี้จะให้ความส�ำคัญกับ การมีส่วนช่วยสังคมมากกว่าตัวองค์กร” ภาครัฐจะให้ความส�ำคัญกับความจ�ำเป็นทางเศรษฐกิจและ การเปลี่ยนรุ่นโดยการปรับตลาดแรงงาน น�ำเสนอแรงจูงใจทางภาษี รูปแบบใหม่ และผ่านกฎหมายที่อ�ำนวยความสะดวกในการลงทุน อาทิ ระบบ Crowd Sourcing หรือการร่วมสร้างสรรค์ของกลุ่มคน เพื่อร่วมกันท�ำสิ่งต่าง ๆ รวมถึงแก้ไขปัญหาร่วมกันผ่านทางออนไลน์ การเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ งจะเป็นสิง่ ทีร่ ฐั บาลมุง่ เน้นเช่นกัน ดังทีป่ ระเทศ สิ ง คโปร์ ไ ด้ ล งทุ น กว่ า 0.9 พั น ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ ในการพั ฒ นา เทคโนโลยีเพื่อขับเคลื่อนภาคสาธารณะ February-March 2016, Vol.42 No.245

57 <<<


&

Computer & IT

สิ่งจ�ำเป็น ส�ำหรับยุค แนวคิด

loT ไรอัน โกห์

ซีบรา เทคโนโลยีส์ เอเชียแปซิฟิก

“Industry 4.0” หรือการปฏิวัติทางด้านอุตสาหกรรม ครั้งที่ 4 ของโลกที่ประเทศเยอรมนีกล่าวขึ้นเป็นรายแรกในปี พ.ศ.2554 แนวคิดดังกล่าว ต้องการเปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรมการผลิตโดยการใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบตั กิ ารเครือ่ งจักรมากขึน้ หลังจากนัน้ เพียง 4 ปี Industry 4.0 กลับกลายเป็นความจริงไปแล้ว ซึ่งขับเคลื่อนโดย Internet of Things หรือ IoT เนื่องจาก Industry 4.0 ที่มีประสิทธิภาพนั้น จ�ำเป็นต้อง พึ่งการเชื่อมต่อที่มีมาตรฐานและแพร่หลายในการส่งต่อข้อมูลระหว่างเครื่องจักรสู่เครื่องจักร เครื่องจักรสู่มนุษย์ และมนุษย์สู่เครื่องจักร ไรอัน โกห์ รอง ประธานและผู้จัดการทั่วไป ซีบรา เทคโนโลยีส์ เอเชียแปซิฟิก ได้ศึกษาเกี่ยวกับการท�ำงานของ Wi-Fi ในแง่ของการเป็นหัวใจส�ำคัญส�ำหรับการเชื่อมต่อสิ่งเหล่านั้น

การเชื่อมต่ออุปกรณ์มีบทบาทส�ำคัญเป็นอย่างมาก โดยมี ทางเลือกหลายช่องทาง อาทิ Wi-Fi, Bluetooth, Low Energy (BLE), RFID และ NFC ซึง่ การเลือกระบบการเชือ่ มต่อทีถ่ กู ต้องนัน้ ขึน้ อยูก่ บั หลายปัจจัย เช่น สิ่งแวดล้อม (วัสดุของอุปกรณ์) ความหนาแน่นของ เซนเซอร์และระดับของการเชื่อมต่อและความรวดเร็ว ทางเลือกที่มีประสิทธิภาพส�ำหรับ IoT มากที่สุด คือ Wi-Fi ซึ่งท�ำหน้าที่เหมือนกาวที่ยึดการเชื่อมต่อทั้งหมดไว้ด้วยกัน Node หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายเพิ่มจ�ำนวนมาก ขึ้นอย่างไร้ขีดจ�ำกัด จึงท�ำให้การเชื่อมต่ออุปกรณ์ที่กว้างขวาง และมี ประสิทธิภาพเป็นสิ่งส�ำคัญ การใช้มาตรฐานเครือข่าย 802.11ac จะ ช่วยรองรับความต้องการเหล่านั้น

ความสำ�คัญของเทคโนโลยีที่มีมาตรฐานและประสิทธิภาพ

หัวใจส�ำคัญของ IoT คือ ดีไวซ์นับล้านชิ้นที่รับส่งข้อมูลไปยัง ระบบกลาง โดยข้อมูลเหล่านี้สามารถเป็นได้หลายอย่าง ตั้งแต่ระดับ ความชืน้ และอุณหภูมขิ องเครือ่ งจักร ระบุตำ� แหน่งทีอ่ ยูข่ องเจ้าหน้าที่ ไปจนถึงสถานะการจัดส่งสินค้า ส�ำหรับข้อมูลดังกล่าวถูกส่งไปยัง ระบบคลาวด์ หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลหรือ วิเคราะห์เพิ่มเติม 1 http://standards.ieee.org/news/2014/ieee_802_11ac_ballot.html

>>>58

February-March 2016, Vol.42 No.245

ความต้องการทางด้านความเร็ว

อุ ต สาหกรรมต้ อ งใช้ เ วลาในการเปลี่ ย นแปลงมาตรฐาน เครือข่ายนานถึง 6 ปี จากมาตรฐานเครือข่าย 802.11n เป็น 802.11ac ที่ใช้ในปัจจุบันถึงแม้ว่าจะดูเหมือนเป็นเวลานาน แต่ว่าก็คุ้มค่าแก่ การรอคอย ข้อดีของมาตรฐานเครือข่าย 802.11ac คือ ความเร็วบน ความถี่ 5 GHz ซึง่ เร็วกว่ามาตรฐานเก่าถึง 10 เท่า1 นอกจากนีย้ งั เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้งานให้กับเน็ตเวิร์กไร้สาย (WLAN) อีกด้วย 802.11ac พร้อมส�ำหรับการใช้งานบนความถี่ 2.4 GHz และ 5 GHz โดยสามารถรองรับผู้ใช้งานได้ถึง 100 คน ในแต่ละความถี่


&

Computer & IT

ขณะเดียวกัน เครือข่ายจ�ำเป็นต้องมีการขยายพืน้ ทีค่ รอบคลุม เพื่อสนองความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น สามารถรองรับการใช้งานบน อุปกรณ์และระบบปฏิบัติการหลายรูปแบบ และต้องมีระบบความ ปลอดภัยที่มีคุณภาพ เพื่อปกป้องข้อมูลองค์กร ระบบไร้สายของคุณ จ�ำเป็นต้องพร้อมรับมือทางด้านความเร็วและการใช้งานทีห่ นักหน่วง และควรจะมีประสิทธิภาพทางด้านความปลอดภัยเท่าเทียมกับระบบ เน็ตเวิร์คแบบต่อสาย มาตรฐานเครือข่าย 802.11ac เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน แบบสเปกตรัม รองรับการใช้งานที่หนักหน่วง และช่วยลดความ ผิดพลาดของการเชือ่ มต่อ มาตรฐานดังกล่าวเหมาะกับอุปกรณ์ทไี่ ม่มี เสารับสัญญาณ เช่น สมาร์ทโฟน และแทบเล็ต โดยมีการคาดการณ์ ว่า มาตรฐาน 802.11ac จะมาแทนที่ระบบ 802.11n ทั้งหมดภายใน ปี พ.ศ.2561

ความต้องการทางด้านความปลอดภัย

ผลวิจัยจากบริษัท จูนิเปอร์รีเสิร์ช เผยว่า IoT จะเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์กว่า 38,000 ล้านชิน้ ในปี พ.ศ2563 ซึง่ จะท�ำให้เป็นเรือ่ งยาก ที่ผู้ดูแลระบบจะจับตามองการสื่อสารได้ทั้งหมด จึงท�ำให้ความ ปลอดภัยของระบบลดน้อยลง อุตสาหกรรมหลาย ๆ แขนงที่เริ่มน�ำ IoT เข้ามาใช้งานข้อมูล จะถูกส่ง โดยปราศจากการแทรกแซง ยกตัวอย่างเช่น ในอุตสาหกรรม การผลิต ข้อมูลจากระบบปฏิบัติการของรถยกสามารถถูกส่งไปยัง เซิรฟ์ เวอร์ได้อย่างอัตโนมัติ โดยทีผ่ ขู้ บั ไม่ตอ้ งอัปโหลดข้อมูลซึง่ แสดง ให้เห็นถึงความส�ำคัญของระบบรักษาความปลอดภัยทีป่ อ้ งกันข้อมูล ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง

ระบบการป้องกันรูปแบบ Wireless Intrusion Protection จะ สามารถช่วยป้องกันระบบจากการบุกรุกได้ โดยจะช่วยป้องกันข้อมูล ทรัพย์สนิ องค์กร ความเป็นส่วนตัวของพนักงานและลูกค้าได้ ผูจ้ ดั การ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศควรพึงระวังระบบการรักษาความปลอดภัย ของตนสามารถรับมือกับการคุกคามข้อมูลได้รวดเร็วเพียงใด

อนาคตของเครือข่ายระบบไร้สาย และ IoT

เมื่อไม่นานมานี้ ซีบรา เทคโนโลยีส์ และฟอเรสเตอร์ได้ ร่วมมือท�ำการส�ำรวจ โดยการสรุปผลส�ำรวจจากอุตสาหกรรมการ ค้าปลีก การให้บริการ และการขนส่งและโลจิสติกส์ในประเทศ สหรัฐอเมริกา และทวีปยุโรป พบว่า กว่า 60 เปอร์เซ็นต์ ได้ขยายหรือ วางแผนเกีย่ วกับเทคโนโลยีสำ� หรับ IoT และจากจ�ำนวนดังกล่าวกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ ได้ท�ำการปรับระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับ อุปกรณ์และบริการใหม่ ๆ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีแนวโน้มว่าจะ ด�ำเนินการตามแบบดังกล่าวเช่นเดียวกัน เมือ่ มองถึงความต้องการด้าน IoT ทีข่ ยายตัว รวมไปถึงความ ต้องการของ Wi-Fi ที่มีประสิทธิภาพ จึงท�ำให้เราเห็นแน่ชัดว่า ระบบ ไร้สาย หรือ Wireless คือ ปัจจัยส�ำคัญในการเชื่อมต่อ แน่นอนว่า อุตสาหกรรมหลากหลายแขนงยังคงต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วของ IoT โดยบทบาทของ Wi-Fi คงยังเป็นแกนหลักใน การเชือ่ มต่อทุกสิง่ บนโลก และจะมีความส�ำคัญมากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ในอนาคต

February-March 2016, Vol.42 No.245

59 <<<


&

Focus

เทคโนโลยีชีวภาพกับการพัฒนาเศรษฐกิจ

(bioeconomy) ดร.สุชาต อุดมโสภกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)

ปัจจุบัน

รัฐบาลของหลายประเทศก�ำลังให้ความสนใจและมุ่งเน้นการใช้เ ทคโนโลยีชีวภาพเป็น เครื่องมือหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดย เรียกเศรษฐกิจลักษณะนี้ว่า เศรษฐกิจชีวภาพ (bioeconomy) แรงผลักดันหลักที่ท�ำให้ประเทศหันมาสนใจเรื่องนี้ คือ ความตื่นตัวเกี่ยวกับ ความพยายามในการแก้ปัญหาสภาวะโลกร้อน โดยมองว่าการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ผ่านมานั้น ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้น เปลือง และปล่อยก๊าซเรือน กระจก (greenhouse gas, GHG) ออกมาสู่ชั้นบรรยากาศจ� ำนวนมหาศาล การพัฒนาเศรษฐกิจจึงควรค�ำนึงถึงกิจกรรมใด ๆ ก็ตามที่ช่วยลดผลกระทบจากปัจจัย ดังกล่าวด้วย

เทคโนโลยีชวี ภาพจึงถูกได้รบั ความสนใจทัง้ ในระดับนโยบาย ผู้บริหารในภาคเอกชน นักวิจัย และประชาชนทั่วไป เนื่องจากมองว่า เป็นเทคโนโลยีที่จะตอบสนองการพัฒนาอย่างยั่งยืน สามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตได้โดยไม่กระทบกับสิ่งแวดล้อมมากนัก

เทคโนโลยีชีวภาพสาขาต่าง ๆ

นักเทคโนโลยีชีวภาพมีข้อตกลงร่วมกันในการก�ำหนดสาขา ต่าง ๆ ในการใช้เทคโนโลยีชีวภาพ โดยใช้สีเป็นตัวแทน ดังนี้ ➲ Red Biotechnology เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ด้าน การแพทย์ มั ก เกี่ ย วข้ อ งกั บ การออกแบบและดั ด แปลงสิ่ ง มี ชี วิ ต (โดยเฉพาะจุลินทรีย์) เพื่อให้สามารถผลิตยา ยาปฏิชีวนะ และวัคซีน รวมทั้งการใช้ด้านนิติเวชด้วย ➲ White Biotechnology เป็ น เทคโนโลยี ชี ว ภาพที่ ใ ช้ ด้านอุตสาหกรรม มักเป็นการใช้สงิ่ มีชวี ติ และเอ็นไซม์ในการผลิต หรือ แปรสภาพวัตถุดิบ ไม่ว่าจะเป็นการผลิตสารเคมี วัสดุ หรือพลังงาน รวมทั้งเชื้อเพลิงชีวภาพด้วย >>>60

February-March 2016, Vol.42 No.245

➲ Green Biotechnology เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ด้าน

เกษตรกรรม โดยเป็นการปรับปรุงวิถีการท�ำการเกษตรและปศุสัตว์ แต่เดิมให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ➲ Blue Biotechnology เป็นเทคโนโลยีชวี ภาพทีใ่ ช้ดา้ นการ ประมงและทะเล โดยมักเป็นการใช้กระบวนการด้านอณูชีววิทยา (molecular biology) เพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์น�้ำ ➲ Grey Biotechnology เป็นเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ด้าน สิ่งแวดล้อม แบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ การรักษาความหลากหลายทาง ชีวภาพ และการก�ำจัดสิ่งปนเปื้อน ➲ Black Biotechnology เกี่ยวข้องกับการก่อการร้ายทาง ชีวภาพ (bioterrorism) โดยใช้ในด้านการทหาร ต�ำรวจ การเฝ้าระวัง และการต่อต้านการก่อการร้าย เศรษฐกิจชีวภาพ เกี่ยวข้องกับ 4Fs ได้แก่ อาหาร (food) เส้นใย (fiber) อาหารเลี้ยงสัตว์ (food) และเชื้อเพลิง (fuel) (บางกรณี อาจรวมถึงเวชภัณฑ์ (pharma หรือ farma) ด้วย) การพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพมี 2 แนวทางทีค่ วรพิจารณา ได้แก่ การเพิม่ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกและ


& การเพิ่มปริมาณผลผลิตต่อพื้นที่ ซึ่งล้วนจ�ำเป็นต้องใช้เทคโนโลยี ชีวภาพเป็นเครื่องมือส�ำคัญ ทั้งนี้ OECD ได้คาดการณ์ว่า ภายในปี พ.ศ.2573 เทคโนโลยี ชีวภาพจะมีบทบาทถึงร้อยละ 2.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP) ในประเทศสมาชิก และมองว่าบทบาทของเทคโนโลยีชีวภาพจะ เปลี่ยนไปจากเดิมที่เน้นด้านสุขภาพเป็นหลัก โดยจะกระจายตัวยัง ภาคการผลิตขั้นต้นและภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 บทบาทของเทคโนโลยีชีวภาพที่เปลี่ยนไป

พื้นฐานที่จ�ำเป็นส�ำหรับการสร้างนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด คือ อุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์ ซึ่งต้องการ บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ้ แ ละทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี ชี ว ภาพและสาขา จ�ำเพาะต่าง ๆ เป็นอย่างมาก เช่น จุลชีววิทยา ชีวเคมี วิศวกรรม กระบวนการชีวภาพ (bioprocess engineering) การท�ำโปรตีนให้ บริสุทธิ์ (protein purification) พิษวิทยา (toxicology) พยาธิวิทยา ทางสัตวแพทย์ (veterinary pathology) เป็นต้น ด้วยเหตุนี้ หลายประเทศจึงให้ความส�ำคัญกับตัวชี้วัดที่เกี่ยว

การลงทุนวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ในภาคเอกชน (พ.ศ.2573)

คาดการณ์สัดส่วนของเทคโนโลยีชีวภาพ ในการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ (พ.ศ.2573)

สุขภาพ

87%

25%

การผลิตขั้นต้น

4%

36%

อุตสาหกรรม

2%

39%

อื่นๆ

7%

-

รวม

100%

100%

สหรัฐอเมริกาเป็นตัวอย่างในการเป็นผูน้ ำ� การพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพในระดับนโยบาย โดยในปี พ.ศ. 2555 ประธานาธิบดีบารัค โอบามา ได้ประกาศพิมพ์เขียวเศรษฐกิจชีวภาพ (National Bioeconomy Blueprint) ของประเทศ ซึง่ มีวสิ ยั ทัศน์ คือ เศรษฐกิจชีวภาพ จะท� ำให้ ช าวอเมริ กั น มี อ ายุ ยื นยาวขึ้น มี สุ ข ภาพดี ลดการพึ่ ง พา ปิโตรเลียม แก้ไขปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม ปฏิรปู กระบวนการผลิต เพิม่ ผลิตภาพ และสร้างความเข้มแข็งให้กับภาคการเกษตร โดยจะส่งผล ให้มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น และท�ำให้ภาคอุตสาหกรรมเติบโต ส่วนสหภาพยุโรปได้ประกาศแนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพในปี พ.ศ.2555 เช่นกัน โดยชี้ว่าการเติบโตของเศรษฐกิจ จะเกิ ด จากภาคการผลิ ต ขั้ น ต้ น ที่ ยั่ ง ยื น กระบวนการผลิ ต อาหาร อุตสาหกรรมบนฐานเทคโนโลยีชีวภาพ รวมทั้งอุตสาหกรรมพลังงาน และเคมีชีวภาพ (biorefinery) ทั้งนี้ ต้องปรับเปลี่ยนตลาดที่มีอยู่เดิม และสร้างตลาดใหม่ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ชวี ภาพ (bio-based products) ต้องสร้างตลาดแรงงานใหม่ที่รองรับบุคลากรที่มีทักษะขั้นสูง

ปัจจัยเอื้อในการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ

ปั จ จั ย เอื้ อ 7 ประการ ที่ ช ่ ว ยท� ำ ให้ เ กิ ด สภาพแวดล้ อ มที่ เหมาะสมส�ำหรับการพัฒนานวัตกรรมด้านเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology innovation) เพื่อมุ่งสู่การสร้างเศรษฐกิจชีวภาพ ได้แก่ 1. ทุนมนุษย์ (human capital) บุคลากรที่มีทักษะในระดับ สูงและได้รับการฝึกฝนด้านเทคนิคมาเป็นอย่างดี เป็นปัจจัยส�ำคัญ

Focus

กับบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งสามารถวัดได้จาก การจัดอันดับของมหาวิทยาลัย การจัดอันดับของสถาบันทีม่ กี ารเรียน การสอนด้านวิทยาศาสตร์ชวี ภาพหรือวิทยาศาสตร์การแพทย์ จ�ำนวน ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาในสาขาต่าง ๆ ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ จ�ำนวน นักวิจยั และผูท้ ปี่ ระกอบอาชีพด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและวิทยาศาสตร์ การแพทย์ 2. โครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับการวิจัยและพัฒนา (infrastructure for R&D) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยีชั้นสูงซึ่งรวมถึงเทคโนโลยีชีวภาพนั้น จ�ำเป็นต้องอาศัย โครงสร้างพื้นฐานและขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา ขีด ความสามารถในด้านนีข้ องประเทศวัดจากค่าใช้จา่ ยด้านการวิจยั และ พัฒนา (R&D expenditure) โดยเฉพาะอย่างด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ความเข้มข้นของการจดสิทธิบัตร (patenting intensity) การลงทุน ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ รวมทั้งการอ้างอิงผลงานวิจัย ส�ำหรับอุตสาหกรรมชีวเภสัชภัณฑ์นั้น ระเบียบข้อบังคับและ ขีดความสามารถที่เกี่ยวข้องกับการทดลองทางคลินิก (clinical trial) เป็นปัจจัยทีส่ ำ� คัญ และมีผลต่อการดึงดูดการลงทุน บทบาทของรัฐจึง ไม่ใช่เพียงการสนับสนุนให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยและ พัฒนาโดยตรงเท่านั้น หากแต่ต้องให้งบประมาณในการด�ำเนินงาน หรือใช้งานโครงสร้างพื้นฐานเหล่านั้นอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจาก นี้ รัฐต้องส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (public-private partnership) อย่างจริงจังด้วย February-March 2016, Vol.42 No.245

61 <<<


Focus

&

3. การคุ ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา (intellectual property protection) สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property Rights, IPR) มีความส�ำคัญต่อการพัฒนานวัตกรรมด้าน เทคโนโลยีชีวภาพอย่างมาก ด้วยเหตุที่กระบวนการที่เกิดขึ้นจากการ วิจัยไปจนถึงการใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์นั้น ต้องมีการลงทุน มหาศาล ใช้เวลานาน และมีโอกาสล้มเหลวสูง การลงทุนเพื่อพัฒนา เทคโนโลยีหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ จะไม่เกิดขึ้น หากไม่มีการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญาอย่างจริงจัง ทรัพย์สินทางปัญญาในที่นี้รวมถึง สิทธิบัตร (patents) และข้อมูลที่ใช้ในการก�ำกับดูแล (regulatory data) เช่น โครงสร้างของโมเลกุล วิธีการให้ยา กลไกการออกฤทธิ์ เป็นต้น ซึ่งมีความส�ำคัญอย่างชัดเจนในการพัฒนาชีวเภสัชภัณฑ์ หรือผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่ใช้ในการรักษาโรค 4. สภาพแวดล้อมด้านกฎระเบียบ (regulatory environment) กฎระเบียบที่เข้มแข็งและการบังคับใช้อย่างเหมาะสมจะท�ำ ให้ มี เ ทคโนโลยี แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ ภาพและปลอดภั ย ออกสู ่ ตลาด อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีชวี ภาพสาขาต่าง ๆ ต้องการกฎระเบียบ แตกต่างกันไป เช่น กฎระเบียบเกี่ยวกับพืชดัดแปลงพันธุกรรมย่อม แตกต่างจากกฎระเบียบของชีวเภสัชภัณฑ์ เป็นต้น โดยรวมแล้ว กฎระเบียบมักจะครอบคลุมถึงกระบวนการในการผลิต มาตรฐาน และเงื่อนไขต่าง ๆ โดยอาจมีหน่วยงานที่รับผิดชอบมากกว่า 1 แห่ง ประเทศที่ต้องการพัฒนาขีดความสามารถของอุตสาหกรรมในระดับ นานาชาติต้องพัฒนาระบบการก�ำกับดูแลที่สอดคล้องกับสากล 5. กรอบในการถ่ายทอดเทคโนโลยี (technology transfer frameworks) การถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นกลไกส�ำคัญในการ ถ่ายทอดผลงานวิจัยหรือองค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัยในองค์กร ภาครัฐ มหาวิทยาลัย หรือสถาบันวิจัย ไปยังภาคเอกชน หรือระหว่าง ภาคเอกชนกับภาคเอกชนด้วยกัน เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์หรือ เทคโนโลยีที่ใช้งานได้จริงและมีมูลค่าในเชิงพาณิชย์ การถ่ายทอด เทคโนโลยีอาจเกิดขึ้นผ่านความร่วมมือในรูปแบบต่าง ๆ สหรั ฐ อเมริ ก าเป็ น ตั ว อย่ า งความส� ำ เร็ จ ในด้ า นนี้ เห็ น ได้ จากการออกกฎหมายที่ส�ำคัญ 2 ฉบับ ได้แก่ พระราชบัญญัติแก้ไข เพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้า หรือที่ เรียกว่า Bayh-Dole Act และพระราชบัญญัติเทคโนโลยีนวัตกรรม (Stevenson-Wydler Technology Innovation Act) ท�ำให้มีการใช้ ประโยชน์ผลงานวิจัยในมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยของรัฐในเชิง พาณิชย์อย่างจริงจัง เนือ่ งจากท�ำให้เกิดความเปลีย่ นแปลง 3 ประการ ได้แก่ 1) มหาวิทยาลัยและหน่วยงานให้ทุนวิจัยยังเป็นเจ้าของ องค์ความรู้ที่เกิดจากการวิจัย 2) มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยได้รับ การสนับสนุนให้มคี วามสามารถในการบริหารจัดการสิทธิในทรัพย์สนิ ทางปัญญาอย่างมืออาชีพ 3) กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่าง >>>62

February-March 2016, Vol.42 No.245

ภาครั ฐ และเอกชน ท� ำ ให้ เ กิ ด บริ ษั ท ใหม่ (spin-off company) จ�ำนวนมาก และสร้างรายได้ให้แก่นักวิจัยและสถาบันต้นสังกัด 6. แรงจูงใจด้านตลาดและเชิงพาณิชย์ (market and commercial incentives) แรงจูงใจด้านตลาดและเชิงพาณิชย์ ครอบคลุมถึงมาตรการด้านภาษี การสนับสนุนการลงทุนวิจัยและ พัฒนาในภาคเอกชน เครดิตภาษีสำ� หรับผูท้ ลี่ งทุนในโครงสร้างพืน้ ฐาน และเครื่องมือวิจัย การก�ำหนดราคาและมีระบบช�ำระเงินคืน (reimbursement system) แก่ผู้ใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ (โดย เฉพาะที่ผลิตในประเทศ) ซึ่งล้วนแล้วแต่ต้องผ่านการวิเคราะห์และ การเจรจาต่อรองที่มีความซับซ้อน และเมื่อน�ำแรงจูงใจเหล่านี้มา ใช้กต็ อ้ งมีแนวปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจน อย่างไรก็ตาม ระบบช�ำระเงินคืนส�ำหรับ การรักษาโรค สร้างแรงกดดันให้แก่หน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ ค่าใช้จา่ ยด้านสุขภาพ เนือ่ งจากต้องมีความระมัดระวังไม่ให้คา่ ใช้จา่ ย ขยายตัวมากเกินไปจนเป็นภาระทีห่ นักมากเมือ่ เทียบกับค่าใช้จา่ ยโดย รวมของประเทศ ในอีกด้านหนึ่งกลไกดังกล่าวอาจส่งผลให้การน�ำ ผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ตลาดล่าช้าออกไป 7. ความเชื่อมั่นในกฎหมาย รวมถึงหลักนิติธรรม (the rule of law) กรอบด้านกฎหมายและการบริหารจัดการที่ชัดเจนและ เหมาะสมช่วยให้เกิดสภาพแวดล้อมทีส่ นับสนุนการน�ำผลงานวิจยั ไป ใช้งานในเชิงพาณิชย์ ซึง่ ต้องอาศัยการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มข้น สภาพแวดล้อมทางกฎหมายและธุรกิจของประเทศหนึ่ง ๆ สามารถ ประเมินได้จากดัชนีที่ใช้ร่วมกันระหว่างประเทศ เช่น ดัชนีชี้วัดการ ปกครองตามหลักนิติธรรม (rule of law index) ซึ่งพัฒนาขึ้นภายใต้ โครงการยุติธรรมโลก (world justice project)

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพของประเทศ

เมื่ อ วิ เ คราะห์ ป ั จ จั ย เอื้ อ ต่ า ง ๆ ข้ า งต้ น ประกอบกั บ การ พิจารณาระบบนวัตกรรมของประเทศและกรอบนโยบายเทคโนโลยี ชีวภาพ ท�ำให้ได้ข้อเสนอแนะ 6 ประการ ในการพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพ ดังนี้ 1. ระบุให้ได้ว่าเทคโนโลยีสาขาใดควรเป็นสาขายุทธศาสตร์ของประเทศ การระบุสาขายุทธศาสตร์เป็นขั้นตอนส�ำคัญ อันดับแรก ๆ ในการจัดท�ำนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพ หลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สวิสเซอร์แลนด์ เกาหลีใต้ สิงคโปร์ บราซิล อินเดีย เป็นต้น ได้ก�ำหนดให้อุตสาหกรรมบางสาขา ของเทคโนโลยีชวี ภาพเป็นสาขายุทธศาสตร์ ซึง่ มีบทบาทส�ำคัญในการ พัฒนาเศรษฐกิจ 2. จัดท�ำ “พิมพ์เขียว” ของประเทศ นโยบายด้านเทคโนโลยีชีวภาพระดับประเทศเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการสร้าง วิสัยทัศน์ ก�ำหนดเป้าหมายในการพัฒนา แม้รัฐบาลจะสามารถเป็น


& ผู้น�ำหรือก�ำหนดทิศทางในการสร้างขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี ชีวภาพ ไม่ว่าจะโดยตรงหรือโดยอ้อมก็ตาม รัฐบาลของบางประเทศ อาจเลือกใช้วิธีกระจายอ�ำนาจหรือกลไกทางอ้อม ซึ่งได้รับการพิสูจน์ ว่ามีประสิทธิภาพมากกว่า ดังเช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ในขณะที่ การก�ำหนดทิศทางและแทรกแซงโดยตรงจากรัฐบาลอาจเหมาะสม ส�ำหรับบางประเทศ ซึ่งบราซิลเป็นตัวอย่างที่ดีส�ำหรับกรณีหลัง ด้วย การเข้าไปมีบทบาทโดยตรงในการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขา เกษตร และอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะใช้ วิธีใดก็ตาม ความเข้มแข็งของรัฐบาลในบทบาทผู้น�ำการพัฒนาตาม นโยบายและความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเป็นเงือ่ นไขที่ ส�ำคัญที่จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ 3. ติดตามผลการด�ำเนินงานอย่างจริงจัง การติดตามและ ประเมินผลการด�ำเนินงานในการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพบนพืน้ ฐาน เทคโนโลยีชวี ภาพอย่างเป็นระบบและโปร่งใสมีความส�ำคัญเป็นอย่าง ยิง่ เพือ่ ให้รบั รูแ้ ละเข้าใจความก้าวหน้าทีเ่ กิดขึน้ อุปสรรค รวมทัง้ บริบท ของปัญหาและความต้องการทีเ่ ปลีย่ นไป ทัง้ นี้ ข้อมูลจากการติดตาม ประเมินผลจะถูกน�ำไปใช้ในการพิจารณาปรับปรุงการด�ำเนินงาน (หากจ�ำเป็นต้องท�ำ) ได้ทันท่วงที 4. เรียนรูว้ ธิ ปี ฏิบตั ทิ ดี่ ที สี่ ดุ (best practice) ของประเทศ อื่น แล้วน�ำมาปรับใช้ แม้แต่ละประเทศต่างก็มีข้อได้เปรียบและ ข้อจ�ำกัดแตกต่างกัน การเรียนรูว้ ธิ ปี ฏิบตั แิ ละบทเรียนของจากประเทศ อื่น ๆ จะท�ำให้ได้ข้อมูลที่มีค่า เพราะสามารถใช้ในการวางแผนทั้ง เชิงรับและเชิงรุกโดยพิจารณาร่วมกับบริบทของเราเอง นอกจากนี้ การศึกษาข้อมูลดังกล่าวยังช่วยให้ทราบว่าทรัพยากรบางประเภทที่ เราไม่มีนั้น จะสามารถแสวงหาได้จากที่ใด 5. ยกระดับความสามารถในระดับชาติ หากสามารถ ท�ำความเข้าใจทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (comparative advantage) และความได้เปรียบในการแข่งขัน (competitive advantage) ของประเทศแล้ว จะช่วยให้สามารถจัดสรรงบประมาณในการ ด� ำ เนิ น งานตามนโยบายได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยมิ ติ ที่ อ ยู ่ ใ น ขอบเขตทีค่ วรน�ำมาพิจารณา ได้แก่ ขนาดของประเทศ ความก้าวหน้า ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภูมิศาสตร์ และความหลากหลาย ทางชีวภาพ การยกระดับความสามารถของประเทศควรใช้ประโยชน์ จากข้อได้เปรียบที่มีอยู่ บางประเทศอาจมีจุดแข็งจากทรัพยากร ธรรมชาติ ท�ำให้การพัฒนาเทคโนโลยีชวี ภาพบางสาขาเป็นไปได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ในขณะทีบ่ างประเทศอาจมีศกั ยภาพในการพัฒนาได้ หลายสาขา 6. สร้างความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศ การสร้าง ความร่วมมือและความเป็นหุ้นส่วนระหว่างหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ไม่ว่าจะภายในหรือระหว่างประเทศ สามารถสร้างแรงดึงดูด

Focus

การลงทุนเพือ่ พัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชวี ภาพระดับโลกในเกิด ขึ้นในประเทศได้ สิงคโปร์เป็นตัวอย่างที่ดีในการยกระดับความ เข้มแข็งในการพัฒนาอุตสาหกรรมผ่านการสร้างความร่วมมืออย่าง จริงจังระหว่างรัฐบาลกับผูล้ งทุนในหลากหลายสาขาจากต่างประเทศ ความร่วมมืออย่างเข้มแข็งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัย และภาคเอกชน ท�ำให้สามารถพัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าได้ในระยะเวลาอันสั้น

แล้วประเทศไทยล่ะ?

ประเทศไทยมีหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นการวิจยั และ พัฒนาและการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีชีวภาพ ซึ่งรวมทั้งสถาบันวิจัย มหาวิทยาลัยและหน่วยงานภาครัฐ เช่น ส�ำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจ จากฐานชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (สวทช.) มหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ก ารเรี ย นการสอนและการวิ จั ย ด้ า น เทคโนโลยีชวี ภาพสาขาต่าง ๆ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม หากประเทศไทย ต้องการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ จ�ำเป็นต้องมีความชัดเจนในระดับ นโยบาย ต้องมีการลงทุนวิจัยและพัฒนาในสาขาต่าง ๆ ที่มุ่งสู่การ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ชี ว ภาพอย่ า งแท้ จ ริ ง ต้ อ งพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง กระบวนการก�ำกับดูแลให้เอื้อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ ต้อง ปรับปรุงแรงจูงใจ (incentives) ต่าง ๆ เพือ่ ดึงดูดการลงทุน ต้องพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จ�ำเป็นอย่าง เพียงพอ ต้องพัฒนาบุคลากรในสาขาต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับเทคโนโลยี ชีวภาพทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งต้องจัดให้มีเส้นทางอาชีพ (careerpath) ที่ชัดเจนด้วย ที่มา: 1. The Bioeconomy to 2030 - Designing a Policy Agenda. Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD). 2009. 2. National Bioeconomy Blueprint. The White House. 2012. 3. Innovating for Sustainable Growth: A Bioeconomy for Europe. European Commission. 2012. 4. Building the Bioeconomy: Examining National Biotechnology Industry Development Strategies. A Briefing Paper. April 2014. Pugatch Consilium. 5. Wesseler J, Spielman DJ and Demont M. (2010) The Future of Governance in the Global Bioeconomy: Policy, Regulation, and Investment Challenges for the Biotechnology and Bioenergy Setors. AgBioForum 13(4): 288-290. 6. Waramit N. (2012) Developing a Bioeconomy in Thailand. J. ISSAAS 18(2):34-44.

February-March 2016, Vol.42 No.245

63 <<<


&

Report

มาแรง แห่งปี 2559

กระแสธุรกิจ เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ

ปี

2559 นี้ คาดว่าจะเป็นปีทองของ 3 กลุ่มธุรกิจดาวรุ่งมาแรงที่ขับเคลื่อน ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ได้แก่ ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ด้านการเงิน สุขภาพ และนวัตกรรมที่เกี่ยวกับอาหาร ฉะนั้นหากต้องการปรับ ตัวให้อยู่รอดในสภาวะปัจจุบัน ผู้ประกอบการจะต้องประยุกต์ใช้หลักการของ สตาร์ทอัพเข้าสู่ธุรกิจ นั่นคือ การไม่หยุดนิ่ง คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลา และ ที่ส�ำคัญ การน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้าสู่ธุรกิจ โดยผู้ประกอบการยุคใหม่ ที่ต้องการประสบความส�ำเร็จนั้น จะต้องมีองค์ประกอบส�ำคัญ 4 ประการ คือ มุ่งมั่นตั้งใจ ริเริ่มสร้างสรรค์ วางแผนธุรกิจเป็น และกล้าเสี่ยงที่จะลงทุน

อาจารย์กิตติชัย ราชมหา อาจารย์ประจ�ำภาควิชา ผู้ประกอบการและนวัตกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารย์กติ ติชยั ราชมหา อาจารย์ประจ�ำภาควิชาผูป้ ระกอบการและนวัตกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เปิดข้อมูล ที่น่าสนใจว่า ประเทศไทยและประเทศในกลุ่มอาเซียนได้ก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ท�ำให้ตลาดสินค้า และบริการเปิดกว้างมากขึน้ ซึง่ ถือได้วา่ เป็นโอกาสอันดีในการพัฒนา และขยับขยายธุรกิจ โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจที่มาแรงในยุคปัจจุบัน คือ กลุ่มธุรกิจที่มีการประยุกต์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นหลักส�ำคัญ >>>64

February-March 2016, Vol.42 No.245

เพื่อพัฒนาสินค้า บริการ หรือตัวแบบธุรกิจ โดยมุ่งหวังให้ธุรกิจ อยูร่ อด และเติบโตได้แบบก้าวกระโดดในอนาคต หรือทีม่ กั คุน้ หูในชือ่ “สตาร์ทอัพ” (StartUp) นัน่ เอง ทัง้ นีเ้ พือ่ ตอบโจทย์ความต้องการตลาด ภายใต้สภาวะแวดล้อมการแข่งขันในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างต่อเนือ่ งและรวดเร็ว รวมถึงการเน้นสร้างความสะดวกสบายของ ผู้บริโภคผ่านความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เช่น การเพิ่มช่องทาง ท�ำการตลาดผ่านแอปพลิเคชั่น (Application) ที่ตอบโจทย์การใช้ ชีวิตผ่านโทรศัพท์มือถือของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยธุรกิจเหล่านี้ ไม่ จ�ำเป็นต้องเกิดจากนักธุรกิจหน้าใหม่ แต่เป็นธุรกิจที่สร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ไม่เคยมีใครท�ำมาก่อน ดังนั้น การท�ำธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จได้นั้น ต้องคิดค้น และพัฒนาสินค้าและบริการของตนเองให้เกิด “ความสดใหม่” อยู่ ตลอดเวลา เพื่อสร้างความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ เพื่อให้มั่นใจว่า สิ่งที่สร้างสรรค์ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์หรือตัวแบบธุรกิจ จะสนับสนุน ให้ธุรกิจก้าวขึ้นเป็นที่หนึ่งของอุตสาหกรรมนั้น ๆ ได้ไม่ยาก โดยกลุ่ม ธุรกิจที่จะมาแรงเป็นพิเศษในปีนี้ มี 3 กลุ่มธุรกิจ ดังนี้

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการเงิน (financial technology)

เหตุเพราะการท�ำธุรกิจ และการใช้ชีวิตทุกวันนี้ล้วนเกี่ยวข้อง กับธุรกรรมทางการเงิน ดังนัน้ การน�ำเสนอสิง่ อ�ำนวยความสะดวกเพือ่ สนับสนุนการท�ำธุรกรรมทางการเงินให้ง่ายขึ้น ย่อมเป็นโอกาสและ


& ความน่าสนใจใหม่ส�ำหรับสตาร์ทอัพเพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และ บริการที่ตอบโจทย์ และเมื่อพิจารณาข้อมูลย้อนหลังไป 3 ปี พบว่า มูลค่ามวลรวมของธุรกิจสตาร์ทอัพที่มีเทคโนโลยีฟินเทคเกี่ยวข้อง (FinTech StartUp) เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีแนวโน้มอัตราเติบโต แบบก้าวกระโดดในอนาคตอย่างชัดเจน

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการแพทย์ (healthcare and wellness)

เป็นอีกกลุม่ ทีน่ า่ จับตามอง เนือ่ งจากมีบทบาทส�ำคัญต่อการ ด�ำรงชีวิต ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการแพทย์ เช่น ยารักษา โรค อุปกรณ์การแพทย์ เทคโนโลยีทางการแพทย์ นวัตกรรมด้าน สุขภาพ ล้วนเป็นหนึง่ ในกลุม่ ธุรกิจหลักทีภ่ าครัฐให้การสนับสนุน และ ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการให้บริการสุขภาพของ ภูมิภาค (medical hub) โดยในปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา มีชาวต่างชาติ เข้ารับบริการสุขภาพในประเทศไทยถึง 1.2 ล้านครั้ง สร้างราย ได้เข้าประเทศ 107,000 ล้านบาท (ที่มา: กระทรวง สาธารณสุข และกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา)

ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอาหาร (food innovation)

เป็นกลุม่ ธุรกิจทีม่ คี วามน่าสนใจและมี กระแสของการเติบโตไม่น้อย เหตุเพราะเป็น กลุ่มธุรกิจที่ถือว่า ประเทศไทยมีศักยภาพสูงใน การแข่งขันในตลาดอาเซียน ซึง่ หากมีการประยุกต์ เอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาเสริมด้วยแล้ว จะยิง่ เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า นอกจากนี้ความเข้มแข็ง และมุ่งเน้นผลักดันส่งเสริมจากภาครัฐในอุตสาหกรรมด้านอาหาร และนวัตกรรมอาหาร เป็นปัจจัยส�ำคัญอีกประการที่มีส่วนส่งผลต่อ ความส�ำเร็จและโอกาสเติบโตของอุตสาหกรรมด้านอาหารในปีหน้า เช่น กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ที่มีการสนับสนุนกลุ่มผู้ประกอบการ รายย่อยทั้งในด้านการให้ความรู้เพิ่มเติมในการวิจัยและพัฒนา เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการเปิดตลาดต่างประเทศ โดย ในปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมาจ�ำนวนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอาหารและ เครือ่ งดืม่ มีมากกว่า 370,000 ราย สร้างมูลค่ารวมกว่า 628 ล้านบาท (ที่มา: ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม) อย่างไรก็ดี เมื่อมองว่าการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็นโอกาสทีด่ ใี นการขยายธุรกิจแล้วนัน้ ก็ตอ้ งมองอีกด้านหนึง่ ในเรือ่ ง ของการปรับตัวของธุรกิจเพื่อต่อสู้แข่งขันกับคู่แข่งที่มีมากขึ้นหลาย เท่าตัว ฉะนั้นหากผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต้องการปรับตัวให้อยู่รอดแล้ว ผู้ประกอบการเหล่านั้นต้อง คิดในมุมมองแบบนักธุรกิจสตาร์ทอัพให้ได้ กล่าวคือ การคิดค้นสินค้า และบริการทีแ่ ปลกใหม่ตลอดเวลา และยังต้องมองหานวัตกรรมและ เทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับธุรกิจ

Report

สิง่ ทีผ ่ ปู้ ระกอบการยุคใหม่ตอ้ งตระหนัก หากต้องการอยูร่ อด

1. ความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ (entrepreneurial intention) พร้อมทีจ่ ะ ยืนหยัดต่อสู้และมีทั้งความตั้งใจและเข้าใจธุรกิจที่ท�ำ และมีตัวชี้วัด เป็นความมุ่งมั่นในการน�ำเงินมาเริ่มลงทุนท�ำธุรกิจ 2. ความคิดริเริ่มธุรกิจ (business-idea initiate) ถือเป็นต้น ก�ำเนิดที่ส�ำคัญของจุดขายของธุรกิจ โดยเฉพาะการคิดแบบนวัตกร (innovator) ที่จะใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นตัวส่งเสริมธุรกิจให้ มีประสิทธิภาพและตอบโจทย์ความต้องการของตลาดมากขึ้น 3. ความรูด้ า้ นการวางแผนและสร้างตัวแบบธุรกิจทีม่ คี วาม เป็นไปได้จริงและมีมูลค่าเพิ่ม (value-added business model and plan) ผูป้ ระกอบการยุคใหม่จำ� เป็นต้องมีความรูด้ า้ นการท�ำธุรกิจและ ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น รู้กลุ่มลูกค้า ผลิตภัณฑ์ ความต้องการ ของตลาด คู่แข่งในตลาด เป็นต้น เพื่อใช้ในการร่างแผนธุรกิจ ซึ่งใน ปัจจุบันมีหน่วยงานทั้งรัฐบาลและเอกชนให้ความรู้ในเรื่องเครื่องมือ ของผู้ประกอบธุรกิจ (business model) อย่างแพร่หลาย 4. ความเป็นคนรักที่จะเสี่ยงและเผชิญหน้า กับความท้าทายต่าง ๆ (risk and challenge lover) โดยหลั ง จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล อย่ า งละเอี ย ด ถี่ถ้วนแล้ว ความใจสู้และกล้าเสี่ยง ถือเป็น หั ว ใจส� ำ คั ญ ของคนท� ำ ธุ ร กิ จ และเป็ น สิ่ ง ที่ ผูป้ ระกอบการทีต่ อ้ งการประสบความส�ำเร็จไม่ สามารถหลี ก เลี่ ย งได้ โดยการใช้ ค วามใจสู ้ และกล้าเสีย่ งนัน้ ต้องมีการศึกษาข้อมูลจากงาน วิจัยและสถิติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเพื่อใช้ ประกอบการตัดสินใจ ทั้งนี้หากผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ปรับตัวให้เข้ากับสภาวะปัจจุบันได้แล้ว น่าจะสามารถครอง พื้นที่ส่วนมากของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ได้ไม่ ยากนัก ทั้งนี้เพราะเมื่อพิจารณาจากข้อมูลรายงานสถานการณ์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เรียบเรียงโดย ส�ำนักงานส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ที่ผ่านมา พบว่า แนวโน้ม ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2555-2557 มูลค่า GDP ของเอสเอ็มอีเริ่มปรับตัวสูงขึ้น โดยในปี พ.ศ.2555 อยูท่ รี่ อ้ ยละ 37 และในปี พ.ศ.2556 สัดส่วนมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของเอสเอ็มอี ปรับตัวสูงขึ้นอยู่ที่ ร้อยละ 37.4 และมีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ขณะเดียวกัน แนวโน้มทีผ่ ่านมาก็เป็นที่น่าสังเกตว่าอัตราการขยายตัวของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมยังคงสูงกว่าอัตราการขยายตัวของประเทศ ซึ่งจุดนี้แสดงถึงการเป็นกลไกขับเคลื่อนการเจริญเติบโต (engine of growth) ที่ส�ำคัญยิ่งให้แก่ระบบเศรษฐกิจของประเทศ

February-March 2016, Vol.42 No.245

65 <<<


&

Visit

กว่าจะเป็น“ข้าวไทย” คุณภาพระดับโลก กองบรรณาธิการ

“Rice

of Thailand” ชื่อนี้การันตีคุณภาพข้าวไทยมาหลายทศวรรษ ส่งผลให้ “ไทย” กลายเป็นประเทศผู้ส่งออกข้าวอันดับต้น ๆ ของโลก จนกระทั่ง เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ ข้าวไทยเสียแชมป์ให้กับประเทศเพื่อนบ้าน ในด้านปริมาณการส่งออก แต่ในด้านคุณภาพ เรายังคงเป็นที่หนึ่ง การจะรักษาความเป็นหนึ่งไว้ได้นั้น สิ่งส�ำคัญคือ “คุณภาพ” นับตั้งแต่แ หล่งผลิต กระทั่งถึงกระบวนการปรับปรุงคุณภาพข้าวก่อนส่งออก ในด้านแหล่งผลิต การมีเ มล็ดข้าวพันธุ์ดี ปลูกในพื้นที่ที่อุดมด้วยแร่ธาตุที่ข้าวต้องการ ลดการใช้สารเคมีและยาฆ่าแมลง จนได้ข้าวพันธุ์ดี อย่างไรก็ตาม ข้าวคุณภาพดี ไม่ได้จบลง ด้วยการปลูกจนได้เ มล็ดข้าวเพียงอย่างเดียว ในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพข้าว การเก็บรักษาข้าวให้คงไว้ซึ่งคุณภาพทุกเมล็ดถือเป็น เรื่องส�ำคัญเช่นกัน

ใน

เรื่องนี้ผู้บริโภคอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ เคยสงสัยไหมว่า ข้าวบางถุงซื้อมาสามารถเก็บไว้ ทานได้นานนับเดือน โดยปราศจากมอดและแมลงรบกวน ขณะทีบ่ างถุงซือ้ มาเปิด ทานไม่นาน มอดและแมลงก็เริ่มรบกวนแล้ว แน่นอนว่า มอดและแมลงถือเป็นภัยคุกคามที่ น่ากลัวอย่างยิ่งส�ำหรับการส่งออกข้าวไทย ดังนัน้ ในกระบวนการปรับปรุงคุณภาพข้าวก่อนบรรจุถงุ จึงจ�ำเป็นต้องมีกระบวนการ ก�ำจัดมอดด้วยการรมด้วยเมทิลโบรไมด์ หรือฟอสฟีน ซึ่งเป็นสารเคมีที่ได้รับการอนุญาตให้ใช้ เพื่อก�ำจัดมอดและแมลงได้ อย่างไรก็ตาม ในการใช้ ต้องใช้ในปริมาณที่เหมาะสม โดย ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเท่านั้น ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค และส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมได้ จากปัญหาดังกล่าว นักวิจยั ไทยได้มกี ารคิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีในการก�ำจัด มอดและแมลงแบบใหม่ที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม และได้ถูกน�ำมา ใช้งานจริงแล้วในโรงงานปรับปรุงคุณภาพข้าวของบริษัท ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ผลิตข้าวมาบุญครอง นั่นเอง นวัตกรรมใหม่ในการก�ำจัดมอด ได้รับการเปิดเผยขึ้น เมื่อครั้งที่ “คุณสมเกียรติ” น�ำทีมสื่อมวลชน เยี่ยมชมโรงงานผลิตข้าวถุง “มาบุญครอง” ที่อ�ำเภอสีคิ้ว จังหวัด นครราชสีมา คุณสมเกียรติ มรรคยาธร กรรมการผู้จัดการใหญ่บริษัท ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) ให้ขอ้ มูลเกีย่ วกับบริษทั ฯ ว่า เป็นธุรกิจในเครือของ เอ็ม บี เค กรุป๊ โดยเป็นผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายข้าวสารทั้งภายในประเทศและเพื่อการส่งออก ภายใต้ ▲

คุณสมเกียรติ มรรคยาธร

กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน)

>>>66

February-March 2016, Vol.42 No.245


&

เครือ่ งหมาย การค้า “ข้าวมาบุญครอง” (ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตข้าวสารบรรจุถงุ รายแรกของเมืองไทย) ด้วยโรงงานที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่ง ในเอเชีย โดยมีผลิตภัณฑ์ข้าวที่หลากหลาย อาทิ ข้าวหอมมะลิ ข้าว หอมทิพย์ ข้าวหอมปทุม ข้าวขาว ข้าวกล้องหอมมะลิ ข้าวมาบุญครอง พลัส น�้ำมันร�ำข้าว และจมูกข้าวหอมมะลิอินทรีย์ นูทรา ออริส เท็น นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2522 เป็นต้นมา ธุรกิจข้าวถุงมีการพัฒนา และเติบโตอย่างต่อเนื่อง และยังเป็นบริษัทแรกที่ได้รับเครื่องหมาย มือพนมติดดาว ดีพิเศษ ซึ่งเป็นรางวัลรับรองมาตรฐานคุณภาพข้าว หอมมะลิบรรจุถุง และเป็นรายเดียวที่ได้รับเครื่องหมายนี้ 8 ปี ติดต่อ กัน นอกจากนี้ยังได้รับการรับรองมาตรฐานสากลที่ทั่วโลกยอมรับทั้ง ISO 9001, BRC, GMP และ HACCP แสดงให้เห็นถึงความเชีย่ วชาญ ระบบการจัดการทีด่ ี คุณภาพของข้าว รวมถึงมาตรฐานการผลิต และ ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ข้าวมาบุญครอง ปัจจุบนั ก�ำลังการผลิตข้าวมาบุญครองอยูท่ ี่ 18 ตันต่อชัว่ โมง และมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของ ผู้บริโภคออกวางจ�ำหน่าย อาทิ ข้าวธัญพืช ข้าวห้าสี ข้าวไรซ์เบอร์รี่ และข้าวกล้องงอกหอมมะลิ เป็นต้น จากศักยภาพและการพัฒนาที่ ไม่หยุดยั้ง ผสานกับนวัตกรรมใหม่ ๆ เราจึงยังคงความเป็นผู้น�ำใน ธุรกิจข้าวบรรจุถงุ และพร้อมแล้วกับการก้าวเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน รวมทั้งพร้อมรับการแข่งขันทางการค้าจากผู้ผลิตข้าวใน ประเทศอื่น ๆ ส�ำหรับขั้นตอนการผลิตข้าวบรรจุถุง เริ่มต้นจาก ขั้นตอน การเตรียมข้าวก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิต โดยข้าวจะถูกคลุมด้วย ผ้ายางพลาสติกเพื่อป้องกันมอดและแมลงต่าง ๆ รวมทั้งน�้ำและสิ่ง ปนเปื้อนอื่น ๆ โดยป้อนวัตถุดิบผ่านกระบะเทข้าว และล�ำเลียงผ่าน กระพ้อและสายพานเข้าสู่เครื่องท�ำความสะอาด ขั้นตอนการท�ำความสะอาดข้าว ข้าวจะถูกน�ำมาท�ำความ สะอาดผ่านตะแกรงโยกที่ขนาดรูตะแกรงเป็นทรงกระบอกที่มีความ กว้าง 2.5 มิลลิเมตร และความยาว 20 มิลลิเมตร เพือ่ คัดแยกสิง่ แปลก ปลอมขนาดใหญ่ออกจากข้าว อาทิ เศษเชือก ฟาง จากนั้นล�ำเลียงสู่ ถังพักขนาด 300 ตัน ขั้นตอนการล�ำเลียง ข้าวจะถูกล�ำเลียงจากถังพักผ่านเครื่อง

Visit

แม่เหล็ก ไปยังเครื่องคัดแยกหิน ซึ่งสายพานล�ำเลียง มีฝาครอบเพื่อ ป้องกันสิ่งปนเปื้อนต่าง ๆ ตรงตามหลักการและมาตรฐานของการ รั บ รองในด้ า นระบบการจั ด การ และควบคุ ม การผลิ ต อาหารให้ ปลอดภัย (GMP) ขั้นตอนการคัดแยกหิน ข้าวจะถูกล�ำเลียงมาท�ำการคัดแยก หิน โดยตะแกรงสั่นแบบระบบปิดเพื่อคัดแยกสิ่งปนเปื้อนที่มีน�้ำหนัก มากกว่าข้าว อาทิ หิน กรวด และวัสดุอื่น ๆ อย่าง เศษแก้ว เศษโลหะ เป็นต้น ขั้ น ตอนการขั ด มั น ข้าวที่ผ่านการคัดแยกหินแล้วจะถูก ล�ำเลียงโดยกระพ้อผ่านเครื่องแม่เหล็กที่มีแรงดึงดูดมากกว่า 1,000 เก๊าซ์ ก่อนเข้าสู่เครื่องขัดมันในล�ำดับต่อไป ซึ่งการขัดมันข้าวใน กระบวนการนี้ใช้หลักของการขัดสีระหว่างข้าวกับตะแกรง และตัว เมล็ดข้าวที่ขัดสีกันเองภายในห้องขัด มีลมและสเปรย์ละอองน�้ำช่วย ในการขัดมัน โดยอุณหภูมริ ะหว่างการขัดมันประมาณ 40 - 60 องศาเซลเซียส ซึง่ ร�ำทีเ่ กิดขึน้ จากการขัดมันนีจ้ ะถูกล�ำเลียงออกจากห้องขัด มันโดยระบบลมดูดท�ำให้ข้าวที่ได้จากกระบวนการนี้ เป็นข้าวที่มี ลักษณะมัน วาว จากการที่ต้องใช้ลมเพื่อช่วยในการขัดมัน โดย ระบบลมได้มีการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันและดักจับน�้ำและน�้ำมันก่อน เข้าห้องขัดด้วย (oil - air filter) ขัน้ ตอนการคัดแยกสี ข้าวทีผ่ า่ นการขัดมันจะถูกล�ำเลียงผ่าน กระพ้อและสายพานระบบปิดทั้งหมดเข้าสู่ถังพักก่อนลงสู่เครื่องคัด แยกสี โดยการคัดแยกสีจะใช้หลักการความแตกต่างกันของสีขา้ วกับ

February-March 2016, Vol.42 No.245

67 <<<


Visit

&

สีของสิ่งเจือปนอื่น ๆ เช่น ข้าวเปลือก เมล็ดพืช หรือเศษโลหะต่าง ๆ โดยเครื่องคัดแยกสีจะตรวจจับสิ่งเจือปนอื่น ๆ ก�ำจัดทิ้งโดยใช้ลมใน การเป่าออก (เครื่องคัดแยกสี เป็นเครื่องจักรระบบปิดที่ถูกควบคุม อุณหภูมิ จึงปลอดภัยป้องกันฝุ่นละอองหรือสิ่งปลอมปนจากสภาพ แวดล้อมภายนอก) ขัน้ ตอนการคัดขนาดความหนาและความยาว ข้าวทีผ่ า่ นการ คัดแยกสีจะถูกล�ำเลียงส่งต่อไปยังเครื่องคัดขนาดความหนาและ ความยาว ซึง่ เครือ่ งคัดขนาดความหนามีลกั ษณะเป็นตะแกรงเหลีย่ ม ใช้หลักการร่อนของตะแกรงเพือ่ คัดข้าวหักหรือข้าวเมล็ดสัน้ ออก และ เครื่องคัดขนาดความยาวมีลักษณะเป็นตะแกรงกลมใช้การหมุนของ ตะแกรงที่ออกแบบพิเศษให้เป็นหลุมรอบ ๆ ตะแกรง ท�ำให้ข้าวที่มี ขนาดเล็กตกลงไปในหลุมและเมื่อหมุนไปในระยะหนึ่งก็จะตกลงใน ถาดที่อยู่ภายในตะแกรง และถูกล�ำเลียงออกไปโดยสกรู ขั้นตอนการล�ำเลียงลงถังพักก่อนการบรรจุถุง ข้าวที่ผ่าน การคัดขนาดจากขัน้ ตอนทีผ่ า่ นมาจะล�ำเลียงลงถังพักโดยไหลผ่านท่อ ทีเ่ ป็นระบบปิดก่อนเข้าสูถ่ งั พักและมีการตรวจสอบข้าวขัน้ สุดท้ายบน

>>>68

February-March 2016, Vol.42 No.245

สายพานก่อนเข้าถังบรรจุ ซึ่งติดตั้งภายในห้องปิดมิดชิดโดยมีการ์ด ชนิดพลาสติกใส เพื่อป้องกันสิ่งปลอมปนที่อาจล่วงลงสู่สายพานใน ขณะที่ล�ำเลียงข้าวอีกชั้นหนึ่งด้วย ขั้นตอนการล�ำเลียงก่อนการบรรจุถุง ข้าวที่ผ่านการตรวจ สอบในขั้นตอนสุดท้ายจะล�ำเลียงลงถังพักและผ่านไปสู่เครื่องบรรจุ โดยสายพานระบบปิด เพื่อป้องกันการปนเปื้อนต่าง ๆ จากภายนอก ตามหลักการผลิตที่ดีตามมาตรฐาน GMP และไปสู่ขั้นตอนการ ท�ำความสะอาดก่อนการบรรจุถุง โดยล�ำเลียงผ่านเครื่องคัดแยก ร�ำก้อน ที่แยกสิ่งปลอมปนต่าง ๆ เช่น เศษร�ำก้อน เศษเชือก เศษด้าย และอื่น ๆ รวมทั้งฝุ่นร�ำ ออกจากข้าวก่อนลงถังพัก ขั้ น ตอนการบรรจุ ถุ ง ข้าวจะไหลผ่านเครื่องแม่เหล็กที่มี แรงดึงดูดไม่น้อยกว่า 6,000 เก๊าซ์ ซึ่งท�ำหน้าที่ดักจับเศษโลหะที่ปน มากับข้าวก่อนเข้าสู่เครื่องบรรจุถุง ผ่านเครื่องชั่งและลงสู่หัวบรรจุถุง ซึ่งมีการสุ่มตรวจสอบข้าวทุก 1 ชั่วโมง โดยจะน�ำข้าวเทผ่านแม่เหล็ก ณ จุดตรวจสอบ เพื่อเป็นการตรวจสอบผลิตภัณฑ์อีกครั้ง ในขณะ เดียวกันก็มกี ารตรวจสอบ และท�ำความสะอาดแม่เหล็กทุก ๆ 4 ชัว่ โมง เพื่อให้มั่นใจว่าเครื่องแม่เหล็กยังคงมีประสิทธิภาพ โดยข้าวที่ผ่าน กระบวนการบรรจุถุงแล้วจะส่งมอบให้คลังสินค้าเพื่อท�ำการจัดเก็บ ต่อไป ส�ำหรับกระบวนการก�ำจัดมอดและไข่มอดเป็นอีกขัน้ ตอนหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ โดย บริษทั ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) เลือก ที่จะสนับสนุนเครื่องจักรนวัตกรรมฝีมือคนไทย ที่ผ่านการคิดค้นและ พัฒนาจนกระทั่งสามารถใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ โดยเครื่องจักรดังกล่าว คือ เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยความร้อนแบบไดอิเล็กตริก เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยความร้อนแบบไดอิเล็กตริก เป็นเครื่องจักรนวัตกรรมที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ร่วมกับ


&

นอกจากนี้ ท างบริ ษั ท ฯ ได้ ท� ำ การทดสอบคุ ณ ภาพทาง กายภาพและทางเคมีของข้าวหลังการผ่านคลื่นความถี่วิทยุโดย เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วยความร้อนแบบไดอิเล็กตริก พบว่า การให้คลื่นความถี่วิทยุที่ระดับอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส สามารถ ก�ำจัดแมลงศัตรูข้าวได้หมด และการประยุกต์ใช้คลื่นความถี่วิทยุใน การก�ำจัดมอดนั้นไม่มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพข้าว ทางบริษัทฯ ยังมีการพัฒนา ‘เครื่องอบข้าว’ เพื่ออบข้าวก่อน ส่งข้าวเข้าสู่เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดต่อไป เพื่อเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพของเครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดฯ พร้อมด้วย ‘เครื่อง ปรับอุณหภูมิข้าวให้เย็น’ เพื่อเป็นการลดความร้อนก่อนการบรรจุถุง อีกด้วย เทคโนโลยีทั้งหมดนี้สามารถประยุกต์ใช้ได้กับวัตถุดิบทาง การเกษตรอืน่ ๆ เช่น แป้ง ถัว่ ธัญพืช ใบชา หรือยาสูบ เพือ่ ก�ำจัดมอด รวมถึงสามารถพัฒนาปรับปรุงใช้ในการอบให้ความร้อนแก่วัตถุดิบ ทางการเกษตรได้ ซึ่งเป็นผลงาน ของนั ก วิ จั ย ไทยและบริ ษั ท ของคนไทยที่จะช่วยเปลี่ยน กระบวนการก�ำจัดมอด ซึ่ง จะเป็ น นวั ต กรรมที่ พ ลิ ก โฉมหน้าอุตสาหกรรมอาหาร ของประเทศไทยและอุตสาหกรรมอาหารในระดับอาเซียน อีกด้วย

ส�ำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์กรมหาชน) พัฒนาขึ้น โดย มีบริษัท ยูเรกา อะโกร แมชชีนเนอรี่ จ�ำกัด รับถ่ายทอดเทคโนโลยี เพือ่ ผลิตและจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ และมีบริษทั ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมทดลองในการปรับปรุงประสิทธิภาพ เพือ่ ให้เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ในอุตสาหกรรมข้าวบรรจุถุง เครื่องดังกล่าวอาศัยหลักการให้ความร้อนแบบไดอิเล็กตริก กล่าวคือ การท�ำงานโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เป็นความถี่ คลื่นวิทยุส่งผ่านเข้าไปในเนื้อวัสดุ โดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจะท�ำให้ โมเลกุลของวัสดุทมี่ โี ครงสร้างแบบทีม่ ขี วั้ ไฟฟ้าทีเ่ ป็นขัว้ บวกและขัว้ ลบ พยายามเรียงตัวกันตามทิศทางของสนามคลื่นที่ส่งผ่านเข้ามา และ การเสียดสีกันของโมเลกุลท�ำให้เกิดความร้อนกระจายทั่วภายใน เนื้อวัสดุ หรือการถ่ายเทพลังงานจากคลื่นไปยังวัสดุ ซึ่งทางบริษัทฯ ได้ออกแบบวงจรก�ำเนิดสัญญาณความถี่สูงและก�ำลังงานสูง ซึ่ง เป็นอุปกรณ์หลักของเครื่องประกบกับแผ่นเพลตแบบขนานท�ำการ ปรับความถี่และก�ำลังงานเป็นไปตามสมการการเกิดความร้อนแบบ ไดอิเล็กตริก โดยคลื่นความถี่ที่ใช้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก�ำหนด ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อมและผู้บริโภคและยังเป็น การช่วยลดการใช้สารเคมีอีกด้วย คุณพันธเกียรติ ฤชาก�ำธร กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูเรกา อะโกร แมชชีนเนอรี่ จ�ำกัด กล่าวว่า เครื่องก�ำจัดมอดและไข่มอดด้วย ความร้อนแบบไดอิเล็กตริก มีสว่ นประกอบส�ำคัญ คือ ช่องรับข้าวสาร ทางออกข้าวสาร ระบบการสร้างความถี่และกระจายคลื่นแบบแผ่น เพลท ระบบบลมเป่า และตูค้ วบคุมมีกำ� ลังผลิต 1-3 ตันต่อชัว่ โมง และ ท�ำงานต่อเนื่องได้ 20 ชั่วโมง โดยใช้ก�ำลังไฟฟ้า 220 โวลต์ 1 เฟส 50 Hz โดยคิดเป็นค่าไฟฟ้าประมาณ 8 บาทต่อตัน (อ้างอิงจากค่า เฉลีย่ ไฟฟ้าทีห่ น่วยละ 3 บาท) โดยสามารถติดตัง้ เครือ่ งดังกล่าวได้ใน ส่วนหลังของเครื่องขัดขาว ส่วนบรรจุ หรือส่วนไซโล เป็นต้น ส�ำหรับข้อดีของเทคโนโลยีนี้ ช่วยลดการใช้สารเคมี เป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม ช่วยลดพืน้ ทีก่ ารจัดเก็บและระยะเวลาการอบยา และ ช่วยลดค่าแรงงานจากการขนย้าย

Visit

คุณพันธเกียรติ ฤชาก�ำธร

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ยูเรกา อะโกร แมชชีนเนอรี่ จ�ำกัด

February-March 2016, Vol.42 No.245

69 <<<


&

Show & Share

YuMi หุ่นยนต์อัจฉริยะ

เอบีบี

ประเทศไทย เปิดตัว YuMi หุน่ ยนต์อจั ฉริยะทีม่ า พร้อมเทคโนโลยีความปลอดภัยใหม่ล่าสุดใน โลก สามารถท�ำงานร่วมกับมนุษย์ได้ โดยไม่เป็นอันตราย มีความ แม่นย�ำในการท�ำงานสูง ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง ลดต้นทุนด้านการ ผลิตของภาคอุตสาหกรรม และตอบโจทย์แก้ปญ ั หาขาดแคลนแรงงาน YuMi หุน่ ยนต์สองแขน ทีเ่ ป็นมิตรกับมนุษย์ ได้รบั การพัฒนา และออกแบบมาส�ำหรับระบบอัตโนมัตยิ คุ ใหม่ ซึง่ คาดการณ์วา่ ตลาด ภาคอุตสาหกรรมจะมีความต้องการหุน่ ยนต์โดยรวมประมาณ 3,0004,000 ตัวต่อปี และจะมีการเติบโตต่อเนื่อง รวมถึงขยายไปยัง อุตสาหกรรมใหม่ ๆ มากขึ้น เช่น อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งมีความจ�ำเป็นต้องใช้หุ่นยนต์ในกระบวนการหยิบจับ เพื่อความ สะอาดปลอดภัยด้านอาหาร การบรรจุภณ ั ฑ์ และการยกเคลือ่ นสินค้า มากขึ้น แตกต่างจากอดีตที่การใช้งานหุ่นยนต์จะจ�ำกัดอยู่เฉพาะใน อุตสาหกรรมชิ้นส่วนและยานยนต์เท่านั้น >>>70

February-March 2016, Vol.42 No.245

คุณสมบัติพิเศษ ของ YuMi เป็นหุ่นยนต์สองแขนตัวแรกของ โลกทีส่ ามารถท�ำงานร่วมกับมนุษย์ และได้รบั การออกมาส�ำหรับระบบ อัตโนมัตยิ คุ ใหม่ ยกตัวอย่าง ในการประกอบชิน้ ส่วนเล็ก ๆ ทีผ่ คู้ นและ หุน่ ยนต์สามารถท�ำงานร่วมกันส่งชิน้ งานด้วยมือต่อมือในงานเดียวกัน YuMi จึงมีความหมายถึงการท�ำงานร่วมกันของ “คุณและฉัน” YuMi ได้รบั การพัฒนาเพือ่ ตอบสนองความยืดหยุน่ และคล่อง ตัวต่อการผลิตของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในเบื้องต้น จากนั้นจะ ถูกพัฒนาเพือ่ ให้ครอบคลุมถึงภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมอืน่ ๆ YuMi หุ่นยนต์ที่สามารถท�ำงานร่วมกันกับมนุษย์ มีความสามารถในการรับ รู้ความรู้สึกและการเห็น ตัวแขนหุ่นยนต์หุ้มด้วยวัสดุกันกระแทกมี ความนุ่ม และมาพร้อมกับเทคโนโลยีการตรวจจับแรง เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยในการท�ำงานร่วมกันของมนุษย์กับ YuMi ความปลอดภัยที่ ถูกออกแบบและสร้างขึ้นใน YuMi จะท�ำให้หุ่นยนต์รุ่นนี้สามารถ ท�ำงานร่วมกับมนุษย์ได้โดยไม่มีรั้วกั้น


สวิตช์

&

Show & Share

ระดั บ กิ ก ะบิ ต ส�ำหรับอุตสาหกรรมซีรีส์ใหม่

อั ล ไลด์ เ ทเลซิ ส เปิ ด ตั ว สวิ ต ช์ ระดั บ กิ ก ะบิ ต ซี รี ส ์ ใ หม่ ไออี510 ซีรีส์ (IE510 Series) ที่สามารถขยายสแตค (stack) เพื่อ รองรับการเชื่อมต่อที่มากขึ้น ไออี 5 10 ซี รี ส ์ จะเข้ า มาเสริ ม ความสมบู ร ณ์ ใ ห้ กั บ สวิ ต ช์ อีเทอร์เน็ต รุ่นไออี200 ซีรี่ส์ (IE200 Series) ที่มีอยู่เดิมและยังเหมาะ ส�ำหรับใช้เป็นสวิตช์หลักหรือสวิตช์สลับสัญญาณส�ำหรับแอปพลิเคชัน่ อุตสาหกรรมด้วย เมือ่ มีการปรับใช้รว่ มกับไออี200 ซีรสี ์ สวิตช์ไออี510 ก็จะยิ่งพร้อมให้การรองรับการเชื่อมต่อของอุปกรณ์ เช่น กล้องซีซีทีวี ระบบการท�ำงานอัตโนมัติของอุตสาหกรรม และระบบจัดการอาคาร หรือสถานที่ที่มีสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่จ�ำกัด สำ�หรับผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม ไออี 510 ซีรีส์ รุ่นแรกที่จะเปิดตัว ได้แก่ เอที-ไออี 510-28 จีเอสเอ็กซ์ (AT-IE510-28GSX) มาพร้อม ช่องเอสอีพี (SEP) จำ�นวน 24 ช่อง และพอร์ตอัพลิงก์ 1/10 กิกะบิต ต่อวินาที (Gbps) เพิม่ อีก 4 พอร์ต รวมทัง้ สามารถปรับขยายได้โดยใช้ อัลไลด์เทเลซิสเวอชวลแชสซิสสแตกิง้ (Allied Telesis Virtual Chassis Stacking) หรือ วีซีสแตค (VCStack™) นอกจากนี้ สวิตช์ดังกล่าวยัง ให้คุณสมบัติขั้นสูงที่พบได้ในระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ อัลไลด์เทเลซิส อัลไลด์แวร์พลัส (Allied Telesis AlliedWare Plus™) ซึ่งครอบคลุม อีเทอร์เน็ตโปรเทคชั่น สวิตซ์ ริ่ง 1 (Ethernet Protection Switched Ring หรือ อีเอสพีริ่ง EPSRing™) ซึ่งระบบการทำ�งานอัตโนมัติที่ ใช้เขียนสคริปต์และการสั่งงาน รวมทั้งอัลไลด์เทเลซิส แมเนจเม้นท์ เฟรมเวิร์ก หรือเอเอ็มเอฟ (Allied Telesis Management Framework™ (AMF))

จะเห็นได้วา่ อีพเี อสริง่ (EPSRing) ให้การกูค้ นื ระบบทีร่ วดเร็ว กว่าเทคโนโลยีดั้งเดิม ท�ำให้มั่นใจได้ว่าฟังก์ชันการท�ำงานด้าน เครือข่ายจะได้รบั การกูค้ นื ให้กลับมาใช้งานได้อย่างเป็นปกติ ในกรณี ที่เกิดการล้มเหลวโดยที่แทบจะไม่ส่งผลกระทบต่อผู้ใช้และแอปพลิเคชัน่ แม้แต่นอ้ ย นอกจากนี้ AMF ยังช่วยลดเวิรก์ โหลดในแต่ละวันให้ กับผู้จัดการด้านเครือข่ายด้วยการจัดเตรียมเทคโนโลยีที่ท�ำให้งาน บริหารจัดการทั่วไปเป็นระบบอัตโนมัติ เช่น การทดแทนชุดอุปกรณ์ที่ ท�ำงานล้มเหลว การปรับเปลี่ยนการก�ำหนดค่า การอัปเกรดเฟิร์มแวร์ หรือการขยายเครือข่าย เอเอ็มเอฟยังช่วยให้ผู้ดูแลระบบไอทีมีส่วน ควบคุม (คอนโซล) ส�ำหรับจัดการเครือข่ายแบบครบวงจร ตลอดจน สามารถติดตั้งอุปกรณ์ และกู้คืนระบบได้โดยไม่ต้องลงมือเอง ซึ่งจะ ช่วยประหยัดเวลาและเงินได้อย่างมาก สิง่ นีถ้ อื เป็นประโยชน์อย่างยิง่ ในกรณีที่องค์กรมีการใช้งานอุปกรณ์เป็นจ�ำนวนมาก บริษัท อัลไลด์เทเลซิส มีบทบาทอย่างมากในการน�ำเสนอ IPv6 ให้ กั บ ตลาดเครื อ ข่ า ยกระแสหลั ก มาเป็ น เวลานาน ทั้ ง ยั ง สนับสนุน IPv6 ให้สามารถใช้งานร่วมกับไออี 510 ซีรสี ไ์ ด้ ซึง่ นัน่ ท�ำให้ การปรับใช้และการจัดการเครือข่าย IPv6 ทัง้ ระบบสามารถท�ำได้โดย ง่าย สิ่งนี้จึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งต่อแอปพลิเคชั่นอุตสาหกรรม และแอปพลิเคชั่นฝังตัว ที่ซึ่งมีการเชื่อมต่อจากอุปกรณ์และสิ่งต่าง ๆ เป็นจ�ำนวนมากและก�ำลังขยายตัวอย่างมหาศาล ภายใต้แนวโน้ม อินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง (Internet of Things: IoT)

February-March 2016, Vol.42 No.245

71 <<<


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com

&

Silverado BST-360

เครื่องทดสอบแบตเตอรี่ รุ่นเล็ก ราคาประหยัด

เป็นเครื่องทดสอบแบตเตอรี่ ขนาดกะทัดรัด ใช้งานง่าย ใช้ ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ที่ทดสอบได้เลย ใช้เทคโนโลยีการทดสอบความ น�ำไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ เหมาะส�ำหรับอู่ซ่อมรถ ศูนย์บริการ ร้าน แบตเตอรี่ หรือเจ้าของรถทีใ่ ส่ใจดูแลรถยนต์ดว้ ยตัวเองมาตรฐานและ ช่วงทดสอบแบตเตอรี่ ดังนี้ CCA 100-800 BIC 100-800 EN 100-800 IEC 100-550 SAE 100-800 JIS 26A17-245H52 GB 100-550

>>>72

February-March 2016, Vol.42 No.245

คุณสมบัติ ➢ ทดสอบแบตเตอรี่ได้ทันที ไม่ต้องรอชาร์จเต็ม ➢ ไม่มีการสปาร์ก หรือความร้อน ที่จะเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ➢ ทดสอบได้ง่าย รวดเร็ว และแม่นย�ำ ➢ ตรวจสอบเซลล์ที่ช�ำรุดได้ ➢ ทดสอบระบบชาร์จและระบบสตาร์ตได้ ➢ จอแสดงผล LCD ขนาดใหญ่ ดูได้ในทุกสภาพแสง ➢ สายวัดถอดเปลี่ยนได้ ➢ ใช้คลิปวัดแบบ Kelvin 4 สาย ที่แม่นย�ำ


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ์: 0-2514-0001, 0-2514-0003 เว็บไซต์: www.measuretronix.com อีเมล: info@measuretronix.com

Silverado BST-380

เครื่องทดสอบแบตเตอรี่รถยนต์ มีปรินเตอร์ในตัว

เหมาะส�ำหรับโรงงานผลิตรถยนต์ ศูนย์บริการรถยนต์ อูซ่ อ่ มรถ โรงงานแบตเตอรี่ ร้านจ�ำหน่ายแบตเตอรี่ หน่วยงานทีม่ กี ารใช้งานแบตเตอรี่ และอื่น ๆ Silverado BST-380 ใช้เทคโนโลยีการทดสอบความน�ำไฟฟ้าขั้นสูง ที่สามารถตรวจวัดค่าความสามารถในการจ่ายกระแสสตาร์ตของ แบตเตอรี่ สภาพความสมบูรณ์ของแบตเตอรี่ และความผิดปกติของระบบสตาร์ตและระบบชาร์จไฟ ได้อย่างรวดเร็ว แม่นย�ำ และสะดวกง่ายดาย

เป็นต้น

คุณสมบัติ ➢ ทดสอบกระแสสตาร์ต CCA ของแบตเตอรี่รถยนต์ ชนิด ตะกั่ว-กรด ได้ทุกประชนิด ทั้งแบบทั่วไป แบบไม่ต้องเติมน�้ำกลั่น แบบเจล ➢ ตรวจสอบเซลล์ที่ช�ำรุดได้

➢ มีระบบป้องกันการต่อสายวัดสลับขั้ว โดยไม่เกิดอันตรายต่อเครื่องวัด หรือระบบไฟฟ้าของรถยนต์ ➢ ตรวจสอบได้แม้แบตเตอรี่ไม่มีไฟ โดยไม่ต้องรอชาร์จไฟจนเต็ม

➢ ทดสอบแบตเตอรี่ได้ทุกมาตรฐานที่นิยมใช้ทั่วโลก เช่น CCA, BCI, CA, MCA, JIS, DIN, IEC, EN, SAE, GB

➢ มีความสามารถเสริมในการวัด แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ และวัดก�ำลังไฟฟ้าสแตนด์บายของ ECU ➢ เก็บบันทึกผลการวัดได้ 100 ชุด ที่เรียกดูและพิมพ์รายงานได้

February-March 2016, Vol.42 No.245

73 <<<


&

Buyer Guide

ผลิตภัณฑ์ ใหม่จาก บริษัท พิศนุการช่าง จ�ำกัด โทรศัพท์: 0-2245-9113, 0-2642-9219, 0-2248-2896-98 แฟกซ์: 0-2642-9220 เว็บไซต์: www.pisanu.co.th อีเมล: pIsales@pisanu.co.th

ESX10-TC Electronic Circuit Protection รุ่นใหม่จาก Weidmuller ESX10-TC เป็น Electronic Circuit Breaker รุ่นใหม่ของ Weidmuller ให้การป้องกันที่แม่นย�ำและปลอดภัยแก่วงจรไฟฟ้า 12DC ชนิดต่าง ๆ ได้รับการรับรองให้ใช้ในบริเวณที่มีอันตราย Zone 2 ได้ ออกแบบมาเพือ่ ให้ความมัน่ ใจทัง้ ในงานของโรงงาน และงานการ ควบคุมกระบวนการต่าง ๆ ข้อดีหลายอย่าง เช่น Remote Reset หรือ On/Off Control และความสามารถในการติดตั้งใน Zone 2 ได้ ท�ำให้ ผู้ใช้งานสามารถประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายลงได้มาก ESX10-TC รุน่ 12 V นี้ ยังสามารถน�ำไปใช้ปอ้ งกันระบบต่างๆ ได้มากมาย รวมทั้งวงจรไฟฟ้าที่ใช้แบตเตอรี่เป็น Power Supply ตัวอย่างที่ดีของการใช้งานกับ Process ก็คือ การใช้กับอุปกรณ์ที่อยู่ ห่างไกล และไม่มคี นดูแลประจ�ำ ซึง่ อุปกรณ์ปอ้ งกันฟ้าผ่าหรืออุปกรณ์ ป้องกัน Transient Voltag.e Surge ชนิดอื่น ๆ อาจก่อให้เกิดการเสีย เวลาในการใช้งานเมื่อมีการ Trip ซึ่งท�ำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง และเป็น สิ่งไม่พึงประสงค์ ความสามารถในการควบคุมระยะไกลได้ของ ESX10-TC ช่วยให้สามารถน�ำระบบกลับเข้าสู่การใช้งานได้โดยมี ความสูญเสียน้อยที่สุด ESX10-TC ของ Weidmuller ใช้เทคนิค Active Current Limitation เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสภาพ Overload หรือ Short Circuit ได้เร็วกว่าเทคนิค Switch-mode Power Supply มีกลไกใน การ Trip ที่แม่นย�ำและรวดเร็ว ขนาดกระทัดรัด มีความกว้างเพียง 12.5 มิลลิเมตร สามารถจับยึดแบบ Snap กับ Symmetrical DIN-rails ได้ เพือ่ ให้งา่ ยต่อการติดตัง้ และประหยัดเนือ้ ทีข่ องตูค้ วบคุม นอกจาก นี้ยังมี Cross-connection Busbars และ LED หลายสี ส�ำหรับบอก สถานะให้อีกด้วย

>>>74

February-March 2016, Vol.42 No.245


&

Books Guide

สนุกกับการผันรูปกริยาญีป่ นุ่ ฉบับพกพากับ

ญีป่ นุ่ ง่ายนิดเดียว

ค�ำกริยา

(ฉบับปรับปรุง)

ผู้เขียน: สุภา ปัทมานันท์ ราคา 79 บาท สำ�นักพิมพ์ภาษาและวัฒนธรรม

อุป

สรรคก้าวแรกของผูท้ เี่ พิง่ จะเริม่ เรียนภาษาญีป่ นุ่ ก็คอื “การ ผันค�ำกริยาในรูปต่าง ๆ” ซึ่งการจดจ�ำรูปการผันค�ำกริยา แต่ละรูปได้อย่างแม่นย�ำนัน้ ถือเป็นพืน้ ฐานส�ำคัญ เพือ่ ให้การสือ่ สาร เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเมือ่ เรียนต่อไปเรือ่ ย ๆ จะเห็นว่า การ ผันค�ำกริยาบางรูปก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของไวยากรณ์ เช่น รูป て ใน ไวยากรณ์ ~てください (ค�ำสัง่ หรือขอร้อง) ~てもいい (การอนุญาต) เป็นต้น เพื่อให้ผู้สนใจเรียนภาษาญี่ปุ่นได้ฝึกผันค�ำกริยากันอย่าง ช�ำนาญ จึงขอน�ำเสนอหนังสือ ค�ำกริยาญี่ปุ่นง่ายนิดเดียว (ฉบับ ปรับปรุง) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการผันค�ำกริยาและค�ำคุณศัพท์มา แนะน�ำให้รู้จักกันค่ะ หนังสือค�ำกริยาญี่ปุ่นง่ายนิดเดียว (ฉบับปรับปรุง) เล่มนี้ นอกจากจะเพิ่มเติมค�ำกริยาให้มากขึ้นจากฉบับเดิมแล้ว ยังปรับ เนื้อหาให้เป็นสัดส่วนยิ่งขึ้น กล่าวคือ ได้มีการแบ่งโครงสร้างหนังสือ ออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ คือ หลักการผันและตารางการผันค�ำกริยา และ อีกส่วนหนึ่ง คือ หลักการผันและตารางการผันค�ำคุณศัพท์ い และ ค�ำคุณศัพท์ な ส�ำหรับรูปการผันในตารางนั้น จะคัดเลือกรูปที่เห็นว่า ส�ำคัญและจ�ำเป็นโดยทีใ่ นส่วนของหมวดค�ำกริยาจะมีทงั้ หมด 19 รูป เช่น รูปสุภาพ รูปปฏิเสธ รูปตัง้ ใจ รูปค�ำสัง่ เป็นต้น ในส่วนค�ำคุณศัพท์ นั้นจะมี 13 รูป เช่น รูปสุภาพ รูปธรรมดา รูปเชื่อมค�ำคุณศัพท์ รูป เงื่อนไข เป็นต้น ซึ่งค�ำศัพท์เหล่านี้จะมีการจัดเรียงตามตัวอักษรเพื่อ ให้ง่ายต่อการค้นหาด้วย ส่วนในภาคผนวก ก็ได้มกี ารรวบรวมค�ำกริยาและค�ำคุณศัพท์ แยกตามกลุม่ ตัวอย่างค�ำช่วยทีใ่ ช้กบั ค�ำกริยาต่าง ๆ และตารางเทียบ คูส่ กรรมกริยาและอกรรมกริยาไว้ดว้ ย ซึง่ เป็นความรูเ้ บือ้ งต้นในภาษา ญี่ปุ่นส�ำหรับให้ผู้เรียนใช้ฝึกท่องจ�ำและน�ำไปใช้ผันในรูปไวยากรณ์ พื้นฐานอย่างง่าย ๆ ด้วยตัวเองและส�ำหรับผู้ที่สนใจพกติดตัวไปอ่าน

ในรูปแบบของ E-book หนังสือเล่มนีแ้ ละเล่มอืน่ ๆ ของทางส�ำนักพิมพ์ ก็มีพร้อมให้ดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ www.mebmarket.com, www. ebooks.in.th, www.bookdose.com, www.openserve.co.th, http:// book.truelife.com, www.ookbee.com และ www.chulabook.com/ CU-ebook.asp มาเสริมทักษะความรู้ภาษาญี่ปุ่น โดยเริ่มจากจดจ�ำหลัก พืน้ ฐานการผันรูปค�ำให้แม่นย�ำ แล้วน�ำไปฝึกใช้กบั การเรียนไวยากรณ์ อย่างมั่นใจกันนะคะ

February-March 2016, Vol.42 No.245

75 <<<


&

Books Guide

เขาให้ผมเป็น...

ผูจ้ ดั การคุณภาพ ผู้เขียน: กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ ราคา 180 บาท สำ�นักพิมพ์ ส.ส.ท.

“เขาให้ผมเป็น...ผู้จัดการคุณภาพ” เป็นหนึ่งในคู่มือที่วิศวกร และผูจ้ ดั การ ทีต่ อ้ งท�ำหน้าทีผ่ จู้ ดั การด้านคุณภาพ (ทัง้ QC และ QA) ต้ อ งมี ไ ว้ ใ นครอบครอง เพื่ อ ให้ รู ้ ว ่ า จะต้ อ งมี บ ทบาทและความ รับผิดชอบอะไรบ้าง และต้องด�ำเนินกิจกรรมอะไรเป็นส�ำคัญ เพือ่ สร้าง หลักประกันคุณภาพให้ลกู ค้ามีความมัน่ ใจและพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ หนั ง สื อ เล่ ม นี้ เ กิ ด ขึ้ น จากผู ้ เ ขี ย นได้ ก ลั่ น ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์กว่า 30 ปี ในฐานะวิศวกรที่ปรึกษาด้านการควบคุม

คุณภาพและการประกันคุณภาพให้กบั บริษทั อุตสาหกรรมชัน้ น�ำ เป็น บทสรุปที่ลึกซึ้งแต่อ่านเข้าใจง่าย ครบถ้วนทั้งแนวคิด หลักวิชา และ การประยุกต์ใช้ เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจแก่นของความรู้เรื่องคุณภาพ และการบริหารจัดการให้เกิดคุณภาพ ภายในระยะเวลาอันสั้น เหมาะส�ำหรับการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากรในองค์กรทั้ง ใหญ่และเล็ก ทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคการศึกษา ให้ มีการบริหารและการจัดการอย่างมีคุณภาพที่แท้จริง

New Arrival การพัฒนาบุคลากรในโรงงานแบบ

Monozukuri

พบกับหนังสือทีจ่ ะชีแ้ นะ วิธกี ารวางแผนพัฒนาบุคลากรทีห่ น้างานการผลิต อย่างเป็นรูปธรรม รายละเอียดการสอนงาน และแนวทางปฏิบัติอย่างเป็นล�ำดับ ขั้นตามแนวทาง Monozukuri ที่เป็นวัฒนธรรมการผลิตที่มีเอกลักษณ์ของญี่ปุ่น ใน “การพัฒนาบุคลากรในโรงงานแบบ Monozukuri” วางแผงแล้วที่ TPA Book centre และร้านซีเอ็ดทุกสาขา หรือติดต่อสัง่ ซือ้ ได้โดยตรงที่ โทรศัพท์ 0-2258-0320 ต่อ 1209

>>>76

February-March 2016, Vol.42 No.245


TPA 2016 กระ

 ทรวงพาณชิ ย

International Forum

Organised by Technology Promotion Association (Thailand-Japan)

Thursday, February 18th, 2016 : 08.30-12.00 am.

Ballroom1, S31 Hotel, Soi Sukhumvit 31, Sukhumvit Rd., Bangkok

The Industrial Development Direction - Driving Thai Economy with Japanese Innovation TPA joins efforts with Ministry of Commerce, JETRO and JTECS to transform Thai Industry.

ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ตามแนวนวัตกรรมญีปุ่ น่ เพือ่ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทย

Globalization has evolved more rapidly than we can envision. Coupled with the slow-down in world economy, the competition in today’s industry is more intensified. Companies are taking every possible steps to stand ahead of their competitors and to maintain their business growth sustainably.

ส.ส.ท. เชื่ อมโยงความร่วมมือ กระทรวงพาณิชย์ JETRO และ JTECs พร้อมเดินหน้าขับเคลื่อน พลิกโฉมอุ ตสาหกรรมไทย

To elevate level of competitiveness is thus very necessary in order to stimulate growth in Thai economy and industry. Innovation and technology development play very important roles in this aspect and need to be applied throughout the production process, along with internet revolutions in order to catch up with the digital age which brings about the 4th industrial revolution.

กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกเป็นไปอย่างรวดเร็ว ควบคู่ไปกับภาวะ เศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว และเกิดการแข่งขันสูง ความได้เปรียบทางการแข่งขันจึงเป็น สิง่ ทีท่ กุ กิจการทีต่ อ้ งด�ำเนินงานท่ามกลางความผันแปรทีเ่ ปลีย่ นแปลง ซึง่ ทุกธุรกิจ ย่อมจะท�ำทุกวิถีทางที่จะเฟ้นหาวิธีการ กลยุทธ์ เพื่อน�ำมาสู่การสร้างความได้ เปรียบเหนือคู่แข่งเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน การปรับแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาองค์กรสู่การยกระดับการแข่งขัน จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ เพื่อผลักดันการเติบโตทั้งภาคเศรษฐกิจ ภาคอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญก�ำลังจะเกิดขึ้น ด้วยระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนโดย นวัตกรรม และเทคโนโลยีดา้ นต่างๆ ทีบ่ รู ณาการระหว่างองค์ความรู้ กระบวนการผลิต สินค้า ตลอดจนการเชื่อมโยงโครงข่ายอินเทอร์เน็ต และระบบดิจิทัลในยุค ของการปฎิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 4 (Industrial 4.0) หรือการเข้าสูอ่ ตุ สาหกรรม Cyber การผลักดันภาคอุตสาหกรรมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และขีดความสามารถ ในการแข่งขัน ภายใต้สภาวะการณ์การแข่งขันทีร่ นุ แรง และเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอด เวลา อีกทัง้ ผูบ้ ริโภคมีทางเลือกมากขึน้ เข้าถึงข้อมูลได้งา่ ยขึน้ การเชือ่ มโยงตลาด และความต้องการของผู้บริโภค การขยายพันธมิตร เพิ่มคู่ค้าทางธุรกิจเพื่อการ ตลาดที่เติบโตอย่างยั่งยืนและสมดุล กระบวนการการเชื่อมโยงการตลาดระหว่าง ผู้ประกอบการทั้งไทย และต่างชาติ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเพิ่มศักยภาพหลาย ด้าน เช่น การพัฒนาบุคลากร การพัฒนาศักยภาพการผลิตในภาคอุตสาหกรรม การส่งเสริมความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยี และการต่อยอดนวัตกรรม อุตสาหกรรม ให้ตรงกับความต้องการของตลาดภายใน และภายนอกประเทศ ตลอดจนสร้างความแปลกใหม่เพื่อน�ำตลาด การเปลีย่ นแปลงครัง้ ประวัตศิ าสตร์ จะพลิกโฉมหน้าการผลิตได้อย่างไร พบกุญแจดอกส�ำคัญสู่กลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่ภูมิภาคอาเซียน และ แนวทางการเชื่อมโยงผู้ประกอบการไทยและญี่ปุ่น โดย ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในเรื่อง “การพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษด้วย มาตรการส่งเสริมอุตสาหกรรมและความร่วมมือ ไทย - ญี่ปุ่น” พร้อมรับฟังกลเม็ด เคล็ด (ไม่) ลับ ของประเทศญี่ปุ่น ที่พัฒนาประเทศ ด้วยการใช้นวัตกรรมจนประสบความส�ำเร็จจากวิทยากรชาวญีป่ นุ่ Dr. Masayuki Kondo ในเรื่อง “ยุทธศาสตร์ (ด้าน) นวัตกรรมของประเทศญี่ปุ่นและนวัตกรรม ของบริษัทญี่ปุ่นในไทย” และร่วมเปิดมุมมองการค้า การลงทุนของญี่ปุ่นสู่ไทย โอกาส และ ศักยภาพของไทย กับ Mr. Masayasu HOSUMI, President of JETRO Bangkok and Chief Representative for ASEAN กับ “ความร่วมมือของญี่ปุ่นเพื่อความ ยั่งยืนทางอุตสาหกรรมและการลงทุนในไทย”

JAPANESE INNOVATION FOR THE DEVELOPMENT OF THE THAI ECONOMY Thai industry needs to improve its efficiency and competitiveness, create satisfaction for customers, access the up-to-date information in timely manner, form alliance and business partners, as well as finding new opportunities to match with both domestic and international demands by applying new innovations and technologies to create new products and become leaders in their respective fields. Find the answers in transforming your production and how Thai economy needs to be prepared with the approach of AEC, meets Dr. Suvit Maesincee, the Deputy Ministry of Commerce who will share the “The Special Economic Development Plan-Industrial Promotion Strategy and Thai -Japan Collaboration” Also listen to Dr. Masayuki Kondo who will speak on “Japan’s Innovation Strategy and Innovation of Japanese Companies in Thailand”; how Japan is successful in developing itself by applying innovations. Furthermore, Mr. Masayasu Hosumi, President of JETRO Bangkok and Chief Representative for ASEAN will present “Japan Cooperation for Industrial and Investment Sustainability in Thailand” which will highlight the potential of Japanese investment areas and trade enhancements with Thailand.


ศูนยรวม

การออกแบบผลิตสื่อ สรางสรรคครบวงจร

MMP โครงการผลิตส�อและมัลติมีเดีย

SERVICE *สิ่งพิมพ รับออกแบบและผลิต Company Profile, Newsletter, Catalogue, Brochure, Pocket Book, Annual Report, etc. *มัลติมีเดีย รับออกแบบและผลิต e-Catalogue, e-Newsletter, e-Company Profile, Company Presentation, etc. *Seminar & Event รับจัดงานสัมมนากลุมใหญและยอย ดวยทีมงานมืออาชีพ *รองรับ 3 ภาษา ไทย อังกฤษ ญี่ปุน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

โทรศัพท 0-2258-0320-5

ตอ 1730 (คุณียากร) ตอ 1750 (คุณบุษบา) โครงการผลิตสื่อและมัลติมีเดีย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.