The Power Logistics Jan 2013

Page 1



Logistics Today Global Logistics

6 8

Out & About Energy Logistics

10 22

Bus. Focus

26

Power Inland

28

CSR

30

Special Report

32

Logistics Trade

38

Auto Insight

40

Go Green

42

า เ ม ขยายธุรกิจเชิงรุกพร้อมโตในตางแดน เ ลิมศักดิ์ กาญจนวรินทร์ เน้น สร้าง น และ โตพร้อมกับอง ์กร

ทางรอดผู้ประกอบการไทย ภายใต้วิกฤติพลังงาน r twor s รับขนสงโต เปดสำานักงานแหงแรกในไทย เดินรถโดยสารไทย-กัมพูชา เสริมการ ้า-กระตุ้นทองเที่ยวรับ พีทีที แทง ์ หัวใจนักอนุรักษ์ กับรางวัล - w r บพ. เดินหน้ารับ ติกปกขนสงทางอากาศ

วิชั่น ศรีรัตน์ รัษฐปานะ 8 ยุทธศาสตร์สูประตูการ ้า วอลโว บุกโลจิสติกส์รับ ลุยตลาดเ รื่องยนต์ r n n str อุตสาหกรรมไทยเปนมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Contents

11 Cover Story

Guru Idea

19

นวัตกรรมการตลาด พลาสติกชีวภาพชนิดสลายตัวได้ รศ.ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม

การเปิดเสรีภาคโลจิสติกส์ จุดอ่อนของการเข้าสู่ AEC ของไทย ดร.ธนิต โสรัตน์

34 CEO Talk

36

24

กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้โลจิสติกส์ กับการท่องเที่ยวบนเกาะสีชัง รศ.ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์

The Power LOGISTICS

3


Editor's

Talk

ั ล ม น Ê Ê ¤‹ ¤Ø ÙŒÍ‹Ò ¾º¡Ñº ฉบับเปิดศักรำชใหม่ ซึ่งเป็นปีใหม่ที่ไม่หมูส�ำหรับเศรษฐกิจไทย นอกเหนือจำกค่ำแรงขึ้น 00 บำททัว่ ประเทศ ซึง่ มีผลกระทบโดยตรงต่อผูป้ ระกอบกำร E โดยตรงแล้ว เงินบำทแข็งค่ำก็ยังเป็นอีกปจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบ ฉะนั้นฝ่ำยก�ำกับนโยบำยคงต้องแอคทีฟให้มำกกว่ำนี้ มำที่ธุรกิจโลจิสติกส์กันบ้ำง ซึ่งเป็น 1 ใน 10 ธุรกิจที่ไปรุ่ง (ผล จำกกำรส�ำรวจจำกหลำยส�ำนัก) โดยเฉพำะกำรเปิดเออีซี ถือว่ำเป็น โอกำสส�ำหรับธุรกิจโลจิสติกส์เช่นกัน C ฉบับนี้ มี ตัวอย่ำงของบริษทั ผูใ้ ห้บริกำรโลจิสติกส์ครบวงจร ทีพ่ ร้อมโตในตลำด เออีซี และพร้อมที่จะท้ำทำยต่อกำรแข่งขัน ด้วยควำมเหนือชั้นหลำย รูปแบบ ติดตำมอ่ำนจำกบทสัมภำษณ์ CEO หนุ่มไฟแรงของ C ต้นทุนพลังงำนด้ำนขนส่ง ถือว่ำเป็นรำยจ่ำยโดยตรงที่ประหยัด ยำกที่สุด แต่ภำยใต้วิกฤติพลังงำน กำรหำทำงออกร่วมกันเพื่อผล ประโยชน์ของผู้ประกอบกำร และผลประโยชน์โดยรวมของประเด็น เป็นเรื่องที่ถูกขับคลื่อนขณะนี้ ผู้ประกอบกำรทั้งหลำยจะใช้วิธีกำร ไหน ติดตำมได้จำก E ค่ะ ส�ำหรับเศรษฐกิจไทย แม้ว่ำจะไม่เติบโตอย่ำงหวือหวำ แต่ก็ยัง เป็นแม่เหล็กดึงนักลงทุนต่ำงชำติเข้ำมำได้ เพือ่ รองรับกำรเติบโตด้ำน กำรขนส่งที่ก�ำลังมีอัตรำสูงขึ้นในอนำคต ยักษ์ใหญ่ขนส่งของโลก E เปิดส�ำนักงำนแห่งแรกในไทย ระดับยักษ์ใหญ่เข้ำมำเปิด บริกำรถึงหน้ำบ้ำนแบบกำรันตีได้ว่ำต้องมีสินค้ำอย่ำงแน่นอน ส่วนคอลัมน์อื่นก็ยังมีเนื้อหำสำระที่เป็นประโยชน์และน่ำติดตำม เช่นเดิมค่ะ

¾Ñ¹·Ô¾Ò ¨ØÅྪÃ

บรรณาธิการบริหาร

4

The Power LOGISTICS

ประจำเดือนมกราคม 2556

ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย บรรณาธิการอำานวยการ บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ ฝ่ายภาพ ศิลปกรรม พิสูจน์อักษร ฝ่ายโฆษณา/การตลาด ประสานงาน สมาชิกสัมพันธ์ การเงิน แยกสีและพิมพ์

: ปรัชญา นรมัตถ์ : ÊظÒÅÑ ÈÃÕàºÞ¨âªµÔ : ¾Ñ¹·Ô¾Ò ¨ØÅྪà : วรัญญู ยอดพรหม, ชัยวัฒน์ เกษสม, ชินพงศ์ เรืองบุญมา : สาธร ลีลาขจรจิต, สุวรรณ เมนะเนตร : สมเกียรติ ภูผาสิทธิ์, บังอร งามอารมณ์, ณัฐพงษ์ เกษเบ็ญฤทธิกุล : ทิวาพร พันธวงศ์ : ไมตรี ตั้งเมืองทอง : จุรีพร พวงพยอม : ดวงใจ สุริยะเดช : เกสรา โตวิเวก : บริษัท ส.พิจิตรการพิมพ์ จำากัด โทร. 0-2587-7374 www.spprint.co.th

µÔ´µ‹Í¡Í§ºÃóҸԡÒùԵÂÊÒà The POWER LOGISTICS 1/3 ¶¹¹à·Í´´íÒÃÔ á¢Ç§ºÒ§«×èÍ à¢µºÒ§«×èÍ ¡ÃØ§à·¾Ï 10800 โทรศัพท์ 0-2556-1624-8 โทรสาร 0-2556-1629 E-mail : thepowerlogistics@yahoo.com www.transportnews.co.th


า เส ิ รั มน ร ่วยว่าการกระทรว มนา ม

พิพิธภัณฑหุนขี้ผึ้งไทยจัดงาน “วันเดกสร้างสรร อาเ ยนสด ส

ะกรรมการ ดั นิ โดย ดร นิ กร ไกรลา ศิลปน ่ า ิ ประธานกรรมการ อาจารยอั รา มบร ศิลป ทร ุ วุ ดิ านดน ร ละนา ศิลป กรรมการ อาจารย น วรร รุจิ ักดิ อ�านวยการวิทยาลัยนา ศิลป กรรมการ อาจารย ุรั วด ศรด อ�านวยการ าบัน ั นาการ บั รอ เ ล ไทย ากล กรรมการ ประธานกรรมการ ดั นิ รอบรอ นะเลิศ ละ อาจารยไ รย บุ ประธานกรรมการ ัด ิน รอบ ัดเลอก

ประเสริ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ให้เกียรติเป็นประธาน เปดงาน “วันเด็กสร้างสรรค์ อาเซียนสดใส ” เพือ่ เปดโลกทรรศน์และส่งเสริมให้เด็กไทยเตรียมตัว เข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยมี สุธี รีเบ จโชติ ประธานกรรมการพิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย และ คณะ ให้การต้อนรับและน�าชมหุ่นขี้ผึ้งไ เบอร์กลาสแห่งแรกของประเทศไทย ที่จัดแสดงผลงาน ประติมากรรม ีมือศิลปนไทย เช่น รูปหุ่นชุดพระอริยสง ์, รูปหุ่นชุดบุคคลส�าคัญทั้งของไทยและ ต่างประเทศ และชุดอื่น ๆ ที่ดูราวกับมีชีวิตอย่างน่าอัศจรรย์ พร้อมทั้งได้เข้าชมกิจกรรมภายในงาน เพือ่ เป็นก�าลังใจให้กบั เด็กๆ นับหมืน่ คน ทีเ่ ข้าร่วมงาน ซึง่ มีทงั้ นิทรรศการวิชาการ, เกม และกิจกรรม มากมายที่ให้เด็กได้แสดงความสามารถอย่างสร้างสรรค์ ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน ทัง้ ภาครัฐและเอกชนทีเ่ ห็นความส�าคัญของเด็ก อาทิ อ�าเภอนครชัยศรี, ธนาคารออมสิน, การท่องเทีย่ ว แห่งประเทศไทย, สโมสรโรตารีนครชัยศรี, ห้างสรรพสินค้าเทสโก้ โลตัส ล ที่น�าอาหาร เครื่องดื่ม และขนมต่างๆ เช่น สแน็คแจ็ค, มาม่า, เอส โคล่า และอีกมากมาย มาแจกแก่เด็กๆ และกิจกรรม ส่งเสริมความสามารถของเด็กที่ส�าคัญ คือ การมอบทุนการศึกษาและโล่เกียรติยศ ในการประกวด น�าชม “มัคคุเทศก์นอ้ ยหุน่ ขีผ้ งึ้ ” และการประกวดร้องเพลงลูกทุง่ “วันเด็กเสียงใส ขวัญใจนครปฐม” ประจ�าปี 2556 ณ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย อ�าเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม [P]

The Power LOGISTICS

5


Logistics Today

เปด “Innovation Thailand”

รวม

ภูมิปญญาไทยเนนศักยภาพของอินเทอร์เน็ตก่อเกิดนวัตกรรมระดับโลก

ปจ มิ า ธนสันติ อธิบดีกรมทรัพย์สนิ ทางป า กระทรวงพา ชิ ย์ ประกาศ ความร่วมมือกับ Goo le ในการส่งเสริมตัวอย่างนวัตกรรมของคนไทยที่มีความ สร้างสรรค์ และตอกย�้าให้เห็นถึงปัจจัยส�าคัญที่มีส่วนช่วยในการขับเคลื่อนนวัตกรรม ของประเทศอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะสามารถเพิ่มศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจและ เตรียมความพร้อมให้กับประเทศไทยในการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AS AN conomic Community) พร้อมมอบรายงาน Innov tion il nd ทีช่ แี้ นะ ปัจจัยหลักในการขับเคลือ่ นนวัตกรรม และรางวัล Innov tion il nd Idol กับบุคคล ตัวอย่างทีใ่ ช้อนิ เทอร์เน็ตสร้างสรรค์นวัตกรรมเพือ่ ชุมชนและสังคม [P]

กสิกรไทยวางใจแซส

รับรางวัล

เยี่ยมชมท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน

ทวีศกั ดิ แสงทอง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แซส ซอ ท์แวร์ (ไทยแลนด์) จ�ากัด ร่วมแสดง ความยินดีกบั ดร.พิพฒ ั น์พงศ์ โปษยานนท์ รอง กรรมการผูจ้ ดั การ สายงานระบบ ธนาคารกสิกร ไทย ในโอกาสทีธ่ นาคารกสิกรไทยได้วางใจระบบ การตรวจสอบคุ ณ ภาพข้ อ มู ล และระบบการ รวบรวมข้อมูลจากแซสมาอย่างต่อเนือ่ ง

นิธิพัทธ์ ประวีณวงศ์วุฒิ ผจก.อาวุโส าย บริหารการตลาด บริษัท เอเซอร์ คอมพิวเตอร์ จ�ากัด เข้ารับรางวัล “ e ost ower ul r nd o il nd 2012” จาก ศ.นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี จุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในงาน ประกาศผลการส�ารวจ “สุดยอดแบรนด์ทรงพลัง แห่งประเทศไทย 2012”

คณะกรรมการผูบ้ ริหาร บริษทั ที ไอ พี เอส จ�ากัด ท่าเทียบเรือตูค้ อนเทนเนอร์ ท่าบี 4 ท่าเรือ แหลมฉบัง จ.ชลบุรี น�าโดย พลเอกส�าเภา ชูศรี ประธานและคณะกรรมการบริษทั เยีย่ มชมท่าเรือ พาณิชย์เชียงแสน จ.เชียงราย โดย วีระ จินนิกร ผู้จัดการท่าเรือเชียงแสนและเชียงของ ให้การ ต้อนรับ เมือ่ เร็วๆ นี้

6

The Power LOGISTICS


ดีเอชแอลกวาด 3 รางวัลเด่น

ในงาน “คอลล์เซ็นเตอร์ อวอร์ด 2012” ยูพีเอสระดมพลัง เอ็ ด มั น ด์ โล กรรมการผู ้ จั ด การ ยู พี เ อส ประเทศไทย น�าทีมพนักงานพร้อมครอบครัว จ�านวน 149 คน เข้าร่วมในกิจกรรม น สู ภาพ แวดล้อม และปลูกต้นโกงกาง ทีศ่ นู ย์อนุรกั ษ์ ปา ชายเลนคลองโคน อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม ใน โอกาส “เดือนอาสาสมัครสากล” หนึง่ ในกิจกรรม ทีส่ ะท้อนถึงความยึดมัน่ ในหลักการส่งเสริมชุมชน ทีย่ พู เี อสด�าเนินธุรกิจอยู่ ซึง่ จัดขึน้ ในเดือนตุลาคม ของทุกปี และจัดขึน้ ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 10

ดีเอชแอล เอ็กซ์เพรส คว้า 3 รางวัล ยอดเยี่ ย มจากการประกวดคอลล์ เซ็นเตอร์ อวอร์ด ประจ�าปี 2555 ซึง่ จัด โดยสมาคมนักการตลาดแบบตรงไทย ชนั ารัก ์ เพชร์รตั น์ กรรมการ ผู ้ จั ด การ ดี เ อชแอล เอก ์ เ พรส ประเท ไทยและภาคพืนอินโดจีน กล่าวถึงการทีด่ เี อชแอลได้รบั รางวัล C ll Center Aw rd ในครั้งนี้ว่า “การให้ บริการทีด่ เี ยีย่ ม รวดเร็ว มีเสถียรภาพ และการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ๆ ในทุกภาคส่วนของธุรกิจของบริษทั อย่าง ต่อเนือ่ ง เป็นหัวใจส�าคัญในการประกอบธุรกิจของดีเอชแอล การได้รบั รางวัลอันทรงเกียรติทงั้ 3 ประเภท ดังกล่าวในครัง้ นี้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ รางวัล “ est ver ll C ll Center” เป็นสิง่ ทีต่ อกย�า้ ถึงปณิธานของ ดีเอชแอลทีม่ งุ่ สร้างความเป็นผูน้ า� ทางด้านการให้บริการทีด่ เี ยีย่ มให้แก่ลกู ค้าอย่างต่อเนือ่ ง “รูส้ กึ ภาคภูมใิ จ เป็นอย่างยิง่ ทีม่ ที มี งานด้านบริการลูกค้าทีเ่ ปียมคุณภาพ ซึง่ ทีมงานทุกคนมีความรักในงานทีท่ า� และมีความ เชือ่ มัน่ ว่า “เราท�าได้” ส่งผลให้พนักงานของดีเอชแอลสามารถให้บริการแก่ลกู ค้าได้อย่างดีเยีย่ ม พนักงาน ดีเอชแอล ให้บริการด้วยความอบอุ่นและรอยยิ้มในทุกจุดให้บริการ และสานต่อสัมพันธภาพอัน เหนียวแน่นระหว่างบริษทั และลูกค้าให้มคี วามแข็งแกร่ง และมีคณ ุ ภาพเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง” [P]

ร่วมบริจาคปฏิทินเก่าเพื่อคนตาบอด บริษทั มิตซุย สุมโิ ตโม อินชัวรันซ์ จ�ากัด สาขา ประเทศไทย ได้นา� ปฏิทนิ ตัง้ โตะเก่า ไปบริจาคให้ แก่มลู นิธชิ ว่ ยคนตาบอดแห่งประเทศไทย เพือ่ ใช้ ประโยชน์ในกิจกรรมของโรงเรียน โดยได้รบั เกียรติ จาก ทิพยวรรณ บุรรี ตั น์ ผูอ้ า� นวยการส�านักบริหาร มู ล นิ ธิ เป็ น ผู ้ รั บ มอบ โครงการนี้ เ ป็ น หนึ่ ง ใน กิจกรรมช่วยเหลือสังคมประจ�าปีทเี่ พือ่ นพนักงาน ชาวมิตซุย ร่วมกันมอบสิง่ ดีๆ ให้กบั ผูพ้ กิ ารทาง สายตา

สนับสนุนโครงการสมุดกรีนเวย์

เข้าอวยพรปีใหม่ผู้ว่าการ กนอ.

นันทกา ยุกตะนันทน์ ผอ.งานสือ่ สารองค์กร และกิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คม บมจ.ทางยกระดั บ ดอนเมือง รับมอบหนังสือและกระดาษทีไ่ ม่ใช้แล้ว จาก วสันต์ เทียนหอม ผู้ช่วยเลขาธิการอาวุโส กลต. เพือ่ ร่วมสนับสนุนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างรูค้ ณ ุ ค่า ในโครงการ “สมุดกรีนเวย์”

ประสบศิ ล ป โชติ ม งคล ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการ ผูจ้ ดั การ บมจ.เหมราชพัฒนาทีด่ นิ และศิญาภัสร์ จันทไชยโรจน์ ผอ. ายการตลาด และ ายลูกค้า สัมพันธ์โครงการทีพ่ กั อาศัย บริษทั เหมราช ได้เข้า มอบกระเช้าและค�าอวยพรปีใหม่แก่ ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิม่ ผูว้ า่ การ กนอ.

The Power LOGISTICS

7


Global Logistics

า เ ม

โดย : พน ิพา ุ เพชร

ยาย ุรกิ เ ิงรุก ร้อม ต นตางแดน

เ ลิม ักดิ กา

นวรินทร

เน้น “สร้าง น” แล “ ต ร้อมกับอง กร” “ าซเคม โลจิสติกส์” ผู้ให้บริการด้านโลจิส ติกส์ส�าหรับเคมีภัณฑ์และสินค้าอันตรายครบ วงจร เป็นบริษัทภายใต้กลุ่มทริพเพิล ไอ โลจิส ติกส์ กรุป ซึ่งมีประสบการณ์ในธุรกิจโลจิสติกส์ มากว่ า 25 ปี จากความเชี่ ย วชาญและ ประสบการณ์ าซเคม โลจิสติกส์ ในวันนี้ ไม่ได้

8

The Power LOGISTICS

ด�าเนินธุรกิจอยู่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่ได้ ขยายการลงทุนรับเออีซี ด้วยการจัดตัง้ บริษทั ลูก ทีส่ งิ คโปร์ และมีแผนทีจ่ ะเปดบริษทั ลูกทีป่ ระเทศ อินโดนีเซีย ในเร็ววันนี้ การปักหมุดลงทุนต่างประเทศ ย่อมมองเห็น โอกาสที่จะเติบโต โดยเฉพาะในประเทศที่เต็ม

ไปด้วยคู่แข่ง อะไรคือความกล้าในการตัดสินใจ จุดคุม้ ทุนในการท�าธุรกิจ และความเสีย่ ง อยูต่ รง ไหน e ower GIS ICS ฉบับนี้ไขกุญแจ แห่งความส�าเร็จของผูบ้ ริหารมือหนึง่ เ ลิม กั ดิ กา จนวรินทร์ กรรมการผู้จัดการ บริ ัท า เคม โลจิสติกส์ แมเนจเมนท์ จ�ากัด ใน


ในปีทผี่ า่ นมานีถ้ อื ได้วา่ เป็นปีทองของบริษทั โดยการพัฒนาธุรกิจใหม่ๆ เกิดขึน้ อย่างมากมาย บริษัท าซเคม โลจิสติกส์ เอง สามารถโตได้ ตามเป้ า ที่ 20.75 ในขณะที่ บ ริ ษั ท ลู ก ดี จี แพคเกจจิ้ง (ประเทศไทย) โตแบบก้าวกระโดด กว่า 136 บริษทั มีการจัดตัง้ บริษทั ลูกทีป่ ระเทศ

สิงคโปร์ และเรายังขยายธุรกิจผ่านการจับมือกับ บริษัทโลจิสติกส์ยักษ์ใหญ่ของสิงคโปร์ จัดตั้ง บริษัท ซีดับบลิวที เคมิคอล โลจิสติกส์ ขึ้นใน ประเทศไทย เพื่อขยายฐานการให้บริการด้าน โลจิสติกส์ส�าหรับเคมีภัณฑ์และสินค้าอันตราย ให้กว้างยิง่ ขึน้ โดยจะเน้นกลุม่ ลูกค้าทีเ่ ป็นบริษทั ข้ามชาติในระดับภูมิภาคเป็นหลัก การรุ ก เปดบริ ษั ท ใหม่ ใ นสายงานที่ ถ นั ด ไม่ได้หยุดอยู่แค่นี้ โดยเฉพาะในต่างประเทศ คุ ณ เฉลิ ม ศั ก ดิ กล่ า วอี ก ว่ า หลั ง จากที่ เ ปดที่ สิ ง คโปร์ แ ล้ ว ประเทศเป้ า หมายต่ อ ไป คื อ อินโดนีเซีย ซึง่ เป็นประเทศขนาดใหญ่ มีประชากร จ�านวนมาก และตลาดเคมีเป็นตลาดที่มีขนาด ใหญ่เช่นกัน ขณะนี้อยู่ระหว่างการเจรจากับ พันธมิตรทีจ่ ะร่วมทุน คาดว่าจะได้ขอ้ สรุปเร็วๆ นี้ “การลงทุนในประเทศอินโดนีเซีย ไม่ใช่เรือ่ ง ง่าย ต้องมีการศึกษากฎระเบียบให้รอบคอบ ซึ่ง ขณะนี้ยังมีกฎหมายบางเรื่องที่ยังเป็นอุปสรรค ในการลงทุ น ท� า ให้ เ ราต้ อ งวางแผนธุ ร กิ จ ให้ชัดเจนและลงลึกในรายละเอียดให้มากที่สุด โดยคาดว่ า จะมี ค วามชั ด เจนในต้ น ปี ห น้ า ” คุณเฉลิมศักดิ กล่าวและว่า ตลาดในกลุ่มเออีซี มีหลายประเทศที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นประเทศ มาเลเซีย หรือเวียดนาม ซึ่ง 2 ประเทศนี้ ก็อยู่ใน แผนที่จะศึกษาเช่นกัน การขยายกิจการได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ ต้อง ยอมรับว่า “บุคลากร หรือคนในองค์กร” เป็น กลไกที่ส�าคัญต่อการขับเคลื่อนองค์กรให้เดิน หน้าไปได้ด้วยความส�าเร็จ ซึ่ง คุณเฉลิมศักดิ ได้ ให้ความส�าคัญเกี่ยวกับคนไม่แพ้ประเด็นอื่น แต่ ค วามแตกต่ า งอยู ่ ที่ ก าร “สร้ า งคน” และ “โตพร้อมกับองค์กร” “ผมให้ความส�าคัญเกี่ยวกับการสร้างคน มาก ส่วนมากพนักงานที่นี่จะเน้นคนที่เรียนจบ ใหม่ เราสามารถสอนในสิง่ ทีเ่ ราต้องการเติมเต็ม ได้ เพราะเรารู ้ ว ่ า ความต้ อ งการของบริ ษั ท คื อ อะไร และเราต้ อ งการคนแบบไหน การ สร้างคน ถือว่าเป็นเรือ่ งส�าคัญ เราสร้างคนให้โต เมื่อเขาโตก็จะเต็มที่กับเรา ถ้าคนมีศักยภาพ การท� า งานย่ อ มมี คุ ณ ภาพอย่ า งแน่ น อน” คุณเฉลิมศักดิ กล่าวทิ้งท้าย

ผมเห็นวาการเปดบริ ทั ลูกทีน่ ี่ ถือวาเปนเรือ่ งทีท่ า ทายมาก หากทา รกิจสาเร็จ สามารถ การันตีไดวา การตัดสินใจไปลงทน ทีป่ ระเทศอืน่ ไมใชเรือ่ งลาบากอยาง แนนอน กอนตัดสินใจเปดบริ ทั ลูก เราไดมกี ารศึก าก ระเบียบ ในเรือ่ งของการลงทน นั มิตร และลูกคา เปนระยะเวลานาน อสมควร มีการเจาะตลาดเชิงลึกเปนอยางดี

การน�าพา าซเคม โลจิสติกส์ สู่ต่างแดน “เมื่อเดือนกรกฎาคม ที่ผ่านมา าซเคม ได้จัดตั้งบริษัท าซเคม โลจิสติกส์ แมเนจเมนท์ (สิงคโปร์) ให้บริการโลจิสติกส์ครบวงจรส�าหรับ สินค้าเคมี และสินค้าอันตรายแก่บริษทั ข้ามชาติ โดยร่วมกับพันธมิตรที่สิงคโปร์ ถือว่าเป็นการ เริม่ ต้นทีด่ สี า� หรับการขยายธุรกิจในต่างประเทศ เนื่องจากเราได้พันธมิตรที่แข็งแกร่ง” คุณเฉลิม ศักดิ กล่าวถึงจุดเริ่มต้น การเปดบริษทั ลูกทีส่ งิ คโปร์ เนือ่ งจากมองเห็น ศักยภาพการเติบโตของธุรกิจนี้เป็นอย่างดี และ ตลาดสิงคโปร์คอ่ นข้างใหญ่ เมือ่ เปรียบเทียบกับ กลุ่มประเทศในอาเซียน ท�าให้เห็นช่องทางใน การขยายโอกาสได้มากขึน้ นอกจากนี้ าซเคม ยังมีฐานธุรกิจและลูกค้าเดิมที่มีความเชื่อมโยง กั บ สิ ง คโปร์ โ ดยตรง และบริ ษั ท ลู ก ของเรา สามารถให้บริการรองรับงานและต่อยอดธุรกิจ จากลูกค้ากลุ่มนี้ได้ “ผมเห็นว่าการเปดบริษัทลูกที่นี่ถือว่าเป็น เรื่องที่ท้าทายมาก หากท�าธุรกิจส�าเร็จ สามารถ การันตีได้วา่ การตัดสินใจไปลงทุนทีป่ ระเทศอืน่ ไม่ใช่เรื่องล�าบากอย่างแน่นอน ก่อนตัดสินใจ เปดบริษัทลูกเราได้มีการศึกษากฎระเบียบใน เรื่องของการลงทุน พันธมิตร และลูกค้า เป็น ระยะเวลานานพอสมควร มี ก ารเจาะตลาด เชิงลึกเป็นอย่างดี” าซเคม โลจิสติกส์ แมเนจเมนท์ (สิงคโปร์) ถือว่าเป็นบริษัทลูกบริษัทแรก ของ าซเคม ที่ แจ้งเกิดต่างแดนอย่างเป็นทางการ จากเป้าธุรกิจ ที่เราตั้งไว้ว่าอยากให้บริษัทโตแบบก้าวกระโดด ถึง 2 เท่า ภายใน 3 4 ปี การเติบโตของธุรกิจตาม ทิศทางของอุตสาหกรรมอาจจะยังไม่เพียงพอ ดังนั้น บริษัทจึงมุ่งเน้นไปยังตลาดต่างประเทศ และการขยายฐานของธุรกิจให้กว้างขึ้น

[P]

The Power LOGISTICS

9


Out & About

à¨ÃÔÞ ÊÔÃÔÇѲ¹ÀÑ¡´Õ

ÅÂ Ã Í‹Í ÈÔÃ

¡ÔµµÔ ¾ÑǶÒÇÃÊ¡ØÅ

10

The Power LOGISTICS

Ê

Ê ¤‹ º¡º A à ¨Ò µÔ ÂÊÒà ✠✠ ...ส�ำหรับคน กทม. ช่วงนี้คงไม่มีประเด็นอะไร น่ำสนใจเท่ำกับข่ำวผู้สมัครผู้ว่ำฯ กทม. ที่ประชัน นโยบำยกันสุดฤทธิ์ โดยเฉพำะนโยบำยประชำนิยม ลด แลก แจก แถม ซึ่งระบบขนส่งมวลชน เป็น อีกเรือ่ งหนึง่ ทีไ่ ด้หยิบเรือ่ งรำคำมำประชันกัน เรียก ว่ำ เอำถูกที่สุดในเรื่องของค่ำโดยสำร แต่ไม่รู้ว่ำ เกินอ�ำนำจ กทม. หรือไม่ ก็คงต้องจับตำดูกนั ต่อไป ✠✠ ...เริ่มที่ยุทธศำสตร์ของประเทศปี 2557 โดย Âԧš Ô µÃ นำยกรัฐมนตรี กล่ำวผ่ำนรำยกำร à º Ò Å ÂÔ § Å ¡ º Ã Ò ถึงกำรก�ำหนด ยุทธศำสตร์ประเทศปี 2557 ว่ ำ เพื่ อ ให้ ทุ ก หน่ ว ยงำน ทุกกระทรวงมีเป้ำหมำยในกำร พั ฒ นำ รวมถึ ง กำรจั ด ท� ำ งบประมำณให้มีประสิทธิภำพ สอดคล้องกับแนวทำงพัฒนำ ประเทศ โดยมี 4 ยุทธศำสตร์ใหญ่ ที่ส�ำคัญคือ กำรปรับ ขีดควำมสำมำรถกำรแข่งขัน Âԧš Ô ให้ไทยมีจุดเด่นในกำรลงทุน มำกขึ้น โดยเริ่มจำกกำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ ที่จะช่วยลดต้นทุนกำรขนส่ง กระจำยควำมเจริญ ไปสู่พื้นที่รอบนอก ยืนยันว่ำกำรออก พ.ร.บ. กู้เงิน เพื่อลงทุนระบบโครงสร้ำงพื้นฐำนวงเงิน 2.2 ล้ำน ล้ำนบำท จะไม่กอ่ ให้เกิดหนีส้ ำธำรณะอย่ำงทีห่ ลำย ฝ่ำยกังวล สถำนะเงินคงคลังของประเทศอยู่ใน ภำวะที่ ดี จะควบคุ ม ไม่ ใ ห้ ห นี้ ส ำธำรณะสู ง เกิ น ร้อยละ 50 โดยก�ำชับให้กระทรวงกำรคลังรักษำ วินัยทำงกำรคลังเคร่งครัด เชื่อว่ำจะไม่ก่อให้เกิด วิกฤติทำงกำรเงินในประเทศแน่นอน ✠✠ ...ขณะที่ ÒµÔ ÊÔ · ¸Ô ¸Ø รมว.คมนำคม แจงว่ ำ โครงสร้ำงพื้นฐำนประเทศไทยเทียบโลก เรำยังอยู่ ในอันดับต�่ำ อันดับที่ 49 แต่ก็เป็นโอกำสถ้ำมีกำร ลงทุนที่เหมำะสม กำรปรับก็เพื่อลดต้นทุนด้ ำน ต่ำงๆ เช่น ต้นทุนด้ำนโลจิสติกส์ มีต้นทุน 15.2%

ของจีดีพี ถ้ำลดได้เป็นสิ่งที่ส�ำคัญ ✠✠ ...กำรลงทุน ในระบบโครงสร้ำงพื้นฐำนและระบบรำงนั้น ในส่วน ของรถไฟควำมเร็วสูง จะช่วยให้เกิดกำรจ้ำงงำน ที่เพิ่มขึ้นกว่ำ 5 แสนคน และยังเป็นกำรรองรับ ในกำรเปิดรับกำรเป็นประชำคมเศรษฐกิจอำเซียน หรือ เออีซี ด้วย ✠✠ ..ทิ้งท้ำยที่ยุทธศำสตร์บุก ธุรกิจใหม่รับตลำด AEC ของเสี่ยน�้ำเมำ “à¨ÃÔÞ ÊÔÃÔ À¡ ทีป่ ระกำศรุกรับเหมำ-โลจิสติกส์ หมัด เด็ดคือ ดึงอดีตปลัด-อธิบดี ¤ Ò¤ Ò Ô Â นั่ ง กุ น ซื อ วำงระบบ ÃÒ§ Ò ÍÒ¡ÒÈ โดย  ÈÒ÷ÙÅ·µ อดีตอธิบดี กรมเจ้ำท่ำและปลัดกระทรวง คมนำคม มำนั่งเป็นประธำน กรรมกำร ºÃÔ · ·Âຠà Íàè âŨÔʵԡ ¨Ò¡ ช่วย วำงยุ ท ธศำสตร์ ด ้ ำ นระบบ โลจิสติกส์ เพื่อลดต้นทุนด้ำน กำรขนส่งสินค้ำและกระจำย สิ น ค้ ำ ทั้ งในประเทศและส่ ง ออกในแถบอำเซี ย น ✠✠ ...ส่ ว น ÈÔ ÃÔ Å ÂÍ à ͧ à¨ÃÔ Þ อดี ต ปลั ด กระทรวง พำณิ ช ย์ มำช่ ว ยดู ทิ ศ ทำง µÃ สิ น ค้ ำ ต่ ำ งๆ ที่ บ ริ ษั ท ผลิ ต , ÊØà  ¸ÒÃÊÔ·¸Ô § อดีตอธิบดีกรมทำงหลวงชนบท (ทช.) และปลัดกระทรวงคมนำคม นั่งเป็นที่ปรึกษำ ใน ºÃÔ · · àÍ ¨Ôà ÂÃÔ§ à Íà ÔÊ ¨Ò¡ ซึ่ง เป็นบริษัทใหม่ดำ� เนินธุรกิจด้ำนวิศวกรรม ออกแบบ และก่อสร้ำง และ ÅÂ Ã Í‹Í ÈÔà อดีตอธิบดี กรมเจ้ำท่ำ มำนัง่ ทีป่ รึกษำ บริษทั ทีซซี ี แลนด์ จ�ำกัด ช่วยดูธรุ กิจอสังหำริมทรัพย์ในท�ำเลติดริมแม่นำ�้ ✠✠ ...เห็ น รำยชื่ อ แล้ ว ก็ รู ้ ว ่ ำ พร้ อ มสู ้ แ นวรบเออี ซี เพรำะขุนพลล้วนแต่ชำ� นำญศึกทัง้ นัน้ ✠✠ ...ทิง้ ท้ำย ที่ ¡ÔµµÔ ¾ÑǶÒÇÃÊ¡ØÅ ประธำนเจ้ำหน้ำที่บริหำร ºÃÔ · àÍ ÍÅ ÍÔ àµÍà à Å âŨÔÊµÔ¡Ê ¨Ò¡ พร้อมด้วยคณะกรรมกำรบริษัทฯ ให้กำร ต้อนรับ ¡Ã · Ã§Ê เนือ่ งในโอกำสเข้ำรับต�ำแหน่ง ประธำนกรรมกำรบริ ษั ท ฯ...พบกั นใหม่ ฉ บั บ หน้ ำ สวัสดีค่ะ [P]


Cover Story

โดย : พน ิพา ุ เพชร

AEC Approach & SET Funding Drive NCL

Unlimited Growth The Power LOGISTICS

11


NC ผู้ ห้บริกำรโลจิสติกส์ครบวงจร พร้อมสยำยปกบุกอำเซียน ชูจดุ แขงทัง้ ควำมพร้อม นองค์กรและพันธมิตรทีแ่ ขงแกร่งทัว่ โลก เลงปกหมุด สิงคโปร์ทไี่ ด้เปรียบเรือ่ งภำษี ขณะทีเ่ วียดนำม เป็นอีกหนึง่ ประเทศทีน่ ำ่ ลงทุน ส่วน นประเทศขยำยธุรกิจรถหัวลำกรับขนส่งสินค้ำโต ผูบ้ ริหำรลัน่ มี ตัวแปรส�ำคั ทีท่ ำ� ห้ NC โตเกินคำด คือกำรเปิดเออีซแี ละกำรเป็นบริษทั จ�ำกัดมหำชน NC Intern tion l o istics หรือ NC ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2537 โดยด�าเนินธุรกิจด้าน โลจิสติกส์ครบวงจร ปัจจุบันมีพนักงานทั้งสิ้น กว่า 130 คน และมีเครือข่ายครอบคลุมทั่วโลก โดยมีตัวแทนกว่า 150 ราย ที่ท่าเรือส�าคัญทั่ว โลก เน้นย�า้ การให้บริการทีด่ แี ละมีประสิทธิภาพ สม�่ า เสมอแก่ ลู ก ค้ า จากจุ ด แข็ ง ที่ มี ตั ว แทน จ� า นวนมากท� า ให้ บ ริ ษั ท สามารถต่ อ รองค่ า ce n rei t และ Air rei t ให้ต�่าลงและ เพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันมากขึ้น จากการด�าเนินธุรกิจมาเกือบ 20 ปี ท�าให้ มองเห็นโอกาสในธุรกิจมากขึน้ ประกอบกับการ เปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี ทีก่ า� ลัง จะมีขึ้นอย่างเต็มรูปแบบในปี 2558 NC จึงได้ ขยายธุรกิจให้ครอบคลุมมากขึ้น ด้วยการเป็น

12

The Power LOGISTICS

เจ้าของ ลีทรถหัวลากเพือ่ ให้บริการขนส่งสินค้า นอกจากนี้ NC ยังมีการให้บริการการขนส่ง ส�าหรับสินค้าเทกองสินค้า โครงการการจัดเก็บ รักษาสินค้าในโกดังตัวแทนการด�าเนินพิธีการ กรมศุลกากร oor to oor และการขนส่งใน ประเทศผูร้ บั ปลายทางเพือ่ เป็นโซลูชนั่ ด้านโลจิส ติกส์ที่ครบถ้วนให้แก่ลูกค้า ไม่เพียงแค่นี้ NC ยังมีนโยบายที่ชัดเจนใน การมอบซูโลชั่นด้านโลจิสติกส์ที่ดีที่สุด และ สมบูรณ์แบบทีส่ ดุ ด้วยระบบเครือข่ายครอบคลุม ทัว่ โลก ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัยซึง่ สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพในการแข่งขัน Cover Story ฉบับนี้ฉายภาพการด�าเนิน ธุรกิจของ NC รวมถึงการขยายงานในอนาคต

เพื่อรองรับเออีซี โดยสัมภาษณ์ คุ กิตติ พัว ถาวรสกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริ ัท เอน ีแอล อินเตอร์เนชั่นแนลโลจิสติกส์ จ�ากัด

ชูจุดแขงขนส่งสินค้าแบบ คุณกิตติ กล่าวว่า NC มีการให้บริการที่ หลากหลายโดยเติ บ โตมาจากธุ ร กิ จ เ รท อร์เวิร์ดเดอร์ ซึ่งเป็นธุรกิจเริ่มต้นในการให้ บริการจองสายเรือและสายการบินในการขนส่ง สินค้า และเป็นตัวแทนการด�าเนินพิธีการกรม ศุลกากร (Customs roker e) เนื่องจากมี ผู้เชี่ยวชาญประจ�าส�านักงาน 2 คน ซึ่งมีข้อได้ เปรียบบริษัทอื่น โดยบริษัทมีส�านักงานด�าเนิน การกรมศุ ล กากรที่ ท ่ า เรื อ กรุ ง เทพ และที่


หัตถกรรม เ อร์นิเจอร์ เซรามิก เสื้อผ้า สิ่งทอ เครื่องใช้ไ ้าในครัวเรือน เครื่องประดับ สินค้า จากประสบการณ์ในการท�างานกับสายเรือ ปโตรเคมี เป็นต้น มานาน ท�าให้บริการของ NC มีจุดแข็งในเรื่อง “เดิมที NC ได้ก่อตั้งมาเพื่อบริการในเรื่อง ของการให้ บ ริ ก าร การขนส่ ง แบบไม่ เ ต็ ม ตู ้ คอนเทนเนอร์ ( ess n Cont iner o d หรือ การจองสายเรือโดยตรง ซึ่งเรามีพันธมิตรที่เป็น C ) โดย NC มีการเปดตู้คอนเทนเนอร์เอง สายเรือต่างชาติหลายสาย หลังจากทีไ่ ด้ทา� ธุรกิจ เพื่ อ ที่ จะสามารถรวบรวมสิน ค้า จากผู้ส่ง ออก มาระยะหนึ่งก็มีการขยายกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง หลายๆ รายที่ต้องการจัดส่งไปยังสหรัฐ ยุโรป ออกไป เพื่อให้ธุรกิจครบวงจรมากยิ่งขึ้น การที่ ออสเตรเลีย ด้วยบริการและราคาที่ดีที่สุด โดย เราท�าธุรกิจนี้โดยไม่ได้เป็นเจ้าของเรือ ท�าให้มี สินค้าทัง้ หมดในตูค้ อนเทนเนอร์จะถูกดูแลอย่างดี ข้อดีคือ ท�าให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้น เป็นกลาง ด้วยทีมงานที่กรุงเทพ และตัวแทนที่ปลายทาง และสร้างทางเลือกให้ลูกค้า เพราะไม่ได้ผูกขาด โดยบริษัทจะเลือกใช้บริการกับสายเรือที่ดีและ แค่สายเรือใดสายเรือหนึ่ง” คุณกิตติ กล่าว ส�านักงานใหญ่

เมื่อถามถึงสถานการณ์ขนส่งทางเรือ คุณ น่ า เชื่ อ ถื อ เพื่ อ ที่ จ ะด� า เนิ น การส่ ง สิ น ค้ า จนถึ ง กิตติ เล่าว่าในแง่ของผูป้ ระกอบการสายเรือถือว่า ปลายทาง ไม่ค่อยดี เนื่องจากมีเรือสู่ท้องตลาดเป็นจ�านวน นอกจากนี้ ยังมีความเชี่ยวชาญการส่งแบบ มาก ค่ า ระวางทรุ ด เพราะเรื อ ล้ น ตลาด ซึ่ ง เต็มตู้คอนเทนเนอร์ ( ull Cont iner o d) ด้วย เป็นการขาดทุนสะสม เริ่มต้นตั้งแต่จากการต่อ ประสบการณ์ที่สั่งสมมาเป็นเวลานาน ท�าให้ทีม เรือ กว่าจะ นทุนต้องใช้เวลา ส�าหรับผู้ประกอบ งานของ NC มีความสัมพันธ์ที่ดีกับสายเรือ การขนส่งทางเรือถือว่าไม่ดี แต่ในแง่ของผู้ให้ สามารถท�าให้การบริการด้านการขนส่งสินค้า บริการอย่างเช่น NC กลับตรงกันข้าม เนือ่ งจาก เต็มตูไ้ ปทุกทีต่ ามทีผ่ นู้ า� เข้าหรือผูส้ ง่ ออกต้องการ การต่อรองราคามีความยืดหยุ่นมากขึ้น เพราะ อีกทั้งสามารถที่จะให้บริการส่งสินค้าออกทุก สายเรือต้องการสินค้า จึงเอื้อให้ผู้บริการโลจิส ประเภท เช่น สินค้าเคมี อาหารแช่แข็ง สินค้า ติกส์ท�าธุรกิจได้ง่ายขึ้น

ือ ลีทรถหัวลากรับเออี ี แม้ว่าการให้บริการด้านตัวแทนขนส่งทาง เรือจะเป็นจุดแข็งของ NC แต่เพื่อเป็นการสร้าง ทางเลื อ กให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ที่ ต ้ อ งการความสะดวก รวดเร็ว NC ได้ให้บริการเป็นตัวแทนการขนส่ง สินค้าทางอากาศ เพื่อเป็นบริการเสริม ซึ่งบริษัท ได้ เ ลื อ กสายการบิ น ที่ ดี ที่ สุ ด แก่ ลู ก ค้ า เพื่ อ เป็นการยืนยันว่าสินค้าของลูกค้าจะถูกส่งไปยัง จุดหมายภายในเวลาที่ก�าหนดอย่างปลอดภัย ที่ ส�าคัญกระบวนการทางเอกสารจะถูกด�าเนินการ โดยพนั ก งานที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละความ เชี่ยวชาญ เนื่องจากความถูกต้องของเอกสาร

เป็ น เรื่ อ งส� า คั ญ มาก หากมี ค วามผิ ด พลาด ทางเอกสารเล็กน้อยส่งผลต่อการด�าเนินการที่ ปลายทางมีความล่าช้า อย่างไรก็ตาม แม้ว่า NC จะเป็นบริษัทใน ประเทศ หรือ oc l Com ny คุณกิตติ เล่าว่า ตนได้สร้างความเป็นสากล ด้วยการมีเครือข่าย ทั่วโลก ท�าให้มีโอกาสท�างานกับต่างประเทศ ตั้งแต่เปดบริษัท โดยจะเน้นการน�าเข้า ส่งออก ระหว่ า งประเทศตั้ ง แต่ ต ้ น จะไม่ ใ ห้ บ ริ ก ารใน ประเทศ ซึ่งท�าให้เราเติบโตจากการเป็นอินเตอร์

The Power LOGISTICS

13


เนชั่นแนลโลจิสติกส์ ไม่ใช่โดแมสติกโลจิส ติกส์ ฉะนั้น เมื่อมีการเปดเออีซี เราแทบจะ ไม่ต้องเตรียมตัวมาก เนื่องจากมีเครือข่าย รองรับทัง้ ในอาเซียนและเกือบทัว่ โลก ซึง่ เรา มั่นใจว่าเมื่อเปดเออีซีท�าให้เรามีพันธมิตร อยู่แล้ว ในอนาคตเมื่อเออีซีเชื่อมต่อกับอียู เราก็สามารถด�าเนินกิจการได้ทันทีเช่นกัน “ในส่วนของบริษัทเองได้เตรียมความ พร้อมในการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน มาระยะหนึ่งแล้ว โดยเพิ่มเครือข่ายภายใน ประเทศให้เข้มแข็งมากขึน้ เพือ่ รองรับความ ต้องการในการขนส่งภายในประเทศ หรือ การน�าเข้าจากต่างประเทศ เนื่องจากเรามี ความเข้ ม แข็ ง ทางด้ า นเครื อ ข่ า ยต่ า ง ประเทศอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นในแถบยุโรป ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเอเชีย การ เสริ ม ความแข็ ง แกร่ ง ของเครื อ ข่ า ยใน ประเทศย่อมเป็นประโยชน์อย่างมากต่อ การสนั บ สนุ น ลู ก ค้ า ของเราทั้ ง ในแง่ ข อง การน�าเข้าจากต่างประเทศ และการส่งออก ไปยังต่างประเทศ”

การลงทุนรถหัวลาก ถือว่าเป็นการให้

14

The Power LOGISTICS

คุ ณ กิ ต ติ กล่ า วย�้ า ว่ า เพื่ อ เป็ น การ รองรับการขนส่งสินค้าที่เติบโตมากขึ้น รวม ทั้งตลาดเออีซี NC ได้ลงทุนธุรกิจรถหัว ลากเพื่ อ รองรั บ เออี ซี ซึ่ ง มาหนุ น เสริ ม กิ จ กรรมด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ข องบริ ษั ท ให้ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยได้ซื้อรถจ�านวน 41 คัน ภายในระยะเวลา 1 ปี โดยให้ บ ริ ก ารที่ ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือกรุงเทพ เชื่อมต่อ ไปที่ จ.สุราษฎร์ธานี และในอนาคตได้มอง ไปที่ภาคตะวันออกฉียงเหนือ ถือว่าเป็น บริการที่เกิดขึ้นใหม่ จากที่อดีตได้ใช้บริการ เอาต์ ซ อร์ ส ซึ่ ง การมี ร ถเป็ น ของตั ว เอง สามารถควบคุมได้ และมีผลก�าไรเพิ่มขึ้น ธุรกิจขนส่งรถบรรทุกถือว่าไปได้ดี เพราะว่า ดีมานด์มีมากกว่าซัพพลาย

เพื่อเป็นกำรรองรับกำรขนส่งสินค้ำที่เติบโตมำกขึ้น รวมทั้ง ตลำดเออีซี NC ได้ลงทุนธุรกิจรถหัวลำกเพื่อรองรับเออีซี ซึ่งมำหนุน เสริมกิจกรรมด้ำนโลจิสติกส์ของบริษัท ห้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น


พาบริษัทเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ แสดงให้เห็นว่า เชี่ยวชาญ รู้งาน และแก้ปัญหาได้ตรงจุด ท�าให้ เรามีความโปร่งใส พร้อมที่จะถูกตรวจสอบ เรา ลูกค้าเกิดความประทับใจ และมีผลต่อการใช้ มีธรรมาภิบาล และเมื่อเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ บริการในที่สุด ส�าเร็จ NC ถือว่าเป็นบริษทั โลจิสติกส์บริษทั แรก รองลงมาจากเรื่องบุคลากร คือ การพัฒนา คาดว่า 1 2 ปี สามารถเข้าตลาดได้อย่างแน่นอน ด้านเทคโนโลยี ซึ่งที่ผ่านมา บริษัทได้เขียนระบบ การที่องค์กรจะเติบโตได้อย่างยั่งยืน คุณ Intern l o er tion เมื่ อ 10 กว่ า ปี ที่ แ ล้ ว กิตติ ยังให้ความส�าคัญเกี่ยวกับบุคลากร โดย พนักงานสามารถท�างานที่บ้านได้ เนื่องจากเรา บอกว่าต้องดึงความทุ่มเทกับความใส่ใจจาก มีเซิร์ เวอร์เอง อยู่ที่ไหนก็สามารถท�างานได้ ซึ่ง บุคลากรให้องค์กร ถ้าเราท�าไม่ได้องค์กรก็โตยาก เมื่อเกิดวิก ติเศรษฐกิจ ปี 2540 ตนได้สั่งให้ ซึ่งเราเน้นการให้ความส�าคัญเกี่ยวกับบุคลากร พนักงานหยุดงานวันเสาร์ แต่ให้ท�างานที่บ้าน ตั้งแต่เริ่มต้น เนื่องจากเป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการ เพื่อลดค่าใช้จ่าย ถือว่าเป็นการปรับโครงสร้าง ให้บริการ การใส่ใจจึงเป็นเรื่องส�าคัญ ขณะนี้มี ในตัว พนักงานเกือบ 200 คน และเกินครึ่งที่อยู่เกิน 10 แต่งตัวเข้าตลาดหลักทรัพย์ ปี เรื่องนี้เป็นข้อบ่งชี้ว่าเราประสบความส�าเร็จใน ชีรั ต้องยกเครือ่ งโครงสร้างพืน าน ไอที นอกจากนี้ NC เตรียมตัวเป็นบริษทั มหาชน การบริหารบุคลากร จากการที่พนักงานท�างาน จ�ากัด เมื่อเร็วๆ นี้ มีกองทุนเข้ามาถือหุ้น การน�า ในเวลาที่ยาวนานกับบริษัทจะท�าให้เกิดความ เมื่อถามถึงจุดอ่อนของโลจิสติกส์ไทยที่ต้อง บริการในประเทศ แต่ NC ไม่ได้หยุดนิง่ เพียงแค่ นี้ และได้มีการวางแผนระยะสั้น ด้วยการขยาย การลงทุ น ในกลุ ่ ม ประเทศเออีซี โดยได้ม องที่ ประเทศเวียดนาม และสิงคโปร์ ซึ่งในสิงคโปร์ บริษัทสามารถเปดให้บริการได้ทันทีเนื่องจากมี พันธมิตรที่แข็งแกร่ง ทั้งนี้ การเปดที่สิงคโปร์จะมี ผลประโยชน์ทางด้านภาษี หลังจากเปดเออีซี สิงคโปร์จะเป็นศูนย์กลางทางการเงิน ถ้าไทยยัง มีฐานภาษีบคุ คล 20 จะท�าให้สงิ คโปร์โตขึน้ ถ้า ไม่ไปก็จะขาดโอกาสในการขยายธุรกิจ ส่วนใน เวียดนาม แม้อตั ราการเติบโตทางเศรษฐกิจไม่ได้ ดีตามคาด แต่ดีกว่าประเทศอื่นใกล้เคียง

The Power LOGISTICS

15


เปดแฟม CEO วั าว ล า า น า า า ธ น าาา ลา า ม าว าลั ั ัม ัญ ลั า า า ลว ม า า า วาม ม ม ละ ม าน า า ั า ละ า ลา า น ั น ละ า ะ น า า า าน นธ ว ั า า ั า า น ม น ว า าน น ั า น า ละ ล ญ า าม น า ละ ันมา น น า า ธ าน ล นวั าว น า า น น านว า า า ลา น ั ละ น นา น า า ธ ั น ม ม ั ั น ัน ลั า นัน น นา นธ ล ม ัว า า น น มา ั า ั นะ น ะ ั ั น ล น น ัน นล ล าั นม ลว ละ า าน น ั า ว ว าว น น า ล ว น ญั า า ญ ะ น นั ว า วา ลาน า ว น า า ละว ั ั น ัน วา ล น า น นว า ล ธ า า ธ ละ ม า น ะ วาม า ละ ั า ม ั า น นว า น ั า ั ล น นา มา ม ะ ว

ิ ิ า ส ล ประธานเจา นาทบริ าร บริษัท เอน อล อินเ อรเน ัน นลโลจิ ิก จ�ากัด

16

The Power LOGISTICS


ปรับปรุง คุณกิตติ กล่าวว่า โลจิสติกส์เป็นส่วน ส� า คั ญ ในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ และเพิ่ ม โอกาส ทางการแข่งขันให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะในช่วง เวลาที่ประเทศก�าลังก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน หรือ A C ที่เปดเสรีด้านการค้า ทั้งการค้าสินค้า และการค้าบริการ โดยประเทศไทยนั้น มีค วามได้เปรีย บทาง ภูมิศาสตร์ในการจะก้าวเป็นศูนย์กลาง หรือ ับ ทางด้านโลจิสติกส์ แต่สงิ่ ทีเ่ ราจ�าเป็นทีจ่ ะต้องเร่ง พัฒนามีอยูด่ ว้ ยกัน 2 ส่วน คือ ด้านโครงสร้างพืน้ ฐานหรือเครือข่ายในการขนส่ง และเทคโนโลยีที่ เหมาะสมที่จะช่วยให้เราแข่งขันกับคู่แข่งส�าคัญ อย่างมาเลเซีย และสิงคโปร์ได้ อย่างไรก็ตาม อนาคตโลจิสติกส์ไทยและ การพั ฒ นาศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น ในประชาคม อาเซียนนัน้ จะก้าวไปข้างหน้าได้กต็ อ่ เมือ่ ร่วมกัน พัฒนาไม่เน้นการแข่งขันกันเอง หรือการขยาย เข้าสู่บริการที่ตนไม่มีความถนัด เพราะจะกลาย เป็ น จุ ด อ่ อ นได้ แต่ เ น้ น ที่ ก ารรวมตั ว กั น หรื อ ร่วมมือกันเป็นเครือข่ายใหญ่ และพัฒนาเสริมจุด แข็งของตัวเองให้แข็งแกร่งขึ้น ซึง่ ทางบริษทั มัน่ ใจว่าการเปดเสรีทางการค้า ในครั้งนี้ จะเป็นโอกาสอันดีที่จะได้ก้าวต่อไปข้าง หน้า และขยายธุรกิจออกไปอีก โดยเฉพาะใน แถบอินโดจีน พร้อมกันนี้ บริษัทมีแผนการขยาย การลงทุนในส่วนอื่นๆ อีก และจะเข้าสู่ตลาด หลักทรัพย์ในระยะเวลาอันใกล้นี้ การเปดเออีซีและการเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ คือปัจจัยที่หนุนให้ NC โตเกินคาด ซึ่งคุณกิตติ ย�้ า ว่ า เมื่ อ เป ดเออี ซี ภาษี จ ะเป็ น 0 พิ ธี ก าร ศุลกากรจะง่ายขึ้น จะท�าให้ตลาดโต ซึ่งสินค้า ที่ไหลเข้าไหลออกจะเติบโต 100 ถือว่าเป็น โอกาสทางธุรกิจ โดยส่วนตัวมองว่าการแข่งขัน สูงเป็นเรือ่ งทีด่ ี เพราะเป็นโอกาสท�าให้เติบโต คน ท� า งานจะได้ คิ ด อะไรใหม่ ต ลอดเวลาเพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพให้ตัวเอง ขณะเดียวกัน การท�างาน เช้าชาม เย็นชาม ผลเสียจะตกกับส่วนร่วม ถึง เวลาแล้วที่ผู้ประกอบการไทยต้องปรับตัวเพื่อให้ ทันกับการแข่งขันในเวทีอาเซียนและเวทีโลก [P]

The Power LOGISTICS

17


»

สร้ำงควำมพร้อมผูป้ ระกอบกำร รับมือเปิดเสรี

ใกล้เข้ามาทุกขณะ ส�าหรับการก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AS AN co nomic Community A C) อย่างเต็มรูปแบบ ในปี 2558 ซึ่งท�าให้การค้า การลงทุน 10 ประเทศ กลายเป็นตลาดเดียว ถือว่าเป็นจุด เปลี่ยนส�าคัญส�าหรับผู้ประกอบการของไทย ส�าหรับธุรกิจโลจิสติกส์ เป็นอีกสาขาหนึ่ง ภาคบริการที่จะเปดเสรีในปี 2556 โดยจะเปด โอกาสให้นักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นใน ประเทศสมาชิกอาเซียนเพิม่ เป็น 70 ได้ หลัง จากที่ ไ ด้ ท� า ความตกลงเป ดเสรี ร ะหว่ า ง อาเซี ย น ไทย ญี่ ปุ น, อาเซี ย น จี น และ อาเซียน เกาหลีใต้ ไปแล้ว ซึง่ การเปดเสรีโลจิส ติกส์จะท�าให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึง ตลาดการให้บริการที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ทั้งใน อาเซียนและประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดน ติดกันอย่างจีน แต่การเปดเสรีจะส่งผลให้เกิด การแข่ ง ขั น มากขึ้ น จากผู ้ ป ระกอบการราย ใหญ่ในอาเซียน โดยเฉพาะสิงคโปร์ ขณะนี้ผู้ประกอบการโลจิสติกส์เริ่มตื่นตัว เพราะเป็นห่วงว่าธุรกิจไทยจะเสียเปรียบในแง่ ของการแข่งขัน เพราะทุกวันนี้ต้นทุนโลจิส ติกส์ของไทยค่อนข้างสูง เช่น ในปี 2554 ที่ ผ่านมา เราจะวางเป้าหมายในการลดต้นทุน โลจิสติกส์ให้เหลือ 16 ต่ออัตราการเติบโต ของเศรษฐกิจประเทศ (จีดีพี) แต่ปัจจุบันก็ยัง ไม่ประสบผลส�าเร็จ ต้นทุนโลจิสติกส์ของไทย ยังคงอยู่ที่ 18.6 นอกจากนี้ ผู้ประกอบการในธุรกิจโลจิส ติกส์ของไทยกว่า 70 เป็นผู้ประกอบการ ขนาดกลางและเล็ก หรือ S s เลยกลายเป็น เป้าใหญ่ที่หลาย ายมองว่าเป็นจุดอ่อน หาก

18

The Power LOGISTICS

โลจิสติกส์

เปดเสรี 100 ปล่อยให้ทนุ ต่างชาติเข้ามาลงทุน ในไทย ภายใต้กรอบเออีซีในปี 2558 S s ก็จะ อยู่ยาก แต่ถ้ามองอีกแง่มุมหนึ่งสิ่งเหล่านี้ก็ไม่ได้ น่ากังวลมมากนัก ถ้าผู้ประกอบการไทยมีความ พร้อม เพื่ อ เป็ น การติ ว เข้ ม ผู ้ ป ระกอบการ “กรม เจรจาการค้าระหว่างประเทศ” ซึ่งเป็นอีกหน่วย งานหนึ่งของกระทรวงพาณิชย์ ได้เตรียมพร้อม ตั้งมือรับในหลายเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นการจัดอบรม และสัมมนา การลงนามความร่วมมือกับหน่วย งานต่ า งๆ เพื่ อ ให้ ก ารเปดเสรี โ ลจิ ส ติ ก ส์ ใ น อาเซียน เป็นการสร้างโอกาสและความท้าทาย แก่ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ให้สามารถ เข้าไปสร้างเครือข่ายและขยายการให้บริการใน

ประเทศกลุ่มอาเซียนได้สะดวกยิ่งขึ้น อีกทั้ง การพัฒนาระบบโลจิสติกส์และกิจการต่อ เนื่ อ งในอาเซี ย นเป็ น เรื่ อ งส� า คั ญ ส� า หรั บ ประเทศไทย ผูป้ ระกอบการทีส่ นใจ สามารถสอบถาม ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ ศู น ย์ บ ริ ก ารข้ อ มู ล ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A C In orm tion Center) ชัน้ 3 กรมเจรจาการค้าระหว่าง ประเทศ กระทรวงพาณิชย์ C ll Center 0 2507 7555 หรือสามารถสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และ ความตกลงการค้าเสรีของไทยในเวทีต่างๆ ได้ที่ www.dtn. o.t , www.t il nd ec. com


GURU IDEA

นวัตกรรมการตลาด

ลาสติก ว า นิดสลายตัวได้ ความเป็นมาและความส�าคั ของ ป หา

นับวันองค์กรต่างๆ ต้องแข่งขันกันเพื่อแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคม เนื่องจากธุรกิจที่เป็น ผูน้ า� หรือก�าลังขยับขึน้ เป็นผูน้ า� ย่อมมีความพร้อม ในทุกด้านค่อนข้างสมบูรณ์ จึงจะอยู่ในต�าแหน่ง ดังกล่าวได้ ดังนั้น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันจึงต้องเพิ่มสิ่งที่พิเศษกว่ากิจกรรม ธรรมดาทั่ ว ไป จากการศึ ก ษาที่ มี ผ ลกระทบ โดยตรงต่อมนุษยชาติ ก็ไม่พ้นเรื่องการรักษา สิ่งแวดล้อมของโลกซึ่งถูกมนุษย์กระท�าจนเสีย ศูนย์ความสมดุลจากดัง้ เดิมไปมาก ในทีน่ จี้ ะเน้น เฉพาะเรื่องการลดภาวะโลกร้อนและการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ปัจจุบนั มีผลิตภัณฑ์จากนวัตกรรมล่าสุด คือ พลาสติกชีวภาพโดยเฉพาะชนิด “สลายตัวได้ทาง

ชีวภาพ (Com ost le)” ซึ่งจะเป็นค�าตอบได้ โดยท�าหน้าที่ตอบสนองได้ทั้งลดภาวะโลกร้อน และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างยั่งยืนคู่ ขนานพร้อมๆ กันไป ทั้งนี้ ยิ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้ มาจากพื ช ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น วั ส ดุ ท ดแทนพลาสติ ก ทั่วไปซึ่งเคยได้จากน�้ามันที่นับวันจะหมดไป จึง กล่าวได้ว่าพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพเป็น ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้จากแหล่งก�าเนิดทีย่ งั่ ยืนทีส่ ดุ โดย ไม่มีวันที่จะหมดไปตราบเท่าที่สามารถปลูกพืช นั้นๆ ที่เป็นวัตถุดิบได้อยู่ ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเรื่องที่ น่ า สนใจอย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะน� า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพมาใช้ในกิจกรรม แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม โดยศึกษาด้าน บรรจุภัณฑ์ในรูปแบบถุงที่ใช้ในห้างสรรพสินค้า ร้านค้า และห้างสะดวกซือ้ ทัง้ นี้ พบว่าปัจจุบนั ถุง พลาสติกแบบธรรมดาทั่วไป ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง

( is os le) ทีแ่ จกให้ รีจากแหล่งต่างๆ ข้างต้น ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ด้วยผู้คนมีการใช้มันแบบขาดวินัยในการจัดการ และแยกแยะอย่ า งเหมาะสมตามคุ ณ สมบั ติ เฉพาะของมัน ซึ่งพลาสติกทั่วไปนี้ที่ได้มาจาก ปโตรเลียมมีความคงทนไม่สามารถย่อยสลายได้ เลย จึงคงอยู่ตลอดในที่ที่มันถูกทิ้ง ยังผลให้เกิด ปัญหามลภาวะสิ่งแวดล้อมโดยตลอด ผลิตภัณฑ์พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ สามารถน�ามาประยุกต์กับงานดังกล่าว เพื่อแก้ ปั ญ หามลภาวะสิ่ ง แวดล้ อ มได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ กล่าวคือถุงพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพนี้ มีความเหมาะสมที่ใช้บรรจุอาหารซึ่งปนเปอนไข มัน หรือขยะอินทรีย์ โดยน�าถุงและสิ่งที่บรรจุ ทั้งหมดทิ้งเข้าโรงหมักขยะอินทรีย์ให้ย่อยสลาย ทางชีวภาพเป็นปุ ยหมักได้เป็นอย่างดี ทั้งๆ ที่

The Power LOGISTICS

19


ปัญหานีเ้ ป็นเรือ่ งใหญ่สา� หรับถุงพลาสติกธรรมดา ทั่วไป ซึ่งเมื่อเปรอะเปอนอาหาร หรือขยะอินทรีย์ ก็ไม่สามารถน�าไปรีไซเคิลตามปกติได้ เพราะถ้า น�าไปล้างท�าความสะอาดจะไม่คมุ้ ค่า จึงมักจะน�า ไปเผาท�าให้เกิดมลภาวะทางอากาศ โดยมีกาซ คาร์บอนไดออกไซด์ ที่เป็นตัวการก่อให้เกิดภาวะ โลกร้อน และกาซพิษอื่นๆ ซึ่งมีผลการเกิดโรคภัย ไข้เจ็บต่อสุขภาพ โดยจะพบเห็นปัญหาดังกล่าว อยู่เนืองๆ อาทิ ปัญหามลภาวะเป็นพิษในแหล่ง ชุมชนมาบตาพุด ดังนั้น จะเห็นได้ว่าทั้งพลาสติกสลายตัวได้ ทางชีวภาพ และพลาสติกทัว่ ไป ยังสามารถน�ามา ใช้ร่วมกับการรณรงค์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม ได้อย่างสมบูรณ์กว่าเดิม ไม่เพียงจะสนอง ตอบ เรื่องการลดสภาวะโลกร้อนเท่านั้น ก็ ยั ง สามารถตอบสนองการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติได้ด้วย โดยมี พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ เป็ น กุ ญ แจส� า คั ญ ในการแก้ ปั ญ หาครบทุ ก ด้ า นได้ อ ย่ า ง หมดจด และสมบูรณ์แบบ ดังจะกล่าวอย่างละเอียด ในบทความต่อไป

Compostable Bioplastic) - Compostable Bioplastics ตามศัพท์ราช บัณฑิต ไทยได้บัญญัติไว้เป็น “พลาสติกสลาย ตัวได้ทางชีวภาพ” เป็นผลผลิตที่ได้ทั้ง จากพืช หรือ จากปิโตรเลียมกได้ แต่ในอนาคตอันใกล้ จะถู ก พั ฒ นาให้ ท� า จากพื ช อย่ า งเดี ย ว ท� า

ค�านิยาม ัพท์

พลาสติ ก ชี ว ภาพ (Bioplastics) เป็นนวัตกรรม ล่าสุด มีทั้งท�ามา จากพืช (Biobase) และ จาก น�ามันปิโตรเลียม b a s e ) มี ลั ก ษณะเป็ น เม็ ด พลาสติกคล้ายพลาสติกทัว่ ไป สามารถน�ามา หลอมและผลิ ต ตามกระบวนการปกติ ด้ ว ย เครือ่ งจักรเดิมทีใ่ ช้ผลิตด้วยเม็ดพลาสติกธรรมดา โดยอาจมีการปรับแต่งเครื่องจักรบ้างเล็กน้อย เท่านั้นเพื่อความเหมาะสม พลาสติกชีวภาพนี้ สามารถแบ่ ง ออกเป็ น สองจ� า พวกหลั ก ๆ คื อ จ� า พวก พลาสติ ก สลายตั ว ได้ ท างชี ว ภาพ (Composable Bioplastics) และจ� า พวก พลาสติ ก สลายตั ว ไม่ ไ ด้ ท างชี ว ภาพ

20

The Power LOGISTICS

ผลิตภัณฑ์ได้หลายรูปแบบเหมือนพลาสติกทั่วไป แต่สิ่งที่ส�าคัญยิ่ง คือ ต้องเน้นสามารถสลายตัวได้ ทางชีวภาพ ซึ่งผ่านการ แตกสลายทางชีวภาพ จนเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วจึงสลาย ตัวตามขบวนการหมักปุย โดยให้กาซคาร์บอนได ออกไซด์ และปุยหมัก คืนสูด่ นิ ผลผลิตทีไ่ ด้ทงั้ คูพ่ ชื

สามารถน�าไปใช้ในการสังเคราะห์แสงและช่วย การเจริญเติบโตได้ตามล�าดับ และผลิตภัณฑ์ ดังกล่าวข้างต้นจึงมีมาตรฐานสากลรองรับโดยที่ พลาสติ ก ธรรมดาทั่ ว ไป ไม่สามารถให้คุณลักษณะพิเศษนี้ได้ เป็น ผลิตผลจากพืชเพียงอย่างเดียว ด้วยเป้าประสงค์ เพื่อเป็นแหล่งทรัพยากรทดแทนปโตรเลียม จึง เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ค งทนเหมื อ น พลาสติกธรรมดาทุกประการ ไม่สามารถสลายตัว ได้ เรียกว่า พลาสติกสีเขียว แต่มีประโยชน์มากเพราะเข้าข่ายการอนุรักษ์ ทรัพยากรน�า้ มัน ทัง้ ยังกระบวนมีการผลิต คาย กาซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่าของการ ผลิตพลาสติกทัว่ ไปเพราะเป็นการผลิตโดย กระบวนการหมัก ( erment tion) ไม่ ต้องใช้พลังงานมาก ท�าให้ได้มูลค่า เพิ่ ม ของการลดกาซเรื อ น กระจก เรี ย กกั น ว่ า ค า ร ์ บ อ น เ ค ร ดิ ต พลาสติ ก แ ต ก ส ล า ย ท า ง ชี ว ภาพ เป็นพลาสติกทีไ่ ด้ มาจากการผสมสารเติม แ ต ่ ง ใ น พ ล า ส ติ ก ธรรมดาทั่ ว ไป โดย ท�าให้มีการแตกเป็น ชิ้ น เล็ ก ๆ และเล็ ก มากพอจนเข้ า ใจว่ า จุลินทรีย์สามารถท�าลายมันได้ แต่สุดท้ายมักจะมีการทิ้งสารตกค้าง อยู่ด้วย ซ�้าร้ายเมื่อผงดังกล่าวเข้าสู่ร่างกายสัตว์ หรือมนุษย์ก็จะก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา จึง ต้องมีการปดให้มิดชิดหลังการ ังกลบด้วยวินัยที่ เคร่งครัดมากๆ จึงจะปลอดภัย จึงไม่มีมาตรฐาน สากลรองรับ เพราะไม่สามารถสลายตัวได้ทาง ชีวภาพให้เป็นปุยหมัก ซึ่งต้องผ่านเงือ่ นไขตัวชีว้ ดั โดย “พืชที่ปลูกด้วยปุยหมักดังกล่าว จะต้อง


เจริ เติบโตทัดเทียมกับปุยในดินธรรมชาติ”

แนวคิดและการป บิ ตั ิ

เนื่ อ งจากก่ อ นหน้ า นั้ น มี เ พี ย งพลาสติ ก ธรรมดาทั่วไป ซึ่งต้องมีการก�าจัดด้วยการเผาทิ้ง โดยตลอด จึงก่อให้เกิดกาซเรือนกระจกน�าไปสู่ ภาวะโลกร้อน เพราะถุงพลาสติกดังกล่าวมัก เปรอะเปอนไขมันอาหาร และขยะอินทรีย์ จึงไม่ คุ้มค่าที่จะน�าไปรีไซเคิล ด้วยเหตุนแี้ นวคิดการบริหารจัดการอย่างถูก ต้อง และการมีวินัยในการแยกขยะพลาสติกหลัง การใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการ ศึกษาอย่างจริงจังเพื่อให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ ปัจจุบันมีพลาสติกชีวภาพชนิดสลายตัวได้ทาง ชีวภาพ ซึ่งมีบทบาทส�าคัญโดยเฉพาะเป็นการ เสริมให้ครบวงจรอย่างสมบูรณ์ขนึ้ กว่าเดิม การที่ น�าถุงดังกล่าวมาใช้บรรจุขยะอินทรีย์ แล้วน�ารวม ทัง้ ถุงทิง้ ในโรงหมักขยะอินทรียไ์ ด้เลย จึงไม่กอ่ ให้

รศ ดร พิ ร ร ิ ิ รเ ม นายกกิตติมศักดิ์ ก ตั สมา ม ตสาหกรรมพลาสติก ีว าพ ทย ระ านกลม ตสาหกรรมเท โนโลยี ีว าพ ส า ตสาหกรรมแห ระเทศ ทย ระ านรับเล กส า ูส ก ส า ูส สิน าทา เร แห ระเทศ ทย

เกิดกาซเรือนกระจก เพราะไม่ตอ้ งมีการน�าไปเผา ทิ้งเหมือนเดิมอีกต่อไป ในขณะเดียวกัน ถุงพลาสติกธรรมดาทั่วไป จะต้องถูกห้ามมิให้ใส่อาหารซึ่งมีไขมัน หรือขยะ อินทรีย์โดยเด็ดขาด ดังนั้น ถุงที่ว่านี้ก็ไม่ต้องถูก น�าไปเผา ก่อให้เกิดกาซเรือนกระจกอีก ในทาง กลับกันก็จะสามารถน�าไปรีไซเคิลได้ดี เพราะมี ความสะอาด คุณภาพดี ได้มูลค่าเพิ่มจากเดิม

เป็นการแก้ปัญหาความบกพร่องเดิมๆ ได้อย่าง สิ้นเชิง

อ่านต่อฉบับหน้า...

The Power LOGISTICS

21


Energy Logistics

โดย : พน ิพา ุ เพชร

LTM ทางรอดผูประกอบการไทย าย ตวิก ติ ั าน

การใช้พลังงานของประเท ในปจจุบันมีแนวโน้มสูงขน ทังภาคอุตสาหกรรม และภาคขนส่ง ยังคงมีการใช้พลังงานที่สูงในอันดับต้น โดยภาคการขนส่งมีสัดส่วน การใช้พลังงานสูงถง 5. เป็นการใช้พลังงานในภาคขนส่งทางบกสูงถง ่ง ต้นทุนพลังงานถือเป็นหน่งในปจจัยส�าคั ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อ กั ยภาพการแข่งขันของ ผู้ประกอบการขนส่ง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการขนส่งร่วม กันลดใช้พลังงานลงได้ กองทุนเพื่อส่งเสริมการ อนุรักษ์พลังงาน ส�านักงานนโยบายและแผน พลังงาน กระทรวงพลังงาน เล็งเห็นถึงความ ส� า คั ญ จึ ง สนั บ สนุ น ให้ ส ถาบั น พลั ง งานเพื่ อ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย ด�าเนิน “โครงการส่งเสริมระบบบริหาร จัดการขนส่งเพือ่ การประหยัดพลังงาน ” ซึง่ โครงการนี้ได้รับการตอบรับจากผู้ประกอบการ เป็นอย่างดี โครงการนี้มีความเป็นมาอย่างไร และมี ความหวังมากน้อยแค่ไหน ตลอดจนเป้าหมาย สู ่ ก ารลดต้ น ทุ น โลจิ ส ติ ก ส์และการขนส่ง ของ ประเทศ e ower GIS ICS ฉบับนีไ้ ด้รว่ ม พูดคุยกับ ธิบดี หา ประเสริ ประธานค ะ ท� า งานโครงการส่ ง เสริ ม ระบบบริ ห าร จัดการขนส่งเพือ่ การประหยัดพลังงาน และ กรรมการบริ ห ารสถาบั น บริ ห ารพลั ง งาน เพื่ออุตสาหกรรม ที่จะอธิบายเกี่ยวกับราย ละเอียดของโครงการทั้งหมด นายธิบดี กล่าวว่า โครงการนี้เป็นการ รวมตัวของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม ทัง้ ผูผ้ ลิต และผูข้ นส่ง ทีม่ าเวิรก์ ช็อปร่วมกันโดยเป้าหมาย สูงสุดคือการลดต้นทุนด้านพลังงานขององค์กร ปัจจุบันได้มีการจัดท�ามาเป็นรุ่นที่ 3 ซึ่งรุ่นนี้ มีทั้งหมด 107 บริษัท ส่วน 2 รุ่นที่ผ่านมา มี

22

The Power LOGISTICS

ทั้งหมด 130 บริษัท จากการประเมินผู้ประกอบ การทั้ ง 2 รุ ่ น ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการสามารถลด ต้นทุนด้านพลังงานได้ 200 ล้านบาท ปี ส�าหรับโครงการนี้ เพื่อส่งเสริมให้กลุ่ม

ผู้ประกอบการกิจการขนส่ง มีโอกาสได้รับการ ศึ ก ษาหาแนวทางการพั ฒ นาระบบบริ ห าร จั ด การขนส่ ง เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พลังงานที่เหมาะสมกับสถานประกอบการของ ตน พร้อมทัง้ น�าไปปฏิบตั ใิ ห้เกิดขึน้ อย่างเป็นรูป ธรรมได้ ซึ่งโครงการนี้ได้ประยุกต์ความรู้ความ ช�านาญของทีมผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็นวิศวกรรมและเทคโนโลยี การบริหารจัดการ วิ ธี ก ารขั บ รถ และการสร้ า งที ม งาน ในการ วิเคราะห์การใช้พลังงานในส่วนของผู้ประกอบ


การที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการ รวมถึ ง การเผยแพร่ ความรู้ดังกล่าวสู่บุคลากรของผู้ประกอบการ เพื่อน�าไปใช้วิเคราะห์การใช้พลังงานของตนเอง ต่อไป นอกจากนี้ ยังได้มีการรวบรวมผลส�าเร็จ ที่ ไ ด้ จ ากการปรั บ ปรุ ง ตามค� า แนะน� า ของที ม ผู้เชี่ยวชาญ ใช้เป็นศูนย์รวมความรู้ในการลด การใช้พลังงานเชื้อเพลิงในสาขาการขนส่ง เผย แพร่สู่ภาคคมนาคมขนส่ง และลดสัดส่วนการ ใช้พลังงานในภาคคมนาคมขนส่งต่อไป ส�าหรับตัวชี้วัดความส�าเร็จของโครงการ นายธิบดี อธิบายว่าต้องส่งเสริมให้มีการศึกษา หาแนวทางการพั ฒ นาระบบบริ ห ารจั ด การ ขนส่ง เพือ่ ลดใช้นา�้ มันเชือ้ เพลิงในกิจการบริการ ขนส่งสินค้าจ�านวนไม่น้อยกว่า 100 ราย อีกทั้ง ส่งเสริมให้เกิดการประหยัดพลังงานเชือ้ เพลิงใน กิ จ การบริ ก ารขนส่ ง โดยมี เ ป้ า หมายการใช้ พลังงานเชื้อเพลิงที่คาดว่าจะลดได้เฉลี่ยรวม หลังจบโครงการเท่ากับ 5 toe ต่อปี หรือเทียบ เป็ น การประหยั ด น�้ า มั น ดี เ ซลประมาณ 5,800,000 ลิตรต่อปี และจัดท�าคู่มือเผยแพร่ ความรู้ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการขนส่ง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เพื่อเผย แพร่ให้ผู้ประกอบการได้น�าไปประยุกต์ใช้เป็น แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้เชือ้ เพลิง ผู้ที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว จะได้รับ ประโยชน์หลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการทราบถึง แนวทางการปรับปรุงเพื่อลดการใช้เชื้อเพลิงใน กิจการขนส่ง เพือ่ น�าไปประยุกต์ใช้กบั หน่วยงาน ของตน รวมทั้งสามารถด�าเนินการตามแนวทาง การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิง เพื่อลด ต้นทุนการใช้พลังงานอย่างเป็นรูปธรรม และยัง เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการและบุคลากร ของผู้ประกอบการขนส่งที่เข้าร่วมโครงการ ได้ รั บ ความรู ้ ด ้ า นหลั ก การ และแนวคิ ด ในการ วิเคราะห์หาแนวทางการลดใช้เชื้อเพลิง เพื่อน�า ความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปประยุกต์ใช้ได้ดว้ ยตนเองต่อไป ในอนาคต ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน นอกจากนี้ ยังเป็นการลดการใช้พลังงาน ในภาคการขนส่ง แนวทางการปรับปรุงต่างๆ

ที่ประสบผลส�าเร็จ รวมถึงสามารถน�าแนวทาง ต่างๆ แผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ประกอบ การรายอืน่ ๆ ให้สามารถน�าไปประยุกต์ใช้เพือ่ ลดการใช้พลังงานเชื้อเพลิงในภาคการ ขนส่งโดยรวมต่อไปได้ “อยากให้ผู้ประกอบการเข้าร่วม โครงการดังกล่าว เพราะสามารถลด ต้ น ทุ น แก่ ส ถานประกอบการได้ จ ริ ง และส่งผลให้ลดพลังงานของชาติ ซึ่งผู้ ประกอบการจะได้ รั บ ประโยชน์ เ ต็ ม ๆ เพราะเป็นการเวิร์กช็อปให้ รี เนื่องจาก ภาครัฐเป็นผู้สนับสนุนงบประมาณ โดยใน รุ่น 3 จะใช้เวลาทั้งหมด 8 เดือน ซึ่งเราต้อง ท�าให้สมั ทธิผล ส�าหรับร่นุ ต่อไปจะ มี ห รื อ ไม่ นั้ น ก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ งบ ประมาณการสนับสนุนของ ภาครัฐ” นายธิบดี กล่าว [P]

ม า

า ค าา ค ิ า า สเ า ิ าส า ิ า ล า เ

เส ิ า ส เส ิม ล า สา ม

The Power LOGISTICS

23


GURU IDEA

การเปดเสร า ล ส ิ ติ ก ส ุดออน องการเ ้าส องไทย ต่อ า ฉบับ

้ ...

4. การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพ ด้านการอ�านวยความสะดวกทางการค้าและ โลจิสติกส์ เกีย่ วข้องกับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อ บังคับ ของทางราชการ และการผูกขาดการให้ บริการของรัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับด้านโลจิสติ กส์ ซึง่ ไม่เอือ้ ต่อการเปดเสรีภาคบริการ โลจิสติกส์ และต่ อ การเป็ น ศู น ย์ ก ลางโลจิ ส ติ ก ส์ ข อง ประเทศไทยภายใต้บริบทของ A C 5. การขับเคลือ่ นข้อตกลงด้านขนส่งข้าม แดน การขนส่งทางถนนระหว่าง ประเท ของไทย ภายใต้การเปิดเสรีภาค บริการโลจิสติกส์ ของ เป็นส่วนทีป่ ระเทศไทย มี ค วามได้ เ ปรี ย บ กอปรกั บ ประเทศไทยมี

24

The Power LOGISTICS

โครงสร้ า งทางถนนและสะพาน เชื่ อ มโยงกั บ ประเทศเพื่อนบ้านทุกประเทศ โดยเฉพาะการมี nd rid e ทวาย พุนา�้ ร้อน แต่ภายใต้ขอ้ จ�ากัด ความแตกต่าง ทั้งเรื่องกฎจราจร ด้านมาตรฐาน รถบรรทุกและคนขับรถ และด้านพิธกี ารศุลกากร การตรวจคนเข้ า เมื อ ง ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งทั้ ง เรื่ อ ง เศรษฐกิจและความมัน่ คง จ�าเป็นทีภ่ าครัฐจะต้อง เร่งให้มีการท�าความตกลงในเรื่องการขนส่งข้าม แดน หรือ C A Cross order r ns ort A reement ซึง่ บางส่วนได้มกี ารเจรจาไปแล้ว แต่ ยังไม่มีผลในทางปฏิบัติ

ÂØ·¸ÈÒʵà ¡ÒÃࢌÒÊÙ‹ AEC ¢Í§ ÀÒ¤ºÃÔ¡ÒÃâŨÔÊµÔ¡Ê . ธุรกิจบริการโลจิสติกส์... จุดอ่อนของ ไทยสู่

ภายใต้การเปด A C ส�าหรับภาคบริการ ซึ่ง ประเทศไทยจะต้องเปดให้มเี สรีในด้านการลงทุน โดยให้ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถลงทุนใน ธุรกิจบริการได้ร้อยละ 70 เริ่มมีผลในวันที่ 1 มกราคม 2556 (ภาคบริการบางส่วนได้เปดเสรี การลงทุนไปก่อนหน้านี้แล้ว) ส�าหรับภาคบริการ ส่วนใหญ่ จากตัวเลขของส�านักงานวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) อยู่ในภาค S s ซึ่งคาดว่าในภาคบริการจะมีผู้ประกอบ การประมาณ 975,552 ราย มี ก ารจ้ า งงาน ประมาณ 3.46 ล้านต�าแหน่ง มีมลู ค่าผลผลิตมวล รวมประชาชาติ (G ) 2.37 ล้านล้านบาท คิด เป็นร้อยละ 26 ของ G รวม การเข้าสู่ A C ใน ภาคธุรกิจบริการ โดยเฉพาะในภาคธุรกิจผู้ให้ บริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส์ หรื อ o istics Service rovider เป็นทัง้ โอกาสและความท้าทาย อย่างไร


ก็ตาม ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทย ซึ่งกว่า ร้อยละ 90 อยูใ่ นภาค S s ขาดความพร้อมและ การแข่งขันเสรีจะท�าให้ภมู คิ มุ้ กันจากการปกป้อง ธุรกิจในประเทศหมดไป ภายใต้การเปลีย่ นแปลง ทางสภาวะแวดล้อมธุรกิจ การแข่งขันจะมีความ รุนแรง การตั้งรับและการปรับตัวของผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ จึงไม่ได้มีสูตรส�าเร็จ ขึ้นอยู่กับแต่ละ สถานประกอบการจะต้องหาจุดแข็ง จุดอ่อน และ ต� า แหน่ ง ของธุ ร กิ จ ที่ เ หมาะสม เนื่ อ งจากการ แข่งขันภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะ ท� า ให้ ผู ้ ป ระกอบการไทยที่ ด ้ อ ยโอกาสจะไม่ สามารถเข้าถึงโอกาสและประโยชน์ ซึ่งหากไม่มี การท�ายุทธศาสตร์ที่ชัดเจน มีความเป็นรูปธรรม รวมทั้งการปรับตัวเองและองค์กรของผู้ประกอบ การโลจิสติกส์ไทย ก็จะท�าให้กลายเป็นกลุ่มด้อย โอกาส และเป็นจุดอ่อนของประเทศไทยต่อการ เปดเสรีภาคบริการโลจิสติกส์ ภายใต้ A C 2. เหตุผลที่ท�าให้ภาคบริการโลจิสติกส์ ไทยค่อนข้างมีความอ่อนไหวต่อการเปิด 2.1 ที่ผ่านมานโยบายของรัฐบาลมุ่งเน้นการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพียงอย่างเดียว กล่าวคือ ภายในประเทศมีโครงสร้างพืน้ ฐาน ทางถนนเชือ่ มโยงไปสูท่ กุ ต�าบล ซึง่ เป็นถนนไร้ นุ ขณะที่ทางหลวงเชื่อมโยงจังหวัดของไทยส่วน ใหญ่เป็นถนนมาตรฐาน 4 ช่องจราจร นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีการลงทุนสร้างถนนและสะพาน เชื่ อ มโยงเข้ า ไปในประเทศเพื่ อ นบ้ า น ขณะที่ ประเทศไทยมีท่าเรือแหลมฉบัง และสนามบิน สุวรรณภูมิ เป็นประตูเศรษฐกิจในระดับนานาชาติ และในอนาคต ประเทศไทยก็ จ ะมี ส ะพาน เศรษฐกิจ หรือ nd rid e จากจังหวัดทวาย ของพม่า มาสูจ่ งั หวัดกาญจนบุรี ซึง่ โครงสร้างพืน้ ฐานโลจิ ส ติ ก ส์ สนั บ สนุ น ให้ ป ระเทศไทยมี ศักยภาพต่อการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ ( co nomic Connectivity) กับประเทศสมาชิกอาเซียน 2.2 ขาดการพัฒนาธุรกิจบริการโลจิส ติกส์อย่างเป็นรูปธรรม

ดร. นิต โสรัตน์ ระ าน ระ านส า ตสาหกรรมแห ระเทศ ทย ระ านสาย านโลจิสติกส์ ส. .ท.

ที่ผ่านมา รัฐบาลและหน่วยงานรัฐแทบจะไม่ รู้จักหรือไม่ได้ให้ความส�าคัญต่อธุรกิจโลจิสติกส์ ซึ่งเป็นกลไกส�าคัญในการขับเคลื่อนการส่งมอบ กระจายสินค้า บริการ ทั้งในระดับประเทศและ ระหว่างประเทศ การพัฒนาธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ของไทย อยู่ในระดับพื้นฐานที่เรียกว่า r ns ort se o istics Service ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ของไทย หรือ o istics Service rovider เกือบ ทั้งหมดเป็น S s มีข้อเสียเปรียบทางธุรกิจ ไม่ สามารถให้บริการแบบครบวงจร ขาดการจัดการ ที่เป็นสากล ขาดนวัตกรรมในเกือบทุกด้าน โดย เฉพาะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งขาดการ พัฒนาแรงงานที่มีทักษะในการให้บริการในระดับ ที่เป็นสากล โดยรูปแบบการให้บริการยังเป็นแบบ แยกส่วน เช่น (1) ผู้ให้บริการตัวแทนออกของ (Customs roker) (2) ผู้ให้บริการขนส่งด้วยรถ บรรทุก ( ruck r ns ort Service) (3) ผูใ้ ห้บริการ รั บ จั ด การขนส่ ง ( rei t orw rder) (4) ผู้ประกอบการคลังสินค้า ( re ouse Service rovider) (5) ผู้ให้บริการด้านแรงงงาน ( our utsource) ล ซึ่งการให้บริการที่เป็นแบบแยก ส่วน ไม่สามารถก้าวไปสู่การเป็นผู้ให้บริการแบบ ครบวงจร หรือที่เรียกว่า Inte r ted o istics Service rovider จะท�าให้ขาดศักยภาพในการให้ บริการในระดับภูมิภาค โดยเฉพาะเมื่อมีการเข้าสู่ การเป็น A C

ให้บริการอย่างมืออาชีพ 2) สนับสนุนให้มีการใช้นวัตกรรมและเทคโน โลยี ในลักษณะ lectronic Solution se เพื่อ ให้สามารถตรวจสอบระบบงานและติดตามงานได้ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ 3) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ไทย ไปสู่ผู้ให้บริการระดับนานาชาติ ด้วยการสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในลักษณะ ที่เป็น Cluster ทั้งในระดับที่เป็นผู้ให้บริการโลจิส ติกส์ในสาขาต่างๆ ผูใ้ ห้บริการภายในประเทศด้วย กั น และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารในประเทศอาเซี ย น เพื่ อ สามารถขยายการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ เชื่ อ มโยงกั บ ประเทศต่างๆ ได้อย่างบูรณาการ 4) เพิ่มบทบาทการรวมตัวกันของผู้ประกอบ การ ให้ มี อ งค์ ก รที่ มี ศั ก ยภาพในการควบคุ ม มาตรฐานวิชาชีพ ให้มีความรับผิดชอบ มีการ ควบคุมจริยธรรม และมีการจัดท�าเว็บไซต์ บัญชี รายชือ่ ผูใ้ ห้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ เพือ่ เป็นข้อมูลให้กบั ผู้ใช้บริการ ทั้งในและต่างประเทศ

5) การสร้ า งเครื อ ข่ า ยคลั ส เตอร์ กั บ ภาค อุตสาหกรรม ในลักษณะทีเ่ ป็นเครือข่ายโซ่อปุ ทาน โดยน�าผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์เข้าไปสู่ lue C in ของภาคการผลิต และเข้าสู่ A C เคียงคู่กับภาค 2. ยุทธ าสตร์การพัฒนาผู้ให้บริการ อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ ไทย 6) ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มเครือข่ายผู้ให้ กล่ า วคื อ การร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ และ ผู ้ ป ระกอบการจะต้ อ งมี ก ารจั ด ท� า ยุ ท ธศาสตร์ บริการรายย่อย โดยรัฐควรจะมีหน่วยงานท�าหน้าที่ ว่าด้วยการพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้มีขีด ในการส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มของผู้ประกอบ ความสามารถในการแข่งขันในระดับนานาชาติ การรายย่อย เพื่อให้เกิดการร่วมมือการให้บริการ แบบครบวงจร รวมทั้งการวางแผนระบบโลจิส โดยยุทธศาสตร์จะต้องครอบคลุมมิติดังต่อไปนี้ ติกส์และการจัดการโซ่อุปทานร่วมกันในภาวะ 1) การพัฒนาผู้ประกอบการและทรัพยากร ฉุกเฉิน เพือ่ ให้การให้บริการยังสามารถท�าได้อย่าง มนุ ษ ย์ ด ้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ด้ ว ยการเข้ า ไปพั ฒ นา ต่อเนือ่ ง ในลักษณะทีเ่ รียกว่า is ster usiness องค์กรผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ทั้งรายกลางและ Continuity l n รายย่ อ ย เพื่ อ ให้ มี ก ารรวมตั ว กั น ในการที่ จ ะ เสริ ม สร้ า งทั ก ษะและยกระดั บ มาตรฐานการ อ่านต่อฉบับหน้า...

The Power LOGISTICS

25


Bus. Focus

โดย : องบรร า ิ าร

ed r de et r s รับ นสง ต เปดสานักงานแหงแรก นไทย

เปิดส�านักงาน แห่งแรกในเมืองไทย รองรับการขนส่งโต จากการส� า รวจพบลู ก ค้ า ทั่ ว โลกให้ ค วาม สนใจมาลงทุนในไทย ชีการขยายสาขาครังนี จะช่ ว ยอ� า นวยความสะดวกให้ กั บ ลู ก ค้ า ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แป ิ ิ ก ให้ ส ามารถ เข้ า ถงการขนส่ ง และทางเลื อ กในการ น�าส่งสินค้า

26

The Power LOGISTICS

บริษัท ed r de Networks ซึ่งเป็น บริ ษั ท ในเครื อ กลุ ่ ม ed (N S ) และบริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศชั้นน�า ได้ประกาศเปดส�านักงานแห่งแรกในประเทศ ไทยที่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ธุรกิจในประเทศ และทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียแปซิ กได้รับประโยชน์ จากบริ ก ารขนส่ ง สิ น ค้ า ที่ เ ป็ น เลิ ศ และใช้ ประโยชน์ จ ากเครื อ ข่ า ยการจั ด ส่ ง ทั่ ว โลก

ที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่ เมื่อรวมส�านักงานแห่งใหม่ที่กรุงเทพ แล้ว ขณะนี้ ed r de Networks มีส�านักงาน ขนส่งสินค้ารวม 17 แห่งในเอเซียแปซิ ก ได้แก่ ่องกง สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย ปักกิ่ง เฉิงตู จุงกิง ต้าเหลี่ยน กวางสู นิงโป ชิงเตา เซีย่ งไ ้ เซินเจิน้ เทียนจิน เซียะเหมิน เช็งซู ในเขตจีนแผ่นดินใหญ่


และส�านักงานตัวแทนในเวียดนาม ในฐานะ ตัวแทนส�าคัญในการขนส่งทั่วโลกของ ed บริษัท ed r de Networks เป็นผู้จัดหา โซลูชั่นด้านการขนส่งทางทะเลและทางอากาศ อย่างครบวงจรส�าหรับช่องทาง การค้าส�าคัญ ในเอเชียแปซิ ก โจเ

แ รงก์ รองประธาน เอเชีย กล่าวว่า การเปดตัวของธุรกิจ ในกรุงเทพ มีความส�าคัญต่อการเติบโตของเรา ในฐานะผูใ้ ห้บริการขนส่งระดับโลก ลูกค้าของเรา ก�าลังขยับขยายธุรกิจในประเทศไทยและก�าลัง ต้องการการขนส่งสินค้าที่มีประสิทธิภาพและ มีความยืดหยุ่นเพื่อรองรับการน�าเข้าและส่งออก และด้วยเทคโนโลยี การบริการที่โดดเด่นและ ความน่าเชือ่ ถือของ ed r de Networks เรา สามารถให้บริการลูกค้าของเราในประเทศ ไทยได้ อย่างครบวงจร ด้วยความเชีย่ วชาญในตลาด และ โซลู่ชั่นส�าหร้บความต้องการที่หลากหลายด้าน การขนส่งและจัดจ�าหน่าย ไม่วา่ ลูกค้าจะต้องการ เพิม่ ความรวดเร็วสูต่ ลาดหรือจัดการสินค้าคงคลัง หรือควบคุมต้นทุน ed r de Networks ก็สามารถช่วยธุรกิจทุกขนาดให้ด�าเนินการบรรลุ เป้าหมายในการจัดการซัพพลายเชนได้ ตลาดการขนส่งในเมืองไทยได้ขยายตัวเพิม่ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาและคาดว่าจะพัฒนา ต่อเนื่องไป โดยในปี 2554 มีมูลค่า 2,033.91 ล้านเหรียญสหรัฐ โตขึ้นในอัตรา 2.3 จากปีที่ แล้ว และคาดว่าจะมีมลู ค่า 3,297.1 ล้านเหรียญ สหรัฐ ภายในปี 2558

ในภู มิ ภ าค ed r de Net works ยังได้ขยายบริการ “ ed Intern tion l irect riority ce n” ให้ครอบคลุมถึงประเทศ ไทยด้วย การบริการดังกล่าวนี้จะ ท�า ให้ลูกค้าสามารถขนส่งสินค้า จากท่ า เรื อ ในประเทศไทยไปยั ง ท่าเรือในสหรัฐอเมริกาได้โดยตรง เพิ่มเติมจากท่าเรือต้นทางที่ ่องกง ไต้หวัน ยุโรป การบริการดังกล่าวนี้ รวมถึงการขนส่งทางเรือคุณภาพ ชั้นหนึ่ง การเป็นนายหน้าจัดการ พิ ธี ก ารทางศุ ล กากรของประเทศ สหรัฐอเมริกา การจัดส่งถึงปลาย ทางสุดท้าย และการติดตามการ จัดส่งสินค้าทางออนไลน์ส�าหรับ สินค้าแบบบรรจุเต็มตู้สินค้า ( ull Cont iner o d C ) และ แบบไม่เต็มตู้สินค้า( ess n cont iner o d C ) การเพิ่มจุดส่งสินค้าที่ ประเทศไทยเป็นการขยายการเข้าถึงการบริการ และเพิ่ ม ทางเลื อ กการขนส่ ง สิ น ค้ า ทางทะเล เมื่อมีความต้องการส่งออกไปยังสหรัฐ การขยายตัวของ ed r de Networks ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ กนี้ เป็ น การรองรั บ ยุทธศาสตร์การขยายธุรกิจทั่วโลกของบริษัท

และเสริมสร้างความต่อเนื่องของความมุ่งมั่น ในการขนส่งสินค้าในหลากหลายรูปแบบ ( ulti odel) ที่มีประสิทธิภาพโดยผู้เชียวชาญระดับ โลกและระดับท้องถิ่น ed r de Networks สามารถให้บริการที่น่าเชื่อถือ ยืดหยุ่นและตรง ตามความต้องการของลูกค้าในประเทศไทยเพือ่ ให้ ส ามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของ ผู้จัดส่งทั่วโลกได้เป็นอย่างดี [P]

“ก่ อ นที่ จ ะเปดสาขาในไทย เราได้ มี ก าร ส�ารวจลูกค้าจากทั่วโลก ประมาณ 400 500 บริษทั พบว่าลูกค้าเหล่านีม้ คี วามสนใจทีจ่ ะเข้า มาลงทุนในไทย ซึง่ เรามัน่ ใจว่าการขนส่งในไทย จะมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง หลังจากนี้ก็จะ ขยายสาขาเพิม่ ในประเทศใกล้เคียง” เพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า

The Power LOGISTICS

27


Power Inland

ินร

โดย : ชย

น์ เ

ยสาร ทย กั ูชา

มา า ะน

การขนส่งทั้งผู้โดยสาร และสินค้า ล้วนเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขนส่งในรูปแบบระหว่างประเทศ ซึ่งนอกเหนือจากการ สร้างมูลค่าแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยว รวมถึงเป็นการกระชับความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศด้วย ทั้งนี้ บริษัท ขนส่ง จ�ากัด หรือ บขส. ถือ เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่ช่วยกระตุ้นภาคการขนส่ง ของประเทศ โดยภารกิจหลักของบริษัท ขนส่ง จ�ากัด แบ่งได้ 4 ประการ คือ 1. พัฒนาการ บริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้มาตรฐานสากล โดยมุง่ เน้นในด้านความปลอดภัย ความสะดวก สบาย ความตรงต่อเวลา และความทันสมัย ที่ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ทั้งธุรกิจ เดินรถและธุรกิจสถานี 2. สร้างความประทับใจ

28

The Power LOGISTICS

และตอบสนองความต้องการผู้ใช้บริการ จัด บริ ก ารเดิ น รถ ให้ มี ลั ก ษณะโครงข่ า ยที่ ครอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศและเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง ประเทศ พัฒนาสถานีและศูนย์ซ่อมบ�ารุงใน ลักษณะที่ครบวงจร 3. รักษาสิทธิที่พึงมีของผู้โดยสาร รวมถึง ให้การคุ้มครองชีวิตและทรัพย์สินของผู้โดยสาร และบุคคลที่สาม โดยยกระดับมาตรฐานในการ ก�ากับดูแลทั้งรถบริษัทและผู้ประกอบการรถ ร่วม และ 4. บริหารกิจการโดยยึดถือประโยชน์

วั

ผู ้ ถื อ หุ ้ น และผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย โดยการจั ด ระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ มี ความคล่องตัว เพิ่มศักยภาพบุคลากร สร้าง ความได้ เ ปรี ย บในเชิ ง ต้ น ทุ น และน� า ระบบ เทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ เ พื่ อ น� า ไปสู ่ ก าร บริการที่มีคุณภาพและสามารถแข่งขันได้ นอกจากนี้ บริ ษั ท ขนส่ ง จ� า กั ด เป็ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ ในสั ง กั ด ของกระทรวงคมนาคม ด�าเนินการในด้านการบริการขนส่งผู้โดยสาร โดยรถประจ� า ทางระหว่ า งกรุ ง เทพ ไปยั ง จังหวัดต่างๆ ระหว่างจังหวัด และภายในจังหวัด และให้เอกชนเข้ามามีส่วนด�าเนินการในรูปของ รถร่วมเอกชน วิง่ ในเส้นที่ บขส. ได้รบั ใบอนุญาต ประกอบการขนส่ง จากการที่รัฐบาลได้มอบหมายให้ บริษัท ขนส่ง จ�ากัด ท�าหน้าที่เป็นแกนกลางในการจัด ระเบียบการเดินรถทั้งของบริษัทเองและรถร่วม ให้เป็นระเบียบ รวมทั้งการให้บริการด้านสถานี ขนส่งผู้โดยสารท�าให้สามารถแบ่งขอบเขตการ ด�าเนินงานธุรกิจได้เป็น 3 ธุรกิจ คือ การเดินรถ บริษัท, รถร่วมเอกชน และสถานีขนส่ง ล่ า สุ ด บขส. ได้ จั ด พิ ธี ล งนามสั ญ ญา เดิ น รถโดยสารระหว่ า งประเทศ 2 เส้ น ทาง ประกอบด้วย เส้นทางกรุงเทพ อรัญประเทศ ปอยเปต เสี ย มราฐ และเส้ น ทางกรุ ง เทพ อรั ญ ประเทศ ปอยเปต พนมเปญ เริ่ ม เปด เดิ น รถเที่ ย วปฐม กษ์ 29 ธั น วาคมนี้ The Power LOGISTICS ได้มีโอกาสสัมภาษณ์ “วุฒิชาติ กัลยา มิตร” กรรมการผู้จัดการ ให ่ บริ ัท ขนส่ง จ�ากัด


วุฒิชาติ กัลยา มิตร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ขนส่ง จ�ากัด

ซึ่ง นายวุฒิชาติ กล่าวว่า การเปดเดินรถ โดยสารเส้นทางระหว่างประเทศไทย กัมพูชา เกิ ด ขึ้ น จากการประชุ ม ทวิ ภ าคี ร ะหว่ า ง ประเทศไทย กัมพูชา เพื่อหารือเกี่ยวกับการเริ่ม ใช้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการแลกเปลี่ยน สิทธิจราจร ณ จุดผ่านแดนอรัญประเทศ ปอย เปต เมื่อเดือนพ ษภาคม 2555 ซึ่งทั้งสอง าย เห็ น ชอบในหลั ก การให้ เ ปดเดิ น รถโดยสาร ประจ�าทางใน 2 เส้นทาง คือ เส้นทางกรุงเทพ อรัญประเทศ ปอยเปต เสียมราฐ และเส้นทาง กรุงเทพ อรัญประเทศ ปอยเปต พนมเปญ จากนั้นที่ประชุมคณะกรรมการอ�านวย ความสะดวกการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 1 2555 เมื่อเดือนมิถุนายน 2555 ได้เห็นชอบให้ บขส. เป็นผูป้ ระกอบการเดินรถของ ายไทย และมอบ หมายให้ บริษัท นัทธกันต์ (กัมพูชา) จ�ากัด เป็น

ตั ว แทนในการเดิ น รถโดยสารประจ� า ทาง ระหว่างประเทศของกัมพูชา

4 ก.ค. 2548 ณ นครคุ น หมิ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน

กรรมการผู้จัดการใหญ่ บขส. กล่าวเพิ่ม เติมว่า เส้นทางกรุงเทพ อรัญประเทศ ปอย เปต เสียมราฐ มีระยะทาง 424 กิโลเมตร ใช้ เวลาเดินทาง 7 ชั่วโมง ด้วยรถมาตรฐาน 1 (ข) ายละ 2 คัน เดินรถ ายละ 2 เทีย่ วต่อวัน อัตรา ค่าโดยสารตลอดเส้นทาง 750 บาท หรือ 25 ดอลลาร์ ส หรั ฐ และเส้ น ทางกรุ ง เทพ อรัญประเทศ ปอยเปต พนมเปญ มีระยะทาง 719 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง 11 ชั่วโมง ด้วย รถมาตรฐาน 1 (ข) ายละ 2 คัน เดินรถ ายละ 1 เที่ยวต่อวัน อัตราค่าโดยสารตลอดเส้นทาง 900 บาท หรือ 30 ดอลลาร์สหรัฐ โดยทั้ง 2 เส้นทางนี้จะเปดเดินรถเที่ยว ปฐม กษ์ในวันที่ 29 ธันวาคม 2555 ทั้งนี้ เชื่อ ว่ า การเปดเดิ น รถโดยสารเส้ น ทางระหว่ า ง ประเทศในครั้งนี้จะช่วยส่งเสริมด้านการท่อง เที่ยว และกระตุ้นเศรษฐกิจของทั้ง 2 ประเทศ ให้ดียิ่งขึ้น สอบถามข้อมูลเดินทางเพิ่มเติมได้ที่ C ll Center 1490 ตลอด 24 ชั่วโมง “การเปดเดินรถครั้งนี้จะช่วยส่งเสริมด้าน การท่องเที่ยว และกระตุ้นเศรษฐกิจของทั้ง 2 ประเทศ และที่ส�าคัญเป็นการรองรับการเปด ประชาคมอาเซี ย น ในปี 2558” กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บขส. กล่าว กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บขส. ยังกล่าวอีก ว่า ก่อนหน้านี้ ประเทศไทย และประเทศกัมพูชา ได้ กษ์เปดด่านที่อรัญประเทศ ( ังไทย) หรือ ด่านปอยเปต ( งกั ั มพูชา) ซึง่ ถือเป็นการเดินรถ ขนส่งระหว่างประเทศของไทย กัมพูชา ด่าน แรก ทัง้ นี้ สืบเนือ่ งจากประเทศไทยและประเทศ กัมพูชาได้ลงนามร่วมกันในบันทึกความเข้าใจ เกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงว่าด้วยการขนส่ง ข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้าโขง หรือ G S Cross order r ns ort A reement ที่จุดผ่านแดนอรัญประเทศ ปอยเปต เมื่อวันที่

รวมถึงมีการลงนามบันทึกความเข้าใจว่า ด้วยการแลกเปลี่ยนสิทธิจราจรระหว่างประเทศ ที่จุดผ่านแดนอรัญประเทศ ปอยเปต เมื่อวันที่ 30 มี.ค. 2551 ณ กรุงเวียงจันทน์ สปป.ลาว โดย มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ อ� า นวยความสะดวกให้ ประเทศไทยและกัมพูชาสามารถขนสินค้าและ ผูโ้ ดยสารได้อย่างเป็นระบบ ซึง่ จะเป็นประโยชน์ ต่อการส่งเสริมการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้ง สองให้แน่นแ ้นยิ่งขึ้น โดยทั้ ง สอง ายเห็ น ชอบให้ ก� า หนด จ�านวนหนังสืออนุญาตขนส่งข้ามแดนระหว่าง ไทย กัมพูชา ที่จุดผ่านแดนอรัญประเทศ ปอย เปต ได้วันละไม่เกิน 40 ฉบับ หรือ 40 คันต่อวัน โดยก�าหนดเส้นทางเดินรถของไทยไว้ 2 เส้นทาง คื อ เส้ น ทางกรุ ง เทพ กบิ น ทร์ บุ รี สระแก้ ว อรั ญ ประเทศ และเส้ น ทางกรุ ง เทพ แหลม ฉบั ง พนมสารคาม กบิ น ทร์ บุ รี สระแก้ ว อรัญประเทศ ส่วนของประเทศกัมพูชา คือ เส้นทางปอย เปต ศรีโสภณ เปอสาต พนมเปญ นากหลวง บาเวต โดยระยะเริม่ ต้นของการด�าเนินการให้ใช้ โควตาประเทศละ 40 คัน โดยประเทศไทยจะมี รถบัสโดยสารจ�านวน 10 คัน และรถขนส่งสินค้า จ�านวน 30 คัน ส่วนของกัมพูชาจะใช้โควตา รถบัสโดยสารจ�านวน 30 คัน และรถขนส่งสินค้า จ�านวน 10 คัน ส�าหรับการเปดเดินรถระหว่างประเทศ ไทย กัมพูชา ถือเป็นการอ�านวยความสะดวก ประชาชนที่ ต ้ อ งการเดิ น ทาง และจะเป็ น ยุทธศาสตร์ทางการค้าที่ส�าคัญอีกด้วย ถึงแม้ ที่ ผ ่ า นมาไทย กั ม พู ช า อาจจะมี ป ั ญ หาทาง ชายแดนเกิดขึ้นก็ตาม [P]

The Power LOGISTICS

29


CSR

กับรางวัล

งค์” ัว จนักอนุรัก ์ CSR-DIW Award

ในเมือ่ “ความดี” และ “คน” กลายเป็นหัวใจความส�าเร็จของธุรกิจในโลกยุคนี้ จนไม่นา่ แปลกใจว่า ในปัจจุบนั ความสนใจในเรือ่ งของความรับผิดชอบต่อสังคม และสิง่ แวดล้อม ได้ขยายตัวอย่างมากในทุกๆ ภาคส่วน ไม่วา่ จะเป็นในหน่วยงาน ของภาครัฐ หรือเอกชน ต่างก็ให้ความสนใจ และด�าเนินกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ทีแ่ สดงถึงความใส่ใจ ห่วงใย ช่วยเหลือ และพัฒนาสังคมให้มคี วามเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ทัง้ สังคมภายในองค์กร สังคมโดยรอบข้าง สังคมระดับประเทศ และสังคมโลก โครงการสนับสนุนให้ผปู้ ระกอบการมีความ รับผิดชอบต่อสังคม (CS I ) คือเส้นทาง สูก่ ารรวมพลังอุตสาหกรรมไทยสร้างความรับผิด ชอบต่อสังคมอย่างเข้มแข็งโดยมีหัวใจหลักคือ การยกระดับและเพิ่มขีดความสามารถในการ ด�าเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ ผู ้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรม ตามเกณฑ์ มาตรฐานความรับผิดชอบของผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมต่อสังคม (CS I ) ของกรม โรงงานอุตสาหกรรม ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน สากล IS 26000 และเพื่อให้ผู้ประกอบการ อุ ต สาหกรรมมี ส ่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาสั ง คม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม และเพื่อการอยู่ร่วมกัน ระหว่างอุตสาหกรรมและชุมชนอย่างมีความสุข ส�าหรับ บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จ�ากัด หนึ่งในบริษัทกลุ่ม ปตท. ซึ่ง ปตท. ถือหุ้น 100 เป็นผู้เชี่ยวชาญในการน�าเสนอการให้บริการ ด้านท่าเรือและคลังจัดเก็บผลิตภัณฑ์ปโตรเคมี ตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง โดยด�าเนินงานอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม ที่เน้น CS มาโดยตลอด ได้ ก้าวไปอีกขั้นกับการคว้ารางวัลอุตสาหกรรม สีเขียว และรางวัล CS I Aw rd วิชา จุย้ ชุม หัวเรือใหญ่แห่ง“พีทที ี แทงค์” เขา ตระหนักดีว่าไม่เพียงเพื่อสร้างความมั่งคั่งของ ปตท. อีกหน้าที่ส�าคัญของเขาคือ สร้างความ มั่ น คงทางพลั ง งาน พั ฒ นาอุ ต สาหกรรม

30

The Power LOGISTICS

ปโตรเคมี ควบคู ่ กั บ การพั ฒ นาให้ กั บ ประเทศไทย รวมทั้งตอกย�้าความส�าคัญ ของท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้า วิ ช า จุ ้ ย ชุ ม กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ทั พีทที ี แทงค์ เทอร์มนิ ลั จ�ากัด เริม่ ต้นด้วยประโยคว่า “เราไม่สามารถท�าทุก อย่างได้ แต่เราท�าดีได้ในทุกๆ วัน ระยอง ไม่ใช่บา้ นของฉัน ระยองไม่ใช่บา้ นของเธอ แต่ระยองคือบ้านของเรา ไม่ว่าจะอยู่ใน ธุรกิจไหน เราก็มงุ่ สู่ “Green” ได้ เพียงแค่ “คิดดี ท�าดี” ท�าธุรกิจบนความรับผิดชอบ ต่อผู้คน สังคม และโลก สร้างสังคมน�้าดี ด้วยธุรกิจสีเขียว หัวใจของธุรกิจสีเขียว


เริ่มต้นที่การดูแลสวัสดิการพนักงานให้สามารถ ยืนได้ดว้ ยตนเอง โดยเลือกสร้างความยัง่ ยืนให้กบั การเติ บ ใหญ่ ข องพวกเขา ด้ ว ยแนวทางแห่ ง “Green” โดยไม่มองเพียงความส�าเร็จทางธุรกิจ แต่คา� นึงถึง “สังคม” ไปพร้อมกันด้วย” ความดี แ ละคนจะบรรจบพบกัน ตรงแกน หลัก คือ “พีทีที แทงค์” และคีย์ซัคเซส อยู่ที่การ เริ่ ม ต้ น ที่ ว งเล็ ก แล้ ว ค่ อ ยขยายจนกลายเป็ น วงกว้าง ทั้งนี้ทั้งนั้น ผู้บริหารระดับสูงต้องเป็น แบบอย่างที่ดี ด้ ว ยบุ ค ลิ ก ของผู ้ น� า ที่ มี เ สน่ ห ์ ความคิ ด สร้างสรรค์ ความเอาใจใส่ตอ่ ชุมชน ผูค้ นรอบข้าง เสมอมา หลายๆ ครั้ ง ในกิ จ กรรมสาธารณ ประโยชน์เพื่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมใน พื้นที่ จ.ระยอง ชื่อของ วิชา จุ้ยชุม ได้รับการ กล่าวถึงและเรียกหาเกือบทุกครั้ง เขาได้นา� พาผูบ้ ริหาร พนักงาน ร่วมพลังภาคี เครื อ ข่ า ยก้ า วสู ่ ชุ ม ชนในกิ จ กรรมด้ า น CS จิตอาสาหลากหลาย อาทิ กิจกรรมปลูกต้นไม้ โครงการระยองเมืองสีเขียว ทัง้ ในสวนสาธารณะ และในโรงงานอุ ต สาหกรรมให้ เ ป็ น ปอด ธรรมชาติ, ร่วมปลูกปาชายเลนบริเวณปากคลอง ชากหมาก ตากวน อ่าวประดู่ ซึ่งเป็นสายธาร ทีห่ ล่อเลีย้ งชีวติ ของชาวบ้านให้มสี ภาพแวดล้อม ดีขึ้น ต้นโกงกางขึ้นสอง ังคลอง มีต้นปีบและ สัตว์ทะเลมาอาศัยอยู่, ร่วมปล่อยพันธุ์สัตว์น�้า เฉลิมพระเกียรติ โครงการ “จับเป็นร้อย ปล่อย เป็ น ล้ า น” เพื่ อ ปลุ ก จิ ต ส� า นึ ก การอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล ล เขาบอกว่า

กิจกรรมดีๆ แบบนี้พร้อมสนับสนุนเต็มที่เพื่อให้ เกิดความยั่งยืนในอนาคต อย่างไรก็ดี ทุกๆ โครงการ CS ของ “พีทีที แทงค์” จะมีการวางแผนท�าอย่างต่อเนื่อง” ทุก โครงการเกิดจากจิตวิญญาณของผู้บริหารและ พนักงานทุกคนภายในองค์กร นายวิชากล่าวว่า อยูท่ ไี่ หนก็ตอ้ งด�าเนินธุรกิจด้วย ความเป็นธรรม และต้องอยู่บน ความสมดุลระหว่างธุรกิจ สิ่ง แวดล้อม และสังคม ตนเองเชื่อ ว่าอุตสาหกรรมสามารถอยูร่ ว่ ม กับชุมชนได้ ทีผ่ า่ นมา “พีทที ี แทงค์” ได้ สนับสนุนชุมชนอย่างสม�า่ เสมอ ทัง้ ด้านการศึกษา คุณภาพชีวติ สิง่ แวดล้อม และสานสัมพันธ์กบั หน่วยงานต่างๆ พร้อมสนับสนุน ชุมชนเข้มแข็ง ทั้งโรงเรียน วัด มัสยิด และหน่วยงานราชการ รวมทัง้ ภาคเอกชน ทั่วไป เพื่อแสดงถึงความจริงใจ รับใช้ต่อสังคม สร้างความผูกพันเข้มแข็ง ร่วมสร้างชุมชนยัง่ ยืน พร้อมกันนั้น ในรอบขวบปีที่ผ่านมา พนักงาน บริษทั ได้ลงพืน้ ทีร่ ว่ มกับชุมชนถึง 350 กิจกรรม บริษทั ได้ทา� CS ควบคูก่ บั การด�าเนินธุรกิจเพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืนในอนาคต นายวิชา กล่าวอีกว่า บริษทั มียทุ ธศาสตร์ใน การบริหารงานก็คอื ใช้หลักการสร้างพลังร่วม มี ความเป็นเลิศของผลงาน ส่งเสริมนวัตกรรม ใหม่ ๆ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและสิ่ ง

แวดล้อม มีความซื่อสัตย์ ถือมั่น และจริยธรรม มีความไว้วางใจและการนับถือซึ่งกันและกัน โดยจะด�าเนินธุรกิจให้มกี า� ไรในอัตราทีเ่ หมาะสม สร้ า งความพอใจให้ กั บ ลู ก ค้ า บริ ก ารระดั บ มาตรฐานสากล และจะเสริมสร้างการพัฒนา ศักยภาพอย่างมืออาชีพให้กับพนักงาน และให้ พนักงานมีความเป็นอยู่ที่ดีเทียบเท่ากับบริษัท

อื่นๆ ในกลุ่ม ปตท. “เราตระหนักถงความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ สังคมอยูเ่ สมอ โดยปลูก งจิตส�านก ในเรือ่ ง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ให้เกิดขนในบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนือ่ ง และถือเป็นนโยบายหลักที่ให้ความส�าคั กั บ กิ จ กรรมของชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดจนท�าความเข้าใจสื่อสารต่อสังคมถง ข้อเทจจริง เพราะ “พีทีที แทงค์” เป็นบริ ัท ของคนไทย จงต้องการให้คนไทยได้รบั สิง่ ที่ ดีที่สุด และรัก าไว้ให้คนรุ่นต่อไป” [P]

The Power LOGISTICS

31


Special Report

โดย : ชย

น์ เ

AEC ติด ก นส ทา ากาศ นหนา

กำรขนส่งทำงอำกำศเปนภำคกำรขนส่งที่มีบทบำทและได้รับควำมนิยมสูง ทั้งนี้ เนือ่ งมำจำกรูปแบบของกำรขนส่งทำงอำกำศเปนกำรขนส่งทีส่ ะดวก รวดเรว ประหยัด เวลำ และปลอดภัยกว่ำ เมื่อเปรียบเทียบกับกำรขนส่งรูปแบบอื่น ในหลายประเทศ การขนส่งทางอากาศ ถือได้ว่าเป็นกิจการสาธารณูปโภคประเภทหนึ่ง ทีม่ คี วามส�าคัญและจ�าเป็นต่อการด�ารงชีวติ ของ ประชาชน และเป็ น หน้ า ที่ ที่ รั ฐ จะต้ อ งจั ด หา บริ ก ารดั ง กล่ า วให้ แ ก่ ป ระชาชน ส� า หรั บ ประเทศไทย การขนส่ ง ทางอากาศนอกจาก

32

The Power LOGISTICS

จะเป็นกิจการสาธารณูปโภคประเภทหนึ่งแล้ว ยังจัดเป็นหนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานที่มีบทบาท ส�าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดย เฉพาะต่ อ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย ว การ ส่งออก การค้าการลงทุนของประเทศ รวมตลอด ถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

อีกทั้งการขนส่งทางอากาศไม่ว่าจะเป็น ภายในประเทศหรือระหว่างประเทศสามารถ แบ่งบริการออกได้เป็น 2 ประเภท กล่าวคือ การ บริการแบบประจ�า และแบบไม่ประจ�า ซึ่งจะมี นโยบายในการก�ากับดูแลที่แตกต่างกันไป โดย ปกติ ก ารบริ ก ารแบบไม่ ป ระจ� า หรื อ ที่ รู ้ จั ก กั น ในนามของเที่ยวบินเช่าเหมา จะมีระดับการ ควบคุ ม ก� า กั บ ดู แ ลที่ เ ข้ ม งวดมากกว่ า บริ ก าร แบบประจ�า ซึ่งแต่ละรัฐจะใช้ดุลพินิจในการ พิจารณาอนุญาตเป็นกรณีๆ ไป โดยค�านึงถึง ปริมาณความต้องการในแต่ละช่วงเป็นหลัก ในขณะที่ ก ารขนส่ ง ทางอากาศแบบ ประจ�าระหว่างประเทศนั้น แต่ละรัฐจะต้องมา ท�าความตกลงระหว่างกัน ทั้งในรูปแบบของ ความตกลงทวิ ภ าคี หรื อ พหุ ภ าคี เพื่ อ แลก เปลี่ยนสิทธิการบินระหว่างกัน โดยความตกลง ที่จัดท�าขึ้นนี้ จะเป็นกรอบพื้นฐานส�าหรับการ อนุญาตการท�าการบินแบบประจ�าระหว่างกัน ล่ า สุ ด กรมการบิ น พลเรื อ น ได้ จั ด การ ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารในหัวข้อ “การเตรียมความ พร้อมด้านการขนส่งทางอากาศ เพื่อรองรับการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน” โดย “THE Power LOGISTICS ได้ มี โ อกาสสั ม ภาษณ์ “นาย วรเดช หา ประเสริ ” อธิบดีกรมการบิน พลเรื อ น หรื อ บพ. ถึ ง แผนการเตรี ย ม ความพร้อมในการเข้าสู่ A C ปี 2558 ต้องมา ติดตามกัน อธิบดีกรมการบินพลเรือน เปดผยว่า ใน การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน หรือ A C ในปี 2558 นั้ น บพ. มี ก ารเตรี ย มพร้ อ มในเรื่ อ ง ดั ง กล่ า ว โดยจะมี ก ารปรั บ ปรุ ง บทบาทและ โครงสร้างองค์กรของภาครัฐในฐานะผู้ก� ากับ


วรเดช หาญประเสริฐ อธิบดีกรมการบินพลเรือน ดูแลด้านเศรษฐกิจในกิจการขนส่งทางอากาศ พร้ อ มทั้ ง การปรั บ ปรุ ง กฎหมาย กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ของภาครัฐ นอกจากนี้ บพ. ยั ง เตรี ย มการพั ฒ นา ท่ า อากาศยานภู มิ ภ าคของ บพ. เพื่ อ รองรั บ A C ทั้ง 6 แห่ง เพื่อรับการเชื่อมต่อการเดินทาง กับประเทศต่างๆ ในอาเซียน ประกอบด้วย การ ก่อสร้างท่าอากาศยานเบตง จังหวัดยะลา เพื่อ เปดพื้นที่เชื่อมต่อการเดินทางของคนในจังหวัด ชายแดนใต้ ใช้งบประมาณ 1,000 ล้านบาท

คาดด� า เนิ น การเสร็ จ ภายในปี 2558 ท่ า อากาศยานแม่ ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ใช้งบ ประมาณ 1,000 ล้านบาท ในการขยายรันเวย์ และสร้างอาคารผู้โดยสารหลังใหม่ คาดใช้เวลา ปรับปรุงภายใน 3 ปี ขณะที่ท่าอากาศยานนครราชสีมา ใช้งบ ประมาณ 400 ล้านบาท ขยายรันเวย์เป็น 2,500 เมตร เพื่อให้สามารถรองรับเครื่องบินขนาด ใหญ่ ไ ด้ ท่ า อากาศยานอุ บ ลราชธานี ใช้ ง บ ประมาณ 300 ล้านบาท ปรับปรุงลานจอด ทาง ขับเพิ่มความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร และเครื่องบินขนาดใหญ่ เช่น โบอิ้ง 747 ท่า อากาศยานอุดรธานี ใช้งบประมาณ 270 ล้าน บาท ปรับปรุงอาคารผู้โดยสารภายใน 2 ปี และ ท่าอากาศยานนราธิวาส ขณะนี้พร้อมใช้งาน โดยไม่ต้องปรับปรุง ส�าหรับการพัฒนาท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งนั้น สอดรับกับนโยบายของรัฐบาลในการ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการเชื่ อ มต่ อ การเดิ น ทางของ คนในอาเซียน ขณะเดียวกันเสนอว่าการพัฒนา ท่าอากาศยานเพียงอย่างเดียวคงไม่เพียงพอต่อ การเป็นศูนย์กลางขนส่งทางอากาศของเออีซี “เรามั่นใจว่าจะสามารถแข่งขันในตลาด A C ได้ โดยเรามีความได้เปรียบในภูมิภาคนี้ เพราะเรามีโครงสร้างพื้นฐานที่รองรับ พร้อมทั้ง

การพัฒนาอากาศยานภูมิภาคของ บพ. เพื่อ รองรั บ A C โดยเรื่ อ งของระบบปฏิ บั ติ ก าร และสายการบินที่เข้มแข็ง ท�าให้เราไม่กลัวใน เรื่องนี้ แต่สิ่งที่เป็นห่วง คือ การลงทุนของต่าง ประเทศ” อธิบดีกรมการบินพลเรือน กล่าว ดังนั้น การจะดึงสายการบินให้เข้ามาใช้ บริการท่าอากาศยานต่างๆ ของไทย จ�าเป็นต้อง เพิ่มสิทธิประโยชน์ต่างๆ ให้กับสายการบินเพื่อ จู ง ใจ พร้ อ มปรั บ ระบบการบริ ก ารภายใน ท่าอากาศยานให้ผู้โดยสารใช้เวลาการเข้า ออก ไม่เกิน 1 ชั่วโมง จากปัจจุบันใช้เวลานานเกือบ 3 ชั่วโมง ส�าหรับความคืบหน้าการเจรจาปรับกฎ ระเบียบการเปดเสรีการบินกับประเทศต่างๆ ใน อาเซียน อธิบดีกรมการบินพลเรือน กล่าวว่า ที่ ผ่านมาประสบความส�าเร็จในการเจรจาแบบ พหุภาคีกับอีก 9 ประเทศในอาเซียน ซึ่งคาดว่า ทุกประเทศจะสามารถให้สัตยาบรรณการเปด เสรีขนส่งทางอากาศอาเซียน โดยไม่จ�ากัดจุด บิน ไม่จ�ากัดจ�านวนเที่ยวบิน และความถี่เที่ยว บินได้ก่อนเปด A C ปี 2558 แม้ว่าขณะนี้ยังมี อี ก 3 ประเทศ ที่ ยั ง มี ป ั ญ หาเรื่ อ งมาตรฐาน ทางการบิน เช่น อินโดนีเซีย ลิปปนส์ และลาว แต่ทั้งหมดก็ก�าลังพยายามแก้ไขปัญหา คาดว่า จะทันภายในปี 2558 [P]

The Power LOGISTICS

33


CEO Talk

โดย : นพ

ุ รร ด

วัลลภ มานะธัญญา

แตกไลนขาวหงษทอง เ ด BSCM Foods หลังจากทีป่ ระสบความส�าเรจในการผลิต และจ�าหน่าย “ข้าวหง ท์ อง” ใน านะ ผูน้ า� ตลาดข้าวหอมมะลิทงในประเท ั และต่างประเท “วัลลภ มานะธั า” ประธาน กรรมการบริหาร กลุ่มบริ ัท บาง ื่อโรงสีไ เจียเม้ง จ�ากัด ่งเป็นเจเนอเรชั่นที่ ของตระกูล “มานะธั า” ได้ใช้วนั ที่ 2 2 2 เป็น ก ง์ ามยามดีในการขยายกิจการ เปิดบริ ทั บีเอส เี อม ดู ส์ จ�ากัด โรงงานผลิตอาหาร และเครือ่ งดืม่ ส�าเรจรูป ประเดิมผลิต และจัดจ�าหน่ายข้าวกล้องพร้อมรับประทาน ตราหง ์ทอง ที่จ�าหน่ายในประเท และตรา ส�าหรับการวางจ�าหน่าย ต่างประเท ทังยังมีเครื่องดื่มน�านมข้าวตรา

34

The Power LOGISTICS

การขยายกิจการดังกล่าว นายวัลลภ ให้ เหตุผลว่า เป็นการขยายตลาดในวงการธุรกิจ ข้าว อย่างครบวงจร กลุ่มบริษัท บางซื่อโรงสีไ เจียเม้ง จึงได้เปด บริษัท บีเอสซีเอ็ม ูดส์ จ�ากัด หรือ SC oods เพื่อรองรับบทบาทในการ แตกแขนงกิจการไปสู่ธุรกิจข้าวยุคใหม่ จาก ธุ ร กิ จ การผลิ ต บรรจุ ข ้ า วสารชั้ น ดี ไปสู ่ ธุ ร กิ จ แปรรูปข้าว และการผลิตอาหารเพื่อสุขภาพ ด้วยกรอบความคิดหลัก 3 ประการ ได้แก่ สินค้า ที่ต่อยอดมาจากวัตถุดิบข้าวไทยที่มีชื่อเสียง สินค้าทีเ่ น้นเรือ่ งสุขภาพของผูบ้ ริโภค และสินค้า ที่ เ ป็ น นวั ต กรรมใหม่ ส ามารถตอบโจทย์ ก าร ใช้ชีวิตในปัจจุบัน ดังนัน้ สินค้าทีท่ าง SC oods พัฒนา ขึ้ น จึ ง ครอบคลุ ม ทั้ ง ในส่ ว นของสิ น ค้ า ที่ เ ป็ น อาหารพร้อมรับประทาน และเครื่องดื่มที่มีผลดี ต่อสุขภาพ ได้แก่ ข้าวกล้องพร้อมรับประทาน e dy ice ตราหงษ์ ท อง ที่ จ� า หน่ า ยใน ประเทศ โดยมองว่าเป็นสินค้าที่ตอบโจทย์ และ ตรงกับความต้องการของพ ติกรรมผู้บริโภค ที่ต้องการความสะดวกของการใช้ชีวิตในสังคม ที่เร่งรีบได้ดี และยังสามารถต่อยอดผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้องการได้อีกหลากหลาย นอกจากนี้ ยังมีข้าวกล้องพร้อมรับประทานตรา Goodis ส� า หรั บ การวางจ� า หน่ า ยในต่ า ง ประเทศ รวมถึงเครื่องดื่มน�้านมข้าวตรา re ill และเครื่องดื่มที่ให้พลังงานจากข้าวตรา nere นายวัลลภ กล่าวต่อว่า ได้ท�าการแบ่ง


สัดส่วนช่องทางการจัดจ�าหน่ายสินค้า ส�าหรับตลาดภายในประเทศจะอยู่ที่ประมาณ 35 และส�าหรับตลาดต่างประเทศจะอยู่ที่ประมาณ 65 ซึ่งในส่วนของการท�า ตลาดในต่างประเทศ บริษัทเลือกที่จะใช้วิธีการจัดจ�าหน่ายใน odern r de เพื่อที่จะสามารถจัดโปรโมชั่น การให้ข้อมูลของสินค้ากับผู้บริโภคได้อย่าง สะดวก ทั้งนี้ ช่องทางในการจัดจ�าหน่ายจะเป็นช่องทางเดียวกับสินค้าข้าวสาร ตราหงษ์ทอง ซึ่งเป็นสินค้าของบริษัทแม่ และจะเน้นในเขตพื้นที่กรุงเทพ และ ปริมณฑลก่อน นอกจากนี้ จะมีการมุ่งเน้นการขายใน Convenient Store โดย จะเริ่มกระจายตัวสินค้าออกสู่ภูมิภาค เน้นพื้นที่จังหวัดใหญ่ๆ อาทิ เชียงใหม่ ชลบุรี ภูเก็ต สงขลา หรือเกาะสมุยนอกจากนี้ จะมีแนวทางในการเปดร้านจ�าหน่าย สินค้าร่วมกับบริษทั แม่เพือ่ จัดจ�าหน่ายสินค้าทัง้ ประเภททีเ่ ป็นข้าวสารตราหงษ์ทอง และสินค้าของ SC oods ซึ่งหากการกระจายหรือจัดจ�าหน่ายสินค้าของทั้ง 3 ระยะได้รับการตอบรับที่ดี ผลประกอบการมาออกมาน่าจะเป็นไปตามสัดส่วนของ ตลาดภายในประเทศที่วางเอาไว้อยู่ที่ 90 ล้านบาท ส่วนตลาดต่างประเทศ จะมุ่งไปยังตลาดผู้บริโภคที่นิยมการบริโภคเกี่ยวกับ สิ น ค้ า เพื่ อ สุ ข ภาพเป็ น หลั ก เช่ น สหรั ฐ อเมริ ก า ยุ โ รป กลุ ่ ม ประเทศสหราช อาณาจักร และกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย เป็นต้น โดยวางแผนการตลาด ออกเป็น 2 กลุ่มลูกค้า ได้แก่ ผู้ซื้อรายย่อยที่มีตราสินค้าเป็นของตัวเอง และ ผูซ้ อื้ ทีม่ สี ว่ นแบ่งทางการตลาดชัดเจน มีตราสินค้าทีม่ อี ทิ ธิพลต่อผูซ้ อื้ ในตลาด โดยวางสัดส่วนตลาดต่างประเทศไว้ที่ 160 ล้านบาท “สหรัฐอเมริกา และยุโรป ถึงแม้จะยังมีปัญหาด้านเศรษฐกิจแต่ก็ เป็นกลุ่มประเทศที่มีก�าลังซื้อ แม้จะมีไม่มากเท่าเมื่อก่อน แต่ก็ยังมีออร์เด อร์เข้ามาเรื่อยๆ” นายวัลลภ กล่าว อย่างไรก็ตาม การเปด บริษัท บีเอสซีเอ็ม ูดส์ จ�ากัด ทางบริษัท แม่ได้ใช้งบประมาณกว่า 100 ล้านบาท บนพืน้ ทีก่ ว่า 10,000 ตารางเมตร สามารถรองรับการแปรรูปข้าวได้ถึง 3,000 ตันต่อปี “กลยุทธ์ในปี 2556 ทางบริษทั จะเน้นการสร้างฐานลูกค้าในกลุม่ ข้าวระดับสูงต่อไป รวมถึงคุณภาพของสินค้าและการเสริมสร้าง แบรนด์อย่างต่อเนื่อง อีกทั้งการจ�าหน่ายออกสู่นอกประเทศก็เป็น ส่วนส�าคัญในการท�าให้กิจการเติบโตไปได้ดีอย่างที่ตั้งเป้าไว้ เพราะ ถึงแม้ข้าวของเราจะแพงกว่าที่อื่น แต่เรื่องคุณภาพเราก็สูงกว่าด้วย เช่นกัน ส่วนเป้ารายได้ของทัง้ เครือบริษทั ในปีหน้า น่าจะเติบโตอยูท่ ี่ ประมาณ 30 ” นายวัลลภ กล่าวในตอนท้าย [P]

ลล มา า ประธานกรรมการบริ าร กลุ่มบริษัท บา อโร ไ เจยเม จ�ากัด

The Power LOGISTICS

35


GURU IDEA

กร ก าการ ร ยุกต์ โลจิสติกส์ กับการ ่องเ ่ยวบนเกา ส ัง

บทน�า

ผ ม ไ ด ้ เ ข ้ า ป ร ะ ชุ ม ส ภ า วิ ช า ก า ร ข อ ง มหาวิทยาลัยแห่งหนึง่ ในกรุงเทพ ซึง่ ขออนุญาต ไม่เอ่ยนามนะครับ หลังจากที่ได้ ังท่านผู้ทรง คุณวุฒิหลายท่านได้อธิบายว่าเราจะสร้างความ โดดเด่นของมหาวิทยาลัยแห่งนีไ้ ด้อย่างไร ซึง่ ก็ได้ แง่ คิ ด และความรู ้ ห ลายด้ า นครั บ แต่ ใ นห้ อ ง ประชุมซึง่ ผูท้ รงคุณวุฒทิ เี่ ข้าร่วมประชุมส่วนใหญ่ ล้วนแต่เป็นศาสตราจารย์ทั้งสิ้น แถมอายุแต่ละ ท่านก็น่าจะเกิน 60 ปี ซึ่งสะท้อนถึงความเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิจริงๆ ครับ ต้องขอชมเชยสถาบันว่า สามารถหาผู้มีความรู้ความสามารถได้เก่งมาก

36

The Power LOGISTICS

ประเด็ น คื อ ท่ า นเหล่ า นี้ ก็ ไ ด้ พู ด เกี่ ย วกั บ การ ปรั บ ปรุ ง แต่ ล ะสาขาวิ ช าให้ ต อบสนองและ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของประเทศ โดย เฉพาะ A C ส่วนผมซึ่งดูเหมือนจะเป็นเด็กน้อย ที่ สุ ด ทั้ ง ในเชิ ง ต� า แหน่ ง ทางวิ ช าการและอายุ อานาม ผมก็ คิ ด เช่ น นั้ น แต่ ผ มคิ ด ว่ า หลาย มหาวิ ท ยาลั ย มั ก จะสร้ า งความโดดเด่ น เป็ น สาขาๆ เช่น ถ้าพูดถึงในเชิงแพทยศาสตร์หรือ สาธารณสุข เรามักคิดถึงมหาวิทยาลัยมหิดล ถ้า ด้านวิศวกรรม เรามักจะนึกถึง มจธ. ลาดกระบัง หรือเกษตรศาสตร์ เป็นต้น แต่มักไม่ค่อยจะมี มหาวิทยาลัยที่จะบูรณาการสาขาวิชาแล้วสร้าง

ความโดดเด่นของสาขาเหล่านั้น เช่น บูรณาการ สาขาโลจิสติกส์กับการท่องเที่ยว หรือสาขาวิศว กรรมศาสตร์กบั การตลาด หรือสาขาโลจิสติกส์กบั การแพทย์หรือสาธารณสุข เป็นต้น ทัง้ นี้ ในบทความนี้ ผมจะเขียนถึงเราจะบูรณ าการศาสตร์ด้านโลจิสติกส์เข้ากับการท่องเที่ยว ได้อย่างไร และถ้าเราบูรณาการได้แล้วจะก่อให้ เกิ ด การจั ด การการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ห รื อ เชิ ง นิ เ วศน์ ที่ ยั่ ง ยื น ได้ อ ย่ า งไร โดยในปั จ จุ บั น อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วได้เติบโตและส่งผลต่อ เนื่องถึงธุรกิจอื่นๆ จนกลายเป็นคลัสเตอร์ใหญ่ ของประเทศ และกลายมาเป็ น รายได้ ห ลั ก ที่


รศ.ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ์ ศูนย์วิจัยโลจิสติกส์และการจัดการ มหาวิทยาลัยบูรพา Taweesak99@hotmail.com

ส�าคัญในระบบการค้าระหว่างประเทศ และใน หลายประเทศ อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วเป็ น อุตสาหกรรมที่มีความส�าคัญอยู่ในระดับที่ 1 3 ของ 10 อันดับแรกในอุตสาหกรรมส�าคัญของประ เทศนัน้ ๆ อีกด้วย ข้อเท็จจริงดังกล่าวนี้ สอดคล้อง กับความเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ไทย ซึ่งในรอบทศวรรษที่ผ่านมา รายได้จาก อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วอยูใ่ นล�าดับ 1 หรือ 2 มา โดยตลอด เมือ่ เปรียบเทียบกับรายได้จากการส่ง สิ น ค้ า ออกอื่ น ๆ ดั ง นั้ น ความส� า เร็ จ ที่ จ ะน� า อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วของประเทศไทยไปสูค่ วาม มีคุณภาพและความเป็นเลิศได้ ย่อมขึ้นอยู่กับ พลังขับเคลือ่ นทีเ่ ข้มแข็ง มีโครงข่ายและระบบงาน ทีด่ แี ละมีคณ ุ ภาพ จึงจะสามารถสร้างผลประโยชน์ สูงสุดให้กบั ประเทศชาติและประชาชนได้ ในงานวิจัยหรือวิชาการที่น่าสนใจเรื่องหนึ่ง คือ เราจะน�าระบบโลจิสติกส์มาใช้กับการท่อง เที่ ย วได้ อ ย่ า งไร ซึ่ ง จะต้ อ งหาพื้ น ที่ ท ่ อ งเที่ ย ว ต้นแบบทีจ่ ะน�าเอาหลักการโลจิสติกส์มาประยุกต์ ใช้ ซึ่งผมขอเสนอให้ใช้แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัด ชลบุรี ซึง่ ถือเป็นอีกจังหวัดหนึง่ ทีม่ แี หล่งท่องเทีย่ ว ที่ส�าคัญและมีอัตรานักท่องเที่ยวสูงเป็นอันดับ ต้นๆ ของประเทศ เป็นหนึ่งในจังหวัดที่มีรายได้ จากการท่องเที่ยวสูงที่สุด 10 อันดับแรกของ ประเทศไทย (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 2555) ขณะที่เกาะสีชัง เป็นเกาะที่อยู่บริเวณ ก้นอ่าวไทย มีระยะทางห่างจากชาย ั งอ�าเภอ ศรี ร าชา จั ง หวั ด ชลบุ รี ไปทางทิ ศ ตะวั น ตก ประมาณ 12 กิโลเมตร ประกอบด้วย เกาะสีชัง และเกาะบริวารน้อยใหญ่อกี 8 เกาะ คือเกาะยาย ท้าว เกาะค้างคาว เกาะท้ายตาหมื่น เกาะขาม ใหญ่ เกาะขามน้อย เกาะสัมปันยือ้ เกาะปรง และ เกาะร้ า นดอกไม้ อยู ่ ใ นเขตการปกครองของ อ�าเภอเกาะสีชัง มี 7 หมู่บ้าน บริหารจัดการโดย เทศบาลต�าบลเกาะสีชงั โดยแหล่งท่องเทีย่ วแต่ละ แห่งมีความสวยงามและมีลักษณะที่โดดเด่น ส�าหรับการเดินทางท่องเทีย่ วบนเกาะ ถ้าเดิน ทาง จากกรุงเทพ มายังเกาะสีชัง ขึ้นรถจาก สถานีขนส่งเอกมัยไปศรีราชา โดยลงรถที่หน้า

ห้างโรบินสันศรีราชา แล้วต่อรถมอเตอร์ไซค์รบั จ้าง หรือสามล้อเครื่องมายังท่าเรือจรินทร์ บริเวณ ท่าเรือจรินทร์ ถนนเจิมจอมพล ในอ�าเภอศรีราชา มี เ รื อ โดยสารไปเกาะสี ชั ง ทุ ก วั น ระหว่ า งเวลา 07.00 20.00 น. ออกทุก ๆ ชั่วโมง ใช้ระยะเวลา ประมาณ 45 นาที อัตราค่าโดยสารคนละ 20 บาท และจากเกาะสี ชั ง มี เ รื อ บริ ก ารข้ า มมายั ง ั ง ศรีราชา ตั้งแต่เวลาประมาณ 06.00 18.00 น. มี เรือออกทุกๆ ชัว่ โมง เนือ่ งจากสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วบน เกาะสีชังอยู่ห่างกันพอสมควร ดังนั้น การเดินทาง ที่สะดวกควรจะเช่ารถสามล้อเครื่องจากท่าเทียบ

เรือไปชมสถานที่ต่าง ๆ ใช้เวลาประมาณชั่วโมง เศษก็เที่ยวได้ทั่วเกาะ โดยค่าเช่ารถสามล้อเครื่อง คิดเป็นรอบ รอบละประมาณ 150 250 บาท ขึ้น อยู่กับระยะเวลาและระยะทาง เกาะสีชังมีจ�านวนนักท่องเที่ยวมาเยือนใน แต่ละวัน พบว่าในช่วงที่ไม่ใช่ ดูการท่องเที่ยว ( ow Se son) มีนักท่องเที่ยวประมาณวันละ 2,000 3,000 คน และช่วง ดูการท่องเทีย่ ว ( i Se son) มีนักท่องเที่ยวประมาณวันละมากกว่า 6,000 คน ซึ่งถือเป็นตัวเลขที่สูงพอสมควร โดย เฉพาะนักท่องเทีย่ วจากกรุงเทพ และชาวต่างชาติ โดยเฉพาะช่วงที่เกาะสีชังมีงานเทศกาลส�าคัญ

อย่างไรก็ตาม ในช่วงทีผ่ า่ นมา การเติบโตและการ ขยายตัวของเกาะสีชังมีอัตราสูงกว่าอัตราการ พั ฒ นา ท� า ให้ ช ่ ว งที่ ผ ่ า นมา การท่ อ งเที่ ย วบน เกาะสีชังด�าเนินการอย่างไร้ทิศทาง กล่าวคือ ช่วง ที่มีอุปสงค์การท่องเที่ยวสูง ระบบสาธารณูปโภค และสิ่งอ�านวยความสะดวกต่างๆ อาทิ เรือข้าม าก ที่พัก รถยนต์ และรถมอเตอร์ไซค์ เป็นต้น มี ไม่เพียงพอกับความต้องการ ส่วนในช่วงที่ไม่มีนัก ท่ อ งเที่ ย ว จะเกิ ด ความสู ญ เปล่ า กั บ ระบบ สาธารณูปโภคและสิ่งอ�านวยความสะดวก นอกจากนี้ ปัญหาที่เกิดจากการจัดการระบบ ขนส่งระหว่าง ังศรีราชา และเกาะสีชัง เริ่มส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศทางทะเล เนื่องจากมีการใช้เรือสปีดโบตเป็นพันเที่ยวต่อวัน รวมทั้งการปล่อยของเสียจากเรือเ อร์รีและเรือส ปีดโบตก็สร้างปัญหาเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจ�าเป็นต้อง ศึกษารูปแบบและแนวทางการขนส่งทางเลือกอืน่ ๆ นอกจากนี้ เกาะสี ชั ง ยั ง มี ป ั ญ หาเกี่ ย วกั บ การ จัดการเครือข่ายการขนส่งนักท่องเทีย่ วบนเกาะอีก ด้วย กล่าวคือขาดการบูรณาการแหล่งท่องเที่ยว ต่างๆ รวมทั้งการก�าหนดราคาค่าบริการที่ยังขาด มาตรฐานเดียวกัน ท�าให้สง่ ผลกระทบต่อความพึง พอใจกับนักท่องเทีย่ ว และน�าไปสูก่ ารกลับมาเทีย่ ว ซ�้าและบอกต่อไปยังเครือข่ายเพื่อนและพี่น้อง ปัญหาที่ส�าคัญอีกประการหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นจาก การที่ไม่มีการจัดการการท่องเที่ยวเชิงโลจิสติกส์ คือ ขยะที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยว โดยทั่วไป นัก ท่องเที่ยวหนึ่งคนจะผลิตขยะประมาณ 0.5 0.8 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน ดังนั้น เมื่อนักท่องเที่ยวมี จ�านวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่พีค หรือ ช่วงที่มีการท่องเที่ยวในเทศกาลส�าคัญ ท�าให้ จ� า นวนขยะเพิ่ ม มากขึ้ น ทั้ ง นี้ โดยปกติ อ� า เภอ เกาะสีชัง มักจะใช้การขนส่งทางเรือ เพื่อส่งกลับ มา งั กลบที่ งศรี ั ราชา ท�าให้เกิดปัญหามลพิษทาง ทะเล กลิ่น แมลงวัน และทัศนียภาพที่ไม่น่าดู จึง จ�าเป็นต้องมีการศึกษารูปแบบและแนวทางในการ ลดและก�าจัดขยะแบบไร้มลพิษและครบวงจร โดย มีต้นทุนการบริหารจัดการที่ประหยัดและง่ายต่อ การด�าเนินการ อ่านต่อฉบับหน้า...

The Power LOGISTICS

37


Logistics Trade โดย : พน ิพา ุ เพชร

วิชั่น “ศรีรัตน รัษฐปานะ” 8 ยุทธศาสตรสูประตูการคา AEC การสงออกถือวาเปนรายไดหลักของประเทศไทยมาอยางยาวนาน กรมสงเสริม การคาระหวางประเทศ (กรมสงเสริมการสงออก) จึงเปรียบเสมือนฝายการตลาด ของประเทศไทย แตจากภาวะความเปลีย่ นแปลงของโลก หรือโลกาภิวตั น ทีม่ กี าร เปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ประเทศไทยตองมีการปรับตัวมากขึน้ บาทบาทใหมของ กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ จึงมิใชแคดูแลผูสงออกเทานั้น แตตอง ปรับบทบาทใหสอดคลองกับการเปลีย่ นแปลงดังกลาว รีรตั น์ รั ปานะ อธิบดีกรมส่งเสริม การค้าระหว่างประเท ได้กล่าวถึงวิสัยทัศน์ ในการพั ฒ นากรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า ง ประเทศ ว่า ในข้อเท็จจริงแล้วว่าการส่งออกก็ยงั ถือว่าเป็นรายได้หลักของประเทศ โดยมีสัดส่วน ราว 60 ของ จีดีพี ซึ่งหลังจากที่รัฐบาลได้มี นโยบายลดการพึ่ ง พาการส่ ง ออก และเพิ่ ม บทบาทหน้าที่ให้กับกรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ ซึ่งจะต้องมาดูแลการน�าเข้าวัตถุดิบ เพื่อผลิตส่งออกด้วยก็ถือว่าเป็นเซสชั่นใหม่ ดั ง นั้ น งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น มาคื อ กรมจะต้ อ ง เข้าไปมีบทบาทมากขึ้นในการกระตุ้นเศรษฐกิจ การส่งเสริมผูป้ ระกอบการไปลงทุน การจ้างงาน ในประเทศ แต่ อ ย่ า งไรก็ ต าม ก็ ยั ง ต้ อ งดู แ ล ในเรือ่ งของการส่งออกด้วย ซึง่ ก็เชือ่ ว่าภาคส่งออก ก็คงยังมีความส�าคัญไปอีกอย่างน้อย 5 10 ปี ส�าหรับกรณีของการค้าระหว่างประเทศ ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A C) นัน้ อธิบดี กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กล่าวว่า ก็จะต่อยอดจากความตกลงทีม่ อี ยู่ เช่น อาเซียน 3, อาเซียน 6 ซึง่ งานทีก่ รมจะต้องท�าก็คอื การ สร้างผู้ประกอบการ S s ไทย ให้มีความ เข้มแข็ง ซึ่งเมื่อมีการเปดเออีซี ก็จะเป็นโอกาส แข่งขัน และเติบโตได้ “เราจะโ กั ส ไปที่ S s โดยเฉพาะ

38

The Power LOGISTICS

S s ขนาดกลางที่มีโอกาสสูงมากที่จะโต เรา ก็จะใช้วิธีในการสร้างเน็ตเวิร์ก จับคู่ธุรกิจกับ คู่ค้าในประเทศต่างๆ ซึ่งการแข่งขันเองก็จะ เป็ น การสร้ า งให้ เ กิ ด การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ของ ผู้ประกอบการไทยด้วย” คุณศรีรัตน์ กล่าว คุณศรีรัตน์ กล่าวว่า กรมมองในเรื่องการ เข้าไปลงทุนในต่างประเทศเป็นเรื่องของโลกา ภิวัตน์ ที่เป็นไปตามกระแสของโลก ซึ่งปัจจุบัน ประเทศไทยต้องยอมรับว่าเราขาดแคลนวัตถุดบิ ในการขยายอุตสาหกรรม ดังนั้น บทบาทใหม่ที่ กรมจะต้องไปดูแลในเรื่องของการน�าเข้าก็อาจ เข้าไปช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ เช่น การประสานงาน กั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ เพื่ อ ขอลดภาษี น� า เข้ า ในสิ น ค้ า บางตั ว เพื่ อ ช่ ว ยลดต้ น ทุ น ของ ผู้ประกอบการ เข้าไปช่วยในเรื่องโลจิสติกส์ สนับสนุนในเรื่องของ เป็นต้น ส่ ว นโอกาสการลงทุ น ในประเทศพม่ า ขณะนีก้ รมมีทตู พาณิชย์อยูท่ ปี่ ระเทศพม่า ซึง่ ก็จะ สามารถเข้าไปช่วยเหลือผู้ประกอบการในด้าน ข้อมูลเชิงลึกต่างๆ ที่ผู้ประกอบการอาจจะยัง ไม่ทราบ ซึง่ ก็จะท�าให้ผปู้ ระกอบการสามารถทีจ่ ะ ตัดสินใจได้อย่างถูกต้องมากขึ้น โดยในเรื่องของ การส่งเสริมผู้ประกอบการให้ไปลงทุนในต่าง ประเทศ บทบาทหน้าที่ก็คล้ายกับบีโอไอ จึงได้มี ความร่วมมือกับบีโอไอ ทีจ่ ะมีการจัดคณะนักธุรกิจ

และนักลงทุน ร่วมกันในการไปดูงานในประเทศ ต่างๆ นอกจากนี้ ทีผ่ า่ นมาก็ได้มกี ารประชุมร่วม กันกับทูตพาณิชย์ในการรับทราบข้อปัญหา และ ข้อเสนอแนะ ซึง่ ก็จะได้มกี ารรวบรวมข้อมูล และ จัดท�าเป็นแผนปฏิบตั กิ าร ออกมาในเร็วๆ นี้ “หลักคือการจัดล�าดับความส�าคัญของ ปัญหา ว่าเรื่องเร่งด่วนมีอะไรบ้าง เอาแค่ 4 5 เรื่องแก้ปัญหาให้ลุล่วง ให้ได้ผลจริง” ส�าหรับยุทธศาสตร์ของกรมส่งเสริมการค้า ระหว่ า งประเทศในบริ บ ทใหม่ แ บ่ ง เป็ น 8 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ 1. ศึกษาความต้องการของ ตลาดโลก ก�าหนดเป้าหมาย และมุ่งพัฒนา สินค้าและบริการให้ตรงกับความต้องการของ ตลาด โดยใช้ เพือ่ สร้างนวัตกรรม (Innov tion) และใช้ความสามารถในการสร้างสรรค์ (Cre tivity) ยึ ด หลั ก ความเป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม ( nvironment l riendly) และ ความเป็นธรรมทางการค้า ( ir r de) 2. มุ่ง พัฒนาผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง S s ในการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ 3. ยกระดับมาตรฐานคุณภาพของสินค้า และบริการไทย 4. ใช้โอกาสจาก AS AN co nomic Community (A C) 5. พัฒนาภาพ ลักษณ์เชิงคุณภาพของสินค้าและบริการไทย ตลอดจนภาพลักษณ์เชิงจริยธรรมของผูป้ ระกอบ การไทย เพื่อสร้างการยอมรับและความเชื่อมั่น ของประเทศคู่ค้าและผู้บริโภค 6. ใช้เทคโนโลยี และสื่อ i it l เพื่อเข้าถึงผู้บริโภคยุคใหม่และ คนรุ่นใหม่ (Ne t Gener tion) 7. พัฒนาและ ส่งเสริมการด�าเนินการเป็นกลุ่ม Cluster สินค้า และบริการ เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างผูป้ ระกอบการในการลดต้นทุน การสร้าง นวัตกรรมสินค้าและบริการ และการขยายตลาด


และ 8. พัฒนาองค์กรและบุคลากรให้มีความ พร้ อมปฏิบัติงานท่ามกลางเศรษฐกิจการค้า ยุคใหม่อย่างมืออาชีพ นอกจากนี้ กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ ได้ ก� า หนดแผนการด� า เนิ น งาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ตามนโยบายส�าคัญ ของรัฐบาล ได้แก่ 1. การส่งเสริมครัวไทยสู่ ครัวโลก 2. การพัฒนาและส่งเสริมการส่งออก สินค้า 3. การเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (A C) 4. การ พัฒนาผู้ประกอบการ S s 5. การพัฒนา ผู้ประกอบการ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กล่าวอีกว่า โดยในช่วง 10 เดือนของปี 2555 การ ส่งออกไปตลาดหลัก (ญี่ปุน สหรัฐ ยุโรป) มี มูลค่า 55,270 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 4.3 ขณะทีต่ ลาดศักยภาพสูง ( yn mic rket) เช่น อาเซียน (9) จีน ่องกง เกาหลีใต้ ขยายตัว ที่ร้อยละ 0.8 มูลค่า 93,798 ล้านเหรียญสหรัฐ ตลาดศักยภาพระดับรอง ( mer in rket) เช่ น ตะวั น ออกกลาง ออสเตรเลี ย แอ ริ ก า ลาตินอเมริกา ขยายตัวที่ร้อยละ 5.4 มูลค่า 37,041 ล้านเหรียญสหรัฐ การขยายตลาดใหม่ A C ประเทศ เพือ่ นบ้าน และตะวันออกกลาง โดยกรมผลักดัน มาตรการส่งเสริม ผลักดันให้ผปู้ ระกอบการไทย ให้ออกไปด�าเนินธุรกิจในต่างประเทศมากขึ้น (Intern tion li tion) เพื่อแก้ไขปัญหาต้นทุน ที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งด้านแรงงานและวัตถุดิบ การ หลีกเลีย่ งมาตรการกีดกันทางการค้า (N ) และ การใช้ประโยชน์จาก A GS การบุกตลาดเมืองรอง โดยมุง่ เป้าท�าการ ตลาดในเมืองรองทีย่ งั ไม่เป็นทีร่ จู้ กั ของผูส้ ง่ ออก ไทย อีกทั้งเพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการแข่งขัน ทีเ่ ข้มข้นในเมืองใหญ่ เช่น อังก ษ เบอร์มงิ แ ม แมนเชสเตอร์ เนเธอร์แลนด์ รอตเตอร์ดมั อูเทร็ค ยุโรปตะวันออก สหรัฐ แถบ id est หรือ Contr l อินเดีย อาห์เมดาบัด (รัฐคุชราต) บัง กาลอร์ (รัฐกรณาฏกะ) ส�าหรับกิจกรรมในการส่งเสริมการส่งออก คื อ การจั ด คณะผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ไปเจรจา

การค้า เพื่อสร้างเครือข่ายและความสัมพันธ์ ทางการค้ า และขยายช่ อ งทางการจ� า หน่ า ย สินค้าในประเทศศักยภาพ เช่น จีน เวียดนาม รวมถึงการจัดโรดโชว์ไปตามเมืองศักยภาพต่างๆ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายร่วมกับผู้น�าเข้า oint in Store romotion เป็นต้น การเจาะตลาดเฉพาะทาง (Nic e r ket) ในตลาดเดิม พ ติกรรมผู้บริโภคในตลาด ที่ มี พั ฒ นาการทางเศรษฐกิ จ สู ง และประสบ ปัญหาทางเศรษฐกิจ เช่น ยุโรป สหรัฐอเมริกา มี การปรับเปลี่ยนโดยชะลอการซื้อสินค้าราคาสูง

( i icket) ลดการใช้จ่ายที่ ุมเ อย เช่น การ รับประทานอาหารนอกบ้าน การไปท่องเที่ยวใน ต่างประเทศ พิจารณาเลือกซื้อสินค้าที่มีความ คุ้มค่ามากขึ้น อย่างไรก็ดี ยังคงให้ความส�าคัญ ต่ อ คุ ณ ภาพของสิ น ค้ า บริ ก าร การรั ก ษา สิ่งแวดล้อม สินค้าสุขภาพ r nic ส�าหรับ มาตรการส่งเสริมการขายสินค้าที่ยังมีศักยภาพ ในช่วงวิก ติเศรษฐกิจ ได้แก่ การเข้าร่วมงาน แสดงสินค้ากลุม่ เป้าหมายสินค้าส�าหรับผูส้ งู อายุ คนพิการ คนอ้วน สินค้าส�าหรับสัตว์เลี้ยง สินค้า Gourmet และ ncy ood เป็นต้น [P]

ศรีรัตน รัษฐปานะ อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ

The Power LOGISTICS

39


Auto Insight

โดย : รญ

ยอดพร ม

“วอลโว่ ” บุกโลจิสติกส์รับ AEC

ลุยตลาดเครื่องยนต์ CNG บริษัท วอลโว่ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้ประกอบและจ�ำหน่ำย รถบรรทุกวอลโว่ เปิดตัว FM 400 CNG Dual Fuel เป็นทำงเลือกแก่ธุรกิจ โลจิสติกส์ที่มีแนวโน้มกำรแข่งขันสูงหลังเข้ำสู่ข้อตกลง AEC โดยเชื่อมั่นว่ำจะ ได้รบั กำรยอมรับจำกตลำด เนือ่ งจำกคุณภำพผลิตภัณฑ์ทแี่ ตกต่ำงจำกคูแ่ ข่ง โดยสิ้นเชิง าคส์ มิเชล ประธานกรรมการ บริ ัท วอลโว่ กรุป ประเท ไทย จ�ากัด เปดเผยว่า 400 CNG u l uel นีจ้ ะสร้างความคึกคัก ให้กับตลาดรถบรรทุกอย่างมาก ทั้งนี้ เพราะ

40

The Power LOGISTICS

ระบบ u l uel ของวอลโว่ ทรัคส์ นี้ถือเป็น ระบบที่ใช้น�้ามันดีเซลควบคู่กับ CNG (กาซ ธรรมชาติ) ในสัดส่วน 60 กับน�า้ มันดีเซล 40 ท�าให้สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน

มากถึง 35 และถือเป็นรถบรรทุกยี่ห้อแรกใน ประเทศไทยทีใ่ ห้การรับประกันระบบ u l uel จากโรงงานประกอบตามเงื่อนไขการรับประกัน เช่ น เดี ย วกั บ รถบรรทุ ก ทุ ก คั น ที่ ไ ด้ รั บ การรั บ ประกันตามมาตรฐานวอลโว่ทั่วโลก “แต่ทสี่ า� คัญยิง่ กว่านัน้ ก�าลังของเครือ่ งยนต์ ในขณะใช้งาน และการสึกหรอของเครื่องยนต์ ไม่แตกต่างกับระบบน�้ามันดีเซล ทั้งนี้ เพราะ ระบบของเราเป็นระบบผสมระหว่างน�า้ มันดีเซล กับ CNG ไม่ใช่ระบบเลือกใช้พลังงานชนิดใด


ชนิดหนึ่งในขณะขับขี่ และที่ส�าคัญคือบริษัท ขนส่งที่ใช้รถรุ่นนี้ จะสามารถบริหารรถบรรทุก วอลโว่ ทรัคส์ ทุกคันให้ล้อหมุนได้ตลอดระยะ เวลาการใช้งาน ไม่จ�าเป็นต้องจอดเมือ่ CNG ใน ถังหมด เพราะเมือ่ CNG หมดถัง น�า้ มันดีเซลจะ กลับมาท�าหน้าที่เป็นเชื้อเพลิงให้กับเครื่องยนต์ ได้ตามปกติ” คุณมิเชล กล่าว วอลโว่ 400 CNG u l uel เป็นรถ บรรทุกหนักส�าหรับการขนส่งทางไกล ขนาด เครื่องยนต์ 12.8 ลิตร 6 สูบ ให้ก�าลังสูงสุด 400 แรงม้า ที่ 1,400 1,800 รอบต่อนาที ซึ่งเป็น เครือ่ งยนต์ CNG ทีใ่ ห้กา� ลังแรงม้าสูงสุดในขนาด รถบรรทุกเดียวกันในตลาด ส่วนแรงบิดสูงสุดที่ 2,000 นิวตันเมตร ที่ 1,050 1,400 รอบต่อนาที แรงเบรกเสริมจากไอเสีย 175 กิโลวัตต์ ที่ 2,300 รอบต่อนาที ราคาเริ่มต้นที่ 4.5 ล้านบาท และมี จุดคุ้มทุนภายใน 2 ปี กับเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้นเมื่อ เปรียบเทียบกับรถบรรทุกที่ไม่ได้ติดตั้งระบบ พลังงาน CNG สอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์และ ทดลองขับได้ทศี่ นู ย์บริการวอลโว่ ทรัคส์ 10 แห่ง ทั่วประเทศไทย

คุณมิเชล กล่าวเพิม่ เติมว่า ตลาดรถบรรทุก หนักในช่วง 3 ไตรมาสแรกของปีนี้ รถบรรทุก วอลโว่ทวั่ โลกมียอดขาย 165,391 คัน ลดลง 3 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่แล้วในช่วงเดียวกัน ทั้งนี้ เนื่ อ งจากสภาพเศรษฐกิ จ ยุ โ รป และสหรั ฐ อเมริกา ทีย่ งั ไม่ นตัว ขณะทีต่ ลาดทวีปเอเชีย มี ยอดขาย 37,695 คัน ลดลง 5 เมือ่ เปรียบเทียบ กับช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว

อย่างต่อเนื่อง, การขยายเครือข่ายดีลเลอร์ตาม หัวเมืองต่างๆ รวมไปถึงความต้องการรถในปีนี้ ทัง้ รถเล็ก, รถขนาดใหญ่มสี งู มากเนือ่ ง จากในปี ทีผ่ า่ นมามีเหตุการณ์นา�้ ท่วมท�าให้ความต้องการ รถมาเพิม่ ในปีนี้ ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจไทย ที่ดีขึ้น ดังจะเห็นจากการประเมินจีดีพี ที่โตกว่า 5 ซึ่งปัจจัยทั้งหมดเหล่านี้ส่งให้ยอดขายของ บริษัทรวมไปถึงตลาดรวมมีการเติบโต”

อย่างไรก็ตาม ในช่วง 9 เดือนแรกของปีนี้ ยอดขายรถบรรทุกวอลโว่ ในประเทศไทยสูงถึง 669 คัน พุ่งขึ้นถึง 42 เมื่อเปรียบเทียบกับปีที่ แล้วในช่วงเดียวกัน

วอลโว่ กรุป ถือเป็นผู้น�าการผลิตรถบรรทุก และรถโดยสารของโลก ซึ่งเป็นผลมาจากการ สร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ มี น วั ต กรรมเพื่ อ ตอบ สนองความต้องการของลูกค้า โดยน�าเสนอการ บูรณาการด้านขนส่งอย่างสมบูรณ์แบบให้กับ ลูกค้ากว่า 140 ประเทศทั่วโลก ในฐานะที่เป็น ผูผ้ ลิตยานยนต์เพือ่ การขนส่งเชิงพาณิชย์ของโลก อย่างแท้จริง วอลโว่ กรุป มีเครือข่ายครอบคลุม ในทุกทวีป ได้แก่ ยุโรป เอเชีย อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอ ริกา และออสเตรเลีย และด้วย ความรับผิดชอบในฐานะผู้น�าในอุตสาหกรรม เราจึงยึดถือเป็นภารกิจที่ส�าคัญในการน�าพา องค์กรให้รักษาความเป็นผู้น�านี้ไว้

“สาเหตุที่รถบรรทุกวอลโว่ในประเทศไทย เติ บ โตอย่ า งมากก็ เ พราะตลาดรถบรรทุ ก ใน ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากภาวะน�้าท่วม ใหญ่ เ มื่ อ ปี ที่ แ ล้ ว ตลาดกลั บ มา นตั ว อย่ า ง รวดเร็ ว และมี เ สถี ย รภาพ รวมถึ ง การออก ผลิตภัณฑ์ใหม่ และความเชื่อมั่นในการบริการ หลังการขายจากลูกค้าของเรา โดยปัจจัยทีท่ า� ให้ ยอดขายเพิม่ ขึน้ มาจากการพัฒนาสินค้าออกมา

[P]

คุณมิเชล กล่าวว่า วอลโว่ 400 CNG u l uel นี้ จ ะเป็ น ทางเลื อ กที่ ดี ส� า หรั บ ผูป้ ระกอบการขนส่งทีจ่ ะต้องเตรียมตัวรับกับการ รวมตัวเป็นหนึ่งเดียวของอาเซียน หรือ A C ซึ่ง จะท�าให้ภาวะการแข่งขันในตลาดขนส่งรุนแรง ขึ้น ดังนั้น 400 CNG u l uel ถือเป็นทาง เลือกที่ดีส�าหรับผู้ประกอบการที่จะเข้าสู่การ แข่งขันเต็มรูปแบบของ A C คุณมิเชล กล่าวต่อว่า 400 CNG u l uel นี้ วอลโว่ กรุ ป ยังคงรักษาคุณลักษณะ ที่ ส� า คั ญ ในการรั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม ตามหลั ก ปรัชญาของวอลโว่ กรุป ซึ่งพลังงาน CNG ถือ เป็นแหล่งพลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใน ขณะที่อะไหล่ที่ใช้แล้ว สามารถน�ามาแลกซื้อ อะไหล่ที่ผลิตจากอะไหล่น�ากลับมาใช้ใหม่ใน ราคาพิเศษ ในขณะเดียวกัน อะไหล่จา� นวนมาก ของวอลโว่ ทรัคส์ เป็นอะไหล่ที่ผลิตจากวัสดุน�า กลับมาใช้ใหม่ ซึ่งถือเป็นนโยบายส�าคัญในการ ร่วมรณรงค์รักษาสิ่งแวดล้อมทั่วโลก

ฌาคส์ มิเชล ประธานกรรมการ บริษัท วอลโว่ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ากัด

The Power LOGISTICS

41


Go Green

โดย : ชินพงศ์ เรืองบุญมา

“Green Industry”

อุตสาหกรรมไทยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

กระทรวงอุ ต สาหกรรมจั ด พิ ธี ม อบ เกียรติบัตรโครงการพัฒนาสถานประกอบ การสูอ่ ตุ สาหกรรมสีเขียว ประจ�าปี 2555 ใน งานสัมมนา “ก้าวต่อไป...อุตสาหกรรมสี เขี ย วสู ่ ก ารพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ” เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ แ ก่ ส ถานประกอบการที่ ผ ่ า นการ ประเมิ น อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย วระดั บ ที่ 4 “วัฒนธรรมสีเขียว” อันเป็นการส่งเสริมภาค อุตสาหกรรมให้มีการประกอบการที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความรับผิดชอบต่อ สังคม สามารถอยู่ร่วมกับสังคมและชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ดร.วิ ฑู ร ย์ สิ ม ะโชคดี ปลั ด กระทรวง อุ ต สาหกรรม เปิ ด เผยว่ า กระทรวง อุตสาหกรรมในฐานะที่เป็นผู้ก�ากับดูแลภาค อุตสาหกรรม มีหน้าที่ในการส่งเสริมให้สถาน ประกอบการมีขดี ความสามารถในการแข่งขันที่ สูงขึ้น ขณะเดียวกันก็ต้องด�าเนินกิจการตาม รัฐธรรมนูญและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับโรงงาน และสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด จึงมีแนวคิดทีจ่ ะ เชิญชวนให้สถานประกอบการเข้ามามีส่วนร่วม ในการพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งสู ่ ก ารเป็ น “อุตสาหกรรมสีเขียว” โดยแบ่งเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 ความ มุ่งมั่นสีเขียว (Green Commitment) ระดับที่ 2 ปฏิบัติการสีเขียว (Green Activity) ระดับที่ 3 ระบบสี เ ขี ย ว (Green System) ระดั บ ที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) และระดับที่ 5 เครือข่ายสีเขียว (Green Network) ซึง่ นับจากปี 2554 จนถึงปัจจุบนั การด�าเนิน โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ได้รับเสียงตอบรับ ที่ดีจากภาคอุตสาหกรรมโดยมีสถานประกอบ การเข้าร่วมโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวและ ผ่านการประเมินแล้วจ�านวน 3,667 ราย แบ่งเป็น ระดับที่ 1 จ�านวน 1,619 ราย ระดับที่ 2 จ�านวน 870 ราย ระดับที่ 3 จ�านวน 1,162 ราย และระดับ ที่ 4 จ�านวน 30 ราย และยังมีสถานประกอบการ อีกจ�านวนมากที่อยู่ระหว่างรอการประเมิน

42

The Power LOGISTICS

ดร.วิฑูรย์ กล่าวเสริมว่า ความเป็นจริงของ บ้านเราในวันนี้ ก็คือความขัดแย้งที่เกิดจาก ความไม่เข้าใจกันระหว่างโรงงานกับชุมชนโดย รอบโรงงานได้ ข ยายวงกว้ า งขึ้ น โดยเฉพาะ โรงงานขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แม้จะสามารถอาศัยเทคโนโลยีสมัยใหม่ก�าจัด มลพิษสิง่ แวดล้อมได้ หรือลดระดับปัญหาจนอยู่ ในมาตรฐานสากลได้ แต่ชุมชนก็ไม่วางใจและ ไม่เชื่อในคุณภาพของผู้ประกอบกิจการโรงงาน จนถึงขนาดไม่เชื่อมั่นในผลการตรวจสอบทาง วิทยาศาสตร์ว่าได้มาตรฐานจริง ตลอดจนการไม่เชื่อมั่นในระบบราชการ จึง แทบจะไม่มโี รงงานทีไ่ ม่ถกู ร้องเรียน จนขยายผล สู่การชุมนุมประท้วงไม่ให้โรงงานตั้งใหม่ได้ทุก วันนี้ สถานประกอบการ โรงงาน และสังคมไทย จึงต้องเลือกระหว่างการมีโรงงานทีเ่ ป็น “Green Industry” หรือจะไม่มีโรงงานใหม่อีกต่อไป สถานประกอบการที่ได้เป็นอุตสาหกรรมสี เขียวทั้งในระดับเริ่มต้นซึ่งเป็นการแสดงออกถึง นโยบายและความมุง่ มัน่ ไปจนถึงระดับที่ 4 ของ การมี วั ฒ นธรรมที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้อม ได้พสิ จู น์ให้สงั คมไทยและสังคมโลกได้ ประจักษ์แล้วว่า การเดินไปสูเ่ ส้นทางดังกล่าวก่อ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ตนเองในฐานะทีเ่ ป็นผูป้ ฏิบตั ิ และผูท้ มี่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม โดยสามารถ ลดต้นทุนการผลิต สร้างยอดขายได้เพิม่ ขึน้ สร้าง การยอมรับของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และทีส่ �าคัญ คื อ เป็ น หลั ก ประกั น ถึ ง ความยั่ ง ยื น ของธุ ร กิ จ

อุตสาหกรรมต่อไปในอนาคต โดยเฉพาะสถานประกอบการทัง้ 17 ราย ที่ ได้รับการประเมินว่ามีวัฒนธรรมสีเขียว จาก จ�านวนโรงงานทีส่ มัครเข้าร่วมโครงการทัง้ สิน้ กว่า 3,600 ราย ได้แสดงให้เห็นถึงความเป็นผูน้ �าภาค อุตสาหกรรมของการมีวัฒนธรรมสีเขียว ซึ่งทั้ง รัฐบาล ประชาชน และกระทรวงอุตสาหกรรม มี ความเชื่อมั่นว่าจะสร้างเศรษฐกิจและคุณภาพ ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องชุมชนและสังคมไทยโดยรวม และยังสามารถช่วยเหลือภาคราชการใน การเป็นพี่เลี้ยงให้กับสถานประกอบการอื่น ๆ เพือ่ น�าพาให้เข้าสูก่ ระบวนการผลิตทีเ่ ป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมได้ด้วย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย ของกระทรวงอุตสาหกรรมที่จะท�าให้อุตสาห กรรมประเภทที่อาจส่งผลกระทบกับสังคมและ สิ่งแวดล้อมให้กลายเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว ทั้งหมด ขณะนี้ ภ าพลั ก ษณ์ ใ หม่ ข องโรงงาน อุตสาหกรรมไทยทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมได้เกิด ขึ้นทั่วประเทศไทย ดังที่เ ห็นได้ จ ากโครงการ อุตสาหกรรมสีเขียว ผลแห่งความส�าเร็จร่วมกัน ของทุ ก ภาคส่ ว นในสั ง คมไทยในการพั ฒ นา คุณภาพอุตสาหกรรมไทยอย่างยัง่ ยืนทีท่ า� ให้เกิด ความสมดุลทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ง แวดล้อม จึงเป็นก้าวส�าคัญของไทยที่สามารถ ข้ามผ่านการประกอบกิจการอุตสาหกรรมแบบ เดิมๆ ที่มุ่งแต่ผลก�าไรทางตัวเงินเป็นหลัก [P]


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.