ประจำเดือนมกราคม 2558
อภิชาติ ไพรรุงเรือง โชวความแกรง ขนสงทางบก >>> page 34
CONTENTS Power Inland
ยกเครื่องเส้นทางถนนพื้นที่ภาคใต้
เชื่อมโยงบก-น้ำา-อากาศ กระตุ้นท่องเที่ยว
26 Energy Logistics
28
Auto Insight
เมอร์เซเดส-เบนซ์ กับเทคนิคการขับขี่ปลอดภัย
ขนทัพรถหรูทุกเซ็กเมนต์
Guru
34 CEO Talk Logistics Today Go Green
“กรมโรงงานฯ” สร้างพลังงานยั่งยืน ชูพลังงานเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม
6 11
Cover
12
Bus. Focus
16
Out & About
25
เอกซเรย์ธุรกิจปีแพะ “โลจิสติกส์” ดาวรุ่ง? Thaitrade.com เพิ่มศักยภาพอีคอมเมิร์ซ ขยายตลาด SMEs สู่เศรษฐกิจดิจิตัล
CSR
30
Special Report
32
Secrets Insurance
36
Logistics Trade
38
40
·ÔÈ·Ò§¡ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡Êٵýƒ¡ÍºÃÁ ด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน สำาหรับธุรกิจบริการและธุรกิจธนาคาร
18
Logistics กับพลังงานทดแทน ใครพึ่งพาใคร FiT Premium ของขวัญปีแพะจาก คสช.
20
ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของประเทศไทย ปี 2558
22
โลจิสติกส์ การขนส่งทางรถไฟ
24
“หนาวนี้ทำาดีเพื่อพ่อ” กองทุนฮอนด้าเคียงข้างไทยผนึกกำาลังสภากาชาดไทย จุดพลุ รถไฟไทย-จีน!!! เร่งก่อสร้างให้คนไทยได้ใช้ ธ.ค.60 “เกียรตินาคิน”ผนึก”เจนเนอราลี่ฯ” พัฒนาธุรกิจแบงค์แอสชัวแรนส์ 15 ปี สศอ. ชี้ช่องเก็บเกี่ยวประโยชน์ FTA กระตุ้นผู้ประกอบการใช้สิทธิ์ได้เต็ม
Global Logistics โทรีเซน ชิปปิ้ง บุกตะวันออกเปิดสำานักงานใหม่
Editor's
ประจำเดือนมกราคม 2557
พันทิพา จุลเพชร
Talk
ฉายภาพโลจิสติกส์ปีแพะ ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð ¤Ø³¼ÙŒÍ‹Ò¹
·Õè»ÃÖ¡ÉÒ´ŒÒ¹¡®ËÁÒ ºÃóҸԡÒÃÍíҹǡÒà ºÃóҸԡÒúÃÔËÒà ¡Í§ºÃóҸԡÒÃ
: : : :
½†ÒÂÀÒ¾ ÈÔÅ»¡ÃÃÁ ¾ÔÊÙ¨¹ ÍÑ¡Éà ¼ÙŒÊ×èÍ¢‹ÒÇ/¡ÒõÅÒ´ »ÃÐÊÒ¹§Ò¹ ÊÁÒªÔ¡ÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡ÒÃà§Ô¹ á¡ÊÕáÅоÔÁ¾
: : : : : : :
»ÃѪÞÒ ¹ÃÁѵ¶ ÊظÒÅÑ ÈÃÕàºÞ¨âªµÔ ¾Ñ¹·Ô¾Ò ¨ØÅྪà ÇÃÑÞ Ù ÂÍ´¾ÃËÁ, ªÑÂÇѲ¹ à¡ÉÊÁ, ªÔ¹¾§È àÃ×ͧºØÞÁÒ ÊҸà ÅÕÅÒ¢¨Ã¨Ôµ, ÊØÇÃó àÁ¹Ð๵à ³Ñ°¾§É à¡ÉàºçÞÄ·¸Ô¡ØÅ, ¨ØÃվà ¾Ç§¾ÂÍÁ ¨ØÃվà ¾Ç§¾ÂÍÁ äÁµÃÕ µÑé§àÁ×ͧ·Í§ ¨ØÃվà ¾Ç§¾ÂÍÁ ÅÑ´´Ò ·íÒ¨Ð´Õ ¤íҾѹ¸ ¢Ø¹¹ÒÁÇ§È ºÃÔÉÑ· Ê.¾Ô¨ÔµÃ¡ÒþÔÁ¾ ¨íÒ¡Ñ´ â·Ã. 0-2587-7374 www.spprint.co.th
µÔ´µ‹Í¡Í§ºÃóҸԡÒùԵÂÊÒà The POWER LOGISTICS 1/3 ¶¹¹à·Í´´íÒÃÔ á¢Ç§ºÒ§«×èÍ à¢µºÒ§«×èÍ ¡ÃØ§à·¾Ï 10800 â·ÃÈѾ· 0-2556-1624-8 â·ÃÊÒà 0-2556-1629 E-mail : thepowerlogistics@yahoo.com www.transportnews.co.th
“âŨÔÊµÔ¡Ê ”¡ÅÒÂ໚¹ÍÕ¡ 1 ¸ØáԨ ·Õè©ÒÂáÇÇÇ‹Ò¨ÐÊ´ãÊ ã¹»‚¹Õé à¹×èͧ¨Ò¡àÃ×èͧÇØ‹¹æ ÀÒÂã¹»ÃÐà·È ¡íÒÅѧ¶Ù¡»¯ÔÃÙ»ãËŒà¢ŒÒ ·Õè ¶ŒÒàÈÃÉ°¡Ô¨¢ÂÒµÑÇ Ê‹§¼Å´Õµ‹Í¸ØáԨÍ‹ҧṋ¹Í¹ ᵋ ·‹ÒÁ¡ÅÒ§¤ÇÒÁà»ÅÕÂè ¹á»Å§·Õàè ¾Ô§è àÃÔÁè µŒ¹ ¶×ÍÇ‹Ò໚¹µÑÇá»ÃÊíÒ¤ÑÞ ÊíÒËÃѺàÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§»ÃÐà·È Cover Story ©ºÑº¹Õé ©ÒÂÀÒ¾¸ØáԨâŨÔÊµÔ¡Ê »‚á¾Ð ¼‹Ò¹ ¡ÙÃÙ´ŒÒ¹âŨÔÊµÔ¡Ê ¢Í§àÁ×ͧä·Â µ‹ÍÁØÁÁͧ ÍØ»ÊÃä µÅÍ´¨¹ ¢ŒÍàʹÍá¹Ð·Õ赌ͧ¡ÒÃãËŒÃÑ°ºÒÅࢌÒÁÒàÂÕÂÇÂÒ à¾×èÍãËŒ¸ØáԨÁÕ ¤ÇÒÁ¤Å‹Í§µÑÇÁÒ¡ÂÔ觢Öé¹ ¶×ÍÇ‹Ò໚¹¢‹ÒǴբͧ¼ÙŒ»ÃСͺ¡Òà SMEs 㹡ÒÃËÒª‹Í§ ·Ò§·íÒ¸ØáԨ¼‹Ò¹âÅ¡Í͹äŹ ·ÕèÁÕÍա˹Ö觪‹Í§·Ò§ã¹¡Òë×éÍ¢Ò ¼‹Ò¹ Thaitrade.com ·Õèä´Œ¼¹Ö¡¡íÒÅѧ¡Ñ¹ÃÐËÇ‹Ò§ÀÒ¤ÃÑ°áÅÐ àÍ¡ª¹ 㹡ÒÃÍíҹǤÇÒÁÊдǡµÑé§áµ‹µŒ¹·Ò§¨¹¶Ö§»ÅÒ·ҧ µÔ´µÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´䴌¨Ò¡ BUS.Focus µÑé§áµ‹»ÅÒ»‚ 2557 ໚¹µŒ¹ÁÒ ¶×ÍÇ‹Ò໚¹¢‹ÒÇ´ÕÊíÒËÃѺ ¼ÙŒãªŒÃ¶ãªŒ¶¹¹ à¾ÃÒÐÃÒ¤Ò¹íéÒÁѹ˴µÑÇŧ ¤ÇÒÁÁÑ蹤§´ŒÒ¹ ¾ÅÑ § §Ò¹¨Ð໚ ¹ Í‹ Ò §äÃ¨Ö § ໚ ¹ àÃ×è Í §·Õè ª ǹµÔ ´ µÒÁ Energy Logistics ÁÕ¢ŒÍÁÙÅ´ÕæÁÒ¹íÒàÊ¹Í à¾×èÍ໚¹¡ÒÃÇҧἹ¡ÒÃ㪌 ¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ¶Ù¡µŒÍ§áÅÐÂÑè§Â×¹ µÑÇÍ‹ҧ·Õè¡ÁÒ à»š¹à¾Õ§¹íéÒ¨ÔéÁ ʋǹ¤ÍÅÑÁ¹ Í×è¹æ ¡çŌǹ ᵋ໚¹ÊÒÃÐÊíÒËÃѺ¼ÙŒÍ‹Ò¹ ¾º¡Ñ¹ãËÁ‹©ºÑºË¹ŒÒ ¾Ñ¹·Ô¾Ò ¨ØÅྪà บรรณาธิการบริหาร
THE POWER LOGISTICS
5
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E E V E N T
20 ปที่รอคอยกับรถจักรดีเซลไฟฟาใหม
เมื่อวันที่ 23 มกราคม 2558 ที่ผ่านมา “พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง” รั ฐมนตรี ว่าการ กระทรวงคมนาคม เป็ นประธานในพิธีรับ มอบรถจักรดีเซลไฟฟ้า ขนาดน�า้ หนั กกด เพลาสูงสุด 20 ตันต่ อเพลา จ�านวน 2 คัน หมายเลข 5101 และ 5102 ระหว่ างการรถไฟ แห่ งประเทศไทย หรื อ ร.ฟ.ท. และบริ ษัท ซานโฟโก อินเตอร์ เนชั่นแนล จ�ากัด และ บริ ษั ท ผู้ ผลิ ต CSR Qishuya Co.,Ltd สาธารณรั ฐประชาชนจีน ทังนี ้ ้ ร.ฟ.ท. ได้ สงั่ ซื ้อจาก บริ ษัท ซานโฟโก อินเตอร์ เนชั่นแนล จ� ากัด รถจักรดีเซลไฟฟ้า จ�านวน 2 คันได้ เดินทางมาถึงท่าเรื อแหลมฉบัง แล้ วตังแต่ ้ วนั ที่ 4 ม.ค. ที่ผา่ นมา จากจ�านวนทัง้ สิ ้น 20 คัน วงเงิน 3,300 ล้ านบาท ซึง่ รถจักร จ� า นวน 2 คัน ดัง กล่ า วได้ ผ่ า นกระบวนการ ทดสอบระบบรถจักรเสร็จสิ ้นแล้ ว โดยรถจักร ที่ประเทศไทยเคยสั่งซือ้ นัน้ มีระยะ เวลาล่วงเลยมากว่า 20 ปี คือ ตังแต่ ้ ปี 2558
6
THE POWER LOGISTICS
โดยรถจัก รดี เ ซลไฟฟ้ าใหม่ จะสามารถ รองรับการขนส่งสินค้ าได้ มากขึ ้น รวดเร็ ว และ ช่วยลดค่าใช้ จา่ ยด้ านโลจิสติกส์ด้วย หลังจากนี ้ จะมีการทยอยส่งมอบรถจักรดีเซลไฟฟ้าอีก 18 คัน รวม 20 คัน ที่คาดว่าจะครบใน มิ.ย. 2558 และเป็ นการแก้ ไ ขปั ญ หาความล่ า ช้ า ในการ ขนส่งสินค้ าได้ ส�าหรับเป้าหมายของการจัดหารถจักรที่มี น� ้าหนักกดเพลา 20 ตัน/เพลาทังหมดนั ้ น้ เพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพการขนส่งจาก ไอซีดี ลาดกระบัง และรองรับปริมาณ สิ น ค้ าที่ จ ะขนส่ ง จาก
ย่านกองเก็ บตู้สินค้ า (Container Yard) ใน ภูมภิ าคต่างๆ ทีใ่ ช้ เป็ นศูนย์กระจายการขนส่งใน ภูมภิ าคเพือ่ สนับสนุนการส่งออกโดยผ่านท่าเรือ แหลมฉบัง และขยายตลาดในการขนส่งสินค้ า ทางรถไฟ นอกจากนัน้ การจัด หารถจัก ร ที่ สามารถบรรทุกขนส่งต่อขบวนได้ สงู สุด ท�าให้ ลด ต้ นทุนการขนส่ง และเพิ่มรายได้ ในการขนส่ง สินค้ าทางรถไฟได้ มากขึ ้นอย่างเป็ นรูปธรรม [P]
E V E N T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ธนภัทร อินทวิพันธุ รองประธาน บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด
รถบรรทุกฟูโซเปดตัวผลิตภัณฑใหม รถบรรทุกโมผสมปูน FJ2528 บริษัท ฟูโซ่ ทรั ค (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้ผลิตและจัด จ�าหน่ ายรถเพื่อการพาณิชย์ หลากหลายขนาดจากประเทศ ญี่ปุ่น ภายใต้ แบรนด์ “ฟูโซ่ ” กับ ปฎิบตั กิ ารเสือปื นไว ใน การเปิ ดตัวรถบรรทุกโม่ ผสมปูน เพื่อตีตลาดรถโม่ เมืองไทย ภายใต้ ปฎิบตั ิการ “เด็ดดอกไม้ สะเทือนถึงดวงดาว” ครัง้ นี ้ ถื อเป็ นการรุ กคืบ ที่ได้ บริ ษัทแม่อย่างเดมเลอร์ จากประเทศ เยอรมันหนุนหลัง โดยได้ มอบรถบรรทุกรุ่ น Mercedes Benz Axor เป็ นต้ นแบบให้ กบั รถบรรทุกโม่ผสมปูน รุ่น FJ2528 ที่ได้ ท�าการเปิ ดตัวอย่างเป็ นทางการที่เมืองไทยในวันนี ้ นายธนภัทร อินทวิพนั ธุ์ รองประธาน บริษัท ฟูโซ่ ทรั ค (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า รถบรรทุกฟูโซ่ของเราไม่ยอม หยุดนิ่งในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้ องการ ของลูกค้ า โดยเมื่อปี ที่แล้ วเราได้ เปิ ดตัวรถบรรทุกดัมพ์ รุ่ น FV Shogun 380 แรงม้ า เพื่อรุกตลาด Heavy Duty โดยเฉพาะ และครัง้ นี ้เรามีความภาคภูมิใจเป็ นอย่างยิ่ง ที่เราได้ ท�าการเปิ ด ตัวรถโม่ผสมปูน รุ่ น FJ2528 เพื่อตอบสนองความต้ องการของ ลูกค้ าในกลุม่ ก่อสร้ าง ซึง่ มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง [P]
THE POWER LOGISTICS
7
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E L O G I S T I C S T O D A Y
ตะลุยฝั นวันเด็ก PTT GROUP
สมชาย กูใหญ่ ประธานกรรมการก�ากับดูแลการด�าเนินงานด้านความรับ ผิดชอบต่อสังคม กลุ่ม ปตท. จังหวัดระยอง วิชิตพงศ์ ชื่นทองทรั พย์ ผู้อ�านวยการฝ่ ายปฏิบตั ิการคลังผลิตภัณฑ์และท่าเทียบเรื อ บริ ษัท พีทีที แทงค์ เทอร์ มินลั จ�ากัด พร้ อมด้ วยผู้บริ หารกลุม่ ปตท. ร่ วมเปิ ดกิจกรรม “กลุม่ ปตท. ตะลุยฝันวันเด็ก ประจ�าปี 2558” ณ สวนสมุนไพร สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ต.มาบข่า อ.นิคมพัฒนา จ.ระยอง เมือ่ วันก่อน
ตรวจเยี่ยมและมอบนโยบาย กทท.
เมื่อเร็ วๆ นี ้ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรี ชว่ ยว่าการกระทรวง คมนาคม (รชค.) และคณะ ได้ เดินทางมาตรวจเยี่ยมและมอบนโยบายแก่ ผู้บริ หารการท่าเรื อแห่งประเทศไทย (กทท.) โดยมี พลเรื อเอกอภิวัฒน์ ศรีวรรธนะ ประธานกรรมการ กทท. กล่าวต้ อนรับ และเรือตรีทรงธรรม จันทประสิทธิ์ ผู้อา� นวยการท่าเรือกรุงเทพ รักษาการแทนผู้อา� นวยการ กทท. บรรยายสรุป พร้ อมด้วยกรรมการ ผู้บริหาร กทท. ให้ การต้อนรับ ณ ห้ องประชุม ชัน้ 19 อาคารทีท่ า� การ กทท.
EXIM BANK ให้การต้อนรับ
ดร.นริ ศ ชัยสูตร ประธานกรรมการ ธนาคารเพื่อการส่งออกและ น�าเข้ าแห่งประเทศไทย (EXIM BANK) น�าคณะกรรรมการบริหารและผู้บริหาร EXIM BANK ให้ การต้ อนรับและเป็ นเจ้ าภาพเลี ้ยงอาหารเย็น แก่ มาซาโยชิ ทาเตวากิ ผู้อา� นวยการอาวุโส ฝ่ ายกลยุทธ์และประสานงานระหว่างประเทศ ธนาคารเพือ่ การพัฒนาแห่งญีป่ นุ่ (Development Bank of Japan Inc.) และ คณะ ซึง่ เดินทางมาเยือนไทยและพบปะหารื อกับผู้บริ หาร EXIM BANK เกี่ยวกับแนวทางความร่วมมือทางการเงินและแลกเปลีย่ นข้ อมูลการค้ าการ ลงทุนในไทยและอาเซียน ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ
เยี่ยมชมโรงงาน
บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ากัด (มหาชน) หรือ “ไทคอน” ให้ การต้ อนรับคณะผู้แทนชาวญีป่ นุ่ จาก 14 บริษทั ผู้ผลิตชิ ้นส่วนและประกอบ รถยนต์ ผู้ผลิตอาหารและเครื่องใช้ไฟฟ้า จากมณฑลโตชิกิ (Tochigi Prefecture) ในโอกาสเยี่ยมชมกิจการโลจิสติกส์ พาร์ ค และคลังสินค้ าคุณภาพสูง ในโครงการ TPARK บางนา พร้ อมกันนี ้ ได้ เข้ าเยีย่ มชมโรงงานคุณภาพสูง พร้ อมใช้ เพือ่ ให้ เช่าของไทคอนทีน่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี เพือ่ ศึกษาศักยภาพของไทยในการเป็ นศูนย์กลางการกระจายสินค้ าของธุรกิจ น�าเข้าส่งออก และความพร้ อมในการรองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ในประเทศไทย ซึง่ คณะผู้แทนชาวญีป่ นุ่ ต่างก็แสดงความสนใจทีจ่ ะเข้ามาลงทุน ในประเทศไทย
8
THE POWER LOGISTICS
L O G I S T I C S T O D A Y T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
เปิ ดตัว
บริษัท เอ็นอีซี คอร์ ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) ผู้ให้ บริการโซลูชนั่ ด้ านไอที ประกาศเปิ ดตัวผลิตภัณฑ์เซิร์ฟเวอร์สอื่ สารใหม่ลา่ สุดในประเทศไทย ในตระกูล UNIVERGE SV9000 พร้ อมกันนี ้ยังเปิ ดตัวโทรศัพท์ตงโต๊ ั ้ ะตระกูล UNIVERGE DT800 และ DT400 เซิร์ฟเวอร์สอื่ สารใหม่ลา่ สุด ทีม่ อบโซลูชนั่ เทคโนโลยีการ สือ่ สารแบบรวมศูนย์ รวมถึงการสือ่ สารด้วยเสียง การประชุมทางไกลผ่านวิดโี อ การส่งข้อความโต้ตอบแบบทันที การส่งข้อความแบบรวมศูนย์ ระบบคอนแทค เซ็นเตอร์ ความสามารถในการใช้ งานได้ จากทุกที่ รวมทังการท� ้ างานร่วมกัน แบบเรียลไทม์
เปิ ดตัว “Year of Service เมืองไทยหัวใจบริการ”
นวลพรรณ ล�่าซ�า กรรมการผู้จดั การ และประธานเจ้ าหน้ าที่บริ หาร บริ ษัท เมืองไทยประกันภัย จ�ากัด (มหาชน) พร้ อมผู้บริ หารระดับสูงและ พนักงานรวมพลคนสีฟ้าร่ วมกันเปิ ดตัว “Year of Service เมืองไทยหัวใจ บริการ” ปี แห่งความเป็ นเลิศด้ านบริการ โดยก�าหนดเป็ นแนวทางและหัวใจ หลักส�าคัญให้ แก่พนักงานยึดถือปฏิบตั ิร่วมกัน เพื่อสร้ างความเป็ นองค์กร ที่เป็ นเลิศสูงสุดด้ านบริ การ ณ อาคารเมืองไทยประกันภัย
ร่วมแถลงผลงานโชว์เบี้ยประกันปี 2557
บริ ษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จ�ากัด (มหาชน) เพื่อนคูช่ ีวิต...ตลอดไป โดย นุ สรา (อั ส สกุ ล ) บั ญ ญั ติ ปิ ยพจน์ กรรมการผู้ จั ด การ อิฏฐ์ อภิรักษ์ ตวิ งศ์ รองกรรมการผู้จดั การ พร้ อมคณะผู้บริ หาร ร่วมแถลง ผลการด�าเนินงานด้ วยยอดเบี ้ยประกันชีวิตปี แรก 4,000 ล้ านบาทเติบโต จากปี 2556 ถึง 11.2% พร้ อมเตรี ยมรุกตลาดปี 2558 ด้ วยการเร่งเดินหน้ า สรรหาตัวแทนประกันชีวิตใหม่ และเพิ่มศักยภาพทุกช่องทางการขาย ตัง้ เป้าสิ ้นปี 2558 เบี ้ยประกันใหม่เติบโต 15% ณ โรงแรมทอแสงโขงเจียม จ.อุบลราชธานี
สวัสดีปีใหม่ 2558 ท่านผู ว้ า่ ราชการจังหวัดชลบุ รี
คมสัน เอกชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี รับมอบกระเช้ าเนื่องใน โอกาสวันปี ใหม่จาก อังเดร บรู ลฮาร์ ท ผู้จดั การทัว่ ไปโรงแรมเซ็นทารา แกรนด์มิราจบีชรี สอร์ ท พัทยา โดยมี สุกัญญา วงษ์ ดรมา ผู้อ�านวยการ ฝ่ ายการเงินและบัญชี ร่ วมอวยพรปี ใหม่ ณ ศาลากลางจังหวัดชลบุรี
THE POWER LOGISTICS
9
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E E V E N T
ทช. เปดทดลองใชสะพานขามแมนํ้าเจาพระยา บริเวณถนนนนทบุรี 1
กรมทางหลวงชนบท เปิ ดทดลองใช้ สะพานข้ ามแม่ น�า้ เจ้ าพระยา บริ เวณถนน นนทบุ รี 1 มอบเป็ นของขวั ญ ปี ใหม่ ให้ ประชาชน พร้ อมปล่ อยขบวนรถอ�านวยความ ปลอดภัยเทศกาลปี ใหม่ 2558 พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รั ฐมนตรี ว่าการ กระทรวงคมนาคม เป็ นประธานเปิ ดให้ ประชาชนได้ ทดลองใช้ สะพานข้ ามแม่ น� า้ เจ้ า พระยา ช่ ว งถนนนนทบุรี 1 อย่ า งไม่ เ ป็ น
10
THE POWER LOGISTICS
ทางการ พร้ อมปล่ อ ยขบวนรถอ� า นวยความ ปลอดภัย เทศกาลปี ใหม่ ปี พุท ธศัก ราช 2558 พร้ อมด้ ว ยคณะผู้ บริ ห ารกระทรวงคมนาคม ผู้บริ หารกรมทางหลวง ผู้บริ หารกรมการขนส่ง ทางบก ผู้บริ หารกรมทางหลวงชนบท ข้ าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้ าง และสื่อมวลชน โดยมี นายดรุ ณ แสงฉาย อธิบดีกรมทางหลวงชนบท เป็ นผู้กล่าวรายงาน ณ บริ เวณสะพานข้ ามแม่น� ้า เจ้ าพระยา บริ เวณถนนนนทบุรี1 นายดรุณ แสงฉาย อธิบดีกรมทางหลวง ชนบท กล่าวว่า กรมทางหลวงชนบท (ทช.) ได้ รับ มอบหมายให้ ดา� เนินการก่อสร้ างสะพานข้ ามแม่น� ้า เจ้ าพระยา บริ เวณถนนนนทบุรี 1 อ�าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เพือ่ เชื่อมต่อถนนนนทบุรี 1 สาย เลีย่ งเมืองนนทบุรีกบั ถนนราชพฤกษ์ รวมระยะทาง ทัง้ โครงการประมาณ 4.3 กิโลเมตร ต�าแหน่ง
ก่อสร้ างสะพานตามแนวแม่น� ้าเจ้ าพระยาจะอยู่ ระหว่างสะพานพระนัง่ เกล้ า กับ สะพานพระราม 5 โดยสะพานข้ ามแม่น� ้าเจ้ าพระยาแห่งใหม่ที่ ทช. ได้ ด� า เนิ น การก่ อ สร้ างมี รู ป แบบโครงสร้ างเป็ น ลักษณะสะพานคา ซึง่ (ExtardosedPrestressed Concrete Bridge) จ�านวน 6 ช่องจราจร ความยาว รวม 460 เมตร เริ่มด�าเนินการก่อสร้ างสะพานแห่ง นี ้ตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคม 2555 มีก�าหนดแล้ วเสร็จ เดือนมี นาคม 2558 โดยมี ก�าหนดการเปิ ดให้ ประชาชนได้ ทดลองใช้ สะพานดังกล่าวในช่วงสิ ้นปี 2557 เพื่อมอบเป็ นของขวัญปี ใหม่ปีพุทธศักราช 2558 ให้ แก่ประชาชน ตามนโยบายของรัฐบาล และรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม โดยสะ พานฯ สามารถเปิ ดใช้ ง านได้ เ ร็ ว กว่ า ก� า หนด ประมาณ 3 เดือน ปั จจุบนั สะพานแห่งนี ้อยูร่ ะหว่าง การขอพระราชทานชือ่ สะพาน [P]
G O G R E E N T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
“กรมโรงงานฯ” สรางพลังงานยั่งยืน ชูพลังงานเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม กรมโรงงานอุตสาหกรรม เดินหน้ าอนุรักษ์ พลังงาน เปิ ดตัว “โครงการสํารวจและจัดทํา แนวทางการเพิ�ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ เ ป็ น พ ลั ง ง า น ท ด แ ท น ใ น ภ า ค อุตสาหกรรม” และ “โครงการเพิ�มประสิทธิภาพ ระบบไอนํ า� ในโรงงานสกั ด นํ า� มั น ปาล์ ม และ โรงงานผลิตเยื�อกระดาษ” ด้ วยความตระหนักถึงภัยอันตรายที�อาจเกิดขึ �น ในขัน� ตอนของกระบวนการผลิ ต ภายในโรงงาน อุ ต สาหกรรม และเพื� อ สร้ างความเป็ นมิ ต รต่ อ สิ�งแวดล้ อม กรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงอยากจะ ปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตก๊ าซชีวภาพ การจัด เก็บและการใช้ ทถี� กู ต้ อง เพือ� เพิม� ประสิทธิภาพระบบ ไอนํ �าในโรงงานสกัดนํ �ามันปาล์มและโรงงานผลิต เยื�อกระดาษ ตลอดจนการวางแนวทางเพิ�มความ ปลอดภัยในการใช้ งานหม้ อนํ �า พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กล่าวถึงงานครัง� นี �ว่า กรมโรงงานอุตสาหกรรม ได้ รั บ การสนับ สนุน งบประมาณจากกองทุน เพื� อ ส่ง เสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื�อ ปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตก๊ าซชีวภาพ การจัด เก็บ และการใช้ ที�ถกู ต้ องในอุตสาหกรรมต่างๆ และ เพิ�มประสิทธิภาพระบบไอนํ �าในโรงงานสกัดนํ �ามัน ปาล์มและโรงงานผลิตเยื�อกระดาษตลอดจนการ วางแนวเพิ�มความปลอดภัยในการใช้ งานหม้ อนํ �า เนื� องจากปั จจุบันมีอุบัติเหตุเกี� ยวกับหม้ อนํ า� บ่ อ ยครั ง� โดยโครงการเกี� ย วกับ ก๊ า ซชี ว ภาพนี ม� ี โรงงาน 50 โรงงาน ที�มีการผลิตและใช้ งานก๊ าซ ชีวภาพเข้ าร่ วมโครงการจากทังหมด � 336 โรงงาน ซึ�งคาดว่าจะช่วยให้ เกิ ดการประหยัดพลังงานได้ โรงงานละ 3 ล้ านบาท/ปี หรื อไม่น้อยกว่า 150 ล้ าน บาท/โครงการ/ปี มีโรงงานสกัดนํ �ามันปาล์ม และโรงงานผลิตเยื�อ กระดาษจํานวน 12 โรงงานจากจํานวน 110 โรงงาน เข้ าร่ วมโครงการ ซึ�งคาดว่าจะช่วยให้ เกิดการลด ต้ นทุนในระบบไอนํ �าได้ โรงงานละประมาณ 5 ล้ าน บาท/ปี หรื อไม่น้อยกว่า 60 ล้ านบาท/โครงการ/ปี
หากในอนาคตมี ก ารขยายผลไปยัง โรงงานทัง� หมดกว่า 446 โรงงาน ก็ คาดว่ า จะประหยัด พลัง งานได้ ก ว่ า 1,500 ล้ านบาท/ปี ประสงค์ นรจิตร์ ผู้อํานวยการ สํานั กเทคโนโลยีความปลอดภัย กรม โรงงานอุ ต สาหกรรม กล่ า วว่ า เสริ ม ว่ า โครงการนี �จะช่วยเพิ�มความปลอดภัยและรักษาสิ�ง แวดล้ อ มในโรงงาน ผ่ า นการอบรมแก่ บุ ค ลากร จํานวนกว่า 800 คน เช่น เจ้ าของกิจการ วิศวกร ของ โรงงานให้ มี ค วามรู้ ด้ านการเพิ� ม ประสิ ท ธิ ภ าพ พลังงาน ความปลอดภัย และสิ�งแวดล้ อม ตลอดจนจะมีผ้ เู ชี�ยวชาญเข้ าไปช่วยโรงงานวาง แนวทางการผลิตก๊ าซชีวภาพ และการใช้ งานและ บํารุ งรักษาหม้ อนํา� ให้ เกิดการประหยัดพลังงาน มี ความปลอดภั ย เป็ นมิ ต รกั บ สิ� ง แวดล้ อม และ สอดคล้ องกับกฎหมาย เพื�อช่วยให้ โรงงานอยูร่ ่วมกับ ชุมชนได้ อย่างยัง� ยืน
“การขยายผลของโครงการนี �จะช่วยให้ มีการนํา พลังงานทดแทนมาใช้ มากขึ �น และเพิ�มประสิทธิภาพ การใช้ พลั ง งานอย่ า งกว้ างขวาง และมี ค วาม ปลอดภั ย ในการใช้ งานอย่ า งแท้ จริ ง ส่ ง ผลให้ ผู้ประกอบกิจการสามารถลดต้ นทุนด้ านพลังงาน มี ความปลอดภัย รักษาสิ�งแวดล้ อม อันจะนําไปสูก่ าร พัฒนาอย่างยัง� ยืนของภาคอุตสาหกรรม ตลอดจน ความมั�นคงทางด้ านพลังงานของประเทศไทยใน อนาคตต่อไป” ผอ.ประสงค์ เปรย [ P ]
THE POWER LOGISTICS
11
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E C O V E R S T O R Y
ไทย “ฮับ” ภูมิภาค
เออีซี ดันขนสง-โลจิสติกสโต
จากกระแสการเข า สู ก ารเป น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น (เออี ซี ) สงผลใหผูประกอบการไทยมีการเตรียมตัวเพื่อรับโอกาสจากการขยายตัว ของเศรษฐกิจขนาดใหญ โดยการเขาไปใหบริการดานโลจิสติกสใหกับ ผูประกอบการไทยที่เขาไปลงทุนในประเทศ CLMV และมีแผนการเพิ่มการ ลงทุนอยางตอเนื่อง ด้ วยเหตุผลดังกล่าวท�าให้ การขนส่งทางถนน เติบโตตาม ซึง่ เป็ นโอกาสของประเทศไทยในการ ช่วงชิงโอกาส ด้ วยยุทธศาสตร์ ของไทยสามารถ เป็ นศูนย์กลางขนส่งทางถนนได้ แต่ท�าอย่างไรที่ เราจะได้ ผลประโยชน์ จากตรงนีม้ ากที่สุด ไม่ใช่ แค่”ทางผ่าน”อย่างที่หลายฝ่ ายกังวล จากบทวิ เ คราะห์ ข อง ศูน ย์ วิ จัย กสิ ก รไทย คาดว่า ในปี 2558 นี ้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศหรือ จีดพี ี ในภาคขนส่งและโลจิสติกส์ทาง ถนนเฉพาะการขนส่งสินค้ า จะมีมลู ค่า 105,300106,600 ล้ านบาท โดยขยายตัวร้ อยละ 3.2-4.4 เพิ่มขึ ้นจากปี ที่ผา่ นมา
ถนนทุกสายมุ่งสู่ CLMV
ส�าหรับทิศทางของผู้ประกอบการขนส่งทาง ถนนของไทยในปี 2558 นี ้ นับว่าได้ มีการปรับตัว และปรั บ กลยุ ท ธ์ โ ดยการมุ่ ง การลงทุ น ไปยั ง ประเทศเพื่ อ นบ้ าน เพื่ อ เป็ นการสนั บ สนุ น
12
THE POWER LOGISTICS
อุตสาหกรรมการผลิต และบริ การของไทยที่เข้ าไป ลงทุนในประเทศแถบอาเซียน โดยเฉพาะกลุ่ม ประเทศ CLMV (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และ เวียดนาม) ซึง่ มีพรมแดนติดกับประเทศไทย หรื อ สามารถเดินทางผ่านแดนโดยการคมนาคมทาง ถนนได้ จึงเป็ นโอกาสที่ดีของธุรกิจขนส่งสินค้ า ทังนี ้ ้การให้ บริการของธุรกิจขนส่งระหว่างประเทศ ของผู้ประกอบการไทยไปยัง CLMV ในปั จจุบนั
C O V E R S T O R Y T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
อลัน มิว กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลดไวด (ประเทศไทย)
มีการด�าเนินการแบ่งได้ หลายรูปแบบเช่น บริ การ ขนส่งระหว่างประเทศเพื่ อการเชื่ อมโยงการค้ า และการเชื่อมโยงซัพพลายเชนระหว่างประเทศ และ การเข้ า ไปลงทุน ในประเทศ CLMV เพื่ อ ประกอบกิจการขนส่งและการจัดการซัพพลายเชน ในประเทศเหล่านัน้ ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นการเข้ าไปให้ บริการผู้ประกอบการไทยทีเ่ ข้ าไปลงทุนในประเทศ เพื่อนบ้ าน ส�าหรับทิศทางของการขยายการลงทุนของ ธุรกิจขนส่งไปยังประเทศ CLMV ในระยะข้ างหน้ า นัน้ ศูนย์วิจยั กสิกรไทย เห็นว่า ธุรกิจขนส่งสินค้ า ข้ ามแดน ธุรกิจคลังสินค้ า คลังสินค้ าห้ องเย็น และ รถขนส่ง สิน ค้ า ควบคุม อุณ หภูมิ เพื่ อ ให้ บ ริ ก าร
ดรุณ แสงฉาย อธิบดีกรมทางหลวง มารติน ลุนดสตัดท ประธานกรรมการบริหาร สแกนเนีย ซีวี เอบี
ธุรกิจสินค้ าอุปโภคบริ โภค ร้ านอาหาร เครื่ องดื่ม และเวชภัณฑ์ เป็ นตลาดทีน่ า่ จะขยายตัวได้ อกี มาก เนือ่ งจากสินค้ าอุปโภคบริโภคของไทยเป็ นรายการ สินค้ าส่งออกอันดับต้ นๆ ไปยังกลุ่มประเทศดัง กล่าว จากความนิยมจากประชาชนในประเทศ เหล่ า นั น้ ที่ มี ต่ อ เนื่ อ งมายาวนาน นอกจากนี ้ ยังได้ รับปั จจัยสนับสนุนจากการเข้ าไปขยายการ ลงทุนของธุรกิจร้ านอาหาร โดยเฉพาะเชนร้ าน อาหาร และเครื่ องดื่ม ตลอดจนการเติบโตของ ภาคการท่องเที่ยวในประเทศ CLMV อีกด้ วย
กลุ่มทุนนอกปั จจัยท้ าทาย
การขนส่งทางถนนแม้ ว่าจะเป็ นโอกาสของ ไทยก็ จริ ง แต่ผ้ ูประกอบการก็ ยังต้ องเผชิ ญกับ ความท้ า ทายอี ก หลายด้ า น ไม่ว่า จะเป็ นราคา น� ้ามันเชื ้อเพลิงมีแนวโน้ มลดลง แต่ผ้ ปู ระกอบการ ยังคงต้ องเผชิญกับต้ นทุนที่สูง แม้ ว่ารถบรรทุก ขนส่งสินค้ าส่วนใหญ่กว่าร้ อยละ 76 จะใช้ น� ้ามัน ดีเซลเป็ นเชื ้อเพลิงในการขนส่ง แต่บางส่วนก็ยงั มี การใช้ ก๊าซ NGV อยู่บ้าง ซึ่งรถบรรทุกที่ใช้ ก๊าซ NGV จะมีต้นทุนที่เพิ่มขึ ้น จากการที่ภาครัฐได้ มี การปรับโครงสร้ างราคาเพือ่ สะท้ อนต้ นทุนทีแ่ ท้ จริง นอกจากนี ้ผู้ประกอบการไทยยังคงต้ องเผชิญ ความท้ าทายจากผู้ประกอบการรายใหญ่จากต่าง ชาติ ได้ แก่ กลุม่ ทุนจากประเทศจีน ซึง่ รัฐบาลจีน ได้ ส่งเสริ มภาคอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ของจีนให้
ใช้ เส้ นทาง R3A ซึ่งเป็ นเส้ นทางที่เชื่อมระหว่าง เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน ของจีนตอนใต้ สปป. ลาว และประเทศไทยเข้ าด้ วยกันเพื่อใช้ ในการ ขนส่งสินค้ า ซึง่ ผู้ประกอบการจีนมีความได้ เปรี ยบ เนื่ องจากมีความเชี่ยวชาญในเส้ นทางดังกล่าว ทังนี ้ ้ ที่ผ่านมากลุม่ ทุนจากจีนได้ เล็งเห็นโอกาสที่ จะเพิ่มมากขึ ้น จึงเตรี ยมลงทุนก่อสร้ างโครงการ ศูนย์โลจิสติกส์ที่ อ�าเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย เพื่อใช้ ในการพัก ขนถ่าย และเปลี่ยนถ่ายสินค้ าที่ จะส่งต่อไปยังกรุงเทพฯ และตลาดอาเซียนต่อไป กลุ่มทุนจากประเทศญี่ปนุ่ และฮ่องกง โดย เฉพาะกลุม่ ทุนจากประเทศญี่ปนที ุ่ เ่ ข้ ามาให้ บริการ จัดการโลจิสติกส์ของกลุม่ อุตสาหกรรมญี่ปนที ุ่ เ่ ข้ า มาตังฐานการผลิ ้ ตในประเทศไทยและอาเซียน ซึง่ เป็ นตลาดทีผ่ ้ ปู ระกอบการไทยยังไม่สามารถเข้ าไป แข่งขันได้ กลุม่ ทุนจากกลุม่ ประเทศยุโรป ซึง่ เป็ นผู้ประ กอบธุรกิ จโลจิสติกส์รายใหญ่ ที่มีความช�านาญ และมีระบบการจัดการทีท่ นั สมัย ซึง่ ได้ มกี ารลงทุน อยูเ่ ดิมแล้ วมีการเพิม่ การลงทุนในภูมภิ าคอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศไทยมากยิ่งขึ ้น โดยเล็งเห็น โอกาสในการให้ บริ การระบบซัพพลายเชนที่ครบ วงจร และขยายพื ้นทีค่ ลังสินค้ าไปยังภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศ ตามการขยายตัวของภาคธุรกิจที่ ปั จจุบนั มีการกระจายตัวไปตามต่างจังหวัด โดยการเข้ ามาแข่งขันดังกล่าวนันบริ ้ ษัทคูแ่ ข่ง
THE POWER LOGISTICS
13
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E C O V E R S T O R Y
จากต่ า งชาติ ล้ วนแล้ วแต่ มี ค วามพร้ อมทั ง้ ด้ านเงินทุน เทคโนโลยีที่ทนั สมัย และการบริ การที่ ครบวงจร ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อบริ ษัทโลจิสติกส์ ของไทยได้ เนื่องจากหากผู้ประกอบการไทยยังไม่ หาจุดแข็งในการประกอบธุรกิจแล้ วก็อาจจะท�าให้ สูญเสียโอกาสในการแข่งขันได้ อย่างไรก็ดี ส�าหรับ ผู้ประกอบการไทย นัน้ นับว่า มีจดุ แข็งจากการเป็ นเจ้ าถิน่ ทีม่ ปี ระสบการณ์ในการ ประกอบธุรกิจในพื ้นทีม่ านาน จึงมีความเชีย่ วชาญ ด้ านเส้ นทางและมี เ ครื อ ข่ า ยพั น ธมิ ต รในการ ประกอบธุรกิจ นอกจากนี ้ ยังมีสายสัมพันธ์อนั ดีใน การเป็ นคูค่ ้ ากับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศ รวมทังการมี ้ ความรู้ความช�านาญด้ าน กฎระเบียบ และพิธีการด้ านการประกอบการขนส่ง ทังภายในประเทศและระหว่ ้ างประเทศอีกด้ วย ในส่วนของภาครัฐควรให้ การสนับสนุนภาค การขนส่ง โดยการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานส�าคัญ ทังการตั ้ งนิ ้ คมอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ การตังจุ ้ ด พั ก รถบรรทุ ก และศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ าในจุ ด ยุทธศาสตร์ ทสี่ า� คัญ รวมถึงการพัฒนาปรับปรุงกฎ ระเบียบศุลกากรในกระบวนการขนส่งข้ ามแดน และผ่านแดนให้ มีความทันสมัยและรวดเร็ วเพื่อ เป็ นการลดต้ น ทุน ค่ า ขนส่ ง ซึ่ง จะเป็ นการเพิ่ ม ขีดความสามารถในการแข่งขันให้ ผ้ ปู ระกอบการไทย
14
THE POWER LOGISTICS
รวมถึงการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานด้ านโลจิสติกส์ ในพืน้ ที่ เป้าหมายที่ จะมี การจัดตัง้ เขตเศรษฐกิ จ พิเศษ ซึง่ จะเป็ นการเชื่อมโยงเครื อข่ายการขนส่งที่ เชื่อมปั จจัยการผลิต ระบบการผลิต ห่วงโซ่การผลิต ระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้ านเข้ าด้ วย กันอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลดีตอ่ ผู้ประกอบ การไทย ทั ง้ ผู้ ประกอบการที่ เ ข้ าไปลงทุ น ใน อุตสาหกรรมการผลิตและผู้ประกอบการขนส่งที่ เข้ าไปให้ บริ การอุตสาหกรรมนันๆ ้ ในประเทศเพื่อน บ้ า น และท้ า ยที่ สุด จะสามารถผลัก ดัน ให้ ไ ทย สามารถเป็ นศูนย์กลางการขนส่งของภูมิภาคได้
เร่ งพัฒนาบุคลากรรองรั บ
เพื่อเป็ นการตอบรับการเติบโต และการช่วงชิง โอกาส การพัฒนาบุคลการถือว่าเป็ นเรื่ องส�าคัญ เรื่ องนี ้ กรมทางหลวงชนบท ได้ ร่วมมือกับสถาบัน การศึกษาในการพัฒนาบุคลากร ดรุ ณ แสงฉาย อธิบดีกรมทางหลวง กล่าวว่า ประเทศไทยก�าลัง ก้ าวเข้ าสูป่ ระชาคมอาเซียน การเตรี ยมความพร้ อม ตามภารกิจของกระทรวงคมนาคม คือการเติมต่อ การเชื่ อมโยงเครื อข่ายคมนาคมทั่วภูมิภาคของ ประเทศ ซึ่งกรมทางหลวงชนบท เป็ นผู้ให้ บริ การ ทางหลวงสายรอง หรื อ Feeder Roads เข้ าสูร่ ะบบ คมนาคมขนส่งหลักต่างๆ ที่มีคอ่ นข้ างมาก ในขณะ
ที่จ�านวนเจ้ าหน้ าที่ของกรมทางหลวงชนบทมีอยู่ จ�ากัด การเปิ ดโอกาสให้ นกั เรียน นิสติ นักศึกษา เข้ า มาเรี ยนรู้ ประสบการณ์จริ ง จากการปฏิบตั ิงานใน โครงการต่างๆ ในครัง้ นี ้ จะเป็ นจุดเริ่ มต้ นเตรี ยม ความพร้อมบุคลากร ที่จะเข้ าสู่ตลาดแรงงานทัง้ ภาคเอกชนและภาครัฐ วณิ ช ย์ อ่ วมศรี รองเลขาธิ ก ารคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา กล่าวว่า ส�านักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ลงนามบันทึก ข้ อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับกรมทางหลวง ชนบท และมหาวิทยาลัยชันน� ้ าของรัฐ 8 แห่ง เพือ่ เข้ ามามีสว่ นร่วมในโครงการพัฒนาระบบขนส่งทาง บก ระยะเร่งด่วนของกรมทางหลวงชนบท โดยการ ร่ วมมือในครัง้ นี ้ เพื่อสนับสนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเทีย่ ว การพัฒนาชายแดน การพัฒนาเมือง อย่าง บูรณาการและยัง่ ยืน จึงต้ องสร้ างบุคลากรที่ มีความรู้ ความสามารถ ให้ สอดคล้ องกับความ ต้ องการของตลาดแรงงาน และพัฒนารูปแบบการ จั ด การเรี ย นการสอนที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ ก รม ทางหลวงชนบทเข้ ามามีสว่ นร่วมส่งเสริมให้ นกั เรียน นักศึกษาเข้ าสูต่ ลาดแรงงานเมือ่ จบ การศึกษา
เปิ ดหลักสูตรติวเข้ ม
ขณะที่ วัฒนา พัทรชนม์ รองอธิบดีกรมการ ขนส่งทางบก เปิ ดเผยว่า กรมการขนส่งทางบก ได้ จัดโครงการเสริมสร้ างศักยภาพและพัฒนาทักษะผู้ ขับรถบรรทุกและรถโดยสารในไทย พร้ อมจัดท�า หลั ก สู ต รพั ฒ นาทั ก ษะผู้ ขั บ รถบรรทุ ก และรถ โดยสาร 3 หลักสูตร ตังแต่ ้ ระดับพื ้นฐานจนถึงขันสู ้ ง เพื่อพัฒนาทักษะผู้ขบั รถบรรทุกและรถโดยสารให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพิ่ ม ขึ น้ และเป็ นการสนั บ สนุ นระบบโลจิสติกส์ไทยให้ เตรียมพร้ อมรองรับการเข้ า สูป่ ระชาคมอาเซียน “การจัดโครงการอบรมนี ้ ได้ มีทีมวิทยากรที่มี ความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ตรงจาก ทังในและต่ ้ างประเทศ มาร่วมถ่ายทอดความรู้ภาค ทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิการขับรถให้ แก่พนักงานขับ รถบรรทุกและรถโดยสาร ที่ส�าคัญผู้ที่เข้ ารับการ อบรมและผ่านการประเมินตามเกณฑ์ ที่ก�าหนด จะได้ รั บ ประกาศนี ย บั ต รจากกรมการขนส่ ง ทางบกด้ วย”
C O V E R S T O R Y T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ส�าหรับหลักสูตรที่กรมการขนส่งทางบก เปิ ด อบรม 3 หลักสูตร ประกอบด้ วย หลักสูตรการขับขี่ อย่างปลอดภัย โดยเปิ ดอบรมให้ แก่พนักงานขับรถ ที่มีใบอนุญาตขับรถชนิดที่ 2 ทุกประเภท รุ่นละ 30 คน ระยะเวลา 2 วัน เพื่อให้ รับรู้ เกี่ยวกับทัศนคติ จิตส�านึกและมารยาทในการขับรถ การท�าหน้ าที่ ของพนักงานขับรถ ความรู้เกี่ยวกับเครื่ องยนต์และ การบ�ารุงรักษารถ พร้ อมกับการทดลองขับรถจริ ง ส่ว นหลัก สูต รต่ อ มา การขับ รถเชิ ง ป้ องกัน อุ บั ติ เ หตุ โดยอบรมให้ พนั ก งานขั บ รถที่ มี ใ บ อนุ ญ าตขั บ รถชนิ ด ที่ 2 ทุ ก ประเภท ที่ มี ประสบการณ์ ขับรถบรรทุกหรื อรถโดยสารมาไม่ น้ อยกว่า 5 ปี รุ่นละ 30 คน ระยะเวลา 3 วัน โดยมี เนื ้อหาเน้ นเกี่ยวกับ การขับรถเชิงป้องกันอุบตั เิ หตุ และการบริ หารความเหนื่อยล้ า พร้ อมการทดลอง ขับรถในสถานการณ์ตา่ ง ๆ และหลักสูตรสุดท้ าย การขับรถเชิงป้องกันอุบตั ิเหตุขนสู ั ้ ง โดยอบรมให้ แก่ผ้ ขู บั รถทีม่ ใี บอนุญาตขับรถชนิดที่ 2 ทุกประเภท และมี ประสบการณ์ ในการขับรถบรรทุกหรื อรถ โดยสารมาแล้ วไม่น้อยกว่า 7 ปี หรื อผ่านการอบรม หลักสูตรที่ 2 มาแล้ ว รุ่นละ 20 คน ระยะเวลา 2 วัน โดยเน้ นสถานการณ์ เกิดอุบตั ิเหตุและผลกระทบ ต่างๆ พร้ อมภาคปฏิบตั บิ นถนนจริ ง
ไทยขึน้ แท่ นศูนย์ กลางอาเซียน
ในมุมมองของผู้ประกอบการรถบรรทุก เห็น ว่าการเติบโตของตลาดรถขนส่งในไทย มีแนวโน้ ม สดใส จากนโยบายของรัฐบาลด้ านการกระจาย ความเจริ ญ สู่ภูมิ ภ าค และการเร่ ง สร้ างระบบ โครงสร้ างพื ้นฐานของประเทศ ภาคเอกชนมีความ แข็งแกร่ง และมีความได้ เปรี ยบด้ านภูมิศาสตร์ ใน การเป็ นศูนย์กลางการขนส่งของ AEC ค่ายรถจาก แดนยุโรป “สแกนเนีย” จึง เพิม่ น� ้าหนักความส�าคัญ ตลาดรถขนส่งในประเทศไทย มาร์ ติน ลุ นด์ สตัดท์ ประธานกรรมการ บริ ห าร สแกนเนี ย ซี วี เอบี สะท้ อนว่ า ประเทศไทยในด้ านศักยภาพการเป็ นศูนย์ กลาง การขนส่งของอาเซี ยนเนื่ องในโอกาสการเยื อน ประเทศไทยว่ า ประเทศไทยมี ศัก ยภาพสูง ใน หลายๆ ด้ าน จนถูกยกให้ เป็ นหนึง่ ในผู้น�าอาเซียน โดยอาเซียนถือเป็ นตลาดขนาดใหญ่ และก� าลัง เป็ นกลุ่มประเทศที่ได้ รับความสนใจจากทั่วโลก
เพราะที่มีประชากรรวมกันกว่า 600 ล้ านคน หรื อ คิดเป็ น 10% ของประชากรทังโลก ้ โดยประเทศไทย จะเป็ นหนึ่งในประเทศที่ได้ ประโยชน์จากการรวม ตัวกันมากที่สดุ ในครัง้ นี ้ โดยเฉพาะในภาคธุรกิจ ขนส่ง เพราะไทยมีข้อได้ เปรี ยบทางด้ านภูมศิ าสตร์ ซึง่ อยู่ในจุดศูนย์กลางของอาเซียน ทังยั ้ งสามารถ เชื่อมต่อไปยังจีน และอินเดียได้ อีกด้ วย ส่วนมุมมองต่อการเติบโตของตลาดรถขนส่ง ในประเทศไทยนัน้ คุณ มาร์ ตนิ ให้ ความเห็นว่า ยัง มีโอกาสการเติบโตได้ อีกมาก จากนโยบายของ รัฐบาลที่ต้องการกระจายความเจริ ญไปสูภ่ มู ิภาค และการเชื่อมต่อระหว่างประเทศด้ านเศรษฐกิจ การค้ าท�าให้ มีความต้ องการใช้ รถบรรทุกและรถ โดยสารมากขึ ้น ซึง่ รถบรรทุกและรถโดยสาร สแกน เนียมีประสิทธิ ภาพสูงเหมาะส�าหรั บการบรรทุก หนักและวิ่งทางไกล และมีความปลอดภัยสูง จึง ตอบโจทย์ ก ารขยายการขนส่ ง ทัง้ ในและนอก ประเทศ จากปั จจัยดังกล่าวท�าให้ สแกนเนียมอง เห็นถึงศักยภาพ และความส�าคัญของตลาดรถ บรรทุกและรถโดยสารในประเทศไทย โดยจะผลัก ดันให้ สแกนเนีย สยาม เป็ นหนึง่ ในก�าลังหลักที่จะ สร้ างการเติบโตทังด้ ้ านยอดขาย และการบริการใน ตลาดรถขนส่งของเอเชีย
บุกเอเชีย โรด เน็ตเวิร์ก
ในขณะนี ้ทีบ่ ริษทั ส่งด่วนยักษณ์ใหญ่ “ทีเอ็นที” ได้ ปทู างเรื่ อง Asia Road Network มาหลายปี อลัน มิว กรรมการผู้จดั การใหญ่ บริษทั ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลด์ ไวด์ (ประเทศไทย) เปิดเผยว่า ปี นี ้ธุรกิจขนส่งด่วนน่าจะเติบโตดีกว่าปี ที่ผ่านมา จากเหตุก ารณ์ บ้ า นเมื อ งดี ขึน้ คาดว่า จะท� า ให้
มูลค่าขนส่งด่วนโตไม่ต�่ากว่า 10% ในส่วนของที เอ็น ที ค าดหวัง เติ บ โตจากฐานลูก ค้ า เดิ ม ที่ ยัง ใช้ บริ การต่อเนื่อง และฐานลูกค้ าใหม่ที่เข้ ามามากขึ ้น หลังมีบริ การตอบสนองดีขึ ้น ปั จจัยที่สนับสนุนการเติบโตคือการเปิ ดเออีซี ปลายปี นี ้ โดย ทีเอ็นทีได้ เตรี ยมพร้ อมไว้ ล่วงหน้ า ด้ วยการเปิ ดบริ การ Asia Road Network (เอเชีย โรด เน็ตเวิร์ก) หรือการใช้ รถบรรทุกขนส่งสินค้ าข้ าม เขตชายแดนทางถนนจากจีน ผ่านเวียดนาม มา ไทย และไปจบ ที่สงิ คโปร์ จึงน่าจะรองรับการเปิ ด เออีซีได้ ดี นอกจากนี ้ ยังรองรับกระแสน�าเข้ าสินค้ าจาก จีนมาไทยที่มีแนว โน้ มโตอย่างมาก สะท้ อนได้ จาก เดิ ม การขนส่ ง สิ น ค้าจากจี น มาไทยจะมาทาง อากาศ โดยใช้ ฐานการบินจากฮ่องกงมาไทย แต่ หลังจากมีเอเชีย โรด เน็ตเวิร์ก ก็มีบางส่วนที่ไม่ ต้ องการขนส่งด่วนมากทางอากาศเพราะต้ นทุนสูง แต่กไ็ ม่อยากเสียเวลารอนานจากการขนส่งทางเรือ จึ ง หัน มาใช้บริ ก ารขนส่ ง ทางถนนจ� า นวนมาก เพราะเร็ วปานกลางและต้ นทุนถูกกว่าขนส่งทาง อากาศ “แนวโน้ มการขนส่งสินค้ าจากจีนมาไทยจะโต ขึ ้นอีก เพราะจีนเป็ นประเทศที่บริ ษัทที่มีชื่อเสียง ระดับโลกมาตังโรงงานผลิ ้ ตสินค้ าส่งออกไปยังทัว่ โลก โดยไทยมีทงน� ั ้ าเข้ าสินค้ าส�าเร็จรูปทีจ่ นี ผลิตมา และมีบางส่วนน�าเข้ าชิ ้นส่วนเข้ ามาประกอบในไทย แล้ วส่งออกไปยุโรป” มิว กล่าว การขนส่งทางถนนมีโอกาสเติบโตอีกมาก แต่ทงนี ั้ ้ ยังมีหลายปั จจัยทีท่ ้ าทายการแข่งขันของผู้ประกอบ การ และปั จจัยที่สา� คัญที่สดุ ท�าอย่างไรให้ ไทยเป็ น ศูนย์กลางการขนส่งทางถนนอย่างแท้ จริง!! [P]
THE POWER LOGISTICS
15
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E B U S . F O C U S
Thaitrade.com
เพิ่มศักยภาพอีคอมเมิรซ ขยายตลาด SMEs สูเศรษฐกิจดิจิทัล การซือ้ ขายทาง”ออนไลน” เปนอีก ชองทางหนึ่งในปจจุบัน ที่ตอบโจทย เ รื่ อ ง ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ล ะ ร ว ด เ ร็ ว Thaitrade.com อีมารเก็ตเพลส โดยกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย ที่ ช ว ยส ง เสริ ม ศักยภาพผูประกอบการไทยใหทำการ คาออนไลนไดอยางมีประสิทธิภาพ ปั จจุบนั มีสนิ ค้ ามากกว่า 200,000 รายการ และ มี ผ้ ูซื อ� จากประเทศต่ า งๆ เข้ า ชมสิ น ค้ า มากกว่ า 2,150,000 ราย จากกว่า 220 ประเทศทัว� โลก สร้ าง มูลค่าการค้ ามาแล้ วกว่า 7,500 ล้ า นบาท ด้ ว ย บริ ก ารภาครั ฐ ที� มี ค วามก้ า วหน้ า ในแนวคิ ด การ บริ ห ารงานเชิ ง รุ ก และใช้ เทคโนโลยี เ พื� อ การให้ บริ การที�โดดเด่น เพื� อ เป็ นการอํ า นวยความสะดวกและสร้ าง ความมั� น ใจให้ กั บ ผู้ ซื อ� ทั� ว โลก ตอบสนองต่ อ พฤติกรรมการซื �อสินค้ าออนไลน์ในปั จจุบนั ส่งเสริ ม ผู้ประกอบการไทย โดยเฉพาะอย่างยิ�ง SMEs ให้
16
THE POWER LOGISTICS
ก้ าวสูเ่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั อย่างเข้ มแข็ง Thaitrade.com จึงจับมือกับองค์กรพันธมิตรสําคัญ ได้ แก่ ธนาคาร กรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) และ บริ ษัท ดีเอชแอล เอ๊ กซ์เพรส อินเตอร์ เนชัน� แนล (ประเทศไทย) จํากัด ทีจ� ะร่วมกันพัฒนาบริการอีคอมเมิร์ซอย่างครบวงจร การจัด ทํ า “บัน ทึ ก ข้ อตกลงด้ า นการให้ บริ ก ารชํ า ระเงิ น ในโครงการตลาดกลาง พ า ณิ ช ย์ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ภ า ย ใ ต้ ชื� อ Thaitrade.com ระหว่างกรมส่งเสริมการ ค้ าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) ภายใต้ บันทึกข้ อตกลงดังกล่าว เว็บไซต์ Thaitrade.com จะเป็ นระบบตลาดกลางพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ (e-Marketplace) ที�สมบูรณ์ แบบ โดยสามารถรองรับการชําระเงินผ่านระบบออนไลน์ และบริ การชํ าระเงินอื� นๆ ของธนาคารระหว่างผู้
ประกอบการไทยและผู้ ซื อ� จากทั� ว โลกได้ อย่ า ง สะดวกและมีความปลอดภัย โดยสมาชิกผู้ขายบน Thaitrade.com จะได้ รับการอํานวยความสะดวก ด้ วยบริ การ e-Commerce Payment ที�มีเครื� องมือ การใช้ งานที�ครบครัน ใช้ งานง่าย และปลอดภัย ผ่าน เว็บไซต์ Thaitrade.com สุวรรณ แทนสถิตย์ กรรมการรองผู้จัดการ ใหญ่ ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) กล่าวถึง ความร่วมมือในครัง� นี �ว่า ธนาคารกรุงเทพฯ ในฐานะ สถาบันการเงินแห่งแรกที�เป็ นพันธมิตรของโครงการ Thaitrade.com ได้ เข้ าร่ วมสนับสนุนให้ Thaitrade. com เข้ าสูก่ ารเป็ นเครื� องมือทางการค้ าในยุค Digital Economy อย่ า งเต็ ม รู ป แบบ โดยได้ รั บ ความไว้ วางใจจากกรมส่งเสริ มการค้ าระหว่างประเทศให้ พัฒนาระบบรับชําระเงินออนไลน์ (e-Commerce Payment) ที�เชื�อมต่อกับเว็บไซต์ Thaitrade.com
B U S . F O C U S T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
เพื� อ อํ า นวยความสะดวกให้ สมาชิ ก ผู้ ซื อ� สิ น ค้ า สามารถชําระเงินผ่านวิธีการอันหลากหลายแบบ ออนไลน์ได้ อย่างครบวงจร รวดเร็ ว และปลอดภัย “ที�ผ่านมาธนาคารกรุ งเทพฯ ได้ ร่วมสนับสนุน กิจกรรมต่างๆ ของ Thaitrade.com อย่างต่อเนื�อง และพร้ อมให้ บริ การด้ านการค้ าระหว่างประเทศ แบบครบวงจร ด้ วยทีมงานผู้เชี�ยวชาญที� สามารถให้ คําแนะนําแก่ลกู ค้ าได้ อย่างมี ประสิทธิ ภาพ อีกทังยั � งมีเครื อข่ายสาขา ต่างประเทศ จํานวน 29 แห่ง ใน 14 เขต เศรษฐกิ จ สํ า คั ญ ทั� ว โลก และธนาคาร พันธมิตรอีกกว่า 1,100 แห่งที�สามารถตอบ สนองความต้ องการของลูกค้ าผู้ประกอบ ธุรกิจและคูค่ ้ าได้ อย่างครอบคลุม” นอกจากนี �ยังมีบนั ทึกข้ อตกลงความร่ วม มือด้ านการขนส่งและโลจิสติกส์ เพื�อสนับสนุน โครงการตลาดกลางพาณิ ชย์ อิเล็กทรอนิกส์ Thaitrade.com ระหว่างกรมส่งเสริ มการค้ า ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ และบริ ษัท ดี เอชแอล เอ็ ก ซ์ เพรส อิ น เตอร์ เนชั� น แนล (ประเทศไทย) จํากัด ภายใต้ บนั ทึกข้ อตกลงดังกล่าว สมาชิกผู้ขาย บน Thaitrade.com จะได้ รับส่วนลดร้ อยละ 30 จาก บริ ษั ท ดี เ อชแอลฯ สํ า หรั บ การขนส่ง สิ น ค้ า ทาง อากาศแบบเร่ ง ด่ว นระหว่า งประเทศที� ทํ า การลง ทะเบียนขนส่งสินค้ าผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์โดย เว็บไซต์ www.mydhl.dhl.com และชําระเงินค่า ขนส่งผ่านบัตรเครดิต รวมทังจะจะได้ � รับข้ อมูลเกี�ยว กับกฎระเบียบและขันตอนการขนส่ � งสินค้ าระหว่าง ประเทศ และข้ อมูลเกี�ยวกับความเคลือ� นไหวในแวด
วงโลจิสติกส์ รวมไปถึงข้ อมูลอื�นๆ ที�ผ้ สู ่งออกควร ทราบในการขนส่งสินค้ าไปยังประเทศต่างๆ และ การแจ้ งเตื อนถึงกฎระเบี ยบที� เปลี�ยนแปลงไปใน แต่ละประเทศ (Trade Alerts) ชนัญญารั กษ์ เพ็ชร์ รัตน์ กรรมการผู้จดั การ ดีเอชแอล เอ๊ กซ์ เพรส ประเทศไทย และภาคพื �น อินโดจีน กล่าวว่า “การสร้ างความรู้ความเข้ าใจด้ าน กฎระเบี ย บศุล กากรถื อ เป็ นความท้ า ทายสํ า คัญ สําหรับผู้ประกอบธุรกิจชาวไทยในการติดต่อค้ าขาย
ระดับสากล ดีเอชแอลฯ มีทีมงานผู้เชี�ยวชาญที�มี ความรู้ ความเข้ าใจในกฎเกณฑ์ ศุล กากรของประเทศต่ า งๆ ที� เ รา เข้ าไปดําเนินธุรกิจ ทังยั � งมีเครื� องมือ อํานวยความสะดวกด้ านการขนส่งสินค้ าที� พร้ อมให้ บริการทางออนไลน์ทคี� รบครัน เรายินดีเป็ น อย่างยิง� ที�ได้ มีโอกาสทํางานร่วมกับกรมส่งเสริมการ ค้ าระหว่างประเทศ และสมาชิกของ thaitrade.com ในการอํานวยความสะดวก ให้ คําแนะนําและเสนอ กลยุ ท ธ์ ต่ า งๆ เพื� อ สนั บ สนุ น การค้ าระหว่ า ง ผู้ประกอบการไทยและคู่ค้าในตลาดการค้ าระดับ โลกให้ มีประสิทธิ ภาพมากขึน� ทัง� นีเ� พื�อสนับสนุน การเจริ ญเติบโตของเศรษฐกิจของไทย” นันทวัลย์ ศกุนตนาค อธิบดีกรมส่ งเสริ ม การค้ าระหว่ างประเทศ กล่าวว่า ตนรู้สกึ ยินดีเป็ น อย่างยิ�งที�วันนี � Thaitrade.com อีมาร์ เก็ตเพลส อันดับหนึ�งของไทย ได้ เพิ�มศักยภาพในการแข่งขัน โดยการพัฒนาเครื� องมืออีคอมเมิร์ซใหม่ๆ ร่ วมกับ พันธมิตรที�เข้ มแข็งอย่าง ธนาคารกรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) และบริ ษัท ดีเอชแอล เอ๊ กซ์เพรส อินเตอร์ เนชัน� แนล (ประเทศไทย) จํากัด ซึง� จะเป็ นการเพิ�ม ช่องทางการค้ าให้ สินค้ าไทยสามารถออกสู่ตลาด โลกในยุค Digital Economy อีกทังสามารถช่ � วย สร้ างผลกํ า ไรกลั บ สู่ ผ้ ู ประกอบการไทยและ ประเทศไทยได้ เพิ�มมากขึ �น เมื�อธุรกิจไทยสามารถ เข้ าสูต่ ลาดต่างประเทศโดยเฉพาะประเทศที�มีความ มัน� คงสูงหรื อแหล่งเศรษฐกิจทีส� าํ คัญกับผู้ซื �อทัว� โลก และสามารถตอบสนองพฤติกรรมการค้ าออนไลน์ ของผู้บริ โภคทั�วโลกได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ ด้ วย บริ การที�สมบูรณ์ แบบ รวดเร็ ว และเป็ นมาตรฐาน สากล “ดิฉันมีความเชื� อมั�นเป็ นอย่างยิ�งว่าบริ การที� สมบูรณ์แบบ ครบวงจร และการเพิ�มศักยภาพต่างๆ ในยุค Digital Economy ของ Thaitrade.com และ กรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ กระทรวง พาณิชย์ ร่ วมกับภาคส่วนต่างๆ ในครัง� นี � จะนําไปสู่ การพัฒนาบริ การที�ยงั� ยืน สามารถเอื �อประโยชน์ตอ่ ผู้ป ระกอบการ ธุร กิ จ การค้ า และเศรษฐกิ จ ของ ประเทศไทยได้ อย่างสูงสุด และส่งผลให้ คุณภาพ ชีวิตของประชาชนดียิ�งขึน� นํามาซึ�งความสุขของ ประชาชนและประเทศไทยต่อไป” [ P ]
THE POWER LOGISTICS
17
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U
รศ.ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ ผอ.ศูนยวิจัยโลจิสติกสและการจัดการ มหาวิทยาลัยบูรพา E-mail : taweesak99@hotmail.com
ทิศทางการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรม ดานโลจิสติกสและซัพพลายเชน สำหรับธุรกิจบริการและธุรกิจธนาคาร ผมได้ วางวัตถุประสงค์ของการศึกษาในครัง้ นี ้ คืนวันก่อนผมได้ รับโทรศัพท์จากผู้บริหารธนาคาร ใหญ่ แ ห่ ง หนึ่ ง ขออนุญ าตไม่ เ อ่ ย นามนะครั บ เพราะอาจจะโดนทักท้ วงว่าไปพาดพิงองค์กรของ เขา โปรยๆนิดหนึง่ ว่าเป็ นธนาคารที่มีสญ ั ลักษณ์ เป็ นรู ปใบโพธิ�สวยๆ แล้ วกันนะครับ โทรมาสอบ ถามเกี่ ย วกั บ การจั ด ท� า หลัก สู ต รเพื่ อ พั ฒ นา ผู้บริ หารในระดับต่างๆขององค์กรให้ ร้ ูจกั เกี่ยวกับ โลจิ สติกส์ และซัพพลายเชน โดยผู้บริ หารของ ธนาคารหรื อแบงค์ทา่ นนันก็ ้ เล่าถึงปั ญหาว่า ตอน นี ้ ก�าลังจะเอาโลจิสติกส์มาใช้ กบั ธุรกิจธนาคาร เพิ่มมากขึ ้น ท่านก็บอกว่าผู้บริ หารของแบงค์สว่ น ใหญ่ยงั ไม่ร้ ูเลยว่าโลจิสติกส์และซัพพลายเชนคือ
18
THE POWER LOGISTICS
อะไร เอาไปใช้ อย่างไรและจะเอาไปเพิม่ คุณค่าให้ กับลูกค้ าได้ อย่างไรแล้ ว แล้ วหลักสูตรที่จะพัฒนา ควรจะใช้ ห ลัก สูต รเดี ย วกัน หมดหรื อ แยกเป็ น แต่ละระดับ เนื ้อหาของหลักสูตรควรเป็ นอย่างไร วันรุ่งขึ ้น ผมก็โทรกลับไปหาผู้บริ หารท่านนัน้ ว่ า ผมคิ ด ออกแล้ วว่ า จะเอาโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละ ซัพพลายเชนไปใช้ ในธุรกิจธนาคารอย่างไร ผมก็ ยกตัวอย่างว่า โลจิสติกส์หมายถึงการไหลหรือการ เคลื่อนย้ ายของสิ่งของ (Physical) เช่นเงินหรื อ ธนบัตรและข้ อมูลสารสนเทศ (Information) เช่น ข้ อมูลการท�าธุรกรรมทางการเงินของลูกค้ า ดังนัน้ การขนเงินหรื อธนบัตรจากธนาคารสาขากระจาย ไปตามตู้ ATM ต่างๆ หลายท่านอาจจะไม่ทราบ
ว่าการจะเอาเงินไปบรรจุตามตู้ ATM นันไม่ ้ ใช่เรื่อง ง่ายๆ แต่ละตู้อาจจะต้ องบรรจุครัง้ ละๆ หลายแสน บางตู้บรรจุเป็ นล้ านบาทซึง่ ต้ องผ่านกระบวนการ ตรวจสอบมากมาย อีกทังตู ้ ้ ATM ของธนาคารก็ ไม่ได้ มีอยู่ที่เดียว มีจ�านวนมากกระจัดกระจาย ตามจุดต่างๆ ดังนันการใช้ ้ ระบบโลจิสติกส์ที่ดีมี ประสิ ท ธิ ภ าพจึ ง มี ค วามจ� า เป็ นอย่ า งยิ่ ง ส่ ว น การน�าระบบซัพพลายเชนมาใช้ กบั ธุรกิจธนาคาร นัน้ ผมก็ยกตัวอย่างไปว่า ทุกวันนี ้คนทีม่ ากู้เงินไป ท� า ธุ ร กิ จ หรื อ ไปซื อ้ บ้ า น ธนาคารไม่ ค วรจะให้ เฉพาะเงิ นกู้ แต่ควรเพิ่มมูลค่าเพิ่มด้ วยการให้ ความรู้ด้วย อาทิเช่น ถ้ าเค้ ามากู้ไปสร้ างบ้ าน เรา จะต้ องมีการให้ ความรู้ ความเข้ าใจว่าการสร้ าง บ้ านอย่างไรในแต่ละขันตอน ้ ฝ่ ายซัพพลายเชนจะ มีข้อมูลพร้ อมรายชื่อบริ ษัทหรื อผู้รับเหมาสร้ าง บ้ าน ผ้ าม่าน วัสดุก่อสร้ าง รับก�าจัดปลวก ประกัน อัคคีภยั เป็ นต้ น ถ้ าติดปั ญหาจะแก้ อย่างไรหรือจะ ต้ องติดต่อใคร เป็ นต้ น ฝ่ ายสินเชื่อจะให้ ข้อมูล ตังแต่ ้ เริ่ มสร้ างจนกระทัง่ เข้ าอยู่อาศัย พอผมพูด จบ ท่านผู้บริหารแบงค์ทา่ นนันก็ ้ ถงึ บ้ างอ้ อ บอกให้ ผมลองท�าหลักสูตรมาน�าเสนอ ซึง่ ผมจะได้ อธิบาย ต่อไปในส่วนต่อไปน่ะครับ ในโลกธุรกิจปั จจุบนั ที่มีการแข่งขันกันมากทัง้ ภายใน และภายนอกประเทศ ท�าให้ อตุ สาหกรรม หรื อบริ ษัทผู้ผลิต / ผู้ให้ บริ การ ต่างแข่งขันกันใน ด้ านการให้ บริการต่อกลุม่ ลูกค้ าของตน ตอบสนอง ความต้ องการให้ กั บ ลู ก ค้ าได้ รวดเร็ ว และมี คุณภาพได้ ดีนัน้ เป็ นสิ่งส�าคัญยิ่งในการด�าเนิน ธุรกิจให้ มีศกั ยภาพ ใช้ องค์ความรู้ (Knowledge) เป็ นปั จจัยหลักในการเพิ่มพูนศักยภาพทางการ แข่งขัน (Competitiveness) ขององค์กร สิง่ ที่จะ ท�าให้ องค์กรสร้ างความได้ เปรียบในการแข่งขัน ถือ เป็ นเครื่ องมือเชิงกลยุทธ์ที่ส�าคัญในการประสาน เชื่อมโยง อีกทังยกระดั ้ บ ขีดความสามารถในการ แข่ ง ขั น ที่ ส่ ง ผลมาจากการถ่ า ยทอดความรู้ (Knowledge Transfer) และนวัตกรรม (Innovation) การปฏิสมั พันธ์ ระหว่างองค์กรมีหลายรู ป แบบ ไม่ว่าจะเป็ นในรู ปของการท�าการวิจยั และ พัฒนาร่วมกัน (Co-R&D) การผลิตร่วมกัน (CoManufacturing) รวมไปจนถึงการจดทะเบียน
G U R U T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ตราสินค้ าร่วมกัน (Co-Branding) จากสภาวะดังกล่าว ท�าให้ สถาบันการเงินของ ไทยต้ องประสบปั ญหาหลายประการเนื่องจาก ปั จจัยต่าง ๆ มากมาย เช่น ปั ญหาเศรษฐกิจใน ระดับมหภาค ผลกระทบต่อการด�าเนินนโยบาย การเงิน การเปิ ดเสรี ทางการเงิน วิธีการก�ากับดูแล สถาบันการเงิน เป็ นต้ น จากปั ญหาดังกล่าวข้ าง ต้ นท�าให้ ธนาคารพาณิชย์ต้องเผชิญกับสภาพการ แข่งขันทีร่ ุนแรงเนื่องจากผู้ใช้ บริการมีทางเลือกใน การใช้ บ ริ ก ารทางการเงิ น เพิ่ ม มากขึ น้ ดัง นัน้ ธนาคารพาณิ ช ย์ ต่า งๆ จึง ต้ อ งหัน มาให้ ค วาม สนใจกับผู้ใช้ บริ การขนาดกลางและผู้ใช้ บริ การ รายย่อยเพิม่ มากขึ ้นธนาคารพาณิชย์จงึ ต้ องปรับ กลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห ารงานน� า มาซึ่ ง การใช้ นโยบายการตลาดสมั ย ใหม่ ที่ เ ป็ นผู้ บริโภคเป็ นตัวน�า (Customer Orientation Marketing Driven) เพื่อหาวิธี การและแนวทางในการตอบสนอง ความต้ องการของผู้ใช้ บริการต่าง ๆ ให้ มีประสิทธิภาพ และครองส่วน แบ่ ง ตลาดให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด เพื่ อ บรรลุเป้าหมายของการประกอบ ธุรกิจ นัน่ คือ “มีก�าไร” นัน่ เอง ดังนัน้ ธนาคารพาณิ ชย์ ต่าง ๆ จึงได้ พยายามแข่งขันการหาลูกค้ า เพิ่มขึน้ ทังเงิ ้ นฝาก และการให้ บริ การ อื่นๆ ที่ธนาคารพาณิชย์มี โดยเน้ นการให้ บริ การที่สะดวก รวดเร็ว ถูกต้ อง เป็ นกันเอง ใช้ เทคโนโลยีสงู มีความมัน่ คงปลอดภัย มีภาพ ลักษณ์ ที่ดี และมีการให้ บริ การธุรกิ จแบบครบ วงจร ปั จจุบนั การแข่งขันไม่ได้ จ�ากัดอยู่ระหว่าง ธนาคารพาณิชย์ไทยเท่านัน้ ยังขยายตัวแข่งขัน กับธนาคารต่างชาติที่เข้ ามาเปิ ดด�าเนินกิจการใน ประเทศด้ วย โดยการหาลูกค้ าเงินฝากเพิม่ มากขึ ้น และการบริ หารจั ด การภายในองค์ ก รที่ มี ประสิทธิภาพมากขึ ้น สภาวะที่การแข่งขันการค้ า รุนแรงดังกล่าว กอปรตลาดการค้ าเสรี ที่เปิ ดกว้ าง การปรั บ ตัว ของผู้ป ระกอบการต่า ง ๆ รวมทัง้ ธนาคาร พยายามยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ และการบริการต่างๆ ของตนเองให้ เป็ นสากลช่วย สร้ างภาพพจน์ที่ดีตอ่ องค์กรว่า ระบบด�าเนินงาน มีคณ ุ ภาพ ก่อผลดีตอ่ ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ สร้ างความ
มั่นใจให้ กับลูกค้ า พร้ อมทัง้ การท�างานอย่างมี ระบบ ย่อมท�าให้ เกิดประสิทธิภาพเพิ่มขึ ้นลดขัน้ ตอนการท�างาน ประหยัดเวลา ยังช่วยให้ องค์กร พัฒนาการบริ หารงาน การผลิต และกระบวนการ ต่างๆ อย่างมีระบบ และมีประสิทธิภาพมากขึ ้น การบริการของธนาคารในปั จจุบนั จึงมีความ ก้ าวหน้ าและทั น สมั ย มากขึ น้ มี ก ารน� า เอา เทคโนโลยีที่ทนั สมัยมาใช้ กบั ระบบการธนาคาร ส่ง ผลให้ เ กิ ด ความสะดวกสบายต่อ ลูก ค้ า เป็ น อย่างมากและท�าให้ เกิดการแข่งขันกันระหว่าง
หลายๆ ธนาคาร เพื่อตอบสนองความต้ องการ ของลู ก ค้ า ให้ ได้ ม ากที่ สุ ด ประกอบกั บ การ พัฒนาการบริ การของธนาคาร ได้ มีการพัฒนา และขยายการบริการต่าง ๆ มากมายก้ าวไปพร้ อม กับความเจริ ญของโลกในยุคนี ้ และสิ่งที่ส�าคัญ ของธนาคารต้ องพึง่ พาลูกค้ า จึงมีความจ�าเป็ นที่ ต้ องท�าความเข้ าใจในความต้ องการของลูกค้ าทัง้ ในปั จจุบนั และอนาคต ต้ องพยายามด�าเนินการ การบริ การให้ บรรลุเป้าหมายตามความต้ องการ ของลูกค้ า รวมถึงการให้ การบริ การที่เหนือความ คาดหมายที่ลกู ค้ าคาดคิดไว้
สิง่ ส�าคัญในการให้ บริการลูกค้ าที่เหนือความ คาดหมายนัน้ คือ การพัฒนาองค์กรให้ ประสบผล ส�าเร็จ หรือเรียกว่า “การบริหารคุณภาพ” ไม่วา่ จะ เป็ นในด้ านของสินค้ า หรือบริการ ทีส่ ามารถสนอง ตอบต่อความต้ องการของลูกค้ า แต่คณ ุ ภาพจะ เกิดขึ ้นได้ ต้องได้ รับความร่วมมือของผู้บริหารและ การมีสว่ นร่วมของพนักงานในองค์กร การน�าเอา ความรู้และประสบการณ์นา� ประยุกต์เพือ่ คุณภาพ ในด้ า นผู้บ ริ ห ารองค์ ก รควรมี ค วามมุ่ง มัน ที่ จ ะ พั ฒ นาองค์ ก รอย่ า งชั ด เจน และการสร้ าง บรรยากาศในการท�างานเพื่อส่งผลให้ พนักงาน เข้ ามามีสว่ นร่วมในการพัฒนาองค์กรด้ วย อี ก ประการหนึ่ ง ของความส� า คั ญ และ ประโยชน์ของศาสตร์ ทางด้ านการจัดการหรือ การบริ หารคุณภาพที่ มีต่อความส�าเร็ จ ขององค์ ก รในยุ ค เศรษฐกิ จ ที่ ใ ช้ เทคโนโลยีและความรู้เข้ มข้ น (Technology and Knowledge Based Economy) คือ ความส�าคัญของ ระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิ ภาพ และทันเวลา ทังนี ้ ้เนือ่ งมาจากการ เปลี่ ย นแปลงเทคโนโลยี ด้ าน สารสนเทศ ท�าให้ ระบบการจัดของ ธุรกรรมธนาคารที่ให้ บริ การถึงมือ ลูก ค้ า เปลี่ ย นแปลงไปอย่า งสิน้ เชิ ง จ� า เป็ นต้ องมี ร ะบบการจั ด การที่ เหมาะสมมารองรั บ นับ ว่ า เป็ นความ ต้ องการของลูกค้ าและภาคธุรกิ จ ดังนัน้ จึงควรพัฒนาหลักสูตรเพื่อสนองความต้ องการ ดัง กล่า ว โดยจัด การเตรี ย มความพร้ อมด้ า น โลจิสติกส์และซัพพลายเชนให้ กับธนาคารไทย พาณิ ช ย์ โดยเน้ นให้ กลุ่ ม ผู้ เข้ ารั บ การอบรม มีความรู้ และความสามารถในการใช้ ระบบการ บริ หารงานด้ าน Logistics & Supply Chain Management & Strategy For Service Logistics สามารถสร้ างและวิเคราะห์ระบบการจัดการ และกลยุ ท ธ์ ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ ธุ ร กรรมของทาง ธนาคารได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและทั น กั บ วิวฒ ั นาการในปั จจุบนั
(อ่านต่อฉบับหน้า)
THE POWER LOGISTICS
19
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U
พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)
Logistics กับพลังงานทดแทน ใครพึ่งพาใคร FiT Premium ของขวัญปแพะจาก คสช. คนไทยส่วนใหญ่เริ่ มเข้ าใจความหมายของ ค�าว่า Logistics ว่าไม่เป็ นเพียงการขนส่งสินค้ า หรื อขนส่งผู้คนเท่านัน้ แต่เป็ นระบบครบวงจรให้ ทันเวลา ปลอดภัยและประหยัดที่สดุ นัน่ คือ มี ต้ นทุนต�่าสุด และต้ นทุนหลักๆ ซึง่ อาจจะมากถึง 80% ก็คือ ค่าน�า้ มันเชื ้อเพลิง ถ้ าจะให้ เข้ าใจ ง่ายๆ ก็คือ พลังงานที่เป็ นน� ้ามันเชื ้อเพลิงภาค ขนส่งใช้ มากที่สดุ และมาตรการที่จะประหยัด พลังงานในส่วนนี ด้ ูจะยังไม่โดนใจผู้ประกอบ การ ปั จจุบนั จึงมีแต่การเรี ยกร้ องให้ ลดราคา พลังงาน แต่มีการประหยัดพลังงานไม่มากนัก... ส� า หรั บ พลัง งานทดแทนมี เ ป้ าหมายมา ทดแทนเชื ้อเพลิงซากดึกด�าบรรพ์ (Fossil) และ รักษาสิ่งแวดล้ อม ช่วยชะลออุณหภูมิโลกอย่า
ให้ ร้ อนเร็ ว และยัง เป็ นการสร้ างรายได้ ใ ห้ กับ ชุมชน ได้ แก่ ชีวมวล ก๊ าซชีวภาพ และพลังงาน จากขยะ และที่ตรงกับด้ าน Logistics มากที่สดุ ก็คือ น� ้ามันชีวภาพ ทังเอทานอล ้ และไบโอดีเซล ซึ่ง พลัง งานที่ ก ล่า วมานี จ้ � า เป็ นต้ อ งมี วัต ถุดิ บ (Feedstock) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเอทานอลและ ไบโอดีเซลมีต้นทุน Feedstock กว่า 75% และ พลัง งานทดแทนเหล่ า นี ส้ ่ ว นใหญ่ ก็ ป ระสบ ปั ญ หาต้ น ทุน การขนส่ง วัต ถุดิ บ ที่ ใ ช้ ป้ อนเข้ า โรงงาน ดังนันต้ ้ นทุนการรวบรวมจึงเป็ นปั จจัย หนึง่ แห่งความส�าเร็ จ และเมื่อเขียนมาถึงตรงนี ้ จึงเกิดค�าถามว่า ระหว่าง Logistics กับ Renewable Energy หรื อพลังงานทดแทน ใคร พึ่งพาใครมากกว่ ากัน (ดูภาพที่ 1 ประกอบ)
สัดสวนการใชน้ำมันสำเร็จรูปภาคขนสง
ภาพที่ 1
20
THE POWER LOGISTICS
ขอยกตัวอย่าง เช่น โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 9 เมกะวัตต์ ต้ องการเชื ้อเพลิงชีวมวลประมาณ ปี ละ 100,000 ตัน และต้ องใช้ พื ้นที่ในการเพาะ ปลูกหรื อรวบรวมเกือบทังจั ้ งหวัด Logistics คือ เรื่ องแรกของนักลงทุนที่ต้องตระหนัก ไม่ใช่แค่ ในปั จจุบันแต่หมายถึงอี ก 10-20 ปี ข้ างหน้ า ตามสัญญาที่ท�าไว้ กบั การไฟฟ้าฯ การบริ หาร จัด การด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ ดี จึ ง จ� า เป็ นต่ อ ธุ ร กิ จ อย่างมาก เมื่ อ 15 ธั น วาคม 2557 กพช. (คณะ กรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ) ได้ ประชุม และมี ม ติ ป รั บ โครงสร้ างราคาน� า้ มัน ไฟฟ้ า และแผนผลิ ต ไฟฟ้ าของประเทศแต่ ไ ม่ มี ความเห็นใดๆ เกี่ยวกับภาคขนส่งซึง่ เป็ นแชมป์ การใช้ เชื ้อเพลิงพลังงาน ส�าหรับผู้ประกอบการ ที่ใช้ น� ้ามันเชื ้อเพลิงเป็ นต้ นทุนหลัก ข่าวดีก็คือ ค่าขนส่งเท่าเดิมแต่ราคาเชือ้ เพลิงถูกลง ข่าว ร้ ายก็คือ กพช. ยังหาแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่ดี ไม่ได้ อนาคตของภาคโลจิสติกส์คงต้ องปล่อย ให้ เป็ นเรื่ องของอนาคตจริ งๆ จะหวังให้ ระบบ รางมาแทนระบบล้ อก็ดจู ะหวังมากเกินไป... ขอคลายเครี ย ดชวนนัก โลจิ ส ติ ก ส์ ม าหา ลู่ทางการลงทุนด้ านพลังงานทดแทนกันดีกว่า เนื่ อ งจาก กพช. ได้ ป ระกาศอัต รา Feed-in Tariff Premium มาแทน Adder เดิม โดยภาพ รวมต้ องถือว่าดี เนื่องจาก Adder เดิมใช้ มากว่า 8 ปี แล้ ว ย่อมเก่าและแก่เกินกว่ายุค 3G และ HD แล้ ว (ดูภาพที่ 2 ประกอบ)
G U R U T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ภาพที่ 2
อัตรารับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน สำหรับป 2558
อัตรา FiT สำหรับโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก (VSPP)
นาน FiT Premium ยังมีอะไรในกอไผ่อีกมาก ก็ หวังว่าท่านรัฐมนตรี กระทรวงพลังงานยุค คสช. จะรั บฟั งความคิดเห็นรอบด้ าน 360◦ แล้ วหา Solution ที่ win win ให้ ทกุ ฝ่ ายสมความตังใจที ้ ่ ต้ องคอยมาหลายรัฐบาลเพื่อให้ FiT รอบนี ้สม ประโยชน์ทกุ ฝ่ าย หากท่านอ่านจบแล้ วมีคา� ถาม สามารถอีเมล์ มาที่กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน reenergy.fti@gmail.com หรื อโทรสอบถามเรื่ อง FiT Premium ได้ ที่ ส�านักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงพลัง งาน โทรศัพ ท์ 0-2140-6336 โทรสาร 0-2140-6289 หรื อที่ส�านักนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) โทรศัพท์ 0-2612-1555 โทรสาร 0-2612-1364 อย่ า ลื ม ว่ า พลัง งาน ทดแทนเหมือนเหรี ยญสองหน้ า ไม่ร้ ูจริ งต้ องท่อง คาถาป้องกันตัว อย่าให้ เป็ นแพะบูชายันต์ “ไม่ โลภ ไม่รับ ไม่จ่ายง่ายๆ” จะได้ ไม่ต้องร้ อง แมะ... แมะ ในปี มะแม 2558 [P]
หมายเหตุ (1) อัตรา FiT จะใชสำหรับโครงการที่จายไฟฟาเขาระบบภายในป 2560 โดยภายหลังจากป 2560 นั้น อัตรา FiTv จะเพิ่มขึ้น ตอเนื่องตามตราเงินเฟอขั้นพื้นฐาน (Core Inflation) สำหรับประเภทเชื้อเพลิง ขยะ (การจัดการขยะแบบผสมผสาน), ชีวมวล, กาซชีวภาพ (พืชพลังงาน) เทานั้น (2) โครงการในพื้นที่จังหวัดยะลา ปตตานี นราธิวาส และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา ไดแก อ.จะนะ อ.เทพา อ.สะบายอย และ อ.นาทวี จะมีอัตรา FiT Premium 0.50 บาท/หนวย ตลอดอายุโครงการ
FiT Premium ที่ผา่ นความเห็นชอบมานี ้ต้ อง ขอชมทีมงานของ สนพ. (ส�านักนโยบายและ แผนพลังงาน) และ พพ. (กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน) ที่ ต้องประสาน
ความต้ องการของทุกฝ่ ายจนมี FiT ใช้ กนั อยู่ใน ปั จจุบนั นอกจากชุดแรกที่ประกาศออกมาแล้ ว นี จ้ ะยั ง มี อี ก หลายเชื อ้ เพลิ ง และอี ก หลาย เทคโนโลยีค่อย ๆ ตามกันมา...ขอเวลาอีกไม่
ไบโอดีเซล จากปาลมน้ำมัน
THE POWER LOGISTICS
21
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U
รองศาสตราจารย ดร.บุญอนันต พินัยทรัพย รองคณบดีฝายวิชาการ คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร
กาวเขาสูประชาคมอาเซียน ของประเทศไทย ป 2558 การประชุมสุดยอดอาเซียนครังที ้ ่ 14 ทีช่ ะอ�า หัวหิน เมือ่ วันที่ 1 มีนาคม 2552 ประเทศไทยเป็ นเจ้ าภาพ ผู้นา� อาเซียนได้ ลงนามรับรองปฏิญญาชะอ�าหัวหิน ว่าด้ วย แผนงานจัดตังประชาคมอาเซี ้ ยน (ค.ศ. 2009-2015) เพื่ อ ด� า เนิ น การให้ บรรลุ เ ป้ าหมายในการจั ด ตั ง้ ประชาคมอาเซียนภายในปี 2558 ใน 3 เสาหลัก (pillars) คือ 1) ประชาคมการเมืองและความมัน่ คง อาเซียน (ASEAN Security Community- ASC) 2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community- AEC) 3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community– ASCC) (ส�านักงาน ก.พ., 2555: 28-38) 1.ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Security Community- ASC) วัตถุประสงค์ เพื่อให้ ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสขุ มี ระบบการแก้ ไขปั ญหาและความขัดแย้ งโดยสันติวธิ ี มี เสถียรภาพรอบด้ าน มีกรอบความร่วมมือเพือ่ รับมือกับ ภัยคุกคามความมัน่ คง ทังรู้ ปแบบเดิม และรูปแบบใหม่ เพือ่ ให้ ประชาชนมีความปลอดภัย และมัน่ คง ปั จ จุบัน อาเซี ย นได้ จัด ท� า แผนงานการจัด ตัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community Blueprint) โดยมีเป้า หมายเพือ่ 1.1) สร้ างประชาคมอาเซียนให้ มคี า่ นิยมร่วม กัน การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน ครอบคลุมถึง กิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ะร่วมกันท�าเพือ่ สร้ างความเข้ าใจใน ระบบสังคม วัฒนธรรม และประวัตศิ าสตร์ ทแี่ ตกต่าง ของประเทศสมาชิก ส่งเสริมพัฒนาการทางการเมือง ไปในทิศทางเดียวกัน เช่น หลักการประชาธิปไตย การ ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน การสนับสนุนการ มีสว่ นร่วมของภาคประชาสังคม การต่อต้ านการทุจริต การส่งเสริมหลักนิตธิ รรมและธรรมาภิบาล เป็ นต้ น 1.2) ให้ อาเซียนสามารถเผชิญกับภัยคุมคามด้ านความ มัน่ คงในรูปแบบใหม่ ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิด ชอบร่วมกันในการรักษาความมัน่ คงส�าหรับประชาชน ที่ครอบคลุมในทุกด้ าน ครอบคลุมความร่ วมมือเพื่อ
22
THE POWER LOGISTICS
เสริ มสร้ างความมัน่ คงในรูปแบบเดิม มาตรการสร้ าง ความไว้ เนื ้อเชือ่ ใจและการระงับข้ อพิพาทโดยสันติเพือ่ ป้องกันสงครามและให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนอยูด่ ้ วย กันโดยสงบสุขและไม่มคี วามหวาดระแวง ขยายความ ร่วมมือเพือ่ ต่อต้ านภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น การต่อ
ต้ านการก่อการร้ าย อาชญากรรมข้ ามชาติตา่ ง ๆ เช่น ยาเสพติด การค้ ามนุษย์ ตลอดจนเตรียมความพร้ อม เพือ่ ป้องกันและจัดการภัยพิบตั แิ ละภัยธรรมชาติ 1.3) เสริ มสร้ างให้ อาเซียนมีปฏิสมั พันธ์ ที่หนักแน่นและ สร้ างสรรค์กบั ประชาคมโลกโดยมีอาเซียนเป็ นผู้นาใน
G U R U T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ภูมภิ าค การมีพลวัตและปฏิสมั พันธ์กบั โลกภายนอก เพื่อเสริ มสร้ างบทบาทของอาเซียนในความร่ วมมือ ระดับภูมิภาคเช่น กรอบอาเซียน+3 กับจี น ญี่ ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้ ) และการประชุมสุดยอด เอเชียตะวันออก ตลอดจนความสัมพันธ์ทเี่ ข้ มแข็งกับ มิ ต รประเทศ และองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ เช่ น สหประชาชาติ แม้ วา่ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ไม่เน้ นการมี Common Foreign and Security Policy อีกทังไม่ ้ ได้ พยายามที่จะมี Convergence Criteria เหมือนสหภาพยุโรป แต่ประชาคมการเมืองและความ มัน่ คงอาเซียน ถือว่าเป็ นเสาหลักทีส่ า� คัญอย่างหนึง่ ใน การสร้ างประชาคมอาเซียน โดยมีเป้าหมายคือ ท�าให้ ประเทศสมาชิกอาเซียนนัน้ เป็ นสังคมทีม่ คี วามไว้ เนื ้อ เชื่อใจซึง่ กันและกัน มีเสถียรภาพ มีสนั ติภาพ และมี ความปลอดภัยมากขึ ้นทังในชี ้ วติ และทรัพย์สนิ อันเป็ น พื ้นฐานที่จะส่งเสริ มการพัฒนาด้ านต่าง ๆ สมาชิก แต่ละประเทศได้ ตกลงทีจ่ ะให้ ประชาคมการเมืองและ ความมัน่ คงนี ้ ได้ เป็ นประชาคมที่มีกติกาและมีการ พัฒนาค่านิยมและบรรทัดฐานร่วมกัน ซึง่ มี 2 หลักการ ทีต่ ้ องยึดมัน่ ควบคูก่ นั ไปซึง่ กันและกัน กล่าวคือ 1) การ ไม่แทรกแซงกิจการภายใน และ 2) การส่งเสริมค่านิยม ของประชาคม (Community Values) (กรมอาเซียน, 2555) นอกจากนี ้เพือ่ ท�าให้ ภมู ภิ าคมีความเป็ นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร่ง พร้ อมทังมี ้ ความรับ ผิ ด ชอบร่ ว มกั น เพื่ อ แก้ ไขปั ญหาความมั่ น คงที่ ครอบคลุมในทุกมิติ ซึง่ เป็ นความพยายามทีจ่ ะส่งเสริม ให้ อาเซียนพึ่งพาอาศัยกลไกของตนมากขึ ้น ในการ แก้ ไขปั ญหาและความท้ าทายต่างๆ ในภูมภิ าค (อีกทัง้ เป็ นประเด็นที่อินโดนีเซียผลักดันมากที่สดุ ) และเพื่อ ท�าให้ เป็ นภูมภิ าคทีม่ พี ลวัต และมองไปยังโลกภายนอก ทีม่ กี ารรวมตัวและลักษณะพึง่ พาซึง่ กันและกันมากยิง่ ขึ ้น ซึง่ สะท้ อนถึงการที่อาเซียนยอมรับว่าไม่ควรมุ่ง เพียงเรื่ องภายใน แต่เน้ นการสร้ างหุ้นส่วนกับโลก ภายนอกให้ บรรลุเป้าหมายร่วมกัน 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community- AEC) ในการประชุมสุดยอด อาเซียนครัง้ ที1่ 3 ทีส่ งิ คโปร์ ปี 2550 ผู้น�าอาเซียนได้ ลง นามแผนงานการจัดตังประชาคมเศรษฐกิ ้ จอาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) เพือ่ ให้ อาเซี ย นมี ค วามสามารถแข่ ง ขัน กับ ภูมิ ภ าคอื่ น ได้ เนือ่ งจากกระแสโลกาภิวตั น์และแนวโน้ มการจัดท�าข้ อ ตกลงการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคต่างๆ ทีเ่ พิม่ ขึ ้น รวมทังการแข่ ้ งขันเพือ่ ดึงเงินลงทุนโดยตรงซึง่ มีแนว โน้ มทีจ่ ะถ่ายโอนไปสูป่ ระเทศอืน่ นอกภูมภิ าคอาเซียน เหล่านี ้เป็ นปั จจัยส�าคัญที่ ท�าให้ อาเซียนต้ องเร่งรัดการ
รวมกลุม่ ภายในเพือ่ มุง่ ไปสูก่ ารเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน การจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียนมี วัตถุประสงค์ มุ่งให้ อาเซียนเกิ ดการรวมตัวกันทาง เศรษฐกิจ และการอ�านวยความสะดวกในการติดต่อ ค้ าขายระหว่างกัน 2.1) ส่งเสริมให้ อาเซียนเป็ นตลาด และฐานการผลิตเดียว 2.2)การเคลือ่ นย้ ายเสรีด้านเงิน ทุน สินค้ า บริการ การลงทุน แรงงานมีฝีมอื 2.3) เสริม สร้ างขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน 2.4) ลดช่ อ งว่ า งระดับ การพัฒ นาของประเทศสมาชิ ก อาเซียน 2.5) ส่งเสริมให้ อาเซียนสามารถรวมตัวเข้ า กับประชาคมโลกได้ อย่างไม่อยูใ่ นภาวะทีเ่ สียเปรียบ 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community–ASCC) การสร้ าง ประชาคมแห่งสังคมทีเ่ อื ้ออาทรและแบ่งปั น แก้ ไขผลก ระทบต่ อ สัง คม อัน เนื่ อ งมาจากการรวมตัว ทาง เศรษฐกิจ เป้าหมายของประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซี ย น มุ่ง หวัง ประโยชน์ จ ากการรวมตัว กัน ให้ ประชาชนแต่ละประเทศอาเซียนอยู่ร่วมกันภายใต้ แนวคิดสังคมทีเ่ อื ้ออาทร มีสวัสดิการทางสังคมทีด่ ี มี ความมัน่ คงทางสังคม มีความอยูด่ กี นิ ดี ปราศจากโรค ภัยไข้ เจ็บ มีสิ่งแวดล้ อมที่ดีและมีความรู้สกึ เป็ นหนึง่ เดี ย วกัน โดยเน้ น การส่ง เสริ ม ความรู้ ความเข้ า ใจ ระหว่างประเทศสมาชิกในด้ านความเชื่อมโยงทาง ประวัตศิ าสตร์ มรดกทางวัฒนธรรมและ อัตลักษณ์ ระดับภูมภิ าคร่วมกัน ทังนี ้ ้การเสริมสร้ างรากฐานและ ความเชื่อมโยงระหว่างกันที่แข็งแกร่ งน�าไปสู่ ความ
เข้ าใจของการเป็ นเพื่อนบ้ านที่ดี การรู้เขารู้เรา และมี ความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิกภายใต้ สังคมทีเ่ อื ้ออาทร ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีเป้า หมายต้ องการให้ ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็ น อยู่ที่ ดี แ ละมี ก ารพัฒ นาในทุก ด้ า น โดยยกระดับ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน ส่ ง เสริ มการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืนและการจัดการดูแลสิง่ แวดล้ อมอย่างถูกต้ อง ส่งเสริ ม ความเข้ าใจระหว่าง ประชาชนในระดับรากหญ้ า การเรียนรู้ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม รวมทังรั้ บรู้ขา่ วสารซึง่ จะเป็ นรากฐานที่ จะน�าไปสูก่ ารเป็ นประชาคมอาเซียน แผนงานการจัดตังประชาคมสั ้ งคมและวัฒนธรรม อาเซียน (ASCC Blueprint) ประกอบด้ วยความร่วมมือ ใน 6 ด้ าน ได้ แก่ 1) การพัฒนามนุษย์ 2) การคุ้มครอง และสวัสดิการสังคม 3) สิทธิและความยุติธรรมทาง สังคม 4) ความยัง่ ยืนด้ านสิง่ แวดล้ อม 5) การสร้ างอัต ลักษณ์อาเซียน 6) การลดช่องว่างทางการพัฒนา (กรม อาเซียน, 2555) นอกจากนี ้ มีการเน้ นให้ มกี ารส่งเสริมปฏิสมั พันธ์ ระหว่างนักเขียน นักคิดและศิลปิ นในภูมภิ าค ตลอดจน การเสริ มสร้ างความตระหนักรู้ เกี่ยวกับอาเซียนใน ภูมิภาคโดยเฉพาะในระดับประชาชน ตลอดจนการ เสริมสร้ างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนในภูมภิ าค โดยเฉพาะในระดับประชาชน
(อ่านต่อฉบับหน้า)
THE POWER LOGISTICS
23
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U
โลจิสติกส
การขนสงทางรถไฟ นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)
(ต่อจากฉบับที่แล้ว) ฉบับนี � จะนําเสนอข้ อมูลแผนยุทธศาสตร์ กระทรวงคมนาคม เพื่อ สนั บ สนุ น การพัฒ นา โลจิสติกส์ ¬ของประเทศ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.25562560) ในด้ านการวิเคราะห์ โครงสร้ างพืน� ฐานและ สิ่งอํานวยความสะดวกด้ านโลจิสติกส์ การขนส่ ง ทางด้ านการขนส่ งทางรถไฟ ปั จจุบนั โครงข่าย และเส้ นทางการขนส่งสินค้ าทาง รถไฟเป็ นเส้ นทางเดียวกับการขนส่งผู้โดยสาร เชือ่ มต่อ เส้ นทางระหว่างกรุ งเทพฯ ไปยังพื ้นที่ใน 47 จังหวัด ทัว่ ประเทศ ประกอบด้ วย 4 เส้ นทาง คือ เส้ นทางรถไฟ สายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายตะวันออก และสายใต้ มีระยะทางรวม 4,180 กิโลเมตร โดยมี ลักษณะของทางรถไฟ 3 ประเภท ได้ แก่ ทางเดีย่ ว ทาง คู่ และทางสาม คิดเป็ นร้ อยละ 91.47, 4.28 และ 2.64 ตามล�าดับ โครงข่ายทางรถไฟในปั จจุบนั ที่มีการเชื่อมต่อไป ยังประเทศเพื่อนบ้ าน ได้ แก่ เส้ นทางสายตะวันออก เฉียงเหนือ (ส่วนต่อขยายจากสถานีหนองคาย - สปป. ลาว ทีส่ ถานีทา่ นาแล้ ง) และสายใต้ (ช่วงแยกจากชุม ทางหาดใหญ่ - ปาดังเบซาร์ – มาเลเซีย - สิงคโปร์ ) อย่างไรก็ตาม สัดส่วนการขนส่งทางรางอยูใ่ นปริมาณ ค่อนข้ างต�า่ (ร้ อยละ 2) ทังนี ้ การขนส่ ้ งทางรางนับว่าเป็ นรูปแบบการขนส่ง สินค้ าที่มีต้นทุนต�่า เนื่องจากสามารถท�าการขนส่ง สินค้ าได้ ในปริมาณมากในคราวเดียวกัน (Mass Trans-
24
THE POWER LOGISTICS
portation) โดยการพัฒนาโครงสร้ างพื ้นฐานและบริการ ขนส่ง จึงจ�าเป็ นต้ องให้ ความส�าคัญการพัฒนาระบบ รางควบคู่ กั บ การขนส่ ง รู ปแบบอื่ น เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพโดยรวมของการขนส่งสินค้ าทางบกของ ประเทศ ส�าหรับประเด็นปั ญหาส�าคัญทีค่ วรปรับปรุงแก้ ไข ได้ แก่ 1. ปั ญหาการบริหารจัดการภายใน ร.ฟ.ท. ทีผ่ า่ น มาการขนส่งสินค้ าทางรางไม่ได้ รบั ความนิยม เนือ่ งจาก ความไม่แน่นอนในการจัดส่งสินค้ า ท�าให้ ผ้ ปู ระกอบ การไม่สามารถบริการจัดการสินค้ าได้ ทนั ก�าหนดเวลา เนือ่ งจากความไม่ตอ่ เนือ่ งในการปรับปรุงคุณภาพโครง ข่าย ความไม่พอเพียงของหัวรถจักร แคร่บรรทุก และ เครื่องมืออุปกรณ์การขนส่ง 2. ปั ญหาความไม่สมบูรณ์ของโครงข่ายรถไฟ เช่น สายสิงคโปร์ - คุนหมิง (Singkpore - Kungming Rail Link: SKRL) โครงข่าย SKRL ช่วงทีผ่ า่ นไทยขาดความ เชือ่ มโยงช่วงอรัญประเทศ - คลองลึก จ.สระแก้ ว ระยะ ทาง 6 กิโลเมตร และช่วงด่านเจดีย์¬สามองค์ - น� ้าตก จ.กาญจนบุรี ระยะทาง 153 กิโลเมตร ขณะเดี ย วกั น โครงข่ า ยในประเทศที่ มี อ ยู่ ยัง ครอบคลุมพื ้นที่ไม่เพียงพอ จึงจ�าเป็ นต้ องขยายโครง ข่ายใหม่ เช่น เส้ นทางรถไฟสายใหม่ ช่วงเด่นชัย – เชียงราย - เชียงของ และช่วงบ้ านไผ่ – มหาสารคาม – มุกดาหาร – นครพนม ซึง่ สามารถเชือ่ มไป สปป.ลาว ได้ รวมถึงเส้ นทางรถไฟเชื่อมโยงแหล่งผลิตส�าคัญยัง เป็ นทางเดี่ยว ได้ แก่ เส้ นทางรถไฟสายฉะเชิงเทรา – คลองสิบเก้ า - แก่งคอย, มาบกะเบา – ชุมทางจิระ –
ขอนแก่น เป็ นต้ น 3. ปั ญหาโครงข่ายรถไฟเชือ่ มประตูการค้ าใช้ งาน ไม่เต็มประสิทธิภาพ การขนส่งสินค้ าทางรถไฟยังมี ปั ญหาในขีดความสามารถของทางความพอเพียงของ หัวรถจักร และต�าแหน่งที่ตงของศู ั้ นย์¬รวบรวม และ กระจายสินค้ ายังไม่ตอบสนองความต้ องการ โดย เฉพาะการขนส่ ง ตู้ค อนเทนเนอร์ ¬ ระหว่ า งไอซี ดี ลาดกระบัง - ท่าเรื อแหลมฉบัง ซึง่ ใช้ ขนส่งทางถนน ร้ อยละ 73 ขณะทีใ่ ช้ ขนส่งทางรถไฟร้ อยละ 27 ขณะที่รถไฟทางคู่ ช่วงฉะเชิงเทรา – ศรี ราชา แหลมบัง ได้ เปิ ดการเดินรถแล้ ว แต่ความถี่ในการ เดินรถอยูท่ ี่ 30 ขบวนต่อวันเช่นเดิม เนื่องจากติดขัด ปั ญหาทีท่ างเข้ าท่าเรือแหลมฉบัง ซึง่ เป็ นทางรถไฟทาง เดี่ยว ไม่มีย่านรถไฟขนาดใหญ่ที่ให้ บริ การขนถ่ายตู้ คอนเทนเนอร์ ขึ ้น - ลงรถไฟ (Single Rail Transfer Operation) ในบริ เวณท่าเรื อที่จะรองรับรถไฟหลาย ขบวนพร้ อมกัน ประกอบกับหัวรถจักรที่ใช้ งานอยู่ ปั จจุบนั สามารถลากจูงแคร่รถไฟได้ เพียง 30 แคร่ หรือ 60 TEUs ต่อเทีย่ ว 4. สิง่ อ�านวยความสะดวก ณ จุดเชือ่ มต่อยังขาด ประสิทธิภาพ เช่น ไอซีดีลาดกระบัง (ระหว่างถนน กับรถไฟเพื่ อเข้ าท่าเรื อแหลมฉบัง) เส้ นทางเชื่ อม ป่ าโมก นครหลวง และสถานีรถไฟชุมทางบ้ านภาชี (ระหว่างรถไฟกับล�าน� ้า) รวมทังไม่ ้ มีมาตรการจูงใจ ผู้ประกอบการให้ เปลีย่ นมาใช้ บริการขนส่งทางน� ้า และ ทางรางเพิม่ ขึ ้น
O U T & A B O U T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
สวัสดีคะ่ พบกับ Out&About ประจ� ำ นิ ต ยสำร THE POWER LOGISITCS ฉบับแรกของปี 2558 ซึ่งปีนี้มีหลำยโครงกำรที่ ภำครัฐได้ เร่งขับเคลือ่ น เพือ่ สร้ำงศักยภำพใน กำรเพิ่ ม ขี ด ควำมสำมำรถในกำร แข่งขัน ❐❐ àÃÔèÁ·Õè»ÃÐà´ç¹ÃŒÍ¹ ÃÐËÇ‹Ò§¼ÙŒÊ‹§ÍÍ¡¡ÑºÊÒÂàÃ×Í ã¹¡Òà ปรับค่า THC ล่าสุด เรือตรีทรงธรรม จันทประสิทธิ์ ผู้อ�ำนวยกำรท่ำเรือ กรุงเทพ รักษำกำรแทนผูอ้ ำ� นวยกำร กำรท่ำเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) แจ้งความคืบหน้าว่า ตามทีไ่ ด้มขี า่ วกลุม่ บริษทั สายการเดินเรือประกาศจะขึน้ ค่า บริ ก ารเกี่ ย วกั บ ค่ าใช้ จ ่ า ยตู ้ สิ น ค้ าใน บริเวณท่าเรือ (Terminal Handling Charge : THC) นัน้ กทท. ขอชีแ้ จง ว่า ค่า THC ดังกล่าว ไม่ได้เป็นอัตรา ค่าภาระ หรือค่าบริการที่ กทท.ก�าหนด แต่เป็นอัตราค่าบริการทีบ่ ริษทั สายการ เดินเรือหรือบริษทั เจ้าของตูส้ นิ ค้า เรียก เก็บจากผูน้ า� เข้าหรือผูส้ ง่ ออก โดยรวม ค่าใช้จา่ ยบางส่วนทีต่ อ้ งช�าระกับ กทท. เช่น ค่ายกตู้สินค้าขึ้นหรือลงเรือ ค่า ภาระการใช้ท่าของตู้สินค้า และค่า เคลื่ อ นย้ า ยตู ้ สิ น ค้ า เปล่ า ภายในเขต ·‹ÒàÃ×Í ❐❐ อย่างไรก็ตาม จากการ ประชุมเพือ่ หาข้อยุตใิ นการขึน้ ค่า THC เมือ่ เดือนธันวาคมทีผ่ า่ นมา ซึง่ ประกอบ ด้วยผูแ้ ทนหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ได้แก่ กรมการค้าภายใน กทท. บริษทั สายการ เดินเรือ สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่ง ประเทศไทย (สรท.) สมาคมผู้น�าเข้า และผู้ส่งออกระดับมาตรฐาน (AEO) นัน้ ทีป่ ระชุมฯ ได้มมี ติให้ชะลอ การ ปรับขึน้ ค่า THC ออกไปอีก 60 วัน เพือ่ ตัง้ คณะท�างานศึกษาในรายละเอียด เหตุผล และความเหมาะสมในการปรับ ราคาต่อไป ❐❐ ถือว่าเป็นโครงการ ดีๆอีกโครงการหนึง่ ส�าหรับโลจิสติกส์ ยุกต์ไอที โดย ส�านักโลจิสติกส์ กรม อุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่
เรือตรีทรงธรรม จันทประสิทธิ์
รุธิร์ พนมยงค์
เฉลิมศักดิ์ กาญจนวรินทร์
กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับบริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จ�ากัด ขอ เชิ ญ สถานประกอบการ เข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร “ ส ่ ง เ ส ริ ม ก า ร ป รั บ กระบวนการจัดการโลจิสติกส์ด้วยการ ใช้เทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode” โดยโครงการนี้ จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบการน�า เทคโนโลยี Application ระบบ RFID และBarcode มาใช้ ใ นการจั ด การ โลจิ ส ติ ก ส์ ภ ายในองค์ ก รได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ❐❐ โดยโครงการจะ เริ่มตั้งแต่การศึกษาข้อมูลของสถาน ประกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการ จนถึง การน�าเทคโนโลยี Application ระบบ RFID และBarcode ทัง้ ฮาร์ดแวร์และ ซอฟท์แวร์มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับ สถานประกอบการแต่ละแห่ง นอกจาก นี้โครงการยังมีการพัฒนาบุคลากรใน สถานประกอบการ เพื่อให้บุคคลากร เกิดการตระหนักรู้ถึงความส�าคัญและ ประโยชน์ทจี่ ะได้รบั จากเทคโนโลยี เพือ่ ให้เกิดการใช้เทคโนโลยีอย่างยัง่ ยืนและ มีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งนี้ภายหลัง เสร็จสิ้นโครงการสถานประกอบการที่ เข้าร่วมโครงการจะ สามารถลดต้นทุน หรือระยะเวลาในการจัดการโลจิสติกส์ ได้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 15 ท�าให้สง่ ผลต่อ
ภาพพจน์ที่ดีและความน่าเชื่อถือของ สถานประกอบการ ต่ อ คู ่ ค ้ า และ พันธมิตรทางธุรกิจ ❐❐ ส�าหรับ สถานประกอบการที่ ส นใจเข้ า ร่ ว ม โครงการสามารถสมั ค รเข้ า ร่ ว ม โครงการได้ตั้งแต่บัดนี้จนถึงวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ.2558 โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย ใดๆ ทัง้ สิน้ หรือสอบถามรายละเอียด เพิม่ เติมได้ที่ 08-1700-3297 คุณธนำพล โชคสุนทสุทธิ์ ËÃ×Í คุณศิรริ ตั น์ เอีย่ ม อ่อน 085-443-1717 ทุกันในเวลา ท�าการ ❐❐ หลายคนมองการลด ต้นทุนเป็นหนทางหนึ่งของการแข่งขัน แต่ส�าหรับ รุธิร์ พนมยงค์ หัวหน้ำ โครงกำรวิ จั ย กำรแสวงหำผล ประโยชน์และโอกำสจำกควำมตกลง กำรค้ำบริกำรของอำเซียน (AFAS) ในภำคธุรกิจกำรขนส่งและ โลจิสติกส์ สถำบันระหว่ำงประเทศเพื่อกำรค้ำ และกำรพัฒนำ (ไอทีด)ี ÁÍ§Ç‹Ò ·Õ¼è Ò‹ ¹ มาภาครัฐพยายามมุ่งเน้นสนับสนุนให้ ภาคเอกชนด้านโลจิสติกส์รับมือการ เข้ า สู ่ ป ระชาคมอาเซี ย น ด้ ว ยการ ลดต้นทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน เนื่องจากเป็นวิธีที่ดูจับต้องได้ แต่วิธี ดังกล่าวอาจ ไม่ตอบโจทย์การรับมือ Í‹ҧÂѧè Â×¹ ❐❐ เขาย�า้ ว่า การลด ต้นทุนท�าได้ไม่นาน ลดไม่ได้ตลอดไป
สุดท้ายต้นทุนก็จะสูงกลับขึ้นมาใหม่ ที่ส�าคัญด้านโลจิสติกส์ขณะนี้ลดต้นทุน เพิม่ ไม่คอ่ ยได้แล้ว ต้นทุนขนส่งก็ลดไม่ ได้ การลดต้นทุนสินค้าคงคลังก็ท�าได้ เฉพาะสินค้าบางชนิดเท่านั้น ❐❐ ดร.รุธริ ์ เสนอแนะว่า ทัง้ นี้ ทัง้ ภาครัฐ และภาคเอกชนด้านโลจิสติกส์ควรหัน มาให้ความส�าคัญกับการเพิ่มมูลค่าแก่ ธุรกิจแทน เช่น การติดฉลากให้แก่ ลูกค้า การตอบสนองความต้องการทาง โซเชียลมีเดีย การบริการประกันหรือ คืนสินค้า เพิม่ มูลค่าให้ธรุ กิจ ท�าให้ลกู ค้า ยินดีจ่ายเงินเพิ่มขึ้นเพื่อบริการที่ดีกว่า ขณะเดียวกัน ควรท�าความเข้าใจปัญหา โลจิสติกส์ระดับมหภาคให้ถ่องแท้ ลด ปัญหาการใช้งบประมาณภาคธุรกิจ ทับ ซ้อนกันเอง ❐❐ ขณะที่ เฉลิมศักดิ์ กำญจนวรินทร์ กรรมกำรผู้จัดกำร บริษทั ฮำซเคม โลจิสติกส์ แมเนจเม้นท์ กล่าวว่า เอสเอ็มอีดา้ นโลจิสติกส์ ต้อง ปรับตัวรับมืออาเซียน โดยทีผ่ า่ นมาเอส เอ็มอีมปี ญ ั หาหลายด้าน เช่น เป็นธุรกิจ เจ้ า ของคนเดี ย ว ทุ ก อย่ า งขึ้ น กั บ ผู้บริหาร ซึ่งการบริหารจัดการธุรกิจ สมัยใหม่ตอ้ งไม่ใช่แบบเดิมอีกแล้ว ต้อง มี ก ารจั ดโครงสร้ า งองค์ ก ร เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นองค์ ก รอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ❐❐ พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีคะ่ [ P ]
THE POWER LOGISTICS
25
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E E N E R G Y L O G I S T I C S
โดย : ชินพงศ์ เรืองบุญมา
สองกลองพลังงานไทยป 58 ตอกยํ้าดานความมั่นคง-ราคา ไมนา เชือ่ วาตัง้ แตปลายป 2557 ทีผ ่ า นมาถึง ณ ขณะนี้ ราคานํา้ มันดิบ ในตลาดโลกจะหลนวูบแบบนาตกใจ เหลือแค 50 เหรียญดอลลารสหรัฐฯ/ บารเรล เอาแบบดือ้ ๆ ซึง่ ก็สง ผลดีตอ ผูใ ชนาํ้ มัน โดยเฉพาะผูท มี่ รี ถยนตเปน ของตัวเองไดเฮรับปใหมกนั เปนแถว นอกจากเรื่ อ งน� า้ มัน แล้ ว เรามี ก ารคาด การณ์ถงึ ทิศทางพลังงานไทยในปี 2558 มาฝาก ท่านผู้อา่ น ซึง่ ก็มาจากเจ้ ากระทรวงพลังงานเอง ที่ ส� า คั ญ ต้ องจั บ ตาดู น โยบายต่ า งๆ ของ กระทรวงพลังงานในปี นีว้ ่าจะขับเคลื่อนเป็ นที่ น่าพอใจของพี่น้องประชาชนหรื อไม่ เพราะอย่า ลืมว่า “พลังงาน” สัมพันธ์ กบั ปากท้ องของคน ไทยทุกคน ดร.ณรงค์ ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน เปิ ดเผยทิศทางในปี 2558 คาดว่าการใช้ พลังงานจะยังคงเพิ่มสูงขึน้ ตาม การเติบโตทางเศรษฐกิจที่จะขยายตัวมากขึน้ ซึง่ ภารกิจของกระทรวงพลังงานต้ องตอบสนอง ต่อการจัดหาพลังงานให้ เพียงพอ และการปรับ โครงสร้ างและด�าเนินแผนงานด้ านพลังงานใน ระยะยาว โดยมีภารกิจที่ส�าคัญใน 4 ด้ าน คือ ด้ าน ความมัน่ คง การก�ากับราคาและกิจการพลังงาน การอนุรักษ์ พลังงาน และการส่งเสริ มพลังงาน ทดแทน โดยจะมี การจัดท�าและผลักดันแผน ระยะยาวไปสู่การปฏิบัติ ทัง้ แผน PDP แผน พัฒนาพลังงานทดแทน แผนอนุรักษ์ พลังงาน แผนก๊ าซธรรมชาติ และแผนน� ้ามันเชื ้อเพลิง นอกจากนี ้ จากการติ ด ตามสถานการณ์ ราคาน�า้ มันตลาดโลกอย่างใกล้ ชิด คาดว่ายัง ทรงตัวในระดับปั จจุบนั ถือเป็ นโอกาสอันดีของ กระทรวงพลั ง งานในการด� า เนิ น การปรั บ โครงสร้ างราคาพลังงานต่อเนื่อง ทังด้ ้ านราคา น� า้ มันเชื อ้ เพลิงและราคาไฟฟ้า โดยจะมีการ
26
THE POWER LOGISTICS
ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
ปรั บโครงสร้ างภาษี และกองทุนน� า้ มันฯ ของ น� ้ามันแต่ละชนิดให้ มีความเหมาะสม ไม่ให้ เกิด การบิ ด เบื อ นของความต้ องการใช้ บริ ห าร จัด การกองทุน น� า้ มัน อย่ า งเหมาะสมให้ เ ป็ น กลไกรั กษาเสถี ยรภาพราคา เป็ นต้ น และขอ ความร่ ว มมื อ ประชาชนใช้ พลั ง งานอย่ า ง ประหยัด แม้ วา่ ค่าใช้ จ่ายด้ านพลังงานจะลดลง ก็ตาม อารี พงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน ก็ ไ ด้ ชี แ้ จงเช่ น กั น ว่ า ในปี 2557 กระทรวง พลังงานสามารถด�าเนินภารกิจทีส่ า� คัญให้ ลลุ ว่ ง ไปได้ ด้วยดี ตามแผนพลังงานของประเทศที่ยดึ
หลักความสมดุล 3 ด้ าน ได้ แก่ 1.ด้ านความ มัน่ คงทางพลังงาน (Security) 2.ด้ านเศรษฐกิจ (Economy) และ 3.ด้ านสิง่ แวดล้ อม (Ecology) โดยในส่ ว นของการจั ด การการใช้ พลัง งาน (Demand Management) มีผลงานที่สา� คัญ คือ การปรั บ โครงสร้ างราคาพลัง งานให้ ส ะท้ อ น ต้ นทุนและเกิดประสิทธิภาพ การจัดท�าแผนพัฒนาก�าลังการผลิตไฟฟ้า หรื อแผน PDP 2015 เพื่อสร้ างความมัน่ คงและ ยัง่ ยืนในภาคไฟฟ้า โดยได้ มีการบูรณาการกับ แผนการส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงานในภาค ไฟฟ้าในกลุ่มเป้าหมาย 4 กลุ่ม (อุตสาหกรรม อาคารธุ ร กิ จ ที่ อ ยู่อ าศัย และภาครั ฐ ) ซึ่ง มี เป้าหมายที่จะให้ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้าลดลง 89,672 ล้ านหน่วย ในปี 2579 ผ่านมาตรการ ต่างๆ อาทิ มาตรการภาษี และมาตรการด้ าน การเงินเพื่อส่งเสริ มการลงทุนด้ านการอนุรักษ์ พลังงาน การก�าหนดมาตรฐานการใช้ พลังงาน ในอาคาร (Building Code) เป็ นต้ น รวมถึ ง ได้ บู ร ณาการกับ แผนงานพัฒ นา พลังงานทดแทนในภาคไฟฟ้า เพื่อส่งเสริ มการ ผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะ ชีวมวลและก๊ าซ ชี ว ภาพให้ ได้ เต็ ม ตามศั ก ยภาพเพื่ อ สร้ าง ประโยชน์ ร่ ว มกั บ เกษตรกรและชุ ม ชน โดย ก�าหนดเป้าหมายการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ตามรายภูมิภาค (Zoning) ให้ สอดคล้ องกับ ความต้ องการใช้ ไฟฟ้าและศักยภาพพลังงาน หมุนเวียน รวมถึงมาตรการส่งเสริ มโดยใช้ วิธี การแข่งขันด้ านราคา (Competitive Bidding) ส่ ว นด้ า นการบริ ห ารการจัด หาพลัง งาน (Supply Management) มี ผ ลงานที่ ส� า คัญ ได้ แก่ การเปิ ดให้ ยื่นสิทธิในการส�ารวจและผลิต ปิ โตรเลียม รอบ 21 (ล่าสุดเสียงส่วนใหญ่ใน สภาปฏิรูปแห่งชาติคดั ค้ านการเปิ ดสัมปทาน) เพื่อสร้ างความมัน่ คงด้ านพลังงานในประเทศ
E N E R G Y L O G I S T I C S T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน
รวมถึงมีการส่งเสริ มการแข่งขันในระบบกิจ การก๊ าซฯ โดยการเตรี ยมเปิ ดให้ บุคคลที่สาม (Third Party Access) ใช้ หรื อเชื่อมต่อระบบท่อ ก๊ าซธรรมชาติ ส�าหรับในอุตสาหกรรมน� ้ามันได้ มีการผลักดันให้ น�าโรงกลัน่ น� ้ามัน SPRC เข้ า ตลาดหลักทรัพย์ เพื่อส่งเสริ มให้ มีการแข่งขัน ลดการผูกขาดของรายใดรายหนึง่ ทั ง้ นี ้ ปลั ด กระทรวงพลั ง งาน ได้ สรุ ป สถานการณ์ พลังงานตลอดปี 57 ที่ผ่านมาว่า การใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขนต้ ั ้ นมีการขยายตัว อยู่ที่ ร ะดับ 2.045 ล้ า นบาร์ เ รล หรื อ เพิ่ ม ขึน้ 2.2% เมื่อเทียบกับปี 56 โดยก๊ าซธรรมชาติมี สัดส่วนการใช้ มากที่สดุ คิดเป็ น 45% รองลงมา คือ น� ้ามัน 36% ส�าหรับมูลค่าการใช้ พลังงานขันสุ ้ ดท้ ายใน ปี 57 มีมลู ค่า 2,168,867 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจาก ปี 56 ประมาณ 39,644 ล้ านบาท หรื อเพิ่มขึ ้น 1.9% ด้ านมูลค่าการน�าเข้ าพลังงาน มีมลู ค่า
1,408,807 ล้ านบาท ลดลงจากปี 56 ประมาณ 6,913 ล้ านบาท หรื อลดลง 0.5% ส่วนมูลค่าการ ส่งออกพลังงาน มีมลู ค่ารวม 330,254 ล้ านบาท ลดลงจากปี 56 ประมาณ 45,493 ล้ านบาท หรื อ ลดลง 12.1% ขณะที่ ก ารคาดการณ์ แ นวโน้ ม เศรษฐกิ จ และพลังงานไทยประจ�าปี 2558 มีดงั ต่อไปนี ้ ความต้ องการพลังงานเชิงพาณิชย์ ขัน้ ต้ น - ในปี 58 คาดว่าจะอยูท่ ี่ระดับ 2,106 เทียบ เท่าพันบาร์ เรลน� ้ามันดิบ/วัน เพิ่มขึ ้นจากปี 57 ร้ อยละ 2.9 ตามภาวะเศรษฐกิจที่คาดว่าจะมี การขยายตัว โดยในปี 58 คาดว่าความต้ องการ น� ้ามันเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.4 การใช้ ก๊าซธรรมชาติ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3.2 การใช้ ถ่านหินและลิกไนต์ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 1.8 และการใช้ พลังน� ้า/ไฟฟ้าน�า เข้ าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 16.6 น�า้ มันส�าเร็ จรู ป - ในปี 58 คาดว่าการใช้ น� ้ามันเบนซินเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3.5 การใช้ น�า้ มัน ดีเซลคาดว่าเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.2 หากรัฐบาลยัง มีนโยบายให้ คงราคาขายปลีกน� ้ามันดีเซลให้ อยู่ ในระดับต�่า ส่วนการใช้ น� ้ามันเครื่ องบินคาดว่า จะเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 3.8 จากการฟื น้ ตัวของธุรกิจ ท่ อ งเที่ ย วในประเทศและการขยายตัว ของ เศรษฐกิจโลก การใช้ LPG คาดว่าจะมีการใช้ เพิม่ ขึ ้นร้ อยละ 2.8 เนื่องจากความต้ องการใช้ ใน รถยนต์ที่เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่การใช้ น� ้ามันเตาคาดว่าลดลงร้ อยละ 2.9 ส่งผลให้ ทงั ้ ปี คาดว่าจะมี่ปริ มาณการใช้ น� ้ามันส�าเร็จรูปเพิ่ม ขึ ้นร้ อยละ 2.5 LPG โพรเพนและบิวเทน - ในปี 58 คาด ว่าการใช้ LPG โพรเพนและบิวเทน จะเพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 3.7 โดยการใช้ รถยนต์คาดว่าจะเพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 8.1 และการใช้ ในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี
คาดว่าจะเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 5.3 ในขณะที่การใช้ LPG ในภาคครัวเรื อนคาดว่าจะลดลงร้ อยละ 1.3 จากนโยบายปรั บราคาให้ สะท้ อนต้ นทุน ที่แท้ จริ ง ประกอบกับมาตรการเข้ มงวดปราบ ปรามการลักลอบจ� าหน่าย LPG ผิดประเภท ส่วนการใช้ ในภาคอุตสาหกรรมคาดว่าจะลดลง ร้ อยละ 0.7 ก๊ า ซธรรมชาติ - คาดว่าปริ มาณความ ต้ องการในปี 58 จะเพิ่มขึ ้นจากปี ก่อนหน้ าร้ อย ละ 3.2 ทังนี ้ ้ ตามแผนพัฒนาก�าลังผลิตไฟฟ้า PDP 2010 ฉบับปรับปรุ งครัง้ ที่ 3 ในปี 58 จะมี โรงไฟฟ้าที่ ใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็ นเชื อ้ เพลิงเริ่ ม จ่ายไฟฟ้าเข้ าระบบ มีก�าลังการผลิตรวมทังสิ ้ ้น 3,057 เมกกะวัตต์ ได้ แก่ บริ ษัท กัลฟ์ เจพี ยูที จ�ากัด (ชุดที่ 1-2) โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ (ชุดที่ 2) รวมทังโรงไฟฟ ้ ้ าพลังความร้ อนร่วม (Cogenertion) ของผู้ผลิตรายเล็ก (SPP) และรายเล็ก มาก (VSPP) ไฟฟ้า - การผลิตไฟฟ้าในปี 58 คาดว่าจะ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 4.3 ตามสภาวะเศรษฐกิจที่คาด ว่าจะมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากการฟื น้ ตัวของเศรษฐกิจโลก ค่ าเอฟที - อัตราค่า Ft ขายปลีกประจ�า เดือน ก.ย.-ธ.ค.57 อยู่ที่อตั รา 69.00 สตางค์/ หน่วย เท่ากับในรอบเดือน พ.ค.-ส.ค.57 และ รอบเดื อ น ม.ค.-เม.ย.58 จะปรั บ ลดลง 10 สตางค์/หน่วย ท�าให้ อตั ราค่า Ft ขายปลีกอยู่ที่ 58.96 สตางค์/หน่วย เนื่องจากราคาเชื ้อเพลิง ในตลาดโลกและราคาก๊ าซธรรมชาติปรั บตัว ลดลง [P]
THE POWER LOGISTICS
27
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E P O W E R I N L A N D
โดย : ชัยวัฒน เกษสม
ยกเครื่องเสนทางถนนพื้นที่ภาคใต
เชื่อมโยงบก–นํ้า–อากาศ กระตุนทองเที่ยว “การท อ งเที่ ย ว” ถื อ เป น ป จ จั ย สำคั ญ ที่ ช ว ย กระตุ น ให ร ะบบเศรษฐกิ จ ของไทยเติ บ โตอย า งต อ เนื่อง จากความสวยงาม ของแหลงทองเที่ยวตางๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคใต ที่ ทราบกันดีอยูแลววา นัก ทองเทีย่ วจากทัว่ ทุกมุมโลก แหกันเดินทางมาชื่นชมใน ความสวยงาม
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม
ล่าสุด รมช.คมนาคม เดินหน้ าเร่ งพัฒนา เส้ นทางถนนพื �นที�ภาคใต้ เพื�อเพิ�มความสะดวก และเชื� อ มการเดิ น ทางสองฝั� ง ทะเลอัน ดามัน และอ่าวไทย พร้ อมทังเชื � �อมโครงข่ายจากสนาม บินสุราษฎร์ ฯ ต่อรถไปลงเรือเฟอร์ รี ขึ �นเกาะสมุย โดยรับประกันเวลาได้ ทังยั � งเร่งพัฒนาสนามบิน สุราษฎร์ ฯ ให้ สามารถรับผู้โดยสารเพิ�มขึ �น อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รั ฐมนตรี ช่วย ว่ าการกระทรวงคมนาคม เปิ ดเผยว่า ได้ เร่งรัด การพัฒ นาโครงข่ า ยถนนและระบบขนส่ง รถ โดยสารสาธารณะในพื �นที�ภาคใต้ เพื�อเชื�อมการ เดินทางระหว่างเกาะสมุย - จ.สุราษฎร์ ธานี จ.ภูเก็ต - จ.กระบี� - จ.พังงา ซึง� เป็ นแหล่งท่อง เที�ยวสําคัญของฝั� งทะเลอันดามันและอ่าวไทย
28
THE POWER LOGISTICS
ให้ มีความสะดวก รวดเร็ ว เนื� องจากปั จจุบัน สนามบินสมุย ซึ�งอยู่ในความดูแลของบริ ษัท การบิ น กรุ ง เทพ จํ า กัด (มหาชน) มี ป ริ ม าณ จราจรวันละกว่า 30 เที�ยวบินซึง� การรองรับเที�ยว บินได้ จํากัด ขณะที�สนามบินสุราษฎร์ ธานี ของกรมการ บินพลเรื อน หรื อ บพ. มีปริมาณผู้โดยสารเติบโต ก้ าวกระโดด 3-4 เท่า โดยเพิ�มจาก 3 แสนคนต่อ ปี เป็ น 1 ล้ านคนต่อปี ซึง� กระทรวงคมนาคมจะ พิจารณาแผนปรับปรุ งขยายขีดความสามารถ ของสนามบินสุราษฎร์ ธานี เช่น เพิ�มสะพาน เทียบเครื� องบิน ขยายหลุมจอด และที�จอดรถ เป็ นต้ น ทังนี � � จะมีการรับปรุ งเส้ นทางที�เป็ นคอขวด
เพื�อเชื�อมการเดินทางจาก จ.สุราษฎร์ ฯ ด้ วย ถนนไปยังท่าเรื อ และโดยสารเรื อเฟอร์ รีไปยัง เกาะสมุย ให้ ส ะดวกรวดเร็ ว ขึน� เพื� อ เพิ� ม ทาง เลือกให้ นกั ท่องเที�ยวในการเดินทางสูเ่ กาะสมุย แทนที�การบินตรง ซึง� ปั จจุบนั สายการบินต้ นทุน ตํ�า (โลว์คอสต์แอร์ ไลน์) ได้ ร่วมกับผู้ประกอบ การเรื อเฟอร์ รี และรถโดยสารทําโปรโมชัน� การ ตลาดร่ วมกัน เพื�อเชื�อมการเดินทาง 3 รู ปแบบ สําหรับการเดินทาง 3 รูปแบบ คือ เครื� องบิน - รถ - เรื อ ไปยังเกาะสมุยได้ อย่างสมบูรณ์ ซึง� หากเส้ นทางถนนมีความสมบูรณ์ ชจะสามารถ รับประกันเวลาในการเดินทางได้ จะช่วยให้ การ เดินทางได้ รับความนิยมมากขึ �น และเป็ นทาง เลือกที�ช่วยลดความแออัดของสนามบินสมุย
P O W E R I N L A N D T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ขณะที�โครงข่ายถนนนัน� กรมทางหลวง หรื อ ทล. อยู่ระหว่างออกแบบโครงการขยาย 4 ช่อง จราจรทางหลวงหมายเลข 420 ตอนวงแหวน รอบเมืองสุราษฎร์ ธานี (ด้ านทิศเหนือ ) ระยะ ทาง 32.97 กม. วงเงิน 670 ล้ านบาท (ก่อสร้ าง ปี 59-61) เชื�อมการเดินทางเข้ าออกตัวเมืองสุ ราษฎร์ ฯ และเชื� อ มภาคใต้ ต อนบนและด้ า น ตะวันตกสู่ภาคใต้ ตอนล่าง, โครงการขยาย 4 ช่องจราจร ทางหลวงหมายเลข 417 ตอนท่า อากาศยานสุร าษฎร์ ธ านี - ค้ อ ล่า ง ระยะทาง 6.35 กม. วงเงิน 330 ล้ านบาท และสะพานที� กม.1+450 วงเงิน 120 ล้ านบาท (ก่อสร้ างปี 59-60)
รวมถึงโครงการออกแบบก่อสร้ างทางแยก ต่างระดับ แยกทางหลวงหมายเลข 420 กับ ทางหลวงหมายเลข 4009 (แยกบางใหญ่ ) วงเงิ น 600 ล้ า นบาท (ก่ อ สร้ างปี 59-60), โครงการออกแบบก่อสร้ างทางแยกต่างระดับ แยกทางหลวงหมายเลข 420 กับ ทางหลวง หมายเลข 401 (แยกท่ากูบ) วงเงิน 800 ล้ าน บาท (ก่อสร้ างปี 59-61), โครงการออกแบบ ก่ อ สร้ างทางแยกต่ า งระดับ แยกทางหลวง หมายเลข 41 กับทางหลวงหมายเลข 417 (แยก สนามบิน), โครงการออกแบบก่อสร้ างทางแยก ต่างระดับ แยกทางหลวงหมายเลข 420 กับ ทางหลวงหมายเลข 401 และทางหลวง
หมายเลข 4213 (แยกบางกุ้ง) เป็ นต้ น “เป้ าหมายของการพั ฒ นาเส้ นทาง คมนาคมทังการปรั � บปรุ งผิวทาง และขยาย 4 เลนนันเพื � �อเชื�อมเส้ นทางระหว่างกระบี� - ขนอม ให้ สะดวก ส่งเสริ มการใช้ ประโยชน์ ด้านท่อง เที� ย วระหว่า งเกาะสมุย กับ หมู่เ กาะอัน ดามัน เชื� อ มกระบี� - ภูเ ก็ ต , พัง งา - ภูเก็ ต ส่วนรถ โดยสารนันได้ � มอบหมายให้ บริ ษัท ขนส่ง จํากัด หรื อ บขส. พิจารณาเพิ�มเส้ นทาง และความถี� ของเส้ นทางเดินรถระหว่างภาคให้ มากขึ �นด้ วย” รมช.คมนาคมกล่าว [P]
THE POWER LOGISTICS
29
THE POWER LOGISTICS MAGAZINE CSR
“หนาวนี้ทำดีเพื่อพอ”
กองทุนฮอนดาเคียงขางไทยผนึกกำลังสภากาชาดไทย กองทุนฮอนดาเคียงขางไทย ภายใตมลู นิธฮิ อนดาประเทศไทย รวมสนับสนุนสํานักงานบรรเทาทุกขและประชานามัยพิทักษ สภากาชาดไทย จัดกิจกรรมบรรเทาภัยหนาวเฉลิมพระเกียรติ 5 ธันวามหาราช ครั้งที่ 13 ภายใตแนวคิด “หนาวนี้ทําดีเพื่อ พอ” เพือ่ ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ภูมิพลอดุลยเดช พระบรมราชูปถัมภสภากาชาดไทย โดยกอง ทุนฮอนดาเคียงขางไทยไดสมทบเสื้อผาหมกันหนาว จํานวน 4,000 ตัวและเสื้อยืด 1,500 ตัว รวมมูลคา 1,180,000 บาท พรอมเดินทางไปสงมอบความชวยเหลือแกพี่นองผู ประสบภัยหนาวทีพ่ นื้ ทีอ่ าํ เภอแมสรวย อําเภอเมือง และอําเภอ
30
THE POWER LOGISTICS
C S R T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
เวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย กลุมบริษัทฮอนดาในประเทศไทย ได ร ว มกั น ประกาศจั ด ตั้ ง กองทุ น ฮอนด า เคียงขางไทย ภายใตการดําเนินงานของ มู ล นิ ธิฮ อนด า ประเทศไทยเมื่ อ วั น ที่ 31 มีนาคม 2555 เพื่อเตรียมความพรอมใน การมอบความช ว ยเหลื อ ฉุ ก เฉิ น ให กั บ ประชาชนไทยในยามที่ประเทศไทยอาจเกิด เหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติ อาทิ แผนดิน ไหว ดินถลม ภัยหนาว ภัยแลง นํ้าทวม
ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ ที่ดําเนินงาน ภายใตกองทุนดังกลาวไดอยางทันทวงที โดยมอบเงินสมทบ 1,000 บาทตอการ ขายรถยนตหนึง่ คัน 100 บาทตอการขาย รถจักรยานยนตหนึ่งคัน และ 10 บาทตอ การขายเครื่ อ งยนต อ เนกประสงค 1 เครื่อง ปจจุบัน กองทุนฮอนดาเคียงขาง ไทยมียอดเงินสะสมตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2555 – 30 กันยายน 2557 เปนจํานวน เงินทั้งสิ้น 762 ลานบาท ทั้งนี้กองทุนฯ
ไดกําหนด ภารกิจในการดําเนินกิจกรรม ที่ เ ป น ประโยชน แ ละให ค วามช ว ยเหลื อ ผู ประสบภัยอยางตอเนื่อง ครอบคลุม 4 ดาน ไดแก 1) ดานเงินทุน 2) ดานวัสดุ อุปกรณ 3) ดานการเสริมสรางเครือขาย ความรวมมือ และ 4) ดานการสงเสริม ความรูในการรับมือภัยพิบัติ รวมมูลคา ของการช ว ยเหลื อ สั ง คมผ า นกองทุ น ฮอนดาเคียงขางไทยไปแลวมากกวา 100 ลานบาท [P]
THE POWER LOGISTICS
31
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E S P E C I A L R E P O R T
โดย : ชัยวัฒน เกษสม
จุดพลุ รถไฟไทย-จีน!!! เรงกอสรางใหคนไทยไดใช ธ.ค.60
ภายหลังเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2557 ที่ผานมา รัฐมนตรีวาการ กระทรวงคมนาคม และผูอำนวยการคณะกรรมการพัฒนาและปฏิรูปแหง ชาติของจีน ไดรวมลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือระหวาง รัฐบาลไทยกับรัฐบาลจีนดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางรถไฟของ ประเทศไทยในกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานดานคมนาคม ขนสงของไทย พ.ศ. 2558 - 2565 ทังนี � � ความร่ วมมือดังกล่าว ถือว่าไทยได้ ให้ ความสําคัญกับการพัฒนาแนวเส้ นทางขนส่ง ระหว่างประเทศให้ เป็ นระเบียงเศรษฐกิจ โดย ไทยอยู่ระหว่างการจัดตัง� เขตเศรษฐกิ จพิเศษ ตามระเบียงเศรษฐกิจ ในบริ เวณชายแดน ซึง� ใน อนาคตสามารถเชื�อมโยงกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของจีนที�อยู่ตามระเบียงเศรษฐกิจเดียวกัน เพื�อ พัฒนาให้ เป็ นเขตเศรษฐกิจพิเศษข้ ามพรมแดน ต่อไป ขณะเดียวกัน สาระสําคัญของร่ าง MOU ดังกล่าว คือ รัฐบาลไทยตกลงให้ รัฐบาลจีนเข้ า มีสว่ นร่วมดําเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์ การ พัฒ นาโครงสร้ างพื น� ฐานด้ า นการคมนาคม ขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 โดยเฉพาะ โครงการรถไฟทางคูข่ นาดมาตรฐาน (Standard Gauge) เส้ นทางหนองคาย-โคราช-แก่งคอยท่ า เรื อ มาบตาพุด ระยะทางประมาณ 734 กิโลเมตร และช่วงแก่งคอย-กรุงเทพฯ ระยะทาง ประมาณ 133 กิโลเมตร ซึง� เป็ นโครงการทางคู่ ขนาดมาตรฐานโครงการแรกของไทย โดยทัง� 2 ฝ่ ายจะใช้ ค วามร่ ว มมื อ ในรู ป แบบรั ฐ บาลต่อ รัฐบาล จากการ MOU ในครั ง� นัน� ล่า สุด ได้ เ ห็ น รู ป ธรรม ที� มี ค วามชั ด เจนมากยิ� ง ขึ น� โดย “พล.อ.อ.ประจิน จั�นตอง” รั ฐมนตรี ว่าการ กระทรวงคมนาคม ได้ เห็นเปิ ดเผยถึงความ
32
THE POWER LOGISTICS
คืบหน้ าในความร่ วมมือดังกล่าว พร้ อมระบุถึง กรอบระยะเวลาของโครงการ รมว.คมนาคม ระบุว่ า จะมี ก ารประชุม ระหว่างตัวแทนฝ่ ายไทย และฝ่ ายจีนทังสิ � �น 3 ครัง� โดยครัง� ที� 1 ได้ จดั ขึ �นไปแล้ วเมื�อวันที� 21 22 มกราคม 2558 โดยเป็ นการนําเสนอหัวข้ อ ในการหารื อ พร้ อมแนวทางต่างๆ จากนันจะมี � การจัด ประชุม ครั ง� ที� 2 ระหว่ า งวัน ที� 5 - 7 กุม ภาพัน ธ์ นี � เพื� อ ทํ า การตกลงและทํ า ความ เข้ า ใจร่ ว มกัน เกี� ย วกับ แผนการดํ า เนิ น และ บทบาทหน้ าที�ของทัง� 2 ฝ่ ายรวมถึงพิจารณาขอ เสนอด้ านเทคนิคการก่อสร้ างการลงทุน ทังนี � � จากนันในวั � นที� 25 - 27 กุมภาพันธ์ จะ มีการประชุมครัง� ที� 3 เพื�อพิจารณารู ปแบบการ ลงทุน และการคัดเลือกหน่วยงาน หรื อบริ ษัท ของจีนที�จะเข้ ามาดําเนินงานร่ วมกับไทย ซึ�ง คาดว่าในการประชุมครัง� นี �จะได้ ข้อสรุปทังหมด � ก่อนที� จะมี การศึกษาและออกแบบให้ เป็ นไป ตามแผนงานที� กํ า หนดเดิ น หน้ า ไว้ ใ นวัน ที� 1 มีนาคม เป็ นต้ นไป และคาดว่าจะแล้ วเสร็ จใน ช่วงเดือนกรกฎาคมนี � สําหรับ การดําเนินการตามแผนงานจะแบ่ง เป็ น 4 ช่วง คือช่วงที� 1 กรุ งเทพฯ - แก่งคอย ระยะทาง133 กิโลเมตร ช่วงที� 2 แก่งคอย มาบตาพุด ระยะทาง 246.5 กิโลเมตร ช่วงที� 3 แก่ ง คอย - นครราชสี ม า ระยะทาง 138.5
S P E C I A L R E P O R T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม
กิโลเมตร และช่วงที� 4 นครราชสีมา-หนองคาย ระยะทาง 355 กิโลเมตร รวมระยะทางทังหมด � 873 กิโลเมตร วงเงินลงทุนประมาณ 4 แสนล้ าน บาท โดยช่วงที�1 และช่วงที� 2 จะเริ� มดําเนินการ ก่อสร้ างในต้ นเดือนกันยายน 2558 ขณะที�ช่วง ที� 3 และช่วงที� 4 จะเริ� มดําเนินการก่อสร้ างต้ น เดื อ นธั น วาคม 2558 โดยจากการใช้ ร ะบบ เทคโนโลยีเข้ ามาดําเนินการ จะแล้ วเสร็จภายใน 2 ปี ครึ� ง จากที�ได้ มีการประเมินไว้ ว่าระยะทาง ประมาณ 1000 กิ โ ลเมตรจะใช้ เ วลาในการ ก่อสร้ าง 4 ปี (หากคํานวนระยะเวลาแล้ ว จะพบ ว่า การก่อสร้ างในช่วงที� 1 และช่วงที� 2 จะแล้ ว เสร็ จประมาณ ธ.ค. 2560 โดยช่วงที� 3 และช่วง ที� 4 จะแล้ วเสร็ จประมาณ มี.ค. 2561) จากความร่ วมมือระหว่างไทย - จีน “อาคม เติ ม พิ ท ยาไพสิ ฐ ” รั ฐ มนตรี ช่ วยว่ าการ กระทรวงคมนาคม กล่าวถึงรูปแบบการลงทุน ว่า แนวทางการลงทุนในเบื �องต้ นนัน� มีหลาย ทางเลือก เช่น อาจเป็ นเงินกู้จากจีนทังหมด � หรื อ
อาจเป็ นการร่ วมทุนกัน ซึง� รัฐบาลไทยต้ องดูรูป แบบที�ดีที�สดุ ส่วนแนวโน้ มจะเป็ นลักษณะใดยัง ตอบไม่ได้ แต่ทางจีนพร้ อมรับได้ หมดเพียงแต่ เราต้ องดูให้ ที�ดีที�สดุ สําหรับประเทศ “การประชุมคณะอนุกรรมการบูรณาการ ด้ า นการเงิ น และรู ป แบบการลงทุน ยัง ไม่ มี ข้ อ ยุติ เ รื� อ งการลงทุน ชัด แต่ค าดจะสรุ ป ราย ละเอียดวงเงินลงทุน รูปแบบการลงทุนได้ ในการ ประชุมคณะทํางานร่ วมไทย - จีน ครัง� ที� 2 วันที� 5-7 กุมภาพันธ์ จากนันในการประชุ � มครัง� ที� 3 วันที� 25 - 27 กุมภาพันธ์ นี � รั ฐบาลจะบินไป ประชุมที�ประเทศจีน เพื�อสรุ ปรายละเอียด และ รูปแบบการลงทุนทังหมด � หากทัง� 2 รัฐบาลสรุป ภาพรวมโครงการ รู ปแบบการลงทุนได้ ก็จะลง นามบันทึกข้ อตกลงในสัญญาร่ วมกันได้ ในการ ประชุมครัง� ที� 3 ทันที” ขณะเดียวกัน ที�ประชุมคณะอนุกรรมการฯ ยังได้ แต่งตังคณะทํ � างานศึกษารู ปแบบการเงิน และการลงทุน โดยมี อนุ สรณ์ แสงนิ�มนวล ประธานกรรรมการ บริษัท ขนส่ ง จํากัด หรื อ
บขส. ทํ า หน้ าที� ร่ ว มกั บ สํ า นั ก นโยบายและ แผนการขนส่งและจราจร หรื อ สนข. เพื�อศึกษา จัดทําข้ อมูลความเป็ นไปได้ ของโครงการรถไฟ ไทย-จีน โดยจะนําข้ อมูลการศึกษาเดิมที� สนข. เคยทําไว้ มาปรับปรุงใช้ กบั โครงการใหม่นี �ให้ เกิด ความเหมาะสม “โครงการรถไฟทางคูไ่ ทย-จีน เป็ นความร่วม มือแบบรั ฐบาลต่อรั ฐบาล (จีทูจี) ซึ�งไทยต้ อง พิจารณาแนวทางที�เหมาะสมที�สดุ โดยนําข้ อมูล ที� สนข.ศึกษาการก่ อสร้ างรถไฟความเร็ วสูง หนองคาย-กรุ งเทพฯ และโครงการเดิม แอร์ พอร์ ตเรลลิงก์ไปถึงระยอง มาปรับมาใช้ ให้ เกิด ประโยชน์กบั โครงการรถไฟไทย-จีน รอบนี �ด้ วย ทัง� ในด้ านความเป็ นไปได้ ของโครงการ, การ ก่ อ สร้ าง, การออกแบบ, ผลกระทบทาง เศรษฐกิ จ และสั ง คม ทางการเงิ น และสิ� ง แวดล้ อม ซึง� ทังหมดจะต้ � องมีการลงสํารวจพื �นที� จริ ง เพื� อ กํ า หนดแนวทางที� ชั ด เจน” รมช. คมนาคม กล่าว [P]
THE POWER LOGISTICS
33
THE POWER LOGISTICS MAGAZINE CEO TALK
โดย : กองบรรณาธิการ
อภิชาติ ไพรรุงเรือง
เล็งรวมสมาคมฯประชุมใหญ โชวความแกรงขนสงทางบก
ถือวาเปนอีกบุคคลหนึง่ ทีม่ บี ทบาทในการขับเคลือ่ นดานขนสง ทางบก ในนามภาคเอกชน อภิชาติ ไพรรุงเรือง นายกสมาคม ขนสงทางบกแหงประเทศไทย ที่ไดนั่งเกาอี้ นายกสมาคมฯ เปน สมัยที่ 2 ซึ่งยอมมองเห็นโอกาส และอุปสรรคของธุรกิจนี้เปน อยางดีวาเปนอยางไรบาง รวมถึงขอเรียกรอง และขอเสนอแนะ จากภาครัฐ ที่จะทำใหผูประกอบการ มีความคลองตัว ในการ ดำเนินธุรกิจมากยิ่งขึ้น
The Power LOGISTICS ฉบับนี � พบกับผ่าแนวคิดของ คุณอภิชาต ในการผลักดัน ด้ านขนส่งทางบก รวมถึงทิศทางการบริ หารหาร ในสมัยที� 2 และข้ อเสนอแนะต่างๆแก่ ภาครัฐ รวมทังการปรั � บตัวของผู้ประกอบการ เพื�อความอยู่รอดในท่ามกลางการแข่งขัน ที�สงู ขึ �น คุณอภิชาติ ให้ สมั ภาษณ์ กับ THE POWER LOGISTICS ระหว่างที�เข้ าร่วมงานการ ประชุม ระหว่างการประชุมประจําปี ของสมาคมฯ ว่า งานที�จดั ขึ �นประสบความสําเร็ จ ได้ รับความร่ วมมือทุกภาคส่วน ในฐานะที�ตนนัง� เก้ าอี �นายกสมาคม สมัยที� 2 สิ�งที� อยากจะทําในปี นี �คือ จัดให้ ประชุมให้ สหพันธ์การขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย เป็ น งานใหญ่ที�รวมหลายสมาคมฯ ขนส่งที�เกี�ยวข้ องเข้ าร่วม โดยเชิญประเทศเพื�อนบ้ าน เช่น เมียนมาร์ สปป.ลาว เขมร จีน เข้ ามาร่ วมสังเกตการณ์ด้วย ซึง� จะใช้ งานนี � เป็ นโอกาสที�เชื�อมความสัมพันธ์กบั กลุม่ จีเอ็มเอส จะทําให้ เข้ าใจในการทําธุรกิจ เชื�อมกันมากยิ�งขึ �น “เป้าหมายของสมาคมฯ จะร่ วมทุกสมาคมที�เกี�ยวข้ องแล้ วก็จดั งานใหญ่ เพื�อความสะดวกของผู้ประกอบการของสมาคมต่างๆ อาจจะจัด 3-4 วัน ซึง� ขณะ นี �ได้ มีการคุยกับสมาคมต่างๆ ที�เกี�ยวข้ องว่าจัดงานร่ วมกันเห็นด้ วยหรื อไม่ ซึง� ส่วนมากก็ เห็นด้ วย โดยเล็งสถานที�ไว้ ที�เมืองทองธานี โดยเราตังเป � ้ าได้ ว่าจะเชิญนายกรัฐมนตรี มา ร่ วมงานด้ วย การจัดประชุมใหญ่ในนามสหพันธ์ฯ เป้าประสงค์ คือ ต้ องการยกระดับทุก องค์กรที�เกี�ยวข้ องให้ มีความสําคัญมากขึ �น มีความเป็ นปึ กแผ่น เมื�อรวมหลายสมาคมฯ ก็จะเป็ นดูยิ�งใหญ่ ข้ อดีของการจัดงานใหญ่ครัง� เดียว คือ ง่ายต่อผู้ที�จะเดินทางมาร่ วม และง่ายต่อการสนับสนุนงบประมาณ สําหรับผู้สนับสนุนต่างๆ ด้ วย “คุณอภิชาติ กล่าว ถึงภารกิจที�จะผลักดัน เมื�อถามถึงงานใหม่ นายกสมาคมฯ บอกว่า คงเป็ นการงานต่องานเดิมให้ สําเร็ จก่อน ที�ผ่านมามีงานค้ างอยู่ เช่น เรื� องนํ �าหนักรถบรรทุก จาก 58 ตัน บรรทุกได้ ไม่เกิน 50.5 ตัน ซึง� เรื� องนี �อยากให้ รัฐบาลใส่ใจรายละเอียดก่อนที�ออกกฎเกณฑ์ น่าจะพิจารณาให้ ถ่องแท้ โดยเชิญผู้ประกอบการที�เกี�ยวข้ องมาร่ วมแสดงความคิดเห็นด้ วย ไม่ใช่เชิญนักวิชาการ
34
THE POWER LOGISTICS
C E O T A L K T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
“
จะมีการเร่งเปิดเออีซี ให้เร็ว ตนเห็นว่ายังไม่ สมควร ต้องศึกษาและวางกฎระเบียบ ให้ถูกต้องเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของ ทุกฝ่ายของกลุ่มประเทศ ไม่เช่นนั้น เปิดแล้วมีปัญหา
เพียงฝ่ ายเดียว ซึ�งผู้ปฏิบตั ิย่อมรู้ ดี และที�ผ่านมา รัฐบาลก็ไม่ได้ เชิญเราเข้ าร่ วมหารื อ “ผู้ประกอบการขนส่งต้ องการให้ แก้ ไขกฎหมาย เอาผิดผู้วา่ จ้ างขนสินค้ า เนื�องจากจะช่วยให้ ผ้ วู า่ จ้ าง มีความรับผิดชอบร่ วมกับผู้ประกอบการขนส่งด้ วย ส่วนการขอผ่อนผันเพื�อบรรทุกนํ �าหนักเกิน ถือเป็ น เรื� องรอง ไม่ใช่ว่าเราทําผิดแล้ วไม่ยอมรับ แต่ถ้าคุม นํ �าหนักบรรทุกตังแต่ � ต้นทาง ก็จะช่วยให้ ผ้ ปู ระกอบ การขนส่งไม่ต้องแบกรั บความผิดฝ่ ายเดียว และ ปกติ เ มื� อ มี เ รื� อ งร้ องเรี ย นจากฝ่ ายใดก็ ต าม ทาง กระทรวงคมนาคมควรเชิญผู้ร้องเรี ยนเข้ าร่ วมเพื�อ รับฟั งปั ญหาด้ วย” คุณอภิชาติ สะท้ อนอีกว่า ปั จจุบนั ภาคขนส่ง เดือดร้ อนหลายเรื� อง ไม่ว่าจะเป็ นเรื� องการขนส่งที� น้ อยลง เพราะสินค้ าประเภทเกษตรลดน้ อยลงกว่า เมื�อก่อน จึงอยากให้ ภาครัฐหันหน้ ามาดูแลเรื� องนี � อย่างจริ งจังด้ วย ไม่อยากให้ ภาครั ฐเชื� อเพียงนัก วิ ช าการ และคนที� นั� ง คุ ย กั น ในห้ อง ควรเรี ย ก ผู้ประกอบการขนส่งไปร่ วมหารื อด้ วย เพื� อทราบ ข้ อเท็จจริ ง ทังนี � � ยังมีเรื� องพลังงานเชือ� เพลิง รัฐบาลต้ อง ควบคุมให้ ดี โดยเฉพาะการปรับขึ �นราคา ตรงนี �จะ ส่งผลกระทบต่อประชาชนเป็ นอย่างมาก ถ้ าปรับขึ �น ราคานํา� มันดีเซลจริ ง ทางผู้ประกอบการก็จําเป็ น ต้ องปรั บราคาขึน� ตาม เพราะไม่สามารถแบกรั บ ต้ นทุนที�เพิ�มขึ �นได้ แต่การปรับราคาเรามีกําหนดกฎ เกณฑ์เป็ นแบบขันบั � นไดอยูแ่ ล้ ว ไม่สามารถปรับขึ �น ได้ ตามอําเภอใจ และทางผู้ประกอบการไม่อยาก ปรับราคาขึ �นอย่างแน่นอน เพราะความเดือดร้ อนจะ
ตกไปอยู่กบั ผู้บริ โภค 100% “รัฐบาลบอกว่าจะไม่สนับสนุน และไม่อดุ หนุน ราคานํ า� มันดีเซลแล้ ว แล้ วจะเก็บเงินเข้ ากองทุน ต่างๆ ทําไม ก็ควรที�จะปล่อยให้ เป็ นไปตามตลาด เพราะการเก็บเงินเข้ ากองทุนนํ �ามันปั จจุบนั ก็มีกําไร อยูแ่ ล้ ว และขอพูดตรงๆ ว่ากลุม่ ขนส่งไม่ได้ รับความ เดือดร้ อนอยู่แล้ ว ไม่ว่าจะมีการปรับราคาพลังงาน เชื �อเพลิงขึ �นเท่าไหร่ เราก็ไปขอเพิ�มราคากับผู้วา่ จ้ าง ได้ เท่านัน� ถ้ าเราทําแบบเห็นแก่ตวั ก็ไม่ต้องออกมา พูดอะไรก็ได้ แต่นี�ประชาชนทัง� ประเทศเดือดร้ อน เราจึงอยากสะท้ อนออกไปให้ ภาครัฐได้ ยินเสียงเรา บ้ าง และก็อยากเป็ นปากเป็ นเสียงแทนประชาชน ด้ วย เพราะไม่อยากให้ ใช้ สินค้ าที�มีราคาแพงเกิน เงิ น เดื อ นที� ไ ด้ รั บ ” คุณ อภิ ช าติ ก ล่ า วและว่ า จาก สถานการณ์ ที�เป็ นอยู่ ตนเห็นว่าราคานํา� มันดีเซล ควรไม่เกิน 24 บาทต่อลิตร เมื�อถามถึงความพร้ อมของคนส่งทางบกในการ เปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรื อ เออีซี นายก สมาคมขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย กล่าวว่า จะ มีการเร่งเปิ ดเออีซใี ห้ เร็ว ตนเห็นว่ายังไม่สมควร ต้ อง
ศึกษา และวางกฎระเบียบให้ ถูกต้ องเพื�อให้ เป็ นที� ยอมรับของทุกฝ่ ายของกลุม่ ประเทศ ไม่เช่นนันเปิ � ด แล้ วมีปัญหา เพราะแต่ละประเทศก็จ้องที�จะเอา ประโยชน์แก่ตวั เองทังนั � น� สําหรับไทยก็เหมือนกับ ทางผ่าน ถ้ าไม่วางตําแหน่งและกฎเกณฑ์ร่วมกันให้ ชัดเจน ก็ จะเป็ นการเอือ� ประโยชน์ ให้ ประเทศอื�น เปรี ยบเสมือน “เป็ นม้ าอารี ย์” ให้ เขา ส่วนการฝากข้ อเสนอแนะแก่รัฐบาลชุดนี � คุณ อภิชาติ กล่าวว่า ไม่วา่ รัฐบาลจะดําเนินการโครงการ ไหน ก็ต้องทําให้ รอบคอบ และต้ องรู้ให้ จริ ง ซึง� ข้ อมูล ก็หาได้ จากที�ปรึ กษา เพราะหลายคนก็เคยเป็ นที� ปรึกษาให้ กบั รัฐบาลมาหลายสมัย เช่น การหาเงิน มาลงทุนระบบราง ก็ต้องทําให้ รอบคอบ ในการเชิญ ประเทศต่างๆ มาลงทุนก็ต้องพิจารณาให้ ดี “สิ� ง ที� พ วกผมหวัง เป็ นอย่ า งยิ� ง คื อ การเกิ ด ความรักใคร่ กนั ในบ้ านเมือง รัฐบาลก็มีสว่ นสําคัญ คือ รัฐบาลต้ องทําให้ ประชาชนรัก แล้ วความศรัทธา กับความเชื�อมัน� ก็ตามมา แต่ถ้าสัง� อย่างเดียว ผลที� ได้ มนั ย่อมแตกต่างกัน” [ P ]
THE POWER LOGISTICS
35
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E S E C R E T S I N S U R A N C E
“เกียรตินาคิน”ผนึก”เจนเนอราลี่ฯ” พัฒนาธุรกิจแบงคแอสชัวแรนส 15 ป ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) และ บริษทั เจนเนอราลี่ ประกันชีวติ (ไทยแลนด) จำกัด (มหาชน) ไดลง นามในสัญญา Bancassurance โดยภายใตสญ ั ญาดังกลาว ธนาคารจะใหสทิ ธิในการเสนอขายผลิตภัณฑประกัน ชีวติ ผานชองทางตางๆ ของธนาคารตอ เจนเนอราลี่ ไทยแลนด แตเพียงรายเดียวเปนระยะเวลา 15 ป
36
THE POWER LOGISTICS
S E C R E T S I N S U R A N C E T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
การร่ ว มเป็ นพัน ธมิ ต รในครั ง้ นี ถ้ ื อ เป็ นก้ าว ส�าคัญในการเติบโตธุรกิจ Bancassurance ของ ธนาคาร ซึ่ง จะมุ่ง เน้ น การพัฒ นาและน� า เสนอ ผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ ที่หลากหลายเพื่อตอบสนอง ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ธนาคารทุ ก กลุ่ ม ซึ่ ง เจนเนอราลี่ ไทยแลนด์ เป็ นบริ ษัทประกันชีวิตใน กลุม่ บริ ษัท Assicurazioni Generali S.p.A (“กลุม่ เจนเนอราลี่”) จากประเทศอิตาลี ซึ่งเป็ นบริ ษัท ประกันชีวิตอันดับหนึ่งในภูมิภาคยุโรปตะวันตก และอันดับสามในโลกหากจัดอันดับตามรายได้ ปี พ.ศ. 2556 โดยให้ บริ การลูกค้ ามากกว่า 65 ล้ าน คนในกว่า 60 ประเทศทั่วโลก กลุ่มเจนเนอราลี่ มีความเชี่ยวชาญด้ านประกันชีวิตระดับสากลและ มีเครื อข่ายประกันชีวิตครอบคลุมทัว่ โลก จึงท�าให้ เจนเนอราลี่ ไทยแลนด์ มีผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต ที่หลากหลายและครบถ้ วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลิตภัณฑ์ส�าหรับลูกค้ าที่มีความมัง่ คัง่ สูง (High Net Worth Individual) ซึง่ เป็ นหนึง่ ในกลุม่ ลูกค้ า หลักของธนาคาร ความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างธนาคาร และเจน เนอราลี่ ไทยแลนด์ในครัง้ นี ้ จะพัฒนาและต่อยอด ธุรกิจ Bancassurance ของทังสองฝ่ ้ าย พร้ อมทัง้ เป็ นการสนับสนุนแผนกลยุทธ์ของธนาคารในการยก ระดับผลิตภัณฑ์ทางการเงินและการลงทุนให้ มคี วาม หลากหลายมากขึ ้น เพือ่ ตอบสนองความต้องการของ กลุม่ ลูกค้ าต่างๆให้ ได้ อย่างครบถ้ วน ซึง่ ผลิตภัณฑ์ ประกันชีวิตเป็ นหนึ่งในองค์ประกอบที่ส�าคัญของ ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน และการลงทุนของธนาคาร ไม่ ว่าจะเป็ นผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ เพื่อความคุ้มครอง ชีวติ เพือ่ การออม เพือ่ การเกษียณ หรือเพือ่ การลงทุน โดยความร่ วมมือในครัง้ นี ้ยังสอดคล้ องกับแผนรุ ก ตลาดของกลุ่มเจนเนอราลี่ ซึ่งมีเป้ าหมายในการ ขยายธุรกิจประกันชีวติ ในประเทศไทยเพื่อที่จะก้ าว ขึ ้นเป็ นหนึง่ ในผู้นา� ตลาดประกันชีวติ ในประเทศไทย อย่างมีศกั ยภาพผ่าน เจนเนอราลี่ ไทยแลนด์ ภายใต้ การบริ หารงานโดยคุณบัณฑิต เจียมอนุ กูลกิจ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร คุณอภินันท์ เกลียวปฏินนท์ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และประธานธุ ร กิ จ ธนาคาร พาณิชย์ ธนาคารเกียรตินาคิน จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่าด้ วยประสบการณ์ระดับสากลของกลุม่ เจน
“
ความร่วมมือทางธุรกิจระหว่าง ธนาคาร และเจนเนอราลี่ ไทยแลนด์ในครั้งนี้ จะพัฒนาและ ต่อยอดธุรกิจ Bancassurance ของทั้งสองฝ่าย พร้อมทั้ง เป็นการสนับสนุนแผนกลยุทธ์ ของธนาคารในการยกระดับ ผลิตภัณฑ์ทางการเงินและ การลงทุนให้มีความหลากหลาย มากขึ้น เพื่อตอบสนองความ ต้องการของกลุ่มลูกค้าต่างๆ ให้ได้อย่างครบถ้วน เนอราลี่ ในด้ านผลิตภัณฑ์ประกันชีวิต การบริ การ ลู ก ค้ า เทคโนโลยี และมาตรฐานสากลอื่ น ๆ ประกอบกั บ ความรู้ ความเข้ า ใจในธุ ร กิ จ ของ ธนาคาร ตลอดจนเครื อข่ายการขายที่ครอบคลุม ทัว่ ประเทศ และกลุม่ ลูกค้ าทีม่ ศี กั ยภาพสูง จะท�าให้ ธนาคารสามารถก้ าวเข้ าสูย่ คุ ใหม่ของธุรกิจ Bancassurance โดยธนาคารจะท�างานร่ วมกับ เจน เนอราลี่ ไทยแลนด์ อย่างใกล้ ชิดเพื่อพัฒนาและ เสนอนวัตกรรมในผลิตภัณฑ์ประกันชีวิตใหม่ๆ ที่ เน้ นลูกค้ าเป็ นส�าคัญ เพื่อตอบสนองความต้ องการ ของลูก ค้ า ในหลากหลายช่ ว งอายุ ในด้ า นการ พั ฒ นาบุ ค ลากร เจนเนอราลี่ จ ะเข้ ามาช่ ว ย สนั บ สนุ น ธนาคารในการอบรมบุ ค ลากรของ ธนาคารเพื่อให้ มีความรู้ ความเข้ าใจและความ ช�านาญในการเสนอผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ ใหม่ๆ ที่ มีความซับซ้ อน รวมถึงวิเคราะห์ความต้ องการของ ลูก ค้ า เพื่ อ สามารถตอบโจทย์ ลูก ค้ า ได้ ดี ยิ่ ง ขึ น้ นอกจากนี ้ ธนาคารยัง มี น โยบายที่ จ ะน� า ความ
เชี่ยวชาญทางธุรกิจประกันชีวิตระดับสากลของ กลุ่ม เจนเนอราลี่ ม าพัฒ นาคุณ ภาพการบริ ก าร ลูกค้ าและกระบวนการท�างานโดยมีความมุง่ หวังที่ จะสร้ างความพึ ง พอใจสู ง สุ ด ให้ แก่ ลู ก ค้ า ของ ธนาคาร กลุม่ ธุรกิจการเงินเกียรตินาคิน ภัทร เป็ นหนึง่ ในผู้น�าการให้ บริ การกลุ่มลูกค้ าที่มีความมัง่ คัง่ สูง การร่ ว มมื อ กั บ เจนเนอราลี่ ไทยแลนด์ ซึ่ ง มี ประสบการณ์ในระดับสากลในการให้ บริ การกลุ่ม ลูกค้ ากลุม่ นี ้ จะท�าให้ กลุม่ ธุรกิจการเงินฯ สามารถ เสนอผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ครบวงจร เพื่อตอบ โจทย์ที่มีความซับซ้ อนสูงของลูกค้ ากลุ่มนีไ้ ด้ และ ท�าให้ เรามีความได้ เปรี ยบในการให้ บริ การลูกค้ า กลุม่ นี ้มากขึ ้น เซอร์ จโิ อ ดี คาโร ผู้น�าภาคพืน้ เอเชียของ กลุ่มเจนเนอราลี่ กล่าวว่า “เจนเนอราลี่ให้ ความ ส�าคัญกับการเติบโตธุรกิจในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉี ยงใต้ โดยเฉพาะในประเทศไทยเป็ นอย่าง มาก เพราะที่นี่เป็ นจุดยุทธศาสตร์ สา� คัญในการวาง กลยุทธ์ การขยายธุรกิจ เป้ าหมายของเราคือการ สร้ างและพัฒนาธุรกิจประกันชีวิตอย่างยัง่ ยืน โดย สร้ างรากฐานจากความพึ ง พอใจของลูก ค้ า ใน สินค้ าและการบริการของเรา ซึง่ การลงนามสัญญา ความร่ วมมือกับธนาคารเกียรตินาคินช่วยตอกย�า้ เป้ าหมายของเราได้ เป็ นอย่างดี ทางเจนเนอราลี่ รู้สกึ ปลาบปลื ้มทีก่ ารร่วมมือกับธนาคารเกียรตินาคิ นในครัง้ นีจ้ ะเป็ นอีกก้ าวที่ส�าคัญในการบรรลุเป้ า หมายของเจนเนอราลี่ในการก้ าวขึน้ เป็ นเป็ นผู้น�า ด้ านธุรกิจประกันชีวิตให้ กบั คนไทย” คุ ณ บั ณ ฑิ ต เจี ย มอนุ กู ล กิ จ ประธาน เจ้ าหน้ าที่บริหาร บริษัท เจนเนอราลี่ ประกัน ชีวิต (ไทยแลนด์ ) จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า “เจนเนอราลี่ประกันชีวิตได้ รับเกียรติจากธนาคาร เกียรตินาคินในการเข้ ามาด�าเนินธุรกิจ Bancassurance ร่ วมกัน เรามีวัตถุประสงค์ และความ ตังใจในการให้ ้ บริ การลูกค้ าของเราให้ ดีที่สดุ ด้ วย บริการ และผลิตภัณฑ์ประกันชีวติ ที่มีคณ ุ ภาพ รวม ถึงความพร้ อมที่จะผลักดันให้ เกิดการพัฒนาธุรกิจ ประกั น ชี วิ ต และธุ ร กิ จ ธนาคารพาณิ ช ย์ ใ น ประเทศไทยให้ เติบโตอย่างมีศกั ยภาพ” [P]
THE POWER LOGISTICS
37
T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E L O G I S T I C S T R A D E
โดย : ชินพงศ์ เรืองบุญมา
สศอ. ชี้ชองเก็บเกี่ยวประโยชน FTA กระตุนผูประกอบการใชสิทธิ์ไดเต็ม
แมวาประเทศไทยถูกปกครองดวยรัฐบาลที่มาจาก “รัฐประหาร” จน ประเทศภาคีสมาชิกอียูงดการเจรจาการเปดเขตการคาเสรี (FTA) เพิ่มเติม เอาไวกอน แต FTA เดิมที่มีอยูแลว ผูประกอบการเอง (ทั้ง นำเขาและ สงออก) ควรใหความสำคัญและใชสิทธิประโยชนภายใต FTA ใหคุมคา มากกวานี้ เพราะตัวเลขที่ออกมาฟองทนโทวาไทยชิงความไดเปรียบในการ คามาไดนอยมาก ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) จึง ต้ องออกมำชี ช้ ่ อ งทำงเก็ บ เกี่ ย วกำรใช้ สิ ท ธิ ประโยชน์ ด้ ำ นภำษี ศุล กำกรจำก FTA ของ อุตสำหกรรมไทย โดยกระตุ้นสินค้ ำอุตสำหกรรม ที่มีกำรใช้ สิทธิไม่ถึง 50% ทังภำคน� ้ ำเข้ ำและส่ง ออกให้ สู ง ขึ น้ และกลุ่ ม อุ ต สำหกรรมที่ ใ ช้ ประโยชน์ในระดับที่สงู อยู่แล้ วให้ เต็มที่ 100% ทังนี ้ ้ เพื่อลดต้ นทุนสินค้ ำให้ มำกยิ่งขึ ้น อุ ด ม วงศ์ วิ วั ฒ น์ ไชย ผู้ อ� ำ นวยกำร ส�ำนั กงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (ผศอ.) เปิ ดเผยว่ำ จำกกำรด�ำเนินงำนด้ ำนเศรษฐกิจ อุตสำหกรรมระหว่ำงประเทศ เพื่อเพิ่มขีดควำม สำมำรถในกำรแข่งขันให้ กบั ภำคอุตสำหกรรม
38
THE POWER LOGISTICS
ไทยมำอย่ำงต่อเนื่องนัน้ ส�ำนักงำนเศรษฐกิจ อุต สำหกรรม (สศอ.) ได้ ติ ด ตำมกำรใช้ สิท ธิ ประโยชน์ ด้ำนภำษี ศุลกำกรจำก FTA ที่มีผล บังคับใช้ แล้ วของไทย จ�ำนวน 11 ฉบับ กับ 15 ประเทศ คือ 1.ควำมตกลงกำรค้ ำเสรี อำเซียน 2.ควำม ตกลงกำรค้ ำเสรี ไทย-ออสเตรเลีย 3.ควำมตกลง หุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปนุ่ 4.ควำมตกลงกำร ค้ ำเสรี ไทย-อินเดีย ในกลุ่มสินค้ ำเร่ งลดภำษี (Early Harvest) 5.ควำมตกลงว่ำด้ วยกำรเป็ น หุ้นส่วนทำงเศรษฐกิ จที่ ใกล้ ชิดยิ่งขึน้ ระหว่ำง ไทย-เปรู 6.ควำมตกลงว่ำด้ วยกำรเป็ นหุ้นส่วน ทำงเศรษฐกิ จ ที่ ใ กล้ ชิ ด ยิ่ ง ขึ น้ ระหว่ ำ ง ไทย-
อุดม วงศ์วิวัฒน์ไชย ผู้อ�ำนวยกำร ส�ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม
นิ ว ซี แ ลนด์ และ 7.ควำมตกลงกำรค้ ำ เสรี ระหว่ำง ASEAN กับประเทศคูเ่ จรจำต่ำงๆ อีก 5 ฉบับ คู่เ จรจำทัง้ 5 ได้ แ ก่ จี น อิ น เดี ย ญี่ ปุ่ น เกำหลี ใ ต้ และออสเตรเลี ย -นิ ว ซี แ ลนด์ ครอบคลุมสำขำอุตสำหกรรม จ�ำนวน 17 สำขำ (ยำนยนต์ เหล็ก เคมีภณ ั ฑ์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ำและ อิเล็กทรอนิกส์ เครื่ องจักรกล สิ่งทอและเครื่ อง นุ่งห่ม เครื่ องหนังและรองเท้ ำ อำหำร อัญมณี และเครื่ องประดับ พลำสติก ยำงและผลิตภัณฑ์ ยำง ไม้ และเฟอร์ นิเจอร์ เซรำมิค เยื่อกระดำษ/ กระดำษ/สิ่งพิมพ์ ปูนซีเมนต์ ยำ และปิ โตรเคมี) ซึง่ จำกผลกำรติดตำมในปี ที่ผ่ำนมำ พบว่ำ ปี 2556 ประเทศที่ไทยส่งออกสินค้ ำโดยมีอตั รำ กำรใช้ สิทธิประโยชน์ภำยใต้ FTA ในภำพรวม ต�่ำมำก ได้ แก่ เมียนมำร์ (ร้ อยละ 7.4) กัมพูชำ (ร้ อยละ 5.7) และ สปป.ลำว (ร้ อยละ 3.8) ผู้ ส่ ง ออกจึ ง มี โ อกำสอี ก มำกในกำรใช้ สิ ท ธิ
L O G I S T I C S T R A D E T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
ประโยชน์ทำงภำษี เพื่อเพิ่มควำมได้ เปรี ยบในกำรส่งออกสินค้ ำ โดยหำกแยกตำมกลุม่ อุตสำหกรรม พบว่ำ กลุม่ สินค้ ำที่มีอตั รำกำรใช้ สิทธิประโยชน์ฯ ภำยใต้ ควำมตกลง FTA ในปี 2556 อยู่ในระดับต�่ำและ ไม่ถึง 50% ได้ แก่ กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (ร้ อยละ 19.3) เหล็ก/เหล็กกล้ ำ (ร้ อยละ 22.5) เครื่ องหนัง (ร้ อยละ 31) ยำ (ร้ อยละ 35.9) เครื่ องใช้ ไฟฟ้ำ (ร้ อยละ 37.2) ปูนซีเมนต์ (ร้ อยละ 41.1) กระดำษ (ร้ อยละ 41.9) สิ่งทอ (ร้ อยละ 43.1) และอำหำร (ร้ อยละ 45.3) ส�ำหรับกลุม่ อุตสำหกรรมที่มีอตั รำกำรใช้ สทิ ธิประโยชน์ฯ สูงแต่ไม่เต็ม 100% ได้ แก่ พลำสติก (ร้ อยละ73.3) ไม้ และเฟอร์ นิเจอร์ ไม้ (ร้ อยละ 71.3) เคมีภณ ั ฑ์ (ร้ อยละ 68.7) เครื่ องนุ่มห่ม (ร้ อยละ 64.9) และชิ ้นส่วนยำน ยนต์ (ร้ อยละ 52.4) นอกจำกนี ้ ในกลุม่ อุตสำหกรรมที่มีอตั รำกำรใช้ สิทธิฯ สูงข้ ำงต้ น ยังมี สินค้ ำในกลุ่มอีกหลำยชนิดที่สำมำรถใช้ โอกำสเก็บเกี่ยวประโยชน์ ด้ำน ภำษี ศุลกำกรจำก FTA ในกำรส่งออกไปประเทศต่ำงๆ ได้ อีก ซึ่งหำก ผู้ประกอบกำรมีกำรใช้ สิทธิประโยชน์เต็มที่ 100% จะสำมำรถประหยัด ภำษี เพิ่มขึ ้น ท�ำให้ สินค้ ำมีต้นทุนลดลง และเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน คือ 1. สินค้ ำที่ส่งออกไปจีน ได้ แก่ กล้ องถ่ำยโทรทัศน์ กล้ องถ่ำยภำพ ดิจิตอล กล้ องถ่ำยบันทึกวีดโิ อ ข้ ำวขัดสี ยำงคอมพำวด์ และมอเตอร์ ไฟฟ้ำ ที่ให้ ก�ำลังไม่เกิน 37.5 วัตต์ 2. สินค้ ำที่สง่ ออกไปมำเลเซีย ได้ แก่ ชิ ้นส่วนยำนยนต์และอื่นๆ 3. สิ น ค้ ำ ที่ ส่ง ออกไปลำว เช่ น น� ำ้ มัน เบำและสิ่ ง ปรุ ง แต่ง น� ำ้ มัน ปิ โตรเลียมอื่นๆ เป็ นต้ น ผศอ. กล่ำวเพิ่มว่ำ ส�ำหรับประเทศที่ไทยน�ำเข้ ำสินค้ ำโดยมีอตั รำกำร ใช้ สิทธิประโยชน์ฯ ในปี 2556 ภำยใต้ FTA ในภำพรวมอยู่ในระดับไม่สงู นัก ได้ แก่ ญี่ปนุ่ (ร้ อยละ 45.2) สิงคโปร์ (ร้ อยละ 42.8) และอินเดีย (ร้ อย ละ 39.1) โดยในส่วนของประเทศอำเซียนนัน้ กำรน�ำเข้ ำจำกเมียนมำร์ มี อัตรำกำรใช้ สิทธิประโยชน์อยู่ในระดับต�่ำมำกเพียงร้ อยละ 2.1 หำกแยกตำมกลุม่ อุตสำหกรรม จะพบว่ำ อัตรำกำรใช้ สิทธิประโยชน์ ภำยใต้ ควำมตกลง FTA ในปี 2556 ของผู้น�ำเข้ ำในกลุม่ อัญมณี (ร้ อยละ 13) ปิ โตรเคมี (ร้ อยละ 36) เครื่ องจักรกล (ร้ อยละ 40.8) เครื่ องใช้ ไฟฟ้ำ
(ร้ อยละ 42) ไม้ /เฟอร์ นิเจอร์ ไม้ (ร้ อยละ 44.4) และพลำสติก (ร้ อยละ 46.2) ซึง่ เห็นว่ำยังมีอตั รำกำรใช้ สิทธิประโยชน์จำก FTA ในระดับไม่สงู นัก และ ไม่ถึง 50% ส�ำหรับกลุ่มอุตสำหกรรมที่มีอตั รำกำรใช้ สิทธิประโยชน์สงู แต่ไม่เต็ม 100% ได้ แก่ เหล็ก/เหล็กกล้ ำ (ร้ อยละ 72.6) ยำนยนต์ (ร้ อยละ 71) เซรำ มิก (ร้ อยละ 69.9) เครื่ องนุ่มห่ม (ร้ อยละ 68.5) อิเล็กทรอนิกส์ (ร้ อยละ 66.2) ยำง (ร้ ยอละ 65.7) เคมีภณ ั ฑ์ (ร้ อยละ 65.1) ยำ (ร้ อยละ 65.4) กระดำษ (ร้ อยละ 63.4) และเครื่ องหนัง (ร้ อยละ61.7) นอกจำกนี ้ ในกลุม่ อุตสำหกรรมที่มีอตั รำกำรใช้ สิทธิฯ สูงข้ ำงต้ น ยังมี สินค้ ำอีกหลำยชนิดที่สำมำรถเก็บเกี่ยวประโยชน์ด้ำนภำษี ศลุ กำกรจำก FTA ในกำรน�ำเข้ ำสินค้ ำจำกประเทศต่ำงๆ ได้ อีก ซึง่ หำกผู้ประกอบกำรมี กำรใช้ สิทธิประโยชน์เต็มที่ 100% จะสำมำรถประหยัดภำษี เพิ่มขึ ้น ท�ำให้ สินค้ ำมีต้นทุนลดลง และเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน คือ 1. สินค้ ำที่น�ำเข้ ำจำกจีน ได้ แก่ เครื่ องจักรกลและเครื่ องอุปกรณ์อื่นๆ ของอื่นๆ ที่ท�ำด้ วยเหล็กและเหล็กกล้ ำ
2. สินค้ ำที่น�ำเข้ ำจำกญี่ปนุ่ ได้ แก่ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบ ของยำนยนต์ เครื่ องจักรไฟฟ้ำ และเครื่ องอุปกรณ์ไฟฟ้ำ 3. สินค้ ำที่น�ำเข้ ำจำกเกำหลี ได้ แก่ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบ ของตัวถังส�ำหรับรถกระบะ และรถยนต์ โดยหำกดูกำรใช้ สทิ ธิประโยชน์ฯ ภำยใต้ กรอบอำเซียน (AFTA) พบว่ำ ปี 2556 ภำคส่งออกไทยมีอตั รำกำรใช้ สิทธิร้อยละ 41 ขณะที่ภำคน�ำเข้ ำ ไทยมีอตั รำกำรใช้ สิทธิร้อยละ 52.6 ซึง่ อัตรำกำรใช้ สิทธิประโยชน์ภำยใต้ AFTA ของภำคส่งออกในช่วงที่ผ่ำนมำพบว่ำ ยังมีสินค้ ำ อุตสำหกรรม หลำยกลุม่ ที่มีอตั รำกำรใช้ สิทธิประโยชน์ต�่ำ เช่น เครื่ องนุ่งห่ม เครื่ องจักร กล ยำง เซรำมิก อัญมณี อำหำร สิ่งทอ กระดำษ ซีเมนต์ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ำ ยำ เครื่ องหนัง เหล็กและเหล็กกล้ ำ และอิเล็กทรอนิกส์ ในขณะที่ภำคน�ำเข้ ำ สินค้ ำอุตสำหกรรมในกลุ่มไม้ /เฟอร์ นิเจอร์ ไม้ เครื่ องใช้ ไฟฟ้ำ เครื่ องจักรกล อัญมณี ยังมีอตั รำกำรใช้ สิทธิประโยชน์ต�่ำ ซึง่ ข้ อมูลเกี่ยวกับอัตรำกำรใช้ สทิ ธิประโยชน์ข้ำงต้ น จะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผู้ประกอบกำรภำคอุตสำหกรรมไทยทีย่ งั มีกำรใช้ ประโยชน์ด้ำนภำษีศลุ กำกร จำก FTA ในระดับทีต่ ำ�่ อยูห่ รือไม่สงู นัก ให้ มำใช้ ประโยชน์ด้ำนภำษีศลุ กำกร จำก FTA ให้ มำกยิง่ ขึ ้น รวมถึงกลุม่ อุตสำหกรรมทีม่ กี ำรใช้ ประโยชน์ ในระดับ สูงอยูแ่ ล้ ว ให้ มำใช้ สทิ ธิประโยชน์เต็มที่ 100% ซึง่ ก็จะสำมำรถประหยัดภำษี เพิม่ ขึ ้นและลดต้ นทุนสินค้ ำได้ อกี เป็ นจ�ำนวนมำก [P]
THE POWER LOGISTICS
39
THE POWER LOGISTICS MAGAZINE AUTOINSIGH
เมอรเซเดส – เบนซ กับเทคนิคการขับขี่ ปลอดภัย
ขนทัพรถหรูทุกเซ็กเมนต
บริษัท เมอรเซเดส – เบนซ (ประเทศไทย) จำกัด ตอกยํ้าวิสัยทัศนความเปน ผูนำนวัตกรรม ยานยนตดานความปลอดภัย เดินหนาสานตอกิจกรรมฝกอบรม เทคนิคการขับขี่ปลอดภัย ครั้งที่ 12 “Mercedes-Benz Driving Events 2015” นำทีมครูผูฝกสอนมากฝมือ จากประเทศออสเตรเลีย พรอมดวย ขบวนยนตรกรรมหรูหลากหลายรุน อาทิ The new C 300 BlueTEC HYBRID Estate, The new generation CLS Coupé, CLS Shooting Brake และอื่นๆ อีกมากมาย จำนวนกวา 19 คัน มาใหรวมทดสอบอยางครบ ครันในทุกเซ็กเมนต ณ สนาม “Chang International Circuit” จังหวัด บุรีรัมย
40
THE POWER LOGISTICS
A U T O I N S I G H T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E
มาร์ ทนิ ชูลซ์ รองประธานบริหาร ฝ่ าย ขายและการตลาด บริ ษัท เมอร์ เซเดสเบนซ์ (ประเทศไทย) จํากัด กล่าวว่า “สําหรับ กิ จ กรรมฝึ กอบรมเทคนิ คการขับขี� ปลอดภัย “Mercedes-Benz Driving Events 2015” ใน ครัง� นี � นับเป็ นการจัดขึ �นอย่างต่อเนื�องเป็ น ปี ที� 12 โดยมีวตั ถุประสงค์ที�จะเสริ มทักษะความรู้ และวิธีการขับขี�ปลอดภัยให้ กบั สือ� มวลชน และ ลูก ค้ า รถยนต์ เ มอร์ เ ซเดส-เบนซ์ อี ก ทัง� เพื� อ ฝึ กฝนให้ ผ้ ูขับขี� สามารถคาดการณ์ อันตราย ต่ า งๆ ได้ ล่ ว งหน้ า และสามารถหลบเลี� ย ง อุบัติเหตุได้ อย่างทันท่วงที โดยผู้เข้ ารั บการ อบรมจะได้ เรี ยนรู้ และพัฒนาทักษะการขับขี� ควบคูไ่ ปกับการใช้ ระบบความปลอดภัยใหม่ๆ ของรถยนต์ เมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ โดยในปี นี � ทางเมอร์ เ ซเดส-เบนซ์ ได้ จัด เตรี ยมรถยนต์ เมอร์ เซเดส-เบนซ์ รวม 18 คัน ครอบคลุมทัง� ในกลุม่ NGCC (New Generation Compact Car), Contemporary Luxury และ Dream Car โดยมีไฮไลท์สําคัญที�รถยนต์ 3 รุ่นล่าสุด ที�เพิ�งมีการเปิ ดตัวไปเมื�อ ช่วงปลายปี 2014 ที� ผ่านมา อย่าง The new C 300 BlueTEC HYBRID, The new generation CLS Coupé และ CLS Shooting Brake มาให้ ร่วมทดสอบ ภายใต้ การนําทีมของผู้ฝึกสอน มืออาชีพ อย่าง นายปี เตอร์ แฮ็คเค็ท ที�มีประสบการณ์ด้านการ ฝึ กสอนเทคนิคการขับขี�ปลอดภัยมาแล้ วไม่ตํ�า กว่า 20 ปี ” ในปี นี บ� ริ ษั ท ฯ ได้ จั ด เตรี ยมรถยนต์ เมอร์ เซเดส-เบนซ์สําหรับการฝึ กไว้ กว่า 19 รุ่น ไม่ว่าจะเป็ น รถยนต์ ในกลุ่ม NGCC (New Generation Compact Car) อย่าง A 45 AMG และ CLA 45 AMG, กลุม่ Contemporary Luxury อย่าง The new C 300 BlueTEC HYBRID, ML 250 BlueTEC และ S 300 BlueTEC HYBRID และกลุม่ Dream Car อย่าง The new generation CLS Coupé และ CLS Shooting Brake เป็ นต้ น
โดยกิ จ กรรมฝึ กอบรมเทคนิ ค การขั บ ขี� ปลอดภั ย “Mercedes-Benz Driving Events 2015” จัดขึ �นเป็ นครัง� ที� 12 หลั ก สู ต รการฝึ กอบรมในครั ง� นี � จะ ประกอบไปด้ วยแบบทดสอบลักษณะต่างๆ ซึ�งแบ่งออกเป็ น 3 ฐาน ได้ แก่ การขับแบบ สลาลม (Slalom) ด้ ว ยความเร็ ว สูง การ เปลี� ย นช่ อ งทางวิ� ง แบบกะทัน หัน (Lane Change) พร้ อมเรี ยนรู้อาการของรถและการ ควบคุมรถอย่างถูกวิธี การเบรกแบบฉุกเฉิน (Emergency Braking) เมื� อ พบเจอสิ� ง กี ด ขวางหรื อ ถูก ตัด หน้ า รถแบบกะทัน หัน พร้ อมเรี ย นรู้ ระยะทางการหยุ ด รถแบบ ปลอดภัยด้ วยระดับความเร็ วต่างๆ หรื อการ หักหลบสิ�งกีดขวางบนถนนเปี ยกลื�น พร้ อม เปรี ยบเทียบอาการเสียการทรงตัว อาการเข้ า โค้ งและหลุดโค้ ง (Under/Over Steering) เป็ นต้ น ปิ ดท้ ายด้ วยการขับแบบ Hot Lap เพื�อให้ ทกุ ท่านได้ ทดสอบสมรรถภาพรถยนต์ ในสนามได้ อย่างเต็มที�อีกด้ วย ผู้เ ข้ า รั บ การอบรมได้ รั บ ประสบการณ์ จริ งจากการฝึ กทักษะแต่ละด้ านและได้ รับ ทราบถึงประโยชน์ที�จะได้ รับจากระบบความ ปลอดภัยอันก้ าวลํ �าจากนวัตกรรมด้ านความ ปลอดภั ย ของเมอร์ เซเดส-เบนซ์ อาทิ โปรแกรมควบคุมการทรงตัวอัตโนมัติ (ESP® - Electronic Stability Program) ช่วยให้ ล้อ รถยนต์ยึดเกาะผิวถนนได้ ดีขึน� รวมถึงการ ควบคุมการทรงตัวของระบบช่วงล่าง ซึง� ต่อ มาได้ กลายเป็ นฟี ทเจอร์ มาตรฐานของ รถยนต์ยี�ห้ออื�นๆ ทัง� โลก และระบบปกป้อง ก่อนเกิดเหตุ (PRE-SAFE®) ซึ�งเป็ นเพียงแบรนด์เดียวในโลก โดยเป็ น ระบบที� ได้ ผสมผสานเทคโนโลยี แบบ Passive Safety และ Active Safety เข้ าไว้ ด้วยกัน ด้ วยการทํางานร่ วมกับเซ็นเซอร์ ของระบบ ESP® และระบบช่วยเบรก BAS (Brake Assist) โดยระบบ PRE-SAFE® จะ ทํางานทันทีเมื�อพบว่ารถกําลังเผชิญกับสถานการณ์ที�อาจนําไปสูก่ ารเกิด อุบตั ิเหตุ เพื�อเตรี ยมความพร้ อมและปกป้องอันตรายที�อาจเกิดขึ �น โดย ปกป้องให้ ทกุ ชีวิตภายในห้ องโดยสารให้ ได้ รับความปลอดภัยสูงสุด เพื�อ ให้ ผ้ ขู บั ขี�เกิดความมัน� ใจถึงการตอบสนองที�เหนือกว่าและปลอดภัยกว่า เมื�อต้ องเผชิญสถานการณ์ คบั ขันขณะอยู่ในรถยนต์เมอร์ เซเดส-เบนซ์ เป็ นต้ น สําหรั บประสบการณ์ ใ นการทดสอบครั ง� นี ถ� ื อว่าได้ ประโยชน์ เป็ น อย่างมากสําหรั บผู้ขับขี�เพราะจะทําให้ ผ้ ูใช้ รถได้ เรี ยนรู้ ถึงระบบความ ปลอดภัยต่างๆ ที�รถให้ มานัน� ใช้ อย่างไร และเพื�อให้ เกิดประสิทธิ ภาพ สูงสุดเมื�อเกิดอุบตั ิเหตุขึน� สิ�งสําคัญที�สุดนัน� คือสติในการขับรถทุกครั ง� ทุกคนไม่ควรประมาทเพราะอุปกรณ์จะดีแค่ไหนถ้ าผู้ขบั ขี�ไม่ระมัดระวัง ก็ไม่มีประโยชน์ [P]
THE POWER LOGISTICS
41
THE POWER LOGISTICS MAGAZINE GLOBAL LOGISTICS
โดย : พันทิพา จุลเพชร
โทรีเซน ชิปปง
บุกตะวันออกเปดสำนักงานใหม
โทรีเซน ชิปปง หนึง่ ในผูป ระกอบการและเจาของกองเรือบรรทุก สินคาแหงเทกอง ประกาศเปดสำนักงานใหมในตะวันออกกลางที่ เมืองดูไบ โดยสำนักงานแหงนี้ จะใชชื่อวา “โทรีเซน ชิปปง อาระเบีย ดีเอ็มซีซี (Thoresen Shipping Arabia DMCC)
ส� ำ นัก งำนใหม่ที่ ดูไ บนับ เป็ นส� ำ นัก งำน ขำยที่ตงอยู ั ้ ่ในต่ำงประเทศแห่งที่ 5 ของโทรี เซน ชิปปิ ง้ หลังจำกที่มีกำรเปิ ดสำขำที่สิงค์ โปร์ เดนมำร์ ก แอฟริ กำใต้ และประเทศไทย ตำมแผนกลยุทธ์ ในกำรสร้ ำงธุรกิจให้ เติบโต ด้ ว ยกำรขยำยขอบเขตพื น้ ที่ ใ ห้ บ ริ ก ำรเพื่ อ ครอบคลุมเขตภูมิศำสตร์ ส�ำคัญทัว่ โลก ทีมงำนขำยที่เมืองดูไบ จะท�ำหน้ ำที่คอย ดูแล ควบคุม และบริ หำรจัดกำรกองเรื อ และ เส้ นทำงเดินเรื อ เพื่อมอบบริ กำรขนส่งที่หลำก เอียน แคล็กซ์ตัน หลำยและยื ด หยุ่น ตำมควำมประสงค์ ข อง กรรมการผู้จัดการ ลูก ค้ ำ ในแถบน่ ำ นน� ำ้ ตะวัน ออกกลำงได้ ดี โทรีเซน ชิปปิ้ง ยิ่งขึ ้น เอียน แคล็กซ์ ตัน กรรมการผู้จัดการ โทรี เซน ชิปปิ ้ ง กล่ำวว่ำ ดูไบนับเป็ นตลำดแห่งที่ 5 ที่ได้ ขยำยส�ำนักงำนเข้ ำไป หลังจำกที่ประสบ ควำมส�ำเร็ จในกำรเปิ ดส�ำนักงำนในเดนมำร์ กและแอฟริ กำใต้ ในช่วงปี ครึ่ง ที่ผ่ำนมำ ซึง่ กำรมีส�ำนักงำนขำยทังที ้ ่เดนมำร์ ก แอฟริ กำใต้ และสิงคโปร์ ช่วยท�ำให้ ผลประกอบกำรของเรำแข็งแกร่ งขึ ้นมำก ทังนี ้ ้บาร์ ด ออสแลนด์ ซึง่ เป็ นผู้ที่มีประสบกำรณ์ในด้ ำนธุรกิจขนส่ง สินค้ ำแห้ งเทกอง และเคยร่ วมก่อตังส� ้ ำนักงำนขำยที่สิงคโปร์ และที่กรุ ง โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมำร์ ก จะเป็ นผู้ดแู ลส�ำนักงำนขำยที่ดไู บ ในขณะ เป็ นต้ น” แคล็กซตัน กล่ำว ไมค์ แอนเดอสัน ผู้อ�ำนวยกำรฝ่ ำยกำรพำณิชย์ รับผิดชอบดูแลงำน ที่กำรก�ำหนดทิศทำงกำรท�ำตลำดในภำพรวมของ โทรี เซน ชิปปิ ง้ จะคงอยู่ ด้ ำนกำรขำยและกำรตลำดให้ กบั กองเรื อบรรทุกสินค้ ำแห้ งเทกองของโทรี ภำยใต้ กำรก�ำกับดูแลของ ไมค์ แอนเดอสัน ซึง่ ประจ�ำที่สิงค์โปร์ “กำรค้ ำขำยในแถบมหำสมุทรอินเดียถือเป็ นองค์ประกอบส�ำคัญต่อ เซน ชิปปิ ง้ ให้ ควำมเห็นเพิ่มเติมว่ำ ดูไบนับเป็ นจุดยุทธศำสตร์ ทำงกำรค้ ำ ปริ มำณกำรขนส่งสินค้ ำไปยังจุดหมำยต่ำงๆ ทัว่ โลกของเรำ ซึง่ เรำตังใจที ้ ่ ของประเทศต่ ำ งๆ ในอ่ ำ วเปอร์ เ ซี ย เช่ น สหรั ฐ อำหรั บ เอมิ เ รตส, จะตังส� ้ ำนักงำนแห่งนี ้มำเพื่อรองรับควำมต้ องกำรใช้ บริ กำรขนส่งสินค้ ำที่ ซำอุดิอำระเบีย, โอมำน, คูเวต, บำห์เรน, และกลุม่ ทะเลแดง (อียิปต์และ สูงขึ ้นและเพิ่มจ�ำนวนกำรขนส่งสินค้ ำของเรำในภูมิภำคนี ้ให้ มำกขึ ้น โดยที่ จอร์ แ ดน) เป็ นต้ น ดั ง นั น้ ส� ำ นั ก งำนขำยแห่ ง ใหม่ นี ้ จะช่ ว ยเสริ ม ผ่ำนมำ เรำได้ พิสจู น์แล้ วว่ำ กำรมีทีมงำนประจ�ำตำมภูมิภำคต่ำงๆ เช่น ใน ประสิทธิภำพในกำรบริ หำรจัดกำรกองเรื อของโทรี เซนชิปปิ ง้ และเพิ่มรำย สิงคโปร์ เดนมำร์ ก และแอฟริ กำใต้ จะช่วยให้ เรำเปิ ดตลำดและขยำยฐำน ได้ ของกองเรื อ โดยท�ำหน้ ำที่เป็ นศูนย์กลำงโลจิสติกส์ในกำรบริ หำรจัดกำร ลูกค้ ำได้ กว้ ำงขึ ้น ดังนันเรำจะด� ้ ำเนินตำมกลยุทธ์ ในกำรขยำยส�ำนักงำน ขนส่งสินค้ ำจำกฝั่ งเอเชียตะวันออกไปแอฟริกำใต้ เพือ่ ต่อไปยังแอตแลนติก ขำยไปยัง พื น้ ที่ ยุ ท ธศำสตร์ ส� ำ คัญ ๆ ซึ่ ง เป้ ำหมำยต่ อ ไปคื อ สหรั ฐ ฯ และจำกฝั่ งแอตแลนติกกลับมำยังเอเชียตะวันออก [P]
42
THE POWER LOGISTICS