The power logistics march 2015

Page 1




T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E C O N T E N T S

Event Logistics Today

6 10

Bus. Focus

16

Out & About Energy Logistics

25 26

Power Inland

28

CSR

30

Special Report

32

CEO Talk

34

Secrets Insurance

36

Logistics Trade

38

Auto Insight

การบริหารซัพพลายเชน 40 กับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการจัดการสินคาคงคลัง

Gobal Logistics

42

“ÅçÍ¡«àÅ‹Â ” ¨Ø´¡ÃÐáÊÂҹ¹µ ä¿¿‡Ò ¼¹Ö¡ “ºÕÇÒ´Ք à¨ÒÐ µÅÒ´ã¹ä·Â

ªÑÂÇѲ¹ â¤ÇÒÇÔÊÒÃѪ ºÍÊãËÁ‹ “ºÒ§¨Ò¡” ´Ñ¹ËÅÑ¡¡Òà 3S ÊÌҧ¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹ ‘µÑëÇËÇÁ’ ã¡ÅŒ¤ÅÍ´áÅŒÇ!!! ¤Ãͺ¤ÅØÁ·Ñé§Ãкº»‚ 60-61 ÁÙŹԸÔàÍʫըժǹÇÑ·չ ·íÒ¤ÇÒÁ´Õ·ÐÅصíÒÃÒ ¡Ñºâ¤Ã§¡Òû˜ÞÞÒª¹ ¤¹·íÒ´Õ »‚ 3 ¶Ö§àÇÅÒ! ·º·Ç¹Ã¶àÁÅ -ö俿ÃÕ ËÇѧࢌҴ֧¡ÅØ‹Á໇ÒËÁÒ·Õèá·Œ¨ÃÔ§ “Áͺ»ÃÐʺ¡Òó ÃдѺ¤Ø³ÀÒ¾” ¡ØÞá¨ä¢¤ÇÒÁÊíÒàÃç¨ ÍÔµÑÅä·Â ·ÕàÍçÁºÕ µÍ¡ÂéíÒ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ à» ´ËÅÑ¡ÊٵõÔÇࢌÁ Lean Supply Chain ‘ºÒÇá´§’ àÊÃÔÁ¹Çѵ¡ÃÃÁ¡ÒüÅÔµ ¢ÂÒ°ҹʋ§ÍÍ¡ÊÙ‹¡ÅØ‹Á CLMV ¡ÒÃà¾ÔèÁ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ áÅÐÅ´µØŒ¹·Ø¹¤‹Ò¢¹Ê‹§ ´ŒÇºѵÃàªÅÅ ¡Òà ´ àÁ¡ŒÒ äÅ¿Šä«áÍ Ê« à¨ÒÐÅÙ¡¤ŒÒ¡ÑÁ¾ÙªÒ à» ´¤ÅѧÊÔ¹¤ŒÒ¤Çº¤ØÁÍسËÀÙÁÔ

11

12 Cover Story Guru

Guru

กาวสูประชาคมอาเซียน ของประเทศไทย ป 2558

Guru

30

18

โลจิสติกส การขนสงทางชายฝง

20

22


โดย : พันทิพา จุลเพชร E D I T O R ’ S T A L K T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

Editor's

Talk

เปิ ดประตูท่าเรือระนอง สวัสดีค่ะ คุณผู้อ่าน ท่าเรือภูมิภาค ถือว่าเป็นประตูเศรษฐกิจที่มีบทบาท เช่น เดียวกับท่าเรือระนองที่ได้ถูกวางต�าแหน่งเป็นเกตเวย์อันดามัน เชื่อมการขนส่งระหว่างไทยกับภูมิภาค ถือว่าเป็นนิมิตหมายที่ดี ของท่าเรือระนองอีกครั้งหนึ่ง เมื่อ “เอ็นซีแอล” ได้เปิดเส้นทาง เดินเรือประจ�าระหว่างระนอง-ย่างกุง้ ถือว่าเป็นการตอกย�า้ ความ เชื่อมั่นแก่ลูกค้าในการเข้ามาใช้บริการ อนาคตของท่าเรือระนองจะเป็นอย่างไร จะมีการขยาย หรือเพิ่มความถี่ของเส้นทางหรือไม่ ติดตามรายละเอียดได้จาก COVER STORY เป็นการจุดกระแสยานยนต์ไฟฟ้าครั้งแรกในไทย จากการ เปิดตัวรถโดยสารและรถยนต์นั่งไฟฟ้าเพื่อการพาณิชย์ ครั้งแรก ในประเทศไทยของ”ล็อกซเล่ย์” โดยการจับมือพันธมิตรจากจีน ”บีวายดี” ในการน�าเข้ารถเพื่อเจาะตลาดไทย BUS.FOCUS มี รายละเอียดเรื่องดังกล่าวน�าเสนอ “60 ปีอิตัลไทย” ตอกย�้าความส�าเร็จในการเป็นผู้น�าใน วงการธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งมีหลายธุรกิจที่เกี่ยวข้อง แนวทาง ของอิตัลไทย นับจากนี้จะประกาศรุกธุรกิจด้านใดบ้าง ติดตามได้ จาก บทสัมภาษณ์ “ยุทธชัย จรณะจิตต์” ซีอีโอหนุ่ม ที่มีมุมมอง ลุ่มลึกและแตกต่าง ติดตามได้จาก CEO TALK นี่เป็นเพียงบางส่วน ส่วนของคอลัมน์อื่นๆ ก็มีเนื้อหาที่ หลากหลาย พบกันใหม่ฉบับเทศกาลสงกรานต์ค่ะ

¾Ñ¹·Ô¾Ò ¨ØÅྪà บรรณาธิการบริหาร

ประจำเดือนมกราคม 2557

ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย บรรณาธิการอำานวยการ บรรณาธิการบริหาร กองบรรณาธิการ ½†ÒÂÀÒ¾ ศิลปกรรม ผู้สื่อข่าว/การตลาด ประสานงาน สมาชิกสัมพันธ์ การเงิน แยกสีและพิมพ์

: ปรัชญา นรมัตถ์ : ÊظÒÅÑ ÈÃÕàºÞ¨âªµÔ : ¾Ñ¹·Ô¾Ò ¨ØÅྪà : วรัญญู ยอดพรหม, ชัยวัฒน์ เกษสม, ชินพงศ์ เรืองบุญมา : สาธร ลีลาขจรจิต, สุวรรณ เมนะเนตร : ณัฐพงษ์ เกษเบ็ญฤทธิกุล, จุรีพร พวงพยอม : ไมตรี ตั้งเมืองทอง : จุรีพร พวงพยอม : ลัดดา ทำาจะดี : คำาพันธ์ ขุนนามวงศ์ : บริษัท ส.พิจิตรการพิมพ์ จำากัด โทร. 0-2587-7374 www.spprint.co.th

µÔ´µ‹Í¡Í§ºÃóҸԡÒùԵÂÊÒà The POWER LOGISTICS 1/3 ¶¹¹à·Í´´íÒÃÔ á¢Ç§ºÒ§«×èÍ à¢µºÒ§«×èÍ ¡ÃØ§à·¾Ï 10800 โทรศัพท์ 0-2556-1624-8 โทรสาร 0-2556-1629 E-mail : thepowerlogistics@yahoo.com www.transportnews.co.th

The Power LOGISTICS

5


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E E V E N T

เดินเครื่องหัวเจาะอุโมงครถไฟฟา

โครงการรถไฟฟ้ าสายสี น� า้ เงิ น ข่ ว งหั ว ล� า โพงบางแค และข่ วงบางซื่อ-ท่ าพระ สัญญาที่ 2( ข่ วงสถานี สนามไชย-สถานี ท่ า พระ) โครงการนี ไ้ ด้ ก่ อ สร้ างมา คืบหน้ าไปมากในครัง้ นีน้ ายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา และคณะเดินทางมาเป็ นประธานพิธีเปิ ด เดิ น เครื่ องหั ว เจาะอุ โ มงค์ รถไฟฟ้ าลอดใต้ แม่ น� า้ เจ้ าพระยาอุโมงค์ ท่ สี อง [P]

6

The Power LOGISTICS


E V E N T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

เปดตัวคลังสินคาหองเย็น

เอสซีจี นิชเิ ร โลจิสติกส์ บริษทั ร่วมทุนระหว่าง เอสซีจี โลจิสติกส์ และบริษทั นิชเิ ร โลจิสติกส์ (ญี่ปน) ุ่ จ�ากัด ด�าเนินธุรกิจบริการโลจิสติกส์แบบควบคุมอุณหภูมใิ นประเทศไทย เปิ ดตัวคลัง สินค้ าควบคุมอูณหภูมคิ ณ ุ ภาพสูง ด้ วยเทคโนโลยีลา่ สุดจากประเทศญี่ปนุ่ รองรับลูกค้ ากลุม่ อาหารและเครื่องดืม่ ทีใ่ ห้ ความส�าคัญกับคุณภาพการบริการ (Quality Service ) ซึง่ คาดการ ว่าจะมีอตั ราการเติบโตสูงอย่างต่อเนื่องในประเทศไทย ตัวคลังสินค้ าตังอยู ้ ่ ต.เทพารักษ์ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ เป็ นท�าเลทีเ่ หมาะในการกระจายสินค้ าในประเทศและส่งออก มีพื ้นที่ ให้ บริการ 10,800 ตารางเมตร ประกอบด้ วยห้ องเย็น 6 ห้ อง มีอณ ุ ภูมิ 0-5 องศาเซลเซียส และ ห้ องเย็น -25 องศาเซลเซียส มีระบบจัดเก็บเคลื่อนที่(Mobile Racking) ภายในคลังใช้ เทคโนโลยีจากญี่ปนุ่ แปลงแอมโมเนียเป็ นคาร์บอนไดออกไซด์กอ่ นปล่อยเข้ าสูค่ ลังสินค้ า เพือ่ ความปลอดภัยในกรณีการรั่วไหลของก๊ าซ และติดตังระบบตรวจจั ้ บการรั่วไหลแอมโมเนีย การขนถ่ายสินค้ า(Dock) 22 จุด สามารถจัดเก็บสินค้ า ถึง 22,800 ตัน หรือ 13,764 พาเลท รถขนส่งควบคุมอุณหภูมติ ดิ ตังระบบ ้ GPS สามารถติดตามอุณหภูมริ ะหว่างส่งตลอดเวลา ให้ บริการรถขนส่งรวม 12 คัน และตังเป ้ ้ าเพิม่ ขึ ้นอีก มีการบริหารระบบโลจิสติกส์ (Logistics Command Center) การเปิ ดตัวคลังสินค้ าควบคุมอุณหภูมคิ รัง้ นี ้ มีลกู ค้ า ผู้ประกอบการ และสือ่ มวลชนร่วมเยีย่ มชมประทับใจในความเย็นจริงๆ ลมเย็นในห้ องเป่ าจนใบหน้ าชาเกือบ เป็ นของแข็งซะแล้ ว [P]


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E L O G I S T I C S T O D A Y

EXIM BANK หารือหอการค้าจังหวัดตาก ให้การต้อนรับ ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ พร้ อมคณะผู้บริ หาร บริษัท รถไฟฟ้ากรุ งเทพ จ�ากัด (มหาชน) (BMCL) ผู้ให้ บริ การรถไฟฟ้า MRT ให้ การต้ อนรับคณะผู้บริ หาร การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เข้ ารับฟั งบรรยายเรื่ อง “โครงการประหยัดพลังงานของ BMCL” และเยี่ยมชมการปฏิบตั ิงาน ณ ศูนย์ควบคุมปฏิบตั ิการ (OCC) และโรง ซ่อมบ�ารุงหลัก (Main Workshop) ที่เป็ นมาตรฐานสากลของ BMCL เมื่อ วันที่ 18 ก.พ.ที่ผ่านมา

เขมทัศน์ สายเชือ้ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ ธนาคารเพื่อการ ส่ งออกและน�าเข้ าแห่ งประเทศไทย เข้ าพบ สมศักดิ์ คะวีรัตน์ ประธาน หอการค้ าจังหวัดตาก ณ หอการค้ าจังหวัดตาก เพือ่ แสดงความพร้ อมของ EXIM BANK ทีจ่ ะให้ การสนับสนุนทางการเงิน เพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาจังหวัด ตากให้ เป็ นพื ้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแบบยัง่ ยืนตามนโยบายของ รัฐบาล โดยในปี นี ้ EXIM BANK ได้ ริเริ่มบริการใหม่ อาทิ สินเชือ่ SMEs ค้ า ชายแดน เป็ นวงเงินหมุนเวียนทีไ่ ม่ต้องมีเอกสารประกอบการเบิกกู้ สูงสุด 10 ล้ านบาทต่อราย และสินเชือ่ เพือ่ การลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เป็ นเงินกู้ที่ มีระยะเวลานานกว่าสินเชือ่ ธุรกิจของธนาคารพาณิชย์ โดยให้ ก้ สู งู สุด 15 ปี

สนับสนุนการท่องเที่ยว วีระ ศรี วัฒนตระกูล ผู้ว่าราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รับมอบ เงิ นสนับสนุนการจัดงาน “ท่องเที่ ยวประจวบคี รีขันธ์ มหัศจรรย์ เมื อง สามอ่ า ว และงานกาชาด” ประจ� า ปี 2558 จ� า นวน 200,000 บาท จากณรงค์ พงศ์ โพธิ สัมบัติ ที่ปรึ กษาเครื อสหวิริยา เพื่อสนับสนุนการ จั ด กิ จ กรรม ส่ ง เสริ ม การเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ศิลปวัฒนธรรม ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนของจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ณ เวทีบริเวณ สวนเฉลิมพระเกียรติชายทะเล หน้ าศาลากลางจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์

เยี่ยมชมท่าเรือประจวบ มานพ เหลืองไพโรจน์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การ สายงานปฏิบตั ิ การท่ าเรื อ บริ ษัท ท่ าเรื อประจวบ จ�ากัด ต้ อนรับ อภิชาติ พลูต่าย ผู้ช่วยผู้อา� นวยการ การท่ าเรื อแห่ งประเทศไทย พร้ อมคณะเจ้ าหน้ าที่ ฝ่ ายตรวจสอบ จากการท่าเรื อแห่งประเทศไทย (กรุงเทพฯ) จ�านวน 15 คน เยี่ยมชมพร้ อมฟั งบรรยายสรุ ป โดยมี ชนยุธ นิลพานิช ผู้จัดการฝ่ าย ปฏิบตั กิ ารท่ าเรือ บรรยายสรุปเกี่ยวกับขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ านของภายใน เ ข ต ท่ า เ ที ย บ เ รื อ แ ล ะ พ า เ ยี่ ย ม ช ม บ ริ เ ว ณ พื น้ ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น ณ ท่าเรื อประจวบ อ�าเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์

8

The Power LOGISTICS


L O G I S T I C S T O D A Y T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

ลงนามเซ็นสัญญา จรั ม พร โชติ ก เสถี ย ร กรรมการผู้ อ� า นวยการใหญ่ บริ ษั ท การบินไทย จ�ากัด (มหาชน) และประเสริฐสุข จามรมาน ผู้อา� นวยการ องค์ การบริหารจัดการก๊ าซเรือนกระจก (อบก.) ร่วมพิธีลงนามสัญญา และรับมอบเครื่ องหมายคาร์ บอนฟุตพริ น้ ท์ (Carbon Footprint) ส�าหรับ 5 เมนูอาหารไทย ทีใ่ ห้ บริการบนเครื่องบินของการบินไทย เพือ่ สร้ างความ ตระหนักรู้ให้ ผ้ โู ดยสารได้ มีสว่ นร่วมกับการบินไทย และร่วมรณรงค์ในการ ช่วยลดภาวะโลกร้ อนจากก๊ าซเรือนกระจก ณ ส�านักงานใหญ่ การบินไทย

SCG เซ็นสัญญาผลิตวาล์วถังแก๊ส ยรรยงค์ ชยั ธนาด�ารงศักดิ์ กรรมการผู้จดั การ บริษทั เอส ซี จี (ไทยแลนด์ ) จ�ากัด ถ่ายภาพร่วมกับ Mr. Nalin Kumar Chandna กรรมการ ผู้จดั การของบริษทั National Gas Company S.A.O.G. (Oman) เนือ่ งใน พิธีเซ็นสัญญาเพือ่ ผลิตวาล์วถังแก๊ ส Self Closing Valve ในระบบแก๊ สหุงต้ ม ในครัวเรือน (LPG) โดย National Gas ได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นผู้น�าเข้ าระบบ ดังกล่าวแต่เพียงผู้เดียวในประเทศโอมาน ส�าหรับข้ อตกลงดังกล่าวมีมลู ค่า การซื ้อขายประมาณ 1 ล้ านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 32 ล้ านบาท ณ ทีท่ า� การ เอสซีจี ล�าลูกกา ปทุมธานี

“พีทีทีแทงค์” 6 ปี แห่งความภาคภูมิใจ กฤษณ์ อิ่มแสง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปฏิบัติการคลัง ปิ โตรเลียม บริ ษัท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) ร่ วมแสดงความยินดีกบั ณัฐพงศ์ พรประยุทธ รั กษาการกรรมการผู้จัดการ บริ ษัท พีทีที แทงค์ เทอร์ มนิ ัล จ�ากัด เนือ่ งในโอกาสทีบ่ ริษทั ฯฯฯครบรอบ 6 ปี แห่งความ ภาคภูมิ ใ จและการมี ส่ว นร่ ว มในการพัฒ นาชุม ชน-สัง คมอย่า งยั่ง ยื น ณ ส�านักงานมาบตาพุด จังหวัดระยอง

กวาดรางวัล ทีมเยาวชนจากประเทศไทย พิชิต 3 รางวัลชนะเลิศ และกวาดรางวัล มากที่สดุ จากการแข่งขันเชลล์อีโค-มาราธอน เอเชีย โดยปี นี ้มีทีมนักเรี ยน นักศึกษากว่า 120 ทีม จาก 17 ประเทศทัว่ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก รวมทัง้ ตะวันออกกลางและออสเตรเลียเข้ าร่วมการแข่งขัน ณ สนามลูเนต้ า พาร์ ค ใจกลางกรุ งมะนิลา

The Power LOGISTICS

9


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E E V E N T

“Fuso FJ 2528“ แรงไมหยุด

หลังจากพึง่ เปิ ดตัวรถบรรทุก NEW FJ 2528 MIXER TRUCK ออกมาตอบสนองลู ก ค้ าได้ ไม่ น าน ธนภั ท ร อินทวิพนั ธุ์ รองประธาน และ ชาตรี ตังมงคลเจริ ้ ญ FJ Mixer Project Manager บริ ษัท ฟูโซ่ ทรัค (ประเทศไทย) จ�ากัด ลงพื ้นที่ตระเวนมอบรถทัว่ ประเทศไปแล้ ว 40 กว่าคัน จาก ยอดจองทังสิ ้ ้น 200 คัน สมกับสโลแกนทีว่ า่ ไว้ “รถบรรทุกฟู โซ่ บรรทุกถึงใจ ก�าลังถึงคุณ” [P]

กาวเขาสูปที่ 5 กับรถไฟฟาแอรพอรต เรล ลิงก รถไฟฟ้าแอร์ พอร์ ต เรล ลิงก์ เผยแผนด�าเนิน งาน ยกระดับการให้ บริ การระบบการเดินรถ ความคืบหน้ าการซ่ อมบ�ารุ งอะไหล่ บางส่ วน การ ปรับแผนความถี่ในการให้ บริการให้ กบั ผู้โดยสาร ภากรณ์ ตัง้ เจตสกาว รั กษาการกรรมการผู้ อ�านวยการใหญ่ บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จ�ากัด เปิ ดเผยว่าแนวทางการด�าเนินงาน ในการก้ าวสูป่ ี ที่ 5 โดยแผนยกระดับการให้ บริ การระบบการเดินรถที่ใช้ งานอยูใ่ นปั จจุบนั แผนระยะสัน้ (ระหว่ าง ปี 25572559) ซึ่งแผนด�าเนินการปรั บแผนการเดินรถ ให้ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ เฉลี่ยสูงสุด 55,000 คน ต่อวัน การจัดหาอะไหล่สา� รองประเภทที่เป็ น Critical Spare Part ให้ เพียงพอ การซ่อมวาระหนัก (Overhaul) ปรั บปรุ งระบบการประชาสัมพันธ์ บนขบวน รถไฟฟ้า (ชุดที่ 1 ที่ใช้ งานอยูใ่ นปั จจุบนั ) ปรับปรุงสิง่ อ�านวยความสะดวกภายในสถานี เช่น ลิฟท์ตวั ใหญ่ ทุกสถานีป้ายสัญลักษณ์ ภายในสถานีต่างๆ ม้ านัง่ และระบบ CCTV พัฒนาทางเชื่อมเข้ าออกสถานี รายทาง ปรับปรุงภูมิทศั น์ตามสถานีรายทาง แผนระยะกลาง (ระหว่ าง ปี 2557-2561) ด�าเนินการจัดหารถไฟฟ้า แบบ 4 ตู้ จ�านวน 7 ขบวน พร้ อมอะไหล่ส�ารอง เพื่อเพิ่มความสามารถในการ ขนส่งจากเดิมเฉลีย่ วันละประมาณ 45,000 คนต่อวัน เป็ นเฉลี่ยวันละ 96,600 คนต่อวัน ซึ่งจะสามารถ

10

The Power LOGISTICS

เติบโตของจ�านวนผู้โดยสาร การเตรียมการรองรับการ เปิ ดเดินรถ โครงการ Airport Rail Link ส่วนต่อขยาย พญาไท-ดอนเมือง ความคื บ หน้ า การซ่ อ มบ� า รุ ง อะไหล่ บ างส่ ว น (Partial Overhaul) ข้ อก�าหนดในการซ่อมบ�ารุงใหญ่ ตามวาระก�าหนดแล้ วเสร็ จมีนาคม 2558 และเริ่ มมี การซ่อมบ�ารุงใหญ่เริ่มท�าขบวนแรกภายในเดือน มิ.ย. 2559 การซ่ อมบ�ารุ งใหญ่ (OH) ระบบต่ างๆ ใช้ ระยะเวลา 1 เดือนต่ อ 1 ขบวน คาดว่ าแล้ ว เสร็จภายใน 9 เดือน หรื อ ก.พ. 2560 การซ่ อม บ�ารุ งใหญ่ ระบบเบรก ใช้ ระยะเวลา 5 เดือนต่ อ 1 ขบวน (ส่ งซ่ อม ณ บริษทั ผู้ผลิตในต่ างประเทศ) เริ่มท�าขบวนแรก Express 03 การซ่อมบ�ารุงใหญ่ ครั ง้ ต่ อ ไป เมื่ อ มี เ ลขกิ โ ล 2.4 ล้ านกิ โ ลเมตร ซึง่ คาดว่าจะเริ่ มด�าเนินการในปี 2560 การปรั บ แผนความถี่ ใ นการให้ บ ริ ก ารให้ กั บ ผู้โดยสาร เนื่องจากปริ มาณขนส่งรถไฟฟ้าธรรมดา (City Line) มีการปรับตัวสูงขึ ้นเรื่ อยๆ และเห็นถึง รองรับผู้โดยสารได้ ถึงปี 2568 (ตามการคาดการณ์) ความส�าคัญในการความสะดวกสบายของการเดิน รวมถึงการจัดองค์กรให้ เป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การ ทาง จากยอดผู้โดยสารเฉลี่ยเดือนกุมภาพันธ์ 2558 ปรั บโครงสร้ างภายในให้ เหมาะสมยิ่งขึน้ และการ ผู้โดยสารอยูท่ ี่ 55,466 คน ส่งผลให้ มีการปรับความถี่ ในการให้ บริ การเดินรถไฟฟ้าจากเดิม ให้ บริ การ 12จัดการด้ านการเงิน แผนระยะยาว (ตัง้ แต่ ปี 2562) การจัดหา 15 นาท เป็ นให้ บริ การ 10-15 นาที เริ่ ม 1 พฤษภาคม รถไฟฟ้าเพิ่มเติม ชุดที่ 3 และชุดที่ 4 เพื่อรองรับการ นี ้ [ P ]


โดย : ชินพงศ์ เรืองบุญมา G O G R E E N T H E P O W E R L O S I S T I C S M A G A Z I N E

กากอุตสาหกรรมอันตราย โรงงานยิ่งเพิ่มกากยิ่งมาก โดยปกติ โ รงงานอุต สาหกรรมส่ว นใหญ่ ที่ เกี่ ยวข้ องกับการผลิต ย่อมต้ องมีกากของเสีย จากการผลิต หรื อสิ่งปฏิกลู น� ้าเสีย หลังขันตอน ้ และกระบวนการต่างๆ อยู่แล้ ว เพียงแต่โรงงาน นันจะมี ้ วิธีการก�าจัดกากของเสียเหล่านี ้อย่างไร ไม่ให้ สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม บริ ษัท อัคคีปราการ จ�ากัด (มหาชน) เป็ น หน่วยงานภาคเอกชนที่ได้ ลงมือให้ บริ การด้ าน การก� า จั ด ของเสี ย เหล่ า นี ้ โดยเฉพาะกาก

อุตสาหกรรมที่เป็ นอันตรายที่บางโรงงานไม่มี ความรู้ในการก�าจัดอย่างถูกวิธี สามารถปรึกษา อัคคีปราการได้ วันชัย เหลืองวิริยะ ประธานกรรมการ บริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท อัคคีปราการ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า บริ ษัท อัคคีปราการฯ ได้ รับสัมปทานให้ เป็ นผู้บริ หาร โครงการให้ บริ การเผาท�าลายสิง่ ปฏิกลู และวัสดุ ที่ไม่ใช้ แล้ วทุกชนิดเป็ นระยะเวลา 20 ปี และ สามารถต่อสัญญาได้ อีก

โดยนโยบายหลัก คือ มุง่ สานต่อนโยบายของ ภาครัฐทีต่ ้ องการจัดการกากอุตสาหกรรมอันตราย ให้ เป็ นไปอย่างถูกวิธี โดยไม่มีมลพิษออกไปสู่ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ง ที่ ผ่ า นมาสามารถสนองตอบ ต่อนโยบายของภาครัฐได้ เป็ นอย่างดี ปั จจุบนั ลูกค้ าหลักของบริ ษัท คือ กลุ่ม โรงงานอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนจากต่าง ประเทศ เช่น อเมริ ก า ยุโ รป ญี่ ปุ่ น ที่ มี น โ ย บ า ย ห ลั ก ใ น ก า ร จั ด ก า ร ก า ก อุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นรูปแบบแบบ Zero landfill รวมทัง้ อุต สาหกรรมในประเทศทัง้ กลุ่ม อุตสาหกรรมปิ โตรเคมี กลุ่มอุตสาหกรรม ยานยนต์ และกลุม่ อุตสาหกรรมสี “ยอมรั บ ว่ า มี ก ากอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น อันตรายหลายกลุม่ ที่ยงั ไม่เข้ าก�าจัดด้ วยวิธีการ เผาท�าลายด้ วยเตาความร้ อนสูงของ กรมโรงงาน อุตสาหกรรม (กรอ.) ที่บริษัทเป็ นผู้บริหารจัดการ

วันชัย เหลืองวิริยะ ประธานกรรมการบริหารและ กรรมการผู้จัดการ บริษัท อัคคีปราการ จ�ากัด (มหาชน)

คือ กลุ่มขยะติดเชือ้ จากโรงพยาบาล กลุ่มยา ปราบศัตรู พืช และยาฆ่าแมลง รวมทังกลุ ้ ม่ กาก อุตสาหกรรมที่เหลือจากการน�าไปปรับคุณภาพ ของเสีย ของโรงงานประเภท 106 ซึ่งหากกาก อุตสาหกรรมจากกลุ่มผู้ประกอบการเหล่านีไ้ ด้ รับการก�าจัดด้ วยวิธีการที่ถูกต้ องด้ วยเตาเผาที่ ได้ มาตรฐานของ กรอ. เชื่อว่าจะช่วยลดปั ญหา ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้ อม ตามนโยบายของ กรอ. ได้ เป็ นอย่างดี” คุณวันชัย กล่าว คุ ณ วั น ชั ย แจงต่ อ ว่ า ในอนาคตเชื่ อ ว่ า ผู้ป ระกอบการรั บ ก� า จัด กากอุต สาหกรรมใน ประเทศไทยจะมีแนวโน้ มเติบโตได้ ดี เนื่องจาก ภาครั ฐ ได้ ให้ ความส� า คัญ กั บ การก� า จั ด กาก อุต สาหกรรมอย่ า งถูก วิ ธี อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดย ปั จจุบนั ประเทศไทยมีปริ มาณกากอุตสาหกรรม อันตรายปี ละ 3.35 ล้ านตัน และมีแนวโน้ มสูงขึ ้น อีกถึงปี ละ 5 แสนตัน ซึง่ เตาเผาปั จจุบนั ที่บริ ษัท บริ หารอยู่ สามารถเผาท�าลายได้ มากกว่า 50 ตัน/วัน “ส่วนในอนาคตหาก กรอ. มีนโยบายจะเพิ่ม เตาเผากากอุต สาหกรรมให้ มี จ� า นวนเพิ่ ม ขึ น้ ครบทุกภาคของประเทศไทย จากประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการบริ หารจัดการกาก อุต สาหกรรมของบริ ษั ท จึง พร้ อมที่ จ ะให้ ก าร สนับสนุนทังทางด้ ้ านบุคลากร ผู้เชี่ยวชาญ และ เจ้ าหน้ าที่ปฏิบตั ิงาน ในการเข้ าไปมีสว่ นร่ วมให้ โครงการนี ป้ ระสบผลส� า เร็ จ ได้ ต ามเป้ าหมาย ภายใน 5 ปี ” [P]

The Power LOGISTICS

11


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E C O V E R S T O R Y

ทาเรือระนอง

ประตูเศรษฐกิจ เชื่อมไทยเชื่อม BIMSTEC

“ทาเรือระนอง” ถูกวางตําแหนงใหเปนเกตเวย ฝงอันดามัน เปดประตู การคาเชื่อมไทย กับเมียนมารและกลุม BIMSTEC จุดเดนของการใชทาเรือ แหงนี้ คือ มีเสนทางเดินเรือที่สะดวก ไมตองออมผานชองแคบมะละกา ที่ มีการจราจรคับคั่ง และสามารถลดระยะเวลาการเดินทาง และลดตนทุนการ ขนสงสินคาใหกับผูนําเขาและสงออกได

12

THE POWER LOGISTICS


C O V E R S T O R Y T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

การเซ็นสัญญาดังกลาว ถือวา เปนการสงเสริมการคาระหวางไทย กั บ เมี ย นมาร และช ว ยสงเสริ ม บทบาทใหทาเรือระนองมีศักยภาพ มากขึ้น ในแงของการสรางความ มัน่ ใจแกลกู คา เนือ่ งจากสามารถให บริการแบบ Regular Service เปนครั้งแรก คือ มีกําหนดการเดิน เรือประจํา สัปดาหละ 1 เที่ยว มี คุณภาพบริการระดับ พรีเมียม ชวย ลดเวลาในการขนสง และตนทุนใน การขนสงโดยรวม โดยมีการลง นามในสัญญากับเอ็นซีแอลฯ ใน ระยะเวลา 1 ป และหากมีการใช บริการเพิม่ ขึน้ ก็จะขยายสัญญาเพิม่ อีก

ที่ผา่ นมาการท่าเรื อแห่งประเทศไทย (กทท.) ได้ วางกลยุทธ์ทางการตลาดรอบด้ านเพือ่ ให้ ทา่ เรือ ระนอง มีสายเรื อประจ�า ซึ่งการเป็ นสร้ างความ มัน่ ใจให้ กบั ลูกค้ าท่าเรื อระนอง โดยท่าเรื อระนอง ได้ เ ปิ ดให้ บ ริ ก ารนับ ตัง้ แต่ ค ณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ ให้ การท่าเรื อแห่งประเทศไทยเข้ าบริ หารประกอบ การท่าเรื อระนองเมื่อปี 2546 ซึง่ ที่ผา่ นมาในการ ใช้ ประโยชน์ทา่ เรื อระนอง มีสายการเดินเรื อ GATI Coast to Coast ประเทศอินเดียมาใช้ บริการขนส่ง สินค้ าคอนเทนเนอร์ ประจ�าเส้ นทางระหว่างท่าเรื อ

เรือโทกมลศักดิ์ พรหมประยูร รองผูอํานวยการการทาเรือแหงประเทศไทย สายบริหารสินทรัพยและพัฒนาธุรกิจ

ระนองกับท่าเรื อของเมียนมาร์ และอินเดีย มีเส้ น ทางการให้ บริ การ คือ ท่าเรื อระนอง- พอร์ ตแบลร์ (หมูเ่ กาะนิโคบาร์ ประเทศอินเดีย)-เชนไน (ประเทศ อินเดีย)-ย่างกุ้ง (ประเทศพม่า) และกลับมายัง ท่าเรือระนอง โดยมีบริษทั สตาร์ ไลน์เอเจนซีสเ์ อเชีย (ประเทศไทย) จ�ากัด เป็ นตัวแทนสายการเดินเรื อ และล่ า สุ ด ได้ มี ก ารลงนามความร่ ว มมื อ

ระหว่า ง บริ ษั ท เอ็น ซี แ อล อิ น เตอร์ เ นชั่น แนล โลจิสติกส์ จ�ากัด (มหาชน) กับ การท่าเรื อแห่ง ประเทศไทย (กทท.) ในการใช้ ประโยชน์ ท่าเรื อ ระนอง โดยมีเป้าหมายอยู่ที่เปิ ดเส้ นทางเดินเรื อ ระบบตู้สิ น ค้ า จากท่ า เรื อ ระนองไปยัง ท่ า เรื อ อาห์รอน อินเตอร์ เนชัน่ แนล พอร์ ต เทอร์ มินอล วัน นครย่างกุ้ง ประเทศเมียนมาร์

THE POWER LOGISTICS

13


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E C O V E R S T O R Y

¼Å¡ÒôíÒà¹Ô¹§Ò¹·‹ÒàÃ×ÍÃйͧ ÃÒ¡Òà »ÃÔÁÒ³àÃ×Í ปริมาณสินค้าผ่านท่า ยานพาหนะผ่านท่า ตู้สินค้า ผู้โดยสารผ่านท่า รายได้ ค่าใช้จ่าย

ÃÒ¡Òà »‚§º»ÃÐÁÒ³ »‚§º»ÃÐÁÒ³ ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ %¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§

2557 356 เที่ยว àÁµÃÔ¡µÑ¹ 243,892 6,541 คัน 1,433 ตู้ 48 คน 34,363,992 บาท 30,391,570 บาท

2556 282 134,594 5,557 1,228 340 23,934,062 27,230,875

74 109,298 984 205 -292 10,429,930 3,160,695

การลงนามดังกล่าว นับได้ ว่าเป็ นปั จจัยที่จะ เสริ มการค้ าระหว่างไทยกับเมี ยนมาร์ และช่วย ผลักดันให้ ท่าเรื อระนอง มีบทบาทที่จะเป็ นประตู ส่งเสริ มบทบาทให้ ทา่ เรื อระนองมีศกั ยภาพมากขึ ้น ในแง่ของการสร้ างความมัน่ ใจแก่ลกู ค้ า เนื่องจาก การค้ ามากยิ่งขึ ้น สามารถให้ บริ การแบบ Regular Service เป็ นครัง้ ลงนาม ”เอ็นซีแอลฯ” ผุดเสนทางประจำ แรก คือ มีก�าหนดการเดินเรือประจ�า สัปดาห์ละ 1 ุ ภาพบริ การระดับพรี เมี่ยม ช่วยลดเวลา นับ จากนี ้ ทิ ศ ทางของท่า เรื อ ระนองจะเป็ น เที่ยว มีคณ อย่ า งไร รวมถึ ง การสร้ างความมั่น ใจแก่ ลูก ค้ า ในการขนส่ง และต้ นทุนในการขนส่งโดยรวม โดยมี เรื อโทกมลศักดิ์ พรหมประยูร รองผู้อ�ำนวย การลงนามในสัญญากับเอ็นซีแอลฯในระยะเวลา 1 กำรกำรท่ ำเรื อแห่ งประเทศไทย สำยบริ หำร ปี และหากมีการใช้ บริการเพิม่ ขึ ้นก็จะขยายสัญญา สินทรั พย์ และพัฒนำธุรกิจ กล่าวว่า ที่ผ่านมา เพิ่มอีก ” เรื อโทกมลศักดิ์ กล่าว ทัง้ นี ้ การลงนามข้ อตกลงกับเอ็นซีแอลฯนัน้ ท่าเรื อระนองไม่ประสบความส�าเร็ จในแง่ของการ เข้ ามาใช้ บริ การ เนื่องจากยังไม่มีสายเรื อประจ�า ทางการท่าเรื อฯได้ ให้ สิทธิ์ เอ็นซีแอล เป็ นผู้ได้ ให้ และผู้ส่งออกไม่มีความเชื่ อมั่น เรื อที่ เข้ ามาใช้ สิทธิในการน�าเรื อตู้สินค้ าเข้ า เทียบท่าในลักษณะ บริ ก าร ส่ว นใหญ่ จ ะเป็ นเรื อ ซัพ พลายเบสที่ ใ ห้ Priority Berth หรื อสิทธิ์ในการเทียบท่าเป็ นอันดับ บริ ก ารแท่ น ส� า รวจและขุด เจาะก๊ าซธรรมชาติ แรก และในช่วงปี แรกจะยกเว้ นการเก็บค่าเช่าพื ้นที่ บริ เวณอ่าวเมาะตะมะของกลุ่ม ปตท.สผ.อ. เรื อ ในการวางตู้สนิ ค้ าเปล่า 14 วัน ส่วนตู้ทบี่ รรทุกสินค้ า จะยกเว้ นการเก็บค่าเช่าพื ้นที่ 10 วัน ส่วนสัญญาใน น� ้ามัน เรื อประมง และเรื อเบาท์ ั ้ นปี ตอ่ ปี ทังนี ้ ก้ ารลงนามความร่ วมมือกับเอ็นซีแอลฯ การเช่าพื ้นทีน่ นเป็ ส�าหรับสินสินค้ าของเอ็นซีแอลฯ จะเป็ นสินค้ า ถือว่าเป็ นมิตใิ หม่ เพราะเป็ นการเปิ ดให้ บริ การเส้ น ทางเดินเรื อประจ�า ซึ่งจะสร้ างความมัน่ ใจให้ กบั จากกรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล เช่ น สิ น ค้ า วัส ดุ ก่อสร้ าง สินค้ าอุปโภคบริโภค ในอนาคตก็จะมีสนิ ค้ า ลูกค้ ามากขึ ้น การเชื่อมโยงธุรกิจการค้ า การลงทุน ระหว่าง แช่แข็ง เนื่องจากเมียนมาร์ เปิ ดประเทศ จะมีร้าน กันในการใช้ ท่าเรื อ บริ การ และ สิ่งอ�านวยความ อาหารเกิดขึ ้นอย่างหลากหลาย ซึง่ ท่าเรื อระนองได้ สะดวกผ่านท่าเรื อระนอง เพื่อขนส่งตู้สินค้ าไปยัง ขยายศักยภาพในการรองรับทางด้ านนี ้โดยได้ มกี าร ้ ก๊ รี เฟอร์ ส�าหรั บตู้คอนเทนเนอร์ แช่แข็ง ท่าเรื อพม่า และกลุม่ ประเทศBIMSTEC เพื่อความ ติดตังปลั สะดวก รวดเร็ ว และลดต้ นทุนในการขนส่งสินค้ า ประมาณ 30 ปลัก๊ ในเบื ้องต้ นจะให้ บริ การไปกลับสัปดาห์ละ 1 เที่ยว โดยใช้ เวลา 3 วัน ถ้ าจากกรุงเทพ-ย่างกุ้ง หรือแหลม เพิ่มศักยภาพขนสง ฉบัง-ย่างกุ้ง ต้ องใช้ เวลา 12-15 วัน เพราะต้ องวิ่ง เรื อโทกมลศักดิ์ กล่าวว่า เมื่อปี 2557 ท่าเรื อ อ้ อมแหลมมลายู ระนองมีรายได้ 34 ล้ านบาท ขณะที่การใช้ บริ การ “การเซ็นสัญญาดังกล่าว ถือว่าเป็ นการส่ง ของบริ ษัทเอ็นซีแอลฯ จะท�าให้ ทา่ เรื อระนองมีราย

14

THE POWER LOGISTICS

26.24 81.21 17.71 16.69 -85.88 43.58 11.61

ได้ เพิ่มขึ ้น จากการให้ บริ การเรื อสินค้ าขันต� ้ ่าปี ละ ประมาณ 10 ล้ านบาท ซึง่ ท�าให้ ทา่ เรื อระนองมีราย ได้ เพิ่มขึ ้นตามล�าดับ การลงทุนในครัง้ นี ้ยังมัน่ ใจว่าความต้ องการ ขนส่งทางอันดามัน จะมีความต้ องการเพิ่มขึ ้น ซึง่ นอกจากสินค้ าที่มาจากกรุ งเทพฯ แล้ วกลุม่ สินค้ า ยางพารา และปาล์มน� ้ามัน ยังให้ ความสนใจที่จะ มาใช้ บ ริ ก ารด้ ว ยเช่ น กัน โดยในอนาคตหากมี ตู้สนิ ค้ ามาใช้ บริการเพิม่ ขึ ้น ก็มีความจ�าเป็ นจะต้ อง ลงทุนซือ้ ปั น้ จั่นหน้ าท่าล้ อยางขับเคลื่อนด้ วยตัว เอง(Mobile Habour Crane )เพิ่มอีก 1 คัน และ ขยายพื ้นที่การรองรับตู้สินค้ าเพิ่ม เพื่อให้ สามารถ รองรับกับความต้ องการที่เพิ่มมากขึ ้น ปั จจุบนั ท่าเรื อระนองได้ จัดเตรี ยมสิ่งอ� านวย ความสะดวกในการให้ บริ การ ได้ แก่ ปั น้ จัน่ หน้ าท่า ล้ อ ยางขับ เคลื่ อ นด้ ว ยตนเอง(Mobile Habour Crane ) จ�านวน 1 คัน รถหัวลากจ�านวน 4 คัน รถ ยกตู้สนิ ค้ าหนัก 2 คัน หัวลาก 6 คัน รถยกตู้สนิ ค้ า เปล่า 1 คัน รถยก 10 ตัน 1 คัน รถยก 3.5 ตัน 1 คัน และรถยก 2.5 ตัน 2 คัน ส� า หรั บ เส้ นทางกระจายขนส่ ง สิ น ค้ านั น้ ปั จจุบันมี การกระจายขนส่งสินค้ ามาจากสถานี บรรจุและปล่อยสินค้ า(ไอซีดี)ที่ลาดกระบัง แล้ ว ขนส่งมายังท่าเรือระนองโดยตรง แต่ในอนาคตหาก มีการสร้ างทางรถไฟ และสร้ างท่าเรื อเป็ นจุดเชื่อม ต่อจากจังหวัดชุมพร ตามนโยบายของภาครัฐ ก็จะ ช่วยให้ การขนส่งสินค้ าเกิดความสะดวก ขึ ้น และ สามารถลดต้ นทุ น ด้ านการขนส่ ง สิ น ค้ าได้ อี ก เนื่องจากสามารถขนส่งสินค้ าจากฝั่ งอ่าวไทย เชื่อม ต่ออันดามันได้ สะดวกรวดเร็ วขึ ้น “ที่ผ่านมาได้ มีการประชุมร่ วมกับหน่วยงานที่


C O V E R S T O R Y T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

เกี่ยวข้ องและได้ มกี ารให้ ข้อคิดเห็นปริมาณตู้สนิ ค้ า ที่จะเพิ่มขึน้ คุ้มทุนกับการลงทุนตัดถนนหรื อไม่” เรื อโทกมลศักดิ์ กล่าว

ความเปนมาทาเรือระนอง

ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี มี ม ติใ ห้ ก า ร ท่ า เ รื อ แ ห่ ง ประเทศไทย (กทท.) บริ หาร และประกอบการ ท่าเรื อระนอง ตังแต่ ้ เดือน มี.ค. 2546 เพื่อเป็ น ท่าเรือหลักในการขนส่งสินค้ าทางทะเลฝั่ งอันดามัน ของไทย เพื่อเชื่อมโยงไปยังเส้ นทางการค้ าระหว่าง ประเทศในเอเชียใต้ แอฟริ กา และยุโรป ที่ตงั ้ : ท่าเรื อระนอง ตังอยู ้ ร่ ิ มฝั่ งแม่น� ้ากระบุรี ฝั่ งตะวันออก ต�าบลปากน� ้า-ท่าเรื อ อ�าเภอเมือง จังหวัดระนอง บนเนื ้อที่ 315 ไร่ มีร่องน� ้าทางเดิน เรื อ เริ่ ม ตัง้ แต่ บ ริ เ วณทิ ศ ตะวัน ตกของเกาะช้ า ง จนถึงท่าเทียบเรื อ รวมระยะทาง 28 กิโลเมตร โดย มีความลึกของร่องน� ้า 8 เมตร จากระดับน� ้าลงต�่า สุด และความกว้ างร่องน� ้า 120 เมตร ตลอดระยะ แนวร่ องน�า้ มีเครื่ องหมายการเดินเรื อ เพื่อความ ปลอดภัยในการเดินเรื อ ลักษณะท่าเทียบเรื อ : ปั จจุบนั ท่าเรื อระนอง มี ท่ า เที ย บเรื อ 2 ท่ า ได้ แก่ (1) ท่ า เที ย บเรื อ อเนกประสงค์ มีขนาดความกว้ าง 26 เมตร ยาว 134 เมตร สามารถรับเรื อสินค้ าขนาดไม่เกิน 500 ตันกรอส จอดเทียบท่าได้ พร้ อมกัน 2 ล�า มีสะพาน เชื่อมฝั่ งกว้ าง 10 เมตร ยาว 212 เมตร จ�านวน 2 สะพาน (2) ท่าเทียบเรือตู้สนิ ค้ า มีความกว้ าง 30 เมตร ยาว 150 เมตร สามารถรับเรื อสินค้ าขนาดไม่เกิน 12,000 เดดเวทตัน จอดเทียบท่าได้ ครัง้ ละ 1 ล�า มี สะพานเชื่อมฝั่ งกว้ าง 7.5 เมตร ยาว 212 เมตร และ สะพานเชื่อมกับท่าเรื ออเนกประสงค์ กว้ าง 8.5 เมตร ยาว 40 เมตร เครื่ องมือทุน่ แรง : เพื่อให้ การบริ การเรื อสินค้ า สะดวก รวดเร็ ว และปลอดภัยท่าเรื อระนองได้ จดั เตรี ยมสิง่ อ�านวยความสะดวกต่างๆ ได้ แก่ ปั น้ จัน่ เคลื่อนที่หน้ าท่า เครื่ องมือทุ่นแรง ประเภทต่างๆ ส�าหรับการยกขน และเคลื่อนย้ ายสินค้ า คลังสินค้ า : ท่าเรื อระนองได้ จดั พื ้นที่รองรับ สินค้ าทัว่ ไป และตู้สนิ ค้ า ได้ แก่ โรงพักสินค้ า 1,500 ตารางเมตร พื ้นที่วางสินค้ าทัว่ ไป 7,200 ตาราง เมตร พื ้นที่วางตู้สนิ ค้ า 11,000 ตารางเมตร คลัง สินค้ ากลางแจ้ ง 8,000 ตารางเมตร [P]

“เอ็นซีแอลฯ”ใชทาเรือระนอง ขยายฐานเมียนมารสู BIMSTEC

กิตติ พัวถำวรสกุ ล ประธำนเจ้ ำหน้ ำที� บริหำร บริษัท เอ็นซีแอล อินเตอร์ เนชั�นแนล โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหำชน) เปิ ดเผยว่า บริ ษัท ลงนามบันทึกข้ อตกลง (MOU) กับ การท่าเรื อแห่ง ประเทศไทย ในการใช้ พื ้นที่ ท่าเรื อระนองของการ ท่าเรื อฯ ในท่าเทียบเรื อ ที่ 2 เพื่อยกระดับการให้ บริ การด้ านโลจิสติกส์ ของเอ็นซีแอล ในการให้ บริ ก ารขนส่ ง ทางเรื อ การท่ า เรื อ ฯได้ ก� า หนด ให้ การเดินเรื อขนส่งสินค้ า จะต้ องมีต้ ขู นส่งสินค้ า มาใช้ บริ การไม่ต�่ากว่า 6,000 ตู้สนิ ค้ าต่อปี ซึง่ ทาง เอ็นซีแอลมัน่ ใจว่าภายใน 1 ปี จะมีต้ ขู นส่งสินค้ า มากกว่า 10,000 ตู้ต่อปี โดยในตลาดมีความ

ต้องการขนส่ ง สิ น ค้าทางทะเลอัน ดามัน เฉลี่ ย ประมาณ 20,000 ตู้สิ น ค้ า ต่อ ปี ส่ว นขี ด ความ สามารถของเรื อตู้สินค้ า Munich Trader ในการ บรรทุก ตู้สิ น ค้ า นัน้ จะรองรั บ น� า้ หนัก ได้ ไ ม่ เ กิ น 12,000 เดทเวทตัน หรื อรองรับตู้สินค้ าได้ 15,000 ตู้ต่ อ ล� า ต่ อ ปี หรื อ 350 ตู้ต่ อ ล� า ต่ อ 1 สัป ดาห์ อย่างไรก็ตามในการด�าเนินงานในช่วงปี ที่ 2 หาก มีลกู ค้ าเข้ ามาใช้ บริ การขนส่งตู้สนิ ค้ าเพิ่มขึ ้นก็อาจ จะด�าเนินการเช่าเรื อเพิ่มอีก 1 ล�า ส�าหรับการเปิ ดให้ บริ การโลจิสติกส์ทางเรื อ ของเอ็ น ซี แ อล จะเชื่ อ มต่อ ไปยัง ท่ า เรื อ AIPT1 (Ahlone International Port Terminal1) ประเทศ เมียนมาร์ เพื่อเปิ ดบริ การเส้ นทางเดินเรื อประจ�า ระหว่างท่าเรื อระนองกับท่าเรื อย่างกุ้ง ส�าหรับการ เชื่อมโยงการขนส่งสินค้ าทางฝั่ งทะเลอันดามัน และเป็ นการเพิ่มความสะดวกรวดเร็ ว ลดต้ นทุน ในการขนส่งสินค้ า โดยสามารถลดต้ นทุนการ ขนส่งสินค้ าทังระบบลง ้ 50% เนื่องจากไม่ต้อง ขนส่งสินค้ าผ่านเส้ นทางช่องแคบมะละกา ที่ ต้ องใช้ ระยะเวลาในการขนส่ง 14-15 วัน ส่วน การขนส่งจากท่าเรื อระนองไปยังท่าเรื อย่างกุ้ง ใช้ เวลาเพียง 3 วัน ขณะที่สินค้ าส่วนใหญ่จะ เป็ นวัส ดุอุป กรณ์ ก ารก่ อ สร้ าง สิ น ค้ า ที่ เ ป็ น เครื่ องอุปโภค เนื่องจากทางฝั่ งพม่าก�าลังมีการ ขยายเมือง และการก่อสร้ างก�าลังเติบโต จึงมี ความต้ องการด้ านนี ้เป็ นจ�านวนมาก พร้ อมกั น นี ย้ ั ง มองโอกาสการเชื่ อ มต่ อ กั บ ท่าเรื อจิ ตตะกอง ของบังกลาเทศ ท่าเรื อน� า้ ลึก โคลัมโบของศรี ลงั กา เพื่อเป็ นจุด กระจายสินค่าไป ยัง กลุ่ม ประเทศ BIMSTEC จากประเทศไทย เมี ยนมาร์ อินเดีย บังกลาเทศ ศรี ลังกา ภูฏาน เนปาล ตลอดจนการเชื่อมต่อไปยังกลุ่มประเทศ ตะวันออกกลาง เชื่อมทวีปยุโรป ทังนี ้ ก้ ารลงทุน โลจิสติกส์ ด้ านขนส่งทางเรื อในครั ง้ นีค้ าดว่าจะ ช่วยให้ มีรายได้ ในปี แรกหลายร้ อยล้ านบาท และ คาดว่าจะช่วยให้ เอ็นซีแอลมีรายได้ เติบโต 30%

THE POWER LOGISTICS

15


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E B U S . F O C U S

“ล็อกซเลย” จุดกระแสยานยนตไฟฟา ผนึก “บีวายดี” เจาะ ตลาดในไทย

บริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ากัด (มหาชน) ด�าเนินกิจการ เติ บ โตอย่า งต่อ เนื่ อ งมานานกว่า 76 ปี มี ค วาม หลากหลายใน 6 กลุ่ม ธุ ร กิ จ ได้ แ ก่ กลุ่ม ธุ ร กิ จ สารสนเทศและโทรคมนาคม กลุม่ ธุรกิจเทคโนโลยี กลุม่ ธุรกิจงานโครงการ กลุม่ ธุรกิจการค้ า กลุม่ ธุรกิจ บริ การ และกลุม่ ธุรกิจร่วมทุน ครอบคลุมสินค้ าและ บริ การด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โครงสร้ างพื ้นฐาน ล่าสุด ล็อกซเล่ย์ ผนึก บีวายดี ออโต้ อินดัสตรี ้ ประเทศจีน “เปิ ดตัวรถโดยสาร และรถยนต์นงั่ ไฟฟ้า เพื่อการพาณิชย์” ครัง้ แรกในประเทศไทย ชูจดุ เด่น ขับเคลื่อนด้ วยพลังงานไฟฟ้า 100% ไร้ มลพิษและ ประหยัดพลังงาน เผยโฉมพร้ อมกัน 2 รุ่ น คือ รถ โดยสารไฟฟ้า รุ่น K9 ที่มีความยาว 12 ม. ด้ วยขุม พลัง 250 แรงม้ า ชาร์ ตไฟ 5 ช.ม. วิ่งได้ 250 ก.ม. และรถยนต์นงั่ ไฟฟ้า รุ่น E6 ขนาด 5 ทีน่ งั่ 121 แรงม้ า ชาร์ ตไฟ 2 ช.ม. วิ่งได้ 300 ก.ม. ดร.โกศล สุ ร โกมล ที่ ป รึ ก ษา บริ ษั ท ล็ อ กซเล่ ย์ จํ า กั ด (มหาชน) เปิ ดเผยว่ า “ล็อกซเล่ย์” เป็ นผู้นา� ด้ านธุรกิจการค้ าและเทคโนโลยี ของประเทศไทย ที่ด�าเนินธุรกิจมากว่า 76 ปี ด้ วย ตระหนัก ถึ ง การมี ส่ ว นร่ ว มในการรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สภาวะโลกร้ อน บริ ษัทฯ จึงได้ ให้ ความส�าคัญด้ าน พลังงานทดแทนมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็ นการ

16

THE POWER LOGISTICS

พัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงาน เชือ้ เพลิงจากสาหร่ าย และพลังงานจากขยะ กับ ความคิดที่จะต่อยอดทางด้ านยานยนตร์ พลังงาน ทางเลือกใหม่ชนิดขับเคลื่อนจากพลังงานไฟฟ้า จึง ได้ ร่วมมือกับ บริ ษัท บีวายดี ออโต้ อินดัสตรี ้ จ�ากัด ซึ่งเป็ นผู้น�าด้ านการผลิตแบตเตอรี่ และยานยนต์ ไฟฟ้ าจากประเทศจี น “เปิ ดตัว รถโดยสาร และ รถยนต์นงั่ ไฟฟ้าเพื่อการพาณิชย์” เป็ นครัง้ แรกใน ประเทศไทย โดยน�าเข้ ามาประเดิมตลาดก่อน 2 รุ่น ได้ แก่ รถโดยสารไฟฟ้า รุ่น K9 และรถยนต์นงั่ ไฟฟ้า รุ่น E6 “บริษัทได้ ศกึ ษาเรื่ องการพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า มาระยะหนึ่ ง แล้ ว จนกระทั่ง มั่น ใจว่ า ตลาดใน ประเทศไทยพร้ อมแล้ วส�าหรับการใช้ รถยนต์ไฟฟ้า บริ ษัทฯจึงเลือกรถโดยสารและรถยนต์นงั่ ไฟฟ้าขอ งบีวายดี เข้ ามาบุกตลาดเป็ น 2 รุ่นแรก เพราะเชื่อ มัน่ ในคุณภาพ สมรรถนะและความปลอดภัยสูงของ ยานยนต์ไฟฟ้าบีวายดี อีกทังไม่ ้ ก่อให้ เกิดมลพิษใน อากาศ และยังช่วยประหยัดพลังงาน ลดการน�าเข้ า น� ้ามันเชื ้อเพลิงจากต่างประเทศ จุดเด่นอีกอย่างหนึง่ คือ มีค่าซ่อมบ�ารุ งรั กษาต�่ากว่ารถที่ใช้ น�า้ มันเชือ้ เพลิงทัว่ ไป ที่ส�าคัญแบตเตอรี่ รถยนต์ หลังจากครบ อายุการใช้ งาน ไม่น้อยกว่า 15 ปี สามารถกลับมา ใช้ ใหม่ได้ เช่น ใช้ เป็ นแบตเตอรี่ ส�ารองต่างๆ ดังนัน้

ดร.โกศล สุรโกมล ที่ปรึกษา บริษัท ล็อกซเลย จํากัด (มหาชน) จึ ง ไม่ เ ป็ นภาระต่ อ สิ่ ง แวดล้ อมอย่ า งแน่ น อน” ดร.โกศล กล่าว ส�าหรับ รถโดยสารไฟฟ้า รุ่ น K9 มาพร้ อมกับ ขนาดความยาวถึง 12 เมตร เป็ นรถโดยสารไฟฟ้า ชานต�่าที่มีตวั ถังรถท�าจากอลูมิเนียมอัลลอยด์มีน� ้า หนักเบา และไม่เป็ นสนิม พร้ อมระบบขับเคลือ่ นด้ วย มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับขนาด 180 กิโลวัตต์ หรื อ ประมาณ 250 แรงม้ า ช่วงล่างมีระบบกันสะเทือน แบบถุงลม ใช้ แบตเตอรี่ ชนิด Lithium Fe มีความจุ ขนาด 324 กิโลวัตต์ชวั่ โมง ใช้ เวลาในการประจุไฟฟ้า ประมาณ 5 ชัว่ โมง สามารถวิ่งได้ ระยะทางมากกว่า 250 กิโลเมตรต่อการประจุไฟฟ้าเต็ม 1 ครัง้ ท�าให้ มี อัต ราการสิน้ เปลื อ งพลัง งานไฟฟ้ าเฉลี่ ย ราว 1.2


B U S . F O C U S T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

จ�ำนวนครั้ง ค่ำเฉลี่ยอัตรำ ค่ำเฉลี่ยอัตรำ ค่ำเฉลี่ยค่ำใช้จ่ำย ค่ำเฉลี่ยค่ำใช้จ่ำย ª¹Ô´¢Í§Ã¶â´ÂÊÒà 㹡Ò÷´Êͺ กำรสิ้นเปลือง กำรใช้พลังงำน (บำท/100 กม.) (บำท/กม.) (กิโลเมตร/ลิตร) (ลิตร/100กิโลเมตร) เครื่องยนต์ดีเซล 49 2.06 (กม./ลิตร) 50.50 (ลิตร/100 กม.) 1,363.50 13.64 ไฮบริดเอ็นจีวี 50 3.06 (กม./ลิตร) 33.58 (ลิตร/100 กม.) 436.54 4.37 öâ´ÂÊÒÃä¿¿‡Ò 47 0.89 (กม./กิโลวัตต์ ชม.) 112.36 (กิโลวัตต์ชม./100 กม. 337.08 3.37 กำรค�ำนวนจะยึดถือตำมรำยงำนของ Clinton Climate Intiative ดีเซล : รำคำประมำณ 27 บำท / ลิตร ไฟฟ้ำ : รำคำประมำณ 3 บำท / กิโลวัตต์ชั่วโมง ก๊ำซเอ็นจีวี : รำคำประมำณ 13 บำท / กิโลกรัม (รำคำในประเทศไทย เดือนกุมภำพันธ์ 2558) ด�ำเนินกำรทดสอบในเมืองโบโกตำ ประเทศโคลัมเบีย

กิโลวัตต์ชวั่ โมงต่อกิโลเมตร หรื อประมาณ 4 บาท ต่อกิโลเมตร และให้ ความเร็ วสูงสุดที่ 70 กิโลเมตร ต่อชัว่ โมง รถยนต์นงั่ ไฟฟ้า รุ่น E6 มีขนาด 5 ที่นงั่ ขนาด ความยาว/กว้ าง/สูง 4.560/1.822/1.645 เมตร มี ระยะห่างช่วงล้ อ 2.830 เมตร ขับเคลื่อนด้ วยระบบ มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสสลับขนาด 90 กิโลวัตต์ หรื อ ประมาณ 121 แรงม้ า ใช้ แบตเตอรี่ ชนิด Lithium Fe ที่ ค วามจุ 61.4 กิ โ ลวัต ต์ ชั่ว โมง ใช้ เ วลาในการ ประจุไฟฟ้าประมาณ 2 ชัว่ โมง สามารถวิ่งได้ ระยะ ทางมากกว่า 300 กิโลเมตรต่อการประจุไฟฟ้าเต็ม 1 ครัง้ ท�าให้ มีอตั ราการสิ ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย อยูท่ ปี่ ระมาณ 0.13 กิโลวัตต์ชวั่ โมงต่อกิโลเมตร หรือ ประมาณ 0.5 บาทต่อกิโลเมตร และให้ ความเร็ ว สูงสุดที่ 140 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

ดร.โกศล กล่าวอีกว่า กลยุทธ์การท�าตลาด จะ น�าเสนอในลักษณะโซลูชั่นที่ครอบคลุมตัง้ แต่การ จัดหารถโดยสารและรถยนต์นงั่ ไฟฟ้า การสนับสนุน ด้ านการบริหารการเงิน การบริการหลังการขาย การ จัดหาอะไหล่สา� รองต่างๆทังในระยะเวลารั ้ บประกัน และหลังรับประกัน เพือ่ ให้ ลกู ค้ ามัน่ ใจว่าจะได้ รบั การ ดูแลตลอดอายุการใช้ งาน ส�าหรั บกลุ่มลูกค้ าเป้า หมาย ในระยะแรกจะเน้ นไปยังกลุ่มลูกค้ าที่ เป็ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน โดยกลุ่ม ลูก ค้ า รถ โดยสารไฟฟ้าจะเป็ นหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ โรงเรียน มหาวิทยาลัย เป็ นต้ น ส่วนกลุม่ ลูกค้ ารถยนต์ นัง่ ไฟฟ้าจะเป็ นหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษทั รถเช่า แท็กซีม่ เิ ตอร์ โรงแรม เป็ นต้ น ในส่วนของศูนย์บริการ ในระยะแรก บริษัทฯ จะ ร่วมมือกับพันธมิตรจัดตังศู ้ นย์บริการกลาง และศูนย์

บริ ก ารย่ อ ย รวม 5 แห่ ง ในเขตกรุ ง เทพฯ และ ปริ มณฑล จากนันจะขยายศู ้ นย์บริ การเพิ่มเติมใน ระยะต่อมา ขณะที่ สถานีประจุไฟฟ้าจะมีการติดตัง้ ในเขตพื ้นที่ของผู้ประกอบการ หรื อผู้ให้ บริ การนันๆ ้ และมีแผนจะขยายสถานีประจุไฟฟ้าส�าหรั บส่วน กลางในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑล ให้ มีจ�านวน เพียงพอต่อความต้ องการแน่นอน ดร.โกศล ว่า ในช่วงแรก บริษทั ฯ ตังเป ้ ้ ายอดขาย รถโดยสารไฟฟ้าไว้ ประมาณ 200 คัน และรถยนต์นงั่ ไฟฟ้าอีกประมาณ 200 คัน ซึง่ บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ ว่า จาก นโยบายสนับสนุนการใช้ รถยนต์ไฟฟ้าของรัฐบาลใน ขณะนี ้ จะช่วยกระตุ้นยอดขายให้ เติบโตอย่างต่อ เนื่ อ งในช่ ว ง 1-2 ปี นี ้ โดยเฉพาะในส่ว นของรถ โดยสารไฟฟ้าคาดว่าจะได้ รับการตอบรับที่ดี จึงมี ความเป็ นไปได้ ที่จะน�ารถรุ่ นอื่นๆ เข้ ามาท�าตลาด เพิม่ ขึ ้น รวมถึงในอนาคตบริษัทมีแผนจะลงทุนก่อตัง้ โรงงานประกอบรถโดยสารไฟฟ้าขึ ้นภายในประเทศ เพื่อรองรับการเติบโตของตลาด หลิว ฉือ เลี่ยง ผู้จดั การทัว่ ไป ฝ่ ายขายยานยนต์ ภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟิก บริษัท บีวายดี ออโต้ อินดัส ตรี ้ จ�ากัด เปิ ดเผยว่า “บีวายดี ออโต้ อินดัสตรี ”้ เป็ น ผู้น�าด้ านเทคโนโลยีการผลิตแบตเตอรี่ และยานยนต์ ไฟฟ้าจากประเทศจีน ปั จจุบนั มีการส่งออกยานยนต์ ไฟฟ้าไปแล้ วทัว่ โลก อาทิเช่น สหภาพยุโรป สหรัฐฯ ออสเตรเลีย บราซิล อินเดีย สิงคโปร์ ญี่ ปุ่นและ ประเทศอืน่ ๆ ล่าสุด บริษทั บีวายดีฯ มีความยินดีเป็ น อย่างยิง่ ทีไ่ ด้ มโี อกาสน�าเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้ามา ให้ คนไทยได้ สมั ผัส โดยร่วมมือกับ “ล็อกซเล่ย์” ที่มี ความเชีย่ วชาญและเข้ าใจตลาดเมืองไทยเป็ นอย่างดี ซึ่ง บริ ษั ท บี ว ายดี ฯ พร้ อมสนับ สนุน ทัง้ ทางด้ า น เทคโนโลยี เจ้ าหน้ าที่เทคนิค ตลอดจนการจัดส่ง รถยนต์ให้ เป็ นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ [ P ]

THE POWER LOGISTICS

17


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U

รศ.ดร.ทวีศักดิ์ เทพพิทักษ ผอ.ศูนยวิจัยโลจิสติกสและการจัดการ มหาวิทยาลัยบูรพา E-mail : taweesak99@hotmail.com

การบริหารซัพพลายเชน

กับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับการจัดการสินคาคงคลัง

การจัดการโซอุปทานและโลจิสติกส (Supply Chain Management & Logistics) หรือ SCM เขามามีบทบาท และมีความสําคัญอยางมากตอระบบ เศรษฐกิจยุคใหม เพราะความกาวหนาของเทคโนโลยีทําใหเกิดแนวทางในการทํา งานใหมๆ ที่มีประสิทธิภาพซึ่งอาจจะประหยัดคาใชจายไดถึง 35% ของตนทุน ของสินคาทีเดียว

THE POWER LOGISTICS

18


G U R U T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

ช่วงนี ้ ผมไม่ค่อยได้ เขียนบทความ เกี่ยวกับเรื่ องซัพพลายเชนมากเท่าไหร่ เนื่องจากงานวิจยั ของผมส่วนใหญ่ตอน นี ้มักจะเกี่ยวกับธุรกิจท่าเรื อ และแผนแม่ บทโลจิ ส ติ ก ส์ หลั ง จากจดๆ จ้ องๆ วางแผนอยู่หลายวัน พอมีเวลาสักครึ่ ง ชัว่ โมงก็ต้องรี บเขียนเลยครับ เพราะพรุ่ง นีว้ นั จันทร์ แห่งชาติ ผมคงไม่มีเวลาอีก เป็ นแน่แท้ อีกเรื่ องหนึ่งที่อยากจะเขียน เล่ า ให้ ฟั ง คื อ เรื่ อ งการจัด การสิ น ค้ า คงคลัง (Inventory Management) ซึง่ เป็ นปั ญหาใหญ่ที่สดุ เรื่ องหนึ่งในวงการ ค้ า และธุ ร กิ จ บ้ า นเรา แต่ ค นที่ เ ข้ าไป จัดการมักจะใช้ วิธีลองผิดลองถูกหรื อใช้ ประสบการณ์ที่เคยพบ จริ งๆ แล้ วมีต�ารา ของต่างประเทศเขียนอธิ บายได้ ดีมาก เลยครั บ ไว้ มี เ วลาผมจะมาเล่า ให้ ฟั ง ตอนนี ้ เอาเรื่ องนี ้ก่อนแล้ วกันน่ะครับ ซึง่ เป็ นที่ร้ ู กนั ดีว่าในสภาวะการแข่งขันทาง ธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปเป็ นอย่างมากใน ปั จจุบนั โดยเฉพาะระบบเศรษฐกิจยุค ใหม่ (New Economy) ที่ความต้ องการ ของลูกค้ าเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ใน ขณะที่ผ้ ปู ระกอบการยังมุง่ แสวงหาก�าไร สูงสุด ต้ นทุนการผลิตต�า่ ผลิตในปริมาณ ที่เหมาะสม และทันต่อความเปลี่ยนแปลงของ ลูกค้ า จากเหตุดงั กล่าวนีเ้ องท�าให้ การจัดการโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ (Supply Chain Management & Logistics) หรื อ SCM เข้ ามามี บทบาท และมีความส�าคัญอย่างมากต่อระบบ เศรษฐกิ จ ยุค ใหม่ เพราะความก้ า วหน้ า ของ เทคโนโลยี ท� า ให้ เ กิ ด แนวทางในการท� า งาน ใหม่ ๆ ที่มีประสิทธิภาพซึง่ อาจจะประหยัดค่า ใช้ จ่ายได้ ถึง 35% ของต้ นทุนของสินค้ าทีเดียว ส� า หรั บ บางบริ ษั ท การรู้ จัก ประหยัด และลด ต้ นทุนที่ไม่จ�าเป็ น สามารถท�าให้ บริ ษัทมีก�าไร มากขึน้ กว่าเดิมเป็ น 10 เท่าได้ ทีเดียว ดังนัน้ เรื่ องของการจัดการห่วงโซ่อปุ ทาน จึงควรเป็ น เรื่ อ งที่ ผ้ ูบ ริ ห ารธุ ร กิ จ ในยุค ปั จ จุบัน ให้ ค วาม

สนใจ เพราะไม่เช่นนันแล้ ้ ว ศักยภาพของการ แข่งขันจะลดน้ อยลง ซึง่ นัน่ อาจหมายถึงความ อยู่รอดขององค์กรเลยทีเดียว ปั จจุบนั ห่วงโซ่อปุ ทานอยู่ในรู ปแบบเป็ น เครื อข่าย ซึ่งประกอบด้ วยองค์ประกอบต่างๆ เช่น ผู้จัดจ�าหน่าย ผู้ส่งมอบวัตถุดิบ โรงงาน แปรรู ป ผลิ ต ผล และศูน ย์ ก ระจายสิ น ค้ า สู่ผ้ ู บริ โภค ดังนันการประสานองค์ ้ ประกอบต่างๆ ตลอดทังห่ ้ วงโซ่จงึ เป็ นปั จจัยส�าคัญต่อการสร้ าง ความสอดคล้ อง (Synchronization) ให้ เกิดขึ ้น โดยทั่ว ไปในแต่ล ะองค์ ก รจะมี น โยบาย และ แนวทางด�าเนินงานเป็ นของตัวเอง (Operate independently) ดังกรณีของผู้ผลิตส่วนใหญ่ ที่ มุ่งนโยบายการผลิตด้ วยปริ มาณสูงสุด (Maximizing throughput) เพื่อประหยัดต้ นทุนต่อ

หน่ ว ย ซึ่ ง การด� า เนิ น การดัง กล่ า วอาจไม่ ส อดคล้ องกั บ อุ ป สงค์ ข องตลาด (Market demand) และส่งผลต่อปั ญหา การจัดเก็บสินค้ าคงคลัง หรื อ เกิ ด ความไม่ส อดคล้ อ งขึน้ ใน ห่วงโซ่อุปทาน เรี ยกว่า Bullwhip effect ซึ่ง เป็ นผลจาก ความผันผวนทางอุปสงค์ และ ต้ องด�าเนินการแก้ ไขเพื่อขจัด ปั ญหาระดับการให้ บริ การต่อ ลูกค้ า และต้ นทุนที่สงู ขึ ้น ส� า หรั บ สมรรถนะห่ ว งโซ่ อุ ป ทานในมุ ม มองการไหล (Flow perspective) สามารถ ศึ ก ษาด้ ว ยการวิ เ คราะห์ ก าร ไหลสารสนเทศและผลิตภัณฑ์ (Product & information flow) โดยเฉพาะสารสนเทศที่มีการ ไหลในสองทิ ศ ทาง เมื่ อ เริ่ ม มี ค� า สั่ ง ซื อ้ จากร้ านค้ าปลี ก (Retailers) ไปยัง ผู้ ส่ ง มอบ (Suppliers) ก็จะมีการแสดง สารสนเทศเพื่อแจ้ งสถานะค�า สัง่ ซื ้อ ภายในห่วงโซ่อปุ ทานจึง ท� าให้ คู่ค้า หรื อผู้เกี่ ยวข้ อง ดังเช่น ผู้ค้าปลีก ผู้ส่งมอบ และผู้ผลิต ได้ รับทราบสถานะ และ ด�าเนินการวางแผนจัดเตรี ยมได้ อย่างสอดคล้ อง กับระดับอุปสงค์ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีการ ตรวจสอบความหมายของปรากฏการณ์ Bullwhip Effect ควรจะมีการตรวจสอบความหมาย ของซัพพลายเชน หรื อห่วงโซ่อุปทานเสียก่อน เพื่อให้ ทราบถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ ของสมาชิกภายในห่วงโซ่อุปทานว่ามีรูปแบบ หรื อลักษณะใด การเข้ าใจความหมายและรู ป แบบดังกล่าวจะช่วยให้ เรามีความเข้ าใจ และ สามารถบริ หารจัดการการเกิด Bullwhip Effect ในห่วงโซ่อุปทานได้ ดีและมีประสิทธิ ภาพมาก ขึ ้น [P]

THE POWER LOGISTICS

19


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U

กาวเขาสูประชาคมอาเซียน ของประเทศไทย ป 2558

รองศาสตราจารย ดร.บุญอนันต พินัยทรัพย รองคณบดีฝายวิชาการ คณะรัฐประศาสนศาสตร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

การเตรียมความพร้อมของบุ คลากรในธุรกิจภาคเอกชน ตัวอย่างของภาคธุรกิจ ทีม่ กี ารปรับตัวและเตรียมความพร้ อม ได้ แก่ 1. บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จ�ากัด (มหาชน) (บริษทั SCG) มีบคุ ลากรท�างานในประเทศอินโดนีเซีย ซึง่ บริษทั มี การสร้ างความพร้ อมให้ พนักงานทีจ่ ะเดินทางไปท�างานต่างประเทศ ด้ วยการจัดหลักสูตรฝึ กอบรม เช่น ให้ บคุ ลากร การเข้ ารับการฝึ กอบรมภาษาและวัฒนธรรมท้ องถิ่น การไป Pre-visit การจัดทีพ่ กั ในต่างประเทศ พร้ อมความ สะอาด ปลอดภัย และมี Package ต่างๆ ทีจ่ งู ใจให้ ไปท�างานในประเทศอินโดนีเซีย วิธีการนี ้เรียกว่า การเริ่มทีจ่ ะ รู้จกั ประเทศอินโดนีเซียมากขึ ้นจนเป็ นเพือ่ นรู้ใจอินโดนีเซีย บริษทั SCG ได้ ทา� การสร้ างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชันน� ้ า 2 แห่งในประเทศอินโดนีเซีย คือ University of Indonesia และ Institute of Technology, Bandung โดยท�าการรับนักศึกษาจากทัง้ 2 มหาวิทยาลัยนี ้มา ฝึ กงานที่ SCG ในประเทศไทย ประมาณ 1 เดือน มีการพัฒนาหลักสูตรให้ ความรู้ด้านธุรกิจ เช่น หลักสูตร Bridge Business Concept มีการฝึ กอบรม เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการบริหารใหม่ โดยเน้ น Action Learning อีกทังเพิ ้ ม่ หลัก สูตรอืน่ ๆ ให้ สอดคล้ องกับ บริษทั SCG เช่น หลักสูตร Train the Trainer หลักสูตร Effective Interviewing หลักสูตร Supervisory Skills Workshop หลักสูตร HR for Non-HR Manager นอกจากนี ้ ยังมีการท�างานร่วมกับบริษทั ทนายความของประเทศอินโดนีเซีย และสร้ างเครือข่าย (Network) ร่วมกันกับกลุม่ ธุรกิจคนในประเทศ

20

THE POWER LOGISTICS

2. ธนาคารกสิกรไทย (KBank) ธนาคารกสิกรไทย เป็ นธนาคารไทยที่มีแนวทางที่จะเป็ นตัวกลางเชื่อม ธุรกิจไทยกับประชาคมอาเซียน โดยให้ บริ การลงตัว แบบ Business Solutions ที่ครอบคลุมลูกค้ าไทย ที่ต้องการจะออกไปท�าการค้ าหรื อการลงทุนใน AEC และลูกค้ าต่างชาติที่ต้องการเข้ ามาท�าการค้ า หรื อ ลงทุนในภูมภิ าคอาเซียน และประเทศไทย โดยเฉพาะ กลุม่ ลูกค้ า SMEs ซึง่ เป็ นกลุม่ ทีไ่ ม่มศี กั ยภาพในการหา ข้ อมูล และหาคูค่ ้ าในต่างประเทศด้ วยตนเอง ดังนัน้ KBank จึงมีบริการลูกค้ าแบบ Business Solutions โดย กิจกรมหลัก คือ บริ การให้ ค�าปรึ กษาธุรกิจระหว่าง ประเทศ (Global Business Advisory) และบริการจับคู่ เจรจาทางธุรกิจระหว่างประเทศ (Global Business Matching) โดยบริการ Global Business Matching จะตอบโจทย์ลกู ค้ าทีต่ ้ องการหาคูธ่ รุ กิจ เพือ่ การค้ า หรือ การลงทุน โดยธนาคารกสิกรไทย หรือ KBank นี จะเป็ ้ น ผู้ประสานงานจับคูธ่ รุ กิจระดับสากลอย่างต่อเนือ่ ง กลยุทธ์บริ การ Business Solutions อาศัยเครื อ ข่ายพันธมิตร ทังที ้ เ่ ป็ นพันธมิตรทีเ่ ป็ นธนาคาร (Bank Alliance) และพันธมิตรที่ไม่ใช่ธนาคาร (Non-Bank Alliance) เช่น สมาคม องค์กรต่างๆ ของภาครัฐ ใน AEC Plus 3 เพือ่ แลกเปลีย่ นข้ อมูล การค้ า หรือการลงทุนใน แต่ละประเทศ และอาศัยเครื อข่ายนักธุรกิจของแต่ละ องค์การในการจัดกิจกรรมจับคูธ่ รุ กิจระหว่างประเทศ จากกลยุทธ์ของ KBank ท�าให้ ธนาคารมีฐานข้ อมูล ลูกค้ าทีเ่ ติบโตขึ ้น โดยเฉพาะกลุม่ SMEs โดยผู้บริหาร วางแผน ใช้ จดุ ยืน Gateway ของอาเซียนเป็ นพื ้นฐาน เพือ่ ขยายการให้ บริการไปสูร่ ะดับ AEC Plus 6 ระดับ ทวีปและระดับโลกต่อไป 3. โรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ ในปั จจุบนั แนวทาง การลงทุนของโรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ ได้ มงุ่ เป็ นการ ขยาย และพัฒนาศักยภาพขององค์การ เพื่อรองรับ ตลาดในประเทศ แทนการขยายตัวไปเติบโตในตลาด ต่างประเทศ ด้ วยความเชื่อที่วา่ ความส�าเร็ จของโรง พยาบาลมาจากการให้ บริ การภายในประเทศด้ วย แนวคิ ด นี ้ ส่ ง ผลให้ ก ลยุท ธ์ ท างการตลาดของโรง พยาบาลบ�ารุงราษฎร์ ได้ หนั มาสนใจในการสร้ างความ


G U R U T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

เข้ มแข็งให้ กบั ฐานทีม่ นั่ โดยกลุม่ ลูกค้ าทีโ่ รงพยาบาลมุง่ เป้าหมาย คือ กลุม่ ผู้รับบริการภายในประเทศ ซึง่ แบ่ง เป็ น 2 กลุม่ หลัก ได้ แก่ ผู้รับบริการชาวไทย และผู้รับบริการชาวต่างชาติ เช่น ชาวต่างชาติจากสหรัฐอาหรับ เอมิเรตส์ เมียนมาร์ โอมาน สหรัฐอเมริกา และกาตาร์ เป็ นต้ น ลูกค้ ากลุม่ นี ้เลือกเดินทางเข้ ามา เพราะทีมแพทย์ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ เทคโนโลยีทไี่ ด้ มาตรฐาน บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ และบุคลากรทีม่ ใี จบริการ (อาณัติ ลีมคั เดช.2557) ความสามารถด้ านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ กล่าวได้ วา่ การพัฒนาของโรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์ มี 2 แนวทาง คือ 1) การลงทุนด้ านปั จจัยโครงสร้ างพื ้นฐาน และ 2) ด้ านบุคลากรทางการแพทย์ โดยพยายามสรรหา บุคลากรทังในและต่ ้ างประเทศทีม่ คี วามต้ องการมาท�างานในบ้ านเกิดของตนเอง และมีความเชีย่ วชาญเฉพาะ ด้ านเข้ ามาช่วย เพือ่ ให้ มคี วามเชี่ยวชาญเพิม่ ขึ ้น อีกทังโรงพยาบาลยั ้ งมีนโยบายในการพัฒนาศักยภาพของ บุคลากรทางการแพทย์ทมี่ อี ยูเ่ ดิมผ่านโครงการสนับสนุนต่างๆ เช่น การเข้ าร่วมสัมมนาฝึ กอบรม การเพิม่ ทักษะ ภาษาต่างประเทศ มีการด�าเนินกิจกรรม Quality Improvement Project เปิ ดโอกาสให้ พนักงานแต่ละแผนก สามารถน�าเสนอโครงการที่สง่ เสริ มให้ เกิดการพัฒนาคุณภาพพนักงาน สร้ างบรรยากาศในการท�างานให้ มี ประสิทธิภาพ บุคลากรทีเ่ ป็ นผู้มบี คุ ลิกกระตือรือร้ น สนใจ และรับผิดชอบในการท�างาน พร้ อมทังมี ้ บรรยากาศ ของการเรียนรู้ร่วมกัน เพือ่ เตรียมนโยบายกับการเปิ ดประชาคมอาเซียน โรงพยาบาลมีการพัฒนาองค์การให้ เป็ น Learning Organization มีการจับมือกับ สถาบันสอนภาษาอังกฤษ เช่น Wall Street English จัดหลักสูตร Corporate Training Center มีแนวทางในการรับผู้ชว่ ยพยาบาลชาวฟิ ลปิ ปิ นส์ จัดจ้ างล่ามแปลภาษาในอาเซียน เพือ่ รองรับการให้ ผ้ ปู ่ วยหลังจากการเปิ ด AEC

บทบาทนั ก บริ ห ารและบุ คลากรเข้ า สู่ ประชาคมอาเซี ยน การเข้ าสู่ประชาคมอาเซียนนัน้ ในองค์การทังภาครั ้ ฐและ เอกชน ไม่วา่ ผู้บริหาร และบุคลากรทุกระดับขององค์การ ควรจะ มีการปรับตัว และแสดงบทบาท ท�างานร่ วมกัน ดังต่อไปนี ้ (บุญอนันต์ พินยั ทรัพย์, 2555) 1.ผู้บริหารระดับสูงควรมีบทบาท ดังนี ผู้ ้ บริหารในองค์การ มี วิสัยทัศน์ นโยบาย กรอบการท� างานที่ สอดรั บการเป็ น ประชาคมอาเซียน เอาใจใส่ตอ่ การวิเคราะห์กลยุทธ์ เป็ นผู้น�า เชิงรุก มองหาโอกาส พร้ อมรับการเปลีย่ นแปลง ปรับตัวเร็วต่อ การเปลีย่ นแปลง มีความไวต่อการเปลีย่ นแปลง และพร้ อมรับความ เสีย่ ง สนับสนุนการเปลีย่ นแปลงการบริหารจัดการองค์การให้ ไปสูเ่ ป้า หมาย สนับสนุนการพัฒนาความรู้ และทักษะของบุคลากร นอกจากนี ้ ผู้บ ริ ห ารในองค์ การยัง เป็ นคนที่ ใ จใส่ต่อ การพัฒ นากระบวนงาน สร้ าง กระบวนการท�างานทีโ่ ปร่งใส มีสว่ นร่วม และกระจายอ�านาจการบริหาร 2. บทบาทของผู้บริ หารด้ านทรัพยากรมนุษย์ บทบาทในฐานะหุ้นส่วนยุทธศาสตร์ ผู้บริ หารองค์การ และ ผู้บริ หารทรัพยากรมนุษย์ต้องท�างานคูก่ นั เป็ นหุ้นส่วนธุรกิจ (Strategic Partner) สนับสนุนกัน ผู้บริ หารงาน ทรัพยากรมนุษย์ในองค์การเป็ นผู้บริ หารอย่างมืออาชีพ เรี ยนรู้ และเข้ าใจองค์การอย่างดี การด�าเนินการของ ผู้บริหารด้ านทรัพยากรมนุษย์ค�านึงถึงยุทธศาสตร์ ขององค์การ เน้ นลูกค้ าเป็ นหลัก มีความคิดริ เริ่ ม ช่างคิด ช่างสังเกต ช่างแก้ ปัญหา สามารถท�างานภายใต้ แรงกดดัน และท�างานร่ วมกับผู้อื่นได้ เป็ นอย่างดี วาง กระบวนการพัฒนาคนให้ ยอมรับในความหลากหลายของวัฒนธรรมองค์การ มีกระบวนการพัฒนาคนให้ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง 3. บทบาทของบุคลากร บุคลากรภายใต้ บริบทของประเทศในประชาคมอาเซียนควรมีความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ คิดเชิงบวก คิดดี รู้ดี เขียนดี และพูดดี ตังใจปฏิ ้ บตั หิ น้ าทีค่ วามรับผิดชอบดีทสี่ ดุ หมัน่ ฝึ กฝนความรู้เพิม่ เติมอย่าง ต่อเนือ่ ง มีความสามารถใช้ ภาษาอย่างน้ อย 3 ภาษา มีสมรรถนะทางคอมพิวเตอร์ ดเี ยีย่ ม เชีย่ วชาญในเทคโนโลยี

และนวัตกรรม สามารถท�างานร่ วมกับผู้อื่นได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ

ประโยชน์ท่ีประเทศไทยได้รับ จากการเป็นสมาชิ กประชาคม อาเซี ยน ปั จจุบนั อาเซียนเป็ นคูค่ ้ าอันดับหนึง่ ของไทย โดยมี มูลค่าการค้ ากว่า 1.75 ล้ านล้ านบาทต่อปี หรือร้ อยละ 19.2 มูลค่าการค้ าทังหมดของไทย ้ ในจ�านวนนี ้เป็ นการ ส่งออกจากไทย ไปอาเซียนร้ อยละ 20.7 ของมูลค่าการ ส่ ง ออกทัง้ หมด โดยประเทศไทยไทยเป็ นฝ่ ายได้ ดุลการค้ ามาตลอด การรวมตัวกันอย่างใกล้ ชิดยิ่งขึ ้น ทางเศรษฐกิจบวกกับการขยายความร่วมมือเพือ่ เชื่อม โยงโครงสร้ างพื ้นฐาน เช่น เส้นทางคมนาคมขนส่ง ระบบ จ่ายไฟฟ้ า เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต ฯลฯ จะเป็ นปั จจัย ส�าคัญในการเพิม่ โอกาสทางการค้ า และการลงทุนให้ กับไทย พร้ อมกับช่วยขยายตลาดให้ กบั สินค้ าไทยไปสู่ ประชาชนอาเซียนเกือบ 600 ล้ านคน ขณะทีอ่ าเซียน ยังเป็ นแหล่งเงินทุน และเป้าหมายในการลงทุนของ ไทยอีกด้ วย(ส�านักงานก.พ., 2555: 52) โอกาสของไทยยังจะเพิม่ ขึ ้นเมือ่ อาเซียน สามารถสร้ างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนให้ เป็ นตลาดและฐานการผลิ ต เดี ย วตามที่ ก�าหนดไว้ ในแผนงานการจัดตังประชาคม ้ เศรษฐกิจอาเซียนส�าเร็จ เพราะจะเปิ ดโอกาส ให้ สนิ ค้ า บริ การ แรงงานมีฝีมือ และเงินทุน เคลือ่ นย้ ายได้ อย่างเสรียงิ่ ขึ ้น ส่วนเรื่องการท่อง เทีย่ วทีผ่ า่ นมา มีจา� นวนนักท่องเทีย่ วจากอาเซียน มาเทีย่ วไทยมากถึงกว่า 4 ล้ านคน คิดเป็ นร้ อยละ 26 ของจ�านวนนักท่องเทีย่ วทังหมดของไทย ้ น�ารายได้ เข้ า ประเทศถึงกว่า 140,000 ล้ านบาท การเป็ นสมาชิกอาเซียนยังช่วยให้ ไทยมีความร่วม มือกับประเทศในภูมภิ าคเมือ่ ต้ องเผชิญกับภัยคุกคาม ทีส่ ง่ ผลกระทบโดยตรงต่อประชาชน ไม่วา่ จะเป็ นปัญหา ความยากจน การรับมือกับโรคระบาด เช่น ไข้ หวัดนก และซาร์ ส ปั ญหาอาชญากรรมข้ ามชาติอย่างการค้ า มนุษย์ และปั ญหายาเสพติด การรับมือกับภัยพิบตั ทิ าง ธรรมชาติ ปั ญหาสิง่ แวดล้ อม เช่น หมอกควันจากไฟป่ า และปั ญหาโลกร้ อน อาเซียนยังช่วยเพิม่ อ�านาจต่อรอง ของไทยในเวทีโลก ขณะเดียวกันความสัมพันธ์ในกรอบ อาเซียนยังช่วยเกื ้อหนุนความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่าง ไทยกับประเทศต่างๆ อีกด้ วย [ P ]

THE POWER LOGISTICS

21


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U

นายพีระพล ถาวรสุภเจริญ ผู้อ�านวยการ ส�านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)

โลจิสติกส

การขนสงทางชายฝง

ฉ โลจิสติกสการขนสงทางนํ้า

บั บ นี้ จะนำเสนอข อ มู ล แผนยุ ท ธศาสตร ก ระทรวงคมนาคม เพื่ อ สนั บ สนุ น การ พั ฒ นาโลจิ ส ติ ก ส ข องประเทศ ฉบั บ ที่ 2 (พ.ศ.2556-2560) ในด า น การวิเคราะหโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกดานโลจิสติกสการขนสง ทางดานการขนสงทางชายฝง

ปั จจุบนั การขนส่งทางชายฝั่ งนัน้ ประเทศไทยมีชายฝั่ งทะเลยาวประมาณ 2,600 กิ โ ลเมตร ครอบคลุม พื น้ ที่ 24 จัง หวัด โดยชายฝั่ ง อ่า วไทย (1,660 กิ โ ลเมตร) จะขนส่งสินค้ าชายฝั่ งในปริ มาณมากกว่าฝั่ งอันดามัน (954 กิโลเมตร) การขนส่ง สินค้ าชายฝั่ งส่วนมากจะมีจุดเริ่ มต้ น หรื อจุดปลายทางอยู่ในพื ้นที่บริ เวณชายฝั่ ง ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ ฝั่งอ่าวไทย ทังนี ้ ้ มีท่าเรื อแหลมฉบัง และท่าเรื อกรุ งเทพ เป็ นท่าเรื อหลักที่ส�าคัญ รองรับ สินค้ าเพื่อการน�าเข้ า-ส่งออก ท�าให้ มีความจ�าเป็ นต้ องพัฒนาท่าเรื อในบริ เวณพื ้นที่ ภาคใต้ เพื่อสร้ างโครงข่ายการขนส่งทางเรื อที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการส่ง ออกสินค้ าผ่านท่าเรื อในประเทศเพิ่มเติม โดยพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางถนน และรถไฟ เชื่อมต่อกับการขนส่งผ่านท่าเรื อหลักที่ส�าคัญของประเทศด้ วย ส�าหรับประเด็นปั ญหาส�าคัญ ที่ควรปรับปรุ งแก้ ไข ได้ แก่ 1.ขาดท่าเรื อชายฝั่ ง ที่เป็ นสาธารณะ และขาดสิ่งอ�านวยความสะดวกในการขนส่ง เนื่ องจากท่าเรื อ แหลมฉบัง และท่าเรื อกรุ งเทพ ไม่มีท่าเทียบเรื อชายฝั่ งเพื่อรองรับเป็ นการเฉพาะ ท�าให้ ความสามารถในการให้ บริ การเรื อชายฝั่ งมีเพียงร้ อยละ 50 สามารถเดินเรื อ ได้ ประมาณ 2-3 รอบต่อสัปดาห์ ซึง่ หากแก้ ปัญหาให้ เรื อเพิ่มรอบบริ การขนส่งสินค้ า ได้ คาดว่าจะช่วยให้ บริ การขนส่งทางเรื อชายฝั่ งเพิ่มขึ ้นได้ 2.ปั ญหาร่ องน� า้ ตืน้ เขินในการเข้ าเทียบท่า ท� าให้ เรื อต้ องรอเวลาน�า้ ขึน้ เพื่อ เข้ าเทียบท่า หรื อออกจากท่า และผู้ประกอบการเรื อไม่สามารถบรรทุกสินค้ าได้ เต็ม

22

THE POWER LOGISTICS


G U R U T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

4.ไม่มีท่าเรื อขนาดใหญ่ฝั่งอันดามัน ท่าเรื อ ฝั่ งอันดามันส่วนใหญ่เป็ นท่าเรื อ Feeder ขนถ่าย สินค้ าไปยังท่าเรื อสิงคโปร์ เพื่อขึ ้นเรื อใหญ่ หาก เรื อใหญ่สามารถมารับสินค้ าได้ ที่ท่าเรื อของไทย โดยตรงไม่ต้องใช้ เรื อ Feeder จะท�าให้ ต้นทุนค่า ขนส่งสินค้ าลดลง 5.ศักยภาพของท่าเรื อสงขลาค่อนข้ างจ�ากัด เนื่ องจากนโยบายการให้ เช่าท่าเรื อไม่จูงใจให้

เอกชนลงทุนพัฒนาท่าเรื อ รวมทังท่ ้ าเรื อสงขลา ไม่มีเ ครนยกสินค้ า เรื อที่ มาเที ยบท่าจะต้ อ งมี เครนส�าหรับยกขนสินค้ ามาด้ วย และ 6.ปั ญหา ด้ า นกฎระเบี ย บ เช่ น ไม่ มี ห ลัก เกณฑ์ ใ นการ ก�าหนดอัตราค่าภาระท่าเรื อของเอกชนที่ชดั เจน กฎระเบียบ และการควบคุมการประกอบธุรกิจ ขนส่งชายฝั่ งมีข้อจ�ากัดมาก

ปัจจุบนั การขนส่งทางชายฝัง่ นั้น ประเทศไทยมีชายฝั่งทะเลยาว ประมาณ 2,600 กิ โ ลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ 24 จังหวัด โดย ชายฝัง่ อ่าวไทย (1,660 กิโลเมตร) จะขนส่งสินค้าชายฝั่งในปริมาณ มากกว่ า ฝั ่ ง อั น ดามั น (954 กิโลเมตร)

ความสามารถของเรื อ เนื่องจากป้องกันไม่ให้ เรื อ กินน� ้าลึกเกินความลึกของร่ องน� ้า รวมถึงปั ญหา จากเรื อลากจูง ซึง่ ไม่สามารถรักษาความแน่นอน และคุ ณ ภาพการจั ด การขนส่ ง ได้ ตลอดปี เนื่องจากคลื่นลมในฤดูมรสุม 3.โครงสร้ างต้ นทุนค่าบริ การขนส่งสินค้ าทาง น� ้าชายฝั่ ง เป็ นอุปสรรคต่อการส่งเสริ มให้ มีการ ใช้ เ พิ่ ม ขึ น้ แม้ ว่ า ท่ า เรื อ แหลมฉบัง จะก� า หนด ให้ ท่าเทียบเรื อ A0 เป็ นท่าเทียบเรื อชายฝั่ ง แต่ ปั จ จุบัน ยัง คงใช้ เ ป็ นท่ า เที ย บเรื อ ขนส่ง สิ น ค้ า ระหว่างประเทศ ท�าให้ เรื อชายฝั่ งในประเทศต้ อง ใช้ ท่าเรื ออื่น และต้ องเสียค่ายกขนตู้สินค้ า ค่า ลากตู้จากจุดที่จอดเรื อไปยังเรื อขนสินค้ าระหว่าง ประเทศ เนื่ อ งจากลัก ษณะการขนส่ ง ทางน� า้ ชายฝั่ งมี ความแตกต่างจากการขนส่งทางเรื อ ระหว่างประเทศ แต่ต้องเสียค่าใช้ จ่าย ณ ท่าเรื อ แหลมฉบังในอัตราเดียวกันบวกส่วนเพิม่ ค่าภาระ ขนย้ ายตู้สินค้ าบริ เวณท่า ซึ่งมีอัตราสูงกว่ารู ป แบบอื่น ส่งผลให้ ผ้ ูส่งออก หรื อผู้ใช้ บริ การเรื อ ชายฝั่ งมีคา่ ใช้ จ่ายสูงขึ ้น อย่างไรก็ตาม ปั จจุบนั ค่าใช้ จา่ ยในการขนส่ง สินค้ าทางเรื อชายฝั่ งสูงกว่าการขนส่งทางรถไฟ ถึง 1,705 บาท/ตู้ 20 ฟุต และ 2,035 บาท/ตู้ 40 ฟุต (ที่มา: ร่างแผนยุทธศาสตร¬การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์¬ของไทย ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2556-2560, สศช., 2556)

THE POWER LOGISTICS

23


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E G U R U

ดร.คาเรน เรดดิงตัน ประธานเฟดเอ็กซ เอ็กซเพรส ภาคพื้นเอเชียแปซิฟก

ด

ธุรกิจของเราจะชวยผูประกอบการ SME เอาชนะใจผูซื้อออนไลน ระหวางประเทศไดอยางไร (ตอน 1)

วยเครือขายทางกายภาพ และเครือขายเสมือนในปจจุบันที่มาบรรจบกันและ แพรหลายมากกวาในชวงเวลาใดในประวัติศาสตร เปนการงายกวาที่เคย สำหรับ SME ที่จะเขาไปสัมผัสโอกาสทางธุรกิจขนาดใหญของธุรกิจอีคอมเมิรซ ขามพรมแดน เมื่อกอนมีแตบริษัทขามชาติขนาดใหญผูกขาดในธุรกิจ ปั จจุบนั นี การค้ ้ าทัว่ โลก เปิ ดโอกาสทันทีให้ กบั ทุกคน ที่มีสมาร์ ทโฟน และมีความ ฝั น ผู้ใ ห้ บ ริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส์ ทัว่ โลกรู้ความจริงข้ อนี เพราะ ้ ผู้ป ระกอบการเหล่า นี เ้ ป็ น ลูก ค้ า ของเรา เราเพิ่ ง พบ ตัวอย่างธุรกิจหนึง่ ทีส่ ร้ างแรง บันดาลใจ นั่นคือ เจ้ าของ ธุรกิจขนาดเล็กชื่อ เยเวลลิน คลาร์ ก (Llewellyn Clarke) จากเกาะเนวิส (Nevis) เกาะ เล็กๆ ในทะเลแคริบเบียนซึง่ ผลิตซอสพริ กเผ็ด วันนีใ้ คร ก็ ต า ม ที่ มี ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ อินเทอร์ เน็ตสามารถสัง่ ซือ้ ซอสจากมุ ม หนึ่ ง ของโลก และส่งถึงบันไดบ้ านได้ เลย นี่ เป็ นโอกาสทางธุ ร กิ จ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ส� า หรั บ ผู้ค้ า ปลี ก ทาง อิเล็กทรอนิกส์หลายพันคน

ทัว่ โลก เช่นเดียวกันกับ เยเวลลิน ในแง่นี ้การเชื่อมต่อสามารถมองเห็นผู้เล่นทีย่ อดเยีย่ ม ผู้ประกอบการ SMEs ทีม่ คี วามช�านาญใช้ ประโยชน์จากโอกาสนี ้ และรุกเข้ าไปในตลาดใหม่ กระตุ้นการ เติบโตให้ ระเบิดออกมาในภาคอีคอมเมิร์ซ โดยการประมาณการยอดขายของการ ค้ าจากธุรกิจสูผ่ ้ บู ริโภค (B2C) อีคอมเมิร์ซทัว่ โลกจะมีมลู ค่า 2 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ในปี 2015 เพิม่ ขึ ้นจาก 1.5 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ในปี ทผี่ า่ นมา1 และ ตลาดในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก (APAC) ถูกผลักให้ กลายเป็ นตลาดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของ

24

THE POWER LOGISTICS

โลกในปี 2014 ด้ วยยอดขายทีค่ าดว่าจะถึง 525,200 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ2 ในภาค การค้ าปลีกโดยรวม อีคอมเมิร์ซก�าลังขับเคลือ่ นธุรกิจส่วนใหญ่ของทุกการเติบโต รอบใหม่3 เป็ นที่ ชัด เจนว่า การเติ บ โตระเบิ ด เถิ ด เทิ ง นี เ้ ป็ นสิ่ ง ที่ ไ ม่มี ผ้ ูป ระกอบการ โลจิสติกส์ เอ็กซ์เพรสระดับโลกทีใ่ ห้ บริการผู้ค้าปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์ SME จะไม่ ใส่ใจ ท�าความเข้ าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคทัว่ โลกในธุรกิจข้ ามพรมแดนอีคอมเมิร์ซ เช่นเดียวกับผู้ค้าปลีก SME ทางอิเล็กทรอนิกส์ Forrester Consulting รับมอบหมาย จากเฟดเอ็กซ์ในการประเมินสิง่ ทีจ่ ะเร่ง และชะลอพฤติกรรมการซื ้อขายในธุรกิจนี ้ มากกว่าด้ วยการส�ารวจนักช้ อปออนไลน์จา� นวน 9,000 คนในตลาด 17 แห่ง ผลการศึกษาพบว่าทังปั ้ ญหา และโอกาสของธุรกิจอีคอมเมิร์ซข้ ามพรมแดนมี ความเด่นชัดโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก ผู้บริโภคในภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟิกรายงานว่า มีการช้ อปออนไลน์บอ่ ยกว่าค่าเฉลีย่ ทัว่ โลก4 พวกเขายังใช้ จา่ ย มากขึน้ ผู้ซื ้อออนไลน์ ในภูมิภาคนีซ้ ื ้อสินค้ าเฉลี่ยเกือบ 350 ดอลลาร์ สหรั ฐฯ ต่อปี ด้วยมูลค่าของสินค้ าสูงกว่าค่าเฉลีย่ ทัว่ โลกที่ 300 ดอลลาร์ สหรัฐฯ5 อย่างมีนยั ส�าคัญ 1 Bigcommerce ความเป็ นประชาธิปไตยของอีคอมเมิร์ซ กันยายน ปี 2014 (https://www.bigcommerce.com/press/releases/bigcommerce-predictsrecord-ecommerce-growth-2015/) 2 www.emarketer.com ยอดขายของการค้ าจากธุรกิจสู่ผ้ บู ริ โภค (B2C) อีคอมเมิร์ซทัว่ โลกแตะ 1.5 ล้ านดอลลาร์ สหรัฐฯ ในปี นี ้จากแรงผลักดันด้ วยการ เติบโตของตลาดเกิดใหม่ เดือนกุมภาพันธ์ ปี 2014 3 หน้ า 2 นิตยสาร Access 25 4 Q1 การส�ารวจทีด่ า� เนินการโดย Forrester Consulting ในนามของเฟดเอ็กซ์ เดือนสิงหาคม 2014 5 หน้ า 14 เรื่ อง “คว้ าโอกาสธุรกิจข้ ามพรมแดน” การวิจยั ที่ด�าเนินการโดย Forrester Consulting ในนามของเฟดเอ็กซ์ เดือนธันวาคม 2014


O U T & A B O U T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

สวั ส ดี ค ่ ะ พบกั บ “Out & About” รายงานความเคลือ่ นไหวแวด วงโลจิ สติ กส์ ประจ� า เดื อ นมี นาคม pp àÃÔÁè àÍÒ¨ÃÔ§áŌǡѺÁҵáÒèѴ ÃÐàºÕºöá·ç¡«Õè â´ÂÅ‹ÒÊØ´ ¡ÃÁ¡Òà ¢¹Ê‹§·Ò§º¡ ËÃ×Í ¢º. á¨§Ç‹Ò µÑ§é ᵋ วันที่ 24 มีนาคม ทีผ่ า่ นมา ทีไ่ ด้เริม่ จัด ระเบียบรถแท็กซีห่ น้าห้างสรรพค้าสินค้า 4 áË‹§¡ÅÒ§¡ÃØ§Ï â´Â ¢º. ËÇÁÁ×͡Ѻ ทหาร ต�ารวจ และภาคเอกชน เพิม่ ความ ࢌÁ§Ç´ã¹¡ÒáǴ¢Ñ¹¨Ñº¡ØÁá·ç¡«Õ»è ¯Ôàʸ ไม่รบั ผูโ้ ดยสาร ไม่ใช้มาตรมิเตอร์ พร้อม เตือนแท็กซีก่ ระท�าผิดมีโทษปรับสูงสุดทุก ราย หากพบเป็นการกระท�าผิดซ�้าพัก ใช้ ใ บอนุ ญ าตทั น ที pp §Ò¹¹Õé “จิรตุ ม์ วิศาลจิตร” รองอธิบดี ขบ. เปิด เผยว่า ขบ. ร่วมมือกับมณฑลทหารบกที่ 11 เจ้าหน้าทีต่ า� รวจ และผูป้ ระกอบการ ห้างสรรพสินค้า 4 แห่งในกรุงเทพ มหานคร ร่วมจัดระเบียบการให้บริการ ของรถแท็กซี่ตามหน้าห้างสรรพสินค้า และบริเวณใกล้เคียงเพือ่ แก้ไขปัญหาการ ปฏิเสธผูโ้ ดยสาร และการไม่ยอมใช้มาตร มิเตอร์ ซึง่ เป็นข้อมูลทีไ่ ด้รบั การร้องเรียน ผ่านศูนย์คมุ้ ครองผูโ้ ดยสารรถสาธารณะ 1584 และแอพพลิเคชัน่ DLT Check in ÁÒ¡·ÕÊè ´Ø pp ซึง่ ปัญหาดังกล่าว ส่วนใหญ่มักพบบริเวณหน้าห้างสรรพ สินค้าทัง้ 4 แห่ง ได้แก่ ห้างสรรพสินค้า มาบุญครอง ห้างสรรพสินค้าพารากอน ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และห้าง สรรพสินค้าแพลทินมั แฟชัน่ มอลล์ โดย ¡íÒ˹´àÃÔèÁ´íÒà¹Ô¹¡ÒÃÍÍ¡¨Ñ´ÃÐàºÕº Í‹ҧࢌÁ§Ç´Ã‹ÇÁ¡ÑºË¹‹Ç§ҹ´Ñ§¡Å‹ÒÇ ตัง้ แต่วนั ที่ 24 มีนาคม 2558 ทีผ่ า่ นมา เป็นต้นไป ก่อนจะขยายไปจัดระเบียบใน พืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ต่อไป pp µ‹Í¡Ñ¹·Õè ¡Òà รถไฟแห่งประเทศไทย หรือ ร.ฟ.ท. จัด กิจกรรมวันสถาปนา “ก้าวสู่มิติใหม่ รถไฟไทย 118 ปี” เพือ่ เป็นการน้อม ร� า ลึ ก ถึ ง พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่ หัว รัชกาลที่ 5 พระผูท้ รงพระราชทาน ก�าเนิดกิจการรถไฟขึ้นในประเทศสยาม â´Â “นวลอนงค์ วงษ์จนั ทร์” ËÑÇ˹ŒÒ

จิรุตม์ วิศาลจิตร

ฮิโรชิ มานิวะ

ยู เจียรยืนยงพงศ์

กองประชาสัมพันธ์ ร.ฟ.ท. แจ้งว่า ร.ฟ.ท. ได้จัดกิจกรรมภายใต้ชื่องาน “ก้าวสูม่ ติ ใิ หม่ รถไฟไทย 118 ปี” โดย ได้แสดงถึงภารกิจของการรถไฟฯ ทีม่ งุ่ เน้นการให้บริการที่ตอบสนองต่อความ ต้องการของผูใ้ ช้บริการ และการพัฒนา »ÃÐÊÔ · ¸Ô À Ҿ㹡ÒÃãËŒ º ÃÔ ¡ ÒÃÍ‹ Ò § ต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม และประเทศชาติ ........อย่างไรก็ตาม ทีผ่ า่ นมา ร.ฟ.ท.ได้ปรับภูมทิ ศั น์สองข้าง ทางรถไฟ ตั้ ง แต่ ส ถานี ส ามเสน– จิตรลดา–ยมราช ถึงย่านสถานีและพืน้ ที่ â´ÂÃͺʶҹաÃا෾ãËŒÁÕÃÐàºÕºÁÒ¡ ขึน้ เป็นการปรับปรุงภาพลักษณ์ใหม่ของ ร.ฟ.ท. เพือ่ เป็นการก้าวสูม่ ติ ใิ หม่ รถไฟ ไทย 118 ปี เป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ ดีให้กับองค์กร และที่ส�าคัญเป็นการ แสดงความจงรักภักดีตอ่ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าหัวอยู่ พระบิดาแห่ง กิจการรถไฟ pp มาที่ บริษทั ยู เซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ที่ พยายาม เดินหน้าขยายเครือข่ายให้ ºÃÔ¡Ò÷ÑÇè âÅ¡ ฮิโรชิ มานิวะ »Ãиҹ ¡ÃÃÁ¡ÒÃáÅлÃиҹ਌Ò˹ŒÒ·Õºè ÃÔËÒà บริษทั ยูเซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ย�า้ ว่า ในปีนเี้ รายังคงมุง่ มัน่ ขยาย เครือข่ายไปให้ครอบคลุมทั่วโลก และ พัฒนา บริการให้ครอบคลุมทัว่ ประเทศ ซึง่ มีศนู ย์ให้บริการทัง้ หมด 7 แห่งในไทย และเราเป็นหนึง่ ในผูใ้ ห้บริการ ขนส่งครบ วงจรที่ มี เ ครื อ ข่ า ยแข็ ง แกร่ ง ที่ สุ ดใน

ประเทศ ปีนี้ได้ข ยายธุรกิจด้า นการ ส่งสินค้าประเภทของสด ทีเ่ น่าเสียง่าย ซึง่ ต้องการความเชีย่ วชาญ และการดูแล ทีเ่ หมาะสม เพือ่ ให้สนิ ค้า ส่งถึงมือผูร้ บั อย่างมีคุณภาพ รวดเร็ว และตรงต่อ เวลา ซึ่ ง จุ ด แข็ ง ของเราคื อ ความ แข็งแกร่งด้านเครือข่ายสายการบินและ ผูใ้ ห้บริการขนส่งระหว่างประเทศ ซึง่ เป็น องค์ประกอบ หลักของระบบการจัดส่ง สินค้า จากผูผ้ ลิตไปสูผ่ ขู้ ายเเละสูต่ ลาด” pp ส่วนแผนการขยายเครือข่าย และการเสริมศักยภาพในการให้บริการ มองหาพาร์ทเนอร์ในเชิงกลยุทธ์ ทีเ่ ป็น บริษทั ท้องถิน่ ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในเส้น ·Ò§µ‹Ò§æ ࢌÒÁÒàÊÃÔÁ·Ñ¾ ¡ÒÃࢌÒÁÒ¢Í งบริษทั โลจิสติกส์ ข้ามชาติ ขนาดใหญ่ จะท�าให้การแข่งขันในบริษทั ระดับขนาด กลางและขนาดเล็ ก รุ น แรงมากขึ้ น pp ทิง้ ท้ายที่ นิชโิ อะฯ ร่วมหารือ ความคืบหน้า สหพันธ์รถบรรทุกฯ นับ ถอยหลัง TIT 2015 งานมหกรรมรถ บรรทุกนานาชาติ ครั้งแรกในภูมิภาค ÍÒà«Õ¹ ยู เจียรยืนยงพงศ์ »Ãиҹ สหพันธ์การขนส่งทางบกแห่งประเทศ ไทย กล่าวว่า เหลือเวลาอีก 6 เดือนกว่า เท่านั้น ที่ผู้ประกอบการขนส่งทางบก และผูร้ ว่ มแสดงสินค้า จะได้สมั ผัสกับงาน ÁË¡ÃÃÁöºÃ÷ء·ÕÁè §‹Ø ãËŒà¡Ô´¡ÒÃàµÔºâµ ทางเศรษฐกิจของภูมภิ าคอาเซีย่ นอย่าง แท้จริง เป้าหมายส�าคัญคือการเชิญชวน กลุม่ ผูเ้ ข้าชมงานจากภูมภิ าคอาเซีย่ นมา

สัมผัสถึงการเป็นจุดศูนย์กลางด้านการ ขนส่งของไทยในภูมิภาคอาเซียน ผม Áѹè ã¨à»š¹Í‹ҧÁÒ¡¡Ñº¡ÒÃËÇÁÁ×͡Ѻ·Ò§ บริษทั นิชโิ อะ เร้นท์ ออล ประเทศญีป่ นุ่ และ บริษทั พาราบ๊อกซ์ จ�ากัด เนือ่ งจาก เขามีความช�านาญด้านการจัดงานอีเว้นท์ จากประเทศญีป่ นุ่ อยูแ่ ล้ว การจัดงานใน ครัง้ นีซ้ งึ่ ถือเป็นครัง้ แรกของการร่วมมือ กันจะท�าให้ผเู้ ข้าชมงานและผูแ้ สดงสินค้า ได้รับรู้ถึงนวัตกรรมยานยนต์ด้านขนส่ง Í‹ Ò §á·Œ ¨ ÃÔ § pp Êí Ò ËÃÑ º §Ò¹ Thailand International TRUCK SHOW 2015 (TIT 2015) หรือ งาน มหกรรมรถบรรทุกนานาชาติ ครัง้ แรกใน ภูมภิ าคอาเซีย่ นนี้ จัดขึน้ ภายใต้แนวคิด “Buyers Meet Sellers, TRUCK Day!” เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมแสดงสินค้า และผูเ้ ข้าชมงานได้พบปะ ซือ้ ขาย เจรจา ต่อรองธุรกิจกันได้โดยตรง อีกทัง้ ถือได้วา่ เป็นจุดเริ่มต้นศักราชใหม่ของวงการรถ บรรทุ ก เพื่ อ การขนส่ ง ของภู มิ ภ าคอา เซีย่ นเพือ่ รองรับการเปิด AEC อย่าง แท้จริง งาน TIT 2015 นี้ จะช่วยให้ ผูเ้ ข้าร่วมแสดงสินค้าสามารถขยายฐาน ลู ก ค ้ า แ ล ะ ต ล า ด สิ น ค ้ า - บ ริ ก า ร ออกไปได้มากยิ่งขึ้น โดยการจัดงาน ในครัง้ นีไ้ ด้รบั ความร่วมมือและสนับสนุน จากองค์ ก รและสมาคมต่ า งๆ ใน ประเทศไทย ภายใต้การน�าของสหพันธ์ การขนส่ ง ทางบกแห่ ง ประเทศไทย ...พบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีคะ่ [ P ]

THE POWER LOGISTICS

25


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E E N E R G Y L O G I S T I C S

โดย : ชินพงศ เรืองบุญมา

ชัยวัฒน โควาวิสารัช

บอสใหม “บางจาก” ดันหลักการ 3S สรางความยั่งยืน ป 2558 ถือเปนโอกาสครบรอบ 30 ปของ “บางจาก” พอดิบพอดี ซึง่ ในสวน ผูบ ริหารก็ไดมกี ารเปลีย่ นตัวกรรมการผูจ ดั การใหญคนใหมจาก “วิเชียร อุษณาโชติ” มาเปนหนุมใหญมาดดี “ชัยวัฒน โควาวิสารัช” ซึ่งเจาตัวก็มาพรอมกับแนวคิด 3s ในการพัฒนาองคกรสูค วามยัง่ ยืน ไหนๆ ก็ไหนๆ เราลองมาสัมผัสกับวิสยั ทัศน์ CEO คนใหม่ของบางจากฯ กันดีกว่า พร้ อมกับการเปิ ดเผย ผลการดําเนินธุรกิจเมื�อปี ที�ผ่านมา รวมทังแผนการ � ดําเนินงานต่างๆ ของบางจากฯ ในปี 2558 นี � ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช กรรมการผู้จดั การใหญ่ บริษทั บางจากปิ โตรเลียม จํากัด (มหาชน) เปิ ด เผยถึงวิสยั ทัศน์ ในการบริ หารงานองค์กรในฐานะ กรรมการผู้จดั การใหญ่คนใหม่วา่ จุดแข็งของบริ ษัท บางจากฯ ตลอดระยะเวลา 30 ปี ทผี� า่ นมา คือ การเป็ น

26

The Power LOGISTICS

บริษทั ไทยทีม� นั� คงในการดําเนินธุรกิจปิ โตรเลียม และ ธุรกิจต่อเนือ� ง ควบคูไ่ ปกับการมีสว่ นร่วมในการพัฒนา ชีวติ ความเป็ นอยูท่ ดี� ขี ึ �นของสังคมไทย ซึง� จุดแข็งนี �ยัง คงสานต่อเพือ� ประโยชน์ตอ่ ประชาชน และประเทศชาติ สําหรับสิง� ทีจ� ะต้ องพัฒนาเพิม� ขึ �น คือ การปรับตัว ให้ ทนั ต่อการเปลีย� นแปลงของปั จจัยแวดล้ อมภายใน และภายนอก เพิ�มประสิทธิภาพในการแข่งขันทังใน � ระดับประเทศ และอาเซียน เพื�อให้ บางจากฯ เป็ น องค์กรที�ทนั สมัยเติบโตอย่างมัน� คงและยัง� ยืน ตาม

ชัยวัฒน โควาวิสารัช กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน)


E N E R G Y L O G I S T I C S T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

ยุทธศาสตร์ 3s ดังต่อไปนี � 1.Security เป็ นการสร้ างความมั�น คงด้ า น พลังงานให้ กบั ประเทศ โดยขยายการลงทุนไปยังธุรกิจ ต้ นนํ �า เพือ� จัดหาพลังงานให้ เพียงพอกับความต้ องการ ใช้ ของภาคธุรกิจ และประชาชน อันเป็ นการต่อยอด ในส่วนของธุรกิจปิ โตรเลียม 2.Stability เสริ มสร้ างเสถียรภาพด้ านพลังงาน และการเงิน ด้ วยการลงทุนด้ านพลังงานทดแทนทังใน � และต่างประเทศ เช่น พลังงานใต้ พื �นพิภพ (Geothermal) พลังงานชีวมวล (Biomass) พลังงานชีวภาพ (Biogas) พลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar cell) ทังในและต่ � างประเทศ 3.Sustainability เป็ นการสร้ างความยัง� ยืนให้ กบั องค์กร โดยเพิ�มรายได้ จากธุรกิจ Non-Oil ในสถานี บริ การนํา� มันบางจาก ซึ�งจะพัฒนาให้ เป็ นรู ปแบบ เฉพาะในลักษณะ Bangchak Model ตอบโจทย์ความ ต้ องการของผู้บริโภคยุคใหม่ทหี� นั มาดูแลใส่ใจสุขภาพ มากขึ �น ในขณะเดียวกันเป็ นการทําธุรกิจเพื�อสังคม Social Enterprise อันเป็ นการต่อยอดจาก CSR / CSV เพื�อสร้ างงาน สร้ างรายได้ พร้ อมส่งเสริ มให้ คนใน ชุมชนร่วมกันรักษาสิง� แวดล้ อมในพื �นทีท� ตี� นอาศัยอยู่ แผนการดําเนินงานในปี 2558 คาดว่า จะมีกาํ ไร ก่อนหักดอกเบี �ยภาษีและค่าเสือ� ม (EBITDA) ไม่ตาํ� กว่า 10,400 ล้ านบาท และจะเพิม� เป็ น 25,000 ล้ านบาทในปี 2563 โดยจะขยายการ ลงทุนทังในและต่ � างประเทศ เช่น ขยาย ธุ ร กิ จ พลั ง งานที� เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ� ง แวดล้ อม มี กํ า ลั ง การผลิ ต เพิ� ม ประมาณ 100-150 เมกะวัตต์ เพือ� เป็ นการเพิ� ม ความมั� น คงทาง พลังงาน และจะเพิม� กําลังการกลัน� เป็ น 105,000 บาร์ เรล/วัน คาดว่า จะมี ค่ า การกลั� น เฉลี� ย 6-7 ดอลลาร์ สหรัฐ/บาร์ เรล ขณะที�ด้านการตลาด ตัง� เป้ าการจํ า หน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ นํ �ามันกว่า 450 ล้ านลิตร/เดือน พร้ อมขยายสถานี บ ริ ก าร นํ �ามันเพิม� ขึ �นอีก 70 แห่ง โดย เป็ นสถานีบริ การขนาดใหญ่ (Flagship) 2 แห่ง ซึง� ในอีก 6 ปี ข้ างหน้ า จะเพิ� ม สถานี บริการนํ �ามันทัว� ประเทศไม่ตาํ� กว่า 400 แห่ง หรื อเพิ�มเป็ น กว่า 1,500 แห่ง เพื�อก้ าวสู่ The Most Admired Brand ภายในปี 2563

“ในปี 58 จะเพิม� EBITDA ของธุรกิจ Non-oil จาก 145 ล้านบาท เป็ นกว่า 200 ล้านบาท หรือเพิม� ขึ �น 40% และขยายร้ านสะดวกซื �อบิ�กซีมินิเพิ�มขึ �นไม่น้อยกว่า 100 แห่ง จากปั จจุบนั 92 แห่ง และขยายร้ านกาแฟ อินทนิลบางจากอีก 100 แห่ง จากที�มีอยู่ 343 แห่ง นอกจากนี �ยังจะพัฒนาธุรกิจใหม่ เช่น อินทนิล Organic หรือ Grocery Store เพือ� ตอบสนองวิถชี วี ติ คน รุ่ นใหม่ให้ ได้ รับความสะดวกสบายยิ�งขึ �น” ชัยวัฒน์ เปรย เพื�อสร้ างความมัน� คงด้ านการจัดหานํ �ามัน หลัง จากบริษทั บางจากฯ เข้ าไปถือหุ้นบริษทั Nido Petroleum ในออสเตรเลียทีไ� ด้ รับสัมปทานสํารวจและผลิต ปิ โตรเลียมในอินโดนีเซียและฟิ ลิปปิ นส์ โดยล่าสุด บริษทั Nido Petroleum ได้ ซื �อหุ้นทังหมดของบริ � ษทั Galoc Production Company WLL จากบริษทั Otto Energy Limited ในมูลค่าประมาณ 3,500 ล้ านบาท

ทําให้ Nido มีสดั ส่วนถือครองแหล่งผลิตนํ �ามัน ดิบ Galoc จากร้ อยละ 22.88 เป็ นร้ อยละ 55.88 และ ทําหน้ าทีเ� ป็ น Operator ในแหล่ง Galoc ส่งผลให้ Nido มีปริ มาณการผลิตนํา� มันดิบเพิ�มขึน� เป็ นประมาณ 4,000 บาร์ เรลต่อวัน และมีสาํ รองนํ �ามันประมาณ 7 ล้ านบาร์ เรล (2P) นอกจากนี �ยังมีแผนขยายธุรกิจอืน� ๆ อีกเพิม� เติม ซึง� อยูใ่ นระหว่างการศึกษาความเป็ นไปได้ ด้ านธุรกิจพลังงานทดแทน บางจากฯ มีแผนทีจ� ะ ขยายโรงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเพิ�มเติม โดยตัง� เป้าว่า จะขยายการลงทุนทัง� ในและต่างประเทศ โดยมีเป้าจะสร้ างกําลังการผลิตเพิม� อีก 300 เมกะวัตต์ ใน 2 ปี ข้ างหน้ า ซึง� รวมถึงโรงไฟฟ้าโซล่าร์ ชีวมวล ชีวภาพ และโรงไฟฟ้าขยะ (Waste to Energy) โดยจะ เน้ น การทํ า งานร่ ว มกั บ กลุ่ม สหกรณ์ ก ารเกษตร อันเป็ นการ Synergy ระหว่างบางจากฯ และกลุ่ม ดังกล่าวเพิ�มขึน� เพื�อร่ วมสร้ างสังคมสีเขียวให้ กับ ประเทศ ตอกยํ �าความเป็ นผู้นาํ พลังงานทดแทน อีกทัง� จะขยายธุรกิจผลิตเอทานอล และไบโอ ดีเซล โดยจะเดินเครื� องผลิตนํ �ามันไบโอดีเซล B100 เต็มกําลังการผลิตสูงสุด และเพิม� กําลังการผลิตของโร งงานไบโอดีเซล แห่งที� 2 ขึ �นอีก 450,000 ลิตร/วัน จาก เดิมที�มีกําลังการผลิต 360,000 ลิตร/วัน ให้ เป็ น 810,000 ลิตร/วัน อนึ�ง ผลการดําเนินงานในปี 57 บางจากฯ มี EBITDA 5,162 ล้ านบาท จากผลการดําเนินงานธุรกิจ ตลาด และธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์อยูใ่ น เกณฑ์ดี อย่างไรก็ตาม บริ ษัทยังคงได้ รับผลกระทบ จากการขาดทุนสต๊ อกนํ �ามัน ส่งผลให้ EBITDA ลดลง จากปี กอ่ นหน้ า 4,300 ล้ านบาท [ P ]

The Power LOGISTICS

27


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E P O W E R I N L A N D

โดย : ชัยวัฒน เกษสม

‘ตั๋วรวม’ ใกลคลอด!!!

ครอบคลุมทั้งระบบป 60-61 ในปจจุบันกระทรวงคมนาคม โดยสำนักงาน นโยบายและแผนการขนสงและจราจร หรือ สนข. เล็งเห็นประโยชนของการใชระบบตั๋วรวมตอผูใช บริการระบบขนสงสาธารณะ เพื่อใหผูใชบริการ สามารถใช ตั๋ ว โดยสารเพี ย งใบเดี ย วกั บ บริ ก าร ขนส ง สาธารณะทุ ก ประเภทไม ว  า จะเป น รถไฟ รถไฟฟา BTS รถไฟฟาใตดิน รถโดยสารประจำ ทาง เรื อ โดยสาร รวมถึ ง การใช บ ริ ก ารระบบ ทางดวนสายตางๆ

พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม

28

The Power LOGISTICS

ทัง� นี � ทําให้ ผ้ ูใช้ บริ การมีความสะดวกสบายในการเดินทาง ลด ระยะเวลาที�จดุ เชื�อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ และประหยัดค่าโดยสาร เพราะไม่ต้องเสียค่าแรกเข้ าซํา� ซ้ อนในกรณี ของการใช้ บริ การขนส่ง สาธารณะมากกว่าหนึ�งบริ การ รวมทังยั � งสามารถนําตัว� โดยสารไปใช้ ทํ า ธุ ร กรรมการชํ า ระเงิ น ประเภทอื� น ๆ เช่ น การชํ า ระเงิ น ค่าสาธารณูปโภค การซื �อสินค้ า และบริ การจากร้ านค้ าทัว� ไป เป็ นต้ น ล่ า สุ ด กระทรวงคมนาคม สั�ง เร่ ง เปิ ดทดสอบระบบตั� ว ร่ ว ม ในช่วง ม.ค.-ก.พ. 59 พร้ อมมีแผนนําร่ องระบบตัว� ร่ วมในรถไฟฟ้า 3 สาย และทางด่วน โดยตังเป � ้ าใช้ กบั ระบบขนส่งทุกประเภทในปี 60-61 ทังยั � งเตรี ยมตังบริ � ษัทร่ วมทุน (CTC) เพื�อบริ หารจัดการรายได้ กลาง พล.อ.อ.ประจิน จั�นตอง รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม เปิ ดเผยว่า ได้ เร่ งรัดแผนการออกแบบติดตัง� และทดสอบให้ แล้ วเสร็ จ และสามารถใช้ ระบบตัว� ร่วมนําร่องในเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2559 โดยมี โครงการนํ าร่ อง คื อ รถไฟฟ้าใต้ ดิน MRT, รถไฟฟ้าบี ทีเอส,


P O W E R I N L A N D T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

ทางด่วน 1 เส้ นทาง และรถไฟฟ้าสายสีม่วง (บางใหญ่-บางซื�อ) รวมถึงรถเมล์ NGV ของ องค์การขนส่งมวลชนกรุ งเทพ (ขสมก.) และ BRT ของกรุ ง เทพมหานคร (กทม.) และจะ สามารถใช้ บตั รใบเดียวเดินทางได้ กบั รถไฟฟ้า ทุก สาย และขนส่ ง ทุก ระบบ รวมถึ ง ร้ านค้ า สะดวกซื �อ ธนาคารต่างๆ ในปี 2560 -2561 ทังนี � � ระบบตัว� ร่ วมจะทําให้ ผ้ โู ดยสารได้ รับ ความสะดวกในการใช้ บริ การ ในขณะเดียวกัน จะทํ า ให้ ต้ น ทุน ค่า ใช้ จ่ า ยของผู้ป ระกอบการ ขนส่งแต่ละรายลดลง โดยตามแผนจะมีการตัง� คณะกรรมการระดับ นโยบาย ที� มี รั ฐ มนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคมเป็ นประธาน ทําหน้ าที� กํ า หนดนโยบายด้ า นการขนส่ ง และกํ า หนด มาตรการ และบทบาทของหน่ ว ยงานระบบ ขนส่งและพิจารณากรอบอัตราค่าโดยสารร่ วม ซึ�งอยู่ระหว่างเตรี ยมเสนอคณะรัฐมนตรี หรื อ ครม. เพื�อจัดตัง� โดยเมื�อระบบขนส่งทุกประเภท ใช้ ระบบตัว� ร่ วมหมดแล้ ว บัตรมาตรฐานนี �จะมี โครงสร้ างที� ส ามารถรองรั บ การจัด ทํ า เที� ย ว โดยสารร่ ว ม (CTP-Common Trip Pass) รองรับการกําหนดค่าโดยสารพิเศษสําหรับกลุม่ เป้าหมายเช่น เด็ก คนพิการ ผู้สงู อายุได้ “เบือ� งต้ นได้ เร่ งรั ดให้ ปรั บแผนการดําเนิน งานจากเดิมที�จะมีการวางและพัฒนาระบบ 18 เดือน หรื อประมาณเดือนสิงหาคม 2559 จึงจะ ทดสอบระบบได้ เป็ นภายใน 10 เดือนหรื อเริ� ม

ทดสอบในเดือนมกราคม 2559 ซึง� ประชาชนใน กทม.มีหลายล้ านคนประเมินว่าจะมีผ้ ถู ือตัว� ร่วม จํานวนมากเช่นกัน ซึง� ช่วงเริ� มต้ นจะมีผ้ โู ดยสาร BTS วันละ กว่า 7 แสนคน ผู้ใช้ ทางด่วนอีกวัน ละแสนคน” พล.อ.อ.ประจินกล่าว ด้ านพีระพล ถาวรสุภเจริ ญ ผู้อํานวยการ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนการขนส่ ง และ จราจร หรื อ สนข. กล่าวว่า ผู้บริ หารจัดการและ บํารุ งรักษาระบบตัว� ร่ วม (CTC) นันหลั � กการจะ จัดตัง� เป็ นบริ ษัทจํากัด รั ฐถื อหุ้นไม่เกิน 50% เพื�อไม่ให้ เป็ นรัฐวิสาหกิจ โดยใช้ วิธีลงทุนแบบ รัฐร่วมทุนเอกชน (Public private Partnership: PPP) โดยร่ วมทุน 3 ฝ่ าย คือ 1. ภาครัฐ ถือหุ้น ประมาณ 40% 2. ภาคเอกชนที�ให้ บริ การเดินรถไฟฟ้า เช่น บริ ษั ท ระบบขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพ จํ า กั ด (มหาชน) หรื อ BTS, บริ ษัท รถไฟฟ้ากรุ งเทพ จํากัด (มหาชน) หรื อ BMCL สัดส่วนประมาณ 20% และ 3. ผู้เชี�ยวชาญด้ านการจัดการระบบ ซึง� เป็ นบริ ษัทจากต่างประเทศ สัดส่วนประมาณ 40% โดยใช้ วิ ธี เ ปิ ดประกวดราคานานาชาติ (International Bidding) ซึง� สัดส่วนหุ้นดังกล่าว ยังไม่สรุ ป อยู่ระหว่างประเมินความเหมาะสม โดยในช่วงนีไ� ด้ มีการตังหน่ � วยธุรกิจ (BU) ตัว� ร่ ว ม ภายใต้ ก ารรถไฟฟ้ าขนส่ ง มวลชนแห่ ง ประเทศไทย (รฟม.) เพื�อให้ ทําหน้ าที�บริ หารการ ให้ บริ การตัว� ร่ วมก่อน

โดย CTC จะเป็ นผู้ดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง ระบบตัว� ร่วมให้ และคิดค่าบริ การในการบริ หาร บํารุ งรั กษา และจัดเก็ บรายได้ กลาง หรื อค่า ธรรมเนียมการใช้ (Transaction Fee) จากผู้ ประกอบการขนส่งแต่ละรายประมาณ 1% ซึง� ตํ�ากว่าต้ นทุนบุคลากร และค่าใช้ จ่ายในการจัด เก็บค่าโดยสารของผู้ประกอบการแต่ละรายใน ปั จจุบนั ซึง� อยู่ที�กว่า 3% ของค่าใช้ จ่ายรวม ดัง นันเมื � �อผู้ประกอบการขนส่งประหยัดค่าใช้ จ่าย ลงจะสามารถลดค่าโดยสารลงได้ โดยเฉพาะค่า แรกเข้ าประมาณ 15 บาท จะต้ องมีการพิจารณา ว่าจะปรับลดลงได้ อย่างไร นอกจากนี � CTC จะ มีรายได้ จากค่าธรรมเนียมในการใช้ งานร่วมกับ ร้ านค้ าซึ�งจะเจรจากันในรู ปแบบธุรกิจ โดยค่า ธรรมเนียมสูงกว่าของระบบขนส่ง อย่า งไรก็ ต าม คาดว่า CTC จะมี ว งเงิ น ลงทุนประมาณ 600 ล้ านบาท โดยจะเป็ นค่า ปรับปรุงระบบรวม 244 ล้ านบาท ประกอบด้ วย ค่าปรับปรุ งระบบรถไฟฟ้าใต้ ดิน MRT 80 ล้ าน บาท ระบบ BTS 60 ล้ านบาท รถไฟฟ้าแอร์ พอร์ ตเรลลิงก์ 60 ล้ านบาท ที�เหลือจะเป็ นเงิน ทุน หมุน เวี ย น และค่ า บริ ห ารจัด การอี ก กว่ า 160 ล้ า นบาทต่อ ปี และค่า จัด ตัง� สํ า นัก งาน เป็ นต้ น [P]

The Power LOGISTICS

29


THE POWER LOGISTICS MAGAZINE CSR

มูลนิธิเอสซีจีชวนวัยทีน ทำความดีทะลุตำรา กับโครงการปญญาชน คนทำดี ป 3

มูลนิธเิ อสซีจี องคกรสาธารณกุศลทีม่ พ ี นั ธกิจในการดำเนินงานดานพัฒนา ทรัพยากรมนุษย โดยนอกจากจะมุงสงเสริมใหเยาวชนเปน “คนเกง” ดวยการ สนับสนุนทุนศึกษาทั้งสายสามัญ และสายอาชีวะ มูลนิธิฯ ยังให้ ความส�าคัญกับการเป็ น “คนดี” โดยปลูกฝั งจิตส�านึกรับผิดชอบต่อสังคมควบคู่กนั ไปด้ วย โดยเฉพาะกับกลุม่ นิสติ นักศึกษา เพราะอยู่ ในวัยที่ก�าลังเติบโตไปเป็ นก�าลังส�าคัญของชาติใน อนาคต โครงการ “ปั ญญาชน คนท�าดี” จึงเกิดขึ ้น เพื่อเปิ ดโอกาสให้ นิสิต นักศึกษาที่ก�าลังเรี ยนอยู่ใน ระดับปริญญาตรี หรื อประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ ง (ปวส.) ทัว่ ประเทศรวมตัวกัน 5 คนขึ ้นไปมาพลิก

ต�าราท�าความดี น�าเสนอโครงการเพื่อสังคมโดยมี เงื่ อ นไขหลัก ว่ า โครงการที่ เ สนอนั น้ จะต้ องเป็ น โครงการที่น้องๆ น�าความรู้ที่สอดคล้ องกับสาขาวิชา หรื อหลักสูตรที่น้องๆ ก�าลังศึกษาอยูม่ าท�าประโยชน์ ให้ แก่สงั คม ส�าหรับ 20 โครงการที่ผ่านการคัดเลือก จะได้ รั บ งบประมาณสนั บ สนุ น เพื่ อ ด� า เนิ น งาน ระหว่างเดือนกันยายน-พฤศจิ กายน 2558 ด้ วย วงเงินสูงสุดโครงการละ 100,000 บาท

สุวิมล จิวาลักษณ กรรมการและผูจัดการ มูลนิธิเอสซีจี

30

The Power LOGISTICS


C S R T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

การส่งเสริ มความเป็ นผู้มีจิตอาสาให้ หยัง่ ราก ลึกในใจคนรุ่ นใหม่ เป็ นเสมือนพันธกิจของมูลนิธิ เอสซีจีในการสร้ างคนคุณภาพให้ แก่สงั คม เพราะ สังคมต้ องการคนเก่งและดี ซึง่ หมายถึง คนที่ไม่ได้ เก่งในต�าราเพียงอย่างเดียวเท่านันแต่ ้ เป็ นคนที่มีจิต สาธารณะควบคู่ไปด้ วย ส�าหรับน้ องๆ ที่สนใจเข้ า ร่ ว มเสนอโครงการปั ญ ญาชน คนท�า ดี สามารถ

เข้ าไปดู ก ติ ก าเงื่ อ นไขการสมั ค ร พร้ อมดาวน์โหลดใบสมัครที่ www. scgfoundation.org สอบถามเพิ่ม เติม โทร. 0-2586-2110 หรื อ Facebook ปั ญ ญาชนคนท� า ดี เปิ ดรั บ สมั ค รแล้ วตั ง้ แต่ วั น นี ้ - 15 กรกฎาคม 2558 “มูลนิ ธิฯ ไม่ได้ หวังผลเลิศว่า น้ องๆ จะต้ องเสนอโครงการที่ สมบูรณ์ แบบที่ สุด เพราะหัวใจส�าคัญ คือการเห็นน้ องๆ เยาวชนคนรุ่ น ใหม่มีจิตส�านึกรับผิดชอบต่อสังคม ช่วยเหลือสังคม ตามก�าลังความรู้ ความสามารถของตน เพราะเรา เชื่ อ มั่ น ว่ า ไม่ มี ก ารพั ฒ นาใดจะยั่ ง ยื น ไปกว่ า การพัฒ นาทรั พ ยากรคน” สุ วิ ม ล จิ ว าลั ก ษณ์ กรรมการและผู้ จั ด การมู ล นิ ธิ เ อสซี จี กล่า ว ทิ ้งท้ าย

The Power LOGISTICS

31


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E S P E C I A L R E P O R T

โดย : ชัยวัฒน์ เกษสม

ถึงเวลา!

ทบทวนรถเมล-รถไฟฟรี หวังเขาถึงกลุมเปาหมายที่แทจริง

ถือวาเปนนโยบายประชา นิยมโดยแท สำหรับมาตราการ ลดคาครองชีพของประชาชน ที่มีมาในรัฐบาลหลายยุคหลาย สมัย แตความครอบคลุมไปยัง ประชาชนทั่วทั้งประเทศไทยนั้น ในสวนนี้ถือวายังไมสามารถ ตอบสนองได 32

The Power LOGISTICS

ล่าสุด ครม. ที่มี “พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา” เป็ นนายกรัฐมนตรี มอบหมายให้ ก.คมนาคมทบทวนมาตรการรถเมล์-รถไฟฟรี เพื่อหาแนวทางดูแลช่วยเหลือประชาชน เฉพาะกลุ่ม อาทิ กลุ่มคนชรา พิการ ทหารผ่านศึก นักเรี ยน โดย “พล.ต.สรรเสริ ญ แก้ วก�าเนิด” รองโฆษกประจ�าส�านักนายกรัฐมตรี กล่าวว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี หรื อ ครม. เห็นชอบกรอบงบประมาณปี 2559 ส�าหรับการอุดหนุนค่าบริ การของการรถไฟ แห่งประเทศไทย หรื อ ร.ฟ.ท. วงเงิน 2,991 ล้ านบาท ขณะที่ รถเมล์องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ หรื อ ขสมก. วงเงิน 1,898 ล้ านบาท และ เมื่อท�าการส�ารวจความเห็นของประชาชน พบว่าคนกรุงเทพฯ ร้ อยละ 94 ไม่เคยใช้ บริ การ รถไฟฟรี และร้ อยละ 89 ไม่เคยใช้ บริ การรถเมลล์ฟรี จงึ เห็นว่าเป็ นการใช้ บริ การเพียงบาง กลุม่ เท่านัน้ ส�าหรับเกณฑ์การเข้ าถึงมาตราการดังกล่าวนัน้ “สร้ อยทิพย์ ไตรสุทธิ์” ปลัดกระทรวง คมนาคม เปิ ดเผยภายหลังเป็ นประธานประชุมแนวทางการด�าเนินมาตรการลดค่าครอง ชีพประชาชนด้ านการเดินทางรถเมล์ฟรี -รถไฟฟรี ในเกณฑ์ใหม่ที่จะเริ่ มใช้ วนั ที่ 1 สิงหาคม


S P E C I A L R E P O R T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

2558 ว่า ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ ทบทวนเส้ น ขีดความยากจนของผู้มีรายได้ น้อยที่ได้ รับสิทธ์ การใช้ บริ การรถเมล์ฟรี -รถไฟฟรี ใหม่จากเดิม ตัวเลขเส้ นขีดความยากจนอยู่ที่ 2,422 บาทต่อ คนต่อเดือน โดยให้ อิงตามมาตรฐานสากล และ ครัวเรื อนต่างขนาดต่างพื ้นที่ ให้ สะท้ อนค่าครอง ชีพขันต� ้ ่าที่แท้ จริ ง นอกจากนี ้ ยังรวมถึงคุณสมบัติของผู้ที่มี รายได้ น้อยที่จะต้ องมาลงทะเบียนเพื่อรับสิทธ์ ให้ ได้ ข้อสรุ ปในเดือนมีนาคมนี ้ ก่อนที่จะมีการ ประกาศคุณสมบัติผ้ รู ับสิทธิ์อย่างเป็ นทางการ และเสนอให้ ค ณะรั ฐ มนตรี พิจ ารณาในเดื อ น เมษายน อย่างไรก็ตาม ส�าหรับส่วนหน่วยงานทีจ่ ะรับ ผิดชอบในการท�าหน้ าที่เป็ นผู้รับลงทะเบียน ได้ มอบหมายให้ ท างส� า นัก งานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรื อ สภาพัฒน์ เป็ นผู้ด�าเนินการ ก่อนหน้ านี ้ เมื่อวันที่ 27 ม.ค.58 ที่ผ่านมา “พล.อ.อ.ประจิ น จั่น ตอง” รั ฐ มนตรี ว่ า การ กระทรวงคมนาคม เปิ ดเผยว่า ที่ประชุม ครม. ได้ เ ห็ น ชอบให้ มี ก ารยกเลิ ก โครงการรถเมล์ -

รถไฟฟรี โดยมีผลตังแต่ ้ วนั ที่ 1 ส.ค 58 เป็ นต้ น ไป พร้ อมกับให้ กระทรวงคมนาคมไปพิจารณา หาแนวทาง ช่วยเหลือลดค่าครองชีพแก่ผ้ มู ีราย ได้ ต�่าใหม่ เพราะที่ผ่านมา โครงการนี ้มีการน�า ภาษี ของคนส่วนรวมไปอุดหนุนให้ แก่คนเฉพาะ กลุ่ม อีกทังยั ้ งมีคนที่ไม่มีรายได้ ต�่า รวมถึงนัก ท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่งไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายของ โครงการมาใช้ บริ การรถเมล์ รถไฟ ฟรี จ�านวน มาก โดยในส่วนช่วงรอยต่อของโครงการ รถเมล์ รถไฟฟรี ระหว่างวันที่ 1 ก.พ.- 31 ก.ค. 58 ครม. เห็นชอบ ให้ ผอ่ นผันใช้ โครงการแบบชัว่ คราวต่อ ไปอีก 6 เดือน เพื่อให้ เวลากระทรวงคมนาคม พิจารณาหาแนวทาง ช่วยลดค่าครองชีพแก่ผ้ มู ี รายได้ ต�่ า ให้ ตรงกลุ่ ม เป้ าหมาย และมี ประสิทธิภาพมากขึ ้น ก่อนเริ่ มใช้ แนวทาง ลดค่า ครองชี พ ด้ า นค่ า โดยสารใหม่ ตัง้ แต่ วัน ที่ 1 ส.ค.เป็ นต้ นไป ส� า หรั บ แนวทางการลดค่ า ครองชี พ ใหม่ กระทรวงคมนาคมจะใช้ เวลาส�ารวจ และแยก ประเภทกลุม่ ประชาชนจากทะเบียนราษฎร์ ของ กระทรวงมหาดไทยประมาณ 2 เดื อ น เพื่ อ

ก�าหนดแนวทาง การช่วยเหลือเฉพาะกลุม่ เช่น กลุม่ เยาวชนเด็กนักเรี ยน กลุม่ ผู้สงู อายุที่เกิน 60 ปี ขึ ้นไป กลุ่มผู้พิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัว เองได้ รวมถึงกลุม่ ผู้ได้ รับสิทธิพิเศษอยูแ่ ล้ ว เช่น ทหารผ่านศึก ทังนี ้ ้ หลังจากนี ้ช่วง 4 เดือนที่เหลือ จะหา วิธีพร้ อมกับแนวทางปฏิบตั ิว่า ควรใช้ วิธีแสดง สิทธิ เพื่อรับการช่วยเหลือจึงเหมาะสม เช่น ใช้ เป็ นบัต รผู้สูง อายุ บัต รนัก เรี ย น หรื อ ท� า บัต ร อิเล็กทรอนิกส์ขึ ้นมาใหม่ กระทรวงคมนาคมได้ ท� า เรื่ อ งเสนอไปกระทรวงการคลัง ซึ่ง เป็ นผู้ สนับสนุนงบประมาณ ลดค่าครองชีพ เพื่อเสนอ ขอให้ ครม.พิ จ ารณายกเลิ ก เพราะเห็ น ว่ า โครงการนี ม้ ี จุด อ่ อ น และกระทรวงจะไปหา แนวทางใหม่ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ได้ ต รงกลุ่ม เป้ า หมาย “จากนี ้จะต้ องไปคิดว่า จะช่วยเหลือแบบใด เช่น จะต้ องมีการแสดงสิทธิ หรื อบัตรเพื่อแสดง ว่าเป็ นผู้ที่ได้ รับการช่วยเหลือจริ งๆ ถึงจะให้ ขึ ้น รถได้ ฟรี หรื อได้ สว่ นลดค่าโดยสาร 50% แต่ยงั ไม่ได้ สรุปจะต้ องหาข้ อมูล เพื่อน�าไปเสนอ ครม. พิจารณาอีกครัง้ ” รมว.คมนาคม กล่าว [P]

The Power LOGISTICS

33


THE POWER LOGISTICS MAGAZINE CEO TALK

โดย : กองบรรณาธิการ

“มอบประสบการณระดับคุณภาพ”

กุญแจไขความสำเร็จ ‘อิตัลไทย’ กลุมบริษัทอิตัลไทย กลุมธุรกิจสำคัญกลุมหนึ่งในวงการธุรกิจอุตสาหกรรม และวงการธุรกิจพัฒนาโครงการเพื่อการพาณิชยของประเทศไทยระยะเวลา 60 ป กลุมบริษัทอิตัลไทยตั้งเปาผลักดันยอดขายธุรกิจในเครือใหเติบโตขึ้น 2 เทา ภายในระยะเวลา 5 ป ใหมียอดขายตอปอยูที่ 25,800 ลานบาท เสริมสรางความแข็งแกรงใหกบั สถานภาพทางการแขงขันของกลุม บริษทั อิตลั ไทย ในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ที่กำลังจะเกิดขึ้น พรอมเตรียมรับ ประโยชนจากโอกาสที่จะเกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของประเทศกลุมเออีซี ยุทธชัย จรณะจิตต์ ประธานกรรมการและ ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหาร กลุ่มบริษัท อิตัลไทย เปิ ดเผยว่า ในโอกาสฉลองครบรอบ 60 ปี การก่อตัง้ กลุม่ บริ ษัทอิตลั ไทย เรามุ่งมัน่ ตังใจที ้ ่จะเสริ มสร้ าง องค์กรให้ แข็งแกร่งมากยิ่งขึ ้น เพื่อก้ าวไปในอนาคต ข้ างหน้ าอย่างมัน่ คงแข็งแรง โดยจะเร่ งเครื่ องการ เติบโตของธุรกิจ พร้ อมทุ่มเงินอีก 11,000 ล้ านบาท ลงทุ น ในส่ ว นของศูน ย์ บ ริ ก าร สิ่ ง อ� า นวยความ สะดวกใหม่ๆ และโรงงาน ตลอดจนการบริการใหม่ๆ รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพองค์กร ซึง่ ทังหมดนี ้ ้ เราจะเดิ น หน้ า ท� า ให้ เ ห็ น ผลตัง้ แต่ ปี นี ไ้ ปจนถึ ง ปี 2562 ธุรกิจของกลุม่ บริษัทอิตลั ไทย มีอยูส่ องประเภท ธุรกิจในสัดส่วนพอๆ กัน ซึง่ ทังสองประเภทธุ ้ รกิจนี ้ ถื อเป็ นรากฐานที่ส�าคัญของเศรษฐกิจไทย ได้ แก่ ‘กลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเครื่ อง จักรกลและบริ การ ด้ า นวิ ศ วกรรม’ ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ โครงการพัฒ นา โครงสร้ างพื ้นฐานภายในประเทศ และการพัฒนาประเทศไทย และ ‘กลุ่มธุรกิจ อุตสาหกรรมบริ การและไลฟ์สไตล์’ ที่เชื่อมโยงกับ ภาคการท่องเที่ยวของไทยซึง่ สามารถแข่งขันได้ กบั ทัว่ โลก โดยบริ ษัทจะมุ่งเน้ นให้ ความส�าคัญกับการ เติบโตของธุรกิจทังสองส่ ้ วนเท่าเทียมกัน “เรามีธุรกิจจ�าหน่ายเครื่ องจักรกลและบริ การ หลัง การขายที่ แ ข็ ง แกร่ ง รวมทัง้ การเป็ นตัว แทน จ�าหน่ายในประเทศไทยให้ กบั แบรนด์วอลโว่ (Volvo) ทาดาโน่ (Tadano) และเอสดี แ อลจี (SDLG) ยอดขายของธุ ร กิ จ ในส่ว นนี ป้ ั จ จุบัน อยู่ที่ 4,000 ล้ านบาท ซึ่งเราตังเป ้ ้ าจะผลักดันให้ เติบโตขึ ้นเป็ น 8,000 ล้ านบาทภายในปี 2562 และเพิ่มส่วนแบ่ง

34

THE POWER LOGISTICS

ตลาดขึ ้นจาก 14% เป็ น 20% โดยจะเน้ นให้ ความ ส�าคัญในเรื่ องการให้ บริ การที่เป็ นเลิศแก่ลกู ค้ าของ เราซึ่ง เป็ นผู้รับ เหมาชัน้ น� า ของไทย” คุณ ยุทธชัย กล่าว คุ ณ ยุ ท ธชั ย กล่ า วว่ า ในส่ ว นของ ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมเครื่ องจักรกล บริ ษัทมีกลยุทธ์ ในการ ให้ บริ การที่เหนือระดับ โดยอาศัยการด� าเนินงาน สามส่วนหลักๆ คือ ส่วนแรกเป็ นการด�าเนินกลยุทธ์ แบบหลากหลายแบรนด์ ซึง่ จะสามารถตอบสนอง ความต้ องการที่หลากหลายในธุรกิ จการก่อสร้ าง และการล�าเลียงวัสดุ ได้ อย่างครบวงจร อย่างเช่น อุปกรณ์ก่อสร้ างแบรนด์วอลโว่ เหมาะกับงานหนักๆ เช่น การท�าเหมือง ซึง่ ต้ องใช้ รถขุดขนาดใหญ่ กับรถ ตักล้ อยางขนาด 30 ตันขึ ้นไป ส่วนรถเครนแบรนด์ ทาดาโน่ ซึง่ เป็ นผู้น�าอยู่ในตลาดรถเครนในปั จจุบนั เป็ นที่ นิ ย มมากที่ สุ ด ในการใช้ งานขนย้ ายหรื อ ล�าเลียงวัสดุ และอุปกรณ์กอ่ สร้ างแบรนด์เอสดีแอลจี ของเรา เหมาะเป็ นพิ เ ศษกับ อุต สาหกรรมทั่ว ไป ที่มองหาเครื่ องจักรราคาเหมาะสม เช่น สวนยาง โรงสี และภาคเกษตรกรรม ซึ่งจากจุดแข็งในการ ท�าตลาดของแบรนด์เอสดีแอลจี ท�าให้ แบรนด์เอสดี แอลจีขยับส่วนแบ่งตลาดในประเทศไทยจากอันดับ 7 ขึน้ มาอยู่อันดับ 2 ในช่วงเวลาสองปี ที่ ผ่านมา ท�าให้ เราสามารถครองส่วนแบ่งทางการตลาด อยูท่ ี่ 20% ของตลาดรถตักล้ อยางที่มีมลู ค่าตลาด 1,000 ล้ านบาท อิ ตั ล ไทยจะขยายความหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ที่น�าเสนอภายใต้ แบรนด์เอสดีแอลจีให้ เพิ่มมากขึ ้น โดยจะแนะน�ารถขุดขนาดเล็ก รถเกรด รถบด และรถตักแบ็คโฮรุ่ นใหม่ๆ

“กลยุทธ์ที่สองของเราเพื่อกระตุ้นยอดขายและ เพิ่มส่วนแบ่งตลาด คือการลงทุนอย่างจริ งจังเพื่อ ขยายเครื อข่ายทัว่ ประเทศให้ ครอบคลุมมากยิ่งขึ ้น อีกเท่าตัว จากปั จจุบนั ที่มีอยู่ 14 สาขา เพิ่มเป็ น 30 สาขาภายในปี 2562 ซึ่งจะท� าให้ เราสามารถให้ บริ การลูกค้ าได้ ดียิ่งขึ ้น ด้ วยความสามารถในการให้ บริ ก ารหลัง การขายอย่า งรวดเร็ ว จากการมี ช่า ง ผู้เชี่ยวชาญและชิ ้นส่วนอะไหล่ตา่ งๆ พร้ อมส�าหรับ บริ การ เพื่อให้ มั่นใจว่าเครื่ องจักรจะอยู่ในสภาพ พร้ อมท�างานตลอดเวลา นอกจากนี ้เราได้ เข้ าไปเปิ ด สาขาในประเทศลาว ในนครเวียงจันทน์ และปากเซ รวมทังได้ ้ จดั ตังหน่ ้ วยบริ การในพื ้นที่ในไซยะบุรีและ หงสา เพื่อสนับสนุนลูกค้ าในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ และการก่อสร้ างโรงไฟฟ้าพลังงานน� ้า โดยใน ปี นี ้ เรามี แ ผนจะเปิ ดสาขาใหม่ใ นจัง หวัด นครสวรรค์ สุรินทร์ และสกลนคร” คุณยุทธชัย กล่าว ส่ ว น กลยุ ท ธ์ ที่ ส าม คื อ การจัด ระบบที่ จ ะ ช่วยให้ เราสามารถท� างานประสานกับผู้รับ เหมา รายใหญ่สดุ ในประเทศได้ อย่างใกล้ ชิด ซึง่ จะท�าให้ เรากลายเป็ นผู้ช่วยที่ไว้ วางใจได้ อย่างสมบูรณ์แบบ และเป็ นส่วนหนึง่ ที่องค์กรของลูกค้ าพึง่ พาได้ ตลอด “ในส่วนธุรกิจบริ การด้ านวิศวกรรมของเรา เรา ตัง้ เป้ าหมายผลัก ดัน ยอดขายให้ เ ติ บ โตขึ น้ จาก 3,200 ล้ านบาท เป็ น 7,600 ล้ านบาทภายในเวลา 5 ปี โดยปั จจัยส�าคัญที่จะเป็ นตัวช่วยผลักดันการ เติบโตนี ้ คือชื่อเสียงของธุรกิจวิศวกรรมของเรา ที่ เราได้ สร้ างขึ ้นในฐานะผู้รับเหมาระดับโลก ที่เชื่อถือ ได้ และมีผลงานมาตรฐานสูงมากทังในด้ ้ านคุณภาพ และความปลอดภัย จากชื่ อเสียงที่ เป็ นที่ ยอมรั บ ดังกล่าว ท�าให้ เราสามารถยกระดับตัวเองขึ ้นจาก การเป็ นผู้รับเหมาด้ านวิศวกรรมที่ยอดเยี่ยม มาเป็ น ผู้รับเหมาที่ให้ บริ การแบบครบวงจร เราก�าลังขยาย ธุรกิจเข้ าไปในตลาดเซคเตอร์ ใหม่ๆ เพิ่มเติมจาก ฐานลูกค้ าเดิมในกลุ่มวิศวกรรมเครื่ องจักรกล ไปสู่ ลูกค้ าในกลุม่ งานไฟฟ้าและวิศวกรรมโยธา” คุณ ยุทธชัย กล่าวว่า พลังงานทดแทนอย่าง โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์และพลังลม สร้ างโอกาส ทางธุรกิจที่ส�าคัญ ซึ่งบริ ษัทตัง้ เป้าเกินหน้ าสู่การ เป็ นผู้รับเหมาก่อสร้ างโรงไฟฟ้าพลังงานทางเลือก ในประเทศไทย ที่เป็ นตัวเลือกที่ลูกค้ าต้ องการใช้


C E O T A L K T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

บริ การ ภายในระยะเวลา 5 ปี ข้ างหน้ า เมื่อถามถึงกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมบริ การและ ไลฟ์ สไตล์ คุณ ยุท ธชัย เปิ ดเผยว่ า กลุ่ม ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมบริ การและไลฟ์สไตล์’ ของกลุม่ บริ ษัท อิตลั ไทย เป็ นกลุม่ ธุรกิจที่เราตังเป ้ ้ าหมายการเติบโต แบบก้ าวกระโดด ด้ วยแผนการขยายธุรกิจ ในต่าง ประเทศ ซึง่ จะท�าให้ จ�านวนโรงแรมในเครื อ ออนิกซ์ ฮอสพิทาลิตี ้กรุ๊ป ของกลุม่ อิตลั ไทย เพิ่มขึ ้นจาก 38 แห่งในปั จจุบนั เป็ นมากกว่า 100 แห่ง ด้ วยจ�านวน ห้ องพัก 18,500 ห้ อง ใน 10 ประเทศภายในระยะ เวลา 5 ปี โดยในปี 2558 นี ้จะมีการเปิ ดโรงแรมใหม่ ในประเทศมัลดีฟส์ มาเลเซีย ศรี ลงั กา และจีน กลุม่ บริ ษัทอิตลั ไทยด�าเนินธุรกิจ ‘โรงแรมและ รี สอร์ ท’ 3 แบรนด์ คือ แซฟฟรอน (Saffron) แบรนด์ ระดับลักชัวรี่ อมารี (Amari) แบรนด์ส�าหรับตลาด ระดับบน และ โอโซ่ (Ozo) แบรนด์ ส�าหรั บการ บริ การเฉพาะอย่าง ธุรกิจอื่นๆ ในกลุม่ ธุรกิจบริ การ และไลฟสไตล์ ได้ แก่ ‘เซอร์ วิสอพาร์ ทเมนท์’ ซึง่ ให้ บริ การภายใต้ แบรนด์ ชามา ลั ก ซ์ (Shama Luxe) ชามา (Shama) และ ชามา ไลท์ (Shama Lite) นอกจากนันยั ้ งมีธุรกิจ ‘สปา’ ภาย ใต้ แบรนด์ มาย (Maai) ส�าหรับ ตลาดลักชัวรี่ และ บรี ซ (Breeze) ส�าหรับตลาดระดับบน “กุญแจสู่ความส�าเร็ จของเรา อยู่ที่การมอบประสบการณ์ ระดับ คุณภาพ ที่ได้ มาตรฐาน และคง เส้ นคงวา ให้ กั บ ลู ก ค้ าที่ ม าใช้ บริ การในแบรนด์ตา่ งๆ ของเราทุก แบรนด์ นั่นเป็ นเหตุผลท�าให้ เรา พัฒ นาและยกระดับ มาตรฐาน ความเป็ นเสิศในการด�าเนินงาน ของเราอย่างไม่หยุดยัง้ ไม่ว่าจะ เป็ นในส่วนของระบบไอที ส่วน งานขาย และโครงสร้ างในการ การบริ หารงานและด�าเนินงาน” คุณยุทธชัย กล่าว [ P ]

ยุทธชัย จรณะจิตต ประธานกรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร กลุมบริษัท อิตัลไทย THE POWER LOGISTICS

35


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E S E C R E T S I N S U R A N C E

ทีเอ็มบี ตอกยํ้าประสิทธิภาพ เปดหลักสูตรติวเขม Lean Supply Chain

ธนาคารทหารไทย หรือ ทีเอ็มบี ตอกยํ้าการเพิ่มประสิทธิภาพธุรกิจทั้ง ซัพพลายเชนเปนสิง่ สำคัญ และไดผลลัพธมากกวาแคการพัฒนาประสิทธิภาพ ภายในองคกรตนเอง จึงมุงมั่นเพิ่มขีดความสามารถของเอสเอ็มอีดวย หลักสูตรเขมขนการเพิ่มประสิทธิภาพธุรกิจที่สามารถนำความรูไปปฏิบัติให เกิดผลจริง ลาสุดจับมือ BDMS เครือขายดานสุขภาพ และเครือโรงแรม และรีสอรทเซ็นทารา จัดอบรมกลุมผูประกอบการอุตสาหกรรมโรงแรมและ สุขภาพ ภายใตชื่อโครงการใหม “Lean Supply Chain by TMB” บุญทักษ์ หวังเจริ ญ ประธานเจ้ าหน้ าที่ บริ ห าร ที เ อ็ ม บี กล่ า วว่ า โครงการ Lean Supply Chain by TMB (ชื่ อ เดิ ม TMB Efficiency Improvement for Supply Chain) ได้ เปิ ดตัวตังแต่ ้ กลางปี 2556 และผ่านการอบรม ไปแล้ ว 4 รุ่ น น� าร่ องด้ วยผู้ประกอบการธุรกิ จ อาหาร และสินค้ าอุปโภค โดยมีผ้ ูเข้ าร่ วมแล้ ว กว่า 350 บริ ษัท ซึ่งได้ รับผลตอบรับจากผู้เข้ า อบรมเป็ นอย่างดี ในจ�านวนนี ้มีจ�านวน 14 บริษัท ที่ได้ ผ่านการอบรม Green Belt รุ่ นแรก และ สามารถน�าความรู้ ไปใช้ ปรั บปรุ งประสิทธิ ภาพ กั บ องค์ ก รตนเองได้ จริ ง ช่ ว ยลดต้ นทุ น และ เพิ่ ม รายได้ แ ล้ ว กว่า 70 ล้ า นบาท จากความ ส�าเร็ จดังกล่าวปี นี ้เราจึงขยายการอบรมไปยังผู้ ประกอบการสินค้ าและบริ การด้ านสุขภาพและ การโรงแรม ภายใต้ ชื่อใหม่ “Lean Supply Chain by TMB” ซึ่งชื่อใหม่นีส้ ื่อถึงหลักสูตรที่เข้ มข้ น ด้ วยเนื ้อหาในการเพิ่มประสิทธิภาพทังซั ้ พพลาย เชนผ่ า นเทคนิ ค Lean Six Sigma เพื่ อ ให้ โครงการมีเอกลักษณ์ที่ชดั เจนและเป็ นที่จดจ�าได้ ง่ายยิ่งขึ ้น อุตสาหกรรมบริ การ เป็ นอุตสาหกรรมที่มี

36

The Power LOGISTICS

บุญทักษ์ หวังเจริญ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ทีเอ็มบี

ความส� า คั ญ ต่ อ เศรษฐกิ จ ของ ประเทศ เป็ นธุรกิจที่เจริ ญเติบโต ได้ ดี และสร้ างเม็ ด เงิ น ให้ กั บ ประเทศได้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ประกอบด้ วยอุตสาหกรรมการท่อง เที่ ย วและการบริ การสุ ข ภาพ ที่ ส ร้ างรายได้ ใ ห้ กับ ประเทศรวม แล้ วถึง 1.30 ล้ านล้ านบาท จาก จ�านวนนักท่องเที่ยวต่างชาติกว่า 26.7 ล้ านคน ผู้ประกอบการเอสเอ็ มอี ที่ เ กี่ ย วข้ องกั บ ธุ ร กิ จ บริ ก าร สุขภาพและท่องเที่ยว และรวมถึง ธุรกิจต่อเนื่องที่เป็ น supply chain ( ทั ง้ ที่ จ ด ท ะ เ บี ย น แ ล ะ ไ ม่ ไ ด้ จดทะเบียน เช่น ร้ านค้ าสะดวกซื ้อ ร้ านขายยา ร้ านขายอาหาร บริ การ สุ ข ภาพ สปา ธุ ร กิ จ บัน เทิ ง ) มี จ� า นวนกว่ า 2 ล้ านราย เป็ น กลุ่ ม ที่ มี อั ต ราการเติ บ โตสู ง มี ซัพพลายเชนที่กว้ างและยาว โดย มีมลู ค่าประมาณ 6 แสนล้ านบาท หรื อคิดเป็ นสัดส่วน 5% ของ GDP


S E C R E T S I N S U R A N C E T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

จากสถิติพบว่าต้ นทุนของธุรกิจนี ้มีสดั ส่วนสูงถึง 64% หากท�าให้ ต้นทุนลดลงได้ 1% ก็จะท�าให้ GDP ของประเทศเพิ่มขึ ้นถึง 0.03% ดังนันที ้ เอ็มบีจึงมีความตังใจจั ้ ดอบรมผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมนี ้เพราะนอกจากจะช่วยผู้ประกอบ การทัง้ ซัพพลายเชนให้ มีประสิทธิ ภาพเพิ่มขึน้ แล้ ว ยังตอบโจทย์ยทุ ธศาสตร์ ของประเทศในการ ก้ าวสูศ่ นู ย์กลางการท่องเที่ยวและบริ การสุขภาพ ของอาเซียนอีกด้ วย ด้ าน ณรงค์ ฤ ทธิ์ กาละพุ ฒ กรรมการ คณะผู้บริ หาร บริ ษัท กรุ งเทพดุสิตเวชการ จ�ากัด (มหาชน) หรื อ BDMS กล่าวว่า BDMS มีโรงพยาบาลในเครื อข่าย 39 แห่ง ได้ ให้ ความ ส�าคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพในองค์กร โดย ได้ ท�าการพัฒนาประสิทธิภาพมาโดยตลอด ซึ่ง เป็ นพื ้นฐานของการสร้ างเครื อข่ายได้ อย่างแข็ง แรงในปั จจุ บั น BDMS เห็ น ว่ า โครงการนี ้ สนับสนุนการพัฒนาทังซั ้ พพลายเชน ซึง่ ตรงกับ เจตนารมณ์ที่ต้องการพัฒนาทังองค์ ้ กร คูค่ ้ าและ ซัพพลายเออร์ ให้ มีคณ ุ ภาพทังในเรื ้ ่ องระบบการ ท�างาน สินค้ า และการบริ การ เพราะสุดท้ ายจะ เกิดผลประโยชน์ร่วมกัน โครงการนี ้เป็ นโครงการ ที่ดีและให้ ประโยชน์กบั ผู้ประกอบการ SMEs ให้ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขัน และเติ บ โตได้ อย่างยัง่ ยืน น�าประเทศไทยสูก่ ารเป็ นศูนย์กลาง

บริ การด้ านสุขภาพในเอเชีย” ธีระเกียรติ จิราธิวัฒน์ รองประธานฝ่ าย จัดซือ้ โรงแรมและรี สอร์ ทในเครื อเซ็นทารา กล่าวว่า ในปี 2558 การท่องเที่ยวจัดแคมเปญ “การท่อ งเที่ ย ววิ ถี ไ ทย” และได้ ตัง้ เป้ านัก ท่อ ง เที่ยว 28 ล้ านคน จะสร้ างรายได้ 2.2 ล้ านล้ าน บาท จะช่ ว ยสร้ างการดึ ง ดู ด การท่ อ งเที่ ย ว ประเทศไทยให้ คกึ คักโรงแรมและรี สอร์ ทในเครื อ เซ็นทาราเป็ นธุรกิจบริ การ ที่พร้ อมให้ บริ การกับ ท่องท่องเที่ยวทังในและต่ ้ างประเทศ จึงให้ ความ ส�าคัญในเรื่ องคุณภาพของการบริ การเป็ นอันดับ ต้ นๆ เพื่อให้ ลกู ค้ าเกิดความพึงพอใจมากที่สดุ โดยปรับปรุ งประสิทธิ ภาพกระบวนการภายใน อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ ง ปั จจั ย หนึ่ ง ที่ ส ามารถเพิ่ ม ประสิทธิภาพให้ กบั การบริ การของเรา คือ การ คัด เลื อ กวัส ดุ อุ ป กรณ์ จ ากซัพ พลายเออร์ ที่ มี ประสิทธิภาพ เราจึงให้ ความส�าคัญกับการพูดคุย กับผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ที่จะเข้ ามาเป็ นคู่ค้า ของโรงแรมในเรื่ องการเพิ่มประสิทธิภาพเพื่อให้ เกิดผลตลอดทังซั ้ พพลายเชน อีกปั จจัยหนึง่ คือ ธุรกิจโรงแรมเป็ นธุรกิจตามฤดูกาล การแชร์ แผน งานกันอย่างใกล้ ชิด เช่น การวางแผนการจัดเก็บ สิ น ค้ า คงคลัง อย่ า งเป็ นระบบเพื่ อ ให้ สิ น ค้ า มี คุณภาพตรงกับสเปคที่ตกลงกันไว้ และเป็ นไป ตามระยะเวลาที่ก�าหนด หรื อส่งได้ บ่อยตามที่

เราต้ องการ ส�าหรับคู่ค้าเค้ าก็สามารถวางแผน ก า ร จั ด ก า ร ภ า ย ใ น ข อ ง ต น เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสูง สุด ซึ่ง จะส่ ง ผลดี ไ ปตลอดทัง้ ซัพพลายเชน ทังนี ้ ้ โครงการ “Lean Supply Chain by TMB” เป็ นโครงการอบรมที่มีความแตกต่างจาก หลักสูตรทั่วๆ ไป คือ เนือ้ หามุ่งเน้ นที่การเพิ่ม ประสิท ธิ ภ าพทัง้ ซัพ พลายเชน สามารถน� า ไป ประยุกต์ใช้ จนเกิดผลลัพธ์ อย่างเป็ นรู ปธรรม มี องค์ ก รชั น้ น� า ในแต่ ล ะอุ ต สาหกรรมร่ ว มเป็ น พันธมิตรในการถ่ายทอดความรู้ และกรณีศกึ ษา และสามารถสร้ างคอนเนคชัน่ และต่อยอดธุรกิจ กั บ ผู้ เข้ าร่ ว มโครงการที่ อ ยู่ ใ นซั พ พลายเชน เดียวกัน ส�าหรับรุ่นที่ 5 ที่จะเปิ ดอบรมผู้ประกอบ การสิ น ค้ าและบริ ก ารด้ านสุ ข ภาพและการ โรงแรม ธนาคารฯ ได้ รับเกียรติจากบริ ษัทในเครื อ BDMS และโรงแรมและรี สอร์ ทในเครื อเซ็นทารา มาร่ วมเป็ นพันธมิตรหลักในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ และกรณี ศึ ก ษา พร้ อมแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์กบั ผู้ประกอบการอีกด้ วย ส�าหรับผู้ประการต้ องการเข้ าร่ วมโครงการ Lean Supply Chain by TMB สามารถสมัครได้ ตังแต่ ้ วนั ที่ 17 มีนาคม ถึง 24 เมษายน 2558 ผู้ประกอบการสนใจสามารถสอบถามข้ อมูลเพิ่ม เติมได้ ที่ 087-5757-000 หรื อ 02-299-1855 [P]

The Power LOGISTICS

37


T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E L O G I S T I C S T R A D E

‘บาวแดง’ เสริมนวัตกรรมการผลิต ขยายฐานสงออกสูกลุม

CLMV

คาดว่าในประเทศไทยคงไม่มีใครไม่ร้ ูจกั ต�านานเพลงเพื่อชีวิตที่ยืนยงคงกระพันมามากกว่า 30 ปี อย่าง “คาราบาว” โดยเฉพาะนักร้ องน�าที่ถกู เปรี ยบเปรยว่าเป็ นต�านานที่ยงั มีลมหายใจ อย่าง “แอ๊ ด คาราบาว” ไม่ว่าจะเป็ นกลุม่ ชนชันไหนย่ ้ อมต้ องเป็ นแฟนเพลงของวงหัวควายวงนี ้ และก็แน่นอนเป็ นอย่างยิง่ ว่า “เครื่ องดืม่ คาราบาวแดง” เป็ นแบรนด์เครื่ องดืม่ ชูก�าลังที่มี “แอ๊ ด คาราบาว” เป็ นตัวชูโรง บุกเบิกสร้ างธุรกิจนี ้มาตังแต่ ้ ปี 2545 ก้ าวย่างอย่างมัน่ คงจนผงาดขึ ้นมา เป็ นเบอร์ 2 ในวงการเครื่ องดื่มชูก�าลังของประเทศไทย แชร์ สว่ นแบ่งทางการตลาดไปกว่า 21% ด้ วยการด�าเนินกลยุทธ์ทางการค้ าที่ชาญฉลาดท�าให้ ยอดขายของคาราบาวแดงเพิ่มขึ ้นทุกๆ ปี โดยเฉพาะตอนนี ้คาราบาวกรุ๊ ปเสริ มนวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิตเข้ าไปอีกต่างหาก โดยการ ลงทุนน�าเครื่ องจักรบรรจุขวดที่เร็ วที่สดุ ในประเทศไทยมาใช้ ในโรงงาน แถมยังมีโรงงานผลิตขวด แก้ วเป็ นของตนเอง ซึง่ สามารถเพิ่มยอดการผลิตได้ เป็ นอย่างดี กมลดิษฐ สมุทรโคจร กรรมการบริ หาร บริ ษัท คาราบาวกรุ๊ ป จํากัด (มหาชน) เปิ ด เผยว่า ปั จจุบันบริ ษัทมี โรงงานผลิต 2 โรง ซึ่งโรงแรกเป็ นโรงงานผลิต และบรรจุเครื่ องดื่ ม คาราบาวแดง และสตาร์ ท พลัส มีสายการผลิตรวม 3 สายคือ 1.สายการผลิตส�าหรับคาราบาวแดง แบบขวดจ�านวน 9 สายการผลิต เป็ นสายการผลิตแบบเดิม 8 สาย และสายการผลิตความเร็ วสูง

38

The Power LOGISTICS


L O G I S T I C S T R A D E T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

(Krones) ซึ่ ง เป็ นเทคโนโลยี ก ารบรรจุ ข วด ความเร็วสูงชันน� ้ าจากเยอรมัน รวมก�าลังการผลิต สูงสุดทังสิ ้ ้น 1,080 ล้ านขวด/ปี 2.สายการผลิตส�าหรับสตาร์ ท พลัส มี 2 สาย รวมก�าลังการผลิตสูงสุดถึง 120 ล้ านขวด/ปี และ 3.สายการผลิตคาราบาวแดงแบบกระป๋ องจ�านวน 3 สาย รวมก�าลังการผลิตสูงสุดทังสิ ้ ้น 350 ล้ าน กระป๋ อง/ปี “เราได้ เครื่ องจักรส�าหรับการบรรจุขวดคารา บาวแดงมาจากเยอรมัน จึงท�าให้ เป็ นนวัตกรรม การบรรจุ ข วดที่ เ ร็ ว ที่ สุด ในประเทศไทย โดย สามารถบรรจุขวดได้ 1,200 ขวด/นาที หรื อ 2 ล้ าน ขวด/วัน” กมลดิษฐ เผย กมลดิษฐ ยังกล่าวอีกว่า ส�าหรับคาราบาว แดงชนิดกระป๋ องนัน้ ส่งออกต่างประเทศอย่าง เดียว ไม่มีจ�าหน่ายภายในประเทศ โดยมีกมั พูชา เป็ นตลาดต่างประเทศอันดับ 1 ในขณะนี ้ซึง่ เพือ่ น บ้ านในแถบอาเซียนเองก็มีความต้ องการสินค้ า เป็ นอย่างมาก เช่นเดียวกับตลาดตะวันออกกลาง ที่ก็นิยมคาราบาวแดงชนิดกระป๋ องไม่แพ้ กนั “รสชาติ ข องคาราบาวแบบขวดแก้ วกั บ กระป๋ องนันเหมื ้ อนกัน แต่จะมีบางประเทศเท่านัน้ ทีอ่ าจจะไม่นยิ มรสหวานมากนัก เราก็จะลดความ หวานลงเป็ นรายๆ ไป เช่น สหรัฐอเมริ กาไม่ชอบ หวาน เราก็ใส่น�า้ ตาลน้ อย เป็ นต้ น” กมลดิษฐ กล่าว ส่วนโรงงานที่ 2 เป็ นโรงงานผลิตขวดแก้ วสี ชา ด�าเนินการโดย บริ ษัท เอเชียแปซิฟิกกลาส จ�ากัด (APG) ซึ่งเป็ นบริ ษัทย่อยของคาราบาว กรุ๊ ป เปิ ดด� า เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ ม าแล้ ว ตัง้ แต่ ปลายปี ที่ผ่านมา ใช้ งบลงทุนไปกว่า 1,600 ล้ าน บาท สามารถผลิตขวดแก้ วสีชาส�าหรับเครื่ องดื่ม คาราบาวแดงแบบขวดจ�านวนสูงสุดทังสิ ้ ้น 650

ล้ านขวด/ปี ส�าหรับขวดแก้ ว ถือเป็ นวัตถุดิบหลักในการ บรรจุเครื่ องดื่มของบริ ษัท โดยขวดที่น�ามาใช้ เป็ น บรรจุภณ ั ฑ์เครื่ องดื่มมี 2 รู ปแบบ คือ ขวดแก้ ว สีชา ขนาด 150 มิลลิลิตร ส�าหรับคาราบาวแดง และขวดแก้ วแบบใสขนาด 250 มิลลิลิตร ส�าหรับ สตาร์ ท พลัส ซึง่ การลงทุนสร้ างโรงงานผลิตเป็ น ของตัวเองจะช่วยเรื่ องการบริ หารต้ นทุนได้ อย่าง มี ป ระสิท ธิ ภ าพ และช่ว ยลดความเสี่ ย งในการ พึง่ พาผู้ผลิตรายใดรายหนึง่ เกินไป รวมทังลดการ ้ พึง่ พาการน�าเข้ าจากต่างประเทศ อนึ่ง ปั จจุบนั โรงงานผลิตแก้ วของคาราบาว กรุ๊ ป ใช้ กรรมาวิธีในการผลิตด้ วยการใช้ เศษแก้ ว เดิมที่ใช้ แล้ วมารี ไซเคิล่ อีกรอบ จากปกติที่ใช้ ทราย เป็ นวัตถุดบิ 100% แต่ที่นี่ใช้ เศษแก้ วกว่า 75% ใช้ ทรายแค่ 4% รวมกับส่วนผสมอื่นๆ อีก ซึง่ กรรมวิธี ดังกล่าวท�าให้ ใช้ พลังงานในการหลอมแก้ วลดลง เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม

คุณกมลดิษฐ กล่าวเพิม่ เติมว่า คาราบาวกรุ๊ป ได้ ก้าวเป็ นผู้น�าเบอร์ 2 ในตลาดเครื่ องดื่มชูก�าลัง ด้ วยส่วนแบ่งทางการตลาดมากกว่า 21% จากมูล ตลาดรวม 34,000 ล้ านบาท ด้ วยความพร้ อมด้ าน การผลิต รวมทังศั ้ กยภาพของโรงงานบรรจุ และ ผลิต ขวดแก้ ว สามารถเพิ่ ม ก� า ลัง สายการผลิต คาราบาวแดงแบบกระป๋ องขึ ้นไปอีกเท่าตัว จาก เดิม 350 ล้ านกระป๋ อง เป็ น 700 ล้ านกระป๋ อง/ปี ซึ่ ง จะช่ ว ยเอื อ้ เรื่ อ งแผนการขยายตลาด เครื่ อ งดื่ ม บ� า รุ ง ก� า ลัง คาราบาวแดงทัง้ ในและ ต่างประเทศ โดยเฉพาะในกลุม่ ประเทศเป้าหมาย CLMV และจะสามารถผลั ก ดั น รายได้ ไปสู่ เป้ าหมาย 9,000 ล้ า นบาทในสิ น้ ปี 58 จาก ยอดขาย 7,449 ล้ านบาท เมื่อสิ ้นปี 57 ที่ผ่านมา เบื อ้ งต้ น การท� า ตลาดในกลุ่ม CLMV จะ เป็ นการผลิตสินค้ าจากประเทศไทยส่งออกเป็ น หลัก และคงด�าเนินการไปพร้ อมกับการใช้ ทีมขาย “สาวบาวแดง” ลงส�ารวจตลาดในพื ้นที่ และน่าจะ ได้ รั บ การตอบรั บ เป็ นอย่ า งดี ซึ่ง หากทุก อย่ า ง ส�าเร็จคาดภายในปี 2561 จะได้ เห็นตัวเลขส่งออก ขยับเพิ่มเป็ น 50% จากขณะนี ้ที่ราว 30% ขณะที่ แ นวโน้วตลาดเครื่ อ งดื่ ม ชู ก� า ลัง ใน ประเทศปี 2558 ยังสามารถเติบโต 6% เมื่อเทียบ กับปี 2557 ผลจากแบรนด์ของธุรกิจเริ่ มติดตลาด จึงท�าให้ ได้ รับความไว้ วางใจจากผู้บริ โภคได้ มาก ขึ น้ จากปั จ จุบัน ที่ คาราบาวกรุ๊ ป มี ส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดในอุตสาหกรรมเครื่ องดื่มชูก�าลังใน ไทยประมาณ 21% [P]

The Power LOGISTICS

39


THE POWER LOGISTICS MAGAZINE AUTO INSIGHT

การเพิ่มประสิทธิภาพ และลดตนทุนคาขนสง ดวยบัตร เชลลการด มีเทคโนโลยีที่ทนั สมัยก็จะมีความก้ าวหน้ าในการโกงด้ วยเช่นกัน ส�าหรับ ประเทศไทยนันก็ ้ ถือได้ ว่าเป็ นแบบพื ้นๆแต่ก็ได้ รับความเสียหายมากพอ สมควร ดังนัน้ เชลล์การ์ ดจึงศึกษาเรื่ องนี ้อย่างจริ งจังเพื่อผู้ประกอบการ ด้ วยประสบการณ์และความช�านาญยาวนานกว่า 50 ปี ในการจัดการ บริ หารบัตรเติมน� ้ามัน “เชลล์การ์ ด” จึงเป็ นระบบการช�าระเงินค�่าน� ้ามัน เชื อ้ เพลิงที่ มีประสิทธิ ภาพและปลอดภัยส�าหรั บธุรกิ จ ให้ คุณสามารถ ควบคุมค่าใช้ จ่าย มีความสะดวก ประหยัด และปลอดภัยคุณจึงสามารถ ด�าเนินธุรกิจของคุณได้ ตามแบบที่คณ ุ ต้ องการ -บัตรที่สามารถก�าหนดวงเงินในการเติมน� ้ามัน -สามารถใช้ ได้ กบั สถานีบริ การเชลล์ทวั่ ประเทศ -มีระยะเวลาการช�าระเงินสูงสุดนานถึง 50-51 วัน เชลล์ ก าร์ ด ช่ ว ยให้ คุณ ท� า ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า งสะดวก มั่น ใจ ปลอดภัย ประหยัด Convenience สะดวก Control มัน่ ใจ Security ปลอดภัย Savings ประหยัด เพื่อความสะดวกในการท�าธุรกิจของคุณ เชลล์การ์ ด ไม่เพียงแต่ท�าให้ การจัดการเอกสารเป็ นเรื่ องง่ายขึ ้นผ่านการใช้ เชลล์การ์ ดออนไลน์ ศูนย์ สำหรับการขนสงนํา้ มันเชือ่ เพลิง เปนปจจัยหลักของตนทุนทำอยางไร ใ ห  ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร นํ้ า มั น มี ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด เชลล ก าร ด ถือเปนตัวชวยนึง ที่ผูประกอบการ ตามหานั้นเอง

ส�าหรับผู้ประกอบการด้ านขนส่งนัน้ รู้ เป็ นอย่างดีว่าน� ้ามันถือเป็ นต้ นทุนที่สงู ที่สดุ ในการขนส่งสินค้ าและเป็ นช่องทาง ที่โดนโกงมากที่สุดด้ วย ส�าหรับคนขับ และเจ้ าของกิ จการถื อเป็ นข้ อโต้ งแย้ ง มายาวนานว่า จะท� า อย่า งไรให้ ทุก คน รั ก ษาผลประโยชน์ ร วมกั น เพราะใน แต่ละประเทศก็จะมีพฤติกรรมการโกงที่ แตกต่างกัน ขึ ้นอยูก่ บั ความสามารถของ พนักงานแต่ละประเทศ ซึง่ ในประเทศที่

40

THE POWER LOGISTICS


A U T O I N S I G H T T H E P O W E R L O G I S T I C S M A G A Z I N E

บริ การลูกค้ า และสถานี บริ การเชลล์ที่สะอาด รวดเร็ ว และได้ มาตรฐานก�ารบริ การระดับยุโรป เครื อข่ายสถานีบริ การครอบคลุมทัว่ ประเทศ สะดวก ไม่ต้องกังวลกับการจัดการเรื่ องเงินสด และการจัดการงานเอกสาร เครดิตสูงสุดถึง 51 วัน ฝ่ ายลูกค� ้าสัมพันธ์ศนู ย์บริ การเชลล์คาร์ ด มี สถานีบริ การที่ใช้ หวั จ่ายความเร็วสูงมากกว่า 35 สถานี ซึ่ ง ช่ ว ยลดระยะเวลาการเติ ม น� า้ มั น เชื ้อเพลิงลงถึง 3.5 เท่าเมื่อเทียบกับหัวจ่ายแบบ ธรรมดา เรามีระบบ “เชลล์ การ์ ดออนไลน์ ” ซึ่งคุณ สามารถเรี ยกดูรายงานการใช้ บริ การน� ้ามันที่สนั ้ กระชับ และชัดเจน ท�าให้ คณ ุ สามารถ ตรวจสอบ ทุกรายการค่าใช้ จ่ายน้ ามันเชื ้อเพลิง ของคุณได้ ระบบออโตเมชัน่ ควบคุม และ ป้องกันการ ทุจริ ต โครงการไม่ตรง-ไม่เติม ตามติดทุกวงล้ อ ด้ วยเชลล์คาร์ ดออนไลน์ เชลล์ให้ ความส�าคัญในการจัดการกับการ ทุจริ ตอย่างจริ งจัง เรามุ่งมัน่ ที่จะให้ ผลิตภัณฑ์ ทุกชนิดของเรามีความปลอดภัยที่สุดในกลุ่ม ธุรกิจ ทีมงานตรวจสอบการทุจริ ตได้ ช่วยลูกค้ า ทั่ว โลกจากธุ ร กรรมที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ คิ ด เป็ น มูลค่ากว่า 5 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ คุณสามารถ ระงั บ การใช้ งานของบั ต รได้ ทั น ที เ มื่ อ เกิ ด รายการที่น่าสงสัย หรื อเมื่อบัตรหายหรื อถูก ขโมย และเราจะตอบสนองต่อทุกๆ ค�าขอความ ช่วยเหลือทันที สามารถตัง้ ระบบและค่าการ แจ้ งเตือนในแบบของคุณผ่านระบบออนไลน์ได้ ด้ วยตนเอง CCTV ในสถานีบริ การ แต่อย่างไรก็ตามถึงระบบจะดีแค่ไหนก็ไม่ สามารถป้ องกั น ได้ 100% เพราะสุ ด ท้ าย พฤติกรรมของคนเป็ นสิง่ ส�าคัญที่สดุ ในการโกง ส่ ว นด้ า นการประหยัด น� า้ มัน นัน้ ก็ ขึ น้ อยู่กับ คนขับอยู่ดีเพราะด้ วยเทคโนโลยีที่ก้าวล�า้ แค่ ไหนก็ ต ามแต่ ค นขับ ยัง ไม่ ท� า ตามกฎก็ ไ ม่ มี ประโยชน์ [P]

THE POWER LOGISTICS

41


THE POWER LOGISTICS MAGAZINE GLOBAL LOGISTICS

โดย : พันทิพา จุลเพชร

เมกา ไลฟไซแอนซ เจาะลูกคากัมพูชา เปดคลังสินคาควบคุมอุณหภูมิ

บริษทั เมกา ไลฟไซแอ็นซ จำกัด (มหาชน) เปนบริษทั ทีจ่ ำหนายและกระจายสินคาเวชภัณฑคณ ุ ภาพสูง รวมถึง ผลิตภัณฑบำรุงสุขภาพ และยา ในประเทศกำลังพัฒนา ล่าสุด เมก้ า ไลฟ์ไซแอ๊ นซ์ ตอกย� ้าความเป็ นผู้น�าทางธุรกิจในระดับ อาเซียนด้ วยการเปิ ดคลังสินค้ าที่มีการควบคุมอุณหภูมิได้ มาตรฐานระดับ โลกแห่งใหม่ในกรุ งพนมเปญ ประเทศกัมพูชา การสร้ างคลังสินค้ าแห่งใหม่นีน้ ับเป็ นก้ าวส�าคัญของบริ ษัท ก่อนที่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะเปิ ดอย่างเป็ นทางการในปลายปี 2558 และ เพื่อเตรี ยมพร้ อมรับการขยายตัวของผู้บริ โภครุ่ นใหม่ในกัมพูชาที่หนั มา ใส่ใจสุขภาพเพิ่มมากขึ ้น คลังสินค้ าขนาด 25,000 ตารางฟุต ใช้ ระบบ ควบคุมอุณหภูมิภายใน ซึ่งประกอบด้ วยห้ องเย็น และเป็ นที่จัดเก็บรถ ขนส่งสินค้ าห้ องเย็น นอกจากนี ้ ยังควบคุมการท�างานในคลังสินค้ าโดย พนักงานชาวกัมพูชากว่า 200 คน ซึง่ มีหน้ าทีร่ ับผิดชอบดูแลสินค้ าในสต๊ อก กว่า 600 ยูนิต พร้ อมกับใช้ ระบบสารสนเทศ เพื่อควบคุมการปฏิบตั ิงาน ด้ านบัญชี รายงานผล และการแชร์ ข้อมูล วิเวก ดาวัน ประธานเจ้ าหน้ าที่บริหารบริษัท เมก้ า ไลฟ์ไซแอ๊ นซ์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าว คลังสินค้ าแห่งใหม่เป็ นอีกก้ าวส�าคัญของเมก้ า ไลฟ์ไซแอ๊ นซ์ ในประเทศกัมพูชาและในระดับภูมิภาค การน�าเอานวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ ามาปรับใช้ ในคลังสินค้ าแห่งนี ้ ไม่ว่าจะเป็ นระบบ ซอฟท์แวร์ ERP หรื อแทบเล็ตที่ช่วยบริ หารจัดการด้ านคลังสินค้ าและการ ขายอย่างครบวงจร ซึ่งนอกจากเป็ นการจัดเก็บสินค้ าด้ วยมาตรฐานใน ระดับ สากลแล้ ว ยัง เป็ นการเสริ ม ทัก ษะด้ า นการใช้ เ ทคโนโลยี ใ ห้ แ ก่ พนักงานกัมพูชาอีกด้ วย ซึ่งตรงกับปรัชญาการด�าเนินธุรกิจของเราที่ให้ ความส�าคัญกับการสร้ างค่านิยมร่วมกันในชุมชนทีเ่ มก้ าเข้ าไปด�าเนินธุรกิจ ทังนี ้ ้ ในฐานะที่บริ ษัทได้ รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2008 เราจึง ให้ ความส�าคัญกับการจัดเก็บและจัดส่งสินค้ าให้ เป็ นไปตามมาตรฐาน สากลอย่างเข้ มงวด” นายแพทย์ เฮง บันเคียด ผู้อา� นวยการส�านักงานคณะกรรมการ อาหารและยาของประเทศกัมพูชา กล่าวว่า คลังสินค้ าแห่งใหม่ใช้ จดั เก็บผลิตภัณฑ์ทงของแบรนด์ ั้ เมก้ า และสินค้ าอุปโภคและบริโภคของบริษัท อืน่ ๆ ทีอ่ ยูภ่ ายใต้ การด�าเนินธุรกิจของ Maxxcare ซึง่ เป็ นบริษัทจัดจ�าหน่าย สินค้ าในเครื อเมก้ า ซึ่งในขณะนีม้ ีการด�าเนินงานอยู่แล้ วทัง้ ในประเทศ

42

THE POWER LOGISTICS

กัมพูชา เวียดนาม และเมียนมาร์ ด้ วยเครื อข่ายการจัดจ�าหน่ายทังหมดที ้ ่ มีอยู่ในทัง้ 25 จังหวัดของกัมพูชา ท�าให้ เมก้ าเป็ นบริ ษัทรายแรกที่มีธุรกิจ การจัดจ�าหน่ายครอบคลุมทัว่ ประเทศกัมพูชา นเรนทรา กุมาร ผู้จัดการประจ�าประเทศกัมพูชา บริ ษัท เมก้ า ไลฟ์ไซแอ๊ นซ์ (กัมพูชา) กล่าวว่า กัมพูชาเป็ นประเทศที่มีเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจ และมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทังยั ้ งมีจ�านวนประชากรอายุ เฉลี่ยน้ อยที่สดุ ในภูมิภาค ซึง่ ในปั จจุบนั ประชากรมีรายได้ เฉลี่ยเพิ่มมาก ขึ น้ และคนรุ่ น ใหม่ ก� า ลัง ให้ ค วามสนใจในเรื่ อ งสุข ภาพเป็ นอย่ า งยิ่ ง นอกจากนี ้กัมพูชายังเป็ นประเทศสมาชิกของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่ก�าลังจะเปิ ดในเร็ วๆ นี ้ จึงท�าให้ กมั พูชากลายเป็ นตลาดส�าคัญของเมก้ า เพื่อสร้ างความพร้ อมในการด�าเนินธุรกิจที่นี่ เราจึงต้ องเดินหน้ าลงทุนใน ด้ านโครงสร้ างพื ้นฐาน เพื่อตอบสนองความต้ องการของผู้บริ โภคในตลาด ที่ก�าลังเติบโตอย่างรวดเร็ ว และยังคงมุ่งมัน่ ในการน�าเสนอและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และการบริ การเพื่อสร้ างความพึงพอใจสูงสุดให้ แก่ผ้ ูบริ โภค อย่างต่อเนื่อง [P]


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.