ปที่ 16th หนังสืือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
เจาะลึกโลจิสติกส ไอที พลังงาน ทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ การคา ประกัน ยานยนต
าท
130525
www.transportnews.co.th
ราคา
ร มอ
C1
ไอซีทีดันไทยเปนสังคมสารสนเทศ
‘ทัศพล’ ขายหุนตอยอดธุรกิจ
ปที่ 16 ั ที่ 715 วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ก
า ว
ดันไทยศนย าง ม าค
A3
การ ก า ิ ปรย ย
การปร ยกตการ การ ิสติกส รศ.ดร.ทวีศักดิ เทพพิทักษ
‘เกษตรฯ’ เตรียมแผนรับมือนํ้าทวม
การ า าย น ต ยกร ปส นิ ต ร
C3
ระดมสมองพลังงานทดแทน
B3
ร ัน
งศ ั นา
ใ ม
ร
ร
งค เรงสราง า
คทซ ยกําไรไตรมาส รก 422 ลานบาท พรอม ตรยมออกหุนกู ุดใหม ดือน พ ย น
ดันมาบตาพุดสูกรีนโลจิสติกส
B1
A6
A5 ผลักดัน 2 โครงการ ‘แหลมฉบัง’
ดร. นิต โสรัตน
คร รา พ า มการคา รี มพรอม ทา อากาศกอ ป ออีซี ะ ป ระกอ การ ร การ ท >>A7 จั เ าคย
เดินหนาเชื่อมโยงไฮสปดเทรนสูจีน
A4
นายร เ ียร ศรีมงคล ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) หรือเคทีซี เปดเผยวา ฐานะการเงินของเคทีซี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัท มีกําไรสุทธิ 422 ลานบาท (หากไมรวมรายการพิเศษจาก การขายเงิ น ลงทุ น กํ า ไรจะเป น 201 ล า นบาท) โดยมี สินทรัพยรวมเทากับ 46,881 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวง เดียวกันของปกอนซึ่งอยูที่ 45,743 ลานบาท พอรตลูกหนี้ การคารวมสุทธิเทากับ 42,684 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 41,418 ลานบาท จากไตรมาสเดียวกันของปกอ นหนา ฐาน สมาชิกรวม 2.19 ลานบัญชี ประกอบดวย บัตรเครดิต 1,550,083 บัตร ยอดลูกหนี้บัตรเครดิตสุทธิ 30,066 ลาน
บาท สินเชื่อบุคคล “เคทีซี แคช” เทากับ 636,742 บัญชี ยอดลูกหนี้สินเชื่อบุคคลเคทีซี แคช สุทธิ 12,345 ลานบาท ลูกหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได ( ) บัตรเครดิตลดเหลือ 3 และ สินเชื่อบุคคลเหลือเพียง 2.7 เทียบกับชวง เดียวกันของปที่ผานมา การที่บริษัทมีกําไรเพิ่มขึ้น เนื่องจากรายไดรวมสูงขึ้น เปน 3,243 ลานบาท (ไมรวมรายการพิเศษจากการขายเงิน ลงทุน) จากรายไดดอกเบี้ยรับของธุรกิจสินเชื่อบุคคลที่ขยาย ตัว 10 บวกกับบริษัทสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทํางาน ควบคุมคาใชจายบริหารตนทุนทางการเงินอยาง เหมาะสม อานตอหนา...A7
บาท ุดรายไดส ออกอุต ลด 4% น ู ร กอบการยกร ดับ ทค น ลย
สศอ. ชี้เงินบาท ขง กร ทบ าคการ ผลิตอุตสาหกรรมของไทย ทํารายไดในรูป เงินบาทลดลง ตยังมีผลเชิงบวกดาน การนําเขาสินคาทุน ล เครื่องจักรมีราคา ูกลง ดร.สมชาย หา หิรั ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปด เผยวา ผลกระทบคาเงินบาทตอการสงออก ของภาคอุตสาหกรรมในชวงเวลา 3 เดือนแรก พบวามูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรม ดร สมชา า รั ของไทยในรูปเงินเหรียญสหรัฐ ยังคงขยายตัว รอยละ 7.04 โดย 3 เดือนแรกของป 2556 เทากับ 1,284,112 ลานบาท หรือขยาย ประเทศไทยสามารถสงออกสินคาอุตสาหกรรม ตัวที่รอยละ 3.14 คิดเปน 43,091 ลานเหรียญสหรัฐ หรือขยาย อัตราการขยายตัวของมูลคาการ ตัวรอยละ 7.04 หรือคิดเปนมูลคาเงินบาท ส ง ออกในมู ล ค า เงิ น บาทที่ ล ดลงนั้ น
แสดงถึงแนวโนมของคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้น มาโดยตลอดตนป 2556 ทําใหรายไดในรูป เงินบาทของผูสงออกภาคอุตสาหกรรมไทย ลดลงกวารอยละ 4 หรือกวา 55,156 ลาน บาท และหากคาเงินบาทยังคงอยูท ี่ 29 บาท เหรียญสหรัฐ จะสงผลกระทบตอผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศภาคอุตสาหกรรม ( ) ลดลงกวา 52,672 ลานบาท ทั้งป เนื่องจาก ราคาสินคาที่สงออกสูงขึ้นในรูปเงินสกุลตาง ประเทศ ซึ่ ง จะทํ า ให ป ระเทศไทยสู ญ เสี ย อํานาจในการแขงขันในระยะสั้น โดยเ พาะ การแขงขันดานราคากับประเทศคูแขง อาทิ อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน หรือเกาหลีใต สง ผลตอการสูญเสียตลาดบางสวนไปในอนาคต อานตอหนา...A7 และในหลายสินคา
น น กา ิ ตน
ตน
ศ.ดร. าปนา บุ หลา
น ก ิต ใน ย ต
า ตาย
รศ.ดร.บุ มาก ศิริเนาวกุล
ั
ส า ค
ง
ไอ ดยทดสอบรถกอน ายตลาด
นายอานนท วังวสุ นายกสมาคม ประกันวินาศภัยไทย เปดเผยวา สมาคม มีแนวคิดที่จะเสนอใหภาครัฐสนับสนุน จัดตั้งสถาบันที่ใชสําหรับทดสอบรถยนต ใหม ที่กําลังจะขายและสงมอบใหกับ ลูกคา เพื่อรวบรวมขอมูลและใชเปนสถิติ ในการคํานวณเบีย้ ประกันภัย โดยอิงจาก ผลการทดสอบสมรรถภาพของรถยนต แตละรุน แตละยี่หอ เนื่องจากรถยนต บางรุ น ถู ก ผลิ ต ขึ้ น มาเน น ในปริ ม าณ มากกวาความแข็งแรงปลอดภัย นับเปน ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ต อ ชี วิ ต และ ทรัพยสินของผูขับขี่และโดยสารดวยกัน ทั้งนั้น
เดิมการคํานวณเบี้ยจะใชสถิติจาก การเกิดอุบัติเหตุของรถแตละรุน และอยู ระหวางการพัฒนาขอมูลรวมกันเพื่อใช ประวัติของคนขับมาเปนตัวคํานวณเบี้ย ดวย นอกจากนี้ หากรถบางรุนมีการใช อะไหลราคาแพงนับเปนตนทุนของผูใ ชรถ นี่จึงสามารถใชเปนขอมูลประกอบการ ตัดสินใจซื้อรถไดดวยเชนกัน “เราอยากใหมีการทดลองขับรถ ใหมทจี่ ะออกมาขาย เพราะตนทุนของรถ บางประเภท โดยเ พาะอะไหลมีราคา แพง บางชิ้ น ต อ งสั่ ง นํ า เข า จากต า ง ประเทศ ทําใหราคาคาซอมแพงกวาปกติ อยางรถบางรุน า อ หนา...B8
ไ ดับ หรือ ดับไ ปด ัด
ผุดโรงไฟฟาถานหินภาคใต >>A2 ง ักด รักต ง
าล
ปที่ 16th หนังสืือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
เจาะลึกโลจิสติกส ไอที พลังงาน ทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ การคา ประกัน ยานยนต
าท
130525
www.transportnews.co.th
ราคา
ร มอ
C1
ไอซีทีดันไทยเปนสังคมสารสนเทศ
‘ทัศพล’ ขายหุนตอยอดธุรกิจ
ปที่ 16 ั ที่ 715 วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ก
า ว
ดันไทยศนย าง ม าค
A3
การ ก า ิ ปรย ย
การปร ยกตการ การ ิสติกส รศ.ดร.ทวีศักดิ เทพพิทักษ
‘เกษตรฯ’ เตรียมแผนรับมือนํ้าทวม
การ า าย น ต ยกร ปส นิ ต ร
C3
ระดมสมองพลังงานทดแทน
B3
ร ัน
งศ ั นา
ใ ม
ร
ร
งค เรงสราง า
คทซ ยกําไรไตรมาส รก 422 ลานบาท พรอม ตรยมออกหุนกู ุดใหม ดือน พ ย น
ดันมาบตาพุดสูกรีนโลจิสติกส
B1
A6
A5 ผลักดัน 2 โครงการ ‘แหลมฉบัง’
ดร. นิต โสรัตน
คร รา พ า มการคา รี มพรอม ทา อากาศกอ ป ออีซี ะ ป ระกอ การ ร การ ท >>A7 จั เ าคย
เดินหนาเชื่อมโยงไฮสปดเทรนสูจีน
A4
นายร เ ียร ศรีมงคล ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) หรือเคทีซี เปดเผยวา ฐานะการเงินของเคทีซี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัท มีกําไรสุทธิ 422 ลานบาท (หากไมรวมรายการพิเศษจาก การขายเงิ น ลงทุ น กํ า ไรจะเป น 201 ล า นบาท) โดยมี สินทรัพยรวมเทากับ 46,881 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวง เดียวกันของปกอนซึ่งอยูที่ 45,743 ลานบาท พอรตลูกหนี้ การคารวมสุทธิเทากับ 42,684 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 41,418 ลานบาท จากไตรมาสเดียวกันของปกอ นหนา ฐาน สมาชิกรวม 2.19 ลานบัญชี ประกอบดวย บัตรเครดิต 1,550,083 บัตร ยอดลูกหนี้บัตรเครดิตสุทธิ 30,066 ลาน
บาท สินเชื่อบุคคล “เคทีซี แคช” เทากับ 636,742 บัญชี ยอดลูกหนี้สินเชื่อบุคคลเคทีซี แคช สุทธิ 12,345 ลานบาท ลูกหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายได ( ) บัตรเครดิตลดเหลือ 3 และ สินเชื่อบุคคลเหลือเพียง 2.7 เทียบกับชวง เดียวกันของปที่ผานมา การที่บริษัทมีกําไรเพิ่มขึ้น เนื่องจากรายไดรวมสูงขึ้น เปน 3,243 ลานบาท (ไมรวมรายการพิเศษจากการขายเงิน ลงทุน) จากรายไดดอกเบี้ยรับของธุรกิจสินเชื่อบุคคลที่ขยาย ตัว 10 บวกกับบริษัทสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทํางาน ควบคุมคาใชจายบริหารตนทุนทางการเงินอยาง เหมาะสม อานตอหนา...A7
บาท ุดรายไดส ออกอุต ลด 4% น ู ร กอบการยกร ดับ ทค น ลย
สศอ. ชี้เงินบาท ขง กร ทบ าคการ ผลิตอุตสาหกรรมของไทย ทํารายไดในรูป เงินบาทลดลง ตยังมีผลเชิงบวกดาน การนําเขาสินคาทุน ล เครื่องจักรมีราคา ูกลง ดร.สมชาย หา หิรั ผูอํานวยการ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เปด เผยวา ผลกระทบคาเงินบาทตอการสงออก ของภาคอุตสาหกรรมในชวงเวลา 3 เดือนแรก พบวามูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรม ดร สมชา า รั ของไทยในรูปเงินเหรียญสหรัฐ ยังคงขยายตัว รอยละ 7.04 โดย 3 เดือนแรกของป 2556 เทากับ 1,284,112 ลานบาท หรือขยาย ประเทศไทยสามารถสงออกสินคาอุตสาหกรรม ตัวที่รอยละ 3.14 คิดเปน 43,091 ลานเหรียญสหรัฐ หรือขยาย อัตราการขยายตัวของมูลคาการ ตัวรอยละ 7.04 หรือคิดเปนมูลคาเงินบาท ส ง ออกในมู ล ค า เงิ น บาทที่ ล ดลงนั้ น
แสดงถึงแนวโนมของคาเงินบาทที่แข็งคาขึ้น มาโดยตลอดตนป 2556 ทําใหรายไดในรูป เงินบาทของผูสงออกภาคอุตสาหกรรมไทย ลดลงกวารอยละ 4 หรือกวา 55,156 ลาน บาท และหากคาเงินบาทยังคงอยูท ี่ 29 บาท เหรียญสหรัฐ จะสงผลกระทบตอผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศภาคอุตสาหกรรม ( ) ลดลงกวา 52,672 ลานบาท ทั้งป เนื่องจาก ราคาสินคาที่สงออกสูงขึ้นในรูปเงินสกุลตาง ประเทศ ซึ่ ง จะทํ า ให ป ระเทศไทยสู ญ เสี ย อํานาจในการแขงขันในระยะสั้น โดยเ พาะ การแขงขันดานราคากับประเทศคูแขง อาทิ อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน หรือเกาหลีใต สง ผลตอการสูญเสียตลาดบางสวนไปในอนาคต อานตอหนา...A7 และในหลายสินคา
น น กา ิ ตน
ตน
ศ.ดร. าปนา บุ หลา
น ก ิต ใน ย ต
า ตาย
รศ.ดร.บุ มาก ศิริเนาวกุล
ั
ส า ค
ง
ไอ ดยทดสอบรถกอน ายตลาด
นายอานนท วังวสุ นายกสมาคม ประกันวินาศภัยไทย เปดเผยวา สมาคม มีแนวคิดที่จะเสนอใหภาครัฐสนับสนุน จัดตั้งสถาบันที่ใชสําหรับทดสอบรถยนต ใหม ที่กําลังจะขายและสงมอบใหกับ ลูกคา เพื่อรวบรวมขอมูลและใชเปนสถิติ ในการคํานวณเบีย้ ประกันภัย โดยอิงจาก ผลการทดสอบสมรรถภาพของรถยนต แตละรุน แตละยี่หอ เนื่องจากรถยนต บางรุ น ถู ก ผลิ ต ขึ้ น มาเน น ในปริ ม าณ มากกวาความแข็งแรงปลอดภัย นับเปน ความเสี่ ย งที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ต อ ชี วิ ต และ ทรัพยสินของผูขับขี่และโดยสารดวยกัน ทั้งนั้น
เดิมการคํานวณเบี้ยจะใชสถิติจาก การเกิดอุบัติเหตุของรถแตละรุน และอยู ระหวางการพัฒนาขอมูลรวมกันเพื่อใช ประวัติของคนขับมาเปนตัวคํานวณเบี้ย ดวย นอกจากนี้ หากรถบางรุนมีการใช อะไหลราคาแพงนับเปนตนทุนของผูใ ชรถ นี่จึงสามารถใชเปนขอมูลประกอบการ ตัดสินใจซื้อรถไดดวยเชนกัน “เราอยากใหมีการทดลองขับรถ ใหมทจี่ ะออกมาขาย เพราะตนทุนของรถ บางประเภท โดยเ พาะอะไหลมีราคา แพง บางชิ้ น ต อ งสั่ ง นํ า เข า จากต า ง ประเทศ ทําใหราคาคาซอมแพงกวาปกติ อยางรถบางรุน า อ หนา...B8
ไ ดับ หรือ ดับไ ปด ัด
ผุดโรงไฟฟาถานหินภาคใต >>A2 ง ักด รักต ง
าล
A2
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
จากกอง
บรรณาธิการ
ตองยอมรับวา ลกออนไลน มี อิทธิพลตอการใชชวี ติ ของคนปจจุบนั ถา นํามาใชในทางสรางสรรคก็สามารถสราง มูลคาเพิ่มได โดยเ พาะชองทางในเรื่อง การค า ซึ่ ง กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า กระทรวงพาณิชย เห็นชองทางนี้ จึงไดเปด โครงการ “ -C สรางคลืน่ ลูกใหมผปู ระกอบธุรกิจไทย”
ครงการดังกลาว เปนการสงเสริม การใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ C ในการเริม่ ตนประกอบธุรกิจ และใชเปนเครื่องมือขยายตลาด พรอม สรางประสบการณใหนักศึกษา ดวยการ ฝกปฏิบัติจริงในการสรางรานคาออนไลน ตัง้ เปาผลักดันผูป ระกอบการ ทายาทธุรกิจ สหกรณ ธุรกิจที่อยูในความสงเสริมของ กรมพัฒนาธุรกิจการคา นักศึกษา และ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ทั่ ว ไปให ส ร า งร า นค า ออนไลนจาํ นวน 200 รานคา กอนตอยอด โครงการใหแพรหลายยิ่งขึ้น ซ่งสอดคลองกับปจจุบันอินเทอร
มอ เงน : สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปนประธานในพิธีมอบสัญญา รับเงินสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน “โครงการ สงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ป 2555”
วันเวลาลวงเขาสู สัปดาหสุดทาย ของเดือนนี้กัน ลวน นั่นกหมายความ วาปร เทศไทยกําลังจ กาวเขาสูวสันต ดู อยางเปนทางการเสียที หลาย คนบน อุบคิด งพร พิรุ จ ยอยู ลว หลังจาก ที่ พ านพบกั บ มหกรรมรอ นตับ ตกอยู นานสองนาน ขออยางเดี ย วอยาตก บาร หํา่ จนไมเปนอันทํามาหากิน ลวกัน ตกพอหอมปากหอมคอใหบรรยากาศเยน สบายกพอ ลว ❒❒ ราวๆ กลางเดือน ที่ผานมา โรงเรียนทั่วประเทศตางทยอย เปดภาคเรียนกันไปเปนที่เรียบรอย โดย เ พาะในกรุงเทพฯ ยามเชารถติดวินาศ สันตะโร ดวยเพราะผูปกครองบึง่ รถไปสง บุตรหลานยันปากประตูโรงเรียน บางแหง จากถนนทีม่ ี 3-4 เลน โดนรถสงนักเรียน ดังกลาวครอบครองพืน้ ทีท่ าํ กินไปเกินครึง่ เหลือเลนเดียวใหรถทั่วไปหรือคนที่กําลัง จะไปทํางานไดใชกันอยางหยุมหยิม นี่แค ตอนเชานะ ตอนเย็นหลังโรงเรียนเลิกเปน ยังไงคงไมตอ งบอก ❒❒ ร ติด คือ
เน็ ต เป น ช อ งทางในการติ ด ต อ สื่ อ สาร ที่ สํ า คั ญ และมี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ตาม สภาวการณของโลก และบริบทใหมของ โลกในทศวรรษหน า เทคโนโลยี จ ะมี บทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและ ตอบสนองการดํารงชีวติ ของประชาชนมาก ขึน้ โดยเ พาะอยางยิง่ พาณิชยอเิ ล็กทรอ นิกสที่กลายเปนเครื่องมือทางการคาที่ สําคัญและมีบทบาทตอการเพิ่มศักยภาพ ในการทําธุรกิจ ชวยลดตนทุนและสราง
ด
จาล หวั่นกันทั่ว าคใต เมื่อตน สัปดาหที่ ลว จู ไ าดับกลางคัน ครอบคลุมพื้นที่ 1 จังหวัด ตกอยู ใน ความมืดมิดชั่วคราว พงษศักดิ์ รีบ ขอ ทษพี่ น อ งชาวปกษ ใ ต ที่ กํ า ลั ง ตื่ น ตร หนก พรอมชี้ จงสาเหตุที่ไ าดับ วาเกิดจากร บบสายสงทีก่ าํ ลังซอม ซม ู ก า ผา ด า น ก ผ. ปดขาวสร า ง ส านการ เพื่อใหเกิดความชอบ รรม ในการสราง รงไ า านหินทีก่ ร บี่ จาก ที่ ูกตอตานอยางหนักกอนหนานี้ เกิดเหตุไฟฟาดับ 14 จังหวัดทัว่ ภาค ใต เมื่อเวลา 18.52 น. ของวันที่ 21 พ.ค. 56 ทีผ่ า นมา ไดแก ชุมพร นครศรีธรรมราช
เสอหมอบ มวเ า
เป น แผนการของภาครั ฐ ที่ ต อ งการ เสี้ยมสอนพี่นองในพื้นที่ที่ออกมาตอตาน การสรางโรงไฟฟาถานหินที่ จ.กระบี่ กอน หนานีห้ รือไม เพราะทาง กฟผ. ดึงดันจะ ตองสรางใหได แตทางดาน สุทศั น ปทม ศิริวัฒน ผูวาการ กฟผ. ก็ออกมาชี้แจง สาเหตุของการเกิดไฟดับพรอมเพรียงกัน โดยมิ ไ ด นั ด หมายในครั้ ง นี้ ว า เกิ ด จาก สายสงไฟฟาเชือ่ มโยงขนาด 230 เมกะวัตต ระหวางภาคกลางกับภาคใต ทีส่ ถานีไฟฟา ใหญ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรขี นั ธ ไม สามารถจายไฟฟาไดกะทันหัน ซึง่ เบือ้ งตน อาจจะเกิดจากไฟช็อต ประกอบกับโรง ไฟฟาที่ จ.กระบี่ หยุดซอมแซมอยู ทําใหมี
มอ วามส : บมจ.นวกิจประกันภัย รวมกับ “วิทยุครอบครัวขาว FM 10 ” จัดกิจกรรม “มอบความสุข เติมรอยยิ้ม” และรวมเลี้ยงอาหาร กลางวันใหกับผูสูงอายุ ณ ศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ จ.ปทุมธานี โดยมีพนักงานกลุม “นวกิจจิตอาสา” ผูประกาศขาวชอง 3 และศิลปนดารารวมสรางความสุขและแบงปนรอยยิ้ม
ร
ตอ า หนา...
ก ม า ออ ไ
ตอนรั : คณะทีมผูบริหาร บริษัท ที ไอ พี เอส ทาเทียบเรือตูสินคา ทา บี 4 ทาเรือแหลม บัง จ.ชลบุรี นําโดย ชัชวาล เกตุทะเล รองกรรมการ ผูจัดการ ตอนรับคณะกลุมผูเยี่ยมชม นําโดย aniei uah ผูจัดการ ทั่วไป บริษัท ฮุนได เมอรชานท มารีน (ประเทศสิงคโปร) จํากัด เนื่อง ในโอกาสเขามาศึกษาดูการป ิบัติการวางแผนเรือและตูสินคา
ปญหาทีไ่ มวา รัฐบาลสถิตลงมา จ า ก ส ว ร ร ค ชั้ น ไ ห น ก็ ไ ม สามารถแกไขไดอยางแนนอน เรือ่ งนีข้ อฟนธง แลวเตรียมตัว รั บ การจราจรเป น อั ม พาต อยางตอเนื่องในชวงสิ้นเดือน นี้ ตอตนเดือน มิ.ย. เนือ่ งจาก สถาบั น ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาก็ จ ะถึ ง คิ ว เป ด เทอมแลวเชนเดียวกัน จากที่รถติดเยี่ยง กาวอยูแ ลวก็จะเพิม่ ความหนึบไปอีกเทาตัว วิธแี กอยางเดียวก็คอื ทําใจ ❒❒ เรือ่ ง ใหญเรื่องโตกลางสัปดาหที่แลวคงไมมีใคร เกิน ยุท การดับไ ใต บางคนไดยนิ ขาว นีถ้ งึ กับตาลุกวาว แถมกระทุง วา เปนไป ไดอยางไรกัน พวกกอความไมสงบบีอาร เอนหยุ ด ยิ ง ล ว หรื อ นี่ ที่ ไ หนได เ ป น เหตุก ารณไ ฟฟา ดั บทั่ ว ป ก ษ ใ ต ก ว า 14 จังหวัด เลนเอาพีน่ อ งชาวดามขวานตกอยู ในวังวนแหงความมืด ตองรีบจุดเทียน แกขดั ไปพลางๆ ❒❒ ถึงขัน้ มีการลือสนัน่ วา ไฟฟาดับยกภาคในครั้งนี้ไมแนวาจะ
จัดกจกรรม : ดร.อุตตม สาวนายน รองอธิการบดีอาวุโส มหาวิทยาลัย กรุงเทพ จัดกิจกรรม “MME Open House” เพื่อแนะนํา “หลักสูตร ปริญญาโท การจัดการมหาบัณฑิต สาขาความเปนผูประกอบการ” โดยมี Tom Simon, นภัสถ อัสสกุล, ดร.พิชิต อัคราทิตย, ดร.โกศล ทรัพย ประเสริ , ดร.วุฒนิพงษ วราไกรสวัสดิ์ รวมงาน
ค
มอ นการ ก า ก ตร : พเยาว มริตตนะพร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ทางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) มอบทุนการศึกษาแกบุตร-ธิดา พนักงานบริษทั ทีม่ ผี ลการเรียนดีเดนระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ซึ่งเปนการมอบทุนตอเนื่องเปนปที่ 7
ปริมาณไฟฟาเขาสูร ะบบจายไฟไมเพียงพอ ❒❒ แลวควันหลงจากเหตุการณความ มืดมิดในครัง้ นีก้ ใ็ สไขกนั ไปตางๆ นานา ถึง ขั้นที่วา กลุมผูกอความไมส งบจะ วย โอกาสนีล้ อบเลนงานเจาหนาทีร่ ฐั และจะ ทํ า การวางระเบิ ด ปลิ ด ชี พ ตามสถานที่ ตางๆ สรางความโกลาหลไปทัว่ คุง ประชาชน ระดมโทรติดตอเขามาทางหนวยงานของ การไฟฟาและหนวยงานความมั่นคงแบบ ไมรามือ จนเครือขายแทบจะลม ณ บัดนัน้ หลังจากนีต้ อ งตามดูกนั ตอไปวากระทรวง พลังงานจะทําความเขาใจและเขาไปแก ปญหาเดิมๆ ซํา้ ๆ ซากๆ แบบนีอ้ กี อยางไร ❒❒ มาที่ประเด็นดานผลกระทบจาก ค า เงิ น บาทแข็ ง โปกกั น บ า ง บุ ทรง เตริยา ริ มย รมว.พาณิชย ฟนเปรีย้ งออก มาแลววา ตอนนีจ้ ะมีการปรับลดเปาการ สงออกจากเดิมทีต่ งั้ เอาไว 8-9 ดาวนลง มาเหลือ 7-7.5 เทานั้น และมีมูลคาที่ 245,000-246,000 ลานดอลลารสหรัฐ ซึง่ ได ป รึ ก ษาหารื อ กั บ ทู ต พาณิ ช ย ใ นการ
ออนไลน การบริหารจัดการ และเทคนิค การตลาดออนไลน ( -M ) รวม ไมนอ ยกวา 36 ชัว่ โมง รุน โครงการจะ จัดหาโดเมนเนมและพืน้ ทีเ่ ว็บไซตเปนเวลา 1 ป จํานวนไมนอ ยกวา 200 เว็บไซต เพือ่ การฝกปฏิ บั ติ จ ริ ง โดยจะติ ด ตามการ ดําเนินงานของผูเ ขารวมโครงการและใหคาํ ปรึกษาตลอดระยะเวลาโครงการ 1 ป จาก นัน้ จะทําการคัดเลือกรานคาออนไลนดเี ดน โดยพิจารณาจาก M และ ผลการเขารวมการพัฒนาจํานวนไมนอย กวา 4 เว็บไซต เพือ่ เผยแพรเปนตนแบบ การประกอบธุรกิจ -C
สัมมนา : เอ็มมานูเอล มิญโญต ผูจัดการใหญธุรกิจนํ้ามันหลอลื่น ประเทศไทย ฟลิปปนส เวียดนาม และเกาหลี นําทีมขายและทีม เทคนิคนํา้ มันหลอลืน่ เชลล จัดงานสัมมนา “คืนประสิทธิภาพสูงสุดให เครื่องจักรดวยสุดยอดเทคโนโลยีการหลอลื่นจากเชลล” ใหความรู เกี่ยวกับการใชเครื่องจักรอยางเต็มประสิทธิภาพแกลูกคา
ประชุมรวมกันมา เปนอยางดีแลว ซึง่ หากไม ล ดเป า ก็ จะไม ส ามารถไป กํ า ห น ด ร า ค า แขงขันกับประเทศ คูแขงได เกมนี้คง กระดอนไปที่ รมว. คลัง และผูวาการ แบงก ช าติ อ ย า ง นน ช : อานุสรา จิตตมิตรภาพ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท แนนอน ❒❒ ปด ไปรษณียไทย จํากัด (ปณท) รวมดวย อํานวย ทองสถิตย อธิบดีกรม ท า ย กั น ที่ ก า ร พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน ลงนามบันทึกขอตกลงความ โยกยายขาราชการ รวมมือ (MO ) “โครงการทดลองการใชนาํ้ มัน E- 5 กับรถจักรยานยนต ท า ง ก า ร เ มื อ ง ระบบหัว ีด” รณรงคใหพนักงานหันมาใชนํ้ามันแกสโซฮอล E- 5 ตําแหนงที่นาสนใจ และเปนที่ปอปปูลารก็คือ ษกสํานัก กลาวถึงคงจะไมไดกค็ อื คุ ห งิ พรทิพย นายกฯ ได ผู ป ระกาศข า วและพิ ธี ก ร รจนสุนันท ผอ.สํานักนิติวิทยาศาสตร รายการ นายกฯ ยิ่ ง ลั ก ษ พ บ กระทรวงยุตธิ รรม ตองจําใจโบกมือลาเกาอี้ ปร ชาชน รี ตั รัตนเสวี มาเปนเจาของ ตัวโปรดทีน่ งั่ มาอยางยาวนาน สไลดเขากรุ ไมคแทนทีข่ อง หมอทศพร เสรีรกั ษ รอง ไปเปนผูต รวจราชการ และให พ.ท.เอนก ุ หญิงหมอ เลขาธิการนายกฯ และอีกตําแหนงที่ไม ยมจินดา มานัง่ แทนทีค่ ณ
เ โ ม : มารค ริชารด บราวน กรรมการผูจัดการ และ ปยะนันท งาม ทวีกิจ ผูจัดการ ายการตลาด บจก.อินวิดา (ประเทศไทย) เปดตัว ผลิตภัณฑใหม “ไกลเดอรม สเตรทชมารค ครีม” L E M STE CH MA C EAM ครี ม ลดเลื อ นริ้ ว รอยแตกลาย ที่ พั ฒ นาขึ้ น ด ว ย นวัตกรรม ual Active จากประเทศ รั่งเศส
ทั้งหมดตั้งแตเวลา 23.45 น. พรอมกันนี้ตนไดสั่งการใหมีการตั้ง คณะทํางานเพื่อตรวจสอบขอเท็จจริงตอ ไป ยอมรับวาเหตุการณครัง้ นีถ้ อื เปนไฟฟา ดับเปนวงกวาง ซึ่งจะไดมีการนําบทเรียน ครั้ ง นี้ ม าศึ ก ษาที่ จ ะหาแนวทางป อ งกั น ได ป ระสานกั บ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ปญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาวตอไป ประเทศไทย (กฟผ.) ศูนยปองกันและ อี ก ครั้ ง เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ ด เหตุ ก ารณ เช น นี้ บรรเทาสาธารณภัย พรอมหนวยงานที่ ซํ้าแลวซํ้าเลา สํ า หรั บ สาเหตุ ไ ฟฟ า ดั บ ครั้ ง นี้ เกี่ยวของใหความชวยเหลือโดยเรงดวน กระทั่งในเวลาประมาณ 23.00 น. กฟผ. ทางการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จึงสามารถกูส ถานการณกลับมาไดทงั้ หมด (กฟผ.) ไดเขาตรวจสอบขอมูล พบวา มี สาเหตุเกิดจากการขัดของของระบบสายสง 100 เต็ม นายพงษ ศั ก ดิ์ รั ก ตพงศ ไ พศาล ไฟฟาแรงสูงทีจ่ า ยไฟฟาจากภาคกลางไปยัง รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปดเผย ภาคใต ซึง่ สายสงทีจ่ า ยไฟฟาไปยังภาคใตมี ถึงกรณีกระแสไฟฟาดับเปนวงกวางใน 4 วงจร คือ สาย 500 จํานวน 2 วงจร พื้นที่ภาคใต 14 จังหวัด วา กอนอื่นคงจะ และสาย 230 จํานวน 2 วงจร โดยในชวงเชาของวันที่ 21 พ.ค. 56 ต อ งขอโทษกั บ พี่ น อ งประชาชนชาวใต ที่ ต อ งได รั บ ผลกระทบ ซึ่ ง ทุ ก ฝ า ยที่ กฟผ. ไดปลดสายสง 500 จํานวน 1 เกีย่ วของไดเรงเขาดําเนินการแกไขเรงดวน เสน เพื่อทําการซอมบํารุง ในชวงเย็น จนสามารถทยอยจ า ยกระแสไฟฟ า ได สายสง 500 เสนที่ 2 เกิดการชํารุด
ป จั า ุ รง าถานหินภาค ต นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต กระบี่ ระนอง สตูล สงขลา สุราษ รธานี ตรัง และยะลา สาเหตุจากสายสงขนาด 500 ซึ่ ง เป น สายส ง จอมบึ ง ประจวบคีรีขันธ ที่เปนสายสงหลักที่สง ไฟฟาจากภาคกลางไปภาคใตเกิดขัดของ ตอมาในเวลา 21.50 น. สถานการณไฟดับ ภาคใต ก็ ส ามารถแก ไขติ ด ครบทั้ ง 14 จังหวัดแลว แตยังไมเต็มระบบทั้งพื้นที่ บางพื้นที่ยังไมสามารถใชการได 100 บางพื้นที่ยังมีอาการดับสลับติดเปนชวงๆ รวมระยะเวลาที่ ไ ฟฟ า ดั บ ประมาณ 3 ชั่วโมง โดย จ.สุราษ รธานี ไฟฟายังคงใช การไมไดในบางพื้น กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
โอกาสในการขยายกลุมลูกคา ขยายเวลา และสถานที่สําหรับทําการคาใหมากขึ้น รวมถึงขยายการคาไปสูสากลเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข ง ขั น และสร า ง มูลคาเพิม่ ทางเศรษฐกิจใหกบั ประเทศ กรมพัฒนา ุรกิจการคา มีบทบาท ในการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจใหมีการ บริหารจัดการสมัยใหม สรางโอกาสในการ ขยายตลาดใหภาคธุรกิจ ไดมีการพัฒนา ผูประกอบธุรกิจทั่วไปและธุรกิจรายสาขา
รวมทั้งสงเสริมการใชพาณิชยอิเล็กทรอ นิกสเปนเครือ่ งมือในการเริม่ ตนธุรกิจ หรือ ขยายตลาด เพิม่ ประสิทธิภาพและขีดความ สามารถในการประกอบธุรกิจใหแกภาค ธุรกิจไทยมาอยางตอเนื่อง ในการสราง ผูป ระกอบธุรกิจรุน ใหมจาํ เปนตองสรางพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแรงตัง้ แตในระดับการศึกษา และ สรางทายาทธุรกิจใหเปนกําลังสําคัญสราง ความเติบโตทางธุรกิจของผูป ระกอบการ สําหรับการจัดอบรมเชิงป บิ ตั กิ าร ( ) โครงการ C สรางคลื่นลูกใหมผูประกอบ ธุรกิจไทย เปนหลักสูตรการสรางรานคา
ตอ าวหนา
โปรเจง : แบงกออฟไชนา เอาใจลูกคาผูถ อื บัตรเครดิต reat Wall เพือ่ กระตุนการใชจายของลูกคา จัดโปรโมชั่น รูดงายรับงาย iPad Mini มูลคา 15,200 บาท โดยไมตองลุน ไมตองสงชิงโชค ไมตองลงทะเบียน เพียงมียอดใชจา ยผานบัตรติดตอกัน 4 รอบบัญชี ระหวางวันที่ 1 เม.ย.27 ก.ย. 5 รวมตั้งแต 200,000 บาทขึ้นไป บัตร
คาดว า เกิ ด เนื่ อ งจากฟ า ผ า ทํ า ให ไ ม สามารถจายไฟฟาลงภาคใตได จึงจําเปน ตองจายไฟฟาผานสายสงเสน 230 ซึ่ง มีขนาดเล็กกวา จึงทําใหสายสงจายไฟฟา เกินพิกัดสงผลใหสายสงหลุดจากระบบ “จากการที่ภาคใตไมสามารถผลิต ไฟฟาไดเพียงพอและตองพึ่งพาการสง ไฟฟาจากภาคกลางผานสายสงดังกลาว โดยความตองการใชไฟฟาที่มีสูงถึง 2200 M ในขณะที่โรงไฟฟาภาคใตมีกําลังการ ผลิตเพียง 1600 M ทําใหโรงไฟฟาอื่น ในภาคใต อาทิ โรงไฟฟาขนอม โรงไฟฟา จะนะ และโรงไฟฟาเขื่อนรัชประภา ถูก ปลดออกจากระบบโดยอัตโนมัตเิ นือ่ งจาก ความความถี่ไฟฟาลดลงตํ่ากวามาตรฐาน 50 (เ ริ ตซ) เพือ่ ความปลอดภัยของโรง ไฟฟา ทําใหเกิดไฟฟาดับเปนวงกวางตัง้ แต เวลาประมาณ 18.52 น. ของเย็ น วั น ดังกลาว” รมว.พลังงาน เผย นายสุทัศน ปทมสิริวัฒน ผูวาการ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย
(กฟผ.) ระบุวา ในปจจุบันความตองการ ไฟฟาในภาคใตนั้น เพิ่มขึ้นราวรอยละ 6 ตอป โดยเ พาะอยางยิ่งในจังหวัดชายฝง อันดามัน แตขณะเดียวกันระบบผลิตไฟฟา ในพื้นที่ภาคใต ยังตองพึ่งการสงกระแส ไฟฟาจากภาคกลางเปนบางสวน ซึ่งการ สงมีลักษณะเปนคอขวดตามภูมิประเทศ ทําใหมีความความเสี่ยงตอระบบสงไฟฟา คอนขางสูง “จากปญหาดังกลาว ทาง กฟผ. จึง มีแนวทางในการพัฒนาโรงไฟฟาในพื้นที่ ภาคใตและขยายระบบสงเพิ่มขึ้น ไดแก การกอสรางโรงไฟฟาจะนะแหงที่ 2 ที่ กําลังกอสรางและจายไฟฟาเขาสูระบบได ในป 2557 และขณะนี้ ทาง กฟผ. ก็อยู ระหวางการศึกษาความเหมาะสมโครงการ ขยายกําลังการผลิตโรงไฟฟากระบี่ใชเชื้อ เพลิงถานหินนําเขา รวมทั้งการปรับปรุง ระบบส ง ให มี ค วามมั่ น คงยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง จะ เปนการลดความเสี่ยงตอระบบไฟฟาแก ภาคใตในระยะยาว” นายสุทัศน กลาว
Bangkok Airport Outbound Air Cargo Statisties
Unit : Kgs Prepared by Airline Cargo Business Association
For the month Jan-Feb 2012
To Area 2
To Area 1 USA CANADA South America Others Total Weight
11,312,177 461,518 1,239,702 376,930 13,390,327
Africa Austria Belgium C.I.S. Denmark France Total Weight
1,041,599 260,535 647,211 947,655 364,650 1,070,706 20,836,047
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
Germany Italy Kuwait Netherlands Oman Saudi Arabia
4,305,232 752,365 131,198 2,681,499 229,438 445,067
Spain Sweden Switzerland U.A.E. United Kingdom Others
296,017 324,162 738,867 1,439,910 2,398,628 2,761,308
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ก
า
A3
า
ังนาเงน าย น ย ด 2 ร จ ทัศพล บิก เผย ไดขายหุน จํานวน ลาน หุน สนับสนุนการเติบ ตของสายการบินไทยแอรเอเ ยี ในอนาคต หวัง นําเงินจากการขายหุนไปตอยอด ุรกิจ ทั้งการลงทุนจัดตั้งสายการ บินใหม รวมทุนกับสายการบินแอรเอเ ยี มาเลเ ยี รวม งพัฒนา รุ กิจ รงแรมระดับ ดาว คาดผลการดําเนินงาน ดีกวาปที่แลว แนนอน นายทัศพล บเลเวลด ประธาน เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารสายการบิ น ไทยแอร เอเชี ย และกรรมการ บริ ษั ท เอเชี ย เอวิเอชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ AA เปด เผยวา เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ที่ผานมา ตนเองไดทาํ การขายหุน AA ทีถ่ อื อยูอ อก ไปจํ า นวน 235 ล า นหุ น หรื อ คิ ด เป น 4.8 ของจํานวนหุน ทีอ่ อกและชําระแลว ทั้ ง หมดผ า นการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย รายใหญ ( ) ในราคาขายหุนละ 6.50 บาท คิดเปนมูลคารวม 1,527.50 ลานบาท เพื่อนําเงินไปลงทุนในธุรกิจ ซึ่ง จะช ว ยสนั บ สนุ น การเติ บ โตของสาย การบินไทยแอรเอเชียในอนาคต และนํา ไปลงทุนในธุรกิจสวนตัวอื่นๆ รวมถึงจาย ชําระภาระทางการเงินสวนตัว ทั้ ง นี้ หลั ง จากการทํ า รายการ
ดังกลาว ตนยังคงรักษาสัดสวนในการเปน ผู ถื อ หุ น ใหญ ใ น AA ที่ 28.2 ของ จํานวนหุนที่ออกและชําระแลวทั้งหมด และยังคงดํารงตําแหนงประธานเจาหนาที่ บริหารตอไป โดยการทํารายการดังกลาว ไมมผี ลกระทบตอการบริหารงาน และการ ดําเนินธุรกิจของบริษัท สํ า หรั บ เงิ น จากการขายหุ น ครั้ ง นี้ จะนํามาตอยอดใน 2 ธุรกิจ คือ การลงทุน จัดตั้งสายการบินใหม โดยรวมทุนกับสาย การบินแอรเอเชียมาเลเซีย และตนจะเปน ผูถือหุนใหญ มีวัตถุประสงคที่จะจัดหา เครื่องบินขนาดใหญมาใหบริการเ พาะ เสนทางบินระหวางประเทศที่บินเกิน 4 ชั่วโมง เพื่อนําผูโดยสารมาสงตอใหกับ สายการบินไทยแอรเอเชีย เสมือนเปนการ เอื้อประโยชนกัน และจะไมมีเสนทางบิน
ั ล
ที่ทับซอนกัน ซึ่งเชื่อวาปลายปนี้สายการ บิ น ใหม ดั ง กล า วจะเริ่ ม ให บ ริ ก ารได นอกจากนี้ จะนําเงินสวนหนึ่งมาพัฒนา ธุรกิจโรงแรมระดับ 2-3 ดาว ทีข่ ณะนีม้ อี ยู 2 แหง บริเวณถนนเพชรบุรี เพื่อรองรับ
รวม สแตนด รด รเตอรด อง ังพ ันสร งคว มส เร
บริษทั การบินไทย จํากัด มหาชน รวมกับ นาคารส ตนดารดชารเตอรด ไทย จํากัด มหาชน รวม ลอง 1 ทศวรรษ หงความรวมมื อ ล ความ สําเรจในการเปนสายการบินชั้นนําของ ลก ดยในชวงกวา 10 ปที่ผ านมา การบินไทย ล นาคารไดพัฒนาความ สั ม พั น ผ านความรวมมื อ เพื่ อ จั ด หา เครื่องบิน ง ลํา รวมมูลคาทั้งสิ้นกวา 1 000 ลานบาท ดร.สรจักร เกษมสุวรร กรรมการ ผูอํานวยการใหญ การบินไทย กลาววา การจัดหาเครื่องบินใหมของการบินไทย เปนสวนหนึ่งของการดําเนินกลยุทธใน การพัฒนาเครือขายเสนทางบินและฝูงบิน นอกจากนัน้ ยังเปนการเพิม่ ประสิทธิภาพ ของฝูงบินดวยการจัดหาเครื่องบินใหม ทดแทนการปลดระวางเครื่องบินที่มีอายุ การใชงานมานาน และเพิ่มปริมาณการ ผลิ ต เพื่ อ รองรั บ การเจริ ญ เติ บ โตของ
ผู จั ด การใหญ แ ละประธานเจ า หน า ที่ บริหาร ธนาคารสแตนดารดชารเตอรด (ไทย) กลาววา ธนาคารมุงเนนการพัฒนา ความสัมพันธระยะยาวและนําเสนอการ ใหบริการทางการเงินที่หลากหลายเพื่อ สนั บ สนุ น การขยายตั ว ทางธุ ร กิ จ ของ บริ ษั ท คู ค า ของธนาคาร โดยสํ า หรั บ การบินไทย เราดําเนินธุรกิจรวมกันครั้ง แรกในป 2545 และจนถึงป 2556 นี้ เรา ได เ ป น ธนาคารหลั ก ในการสนั บ สนุ น ทางการเงินเพื่อการจัดหาเครื่องบินทั้งสิ้น 7 ลํ า มู ล ค า การสนั บ สนุ น ทั้ ง สิ้ น กว า 12,000 ลานบาท รวมทั้ ง การสนั บสนุ น ผ า นรู ปแบบ การใหบริการทางการเงินที่หลากหลาย เชน การเชาซือ้ เครือ่ งบินโดยใชสนิ เชือ่ เพือ่ การบินไทย การสงออก โดยมีธนาคารเพื่อการสงออก ทั้งนี้ ในชวง 1 ทศวรรษที่ผานมา และนําเขา ทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง กลยุ ท ธ ที่ มี เ ป า หมาย เปนผูคํ้าประกันเงินกู (E C ชั ด เจนของการบิ น ไทยในการพั ฒ นา F ) การเชาดําเนินงานเครื่องบิน ผลิตภัณฑและการใหบริการของสายการ (A O ) เงินกูระยะ บิ น จนถึ ง ป จ จุ บั น ทํ า ให ก ารบิ น ไทยมี ยาว (T ) และวงเงินสินเชื่อ ฝูงบินที่มีเครื่องบินใหมและทันสมัย ทั้งนี้ หมุนเวียน (C C ) เพื่อเปนการตอบสนองความตองการและ “เรามีความภูมิใจที่ไดเปนสวนรวม สรางความพึงพอใจแกผูโดยสาร จนทําให ในการพัฒนาการใหบริการสายการบิน มี จํ า นวนผู โ ดยสารเพิ่ ม สู ง ขึ้ น และเพื่ อ แหงชาติใหเปนหนึ่งในสายการบินชั้นนํา รองรับนักทองเที่ยวที่จะเดินทางเขามายัง ของโลก และการบิ น ไทยจํ า เป น ต อ งมี ประเทศไทย ทําใหสามารถสนับสนุนการ ความเขมแข็งในทุกๆ ดานเพื่อใหสามารถ ท อ งเที่ ย วของประเทศไทยได อ ย า งมี แขงขันกับคูแขงทั้งในดานการบริการที่ดี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี ก ารคาดการณ ว า อย า งต อ เนื่ อ งและสมํ่ า เสมอ โดยนอก ตัวเลขนักทองเที่ยวที่จะเดินทางเขามาใน เหนื อ จากฝู ง บิ น ที่ มี ค วามทั น สมั ย และ ประเทศไทยในป 2556 จะมีถึง 23 ลาน บริการที่เปนเลิศแลว ความมั่นคงทางการ คน หรือมากกวาเดิมกวารอยละ 10-13 เงิ น และความคล อ งตั ว ในการบริ ห าร ซึ่ ง การบิ น ไทยได รั บ การสนั บ สนุ น เป น จัดการความเสี่ยงตางๆ ลวนแลวแตเปน อยางดีจากธนาคารสแตนดารดชารเตอรด ปจจัยที่จะสงผลตอการดําเนินงานของ ดาน นางสาวลิน ค็อก กรรมการ บริษัททั้งสิ้น” นางสาวลิน กลาว
นักทองเที่ยว โดยเ พาะชาวจีน อยางไรก็ดี ในสวนของแนวโนมผล การดําเนินงานไตรมาส 2 2556 (เม.ย.-
เลเว็ลด
มิ.ย.) จะดีกวาปที่แลวแนนอน เพราะ ลาสุดมีอัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารตอ เที่ยวบิน (C F ) 81-82 ขณะ
ปกอนอยูที่ 78 ซึ่งปจจัยหนุนที่สําคัญ คือสถานการณภายในประเทศสงบ และ ราคานํ้ามันไมผันผวน สวนชวงครึ่งปหลัง (ก.ค.-ธ.ค. 56) เชื่ อ ว า การท อ งเที่ ย ว ภายในประเทศจะเติบโตดีที่ 20-25 ซึ่ง จะสงผลใหธรุ กิจสายการบินเติบโตไปดวย สํ า หรั บ ไทยแอร เ อเชี ย แล ว ทั้ ง ปริมาณผูโดยสารและรายไดก็จะเติบโต ในระดับ 20-25 ตามการทองเทีย่ วเชน กัน สวนเรื่องเงินบาทแข็งคานั้นไมได ส ง ผลกระทบแบบมี นั ย สํ า คั ญ กั บ ผล ประกอบการ เพราะไทยแอร เ อเชี ย มีรายไดเปนสกุลเงินบาทที่ 70 “ไตรมาส 2 ปนจี้ ะดีกวาปทแี่ ลว แนนอน เพราะ C F เรา เพิ่มขึ้นตอนนี้อยูที่ 81-82 เนื่อง จากทุกอยางนิ่ง นํ้ามันนิ่งก็ทําใหทุก อยางออกมาดี สวนครึ่งปหลังผมยัง มองวาการทองเทีย่ วในประเทศจะโต ที่ 20-25 แนนอนวาธุรกิจสายการ บินจะไดรับประโยชน ซึ่งผูโดยสาร และรายไดของเราก็จะโตประมาณนี้เชน กัน” นายทัศพล กลาว
‘สนามบินสมุย’ ลอ ครบรอบ 24 จัดคอน สิรตให
“สนามบินสมุย” ครบรอบ 24 ป จัด งาน ลอง นํ า โดยสายการบิ น บางกอก แอรเวยส ภายใตธีม “ F ” A 24 A พรอมดวยคอนเสิรต ลอง 24 ป สนามบินสมุย นายพุฒิพงศ ปราสาททอง อส กรรมการผูอํานวยการใหญ สายการบิน บางกอก แอรเวยส กลาววา ตลอดระยะ เวลา 24 ป ที่สนามบินสมุย ไดเปดให บริการแกนักทองเที่ยว และนักเดินทาง จากทั่วโลก ทั้งบางกอก แอรเวยส และ สนามบินสมุย ตางก็มีความมุงมั่นที่จะให บริการและอํานวยความสะดวกในการเดิน ทางแก ผู โ ดยสารทุ ก ท า น เกาะสมุ ย มี ศักยภาพดานการทองเที่ยวสูง และชาว สมุยเองก็เปดประตูตอนรับนักทองเที่ยว ที่ ม าเยื อ น เกาะสมุ ย จึ ง เป น แหล ง ท อ ง เทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก เปนเกาะในฝน ที่ใครๆ ก็อยากมา “สํ า หรั บ สนามบิ น สมุ ย ภู มิ ใจที่ ไ ด เปนสวนหนึง่ ของการพัฒนาการทองเทีย่ ว ของเกาะสมุย โดยเปนประตูดานแรกที่ คอยตอนรับนักทองเที่ยว ในโอกาสนี้ขอ ขอบคุณทั้งสวนราชการ เทศบาล ภาค เอกชน สมาคมโรงแรม สมาคมทองเที่ยว
เกาะสมุย ผูส นับสนุน สือ่ มวลชน และชาว สมุยทุกทาน ทีไ่ ดใหการสนับสนุนสนามบิน สมุยมาโดยตลอด คอนเสิรตครั้งนี้ไดจัด เพื่อพี่นองชาวสมุย และถือวาเปนการ พบปะสังสรรค และรวม ลองครบรอบ 24 ปสนามบินสมุยไปพรอมๆกัน” ดาน ม.ล.นันทิกา วรวรรณ รอง ผูอํานวยการใหญฝายโ ษณาและประชา สัมพันธ กลาววา เมื่อชวงตนปที่ผานมา เราไดมีการจัดปารตี้ ลองครบรอบ 45 ป ของสายการบิ น เพื่ อ เป น การขอบคุ ณ ลูกคา และผูใ หการสนับสนุนทุกทาน และ ในป นี้ ส นามบิ น สมุ ย ก็ ค รบรอบ 24 ป อีกดวย เราจึงจัดคอนเสิรต ลอง 24 ป ขึ้น เพื่อเปนการขอบคุณ และสงมอบ ความสุขใหกับชาวเกาะสมุย โดยภายใน งานจะแบ ง ออกเป น 3 โซน คื อ โซน คอนเสิรต ที่เราขนทัพดารา ศิลปนจาก กรุงเทพฯ เพื่อมอบความสุขใหกับชาว เกาะสมุย โซนฟน พารค (F ) โซน สวนสนุก ที่มีเครื่องเลนแปลกใหมใหชาว เกาะสมุยไดสนุกกันเต็มที่ และโซนอาหาร เลือกอรอยกับอาหารตางๆ จากโรงแรม และรานอาหารชื่อดังบนเกาะสมุย” คอนเสิรต ลอง 24 ป สนามบินสมุย เปดตัวดวยโชวชุดที่หนึ่ง
เปนโชวจากแคทรียา อิงลิช และเบน ชลาทิศ ตอดวยโชวชุดที่ สอง A จากสาม หนุมสุด อต มาริโอ เมาเรอ เคน ภูภูมิ เวียร ศุกลวัตน และบิลลี่ โอแกน จากนั้น ตอดวยโชวที่สาม แดนซ ไ ปกั บ คอนเสิ ร ต สุ ด มั น ส กั บ เจ เจตริน โจอี้ บอย และกานคอคลับ ปดทาย ดวยโชว กับคอนเสิรต จากวง F ผูสื่อขาวรายงานวา สนามบินสมุย เริ่ ม เป ด บริ ก ารเส น ทางแรกในเส น ทาง กรุ ง เทพ-สมุ ย ด ว ยเครื่ อ งบิ น A 8-100 ขนาด 37 ที่นั่ง ใชเวลาเดินทาง เพียงแค 1 ชั่วโมง 10 นาที ซึ่งเปนการยน ระยะเวลาเดินทางไปเกาะสมุย ซึ่งโดย ปกติ จะตองใชเวลาไมตํ่ากวา 6 ชั่วโมง ถึง 1 วัน ของการเดินทางแตละประเภท และ ในปจจุบัน สนามบินสมุยสามารถรองรับ เครื่องบินไอพนขนาดเล็ก เชน A A320-A319 และ 737 โดยใช เวลาเดินทางประมาณ 50 นาทีเทานั้น ปจจุบันมีเสนทางบินที่ใชสนามบินสมุย เปนศูนยกลาง ไดแก สมุย-กระบี่, สมุยภูเก็ต, สมุย-อูตะเภา, สมุย-เชียงใหม, สมุย-สิงคโปร และสมุย- องกง ปจจุบนั สนามบินสมุยไดทาํ การขยาย อาคารผูโ ดยสารใหม โดยอาคารผูโ ดยสาร ภายในประเทศอาคารใหมไดเปดใหบริการ ไปเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2550 และ อาคารผูโดยสารระหวางประเทศอาคาร ใหมไดเปดใหบริการเมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2550 โดยอาคารผู โ ดยสารใหม มี พื้ น ที่ ใชสอยกวา 7,300 ตารางเมตร โดยประกอบ ไปดวยอาคารผูโ ดยสาร 6 อาคาร แบงเปน อาคารผูโ ดยสารภายในประเทศ 4 อาคาร และอาคารผูโดยสารระหวางประเทศ 2 อาคาร โดยอาคารผูโ ดยสารใหม สามารถ รองรับผูโ ดยสารไดวนั ละประมาณ 16,000 คนตอวัน หรือ 6,000,000 คนตอป
A4
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล สัมภาษ พิเ ษ
TG นา นอขอมล ั ั้ มา ล คมนาคมชี้ยึดประโยชนองคกรเปนหลัก
อีกทั้งจะเสนอกระทรวงคมนาคม พิจารณาการจัดตัง้ สายการบินไทยสมายล แอรเวย เปนบริษัทยอยของการบินไทย โดยเบื้ อ งต น กํ า หนดทุ น จดทะเบี ย นไว ประมาณ 1,400 ลานบาท พรอมสงไมตอ เพือ่ เสนอคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. พิจารณา จากการจะจั ด ตั้ ง สายการบิ น ไทย สมายล แอร เวย เป น บริ ษั ท ย อ ยของ การบิ น ไทยนั้ น ผู กํ า กั บ ดู แ ลอย า ง กระทรวงคมนาคม ไดใหการบินไทยกลับ ไปทําขอมูลเพิม่ เติม เนือ่ งจากแผนทีเ่ สนอ มายังมีรายละเอียดไมชัดเจนและมีความ พรอมในการเขาแขงขันในธุรกิจการบิน อยางแทจริง โดยเ พาะขอมูลกรณีที่สาย การบินอื่นที่มีการตั้งบริษัทลูกขึ้นมาเชน เดียวกับบริษัท ไทยสมายลนั้น มีขอดีขอเสีย และประสบความสําเร็จหรือไม โดย ใหทบทวนแผนเสนอกลับมาโดยเร็วที่สุด รวมถึ ง พบว า มี ห ลายสายการบิ น ที่ตั้งบริษัทลูกขึ้นมาแลวไมประสบความ สําเร็จ เชน สายการบินลุฟท ันซา สาย การบินแอรฟรานซ และบริติช แอรเวยส เคยมี ก ารตั้ ง บริ ษั ท ลู ก ถื อ หุ น 100 ดําเนินธุรกิจเปนสายการบินตนทุนตํ่า แต ไมประสบความสําเร็จ ในขณะที่สิงคโปร
แอรไลนตั้งซิลคแอรไลนเปนบริษัทลูก ถือ หุน 100 โดยซิลคแอรไลนประสบความ สําเร็จมาก แตในขณะที่สิงคโปรแอรไลน กลับมีผลประกอบการที่ตกตํ่าลง ดังนั้น การบินไทยตองนําขอมูลเหลานี้มาเปรียบ เทียบขอดีขอเสียและศึกษาใหดี ลาสุด การบินไทยไดนําเสนอขอมูล เพิ่ ม เติ ม ถึ ง แผนจั ด ตั้ ง “ไทยสมายล แอร เวย ” โดยมี ก ารเปรี ย บเที ย บข อ ดี ระหว า งการตั้ ง บริ ษั ท ใหม กั บ การ เป น หน ว ยธุ ร กิ จ ทั้ ง นี้ หนั ง สื อ พิ ม พ “TRANSPORT” มี โ อกาสสั ม ภาษณ พล.อ.พ ท สุวรร ทัต รัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวงคมนาคม ถึงเรื่องดัง กลาว ตองมาติดตามกัน รมช.คมนาคม เปดเผยวา ภายหลัง ที่สั่งใหการบินไทยมานําเสนอขอมูลนั้น โดยการบินไทยไดนํารายละเอียดเพิ่มเติม เรื่องการจัดตั้งบริษัท ไทยสมายล แอรเวย มาใหพิจารณา ซึ่งกระทรวงจะพิจารณา อยางรอบคอบโดยยึดประโยชนสูงสุดของ การบินไทยเปนหลัก อยางไรก็ดี จะสรุป แผนและสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา ตอไป สําหรับแผนการจัดตั้งบริษัท ไทย
รศ.ดร.ทวีศักดิ เท ิทัก
อ.ศนยวิ ัย ล ิสติกสแล การ ัดการ มหาวิทยาลัยบร า ma ta eesak @ otma . om
การศก า ปรี ที การประ ก การ การ กก า ก า ะ า อม อ ประ ทศพ า วก อทอป อ ประ ทศไท ตอ า ... 3. ผลการศกษา ล การอ ิปรายผล เชิงเปรียบเทียบ .1 การจัดซื้อ จัดหา วัต ุดิบ (Procurement and Purchasing) ในภาวะการแขงขันปจจุบันราคา ขายเป น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการตั ด สิ น ใจซื้ อ สิ น ค า ของผู บ ริ โ ภค ผู ผ ลิ ต และ ผูประกอบการจํานวนมากตางตองปรับ ตัวเพื่อหาแหลงตนทุนตํ่าเพื่อความอยู รอดทางธุ ร กิ จ จากงานวิจัยของ , และ (2000) แสดง ให เ ห็ น ว า ผู ป ระกอบการ ME ใน องกงใชวิธีการหาสินคาราคาถูกจาก แหลงภายนอกประเทศเพื่อปอนใหกับผู ประกอบการภายใน องกง ทั้งสินคา สําหรับรานสะดวกซื้อและโรงงานผลิต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสเพื่อการสงออก โดยเ พาะกรณี สินคากลุม อุตสาหกรรม ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสจะนําเขามาจาก
ประเทศจีนซึ่งเปนฐานการผลิตที่สําคัญ เนื่องจากมีขอไดเปรียบเรื่องตนทุนการ ผลิต อีกทัง้ ยังอยูไ มไกลจาก อ งกงมากนัก การหาแหลงผลิตที่ตํ่ากวาจากภายนอก ประเทศสําหรับธุรกิจการผลิตเครื่องจักร และชิ้ น ส ว นสอดคล อ งกั บ งานวิ จั ย ของ , และ (2000) พบว า ME ซึ่ ง เป น ผู ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว น อิเล็กทรอนิกสในเมือง ประเทศ อังกฤษ ไดทําการหาแหลงผลิตที่มีตนทุน ตํ่า โดยพบวาประเทศจีนเปนแหลงผลิต ต น ทุ น ตํ่ า ที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ ประเทศ อังกฤษ ผลการวิจยั ของ A ,F , , และ (1999) พบวา การจางแหลง ผลิตจากภายนอกประเทศเพื่อเปนการ รักษาจุดแข็งทางการแขงขันของตนไวแต ไม ไ ด ใ ห ซั พ พลายเออร ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว นให ทั้งหมด โดยผูประกอบการ ME จะ
“
า า า ที่ า ่ า ่ า ท า ่ า ่ ท มา า ทา ท ท มา า า าม ่ ี า ่ า า ี ท ท มา า า ท ม ี่
“
ภายหลังที่บอรด บริษัท การบินไทย จํากัด มหา น ระบุวา การบินไทยมี ครงการลงทุนจัดตั้งสายการบินไทยสมายล แอรเวย เปนบริษัทยอย ดยสายการบินไทยสมายลข้นเปนหนวย ุรกิจหน่ง ของบริษัท กําหนดบทบาทใหเปน ของการบินไทย ดย ตองการสรางความแตกตางเพื่อเปนทางเลือกใหมใหแกลูกคา ดย ผลิตภัณ ใหมจะมีภาพลักษณที่มีความทันสมัย เนนความรวดเร็ว ของการใหบริการ
สมายล แอร เวย นั้ น จากข อ มู ล ของ การบินไทย ระบุวา ปจจุบันอยูระหวาง การจ า งที่ ป รึ ก ษาเพื่ อ แยกบั ญ ชี ต น ทุ น สวนแผนการใชเครื่องบินนั้น การบินไทย ในฐานะผูเชาซื้อเครื่องบินแอรบัส A 320200 จํานวน 6 ลํา ซึ่งไทยสมายลใชงาน อยู ใ นป จ จุ บั น จะทํ า สั ญ ญาเช า กั บ บริษทั ไทยสมายลตอ ไป โดยคิดคาเชาตาม ปกติ ส ว นเครื่ อ งบิ น อี ก 9 ลํ า ซึ่ ง อยู ระหวางการเตรียมเชา จะโอนใหบริษัท ไทยสมายลเปนผูเชาตรงโดยการบินไทย ไมเกี่ยวของ ในส ว นของการตั้ ง ข อ สั ง เกตว า รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ไทยสมายล มีชอื่ ของกรรมการและผูบ ริหารการบินไทย บางคนนั้น การบินไทยไดนํารายชื่อเหลา นั้นออกแลว เพราะเดิมที่ตั้งไวเปนเพียง ตุ กตาเทานั้น โดยคณะกรรมการบริษัท ทําการผลิตชิ้นสวนที่เปน C T เพียงผูเดียวและใหซัพพลาย เออรทอี่ ยูใ นกลุม พันธมิตรผลิตชิน้ สวนที่ ไมมีความสําคัญกับเครื่องจักรมากนัก เช น วั ส ดุ ห อ หุ ม เครื่ อ งจั ก รภายนอก เปนตน จากกรณีทกี่ ลาวมาขางตน การหา ซั พ พลายเออร จ ะแตกต า งจากธุ ร กิ จ เสื้อผาแฟชั่นโดยพบวา ME ของกลุม เสื้อผาแฟชั่นในเมือง ในประเทศญี่ ปุ น ซึ่ ง เป น เมื อ งแฟชั่ น เที ย บเท า กั บ , และ จะมี ก ารทํ า ธุ ร กิ จ ร ว มกั บ ซัพพลายเออรที่ตั้งอยูไมไกลจากราน ของตน เนื่ อ งจากต อ งตอบสนองต อ ความตองการของลูกคาที่เปลี่ยนแปลง ตามกระแสแฟชั่นอยางรวดเร็ว สําหรับ การขายหนารานและสงออกไปยังกรุง โซล ประเทศเกาหลีใตซึ่งใช ทั้ ง หมดจนถึ ง มื อ ลู ก ค า หน า ร า นที่ โซล โดยใชเวลาเพียง 2 วัน บางประเทศมีการเพิ่มศักยภาพ ทางการแขงขันโดยการนําระบบ T เขา มาลดตนทุนดานการจัดหาและสั่งซื้อ สินคากับซัพพลายเออร อีกทั้งยังมีการ จัดทําฐานขอมูลรวมสําหรับใชในการ พัฒนากลุมธุรกิจของตนเอง เพื่อแขงขัน กับคูแขงขันจากภายนอกประเทศ อานตอ หนา...
“Mittu Chandilya” ขึ้นนั่งเกาอี้ แอร อานตอ หนา... เอเชี ย อิ น เดี ย ทั้ ง นี้ มี ผ ลตั้ ง แต วั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2556 เป น ต น ไป (( รายงานขาวจากแอรเอเชีย อินเดีย ระบุวา M ไดสงั่ สมประสบการณการเปนผูน าํ นับตั้งแตการเปนผูประกอบการที่ประสบ สวั ส ดี ค รั บ พบกั บ สั ง คมทาง ความสําเร็จ ตลอดจนการเปนผูบ ริหารใน Mittu Chandilya เลสล ล องคกรระดับประเทศ ภูมภิ าค และระดับ อากาศ ปร จําหนังสือพิมพ PORT (( เริ่มที่ขาวคณะกรรมการ โลกกับบริษัทขามชาติชั้นนํา และสุดทาย หลงใหลในแวดวงธุรกิจการบิน ตําแหนง แอร เ อเชี ย อิ น เดี ย แต ง ตั้ ง ตํ า แหน ง กับประสบการณที่ปรึกษาใหกับผูบริหาร สุดทายของเขา คือ ประธานเจาหนาที่บริหารคนใหม โดย ระดับสูงตลอดมา (( M สนใจและ ประจํา ภูมิภาค
ี ท า า า า ม า
ไทยสมายล จะมีไมตํ่ากวา 11 คน ประกอบดวย ผูแทนจากกระทรวง การคลัง ผูแทนการบินไทย และ ไม จํ า เป น ว า ประธานกรรมการ การบิ น ไทยต อ งเป น ประธาน กรรมการ บริษัท ไทยสมายล บริษัท ไทยสมายล มีทุน จดทะเบียน 1,800 ลานบาท โดย การบินไทยคาดวาในชวง 5 ป ตัง้ แตป 2556-2560 ไทยสมายลจะ มีรายได 88,678 ลานบาท และมี กําไรสุทธิ 7,056 ลานบาท โดยป 2556 จะมีรายได 6,384 ลาน บาท มีกาํ ไรสุทธิ 54 ลานบาท และป 2560 จะมี ร ายได 23,374 ลานบาท มีกาํ ไรสุทธิ 1,946 ลานบาท
ลอ สวรร ัต รั มนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม
รมเ ท เนนคว ม ปรง ส เ มสอบปร นียบัตรคนเรอ นายศรศักดิ์ สนสมบัติ อธิบดีกรม เจาทา กลาววา จากนโยบายกระทรวง คมนาคม โดย ดร.ชั ช ชาติ สิ ท ธิ พั น ธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม และ พลตํารวจเอกวิเชียร พจนโพธิ์ศรี ปลัด กระทรวงคมนาคม กําชับใหหนวยงานใน สั ง กั ด ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ด ว ยความโปร ง ใส และให ค วามสํ า คั ญ ในการปราบปราม ทุจริต กรมเจาทา จึงไดกําชับขาราชการ เจาหนาที่ใหเขมงวด ตรวจสอบการสอบ ประกาศนียบัตรผูทําการในเรือใหเปนไป ตามระเบียบ ก เกณฑอยา งเครงครัด หากพบวามีการทุจริต หรือปลอมแปลง เอกสาร จะเอาผิ ด ขั้ น สู ง สุ ด พร อ มทั้ ง ขอแจ ง เตื อ นผู ที่ จ ะมาสอบความรู ค น ประจําเรือ อยาหลงเชื่อมิจ าชีพที่หลอก วาจะชวยใหสอบได ซึ่งไมเปนความจริง หากมี ข อ สงสั ย ประการใดให ส อบถาม มายังกรมเจาทา กองมาตรฐานคนประจํา เรือ โทร. 0-2236-1808 จากสถิติคนประจําเรือของประเทศ ไทยลาสุดปรากฏวา ปจจุบันมีคนประจํา เรื อ ที่ ทํ า งานอยู ใ นเรื อ ประมงทั้ ง สิ้ น ประมาณ 27,000 คน และคนประจําเรือ
ที่อยูบนเรืออื่นที่มิใชเรือประมงประมาณ 40,000 คน ซึ่ ง จะเห็ น ได ว า การเจริ ญ เติบโตของคนประจําเรือไทยอาจถือไดวา มี ส ว นสํ า คั ญ และมี ผ ลกระทบต อ การ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอยางมีนัย สําคัญ ทั้งนี้ การผลักดันใหคนประจําเรือ ของไทยมีความรูความสามารถมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจการ ขนส ง ทางทะเล และธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง ที่ มี แ นวโน ม เพิ่ ม มากขึ้ น จากการเป น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ. 2558 รวมทัง้ สรางรายไดทสี่ งู ขึน้ ใหกบั คน ประจํ า เรื อ นั้ น เป น ภารกิ จ ที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่งของกรมเจาทา สํ า หรั บ การเพิ่ ม ความรู ค วาม สามารถของคนประจําเรือไทยใหสูงขึ้น โดยมี ม าตรฐานทั ด เที ย มกั บ มาตรฐาน ที่ไดรับการยอมรับในสากล (มาตรฐาน ขององคการทางทะเลระหวางประเทศ) นั้ น กรมเจ า ท า ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ กระบวนการสอบความรูคนประจําเรือ ไทยเปนอยา งมาก โดยไดมีการนํา เอา ระบบบริหารคุณภาพ ( O 9001 2008) มาใช กั บ กระบวนการสอบความรู ค น
ประจําเรือไทยเพื่อใหมีมาตรฐาน โปรงใส และสามารถตรวจสอบการดําเนินการได ในทุกขั้นตอน ตั้งแตขั้นตอนการรับสมัคร สอบ จนกระทั่งถึงขั้นตอนในการออกใบ ประกาศนียบัตรใหกับคนประจําเรือไทย รวมทัง้ มีการจัดการตามระบบคุณภาพ คือ มีการตรวจติดตามประจําป และมีการ ตรวจสอบจากผู ต รวจสอบภายนอก เพื่อรักษาคุณภาพของระบบในการสอบ ความรู ค นประจํ า เรื อ ไว ใ ห มี ม าตรฐาน นอกจากนี้ กรมเจ า ท า ยั ง สั่ ง การให เจ า หน า ที่ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การคุ ม สอบ ดําเนินการตามระเบียบ ก เกณฑอยาง เครงครัด โดยปจจุบันมีการตรวจสอบพบ การทุจริตในการสอบ และมีการดําเนิน การลงโทษแลวหลายราย ปจจุบัน กรมเจาทาอยูระหวางการ พิจารณาจัดทํา และเสนอเพือ่ ขออนุมตั เิ งิน งบประมาณในการดําเนินโครงการสอบ ขอเขียนอิเล็กทรอนิกส (E-E ) ซึ่ง เปนการพัฒนานําเอาระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ เขามาประยุกต ใชชว ยในการสอบสามารถกําหนดแผนการ สอบไดหลายรอบตอป และมีขั้นตอนการ สอบที่สะดวก รวดเร็ว สามารถประกาศ ผลสอบไดทันที ทําใหเกิดความโปรงใส ประหยัดเวลา ลดตนทุนทีเ่ กิดจากการสอบ แบบใชกระดาษไดเปนอยางมาก และคาด วาจะสามารถนํามาใชในการสอบความรู คนประจําเรือไดในอนาคตอันใกล
เอเชียแปซิฟก ของบริษทั E ซึง่ ทําใหเขาไดเรียนรูง านดานการทองเทีย่ ว และบริการ โดยเบื้องตนเนนในดานสาย การบินและธุรกิจการบิน (( M กลาวถึงการเขามารับตําแหนงซีอโี อวา ตน เปนคนเชนไน ทั้งนี้ตื่นเตนที่ไดกลับมายัง อินเดียเพือ่ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมการบิน ตน รอที่จะไดเขามาสวนหนึ่งของครอบครัว แอรเอเชีย และทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ จะสรางนิยาม ใหมของคําวา “การบิน” ใหกบั ลูกคาชาว อินเดีย (( สําหรับ M เติบโตใน
อินเดีย แอฟริกา และสหรัฐอเมริกา จบการ ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี วิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาธุรกิจและเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา M ยังสําเร็จการศึกษาปริญญาโทดาน บริหารธรุกจิจากฝรัง่ เศส สิงคโปร และจีน (( ต อ กั น ที่ ข า วด า นการบิ น สํ า หรั บ เยาวชนไทย โดย “คาเธย แปซิฟค ” จัดฝก อบรมดานการบินใหแกเยาวชนไทยที่เขา รอบสุดทายในโปรแกรม C F ป 2 (( งานนี้ เลสลี่ ลู ผูจ ดั การประจํา
ประเทศไทยสายการบินคาเธย แปซิฟค เปดเผยวา เยาวชน 15 คน ทีไ่ ดรบั การ คัดเลือกเขารวมโปรแกรม C F ที่ เปดโอกาสใหเยาวชนไดเรียนรูก ระบวนการ ทํางานของหนวยงานหลักๆ ของธุรกิจการ บินจากผูเ ชีย่ วชาญ ทีไ่ ดรบั การจัดขึน้ เปน ปที่ 2 ในประเทศไทย ผูเ ขาอบรมยังไดรบั โอกาสพิเศษในการเยีย่ มชมภายในเครือ่ ง บินพาณิชย, เครื่องบินขนสงสินคาและ หองนักบินของเครื่องบินพาณิชยดวย... พบกันใหม บับหนา สวัสดีครับ ((
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
คม าคม
A5
า คร การ ท .
นน ด นทน จส ส
คมนาคม เรงสรุป ครงการทาเรือ าย ง และ ครงการพัฒนา ศูนยการขนสงตูส นิ คาทางร ไ ว ยลดตนทุน ลจิสติกส เพิม่ สัดสวน การขนสงทางนํ้าและรางมากข้น คาดวาจะเปดใหบริการไดภายใน ป
ทาเรือแหลม บัง เปนจุดตนทางและ ปลายทางของตู สิ น ค า ที่ ข นส ง ทางเรื อ ชายฝงจากทาเรืออื่นๆ ที่อยูบริเวณแนว ชายฝงอาวไทย แตปญหาอยูที่ปจจุบัน ทาเรือแหลม บัง ยังไมมีทาเทียบเรือ ที่ สามารถใหบริการแกเรือขนสินคาชายฝง โดยเ พาะได ทําใหไมสามารถใหบริการแก เรื อ ชายฝ ง ได อ ย า งเต็ ม ที่ ประกอบกั บ ต น ทุ น ที่ สู ง สํ า หรั บ การขนถ า ยสิ น ค า เนื่องจากผูประกอบการตองมีคาใชจายใน การขนสงตูสินคาไปยังทาเทียบเรืออื่นๆ เพื่อนําสินคาขึ้นเรือขนสงสินคาระหวาง ประเทศเพิ่มมากขึ้น ขอจํากัดสวนนี้ทําใหผูประกอบการ จะนําเรือชายฝงเขาเทียบยังทาเรือตาง ประเทศโดยตรง ซึ่งก็จะกอใหเกิดปญหา อื่นตามมา นั่นก็คือ ทําใหตนทุนเรือคอย ทริสเรทติ้ง ปรับลดอันดับเครดิต องคกรของ บริษัท อาร ซี อล จํากัด มหาชน เป น ร ดั บ จาก ดย นว นมยังคง หรือ ลบ การปรับลดอันดับเครดิตดังกลาว สะทอนถึงผลการดําเนินของบริษัทที่ฟน ตัวชากวาที่คาดการณไวเนื่องจากภาวะ อุตสาหกรรมที่ออนแอ ทั้งนี้ บริษัทยังคง มีผลประกอบการขาดทุนจากการดําเนิน งานจํานวน 1,174 ลานบาท ในป 2555 เมื่อเทียบกับ 2,051 ลานบาท ในป 2554 บริ ษั ท ยั ง คงต อ งเผชิ ญ กั บ ความท า ทาย หลายประการในการปรั บ ปรุ ง ผลการ ดํ า เนิ น งาน อาทิ การชะลอตั ว ของ เศรษฐกิจโลก ราคานํ้ามันที่อยูในระดับสูง การแขงขันที่รุนแรงในภูมิภาคเอเชีย และ อุ ป ทานส ว นเกิ น ของเรื อ ที่ ยั ง คงมี อ ย า ง ตอเนื่อง อยางไรก็ตาม อันดับเครดิตยังคง สะท อ นถึ ง คณะผู บ ริ ห ารของบริ ษั ท ที่ มี ความสามารถและประสบการณ รวมทั้ง สถานะผูนําในตลาดผูประกอบการขนสง ทางเรือระดับภูมภิ าคอันเนือ่ งมาจากความ ได เ ปรี ย บในด า นขนาดและอายุ เ ลี่ ย ของกองเรือ ตลอดจนความถี่ในการให บริการ ในขณะที่แนวโนมอันดับเครดิต “ ” หรื อ “ลบ” สะท อ นถึ ง สถานการณทางการตลาดที่ไมเอื้ออํานวย อย า งต อ เนื่ อ งซึ่ ง คาดว า จะยั ง คงกดดั น ความสามารถของบริษัทในการปรับปรุง ผลประกอบการและสถานะทางการเงินใน ระยะใกลตอไป ทั้งนี้ อันดับเครดิตอาจได â´Â : Ocean Princess
แวดวง
พาณิชยนาวี
สวัสดีค พบกับ วดวงพา ิชย นาวี ป ร จํ า หนั ง สื อ พิ ม พ ...เริม่ ตนทีโ่ รดโชวของ ยิง่ ลักษ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นําทีมโรดโชว ญี่ปุนแจงแผนลงทุนขนาดใหญของไทย ทั้งโครงการนํ้า โครงสรางพื้นฐาน และ ทวาย ภายหลั ง เดิ น ทางถึ ง นายก
เทียบทา ( T ) สูงขึ้น และยังมี ปญหาดานคาใชจายในการยกขนและการ เคลือ่ นยายตูส นิ คาทีซ่ าํ้ ซอนอีกดวย ดังนัน้ เพื่อแกปญหา กทท. จึงไดวาจางกลุมที่ ปรึกษาใหดาํ เนินการศึกษาความเหมาะสม และออกแบบรายละเอียดในการกอสราง ทาเทียบเรือชายฝง ที่ทาเรือแหลม บัง เป า หมายที่ ต อ งการให บ ริ ก ารใน รู ป แบบของท า สาธารณะอย า งแท จ ริ ง ซึ่งจะชวยลดตนทุนกระจายสินคาใหแก ผูประกอบการ เพียงพอที่จะรองรับและ สรางความมั่นใจที่จะเพิ่มปริมาณการให บริการขนสงตูส นิ คาทางชายฝง และทางลํา แมนาํ้ มายังทาเรือแหลม บัง ซึง่ มีอตั ราการ ขยายตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ตอความคืบหนาดังกลาว ดร.ชัชชาติ สิ ท ิ พั น ุ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง
คมนาคม กลาววา กระทรวงเตรียมเรงสรุป รายละเอียดโครงการกอสรางทาเทียบเรือ ชายฝงของทาเรือแหลม บัง บริเวณทา เทียบเรือเอ วงเงิน 1,959.49 ลานบาท และโครงการพัฒนาศูนยการขนสงตูส นิ คา ทางรถไฟ วงเงิน 3,062.65 ลานบาท เพื่อ เสนอใหคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณา
อนุมัติเร็วๆ นี้ ทั้ง 2 โครงการ การทาเรือ แหงประเทศไทย (กทท.) จะเปนผูลงทุน หากดําเนินการแลวเสร็จจะชวยลดตนทุน โลจิสติกส เพิ่มสัดสวนการขนสงทางนํ้า และรางมากขึน้ คาดวาจะเปดใหบริการได ภายในป 2558 การที่ ต อ งก อ สร า งท า เที ย บเรื อ
ระดับ 673 ดอลลารสหรัฐตอเมตริกตัน จาก 638 ดอลลารสหรัฐตอเมตริกตัน ใน ป 2554 อยางไรก็ตาม บริษัทมีคาใชจาย เชื้อเพลิงลดลงเล็กนอยจาก 196.1 ลาน ดอลลารสหรัฐ ในป 2554 เปน 184.5 ลานดอลลารสหรัฐ ในป 2555 เนื่องจาก บริษัทลดการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงลง อยางไรก็ตาม ในป 2555 ผลการ ดําเนินงานของบริษทั ปรับตัวดีขนึ้ เล็กนอย จากความสํ า เร็ จ ในการปรั บ ลดต น ทุ น อัตราสวนกําไรจากการดําเนินงานกอน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายตอราย ไดที่ปรับปรุงรายการเชาดําเนินงานแลว ปรับตัวดีขึ้นจาก -2.3 ในป 2554 เปน 4.5 ในป 2555 อัตราสวนกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนายตอดอกเบีย้ ทีป่ รับปรุงรายการ เชาดําเนินงานแลวเพิ่มขึ้นจาก -0.5 เทา ในป 2554 เปน 1.5 เทา ในป 2555 อัตราสวนเงินทุนจากการดําเนินงานตอ เงินกูร วมทีป่ รับปรุงรายการเชาดําเนินงาน แลวปรับตัวเพิม่ ขึน้ จาก -6.0 ในป 2554 เปน 3.7 ในป 2555 สวนอัตราสวนหนี้ สินตอโครงสรางเงินทุนที่ปรับปรุงรายการ เช า ดํ า เนิ น งานแล ว ก็ ป รั บ ตั ว ลดลงจาก 45.4 ในป 2554 เปน 42.2 ในป 2555 เนื่องจากการชําระคืนหนี้ อยางไร
ก็ตาม อัตราสวนหนี้สินตอโครงสรางเงิน ทุนคาดวาจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากบริษัทไดซื้อ เรือจํานวน 2 ลํา ซึ่งจะรับมอบภายในป 2556 นี้ โดยบริษัทใชเงินกูยืมจากสถาบัน การเงินในการซื้อเรือดังกลาว สภาพคลองของบริษัทยังคงตึงตัว เนื่องจากบริษัทมีกําหนดจะชําระเงินกูยืม จํานวน 1,680 ลานบาท ภายในป 2556 นี้ ในขณะที่ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2555 บริษัทมีเงินสดจํานวน 2,101 ลานบาท อยางไรก็ตาม บริษัทก็จะตองดํารงเงินสด ขั้ น ตํ่ า จํ า นวน 40 ล า นดอลลาร ส หรั ฐ สํารองเอาไวตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู ะนั้น หากผลประกอบการของบริษัทยัง คงฟนตัวชาเชนเดิมก็อาจสงผลกระทบตอ สภาพคลองได จากรายงานของ A ปริมาณ การบรรทุกสินคาในชวงป 2556-2557 จะ เพิ่มขึ้นประมาณ 3.0 ลานตู หรือคิดเปน 18 ของปริ ม าณบรรทุ ก ในป จ จุ บั น นอกจากนี้ ราคานํ้ามันก็ยังคงอยูในระดับ สูง โดยราคานํ้ามันเ ลี่ยในชวงไตรมาส แรกของป 2556 อยูที่ระดับ 620 ดอลลาร สหรัฐตอเมตริกตัน ความสามารถในการ เพิ่มอัตราคาระวางของบริษัทยังคงไดรับ แรงกดดันจากการชะลอตัวของการเติบโต ของเศรษฐกิ จ โลกและอํ า นาจในการ ต อ รองที่ บ ริ ษั ท มี ตํ่ า กว า ผู ป ระกอบการ รายใหญ ดั ง นั้ น เพื่ อ สนั บ สนุ น ให ผ ล ประกอบการเพิ่มขึ้น บริษัทจึงวางแผนใน การปรับลดคาใชจายในการดํ าเนินงาน ตลอดจนลดการให บ ริ ก ารที่ ไ ม ทํ า กํ า ไร และขนสงสินคาที่ใหกําไรสูง
รัฐมนตรีเขารวมงาน “T 2013” ในหัวขอ “ F T A EA ” ซึ่งกระทรวงการคลังจัดขึ้น เพื่อ สร า งความมั่ น ใจแก นั ก ลงทุ น ญี่ ปุ น ถึ ง ศั ก ยภาพการบริ ห ารประเทศเพื่ อ สร า ง ความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแผนการ งลัก ชนวัตร ั จั จ ลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาประเทศ เพื่ อ เป น ศูนยกลางการเชื่อมโยงของอาเซียน รวม โอกาสนี้ นายกรัฐมนตรี ไดกลาวเปดงาน ทั้งการสนับสนุนโครงการพัฒนาทาเรือนํ้า ต อ ผู เ ข า ร ว มการประชุ ม bb โดย ลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย โดยใน โครงการที่นายกฯ รวมโปรโมทมีทั้งหมด
3 โครงการ ไดแก โครงการลงทุนดานการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรนํ้ า ในวงเงิ น 350,000 ลานบาท โครงการที่สอง คือ แผนการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน 2 ล า นล า นบาท และโครงการที่ 3 คื อ โครงการนิคมอุตสาหกรรมและทาเรือนํ้า ลึกทวาย ในประเทศเมียนมาร bb สรุป แล ว ทั้ ง 3 โครงการเป น โครงการที่ ต อ งการการลงทุ น ขนาดใหญ ทั้ ง มี โครงการที่ตองรองรับในหลายมิติ นายก รัฐมนตรีและรัฐบาลไทยจึงตองการที่จะ
ปรับ ดอันดับเครดิตองค ร แนว นม e ti e เปน รั บ การปรั บ ลดลงอี ก หากบริ ษั ท ยั ง คง ประสบภาวะขาดทุนอยางมีนัยสําคัญและ ประสบป ญ หาด า นสภาพคล อ งในช ว ง ไตรมาสขางหนานี้ อยางไรก็ตาม หาก บริษัทสามารถปรับปรุงอัตราการทํากําไร และสร า งกระแสเงิ น สดที่ เข ม แข็ ง เพี ย ง พอที่จะใชชําระคืนหนี้ไดก็จะเปนปจจัย บวกตออันดับเครดิต และ หรือแนวโนม อันดับเครดิตของบริษัท ในป 2555 ปริมาณการขนสงสินคา ของบริษัทอาร ซี แอล ลดลง 4 จาก กลยุทธการยกเลิกเสนทางเดินเรือที่ไมทํา กําไร โดยการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ยังคงสงผลกระทบตอปริมาณการขนสง สินคาของบริษัท ในป 2555 อัตราคา ระวางโดยเ ลีย่ ของบริษทั เพิม่ ขึน้ เล็กนอย ที่ระดับ 2.3 โดยอยูที่ 195 ดอลลาร สหรัฐตอตูสินคา (T - E TE ) ซึ่งสงผลใหรายไดรวม ของบริษทั ลดลงเล็กนอยจาก 13,684 ลาน บาท ในป 2554 เปน 13,548 ลานบาท ในป 2555 อยางไรก็ตาม อัตราคาระวาง ยังคงไดรับ แรงกดดันจากภาวะอุ ปทาน สวนเกินของเรือที่ยิ่งเพิ่มการแขงขันให รุ น แรงมากขึ้ น และรวมไปถึ ง ภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบาง ทั้งนี้ ในป 2555 ราคานํ้ า มั น โดยเ ลี่ ย ก็ เ พิ่ ม ขึ้ น สู
ชายฝง เพราะปจจุบันไมมีทาเทียบเรือ ชายฝงเปนการเ พาะ เรือชายฝงตองใช รวมกับทาเทียบเรือระหวางประเทศ เมื่อ ตารางเวลาเรือเทียบทาเต็ม เรือชายฝง ตอง รอเทียบทา บางครั้งตองใชเวลารอนานถึง 7-8 วัน มีคาใชจายในการยกขนสินคาซํ้า ซอน เมื่อมีทาเทียบเรือชายฝงแลวจะชวย ลดเวลา ตนทุนคาใชจายลงได ดร.ชัชชาติ กลาววา การขนสงสินคา จากภาคใตในปจจุบนั ใชเรือชายฝง คอนขาง มาก มีปริมาณการขนสงปละ 200,000 ทีอียู โดยทาเทียบเรือเอ สามารถรองรับตู สินคาไดปละ 300,000 ทีอียู คาใชจายใน การยกขนสินคาอยูที่ 2,145 บาทตอตู 20 ฟุต แตหากเรือชายฝงเทียบทาระหวาง ประเทศคาใชจา ยจะอยูท ี่ 3,070 บาทตอตู 20 ฟุ ต โครงการนี้ มี ผ ลตอบแทนทาง เศรษฐกิจ 19.84 อยูในระดับที่ยอมรับ ให ดํ า เนิ น การได กํ า หนดกรอบอั ต รา คาภาระขั้นตํ่า 1,545 บาท ประกอบดวย อัตราคาภาระยกขนตูสินคาในอัตราขั้นตํ่า 715 บาทต อ ตู สิ น ค า ทุ ก ขนาดและทุ ก สถานภาพ และอัตราคาธรรมเนียมเคลือ่ น ยายตูสินคาระหวางทาในอัตราขั้นตํ่า 830 บาทตอตูส นิ คาทุกขนาดและทุกสถานภาพ ทาเรือชายฝงจะชวยใหผูประกอบ การจะสามารถเชือ่ มโยงการคมนาคมขนสง ไดรวดเร็วมากขึ้น ทา เรือชายฝงแหงนี้
‘ ินหยา ิ
เกิดขึ้น เพื่อรองรับการเปดเสรีประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ซึ่งประเทศใน แถบอาเซียน โดยเ พาะในกลุมลุมแมนํ้า โขงจะเข า มาใช บ ริ ก ารมากขึ้ น จึ ง เป น โอกาสสําคัญที่จะเพิ่มมูลคาการขนสงเปน 10 ลานตันตอป ปจจุบนั ในสวนของทาเรือ แหลม บัง มีการขนสงอยูท ี่ 200,000 ลาน ตู ซึง่ คาดวาปนจี้ ะเพิม่ สูงขึน้ เปน 300,000 ลานตู ตามการเติบโตของภาคเศรษฐกิจ ใน ส ว นของท า เรื อ ชายฝ ง แห ง นี้ จ ะนํ า เอา เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช อาทิ ระบบการ ยกสินคาจากเรือ การจัดเรียงสินคาพื้นที่ ภายในทาเรือ สํ า หรั บ โครงการพั ฒ นาศู น ย ก าร ขนสงตูส นิ คาทางรถไฟ ตัง้ อยูบ ริเวณโซน 4 ทาเรือแหลม บัง พื้นที่ 600 ไร ระยะแรก ดํ า เนิ น การ 370 ไร รองรั บ ตู สิ น ค า ได ปละ 2 ลานทีอียู จะติดตั้งเครื่องมือยกขน ชนิดปน จัน่ เดินบนราง ซึง่ จะใชเวลาในการ ยกขนตูสินคาทางรถไฟไดเร็วขึ้นจากเดิมที่ ยกขนตูสินคาไดเพียงดานเดียว สงผลให ขบวนรถไฟตองเสียเวลาจอดรอ กระทบ ต อ การหมุ น เวี ย นการใช ง านของขบวน รถไฟ ขณะเดี ย วกั น ยั ง จะเพิ่ ม รางจอด รถไฟดวยโครงการดังกลาวผลตอบแทน ดานเศรษฐกิจของโครงการอยูที่ 23.15 เบื้ อ งต น จะจ า งเอกชนบริ ห ารทั้ ง 2 โครงการ
’ ใหบริการ สน ดิน รือใหม
ชินหยาง ชิปปง เปดใหบริการเสนทาง เดินเรือใหม จากทาเรือยูนไิ ทย สูม าเลเซีย ตะวันออก และบรูไน บริษทั ( ), เปดบริการเสนทางเดินเรือใหม ชือ่ “E M E (EME)” เพือ่ ใหบริการเรือขนสงสินคาจากประเทศไทย สู ป ระเทศมาเลเซี ย ฝ ง ตะวั น ออก และ ประเทศบรูไน โดยแตงตัง้ ใหบริษทั แมกซ มาริไทม จํากัด เปนตัวแทนในประเทศไทย เมือ่ เร็วๆ นี้ ทาเรือยูนไิ ทย ไดตอ นรับ เรือ “ A M152” จาก บริษทั ชินหยาง ชิปปง คอรปปอเรชัน่ ( C ) ในการมาใชบริการ ณ ทาเรือยูนไิ ทย E M E (EME) เปน บริการเดินเรือเสนทางแรก ที่ใหบริการ ขนสงตูส นิ คาคอนเทนเนอรรายสัปดาห เสน ทางตรงจากกรุงเทพฯ โดยเรือคอนเทนเนอร จะออกเดินทางจากทาเรือยูนิไทย ไปยัง ประเทศมาเลเซียฝง ตะวันออก และประเทศ บรูไน โดยผานทาเรือตางๆ อาทิ , , , , , M , , , ,T
และ M ทําใหประหยัดเวลาการขนสง มีความสะดวกรวดเร็ว เพือ่ ตอบสนองความ ตองการของลูกคาในการนําเขา สงออก สินคาไปยังประเทศในเสนทางดังกลาว นอกจากนี้ บริษทั ชินหยาง ชิปปง ยังให บริการรองรับการขนสงตูสินคาประเภท OC ทัง้ ทีเ่ ปนตูส นิ คาแหงและตูส นิ คาเย็น เพือ่ ไปเปลีย่ นถายลําทีท่ า เรือ อีกดวย ทาเรือยูนไิ ทย เปนทาเรือเอกชนแหง เดียวในรองนํ้าเจาพระยา เปดดําเนินการ มากวา 16 ป เพือ่ ใหบริการขนถายตูส นิ คา คอนเทนเนอร ดวยเครื่องมือปฏิบัติงาน ทาเรือทีท่ นั สมัย พรอมรองรับการขนถายตู สินคาคอนเทนเนอรอยางมีประสิทธิภาพ และดวยทําเลทีต่ งั้ นอกเขตกรุงเทพมหานคร ทําใหเรือขนสงสินคาสามารถเลี่ยงความ หนาแนนของการจราจรใจกลางเมืองไดอกี ดวย ในปจจุบนั ทาเรือยูนไิ ทยใหบริการแก สายเรือใหญ 4 สายเรือ ไดแก M C (M C), T (โดย T O , , MTC, ) และ
เชิญชวนนักลงทุนจากประเทศตางๆ เขา รวมโครงการเหลานั้น bb ทิ้งทายที่การ สร า งท า เรื อ ท อ งเที่ ย วในสถานที่ ใ หญ ๆ เพิม่ เติม ั จับใจ รองอธิบดีกรมเจาทา (จท.) ในการของบประมาณกระทรวง คมนาคม ในการสรางทาเรือทองเทีย่ ว โดย รองอธิบดีกรมเจาทา แจงวา กรมเจาทามี แผนที่จะเสนอตอกระทรวงคมนาคม เพื่อ ขออนุมัติงบประมาณกอสรางทาเรือทอง เที่ยวเพิ่มเติมโดยเ พาะสถานที่ทองเที่ยว จุ ด ใหญ ซึ่ ง มี อ ยู ห ลายจั ง หวั ด ที่ มี นั ก
ทองเทีย่ วเดินทางจํานวนมาก ทัง้ นี้ อยาง เกาะลาน ก็มีเพียงทาเรือแหลมบาลี าย เทานั้นที่ใหบริการนักทองเที่ยว ซึ่งคิดวา หากมีจํานวนนักทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น กวานี้ก็จะไมเพียงพอ อยางไรก็ตาม คาด วาแผนดังกลาวจะแลวเสร็จภายใน 1-2 เดือน กอนเสนอกระทรวงคมนาคม ซึ่ง หากกระทรวงคมนาคม อนุมัติโครงการ ดังกลาว กรมเจาทาก็จะตองเปนหนวย งานที่ดําเนินการโครงการ...พบกันใหม บับหนา สวัสดีคะ bb
A6
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ประ มรวม ครม.ไท
าว
เดน นาเ ่ ม ยงไ สปดเทรนสจน
ทีป่ ระ มุ คณะรั มนตรีรว มอยางไมเปนทางการไทย ลาว ครัง้ ที่ เนนหารือระบบการคมนาคมขนสง หวังสรางใหเปนรูป รรม ัดเจน รองรับ พรอมผลักดันการกอสรางร ไ ความเร็วสูงจาก จ หนองคาย ไปยังลาว เพือ่ เ อื่ มตอกับร ไ ความเร็วสูงจากจีน ขณะที่ ปลัดคมนาคม หารือปรับ ครงสรางของร ไ ความเร็วสูง เสนทาง กรุงเทพ หัวหิน กับทางพิเศษศรีรั วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร นายสุรนันทน เวชชาชีว เลขาธิการ นายกรัฐมนตรี กลาวถึงการประชุมคณะ รัฐมนตรีรว มอยางไมเปนทางการไทย-ลาว ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 19-20 พฤษภาคม 2556 ที่ผานมา วา ไดมีการหารือหลายประเด็น ที่เปนประโยชนรวมกันในการพัฒนาดาน ตางๆ โดยเ พาะระบบการคมนาคมขนสง ซึ่ ง การประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี ร ว มอย า ง ไมเปนทางการ เนนใหเกิดความรวมมือ อยางเปนรูปธรรมใหชัดเจน เพราะตางมี เปาหมายเดียวกันในการกาวสูประชาคม อาเซียน หรือ AEC ในป 2558 โดยเ พาะ การเชื่ อ มโยงด า นต า งๆ ให เ ป น ระบบ เดียวกันในภูมิภาค ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีไทยและนายก รัฐมนตรีแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว รวมหารือระบบการเชื่อม
โยงข อ มู ล ข า วสารร ว มกั น เน น ความ ร ว มมื อ บริ เวณแนวชายแดน และการ อํ า นวยความสะดวกต า งๆ ในการร ว ม แกปญ หา โดยเ พาะปญหายาเสพติดและ การค า มนุ ษ ย โดยนายกรั ฐ มนตรี ไ ทย จะหารือเรือ่ งการผลักดันการกอสรางรถไฟ ความเร็วสูงจาก จ.หนองคาย ไปยังลาว เพื่อเชื่อมตอกับรถไฟความเร็วสูงจากจีน ซึ่ ง เป น ประโยชน ต อ เส น ทางคมนาคม ขนสงระดับภูมิภาค ที่เปนความรวมมือ 3 ประเทศ คือ ไทย จีน ลาว สําหรับในสวนของไทย-ลาว มีการ พูดคุยในเบื้องตนแลว คาดวา ในอนาคต จะมีการประชุมรวม 3 ฝาย ในการพัฒนา ระบบโครงสร า งพื้ น ฐานด า นคมนาคม ขนส ง ไทย-ลาว-จี น โดยเ พาะการ กอสรางรถไฟความเร็วสูงเชือ่ มโยงระหวาง
ท ง วง นบท ย ย นน 4 เ น เสริมทองเทียว ัว ิน ปร วบ ทช. ดํ า เนิ น การก อสร า ง นน ทางหลวงชนบทสาย ยกทางหลวง หมายเลข นนบายพาสเลีย่ งเมือง หัวหิน บานหัวนา อําเ อหัวหิน จังหวัด ปร จวบคีรีขัน เพื่อสงเสริมเศรษ กิจ การทองเที่ยว ลดร ย เวลาในการเดิน ทาง เพิม่ ความส ดวก ปลอด ยั นายปร เสริ จั น ทรรวงทอง รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม กลาววา ถนนทางหลวงชนบทสาย ปข. 1057 แยกจาก ทล.37 (ถนนบายพาสเลีย่ ง เมื อ งหั ว หิ น )-บ า นหั ว นา อํ า เภอหั ว หิ น จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีสภาพสายทาง เดิมเปนผิวจราจรลาดยาง ขนาด 2 ชอง
จราจร มี ก ารสั ญ จรของยวดยานและ รถบรรทุกเปนจํานวนมากซึง่ มีปริมาณเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ประกอบกับเปนเสนทาง เขาสูแ หลงทองเทีย่ วของอําเภอหัวหิน เชน ตลาดนํา้ หัวหิน ตลาดนํา้ หัวหินสามพันนาม ชายหาดหัวหิน รวมถึงสามารถใชเดินทางจากชุมชน หัวหินไปยังวัดหวยมงคล และเปนเสนทาง ลัดระหวางถนนเพชรเกษม (ทางหลวง หมายเลข 4) กับถนนบายพาสเลี่ยงเมือง หัวหิน (ทางหลวงหมายเลข 37) ทัง้ นี้ เพือ่ สงเสริมการทองเทีย่ วและยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของชุมชนในพืน้ ที่ ทช. จึงไดดาํ เนินการ ขยายผิวจราจรเปน 4 ชองจราจร เพือ่ ให
IN LAND
IN SIGHT
โดย : ตามรอยพอ
สวัสดีครับทานผูอ านทีร่ กั กลับมา พบกับคอลัมน อีกครั้ง รายงานความเคลื่อนไหวของ คนใน วดวงคมนาคมในสไตล ขาวขน คนเขม เหมือนเดิม ดยมี ตามรอย พอ คอยอัพเดตขาวสารอยางตอเนือ่ ง ... บับนี้ขอเริ่มที่ขาวของ “กระทรวง คมนาคม” ทํ าแผนพั ฒนาโครงสราง พืน้ ฐาน 3 จังหวัดชายแดนใต หวังเปด พื้ น ที่ ล ดจุ ด เสี่ ย งในการเดิ น ทางของ ประชาชน พรอมเสนอติด F บนรถ ทุกคันที่เขาออกพื้นที่ ตัดตนตอกอเหตุ ราย JJ โดย ดร.ชัชชาติ สิท พิ นั ุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม เปด เผยภายหลังประชุมจัดทําแผนปฏิบัติ การพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานระบบ คมนาคมขนสงในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต วา จากการที่ ยิง่ ลักษ ชินวัตร
ดร ชัชชาต ส
ัน ชั วั น อง า
นายกรัฐมนตรี ไดมอบหมายใหกระทรวง คมนาคมจัดทําแผนการพัฒนาเสนทาง ต า งๆ เพื่ อ เป ด พื้ น ที่ ล ดจุ ด เสี่ ย งในการ เดิ น ทาง เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกแก ประชาชนในพื้ น ที่ และให ร ายงานต อ นายกฯ ตอนสิน้ เดือน พ.ค. 2556 JJ ทั้งนี้ ไดสั่งใหหนวยงานในสังกัด ทั้งกรม ทางหลวง (ทล.) กรมทางหลวงชนบท (ทช.) กรมเจาทา (จท.) กรมการบินพลเรือ (บพ.) การรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) จัดทํา แผนการพัฒนาโครงการตางๆ ใหชัดเจน JJ สําหรับโครงการเรงดวนทีส่ ดุ คือการ ปรับปรุงถนนเขาพืน้ ทีต่ า งๆ เพือ่ หลีกเลีย่ ง พื้นที่ปญหาและเพิ่มทางเลือกในการเดิน ทางใหประชาชน เชน กรมทางหลวง มีแผน
กัน โดยการประชุมครั้งนี้จะมีการลงนาม ความรวมมือระหวาง 2 ประเทศในดาน ต า งๆ ด ว ย อาทิ ความร ว มมื อ ด า น การเกษตร, การลงนามความรวมมือความ ตกลงว า ด ว ยกรรมสิ ท ธิ์ ก ารนํ า ใช ก าร บริ ก าร และการบู ร ณะ รั ก ษาสะพาน มิตรภาพแหงที่ 4 (เชียงของ-หวยทราย) ดาน ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ รัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคม เปดเผยวา จาก การหารื อ ในที่ ป ระชุ ม ครม.ร ว มอย า ง ไมเปนทางการไทย-ลาว ถึงความรวมมือ พัฒนาโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อมตอ ผูใชเสนทางไดรับความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ ดาน นายชาติชาย ทิพยสนุ าวี อธิบดี กรมทางหลวงชนบท กล า วเพิ่ มเติ มว า โครงการดั ง กล า วจะก อ สร า งเป น ถนน ลาดยางผิ ว จราจรแอสฟ ล ติ ก คอนกรี ต ขนาด 4 ชองจราจร กวาง 15 เมตร ไหล ทางกวางขางละ 1.50 เมตร ระยะทาง 7.605 กิโลเมตร พรอมกอสรางสะพาน คอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน 1 แหง ใชงบ ประมาณในการกอสราง 149.870 ลาน บาท เปนงบผูกพันตั้งแตป 2555-2557 ระยะเวลาในการกอสราง 720 วัน ปจจุบันโครงการดังกลาวมีผลงาน ความกาวหนากวา 22 เร็วกวาแผนที่ กําหนด โดยอยูร ะหวางการกอสรางผิวทาง บางชวง ซึ่งคาดวาจะกอสรางแลวเสร็จ ประมาณเดือนสิงหาคม 2557 จะขยายถนนจากยะลา-เบตง จาก 2 ชอง เปน 4 ชองจราจร สวน รฟท. ใหทบทวน ความจําเปนดานยุทธศาสตรของพื้นที่ ภาคใตในการกอสรางรถไฟทางคูจาก หาดใหญ-ยะลา สวนทางนํา้ ใหศกึ ษาความ ตองการแหลงอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ สวน ทางอากาศนั้น จะมีการปรับปรุงขยาย ทาอากาศยานเบตงและนราธิวาส JJ ตอกันที่ “สนข.” เปดเวทีสาธารณะครัง้ ที่ 2 ระดมความคิดเห็นชาวสุโขทัย ตามขัน้ ตอนการศึกษาความเหมาะสม รวมคัด เลือกแนวเสนทางทีเ่ หมาะสมพัฒนารถไฟ ความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-เชียงใหม JJ โดย ชัยวัฒน ทองคําคู รองผูอ าํ นวย การสํานักงานนโยบายและแผนการขนสง และจราจร เปนประธานในพิธีเปดงาน สั ม มนารั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ประชาชน ครั้งที่ 2 โครงการศึกษาและออกแบบ รถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-เชียงใหม ระยะที่ 1 กรุงเทพฯ-พิษณุโลก เพื่อนํา เสนอสาระสําคัญคือรูปแบบแนวเสนทาง เลือก... บับนีเ้ นือ้ ทีห่ มดแลว พบกันใหม บับหนา สวัสดีครับ JJ
จากประเทศจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว มายั ง ประเทศไทย ทั้งนี้ เร็วๆ นี้ กระทรวงคมนาคม จะไปหารือกับนายทองลุน สีสลุ ดิ รองนายก รัฐมนตรี และ รมว.ตางประเทศของ สปป. ลาว เพื่อสรุปรูปแบบพัฒนารวมกัน จาก นั้นจะตั้งคณะทํางานรวม 3 ประเทศ ทั้ง จีน สปป.ลาว และไทย กอนจัดประชุมเพือ่
เรงผลักดันโครงการดังกลาวใหเสร็จ ขณะที่ พล.ต.อ.วิเชียร พจนโพธิ์ศรี ปลัดกระทรวงคมนาคม เปดเผยภายหลัง เปนประธานประชุมการปรับโครงสราง ของรถไฟความเร็วสูง (ไ สปดเทรน) เสน ทางกรุงเทพ-หัวหิน กับทางพิเศษศรีรัชวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร วา ทัง้ 2 โครงการมีปญหาโครงสรางทับซอนกัน เนื่องจากตองกอสรางบนพื้นที่ของการ รถไฟแหงประเทศไทย หรือ รฟท. ตั้งแต ถนนราชพฤกษ - บางบํ า หรุ ระยะทาง ประมาณ 15 กิโลเมตร ซึ่งมีพื้นที่เขตทาง จํากัด โดยเบื้องตนบริษัทที่ปรึกษาของ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและ จราจร หรือ สนข. และที่ปรึกษาโครงการ ทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนฯ ไดหารือรวม กันและเสนอการกอสราง 3 ทางเลือก ในแนวเสนทางที่ทับซอนกัน สําหรับ 3 ทางเลือกในแนวเสนทาง ที่ทับซอนกันนั้น คือ 1. กอสรางรถไฟ ความเร็วสูงเปนอุโมงคใตดินลอดใตทาง รถไฟปจจุบันของ รฟท. และยกระดับ
ทางดวนศรีรัช-วงแหวนฯ 2. กอสรางเปน ทางยกระดั บ ทั้ ง รถไฟความเร็ ว สู ง และ ทางดวนโดยแยกโครงสรางจากกัน แนว เสนทางจะคูขนานกันไป 3. กอสรางเปน ทางยกระดั บ ทั้ ง รถไฟความเร็ ว สู ง และ ทางดวน โดยใชโครงสรางฐานรากรวมกัน ทั้งนี้ รมว.คมนาคม ไดสั่งการให รฟท. หารือรวมกับ สนข. กรณีทเี่ คยศึกษา ให ร ถไฟดี เ ซลของ รฟท. ใช ท าง รวมกับรถไฟสายสีแดง (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) หรือ T ซึ่งจะทําใหมีพื้นที่เขต ทางรถไฟเหลือเพื่อกอสรางรถไฟความ เร็วสูง แตแนวทางนี้มีปญหาเรื่องระบบ อาณัติสัญญาระหวางรถไฟสีแดงกับรถไฟ ดีเซล โดยจะตองเรงสรุปเพือ่ เลือกแนวทาง ที่ ดี ที่ สุ ด ภายในสั ป ดาห ห น า เพื่ อ ไม ใ ห กระทบต อ การก อ สร า งทางด ว นศรี รั ช วงแหวนฯ เนื่องจากขณะนี้การทางพิเศษ แหงประเทศไทย หรือ กทพ. ไดลงนาม สัญญากอสรางกับบริษทั ทางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) หรือ EC ผูรับสัมปทาน ไปแลว
การ คห ลุยสรา บานตาม นวรถไ าสมว
การเคหะแห ง ชาติ ลุ ย สร า งบ า น แนวรถไฟฟา ตามความรวมมือกับ รฟม. เดินหนา 2 สายแรก คือ สายสีมวง สาย สีเขียว และพรอมผลักดันโครงการพัฒนา ที่อยูอาศัยชุดที่ 1 จํานวน 96 โครงการ กวา 50,000 หนวยทั่วประเทศ คาดสง เขา ครม. พิจารณา ส.ค.นี้ นางอํ า า รุ งปติ รองผู ว า การ รักษาการแทนผูวาการการเคหะแหงชาติ เผยวา ความคืบหนาการดําเนินโครงการ พัฒนาที่อยูอาศัยตามแนวรถไฟฟาเปน ความรวมมือระหวางการเคหะแหงชาติ กั บ การรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนแห ง ประเทศไทย หรือ รฟม. ซึ่งจะดําเนินการ ในพื้นที่ที่มีความพรอมกอน โดยขณะนี้ได 3 พื้นที่ ประกอบดวย พืน้ ทีส่ ายสีมว ง (บางใหญ-บางซือ่ ) บริเวณ บางไผ จังหวัดนนทบุรี พื้นที่สายสีเขียว (แบรริ่ง-บางปง) จังหวัดสมุทรปราการ
และพื้นที่จุดตัดของสายสีชมพูและสาย สีสม (แคราย-มีนบุรี) บริเวณสถานีมีนบุรี ทั้งนี้ ทั้งสองหนวยงานจะรวมกัน จั ด ทํ า ข อ ตกลงพร อ มรายละเอี ย ดแบบ ก อ สร า งที่ อ ยู อ าศั ย ในพื้ น ที่ ส ายสี ม ว ง และพื้นที่สายสีเขียวกอน ลาสุด ไดตั้ง คณะกรรมการรวมกันแลว พรอมทั้งไดมี การพิจารณาแนวความคิดการออกแบบ (C ) ในแตละพื้นที่ โดย สํารวจพื้นที่ทั้ง 3 แหง เพื่อใหการพัฒนา ที่อยูอาศัยมีความสอดคลองกันในแตละ พื้นที่ ตลอดจนเพื่อวิเคราะหความเปน ไปไดทั้งดานการตลาด การเงินการลงทุน การบริหารจัดการ อยางไรก็ดี คาดวาจะสามารถนํา เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การเคหะแห ง ชาติ แ ละคณะรั ฐ มนตรี ไดภายในเดือนสิงหาคม 2556 นอกจากนี้ การเคหะแหงชาติยนื ยัน
สังคม โดย : หงสแดง
สวัสดีครับทานผูอานที่รักกลับมา พบกันอีกครั้งกับคอลัมน สังคมยาน ยนต ดยมี หงส ดง เจ า พอ จําเปน มา ลวกับขาวคราว ความ เคลื่อนไหวใน วดวงร ยนตในสไตล ขาวเขม รสจัด บับนี้ใกลจ สิ้น เดือนอีก ลวกับรายจาย ล รายรับที่ พอกัน ใชเงินกันอยางพอเพียงน ครับ วาเรื่องขาวกันดีกวา ,, สมพงษ เผอิ ชค กรรมการ และกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) สรุปผลการดําเนินงาน ไตรมาส 1 2556 ซึ่ ง บริ ษั ท มี ร ายได รวมทั้งสิ้น 1,024.50 ลานบาท เพิ่มขึ้น 25 และมีกําไรสุทธิ 175 ลานบาท เพิ่มขึ้น 40 เมื่อเทียบกับ 1 55 ซึ่ง มีปจจัยหลักมาจากยอดขายที่เพิ่มขึ้น จากธุรกิจผลิตชิ้นสวน รับจางประกอบ
สม ง เ อ โช
ดร ชม ล รปร า
และพ น สี จากลู ก ค า ทั้ ง กลุ ม ยานยนต เครื่องจักรอุตสาหกรรม และเครื่องจักร กลทางการเกษตร ที่มีการเจริญเติบโต เพิ่มสูงขึ้นกวาปที่แลวอยางมาก ,, เมื่อ เร็วๆ นี้ ดร.ชุมพล พรปร า ประธาน กลุ ม เอสพี อิ น เตอร แ นชั่ น แนล และ ประธาน บริษัท ฐิติกร จํากัด (มหาชน) รั บ สารตราตั้ ง กงสุ ล ใหญ กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาธารณรัฐฟจิ ประจําประเทศไทย คน แรก เพื่อขยายการคาการลงทุนระหวาง กัน โดยในอดีตจนถึงปจจุบันมูลคาการคา ระหวาง 2 ประเทศ มีมูลคาประมาณ 300-600 ลานบาทตอป ยกเวนบางป มูลคาการคาพุงขึ้นถึง 1,900 ลานบาท ,, บริษัท เชฟรอน (ไทย) จํากัด ผูผลิต
ยว
ผลักดันโครงการพัฒนาที่อยูอาศัยชุดที่ 1 จํานวน 96 โครงการ รวม 50,205 หนวย ครอบคลุ ม ทุ ก ภาคทั่ ว ประเทศ โดยจะ ดํ า เนิ น การจั ด สร า งบนพื้ น ที่ ที่ มี ทํ า เลดี ศักยภาพสูง และอยูในความตองการของ กลุม ประชาชนทีม่ รี ายไดนอ ยถึงปานกลาง ขึ้นไป นอกจากนี้ ยังไดประสานงานกับ ธนาคารอาคารสงเคราะห เพื่อเปนแหลง สินเชื่อรองรับประชาชนที่ตองการมีบาน เปนของตัวเองเรียบรอยแลว ทั้งนี้ โครงการดังกลาวไดรับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการการเคหะแหง ชาติแลว และอยูระหวางการพิจารณา ขอความเห็ น ชอบจากสํ า นั ก งานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สศช.) คาดวาจะทราบความคืบ หนาภายในเดือนมิถุนายนนี้ หลังจากนั้น จะนํ า เสนอขอความเห็ น ชอบจากคณะ รัฐมนตรีตอไป และจําหนายผลิตภัณฑคาลเท็กซ ขอ เชิญรวมงาน A F 2013 มหกรรม สิ น ค า และบริ ก ารชั้ น นํ า จากอเมริ ก า ซึ่ ง จั ด โดยหอการค า อเมริ กั น ประจํ า ประเทศไทย และสถานทู ต สหรั ฐ อเมริ ก าประจํ า ประเทศไทย ภายใต แนวคิด “เติมเต็มความสุขทุกเสนทาง ดวยพลังสะอาด” นําทัพผลิตภัณฑสนิ คา คุณภาพ อาทิ ผลิตภัณฑนํ้ามันเครื่อง คาลเท็กซเดโล และ าโวลีน บัตรเติม นํ้ามันสตารแคช พรอมพบกับโปรโมชั่น พิ เ ศษอี ก มากมาย ที่ บู ธ คาลเท็ ก ซ ระหวางวันที่ 31 พฤษภาคม-2 มิถุนายน ศกนี้ เวลา 10.00-20.00 น. ณ ลานแสดง สินคา ชั้น 1 ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด ,, บริษัท อนดา มอเตอร จํ ากัด ประกาศเขารวมการแขงขันรายการ F A F O (F1) C เริ่มตั้งแตฤดูกาล 2558 เปนตนไป และแม็คลาเรนจะทําหนาที่พัฒนาและ ผลิตแชสซีส รวมทั้งบริหารทีมแขงใหมที่ มีชื่อวา ทีมแม็คลาเรน อนดา...จบขาว สวัสดีผูอานนะครับ ,,
ตอ าวหนา
สัมภาษ พิเ ษ หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ความปลอดภัย ือเปนสิ่งสําคัญที่มนุษยทุกคนตองการให เกิดข้นใน ีวิต ทั้งนี้ เพื่อความเปนอยูที่ยั่งยืน ดยเ พาะความ ปลอดภัยในการเดินทาง สืบเนือ่ งจากอันตรายรวม งอุบตั เิ หตุทเี่ กิด ข้นสวนใหญมักจะเกิดจากการเดินทาง ดังนั้น จึงมีหลายหนวยงานให ความสํ า คั ญ ในการสร า งความ ปลอดภัยจากการเดินทาง อีกทั้งจาก สถิ ติ อุ บั ติ เ หตุ ท างถนนช ว งเทศกาล สงกรานต 2556 พบวา สาเหตุการเกิด อุบัติเหตุสูงสุดยังคงเปนเมาแลวขับ รอยละ 39.95 รองลงมา คือ การขับ รถเร็วเกินกําหนด โดยสาเหตุของการขับรถเร็วเกิน กําหนดนัน้ ลาสุด “กรมการขนสงทาง บก” ออกมาเปดเผยถึงผลจากการติด ตั้ ง เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตาม ควบคุม กํากับดูแล พนักงานขับรถ ไมใหขับเร็วเกินกําหนด ทั้งนี้ หนังสือ พิ ม พ “TRANSPORT” มี โ อกาส สัมภาษณ นายสมชัย ศิริวัฒน ชค อธิบดีกรมการขนสงทางบก ถึงเรือ่ งดัง กลาว รวมถึงการเตรียมจัดตั้งศูนย ประวั ติ ผู ขั บ รถสาธารณะและรถ บรรทุกวัตถุอนั ตราย เพือ่ เปนขอมูลแก
ไท ตอ า หนา... 1 กระทรวงคมนาคม รวมกับกระทรวง พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน สถาบันวิชาการกิจการ นโยบายกับธุรกิจและการกํากับดูแล และ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย จัดสัมมนา เรื่อง “ T E ” การเตรียมความ พรอมเพื่อการขยายตัวดานการขนสงและ โลจิสติกส ภายใตโครงการ “วาระดิจิตอล รูทันโลก รวมเปดไทย” ครั้งที่ 8 พล.ต.อ.วิเชียร พจน พ ิ์ศรี ปลัด กระทรวงคมนาคม เปนประธานในการ เป ด สั ม มนา และกล า วถึ ง การพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมของ ประเทศ วา กระทรวงคมนาคมไดใหความ สําคัญในการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานดาน การคมนาคมขนสงของประเทศ จึงไดจัด ทํากรอบแผนการลงทุนพัฒนาโครงสราง พื้นฐานระบบคมนาคมขนสง พ.ศ. 25562563 เพื่อดําเนินการพัฒนาระบบขนสง ทางถนน ทางราง ทางนํ้า และทางอากาศ ใหสามารถรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในอนาคต โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความสอดคล อ งกั บ ยุทธศาสตรการลงทุนโครงสรางพื้นฐาน ดานการขนสงที่มุงเนนการเพิ่มประสิทธิ ภาพระบบการขนสงภายในประเทศ และ การสรางโอกาสใหมดานการคา และการ ลงทุนจากการเชื่อมตอระบบการขนสง ใหม ข องไทยเข า กั บ ประเทศต า งๆ ใน ภูมิภาค สนับสนุนการคา การลงทุน การ ทองเที่ยว และการจางงาน ตลอดจนการ กระจายความมั่งคั่งสูชุมชนทั่วประเทศ และสงเสริมความพรอมของประเทศไทย ในการเปนศูนยกลางระบบการขนสงแหง ภูมิภาคเอเชียตอไป สวนในชวงการสัมมนานั้น ดร.พงศ ศักติ เสมสันต รักษาการผูอํานวยการ ใหญ บริษัท การทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) กลาววา ทอท. มีแผนหลักในการ พัฒนาอยูแลว การคมนาคมทางอากาศ เปนปจจัยหลักในดานอุตสาหกรรมการบิน และการขนสง ขณะนี้ประเทศไทยเปน ศูนยกลางการบินในภูมิภาคอาเซียนและ เปนลําดับตนๆ ของการบินในทวีปเอเชีย จุดเดนในดานความทันสมัยนี้เองทําให ทอท. ตองมีการพัฒนาอยูต ลอดเวลา กอน ที่จะเกิด AEC ขึ้นในป 2558
A7
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556 และควบคุมชั่วโมงการทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยกําหนดใหรถโดยสาร ประจําทางของ บขส. ดังกลาว ซึ่งมีอยู ประมาณ 800 คัน ตองเริ่มติดตั้ง มา ตั้งแต 1 มกราคม ที่ผานมานั้น ปรากฏวา จนถึงขณะนี้ไดมีการทยอยติดตั้งไปแลว จํานวน 751 คัน คาดวาจะติดตั้งครบ ทุกคันภายในเดือนมิถุนายนนี้ สํ า หรั บ รถบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตราย (ลักษณะ 4) และรถลากจูง (ลักษณะ 9) ที่ ใช สํ า หรั บ ลากรถกึ่ ง พ ว งบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตรายที่ จ ดทะเบี ย นใหม ตั้ ง แต 1 มกราคม 2556 นั้น กรมการขนสงทางบก
ที่ ไ ม มี คุ ณ ภาพออกจากระบบ รวมทั้งเปนการสงเสริมผูขับ รถที่ มี คุ ณ ภาพให อ ยู ใ น ระบบและได รั บ การส ง เสริ ม ด า นการประกอบ อ า ชี พ ก า ร ขั บ ร ถ ที่ มี คุ ณ ภาพให อ ยู ใ นระบบ มากยิ่งขึ้น
รถลากจู ง ที่ จ ดทะเบี ย นไว ก อ นวั น ที่ 1 มกราคม 2556 แตยังมิไดติดตั้งเครื่อง ตองทยอยติดตั้งเครื่อง ใหแลว เสร็จภายในสิ้นปนี้ สําหรับบางสวนที่ได ติดตั้งเครื่อง ไปกอนหนานี้แลว แต มิ ไ ด เ ป น แบบที่ ก รมการขนส ง ทางบก รับรองตองดําเนินการปรับปรุงอุปกรณให ถู ก ต อ งตามที่ ก รมการขนส ง ทางบก กําหนดภายในสิ้นปหนา อธิบดีกรมการขนสงทางบก กลาว เพิ่มเติมอีกวา นอกจากการดําเนินการ ดังกลาวแลว ขณะนีก้ รมการขนสงทางบก อยูร ะหวางเตรียมจัดตัง้ ศูนยขอ มูลประวัติ
สมชัย ิริวัฒนโชค
ขบ.เรงติด GPS ร โดยสารสาธาร ะ
า ต ตัง ร ก ัน า น น นี
ผูป ระกอบการในการคัดกรองประวัตกิ อ น รับเขาทํางาน ตองมาติดตามกัน อธิบดีกรมการขนสงทางบก เปดเผย วา ตามทีก่ รมการขนสงทางบก ไดกาํ หนด ใหรถโดยสารสาธารณะ (นํารองเ พาะ รถโดยสารประจํ าทางของ บขส. ที่ วิ่ ง ระหวาง กทม. ไปยังตางจังหวัด) และรถ บรรทุกวัตถุอนั ตรายตองติดตัง้ ระบบ เพือ่ ใหสามารถติดตาม ควบคุม กํากับดูแล พนักงานขับรถไมใหขับเร็วเกินกําหนด
ไดกาํ หนดใหตอ งติดตัง้ เครือ่ งบันทึกขอมูล การเดินทางของรถ ( T ) ซึง่ ติด ตัง้ อุปกรณระบุตวั ผูข บั รถโดยใชใบอนุญาต ขั บ รถชนิ ด แถบแม เ หล็ ก และผ า นการ รั บ รองจากกรมการขนส ง ทางบก โดย ขณะนี้ มี ร ถบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตรายที่ จ ด ทะเบียนใหมดังกลาว ติดตั้งเครื่อง แบบที่ไดรับการรับรองจากกรมการขนสง ทางบกแลวกวา 300 คัน ในสวนรถบรรทุกวัตถุอันตรายและ
ผูข บั รถสาธารณะและรถบรรทุก วั ต ถุ อั น ตราย เพื่ อ รวบรวม ขอมูลประวัติผูขับรถและ ผูประจํารถใหแกผู ประกอบการขนสง ที่ จ ะรั บ เข า ทํ า งาน เ พื่ อ เ ป น ก า ร คั ด ก ร อ ง ผู ขั บ ร ถ สาธารณะและรถ บรรทุกวัตถุอนั ตราย
“สนามบิน สุว รรณภู มิ รองรั บนั ก ท อ งเที่ ย วและผู ใช บ ริ ก ารได ไ ม เ พี ย ง พอแลว ตอนนี้กําลังเรงดําเนินการในการ ขยายเฟส 2 ซึ่งที่จริงเราควรขยายในทุก มิติมานานแลว แตติดปญหาตางๆ นานา โดยเ พาะในเรือ่ งการเมืองทีม่ มี าอยางตอ เนื่อง รวมทั้งการเปลี่ยนตัวผูบริหารบอย จนเกินไป โดยในเฟสที่ 2 นี้ เราไดทีม วิศวกรผูออกแบบมาเรียบรอยแลวและก็ เพิ่งเซ็นสัญญากันไป อีกไมเกิน 2-3 ป ก็ จะไดเห็นเฟส 2 เรียกไดวาจะมีการเพิ่ม ประตูขาเขา-ขาออกอีก 28 ประตู กอน หนานี้เราทิ้งสนามบินดอนเมืองรางเอาไว 3-4 ป ซึ่งเราดึงมาใชไดทันเวลา เกือบมี การนําไปปรับปรุงเปนสถานที่อยางอื่น แล ว ดอนเมื อ งเข า มาช ว ยแบ ง เบาผู โดยสารจากสุวรรณภูมไิ ดกวา 10 ลานคน ป ทําใหการคมนาคมขนสงทางอากาศ คลองตัวเพิ่มมากขึ้น แตก็ยังไมเต็มที่พอ” ดร.พงศศักติฐ กลาวเพิ่มเติมวา การ ขยายสุวรรณภูมิเฟส 2 ตองใหทันรถไฟ ความเร็วสูงของกระทรวงคมนาคม ซึ่งจะ ทําใหระบบโลจิสติกสของประเทศสงเสริม ซึ่งกันและกันทั้งทางรางและทางอากาศ จะชวยแบงเบากันไป หลักๆ แลว ทอท. จะขนสงผูโ ดยสารและสินคาคารโก โดยจะ มีการเขาไปปรับปรุงหลักเกณฑการบริหาร จั ด การสิ น ค า ร ว มกั บ องค ก รภาครั ฐ ที่ เกี่ยวของ ในสวนของการลงทุนดานโลจิสติกส ในอนาคตนั้น ทอท. มีแหลงเงินทุน คือ การกูเ งินจากธนาคารและผลกําไรจากการ บริหารงานในแตละปมาเปนทุนหลัก ซึ่ง ทางบอรด ทอท. กําลังจะหาเครื่องมือ ทางการเงินใหมๆ มาใชในการขับเคลื่อน ทางดานระบบขนสงใหดีกวาเดิม อาจมี การคุ ย กั บ การบิ น ไทยในการร ว มกั น บริหารสนามบินก็เปนไปได “เราพยายามที่จะพัฒนาสนามบิน ในประเทศไทยใหกาวขามพรมแดนไปสู ความเปนสากล เพราะเราเปนสวนหนึ่ง ของโลจิสติกสโลก” ดร.พงศศักติฐ กลาว ปดทาย ดาน นายเกริกกลา สนธิมาศ ประธาน สมาพันธโลจิสติกสไทย เปดเผยวา ภาค เอกชนรอที่รัฐบาลมีการลงทุนขนาดใหญ เชนนี้มานานมากแลว คิดวาผูประกอบ การโลจิ ส ติ ก ส ต อ งเตรี ย มตั ว ว า ภาครั ฐ ลงทุนแบบนี้ เอกชนจะตองปรับตัวและ ดําเนินการอยางไรบาง “การที่ภาครัฐตองการสรางรถไฟ รางคูเพื่อตีคูกับระบบโลจิสติกสทางบก อยากใหรฐั มองดูวา C หรือจุดเก็บสินคา
มีความจําเปนหรือไมกับรถไฟรางคู การ เก็บและการกระจายสินคาตองดูวา รางคูท ี่ สรางนัน้ จุดไหนมีความเหมาะสมทีจ่ ะสราง เปนจุด C บางพื้นที่อาจถึงขั้นที่ตอง พั ฒ นาเป น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ เพราะ แตละพื้นที่จะมีความเหมาะสมไมเหมือน กัน ทวาหากสรางแลวจะตองมีจดุ พักรถอยู ที่เดียวกัน ไมใชวาวางจุดพักสินคากับจุด พักรถอยูคนละที่ละทาง” นายเกริกกลา ยังกลาวตออีกวา การ ขนส ง ในอาเซี ย นจะต อ งเชื่ อ มอยู บ น อาเซียนไ เวย แตกม็ ขี อ เสียตรงทีป่ ลอยให รถวิ่งกันสะเปะสะปะก็อาจจะไดสินคาที่ ไม มี คุ ณ ภาพจากเพื่ อ นบ า นมาได ต อ ง คํานึงถึงการควบคุมเอาไวดวย “ผมอยากใหมีการทําจุดพักรถทุกๆ 400 กิโลเมตร เพราะวาคนขับจะไดมีการ พักผอนบาง เปนมาตรฐานสากล ไมงั้นให วิง่ ขนสงสินคาอยางเดียวอาจจะเพลียแลว เกิดอุบัติเหตุ จนไมสามารถสงของไดตาม เวลา หากมี จุ ด พั ก รถอยู ที่ เ ดี ย วกั บ จุ ด กระจายสินคาจะทําใหพนื้ ทีน่ นั้ มีเศรษฐกิจ ที่โต เพราะจะมีการจางงานเพิ่ม ผูคนไม ตองเขาไปหางานตามเมืองใหญๆ อยูที่วา รัฐบาลจะเอาดวยหรือไมเทานั้น”
) ทัง้ สิน้ 26,040 ลานบาท (เปนวงเงิน ของธนาคารกรุงไทย 18,030 ลานบาท) และมีตนทุนดอกเบี้ยเงินกูยืมเ ลี่ยเทากับ 4.93 ลดลงจาก 4.98 ณ สิ้นป 2555 สวนตางอัตราดอกเบี้ย ( M ) ลดลงจาก 13.8 เหลือ 13.2 จากชวงเดียวกันของปกอ น และอัตราสวน ของหนี้สินตอสวนของผูถือหุนอยูที่ 7.73 เทา ซึง่ ตํา่ กวาภาระผูกพันทีก่ าํ หนดไวที่ 10 เทา และลดลงจากสิ้นป 2555 ซึ่งเทากับ 8.47 เทา นางสาวอภิศมา ณ สงขลา ผูชวย ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร สายงานคอรปอ เรท ไฟแนนซ บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กลาววา ทางเคทีซีมีแผนที่จะ ออกหุนกูชุดใหมเพื่อทดแทนหุนชุดเดิมที่ กํ า ลั ง จะครบกํ า หนดระยะเวลาในการ ไถถอน มูลคา 7,500 ลานบาท โดยรูปแบบ ในการออกหุนชุดใหมยังตองรอดูสภาวะ ตลาดในชวงเวลานั้นเสียกอน โดยคาดวาชวงระยะเวลาในการออก หุนกูชุดใหมจะอยูในชวงตนเดือน พ.ย. 2556 และจะเปนในรูปแบบการทยอย ออก สวนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับพอรต ของบริษทั วามีการเติบโตมากนอยแคไหน รวมถึงการดูโครงสรางเงินกูร ะยะสัน้ ระยะ ยาว และเรื่องตนทุนที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ ถาตนทุนมีแนวโนมที่จะสูงมาก ทางเคทีซี ก็อาจจะออกหุนกูไมเต็มจํานวน 7,500 ลานบาท หรือถาเงินกูร ะยะสัน้ มีมากก็อาจ จะออกหุ น กู ไ ม เ ต็ ม จํ า นวนด ว ยเช น กั น อยางไรก็ตาม ถาในชวงเวลานั้นดอกเบี้ย อยูใ นอัตราทีส่ งู ทางเคทีซกี อ็ าจจะออกหุน กูเพื่อล็อคดอกเบี้ยใหคงที่เอาไวก็เปนได นางสาวอภิศมา กลาวตอวา ทาง เคที ซี ยั ง ไม มี แ ผนที่ จ ะไปกู เ งิ น จากต า ง ประเทศอยางแนนอน แมอตั ราดอกเบีย้ ใน ข ณ ะ นี้ จ ะ อ ยู ใ น ร ะ ดั บ ที่ ตํ่ า ก ว า ใ น ประเทศไทย เพราะมีความเสี่ยงในเรื่อง การแปลงคาเงินที่อัตราแลกเปลี่ยนยังมี ความผันผวนอยูมาก อีกทั้งบริษัทไมมี ธุ ร กิ จ อยู ใ นต า งประเทศ จึ ง ไม มี ค วาม จําเปนที่จะตองไปกูเงินในตางประเทศ
คทีซี ตอ า หนา... 1 และการดูแลคุณภาพหนี้ไดดียิ่งขึ้น โดยมี คาใชจา ยการบริหารงานลดลง 8 เทากับ 115 ลานบาท คาใชจายทางการเงินลดลง 7 เทากับ 34 ลานบาท หนี้สูญและหนี้ สงสัยจะสูญลดลง 8 หรือเทากับ 99 ลานบาท ผลของการใชนโยบายลดตนทุนการ ดํ า เนิ น งานอย า งต อ เนื่ อ ง ได เริ่ ม ส ง ผล ทีช่ ดั เจนขึน้ ทําใหเคทีซมี สี ดั สวนคาใชจา ย รวมตอรายไดรวม (C ) ในไตรมาส 1 2556 อยูที่ 40.8 ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอ น และจาก สิน้ ปทผี่ า นมาเทากับ 46.4 และ 52 ตาม ลําดับ และหากไมรวมคาใชจายดานการ ตลาด คาใชจาย F และ รายการพิเศษจากการขายเงินลงทุนแลว สัดสวนคาใชจายการดําเนินงานตอรายได (O C ) ลด ลงอยูที่ 27.1 จากชวงเดียวกันของป กอนและสิ้นปที่ผานมา 32.1 และ 30.1 ตามลําดับ สําหรับไตรมาส 1 2556 บริษัทมี วงเงินสินเชื่อคงเหลือ (A C
ศอ. ี ตอ า หนา... 1 การแข็ ง ค า ของเงิ น บาทได ส ร า ง โอกาสตอภาคอุตสาหกรรมหลายดานดวย กัน เชน การนําเขาสินคาทุนและเครือ่ งจักร ทีม่ รี าคาถูกลง ถือเปนโอกาสใหผปู ระกอบ การไดปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรเพือ่ ยกระดับ
นวน า ขอ อ น . าน อ
าิ า อ นัล
1. ม อา ม ห ม อา า 2. หา า น . ม ม า า ะชา ัม ัน ะ มขอ นั นน า ขา น นั มหนั อ ิ หม น ลา า า ขา า น า ะ อ วิชาช ั ิม ม ม า วา าหนา าม ิม หนั อ อ ิน ห อ อวา ิล ั ล า านั้น ะนั้น อน หนว านห ออ ะล า ว ว อ ห นชั อ ล ะ ชนขอ าน ั้ น้ า อ า ิ า น . าน อ อ นัล ั นห ั น า า ิ ะ มัน น า ห วิชาช ั
ว วาม า นา า น . TRANSPORT JOURNAL
เทคโนโลยีในการผลิต เพิ่มผลิตภาพการ ผลิ ต และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ แขงขัน นอกจากนี้ ยังเปนการรองรับเพื่อ การเปดโอกาสทางการคาและการแขงขัน ใน AEC ซึ่งในชวงนี้ที่คาเงินบาทแข็งคา ทําใหราคาสินคาทุนและเครื่องจักรนําเขา มีตนทุนถูกลงมากโดยเ พาะการนําเขา จากประเทศที่ มี เ ทคโนโลยี ชั้ น ดี อ ย า ง ประเทศญี่ปุน เมื่อผนวกกับคาเงินเยน ที่ อ อ นค า ลง ทํ า ให ร าคาสิ น ค า ทุ น และ เครื่องจักรถูกลงประมาณรอยละ 20 ซึ่ง ผูประกอบการจะมีความไดเปรียบดาน ตนทุน นอกจากนี้ ในชวงทีค่ า เงินบาทแข็ง คานี้ เปนโอกาสดีที่นักลงทุนไทยสามารถ ไปลงทุนในตางประเทศ นายสมชาย กลาวอีกวา กระทรวง อุ ต สาหกรรมได เ สนอนโยบายเพื่ อ ใช โอกาสคาเงินบาทแข็งคาเพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถของผูประกอบการไทย ดังนี้ 1. สนั บ สนุ น ให มี ก ารนํ า เข า สิ น ค า ทุ น และ เครือ่ งจักรเพือ่ ปรับปรุงเครือ่ งจักรโดยการ สงเสริมการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต โดย สนั บ สนุ น ด า นสิ น เชื่ อ การปรั บ เปลี่ ย น เครื่ อ งจั ก ร ในอั ต ราดอกเบี้ ย ตํ่ า 2. สนับสนุนการลงทุนในตางประเทศ โดย สนับสนุนมาตรการสงเสริมการลงทุนคน ไทยในตางประเทศ อาทิ การยกเวนหรือ ลดหยอนภาษีกําไรจากการลงทุนในตาง ประเทศ เมื่อนําเงินกลับสูประเทศ นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม ยังเสนอมาตรการเพือ่ สนับสนุนผูป ระกอบ การและสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมใหมี
ความพรอมและเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถ ของผู ป ระกอบการในการเผชิ ญ ป ญ หา ความผันผวนคาเงินบาท โดยมีมาตรการ ระยะสั้น คือ 1. ลดความเสี่ยงและความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนโดยการจัด อบรมใหความรู การปองกันความเสี่ยง ดวยเครือ่ งมือทางการเงินตางๆ โดยเ พาะ ผูประกอบการ ME 2. สงเสริมใหมีการ ขยายตลาดสิ น ค า ทั้ ง ตลาดในประเทศ ตลาดชายแดน และตลาดประเทศเพื่อน บานเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยตลาดสงออกหลัก เดิมที่มีการสงออกลดลงจากการแข็งคา ของเงินบาท 3. สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน โดย มีโครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน เพือ่ การสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบ ครัวและหัตถกรรมไทย โดยเนนผูป ระกอบ การในอุ ต สาหกรรมครอบครั ว และ หัตถกรรมสงออกและไดรบั ผลกระทบจาก อั ต ราแลกเปลี่ ย น วงเงิ น กู ด อกเบี้ ย ตํ่ า รายละ 50,000 บาท และ 4. ผอนผันให สามารถใช ส กุ ล เงิ น ดอลลาร ซื้ อ ขาย ระหวางของ C ในประเทศ ทั้งนี้ จะตองแกไขก หมาย ก ระเบียบ ที่เกี่ยวของ เชน AT ภาษีหัก ณ ที่จาย ในขณะที่มาตรการระยะกลางและ ระยะยาว คือ 1. การพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิต และระบบบริหารใหมปี ระสิทธิผล โดยการใหความรู ME โดยเนนการ ปฏิบตั ใิ หเกิดผล เพือ่ เพิม่ ผลิตภาพและลด ตนทุน อันเปนการเพิม่ ขีดความสามารถใน การแขงขัน 2. เพิ่มขีดความสามารถทาง นวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลคาสินคา
สถิติการขายรถยนต ในป 2555 ยอ ายป 2555
- รถ ร - รถ ร
A8
- ปริมา าร ายรวม - รถยนตนั่ง - รถเพื่อ ารพา ิ ย ตัน รวมรถ ร ั ปลง ตัน มรวมรถ ร ั ปลง
6 5 คัน 672 6 คัน 76 75 คัน 666 6 คัน 5 2 725 คัน
เปลี่ยน ปลง เทีย ั ป 255 66 76 2 22 หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ก อกร ร ม ไม ม
ไ รมาส 3 เ าค เปด ั ตลาดร ยนตบา นเราหลังสุดเกจ ปร ม นั่ คืนภาษีใหกบั คน อื้ ร คันแรก แมหวงเวลาที่ผานมาร หลายรุนไดใ เวทีบางกอก อินเตอร เน นั่ แนล มอเตอร ว 01 เปนทีเ่ ปดตัวไปแลวหลายแบรนดหลาย รุน แตทวาหาไดหมดไปไม หากแตไตรมาส หรือ ของปนีย้ งั มี ร ยนตรนุ ใหมเปดตัวเพือ่ กระตุน ตลาดอยางตอเนือ่ งแนนอน แมจะไม มากมายนัก แตกไ็ มทาํ ใหผดิ หวัง สงผลใหอตุ สาหกรรมร ยนตบา นเรา เนือ้ หอมไมเลิก ต ยตา กินรวบเกงเลก ดันอี คคาร อยางไรก็ตาม ในแงของรถรุนใหมที่ พอจะตรวจจั บ ความเคลื่อนไหวไดจาก คายผูผลิตยังพบวามีโอกาสจะเปดตัวได ในไตรมาส 3 หรือ 4 ของปนี้ เริ่มจากคาย ยักษใหญ “โตโยตา” ที่เปดตัว โตโยตา วีออส ใหม และหากยอนดูจากการแถลง นโยบายบริษทั ของ นายเคียวอิจิ ทานาดะ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ที่ไดเปดเผย วา “ปนี้ สําหรับผลิตภัณฑใหม บริษัท แนะนํา โตโยตา วีออส โมเดล 2013 อยาง เปนทางการในชวงไตรมาส 1 และไตรมาส 3 ประมาณเดือนตุลาคมนี้ โตโยตา นาจะ ไดฤกษเปดตัวอีโคคารรุนแรกของโตโยตา ลงตลาด พรอมกับเพิ่มโชวรูมจาก 375 เป น 400 แห ง รวมถึ ง ศู น ย จํ า หน า ย รถยนตใชแลว โตโยตา ชัวร จาก 85 เปน 100 แหงภายในปนี้ดวย”
นิสสัน สง มใหม รุน ดาน นิสสัน ผูนําตลาดในเซกเมนต อีโคคาร หลังจากได ไมเนอรเชนจ นิสสัน มาร ช เพื่ อ สร า งความคึ ก คั ก ให กั บ ตั ว ผลิตภัณฑ และลาสุด นายทาคายูกิ คิมูระ ประธานบริษัท นิสสัน มอเตอร (ประเทศ ไทย) จํากัด ไดกลาวเปดเผยวา ป 2556 บริษัทมีแผนเปดตัวรถใหม 3 รุน และรถ พลังงานทางเลือกอีกอยางนอย 2 รุน และ หากดู ร ถที่ จ อดในโชว รู ม แล ว คาดว า หนึ่งในรุนที่ นายทาคายูกิ บอก นาจะ คาดเดาไดวานาจะเปน “นิสสัน เทียนา” ใหม น า จะได ฤ กษ เ ป ด ตั ว ทํ า ตลาดใน ประเทศ ไทยอย า งเต็ ม รู ป แบบ โดย รถยนตรุนใหมที่มาพรอมรูปรางหนาตาที่ โ บเ ยี่ วขึน้ เครือ่ งยนตรนุ ใหม เทคโนโลยี ที่ทันสมัยกวา อรด ปรับ มเ ยสตา ขณะที่ ฟอรด จะตองมีแผนงานเปด
A t z i เพิม
ตัว ฟอรด เฟยสตา ไมเนอรเชนจ เพื่อมา กระตุน ตลาดรถยนตนงั่ ขนาดเล็กทีส่ ดุ ของ ฟอรด อีกครั้ง ซึ่งเฟยสตา ไมเนอรเชนจ นัน้ ดูดดุ นั ไมนอ ยทีเดียว นาจะถูกใจวัยรุน ไมนอย และก็ตองลุนกันหนักๆ วาฟอรด จะเปดตัว F E ทีถ่ กู ออกแบบ มาใหเปนรถยนตอเนกประสงคไซซเล็ก ลออัลลอยขอบ 16 นิ้ว ที่นาสนใจคือ เครื่องยนตของ F E ที่จะใช เครื่องยนต E 1.0 ลิตร ใหกําลัง
ังแม ทอ อเสีย A C E ชุด ท อ ไอเสี ย สายพั น ธุ ร ถแข ง จากประเทศ สโลวี เ นี ย ผลิ ต ด ว ย T นํ้าหนักเบา แข็งแกรงทนทาน ทนความ รอนสูง และ E ชุดลอแม็กทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก นําเขาจาก อเมริกา นํ้าหนักเบา ซึ่งมีประสิทธิภาพ สูงสุดในการเพิม่ สมรรถนะรถยนตใหมพี ละ กําลังในการขับเคลื่อนที่สูงขึ้น ทัง้ นี้ ชุดทอไอเสีย A พรอม ปรับแตงและเพิม่ สมรรถนะสําหรับรถยนต
นายพสุพงษ ลีนุตพงษ กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั ออโตซคิน จํากัด ผูน าํ เขา และจํ า หน า ยฟ ล ม กั น รอยปกป อ งสี ร ถ ร ว มกั บ นายไบรนั ล ชู ว (M . C ) กรรมการผูจัดการ บริษัท ออโตวอรค บริษัทผูนําเขาและ จํ า หน า ยชุ ด อุ ป กรณ ต กแต ง รถยนต รายใหญ ที่ สุ ด ในภู มิ ภาคเอเชียแปซิฟก พรอมผูบริหารระดับสูง รวมแถลงขาว แนะนํ า ชุ ด ท อ ไอเสี ย สายพั น ธุ ร ถแข ง A C E ทอไอเสียผลิตดวยวัสดุนํ้าหนักเบา T พรอมลอแม็ก E จากอเมริกา ผลิตดวย วัสดุที่มีนํ้าหนักเบาที่ดีที่สุดในโลก ซึ่งทั้ง 2 ยีห่ อ เปนสินคาชัน้ นําทีน่ าํ เขามาเพือ่ การ ปรับเพิ่มสมรรถนะรถยนต นายพสุพงษ กลาววา “หลังจาก บริษทั ดําเนินธุรกิจในดานการจัดจําหนาย พรอมศูนยติดตั้งฟลมกันรอยปกปองสีรถ A ไดรับการตอบรับจากกลุมรถ กวา 80 บริษัทจึงมีนโยบาย ในการขยายธุรกิจ ดวยการนําเขาและ
จําหนายอุปกรณเพื่อเพิ่ม สมรรถนะรถยนต ชั้ น นํ า ระดั บ โลก เข า มาเสริ ม ตลาดให กั บ กลุ ม ลู ก ค า รถยนตระดับพรีเมีย่ มมาก ขึ้ น ภายใต ค อนเซ็ ต ป “A ” และใน อนาคตบริ ษั ท ตั้ ง เป า ในการนํ า เข า และ ทุกรุน อาทิ F , จําหนายสินคาเพือ่ การปรับเพิม่ สมรรถนะ , , M ,A , , รถยนตชนั้ นําใหครบทุกเซ็กเมนทอกี ดวย” M AM , M , , สํ า หรั บ สิ น ค า ที่ บ ริ ษั ท ได ลิ ข สิ ท ธิ์ ,F ,C ราคาจําหนาย ในการนํ า เข า มาทํ า ตลาดในป นี้ ได แ ก พรอมติดตั้ง ชุดทอไอเสีย A ราคาขึน้ อยูก บั รถยนตแตละรุน เลือกติดตัง้ ตามโครงสรางของตัวรถ E มี ขนาดวงลอใหเลือกตั้งแต 17, 18, 19, 20, 21, 22 นิ้ว สําหรับราคาจําหนายในรุน EC ชุดละ 990,000 บาท และในรุน E F ราคาแตกตางกันตาม โดยเริม่ ตนราคาชุดละ 150,000-300,000 บาท
สูงสุด 118 แรงมา ใหแรงบิดสูงสุด 125 ปอนด- ฟุต และยังมีเวอรชั่นเครื่องยนต T - CT ขนาด 1.5 ลิตร ซึ่งคาดวานาจะ เปนเวอรชั่นที่ลงทําตลาดในประเทศไทย มาสดา ปลอย สวนคายมาสดา ไมมอี ะไรทีร่ อ นแรง ไปกวา มาสดา C 5 ที่จะเปดตัวในชวง เดือน ตุลาคมนีเ้ ชนกัน หลังจากไดโชวโ ม มาสดา C 5 โปรโตไทป ในงานบางกอก อินเตอรเนชัน่ แนล มอเตอรโชว 2013 ไป 6 บริษทั ผูผ ลิตยางรถยนตยกั ษใหญ นําโดย บริดจสโตน กู ดเยียร แม็กซิส มิชลิน ดันลอป โยโก ามา รวมกอตั้ง “สมาคมผูผลิตยางรถยนตไทย” หวังเปน ตั ว ประสานความสั ม พั น ธ ข องสมาชิ ก สรางประโยชนแกผูบริโภค คูคา และ มุงพัฒนาอุตสาหกรรมยางรถยนตไทย นายชิ น อิ จิ ซา ต กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั ไทยบริดจสโตน จํากัด ใน ฐานะนายกสมาคมผูผลิตยางรถยนตไทย กลาววา อุตสาหกรรมยางรถยนตถือเปน อุตสาหกรรมที่เปนรากฐานสรางความ มัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย และ เปนอุตสาหกรรมตอยอดใหเกิดรายไดใน ภาคอุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งผูประกอบธุรกิจขนาด เล็กและเกษตรกร อาทิ การจางแรงงาน ในการผลิ ต ผู ป ระกอบกิ จ การขนส ง เกษตรกรผูปลูกยางพารา เปนตน ดวย เล็ ง เห็ น ถึ ง ประโยชน ความสํ า คั ญ ของ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางรถยนต ใ น ประเทศไทย จึงเปนที่มาของการจับมือ ผนึกกําลังเพื่อจัดตั้ง “สมาคมผูผลิตยาง รถยนตไทย” (T A T M A ) หรือ “TATMA” โดยสมาคมผู ผ ลิ ต ยางรถยนต มี วัตถุประสงค สรางสัมพันธอันดีระหวาง สมาชิ ก พร อ มส ง เสริ ม การประกอบ วิสาหกิจประเภทที่เกี่ยวกับการผลิตยาง รถยนต กําหนดและดําเนินมาตรการเชิง นโยบายในเรื่องความปลอดภัยของยาง รถยนต รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของ การผลิตและการบริโภคยางรถยนตเพื่อ ชวยใหสมาชิกสามารถแขงขันกันอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ทั้ ง ในและต า ง ประเทศ นอกจากนี้ ยังสงเสริมความรวมมือ และการติ ด ต อ ประสานงานอย า งมี
หมาดๆ ซึ่ ง มาสด า C 5 นั้ น มาพร อ ม เทคโนโลยี สกายแอ็กทีฟ ( ) พรอม กันทัง้ เบนซิน 2.0 และดีเซล 2.2 ลิตร ซึง่ มาสดาคุยวาเปนเครื่องยนตที่ประหยัด นํา้ มันทีส่ ดุ และกําลังเครือ่ งยนตดที สี่ ดุ ซูบารุ สงมวย ด า น นายอภิ ชั ย ธรรมศิ ร ารั ก ษ ผู จั ด การทั่ ว ไป บริ ษั ท ที ซี ซู บ ารุ (ประเทศไทย) จํ า กั ด ในฐานะผู จั ด จําหนายรถยนต ซูบารุอยางเปนทางการ
เปดเผยวา ที่ผานมาบริษัทประสบความ สําเร็จกับรุน ซูบารุ เอ็กซวี ( A ) อยางมาก โดยไดออกโรดโชวกวา 50 จุด ทั่ ว ประเทศ แบ ง เป น กรุ ง เทพฯ และ ปริมณฑลกวา 30 จุด และตางจังหวัดอีก กวา 20 จุด อาทิ เชียงใหม, นครราชสีมา, อุ ด รธานี , ชลบุ รี , สุ ร าษ ร ธ านี , และ หาดใหญ “บริษัทยังมีแผนเปดตัวรถยนตรุน ใหม “ซู บ ารุ ออล นิ ว ฟอเรสเตอร ( A A E FO E TE )” ใน ไตรมาตรที่ 3 โดยมั่นใจวา ซูบารุ ออล นิว ฟอเรสเตอร สุดยอดรถยนตอเนกประสงค ( ) เจเนอเรชั่น 4 จะไดรับการตอบรับ เปนอยางดี “ ลุน อีซูซุ ดัน อีซูซุ มิว ใหม สําหรับรถอเนกประสงคในรูปแบบ พีพวี ี ( ) ปนี้ไมมีอะไรใหม แตที่นาลุนที่สุดมีเพียง คาย อีซซู ุ ทีจ่ ะดัน “อีซซู ุ มิว-7” เพราะหาก ยึดตามคําพูดของผูบริหารตรีเพชรอีซูซุ เซลส ในวันเปดตัวปกอัพโ มใหม อีซูซุ ดีแมคซ เมือ่ ปลายป 2554 วาจะไมมกี าร เปดตัวโมเดลเชนจของรุน มิว-7 ภายในระยะ เวลา 2 ป ถาเชนนัน้ ประมาณเดือนสิงหาคม นี้แฟนๆ คายตรีเพชรอาจมีเซอรไพรสกับ “อีซซู ุ มิว-7” โมเดลใหม..
นกกําลั 6 ู ลิตยา รถยนตยัก ให
ประสิทธิภาพกับหนวยงานราชการทั้ง องคกรภายใน ประเทศและตางประเทศ รวมถึ ง หน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อุตสาหกรรมยางรถยนต ตลอดจนจัด สัมมนาหรือเผยแพรบทความตางๆ ใน หัวขอที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมยางรถยนต โดยไมมุงเนนการแสวงรายได “เพื่ อ สร า งความแข็ ง แกร ง แก เศรษฐกิจของประเทศไทย และพัฒนา อุ ต สาหกรรมยางรถยนต ซึ่ ง ถื อ เป น อุตสาหกรรมสําคัญที่เปนพื้นฐานสราง ความเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ภาพความ รวมมือกันของทั้ง 6 บริษัทผูผลิตยาง รถยนต ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวั น นี้ นั บ เป น การ เริ่มสัญญาณที่ดีถึงความรวมมือระหวาง กลุมอุตสาหกรรม หนวยงานรัฐ รวมทั้ง ผู บ ริ โ ภค โดยหวั ง ว า จะ สามารถขยายวงกวางไป ยัง คูคา พันธมิตรบริษัท ยางรถยนต อื่ น ๆ ใน ประเทศไทย เพื่อกอเกิด ประโยชน ต อ ส ว นรวม รวมกันอยางยั่งยืน ตอไป” นายซาโตะ กลาว
สําหรับการจัดงานเปดตัว “สมาคม ผูผลิตยางรถยนตไทย” วันที่ 22 พ.ค. มี ผูบริหารระดับสูงเขารวม ทั้งนายชินอิจิ ซาโตะ กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท ไทยบริ ด จสโตน จํ า กั ด นายฟ น บาร โอคอนเนอร กรรมการผูจัดการ บริษัท กูดเยียร (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) นายหลิน ยวี่ ยวู รองประธานอาวุโส บริ ษั ท แม็ ก ซิ ส อิ น เตอร เ นชั่ น แนล (ประเทศไทย) จํากัด นายเสกสรรค ไตร อุโ ษ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท สยามมิชลิน จํากัด นายโทรุ นางา าตะ ประธาน บริษัท ซูมิโตโม รับเบอร (ไทย แลนด) จํากัด และนายยะสึ โิ ร มิซโึ มโตะ ประธานบริษทั โยโก ามา ไทร แมนูแฟค เจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ปที่ 6 ั ที่ 7 5 วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
การ คม ป
B1
ก ท
ั ดันมา า ดส รน จส ส
กนอ เปดน ยบายเรงดวนควบคุมมลภาวะกลุม นิคมฯ และทาเรือ อุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง เตรียมนําระบบกรีน ลจิสติกส ครงการพัฒนาระบบขนสงอยางมีประสิท ภิ าพ ปลอดภัย และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อสรางศักยภาพทางการแขงขัน ดร.วิ ู ร ย สิ ม ชคดี ประธาน กรรมการ การนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย เผยโครงการพัฒนา ระบบ ขนสงอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ( ) ในกลุมนิคมฯ และทาเรืออุตสาหกรรม พื้ น ที่ ม าบตาพุ ด จั ง หวั ด ระยอง สื บ เนือ่ งจากแผนยกระดับกลุม นิคมมาบตาพุด สู เ มื อ งอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เวศ ผ า น 3 กลยุทธ ไดแก กลยุทธการปรับเปลี่ยนรูป แบบการขนสง ( ) กลยุทธการ กํ า กั บ ดู แ ลตามก หมาย กลยุ ท ธ ก าร พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน โดยคาดหวังวา สามารถลดความหนาแน น การจราจร ขนสงระหวางทาเรือ ประหยัดพลังงาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ โดยรายละเอียดในการขับ เคลื่อน ดังนี้ กลยุทธที่ 1 การปรับเปลีย่ นรูปแบบ การขนสง ( ) ไดแก การ
เคลื่อนยาย วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบ การขนสง อาทิ รูปการเคลื่อนยายจากรถ ไปเรือ หรือรถไปราง การวางระบบราง ขนสง ฯลฯ กลยุ ท ธ ที่ 2 การกํ า กั บ ดู แ ลตาม ก หมาย มีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมและ ตรวจสอบการปฏิ บั ติ ต ามก หมาย การขนสง และยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยในการขนสง อาทิ การกําหนด เสนทางการเดินรถไมใหผานพื้นที่ชุมชน การกําหนดเวลาเดินรถ ฯลฯ กลยุทธที่ 3 การพัฒนาโครงสราง พืน้ ฐาน มีวตั ถุประสงคเพือ่ พัฒนาโครงสราง พื้นฐานดานการขนสง และลดความหนา แนนของการจราจรบนถนนและรองรับการ ขยายตัวดานการขนสงจากภาคอุตสาห กรรมในอนาคตสําหรับในทุกชองทาง ดร.วิฑูรย กลาวเพิ่มเติมวา จากที่ กนอ. ไดดาํ เนินการสรางโครงการเชือ่ มตอ
10 ของปริมาณโรงงานทัง้ หมดทีม่ จี าํ นวน 148 โรงงาน ซึ่ ง คาดว า จะดํ า เนิ น การ เชื่อมโยงสัญญาณครบ 100 ภายในป 2558 โดยตัวอยางรายชื่อโรงงานอุตสาห กรรมในป 2556 ไดแก บริษัท แอร ลิควิด (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไบเออรไทย จํากัด บริษัท สไตรโนลูชั่น (ประเทศไทย) จํากัด อยางไรก็ตาม กนอ. มีนโยบายใน การเฝาระวังและตรวจสอบคุณภาพสิ่ง แวดลอม และกํากับดูแลโรงงานใหปฏิบัติ ตามก หมาย และระเบียบตางๆ ทัง้ นีแ้ ผน งานการเชื่ อ มโยงระบบเฝ า ระวั ง ของ
‘หอการคาไทย’ ด 2 หลักสูตร ลจิสติกส
ทจริง ชี้ ซนนิ่งจ สําเรจ ล ยั่งยืนหรือ ไมอยูทีบ่ คุ ลากรในพืน้ ทีต่ อ งรวมใจเสนอ ยุท ศาสตรตอสวนกลาง พรอมนําเงินกู . ลานลาน มาพัฒนาร บบ ลจิสติกส ลดตนทุน นายยุคล ลิ้ม หลมทอง รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวง เกษตรและสหกรณ กลาวในงานประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนกับพืชสวนไทย จัดโดย สมาคมพืชสวนไทย ทีศ่ นู ยนทิ รรศการและ การประชุมไบเทค บางนา เมื่อเร็ว ๆ นี้วา ความต อ งการของตลาดจะเป น ตั ว ขั บ เคลื่อนเศรษฐกิจของประชาคมอาเซียน แมไทยจะมีมาตรฐานและศักยภาพของ สินคาเหนือกวาประเทศเพื่อนบาน แตพืช เกษตรมีการแขงขันกันสูง สิ่งแวดลอมเขา มามีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากผูซื้อจาก
สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ใหความ สํ า คั ญ สุ ด ท า ยแล ว ราคายั ง เป น ตั ว ตัดสินใจ ดังนั้น เรื่องการลงทุนเพาะ ขยายปรับปรุงพันธุพืช บีโอไอตองมีการ เป ด ส ง เสริ ม การลงทุ น ให ธุ ร กิ จ ขนาด กลางและเล็ก หรือ ME เขามาในธุรกิจ นี้ ม ากขึ้ น ต อ งมี ก ารแก ก หมายใน ประเด็นการอนุรกั ษพนั ธุ การเคลือ่ นยาย มากขึ้ น เพื่ อ ให ไ ทยเป น ศู น ย ก ลาง การเกษตรในภูมิภาคนี้ นอกจากนี้ ภาวะโลกรอนที่สงผล กระทบตอทางดานวิชาการทั้งหมด ตอ ไปตองวิจัยหาพันธุพืชตามสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนไป จากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทุกป และเดียวนีเ้ ปลีย่ นทุกวัน เชน ภาคอีสาน อุณหภูมิกลางวัน กลางคืน บางจังหวัด แตกตางกันถึง 15-18 เซลเซียส หรือ อยางลิ้นจี่ จ.สมุทรสงคราม 7,000 กวา ไร ติดผลอยูตนเดียว นอกเหนือจาก ฤดูกาลเปลีย่ นแปลงแลว ผลผลิตยังออก สูตลาดลาชาไป 1 เดือนเศษดวย ะนั้น องคความรู อานตอหนา...B2
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เปด 2 หลักสูตรใหม ผลิตผูเชี่ยวชาญก หมาย ดานโลจิสติกส ตอยอดสาขาเดิม รองรับ ไทยศูนยกลางโลจิสติกส นายสุ รรม อยู ใน รรม คณบดี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยหอการคา ไทยและประธานสถาบั น วิ ช าการ นโยบายสาธารณะกั บ ธุ ร กิ จ และการ กํ า กั บ ดู แ ล (A ) มหาวิ ท ยาลั ย หอการคาไทย กลาววา มหาวิทยาลัยได เปดหลักสูตรใหม ไดแกสาขาโลจิสติกส ของคณะนิ ติ ศ าสตร ที่ เ น น ผลิ ต ผู เชี่ยวชาญก หมายดานโลจิสติกสและสา ขาโลจิสติกสของคณะบริหารธุรกิจที่เนน ดานการบริหารจัดการโลจิสติกส ในป การศึกษา 2556 เพื่อผลิตบัณฑิตปอน ภาคธุรกิจรองรับการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานรถไฟความเร็วสูง และการผลัก ดันใหไทยเปนศูนยกลาง ( ับ) โลจิสติกส ของภูมิภาคเอเชีย และเปนการตอยอด จากเดิ ม ที่ เ ป ด สอนสาขาโลจิ ส ติ ก ส ใ น คณะวิศวกรรมศาสตร “ไทยถือเปนจุดยุทธศาสตรสําคัญ ของเอเชีย มีความไดเปรียบดานทําเล ภูมิศาสตรที่จะสงผลใหเกิดการพัฒนา ทางธุรกิจและเศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น ดังนั้นในเชิงธุรกิจมีความจําเปนที่จะตอง ผลิ ต บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ค วามชํ า นาญ ดานการคาและการขนสงโลจิสติกสเพื่อ มารองรับธุรกิจที่กําลังขยายตัวเพิ่มขึ้น” นายสุธรรม กลาว ทั้ ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย ได เร ง พั ฒ นา
หลักสูตรโลจิสติกส เนื่องจากเล็งเห็นถึง ความจําเปนและความตองการแรงงาน และบุคลากรดานขนสงและโลจิสติกสใน อนาคตอีกจํานวนมาก โดยเ พาะอยาง ยิ่งหากรัฐบาลสามารถพัฒนาโครงการ โครงสรางพื้นฐานรถไฟความเร็วสูงให เกิดขึ้นในอีก 3-5 ปขางหนาไดสําเร็จ ก็ จะสงผลใหมีโอกาสเกิดธุรกิจใหมๆ ตาม มาอีกมาก หลั ก สู ต รใหม เ ป น การปรั บ ปรุ ง เนื้อหาการเรียนการสอน โดยผสมผสาน ศาสตรอื่นที่เกี่ยวของกับธุรกิจเขามาใน หลักสูตร เชน การเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับ โลจิสติกสควบคูไปกับก หมาย ทําให นักศึกษามีความเขาใจและความรูเกี่ยว กับธุรกิจโลจิสติกส และสามารถประยุกต ใชในการทํางานไดจริง เนื้อหาของหลักสูตรดังกลาว จะมี ความแตกตางจากคณะนิติศาสตรของ มหาวิทยาลัยอื่น คือ นอกจากตองเรียน เนื้อหาก หมายพื้นฐานทั่วไป นักศึกษา ยั ง ต อ งเรี ย นก หมายธุ ร กิ จ ได แ ก ก หมายการค า ระหว า งประเทศแบบ เจาะลึ ก โลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชน แฟรนไชส บริหารงานบุคคล ทรัพยสิน ทางปญญา ก หมายการเงินการธนาคาร และก หมายอาหาร เพื่ อ ให เ ข า ใจ ก หมายดานธุรกิจอยางลึกซึ้ง อยางไร ก็ ต าม มหาวิ ท ยาลั ย ประเมิ น ว า จะ สามารถผลิตแรงงานสําหรับธุรกิจขนสง และโลจิสติกสจาก 3 คณะ ไดปละเกือบ 1,000 คน
หากมาดูตวั เลขรายประเทศ จะเห็น วาเราคาขายกับมาเลเซียสูงสุดถึงรอยละ 58 ตามมาดวยประเทศเมียนมาร รอยละ 19.5 ประเทศ สปป.ลาว รอยละ 14.4 และประเทศกัมพูชา รอยละ 8.1 หันกลับ มาดู คํ า นิ ย ามของการค า ชายแดน ซ่ ง หมาย งการคาในร ดับทอง ิ่น เปน การค า สิ น ค า พื้ น านข า ม ดน ดย ผูป ร กอบการทอง นิ่ การชําร เงินสวน ให เปนเงินสกุลบาท ล มักชําร กัน ดวยร บบเงินสด อาศัยความรูจัก ล เชื่อใจกันเปนสําคั ซึ่งป 2556 การคา ชายแดนของไทยจะมีตัวเลขอยูใน ถึงรอยละ 9 เทียบเทากับการสงออกไป ประเทศสหรัฐอเมริกา บวกกับการสงออก ไปกลุมประเทศอียูอีกครึ่งหนึ่ง จะเห็นได วาเปนตัวเลขที่ไมนอย ขณะที่การคากับ ประเทศเพื่อนบาน เมื่อเทียบกับประเทศ
ที่พัฒนาแลว จะมีความยุงยากทั้งดาน มาตรฐานและการกีดกันที่นอยกวามาก ดังนั้น คําจํากัดความของการคาชายแดน แบบเดิ ม ๆ อาจต อ งนิ ย ามกั น ใหม ซึ่ ง ตั ว เลขการค า ชายแดน ซึ่ ง สู ง ขนาดนี้ จําเปนทีท่ งั้ ภาคเอกชนและภาครัฐจะตอง ใหความสนใจในตัวเลขการคาชายแดน ของไทย ถึ ง แม ว า จะมี ค วามกั ง ขาว า ตัวเลขที่สงออกขามแดนไปมาเลเซีย นา จะเปนการสงสินคา โดยเ พาะยางพารา ขามแดนไปสูประเทศที่ 3 หากสามาร ที่ จ มี ก าร ยกตั ว เลขที่ ชั ด เจนร หวาง การคาที่เปนการคาชาย ดน กั บ การค า ที่ ข า ม พรม ดนปร เทศเพือ่ นบานไปสูปร เทศ ที่ ก็ จ ะสามารถกํ า หนด กลยุทธ และยุทธศาสตรไดชัดเจนกวาที่ เปนอยู
อย า งไรก็ ต าม ต อ งยอมรั บ ว า ประเทศเพื่อนบานของเราก็มีการพัฒนา เปนลําดับ และเริ่มจะใหความสําคัญกับ สินคาที่ผานแดนจากประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งในระยะยาวก็คงมีมาตรการตางๆ ใน การควบคุมสินคานําเขาและสงออก เห็น ไดจากบางประเทศมีความเขมงวดในการ เปดดานถาวร จําเปนที่ปร เทศไทยจ ตองใหความสําคั ตอการพัฒนาชอง ทางการคา ซึง่ ตลอดทัง้ ชายแดนมีมากกวา 89 ชองทาง โดยจะตองยกระดับดาน ชายแดนที่ มี ศั ก ยภาพ ซึ่ ง ป จ จุ บั น มี โครงสรางพื้นฐานที่คอนขางพรอมที่จะ รองรับการคาในอนาคต ตปร เดนจ ตองเชือ่ ม ยง าคเศรษ กิจใหสามาร ใช ปร ยชน จ าก ครงสร า งที่ มี อ ยู ใน ป จจุ บั น ล ในอนาคตได อ ย างมี ปร สิท ิ าพ ตรงนี้เปนจุดที่ภาครัฐจะ
ตองเรงดําเนินการ ทั้งในสวนที่เกี่ยวของ กับก เกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ ทั้งดาน ขนสง ดานศุลกากร ดานใบอนุญาต และ อื่นๆ ซึ่งประเทศไทยกับประเทศเพื่อน บานยังขาดความสอดคลองและเชือ่ มโยง ทั้งนี้ การสงเสริมการคาชายแดน ในอนาคตภายใตการเชื่อมโยงของ AEC โดยประเทศไทยอยูตรงศูนยกลางของ ภูมิภาค ซึ่งเปนจุดที่ประเทศไทยมีความ ไดเปรียบ โดยรูปแบบการคาในอนาคต การขนสงทางถนนจะมีบทบาทสําคัญตอ การคาในกลุม ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึง่ มี แ ผ น ดิ น ติ ด ต อ กั น ที่ เรี ย กว า A EA M ซึง่ รวมถึงประเทศจีนตอนใต หากปร เทศไทยไมอยากเสี ย อกาส จํ า เป น ที่ จ ต อ งยกร ดั บ จากการค า ร ดั บ ท อ ง ิ่ น ไปสู การค า ที่ เ ป น บบ สากล
ดร ว ร สม โช ด
สัญญาณแจงเตือนภัยจากระบบเฝาระวัง มายังศูนยเฝาระวังและควบคุมคุณภาพ สิ่งแวดลอม (EMCC) ในกลุมนิคมฯ และ ท า เรื อ อุ ต สาหกรรมพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด
เ ตร เรงย ม ตร นสินค รับเออีซี พรอมพั น ร บบ ิสติ ส ดตนทุน เกษตรฯ ยกร ดับมาตร าน ล พั ฒ นาศั ก ย าพ าคเกษตรไทยรั บ เออี ซี เ ตมที่ จี้ บี อไอให ก ารสงเสริม
ลงทุนเพา ขยายพัน ุพืช รวมทั้ง ผลั ก ดั น รั ปรั บ ปรุ ง ก หมายที่ เ ป น อุปสรรค เพื่อใหไทยเปนศูนยกลางอยาง
ดร.ธนิต สรัตน ร ธาน
รอ ร ธานส าอุตสาหกรรมแห ร เทศ ทย ร ธานสาย าน ล ิสติกส ส.อ.ท.
การคา า
... อ กระ ไป อ อร
ภายใต เ ศรษฐกิ จ แบบเป ด ของ อาเซียน หรือ AEC ซึ่งในอีกเกือบ 3 ป ข า งหน า ก็ จ ะทํ า ให ต ลาดในภู มิ ภ าค อาเซียนกลายเปนตลาดเดียวกัน และ เป น ฐานการผลิ ต ร ว มกั น โดยที่ ประเทศไทย มี พ รมแดนติ ด ต อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า น ทั้ ง มาเลเซี ย เมียนมาร ลาว กัมพูชา โดยโครงสราง พื้นฐาน ทั้งสะพานและถนนที่มีระยะ ทางสั้นๆ สามารถเชื่อมโยงกับประเทศ
จีนตอนใต และเวียดนาม ทําใหเปนขอได เปรียบ และเอือ้ ตอการสงเสริมการคาของ ไทย ดังนั้น แนวโนมการคาชายแดนของ ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน นับวัน จะมีบทบาทสําคัญตอภาคเศรษฐกิจ เห็น ไดจากตัวเลขการคาชายแดนในปที่แลว อยูที่ประมาณ 912,500 ลานบาท โดยมี อัตราการเติบโตเ ลี่ยรอยละ 13-14 คาด วา ปนี้ตัวเลขการคาชายแดนของไทยคง ทะลุหลัก 1.05 ลานบาท อยางแนนอน
โรงงานมายังศูนยเฝาระวังฯ ไมใชการ ดําเนินงานตามก หมายบังคับ แตเปน ความร ว มมื อ จากผู ป ระกอบการ โดย ปจจุบัน โรงงานกวา 148 เขตนิคมฯ และ ท า เรื อ อุ ต สาหกรรมพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด จังหวัดระยอง เปนโรงงานอุตสาหกรรม ข น า ด ใ ห ญ ดํ า เ นิ น ง า น ก า ร ผ ลิ ต อุตสาหกรรมประเภทปโตรเคมี เคมีภัณฑ เหล็ ก โรงกลั่ น นํ้ า มั น และโรงไฟฟ า ครอบคลุมเนื้อที่ 10,215 ไร แบงเปนเขต อุตสาหกรรมทั่วไป 7,092 ไร เขตที่พัก อาศัยของชุมชนโดยรอบ 1,490 ไร และที่ อานตอหนา...B2 เหลือเปน
จังหวัดระยอง นั้นไดดําเนินการวางระบบ แลวเสร็จ สามารถเชือ่ มโยงแจงเหตุ กุ เ นิ ของโรงงานมายังศูนยเฝาระวังฯ เปนที่ เรียบรอยแลว จํานวน 25 โรงงาน หรือกวา
B2
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ของกร ทรวงพา ชิ ย กิจกรรมให ทีจ่ ดั ข้นเมือ่ วันที่ 0 พ.ค. ซ่งมีงานสัมมนา เรื่องที่สําคั ูกผนกอยูในงานนั้นดวย คือเรื่องการคา ล พลังงาน ล ครงการทาเรือนํา้ ลกทวาย ซ่งเรือ่ งเหลานีพ้ ฒ ั นาไปสูเปาหมายทีว่ าง ไวในการเปนศูนยกลางของ ูมิ าคเอเชียต วันออกเ ียงใต ดยกร ทรวงพา ิชย รวมกับ าคเอกชนเดินหนาชูศักย าพ ลจิสติกส ในวันที่ 29 พฤษภาคม 2556 มีกิจกรรมกระทบไหลทูตพาณิชย ชี้ชอง ME บุกตลาดอาเซียน ซึ่งจะมีทั้งการบรรยายพิเศษ และการเสวนาหัวขอ “ลวงลึกตลาด มุสลิมและหมูเกาะมาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส อินโดนีเซีย บรูไน” จัดที่โรงแรม เซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัล ลาดพราว เสวนา “จาก 7 แสนลานสู 1 ลานลาน โอกาสทองคาชายแดน” และเสวนา “เจาะตลาดการคาชายแดน พมา-ลาว-กัมพูชาเวียดนาม” เปนตน ในฐานะแมงาน นางศรีรัตน รัษ ปาน อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวาง ประเทศ เปดเผยวา การจัดสัมมนา 2 เรื่อง คือ การคาและพลังงาน (T
บับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ เปดเผยอีกวา สําหรับการสัมมนา เรื่อง A EA C และโครงการทาเรือนํ้าลึกทวายนั้น การพัฒนาเต็ม โครงการของทาเรือนํ้าลึกทวาย ตั้งอยูดานทิศตะวันตกของนิคมอุตสาหกรรม และ มีทางเขาออกโดยตรงสูทะเลอันดามัน จะประกอบดวย อูตอเรือ พื้นที่โกดังเก็บ สินคาและไซโล สิ่งอํานวยความสะดวกดานระบบโลจิสติกส รวมทั้งอาคารเก็บ สินคาเทกองและตูส นิ คาคอนเทนเนอร ประตูการคาสูภ มู ภิ าคเอเชียตะวันออกเ ยี ง ใต ดังนั้น เมื่อประสานความเชื่อมโยงระหวางทาเรือแหลม บังและทาเรือทวาย โดยทาเรือทวาย ไดเปรียบเสนทางการขนสงไปทางตะวันตก และทาเรือแหลม บัง ไดเปรียบเสนทางการขนสงไปทางตะวันออก “ประโยชนทปี่ ระเทศไทยจะไดรบั คือ เมือ่ พิจารณาดานศักยภาพความเชือ่ ม โยงทางเศรษฐกิจ ทาเรือนํ้าลึกทวาย จะเสริมศักยภาพของการเปนโลจิสติกส ับ ของไทย มีการเชื่อมโยงวัตถุดิบจากสหภาพพมา ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ ดานอุปทานแรงงานซึ่งมีอยู จํานวนมาก และมีคาจางแรงงานถูก เสริ ม ความมั่ น คงด า นพลั ง งาน กิจกรรมการผลิตในภาคอุตสาหกรรม อื่นๆ โดยเ พาะอุตสาหกรรมตนนํ้า เชน ดานปโตรเคมี นํ้ามัน โรงผลิต ไฟฟา เปนตน” นางศรีรตั น กลาวอีกวา สําหรับ มูลคาการคาระหวางไทยกับอาเซียน ทั้ง 9 ประเทศ ในไตรมาสแรกของป 2556 นี้มีมูลคา 14,670 ลานเหรียญ สหรัฐ เพิ่มขึ้น 5.9 ขณะที่ป 2555 มีการสงออก 56,730 ลานเหรียญ สหรัฐ เพิ่มขึ้น 7.6 สินคาสงออกสําคัญ ไดแก นํ้ามันสําเร็จรูป รถยนต อุปกรณ และชิ้นสวน เครื่องจักรและสวนประกอบ เคมีภัณฑ เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ เม็ดพลาสติก เครือ่ งคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ นํา้ ตาลทราย ผลิตภัณฑ ยาง และแผงวงจรไฟฟา ถือเปนแนวโนมดานการคาที่ดีขึ้น สวนการประชุมติดตามสถานการณการคาระหวางประเทศในชวงครึง่ หลังของ ป 2556 รวมกับสํานักงานพาณิชยในตางประเทศ 4 แหง หัวหนาสํานักงานสงเสริม การคาระหวางประเทศ 62 สํานักงานทั่วโลก ภาคเอกชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่ประชุมไดแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณการคาในปจจุบัน ซึ่งประสบ ปญหาอุปสรรคหลายดาน รวมถึงการแข็งคาและผันผวนของคาเงินบาทที่มากกวา คาเงินของประเทศคูแขงขันในภูมิภาค ผลจากการหารือรวมกันในครั้งนี้ ทําให กระทรวงพาณิชย ปรับเปาหมายการสงออกของป 2556 จากเดิมขยายตัวรอยละ 8-9 เปนขยายตัวรอยละ 7-7.5 หรือ มีมูลคาสงออกรวม 245,585-246,733 ลาน เหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ มีความเชื่อมั่นในการผลักดันการสงออกใหเพิ่มขึ้นในตลาดใหมๆ โดยเ พาะตลาดอาเซียน ซึ่งมีสัดสวนการสงออกถึงรอยละ 25 ของการสงออกรวม ป นี้ ค าดว า การส ง ออกจะขยายตั ว ร อ ยละ 12.4 จากเดิ ม ที่ ตั้ ง เป า หมายไว ที่ รอยละ 10
AEC WEEK ศรีรั น รัษฐปานะ
เรง ั นาสรางเ รอขายเออีซี E ) กับการสัมมนาเรื่อง A EA C และโครงการทาเรือนํ้าลึกทวาย ซึ่งเปนหนึ่งในกิจกรรมใหญ “AEC EE ” โดยกรมรวมกับหนวยงานภาครัฐและ เอกชน รวมเสริมสรางและพัฒนาผูประกอบการไทยสูเวทีการคาระหวางประเทศ วา ทาเรือนํ้าลึกทวาย กับพลังงาน เปนนโยบายของรัฐบาล ซึ่งจะเปนนโยบายสําคัญใน การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยไปสูเปาหมายความเปนศูนยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเ ียงใต และเสริมศักยภาพการรวมเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) นโยบายรัฐบาลตองการเรงใหเศรษฐกิจขยายตัวเต็มที่ จําเปนตองสรางขีดความ สามารถในการแขงขันในภาคการลงทุนและการผลิตของไทย ตองพัฒนาโครงสราง พื้นฐานและกําหนดนโยบายดานพลังงานที่ชัดเจน ซึ่งกระทรวงพาณิชย ไดวาง ยุทธศาสตรการใชอาเซียนเปนฐานไปสูเวทีโลกเพื่อใชประโยชนจากความไดเปรียบ เชิงที่ตั้งเชิงยุทธศาสตรในภูมิภาคของไทยเปนศูนยกลางการคาลงทุนในภูมิภาคและ เรงใชประโยชนจากทรัพยากร ผูประกอบการและผูบริโภคของอาเซียนเปนฐาน เพื่อ กาวไปสูก ารยกระดับใหประเทศไทยมีการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจใหเจริญเติบโต อยางยัง่ ยืน รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และผลักดันใหไทยเปนศูนยกลางการผลิต สินคาและบริการในภูมิภาคอาเซียนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ก ร ร ตอ า หนา... ที่จะตองจัดการรับกับการเปลี่ยนแปลงจึง เปนหัวใจสําคัญ นายยุ ค ล กล า วต อ ว า การปรั บ โครงสรางการผลิตทางดานเกษตร คือโซน นิ่ง เปนอีกเรื่องหนึ่งที่ไทยตองปรับตัวรับ กับการเปลี่ยนแปลงเพื่อเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี พืน้ ทีเ่ กษตร 151 ลานไร จะตองมีการจัดตามศักยภาพของ ดิน อากาศ นํ้า ขณะนี้กระทรวงเกษตรฯ
ประกาศพื้นที่เหมาะสมไปแลว ประกอบ ดวยพืช 8 ชนิด ประมง 3 ชนิด และ ปศุสัตว 5 ชนิด แตเรื่องโซนนิ่งจะสําเร็จ หรือไมขนึ้ อยูก บั บุคลากรในพืน้ ที่ จากเดิม จะเปนการสั่งจากขางบน หรือสวนกลาง ลงลาง บอกใหขา งลางวาตองทําอะไร ขาง ลางเลยไมคิด เวลาหนวยงานตางประเทศ มาประเมิ น หรื อ ให ทุ น จะสรุ ป ว า ทุ ก โครงการประสบความสําเร็จ แตสาํ เร็จเมือ่ เสร็จโครงการเทานั้น ไมมีการสานตอแต อยางใด ตอไปตองปรับเปลีย่ นใหม ขางลาง ตองเสนอขึน้ มาภายในเดือนนีว้ า จะทําอะไร
มอ นการ ก า : สมาคมผูสื่อขาวเศรษ กิจ รวมกับองคกรตางๆ จัดพิธีมอบทุนการศึกษา บุตร-ธิดาสมาชิกสมาคม ประจําป 255 จํานวน 130 ทุน และในโอกาสนีไ้ ดจดั สรรเงินจํานวน 1 0,000 บาท เพือ่ มอบทุนการศึกษาเปนกรณีพเิ ศษทุนละ 4,000 บาท ใหกบั เด็กในถิน่ ทุรกันดาร จากโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนในเขตจังหวัดตาก จํานวน 30 ทุน และนักเรียนจากจังหวัด กา สินธุ และจังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 10 ทุน เพื่อสนับสนุนดานการศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ณ โรงภาพยนตรเมเจอรรัชโยธิน เมื่อเร็วๆ นี้
Logistics Corner
โดย : Miss Delivery
สวัสดีค พบกับ ปร จําหนังสือ เริ่มตนโครงการที่คาดวาจะชวย ลดตนทุนโลจิสติกสและการขนสงกับ ความคืบหนาทาเรือปากบารา ศรศักดิ์ สนสมบัติ อธิบดีกรมเจาทา ชี้แจงวา ขณะนี้เตรียมจางที่ปรึกษาวิเคราะหผล
กระทบทางสิง่ แวดลอมและสุขภาพ (อีเอช ไอเอ) โครงการกอสรางทาเรือนํ้าลึกปาก บารา จ.สตูล ระยะที่ 1 ภายหลังรางพระ ราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ใหอํานาจกระทรวง การคลังกูเ งิน เพือ่ การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานด า นคมนาคมขนส ง ของประเทศ พ.ศ....ผ า นการพิ จ ารณาแล ว โดยการ ดําเนินการดังกลาวเปนไปตามก หมายที่ กําหนดใหตองจัดทําอีเอชไอเอ ถึงแมที่ ผานมาจะผานการวิเคราะหผลกระทบทาง สิ่งแวดลอม (อีไอเอ) เสร็จเรียบรอยแลว
CLO
จะพัฒนาโซนนิ่งอยางไร ผูประกอบการ เกษตรกร องคกรสวนทองถิ่นตองมาทํา ยุทธศาสตรรว มกันวาจะทําอะไรในพืน้ ทีใ่ ห สินคามีความปลอดภัย มีคณ ุ ภาพ และขาย ได สวนพืน้ ทีไ่ มเหมาะสม เชน ขาวเปลือก ศ.ดร.ฐาปนา บุญหลา, ประธานกรรมการ มูลนิธิสถาบันโลจิสติกสแหงเอเซีย ไดผลผลิตเพียง 350 กก. ไร จากทีค่ วรจะ ไดไรละ 730 กก. ถาจะปลูกใหไดไรละ 500 กก. ตองใสปุย ใสอะไรบาง หรือจะปรับ เปลีย่ นอาชีพเปนอะไร รวมทัง้ ตองการให บริบทโลกาภิวัตนที่มีการเปลี่ยน โอกาสและอุปสรรคอยางนาสนใจที่ควร ภาครัฐเขาไปสนับสนุนอะไรบาง แปลงและไมแนนอนตลอดเวลาทั้งมิติ พิจารณา คือ ผลสะทอนของวิกฤติ การ “เราทํ า โซนนิ่ ง เพราะไม ต อ งการ ดานคุณประโยชนและโทษตอมนุษย ใน เปลี่ ย นขั้ ว อํ า นาจทางการเมื อ งภู มิ ภ าค หวานแห การเตรียมตัวเขาสูการแขงขัน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม นวัตกรรม ความทาทายของเทคโนโลยี การเปลี่ยน ในเออีซี ยกตัวอยาง ในพื้นที่ปลูกขาว เทคโนโลยีสารสนเทศ สิ่งแวดลอม และ แปลงของบรรยากาศ นํ้าและอาหาร การ กระทรวงเกษตรฯกําลังหารือกับบริษัท ธรรมชาติ ผูที่มีปญญาและเขมแข็งกวา ศึกษาการเปลีย่ นแปลงประชากร สงคราม เอกชนในการพิจารณาสายพันธุที่เหมาะ ยอมอยูรอด สวนผูที่ดอยปญญาและ การกอการราย และความไมสงบทางสังคม สมในแตละพืน้ ที่ รวมทัง้ การบริหารจัดการ ออนแอกวายอมดับสูญไปเปนธรรมดา พลังงาน ระบบนิเวศและความหลากหลาย จะไดไมตองพึ่งรัฐบาลมาก” ประเด็นสําคัญเราควรตระหนักรูว า อะไร ทางชีวภาพ สุขภาพ และภัยพิบตั ธิ รรมชาติ อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ การจั ด ระบบ จะขึ้นกับตัวเรา และสังคมในวันพรุงนี้ วันนี้จะขอขยายความเลาสูกันฟงแตละ โลจิสติกสที่ไทยยังมีตนทุนคอนขางสูงถึง เพื่อเตรียมตัวเตรียมใจ และปรับตัวกับ เรื่องพอสังเขปดังนี้ 17 โครงการเงินกูเพื่อนํามาพัฒนาสา สถานการณทจี่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตคงจะ ผลกร ทบของวิก ติ ธารณูป โภค 2.2 ลานลานบาท รัฐบาล ดีกวาแน จากขอมูลหนังสือ O A มี ก ารกล า วถึ ง ผลของ พรอมจะพัฒนาใหไทยเปนศูนยกลางใน T E ของ A ไดระบุถงึ ลมละลายและเปนอัมพาตระบบ ภูมภิ าคนี้ ซึง่ จะตองมีการจัดระบบราง ทํา แนวโน ม อนาคต 12 เรื่ อ งที่ เ ป น ทั้ ง การเงินของโลก แตภาวะตกตํ่าไดทําให ถนนเชือ่ มตอในการขนถายสินคา และการ รวบรวมสินคาเกษตรทัง้ หมดเพือ่ ขนสงจาก สิ่งแวดลอมตางๆ โดยแบงระบบติดตาม แหลงผลิตถึงมือผูบริโภค โดยขนสงออก 50,000 ครัวเรือน นอกจากนี้ กนอ. มีนโยบายในการ ตรวจสอบและเฝาระวังเปน 5 ดาน ไดแก จากพืน้ ทีผ่ ลิตเร็วขึน้ เพือ่ มิใหราคาตกตํา่ กํากับดูแลสิง่ แวดลอมรวมกับทุกภาคสวน ดานอากาศ ดานนํ้า ดานฐานขอมูลและ เพื่อใหสามารถอยูรวมกับชุมชนไดอยาง การเชื่อมโยง ดานสื่อสารประชาสัมพันธ ยั่งยืน โดยเ พาะมาตราการเฝาระวังและ ดานความปลอดภัยรวม 21 ระบบ อาทิ ตอ า หนา... ควบคุมสิ่งแวดลอม ซึ่งศูนยเฝาระวังและ ระบบเฝาระวังคุณภาพอากาศจากปลอง ควบคุมคุณภาพสิง่ แวดลอม (EMCC) เปน แบบต อ เนื่ อ ง สถานี ต รวจวั ด คุ ณ ภาพ พืน้ ทีว่ า งเปลา จํานวนประชากรอาศัยโดย กลไกลที่ สํ า คั ญ ในการติ ด ตามเฝ า ระวั ง อากาศรถเคลื่ อ นที่ สํ า หรั บ ตรวจวั ด รอบรวมกว า 200,000 คน หรื อ กว า และควบคุ ม สั่ ง การในการจั ด การด า น คุณภาพอากาศ สถานีตรวจคุณภาพนํา้ ตน
Chief Logistics Officer
ว ม กา ว
อ ที
ก
อลัน มว
ร ักด สนสม ัต
ก็ตาม ทั้งนี้ ภายหลังราง พ.ร.บ. ผานการ พิจารณาแลว กรมจะสามารถนําเงินมา ดํ า เนิ น งานตามขั้ น ตอนได ทั น ที โดย
กระบวนการจัดทําอีเอชไอเอ จะมีตั้งแต 1-2 ป หากไมมปี ญ หาอะไรมากนักก็จะใช เวลาเร็วสุดไมตาํ่ กวา 1 ป แตจะไมเกิน 2 ป หลังจากนั้นจึงจะประกวดราคาหาผูรับ เหมาเขาไปดําเนินการกอสรางตอไป มา ทีค่ ณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ใหอํานาจ กระทรวงการคลั ง กู เ งิ น เพื่ อ การพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงของ ประเทศ พ.ศ....หรือ พ.ร.บ.กูเ งิน 2 ลานลาน บาท ในสวนของพรรคประชาธิ ปตย (ปชป.)
นําโดย กร จาติกว ชิ ส.ส.บัญชีรายชือ่ สามาร ราชพลสิท ิ์ ส.ส.บัญชีรายชือ่ รวม กันแถลงขาวถึงความเปนไปไดของนโยบาย คาโดยสารของ รถไฟฟา ทีร่ ฐั บาลประกาศ วาจะเก็บคาโดยสาร 20 บาทตลอดสาย ซึง่ เปนเพียงนโยบายขายฝน ทิง้ ทายที่ บริ ษั ท ที เ อ็ น ที เอ็ ก ซเพรส เวิ ล ด ไวด (ประเทศไทย) ผู นํ า ด า นบริ ก ารขนส ง พัสดุภัณฑดวนครบวงจร ทั้งในและตาง ประเทศ ซึง่ มีฐานการดําเนินงานในประเทศ เนเธอรแลนด รวมสนับสนุนการจัดงาน
หลายสิง่ หลายอยางจนกลายเปนบทเรียน ที่ดี จากเหตุการณเงินจํานงอสังหาริม ทรัพยสว นเกิน ภาระหนีส้ นิ ในหลักทรัพย สินเชือ่ ลมเหลว และปญหาโครงสรางการ ลงทุ น ในรถยนต ที่ เ คยเฟ อ งฟู ข อง ประวัติศาสตร ภาวะฟองสบูที่พรอมจะ แตกไดทุกเมื่อ โลกที่แตกตางจะรวมตัว เขาหากัน วิกฤติทางการเงินที่เลวราย สงผลมาตัง้ แตมรสุมดีเปรสชัน่ ใหญเมือ่ ป ค.ศ. 1930 เศรษฐกิ จ ใหม การเงิ น การเมือง ก หมาย และโครงสราง และ ก กติกาจะเสือ่ มถอย และในศตวรรษที่ 21 นี้จะขับเคลื่อนโดยเศรษฐกิจโลกาภิ วัตนอยูอยางขาดความไมแนนอน หลัง จากการโยนเงินสาธารณะกอนโตเพือ่ พยุง ปญหา หนี้สวนเกินไดเคลื่อนยายจาก ระดับครอบครัวสูระดับชาติอยางหลีก เลีย่ งไมได ประเด็นสําคัญปจจุบนั คือ จะ แกปญหาหนี้สาธารณะของโลกจํานวน ประมาณ 39,000,000,000,000 เหรียญ สหรัฐ จะทําอยางไรขึน้ อยูก บั วาคุณอาศัย อยูท ไี่ หน มีวถิ ที างทีแ่ ตกตางของจํานวน ทีผ่ ดิ ปกติ อานตอ หนา... คลอง และปลายคลอง ระบบการเชือ่ มโยง ขอมูลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าทิ้งอุตสาห กรรม ระบบฐานขอมูลอัตราการระบายมล สารทางอากาศ รถสนับสนุนหนวยเคลื่อน ที่ เร็ ว และประชาสั ม พั น ธ ก ระจายข า ว ระบบเครือขายความปลอดภัยดวยกลอง วงจรปด ระบบเชื่อมตอระบบติดตามเฝา ระวั ง ของโรงงานเพื่ อ รองรั บ เหตุ ก ารณ ุกเ ินแบบทันที ฯลฯ เ ลิม ลอง วันชาติเนเ อร ลนด ครบ รอบ 00 ป ในว รกาสการสล ราช สมบัติข องสมเดจพร ราชินีนา เบีย ทริกซ ล พิ รี าชา เิ ษกพร ราชา บิ ดี หงราชอา าจักรเนเ อ ลนด โดยได รับเกียรติจาก อลัน มิว กรรมการผูจ ดั การ ใหญ ที เ อ็ น ที ประเทศไทย นํ า คณะ ผูบริหารและเชิญลูกคาของทีเอ็นที เขา รวมงาน บริเวณสวนของสถานทูตเนเธอร แลนดประจําประเทศไทย...พบกันใหม บับหนา สวัสดีคะ
รา ากา า า ราคารั กา น ราคา รง ยก ราคา
ร า การ น น า ลิ
อลลา / ัน 333.00 550.00 900.00
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ยูบีเอ็ม ประเทศไทย เตรียมจัดงานใหญ 01 จัดเวทีเสวนาระดมสมองพลังงานทดแทนในอาเ ียน ูไ ไลท หวังสรางการเจรจาการคาและการ ลงทุนพลังงานทดแทนอยางเปนรูป รรม ตัง้ เปาใหไทยเปนศูนยกลาง พลังงานทดแทนแหงอาเ ียน ตอยอดเทค น ลยีสูพาณิ ย
เมาทเผาขน โดย : เสือหมอบแมวเซา
ลวงเข า สู สั ป ดาห สุ ด ท า ยของ เดือน พ.ค. กันเปนทีเ่ รียบรอย กําลังจ เขาสู กลางปที่เตมเปยมไปดวยความ ชุม ํ่าของสาย นที่บรรจงเทกร หนํ่า ลงมาขจั ด ความร อ นให ห ายไปจาก สารบบ หลั ง จากที่ เราตรากตรํ า กั บ
18.13 24.82 36.35
จาก 30 ประเทศทั่วโลก “การจัดงานในปนี้ขยายตัวเพิ่มขึ้น 20 จากปที่แลว ซึ่งนับวาเปนเรื่องที่ดี ทีเดียวสําหรับประเทศไทยของเรา เพราะ เปนสิ่งบงชี้ใหเห็นถึงการใหความสําคัญ ของพลังงานทดแทนในระดับชาติ การันตี วาการดําเนินนโยบายของภาครัฐไดผล ซึง่
สร ักด นตตวั น
เข า ใจในการใช ง านและการดู แ ลรั ก ษา อยางถูกวิธี ถึงแมวาจะไมแตกตางจาก การใชระบบนํ้ามันมากนักก็ตาม แตการ บํารุงรักษา ตรวจสภาพการใชงาน ยอมเปน สิง่ ทีค่ วรกระทําอยางสมํา่ เสมอ ดังนัน้ ใน การแกไขและปองกันปญหารถติดกาซไฟ ไหม ควรจะสงเสริมและมุง เนนทีม่ าตรฐาน ของอุปกรณและผูประกอบการติดตั้งที่ได มาตรฐานและไดรบั ใบอนุญาตเปนสําคัญ ทั้งนี้ จากขอมูลกรมการขนสงทาง บก ณ วันที่ 9 ก.พ. 56 พบวา ในประเทศ ไทยมีรถยนตทตี่ ดิ ตัง้ กาซ ทัง้ ประเทศ เกือบ 1 ลานคัน เนื่องจากกาซ เปน พลังงานทางเลือกที่ไดรับความนิยมจาก ประชาชนที่มีรายไดปานกลางถึงรายได น อ ย ซึ่ ง เป น ประชากรส ว นใหญ ข อง ประเทศ สามารถนํามาใชเพื่อลดรายจาย และลดภาระคาเชือ้ เพลิงของครอบครัวได “แนวคิดทีจ่ ะยกเลิกการจดทะเบียน รถ เปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนในการใชพลังงานทางเลือกอยาง
B3
งั งานทด ทน าเ ยน ไมเพียงแตเปนเรือ่ งภายในประเทศเทานัน้ แตยังชวยดึงดูดการคาและการลงทุนดาน
ค นแนวคิด มรับ ดท เบียนร วัน ร ทบ ูปร อบ รทัวปร เท
สมาคม รุ กิจกาซร ยนตไทย บุก กร ทรวงพลังงาน ยืน่ หนังสือเปดผนก ง รมว.พลังงาน ทวง ามความชัดเจน กร ี ไ มรั บ จดท เบี ย นร ที่ ใช สอ ววกร ทบผูใชร กวา 1 ลานคัน ล ผู ป ร กอบการทั่ ว ปร เทศ ผู มี รายไดนอย ดนไปเตม นายสุ ร ศั ก ดิ์ นิ ต ติ วั ฒ น นายก สมาคมธุรกิจกาซรถยนตไทย เปดเผยวา สมาคมธุ ร กิ จ ก าซรถยนต ไ ทยได ยื่ น หนั ง สื อ เป ด ผนึ ก ต อ นายกรั ฐ มนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ปลัด กระทรวงคมนาคม รองปลัดกระทรวง พลังงาน และอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อคัดคานแนวคิด หรื อ นโยบายที่ จ ะยกเลิ ก การรั บ จด ทะเบียนรถยนตทใี่ ชระบบกาซ และ ขอความชัดเจนในการดําเนินธุรกิจใหแก ผู ป ระกอบการต า งๆ ที่ อ ยู ใ นอุ ต สาห กรรมกาซรถยนตของประเทศไทย ที่ ปจจุบนั ไดรบั ผลกระทบจากกรณีที่ รมว. พลังงาน มีแนวคิดที่จะยกเลิก ไมรับจด ทะเบียนรถที่ใชกาซ เปนเชื้อเพลิง อยางไรก็ดี จากการศึกษาถึงปจจัย ที่สงผลใหเกิดอุบัติเหตุไฟไหมรถติดตั้ง กาซ และ นัน้ สวนใหญมาจาก 3 สาเหตุหลัก ไดแก 1. การเลือกใชระบบ และอุปกรณกาซที่ไมไดมาตรฐานความ ปลอดภั ย ที่ ดี 2. สถานที่ ติ ดตั้งหรืออู ติดตั้งที่ไมชํานาญการ บุคลากรขาดการ ฝกอบรมทีค่ รบถวนอยางแทจริง และไม ไดมาตรฐานหรือไมไดรบั ใบอนุญาตจาก กรมการขนสงทางบกอยางถูกตองตาม ก หมาย และ 3. ผูใชขาดความรู ความ
า าขา ล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
เ มส ั นายมนู เลียวไพ รจน ประธาน บริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จํากัด เผยถึงการจัดงาน E A 2013 ที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 5-8 มิ.ย. 56 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา วา ในขณะนี้มีบริษัทตอบ รับเขารวมงานแลวมากกวา 300 บริษัท
า / . 10.26 16.96 27.76
เสรี และยังสงผลกระทบตอผูประกอบ การ ซึ่งอยูในอุตสาหกรรมติดตั้งกาซ ในรถยนตมากวา 30 ป หากมีการ ยกเลิกยอมสงผลกระทบตอผูประกอบ การ และแรงงานในอุตสาหกรรมจํานวน มาก ทั้งกลุมผูประกอบการศูนยติดตั้ง กาซ ทีไ่ ดรบั ใบอนุญาตแลวกวา 330 ราย ผูจ ดั จําหนายระบบและอุปกรณกาซกวา 50 บริษัท โรงงานผลิตถุงบรรจุกาซ 5 โรงงาน รวมถึงสถานีบริการปมกาซ อีกกวา 1,160 แหงทั่วประเทศ และ แรงงานทีเ่ กีย่ วของอีกนับหมืน่ คน” นาย สุรศักดิ์ กลาว กาซ ที่ใชในรถยนตถือเปน พลังงานทางเลือกชนิดหนึง่ ทีไ่ ดรบั ความ นิยมทั่วโลก โดยเ พาะในกลุมประเทศ ที่พัฒนาแลวหลายประเทศ ทั้งสหรัฐ อเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย และเอเชีย สง ผลใหปจจุบันมีรถยนตที่ขับเคลื่อนดวย กาซ มากกวา 23 ลานคันทัว่ โลก โดยมากกวารอยละ 50 เปนรถยนตสว น บุคคลหรือรถครอบครัวทัว่ ไป นายสุ ร ศั ก ดิ์ กล า วว า ป จ จุ บั น ผูประกอบการติดตั้งกาซ มีการนํา เทคโนโลยีทันสมัยจากตางประเทศเขา มาใหบริการติดตั้งกาซ มากขึ้น และศูนยบริการติดตั้งแกสมีมาตรฐาน มากขึ้น เทียบเทาศูนยบริการรถยนต ขณะเดี ย วกั น ยั ง ได รั บ การยอมรั บ ใน มาตรฐานระดับโลก ดังนัน้ จึงควรสงเสริมและสนับสนุน ใหประชาชนเลือกใชผูประกอบการที่ได มาตรฐานและมีใบอนุญาต มากกวาจะใช วิธยี กเลิกดวยการไมรบั จดทะเบียนรถทีใ่ ช กาซ เปนเชือ้ เพลิง
อากาศรอน สนทรมานมาไมตํา่ กวา เดือนเตม ชวงนี้หวังวาทานผูอานคง เยนใจลงมากข้ น แต แวดวง พลังงานยังไมยอมเย็น มีแตเรือ่ งรอนๆ เขา มาไมขาดสาย เสี่ยเพง พงษศักดิ์ รักต พงศไพศาล รมว.พลังงาน ใหสัมภาษณ ราวๆ กลางเดือนวา ชักจะทอใจกับการ สรางโรงไฟฟาถานหิน เพราะพี่นองชาว ล ต อ วร ง ชวปรชา ส ั น ป ม รวั น กระบี่ออกมาตอตานอยางแข็งขันวา ไม งานนี้ ทํ า เอาแกนนํ า กระทรวง เอา แตทาง กฟผ. ก็ยืนยันหนักแนนวา พลังงาน ถึงกับเซ็งและเบือ่ ถึงขัน้ ออกปาก จะตองสรางใหไดเพราะถือเปนเรือ่ งจําเปน วา หากประชาชนไมตอ งการจนสรางไมได
พลังงานทดแทนจากตางประเทศเขามา ดวย ซึง่ การจัดงานในปนเี้ รามีแนวคิดเกีย่ ว กับเรื่องอาเซียนสอดแทรกเขาไปในทุก สวน เพื่อสงสัญญาณเตือนวาไดเวลาแลว ทีผ่ ปู ระกอบการไทยจะนําเอาเทคโนโลยีที่ เราถนั ด ไปต อ ยอดสู ก ารค า ในระดั บ อาเซียน เกิดเปนอุตสาหกรรมใหมที่สราง เงิน สรางงาน สรางรายไดใหกับคนไทย โดยเราตัง้ เปาวาจะตองดึงนานาชาติมาเขา รวมใหมากที่สุด ทั้งในเชิงธุรกิจการคา และวิชาการ เพือ่ สะทอนภาพลักษณความ เป น ศู น ย ก ลางพลั ง งานทดแทนแห ง อาเซียนออกมาสูส ายตาประชาคมโลก อีก ทัง้ ยังเปดโอกาสทางการคาและการลงทุน ขามชาติดวย” นายมนู กลาว ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรม
พั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน (พพ.) กลาววา นับวาเปนงาน ดานพลังงานทดแทนทีย่ งิ่ ใหญมากในเมือง ไทย ซึง่ งานนีผ้ ปู ระกอบการทีเ่ ขารวมจะได พบหน ว ยงานต า งๆ ที่ ร ว มขั บ เคลื่ อ น พลังงานทดแทนในประเทศไทย รวมทั้ง พพ. ดวย โดยจะเปดโอกาสใหผปู ระกอบการได เรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ จากตางประเทศ สรางการคาและการลงทุน โดยเ พาะใน กลุ ม ผู ผ ลิ ต สิ น ค า สิ่ ง แวดล อ ม ที่ พพ. พยายามสงเสริมตอยอดจากความเชีย่ วชาญ เทคโนโลยีพลังงานทดแทนของคนไทยเรา ไปสูก ารเปนผูส ง ออกสินคาสิง่ แวดลอม ทัง้ ดานระบบและอุปกรณในกลุมกาซชีวภาพ เอทนอล และนํา้ รอนแสงอาทิตย นอกจากนี้ ในการแถลงขาวดังกลาว ยังไดมีการเสวนาระดมความคิดในเรื่อง เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานและพลังงาน หมุนเวียนอีกดวย โดย รศ.ดร.สิรินทรเทพ เตาประยูร ผูอํานวยการบัณฑิตวิทยาลัย รวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ( EE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี แนะวา ตอไปพลังงานชีวมวล ( M ) ซึ่งทํามาจากออย ยางพารา นํา้ มันปาลม เศษวัสดุเหลือทิง้ รวมทัง้ ขยะ และพืชโตเร็วตางๆ นั้น จะเปนพลังงาน ทางเลือกหลักๆ ใหกับประเทศได ทั้งนี้ ทาง EE ถื อ เป น ผู นํ า ในการผลิ ต
บา จากคิกออ รวม 12 สถาบัน
บุคลากรดานพลังงาน และทําผลงานวิจัย ออกมา เพื่อเอื้อประโยชนกับชุมชน และ ผูประกอบการทางธุรกิจที่ตองการหันมา ใชพลังงานชีวภาพมากขึ้น นายสนัน่ อังอุบลกุล ซีอโี อบริษทั ศรี ไทย ซุปเปอรแวร จํากัด (มหาชน) มองวา เรื่องนโยบายการกระตุนใหภาคอุตสาห กรรมหันไปใชพลังงานทดแทนเปนเรื่อง สํ า คั ญ ก็ จ ริ ง แต เรื่ อ งของการลงสู ภ าค ปฏิบัติก็สําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ทั้งนี้ ตนมองวาผูป ระกอบการรายใหญๆ มักตืน่ ตัวกับเรื่องพวกนี้อยูแลว แตสําหรับเหลา ผูประกอบการรายยอย หรือ ME ยังคง ละเลยเรือ่ งดังกลาวอยูม าก เหตุนซี้ อี โี อผูน ี้ จึงจัดตั้ง “โครงการเพื่อนชวยเพื่อน” โดย ตั ว เองได ส ง พนั ก งานจากบริ ษั ท ตนไป แนะนําความรูด า นประหยัดพลังงานใหแก กลุมอุตสาหกรรมเดียวกัน และปดทายที่ นายพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งาน ทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทย กลาวเห็นดวยวา รัฐบาลควรมีการ สนับสนุนใหทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และ เอกชนหันมาใชพลังงานชีวภาพมากขึ้น มองวารัฐนาจะมีการเก็บขอมูลเปนตัวเลข วาโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ใชพลังงาน กันคนละเทาไหร ขอมูลตรงนีจ้ ะนํามาเปน แผนยุ ท ธศาสตร ด า นพลั ง งานให กั บ ประเทศไทยได
บางจาก ตอยอดโซลารฟารมสูบาน โซลาร เซลล ร ว มมื อ สมาคมสถาปนิ ก สยามฯ และคณะสถาปตยกรรมศาสตร 12 มหาวิทยาลัยชั้นนําทั่วประเทศ ออกแบบ และโชวบานอยางมืออาชีพ ในโครงการ “นวัตกรรมบานโซลารเซลลเพื่ออนาคต” จุดประกายการสรางบานของประชาชนใน ปจจุบนั และอนาคต ชวยประหยัดคาไฟฟา ลดภาวะโลกรอนอยางยั่งยืน นายวิเชียร อุษ า ชติ กรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท บางจากปโตรเลียม จํ า กั ด (มหาชน) เป ด เผยว า ในฐานะที่ บางจาก เปนบริษทั พลังงานของคนไทยและ มีนโยบายรวมสรางสังคมสีเขียว ( ) จึงสนับสนุนการนําพลังงานทดแทน มาใชอยางตอเนื่อง และขยายธุรกิจไปยัง พลังงานสะอาดทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ดวยโครงการผลิตไฟฟาจากเซลล แสงอาทิตย หรือ ซึ่ง ได เ ป ด ดํ า เนิ น การแล ว 3 แห ง ที่ อ.บางปะอิน อ.บางปะหัน จ.พระนคร ศรีอยุธยา และ อ.บําเหน็จณรงค จ.ชัยภูมิ
กําลังผลิตรวม 70 เมกะวัตต และกําลังจะ เปดเพิ่มเติมในภาคตะวันออกและตะวัน ออกเ ียงเหนืออีก 48 เมกะวัตต รวมทั้ง สิ้น 118 เมกะวัตต “พลังงานธรรมชาติจากเซลลแสง อาทิ ต ย ที่ ไ ม มี วั น หมด สามารถนํ า มา ประยุ ก ต ใช ใ นอาคาร บ า นเรื อ นของ ประชาชนได จึ ง เป น ที่ ม าของแนวคิ ด โครงการนวัตกรรมบานโซลารเซลลเพื่อ อนาคต ( F ) ซึ่ ง เป น ความคิ ด ริ เริ่ ม สรางสรรคแบบมืออาชีพที่คณาจารยและ นักศึกษาไดรวมกันนําเทคโนโลยีโซลาร เซลล ม าออกแบบติ ด ตั้ ง กั บ บ า นเดี่ ย ว ทาวนเ าส และคอนโดมิเนียม เพื่อผลิต
กระแสไฟฟาสําหรับภาคประชาชนใชใน ครัวเรือนอยางมีประสิทธิภาพ ทดแทนการ ใชไฟฟาจากสวนกลาง” “อีกทั้งนําเสนอการใชแผงโซลาร เซลล ม าตกแต ง เพิ่ ม ความสวยงาม ให กั บ บ า นได อยางกลมกลืน เหมาะสมกั บ สภาพแวดลอม ของประเทศ ไทย ดวยแนว คิ ด บานอยูส บาย ชวยประหยัดไฟและ รักษาสิง่ แวดลอม เปนตนแบบทีส่ ามารถนํา มาใชประโยชนไดจริง” นายวิเชียร กลาว โครงการดังกลาว ไดรบั ความรวมมือ จากสมาคมสถาปนิ ก สยามในพระบรม ราชูปถัมภ คณะสถาปตยกรรมศาสตร 12 มหาวิ ท ยาลั ย ได แ ก ม.เกษตรศาสตร ม.ขอนแก น ม.เชี ย งใหม ม.เทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ม.เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ม.ธรรม ศาสตร ม.นเรศวร ม.มหาสารคาม ม.ศรีปทุม ม.ศิลปากร และ ม.อัสสัมชัญ รวมกันออกแบบและเผยแพรความรูแก ประชาชน
ก็จะไมสรางแลว แตหากภาคใตเกิดปญหา ไฟติดๆ ดับๆ เหมือนที่แลวๆ มาก็ตัวใคร ตัวมัน แตคนที่กําหมัดไดอยาง หนั ก แน น ก็ คื อ สุ ทั ศ น ปทมศิ ริ วั ฒ น ผูว า การ กฟผ. ทีป่ ระกาศกราวในงานครบ รอบสถาปนา กฟผ. 44 ป วา แผนในชวง 5 ปขางหนาแบงเปน 2 เรื่อง หนึ่งในนั้น คือ โครงการพัฒนาโรงไฟฟาถานหิน 800 เมกะวั ต ต ที่ ทุ บ โต ะยื น ยั น ว า ต อ งใน จ.กระบี่ เทานั้น เพราะถือวาที่นั่น กฟผ. มีพื้นที่อยูแลว กระทรวงพลังงาน
ทําพิธีบันทึกขอตกลงรวมกับกระทรวง วิทยาศาสตรฯ ภายใตการนําของ วรวัจน เอื้ออ ิ ากุล รมว.วิทยาศาสตรฯ ที่มา เปนประธานในการลงนามเรื่องโครงการ ความรวมมือการพัฒนาศักยภาพดานการ วิจัยและพัฒนา และกิจกรรมนวัตกรรม ด า นการสํ า รวจและผลิ ต ป โ ตรเลี ย ม ระหวาง กจญ.ปตท.สผ. เทวินทร วงศ วานิช กับทางดาน าดา มุกดาพิทักษ รักษาการเลขาธิการ สวทน. และ ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผอ.สวทช. โดยมีวตั ถุประสงค
เพื่ อ ส ง เสริ ม การแลกเปลี่ ย นความรู ประสบการณ และขอมูลทางวิชาการรวม กัน บิกยอย พล.ต.อ.วรพงษ ชิวปรีชา รอง ผบ.ตร. ในฐานะ ผอ.งาน ปราบปรามการกระทําผิดเกี่ยวกับนํ้ามัน เชื้ อ เพลิ ง ลุ ย แหลกจั บ เพิ่ ม ผู ลั ก ลอบ จําหนาย ผิดประเภท ตรวจพบโรง บรรจุขโี้ กง 30 ราย และปม 41 ราย ทีต่ อ ง ผงะคือ เจอผูค า มาตรา 7 ตัง้ บริษทั นอมินี ลั ก ลอบจํ า หน า ยเอาส ว นต า งเสี ย เอง แบบนีต้ อ งปราบใหเรียบครับเจานาย
ออก บบบาน ซลาร ซลล พือคนไทย
จับตามอง SME ไทย
ตัวเลขการลงทุนในเดือนมกราคม 2554 มีจ นวน 120 โครงการ เพิ่มขึ้น 35 เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่ผานมา มีมูลคาเงินลงทุน 2 ,400 ลานบาท ลดลง 55 เนื่องจากปที่ผานมา มีโครงการขนาดใหญยื่นขอรับการสงเสริมในกิจการ ผลิตไฟฟาหลายโครงการ คาดการณภาพรวมการลงทุนในป 2554 จะไมต่ กวา 400,000 ลานบาท โดยอุตสาหกรรม ที่นาจับตามอง คือ อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป, ยานยนตและชิ้นสวน, เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส, พลังงานไฟฟา และปโตรเคมี
B4
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
กร ศรี
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
อ
อ
.
ยท ร ม มค สั เ ร ด นทน และรวมกลุมกัน หรือเรียกวาคลัสเตอร เช น สามารถขอสิ น เชื่ อ รวมกั น เป น กลุมได ซึ่งคาดวาจะออกในชวงปลาย ไตรมาส 2 2556 หรือประมาณไตรมาส 3 2556 นายสยาม กล า วว า กลุ ม ธุ ร กิ จ ME ที่ธนาคารสนใจที่ทําการรวมเปน กลุ ม คลั ส เตอร ในลํ า ดั บ แรกๆ ของ ธนาคารก็จะเปนกลุม เครือ่ งใชไฟฟา กลุม รถยนต กลุม อาหารและเครือ่ งดืม่ เปนตน เพราะสินเชื่อที่ใหในกลุมเหลานี้จะดีมาก แตอยางไรก็ตาม ลักษณะการใหบริการ ในแตละกลุม ยอมไมเหมือนกัน ทัง้ ในเรือ่ ง การเบิกถอน การใหสนิ เชือ่ โดยในปนคี้ าด วาจะทําการรวมกลุม คลัสเตอรผปู ระกอบ การ ME ไดประมาณ 2 กลุม ซึ่งกลุมที่ ธนาคารมองไวในขณะนี้คือกลุมเครื่องใช ไฟฟ า เพราะในป จ จุ บั น กลุ ม นี้ เ ป น ที่ ตองการของตลาด และพันธมิตรลูกคา ME กลุ ม นี้ กั บ กรุ ง ศรี เ ฟริ ส ช อ ยส มี จํานวนมาก นอกจากนี้ ประโยชนทสี่ าํ คัญ
ทีส่ ดุ ของการรวมกลุม คลัสเตอร คือ ลูกคา จะใชสินเชื่อกับธนาคารมากขึ้น ธนาคาร ไดรบั คาธรรมเนียมมากขึน้ และมีเงินฝาก ที่ตนทุนตํ่า รวมถึงตัวลูกคาจะไดรับการ บริการที่สะดวกสบาย และรวดเร็ว “ลาสุดทางกรุงศรีไดทําการศึกษา ลูกคา ME และพบวานอกจากสินเชื่อ ทางธุ ร กิ จ แล ว สิ่ ง ที่ ผู ป ระกอบการ ตองการมากที่สุดคือ โอกาสในการขยาย ธุ ร กิ จ และเพื่ อ เป น การตอบโจทย ดั ง กล า ว ป นี้ จึ ง ได มี ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ หลากหลาย ภายใตชื่อ “ลับคมธุรกิจ ตอยอด ME” และการเยีย่ มชมโรงงานอิ ชิ ตั น นอกจากจะเป น การแลกเปลี่ ย น ทักษะในดานการผลิต การสรางจุดตาง ใหแกแบรนด ยังเปนการเปดโอกาสให ผูประกอบการ ME ในแวดวงธุรกิจ เดี ย วกั น ได รู จั ก กั น เพื่ อ สร า งความ สัมพันธทางธุรกิจระหวางกัน เพื่อขยาย โอกาสทางธุ ร กิ จ ให กั บ ลู ก ค า กรุ ง ศรี ไดมากขึ้น” นายสยาม กลาว
กิจการของบริษัทประกันภัยของฝรั่งเศส E ในปทผี่ า นมา รวมถึง การลดลงของธุ ร กิ จ การเพาะปลู ก ใน ตอ า หนา... ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีอัตราสวนคาใช “เชิงลบ” เปน “มีเสถียรภาพ” จายทีต่ าํ่ กวาคาเ ลีย่ และการเปลีย่ นแปลง นายดี เ ทอร เวมเมอร ประธาน ก ระเบียบของคาธรรมเนียมในบราซิล เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารฝ า ยการเงิ น บริ ษั ท ตางมีสวนผลักดันตัวเลขสูงขึ้น อลิอันซ เอสอี กลาววา กลุมอลิอันซอยูใน “สําหรับธุรกิจประกันวินาศภัยเรา ฐานะที่ดีมากสําหรับการเติบโตทั้งภายใน ถือวาดีที่สุดในรอบหลายป ซึ่งเราประสบ และภายนอก ยกตัวอยางเชน จากขอ ความสํ า เร็ จ ทั้ ง ในตลาดหลั ก ๆ ในกลุ ม ตกลงการเขาซื้อบริษัทประกันของตุรกี ประเทศอุตสาหกรรมและในตลาดทีม่ กี าร คาดวาจะเพิ่มความ เติ บ โต ซึ่ ง การที่ ไ ม มี เ หตุ ภั ย พิ บั ติ ท าง แข็งแกรงใหกับสถานภาพของอลิอันซใน ธรรมชาติครั้งรุนแรงมีสวนชวยไดเยอะ ตลาดที่กําลังพัฒนา มาก ทัง้ นี้ เรายังมีผลประกอบการทีด่ เี ยีย่ ม นายไมเคิ ล ดิ ก แมนน ประธาน ในตลาดที่มีการแขงขันสูงมากอยางอิตาลี เจาหนาที่บริหารของอลิอันซ เอสอี กลาว และสเปนอีกดวย” วา กลุม อลิอนั ซ มีความมัน่ ใจถึงผลกําไรใน สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ประกั น ชี วิ ต และ ชวงเวลาที่เหลือของป 2556 แตอยางไร สุขภาพเติบโตทั้งรายไดและผลกําไร โดย ก็ตาม หากคํานึงถึงความเสี่ยงของตลาด ธุรกิจประกันชีวติ และสุขภาพเติบโต 8.3 ที่ มี อ ยู และความเป น ไปไดข องภั ย พิบั ติ มูลคาประมาณ 560.3 พันลานบาท การ ธรรมชาติ ที่ อ ยู ใ นระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น คงไม เติบโตของรายไดสวนใหญเปนผลมาจาก เหมาะทีจ่ ะเหมารวมผลประกอบการทัง้ ป ผลิตภัณฑประกันชีวติ ควบการลงทุน หรือ ดวยตัวเลขผลกําไรจากการดําเนินงานใน ยูนิตลิงค แมตลาดจะมีการแขงขันสูงใน ไตรมาสปจจุบัน ดังนั้น กลุมอลิอันซจึง ภาวะที่ อั ต ราดอกเบี้ ย ตํ่ า แต ย อดเบี้ ย ยืนยันแนวโนมกําไรจากการดําเนินงาน ประกันยังสามารถเติบโตในอัตราที่เปน สําหรับป 2556 จะอยูที่ประมาณ 348.30 ตัวเลข 2 หลักในตลาดหลักๆ ซึ่งรวมถึง พันลานบาท บวกลบ 500 ลานยูโร หรือ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และประเทศใน ประมาณ 18.93 พันลานบาท ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ขณะที่เบี้ยประกัน ขณะที่ธุรกิจประกันวินาศภัยทําผล ภัยในสหรัฐอเมริกากลับลดลง เนื่องจากมี งานยอดเยี่ยม ถือเปนไตรมาสที่ดีที่สุดนับ การเปลี่ยนแปลงในแงผลิตภัณฑและคา ตั้งแตเริ่มวิกฤติเศรษฐกิจเปนตนมา โดยมี นายหนา ซึง่ ประกาศใชในป 2555 สําหรับ รายไดประมาณ 575.45 พันลานบาท ใน ผลิ ต ภั ณ ฑ บํ า นาญแบบคงที่ แ ละแบบมี ไตรมาสแรกของป 2556 เพิ่มขึ้น 2.7 เงินปนผล รวมถึงในประเทศโปแลนดที่มี ปจจัยหลักมาจากผลกระทบเชิงบวกในดาน การเปลี่ยนแปลงในก ระเบียบดวย ราคาในหลายตลาดและสายผลิตภัณฑ โดย ดังนัน้ กําไรจากการดําเนินงานจึงอยู ตลาดเยอรมนี ตุรกี พันธมิตร อลิอนั ซทวั่ โลก ที่ประมาณ 32.37 พันลานบาท เพิ่มขึ้น และประเทศในลาตินอเมริกามีสว นสําคัญใน 3.6 กําไรจากการดําเนินงานไดรับผล การผลักดันการเติบโตนี้ มีกําไรประมาณ กระทบจากการลงทุนในดานการดําเนิน 49.22 พันลานบาท เพิม่ ขึน้ 11.5 ผลการ งานที่ลดลง แตยังคงไดรับประโยชนจาก รั บ ประกั น ภั ย เพิ่ ม ขึ้ น มาอยู ที่ ป ระมาณ คาใชจา ยในการซือ้ กิจการและการบริหาร 20.44 พันลานบาท เนื่องจากอัตราสวน ทีล่ ดลง จึงสงผลใหกลุม อลิอนั ซมกี าํ ไรจาก ความเสียหายจากอุบตั เิ หตุรายปทดี่ ขี นึ้ รวม ธุ ร กิจ ใหม 1.8 มู ล ค า ของธุ ร กิ จ ใหม ถึงความ เคลือ่ นไหวดานราคาทีเ่ ปนบวก ประมาณ 9.01 พันลานบาท แมวาอัตราสวนคาใชจายปรับเพิ่ม “ธุรกิจประกันชีวติ และสุขภาพยังคง เล็กนอย หรือ 28.2 จาก 27.9 ราย ตองเผชิญกับความทาทาย เราสามารถ จายที่สูงขึ้นนั้นเปนผลมาจากการเขาซื้อ คาดการณไดวาตลาดจะอยูในภาวะที่ยาก
ลํ า บากต อ ไป ท า มกลางภาวะอั ต รา ดอกเบี้ยที่อยูในระดับตํ่า ซึ่งสงกระทบตอ ทั้งผูออมเงินและนักลงทุน อยางไรก็ตาม เราก็ ยั ง สามารถเติ บ โตได ทั้ ง ในแง ข อง รายไดและผลกําไร ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ผลิตภัณฑของเรามีความคุมคาและใหผล ตอบแทนที่ดี” ด า นธุ ร กิ จ บริ ห ารสิ น ทรั พ ย ยั ง คง แข็ ง แกร ง นั บ เป น อี ก ไตรมาสที่ ธุ ร กิ จ บริหารสินทรัพยทาํ ผลงานไดดี ซึง่ มีรายได ประมาณ 71.93 พันลานบาท เพิ่มขึ้น 32.8
นาคารกรุงศรีฯ เผยตัวเลข เดือน สินเ ื่อ ต มั่นใจ ข้นเบอร ใน ปไดแนนอน พรอมงัดกลยุท ใ หมรวมกลุม คลัสเตอร ผูประกอบการ หวัง วยเพิ่มอํานาจตอรองลดตนทุนได นายสยาม ปร สิท ศิ ริ กิ ลุ ประธาน คณะเจาหนาที่ดานลูกคาธุรกิจ ME ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา เปาสินเชื่อลูกคา ME ของ ธนาคารในปนอี้ ยูท ี่ 15 ซึง่ จะทําใหยอด สินเชื่อคงคางเพิ่มขึ้นไปอยูที่ 208,000 ลานบาท จากสิ้นป 2555 อยูที่ 181,000 ลานบาท โดยในชวง 5 เดือนแรกของ ปนี้ ยอดสินเชื่อคงคางลูกคา ME เพิ่ม ขึ้นมาอยูที่ 189,000 ลานบาท หรือเพิ่ม ขึน้ มาประมาณ 4.4 โดยเปนการเติบโต จากลูกคาทุกขนาด อีกทั้งในปนี้จะใช 4 กลยุทธหลัก ประกอบดวย 1) การสรางเครือขายเพื่อ ตอยอดธุรกิจ 2) มีสินเชื่อที่หลากหลาย
สามารถแขงขันได และครอบคลุมความ ตองการของลูกคาในทุกขนาด 3) มีระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ชวยลดขั้นตอนการ ทํางาน ทําใหอนุมัติเร็วขึ้น และ 4) ชอง ทางจากธุรกิจในเครือกรุงศรีที่จะมาสนับ สนุนกิจการของลูกคากรุงศรีอีกทางหนึ่ง ดวย ซึ่งจะสงผลใหภายใน 3 ป พอรต สินเชือ่ ของธนาคารจะไปแตะที่ 300,000 ลานบาท หรือมีสวนแบงการตลาดอยูใน อันดับที่ 3 จากปจจุบันอยูในลําดับที่ 5 อยางไรก็ตาม ธนาคารจะไมแขงขัน ดวยราคาอยางแนนอน เนื่องจากเห็นวา ไม มี ค วามจํ า เป น ที่ ธ นาคารต อ งออก ผลิตภัณฑในดานนี้เพื่อมาแขงขัน เพราะ ยังมีผลิตภัณฑรปู แบบอืน่ ใหเลือกใชไดอกี
ทีเอมบี เปดตัว
รูดบัตรเครดิต อน
ทีเอ็มบี จัดงาน ทีเอ็มบี โซกูดด “TM O ” ทาใหลองทุกอยาง แบงจาย 0 ไดหมด ที่เซ็นทรัลพลาซา แกรนด พระราม 9 มอบเอกสิทธิ์แบง จายรายเดือนใหผถู อื บัตรเครดิตทีเอ็มบี สามารถแบงจาย 0 นาน 3 เดือน สํ า หรั บ ทุ ก ยอดใช จ า ยค า สิ น ค า และ บริการทุกอยางจากทุกรานคา ทุกวัน ทัว่ ทุกมุมโลก ไมจาํ กัดประเภทราน และ สินคา เริ่มตนเพียง 1,000 บาทตอเซลล สลิป เพราะเขาใจถึงความตองการของ ลูกคาที่ตองการความสะดวก ไมยุงยาก และมีอํานาจในการจัดการทางการเงิน ของตัวเองมากขึน้ แครดู ปุบ โทรปบ ทุก อยางแบงจายไดจริง พรอมกับโปรโมชัน่ ดีๆ สําหรับผูที่ใชจายผานบัตรเครดิต ทีเอ็มบี เมื่อเปลี่ยนเปนยอดแบงจาย ทีเอ็มบี โซกูดด ที่บูธทีเอ็มบี ชั้น 1 และ ชั้น 6 เซ็นทรัลพลาซา แกรนด พระราม 9 ตัง้ แตวนั ที่ 24 พ.ค.-24 มิ.ย. นี้ รับฟรี ทันที เกาอี้ปคนิก นางกา จนา รจวทั ู หัวหนา เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารส ง เสริ ม การตลาด ลูกคาบุคคล ทีเอ็มบี เปดเผยวา ทีเอ็มบี มีความมุง มัน่ ทีจ่ ะสรางคุณคาเพือ่ ลูกคา
ดวยการมอบผลิตภัณฑและบริการที่เปน ประโยชนกับลูกคาอยางแทจริง เราเขาใจ ความตองการของลูกคาอยางลึกซึ้ง และ มุง มัน่ ในการคิดคนแสวงหาวิธกี ารทีจ่ ะเติม เต็มความตองการของลูกคาอยางไมหยุด ยั้ง ทาทายขอเสนอและเปลี่ยนก ของ ตลาดแบบเดิ ม ๆ ที่ มี อ ยู เพื่ อ M T E ใหลูกคามีคุณภาพชีวิต ทางการเงินทีด่ ขี นึ้ เชน บริการ “TM O ” ที่ลูกคาผูถือบัตรเครดิตทีเอ็มบี มีอิสระในการใชจายสินคาและบริการทุก อยางจากทุกรานคา ทุกวัน ทั่วทุกมุมโลก ไมวา จะเปนอะไรๆ ก็สามารถแบงจาย 0 ไดทุกอยางนานถึง 3 เดือน เชน เสื้อผา รองเทา กระเปาแบรนดเนม เครือ่ งสําอาง คาอาหาร คาเทอม คาโทรศัพท อินเทอร เน็ต เติมนํา้ มัน อาหารและสินคาในซูเปอร มารเก็ต ทั้งชอปเมืองไทย หรือไปตาง ประเทศ เพียงแคมยี อดใชจา ยขัน้ ตํา่ 1,000 บาท ขึ้นไปตอเซลลสลิป ผานบัตรเครดิต ทีเอ็มบี และติดตอ TM C C โทร. 1558 กด 1110 เพือ่ ทํารายการกอน วันสรุปยอดบัญชี ก็ทํารายการแบงจายได อยางสะดวกไมมีขั้นตอนที่ยุงยาก “ปจจุบนั โปรแกรมแบงจายรายเดือน
ส าม ปร ส
มากมาย นอกจากนี้ ทางธนาคารยังจัดทํา สัมมนาในรูปแบบใหมทไี่ มใชรปู แบบเดิม ที่เขาไปนั่งฟง โดยธนาคารจะพาลูกคา ME มาพบกับผูป ระกอบการทีป่ ระสบ ความสําเร็จ และเรียนรูเทคนิคที่นํามา ใชไดจริง ซึ่งการทําสัมมนาในลักษณะนี้
D น น เดอน แบบไมมดี อกเบีย้ ไดเขามามีบทบาทและ ไดรบั ความนิยมสูงอยางมากในตลาดบัตร เครดิต เพราะโปรแกรมแบงจายเชนนี้ ทําใหลูกคาสามารถซื้อสินคาชิ้นใหญๆ ราคาสูงๆ ไดโดยไมตอ งรอการสะสมเงิน กอน แตลูกคาก็ยังติดขัดที่ตองมองหา โปรโมชัน่ หรือรานคา สินคาทีร่ ว มรายการ ผอนกับบัตรเครดิตอีก ทีเอ็มบีจึงไดมอบ อิสระในการใชจา ยอยางแทจริง ไมวา จะ ชอปอะไร หรือชอปทีไ่ หน ทีเ่ คยคิดวาแบง จายไมได เราทําใหแบงจาย 0 นาน 3 เดือน ไดหมดดวย ทีเอ็มบี โซกูดด ลูกคา ผูถือบัตรเครดิตทีเอ็มบีจึงสามารถเลือก ซือ้ และแบงจายสินคาและบริการทุกอยาง จากทุกรานคา ทุกวัน ทัว่ ทุกมุมโลก โดย ไมตอ งรอโปรโมชัน่ ใดๆ จากทางรานคาอีก ตอไป” นางกาญจนา กลาว นอกจากนี้ ทีเอ็มบี ยังมีโปรโมชั่น ดี ๆ กั บ ทางเซ็ น ทรั ล พลาซา แกรนด พระราม 9 ภายในวันที่ 24 พฤษภาคม-24 มิถนุ ายน นี้ ใหกบั ผูถ อื บัตรเครดิตทีเอ็มบี เมือ่ ชอป ณ โซนพลาซาของหาง เพียงแค 3,000 บาท จากลูกคาทั่วไปที่ตองชอป ครบถึง 4,000 บาท รับฟรีรม สุดชิค และ ทุ ก ยอดช อ ปด ว ยบั ต รเครดิ ต ที เ อ็ ม บี ขั้นตํ่า 1,000 บาทตอเซลลสลิป เมื่อนํา มาเปลี่ ย นเป น ยอดแบ ง จ า ย ที เ อ็ ม บี โซกูดด ที่บูธ ทีเอ็มบี ชั้น 1 และชั้น 6 ที่ เซ็นทรัลพลาซา แกรนด พระราม 9 รับ เกาอี้ปคนิก ฟรีทันที ผูส นใจทีต่ อ งการสมัครบัตรเครดิต ทีเอ็มบี เพือ่ อิสระในการใชจา ยและอยาก มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ทางการเงิ น ที่ ดี ขึ้ น ... สามารถสมัครไดที่ทีเอ็มบีทุกสาขา ทั่ว ประเทศ หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่ TM C C 1558 หรือ . ลองพิสูจนไดดวย ตัวคุณเองวาทุกอยางรูดปุบ โทรปบ แบง จายไดจริง 0 3 เดือน กับ TM O
รกล
จะชวยใหกลุม ME ทําธุรกิจในแบบ เดียวกันรวมกลุมเปนคลัสเตอรได และ สามารถต อ รองราคาวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ลด ตนทุนที่ไมจําเปนออกได โดยในอนาคตธนาคารจะออก ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ อื้ อ ประโยชน ต อ กลุ ม ผูป ระกอบการ ME ทีท่ าํ ธุรกิจเดียวกัน
ก มอ อ ซ
ไท มทร ตอ า หนา... ประชุ ม ใหญ ผู บ ริ ห ารฝ า ยขายช อ งทาง ตัวแทนกวา 350 คน เพื่อวางแผนพิชิต ยอดขายครึ่ ง ป ห ลั ง ป 2556 และจาก นโยบายบริษัทยังคงมีทิศทางการดําเนิน ธุ ร กิ จ ป นี้ ที่ เ น น ช อ งทางการขายผ า น ตัวแทนเปนหลักเชนเดิม ซึ่งมีสัดสวนเบี้ย 90 โดยเ พาะการทํ า ตลาดในต า ง จังหวัดที่ยังมีโอกาสเติบโตเชิงเบี้ยประกัน ที่เพิ่มขึ้น และแผนสนับสนุนจะมุงเนน ตัวแทนที่มีคุณภาพ ตาแผนบริษัทจะพิ่มจํานวนตัวแทน ใหม 5,000 คน เพื่อใหสิ้นปมีจํา นวน ตัวแทนคุณภาพ 20,000 คน จากปจจุบัน มีประมาณ 17,000 คน ควบคูไปกับการ ปรับปรุงสาขาใหมีความทันสมัยเพิ่มอีก 93 แหง จากปทผี่ านมาไดปรับปรุงไปแลว 77 สาขา เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางาน ของตัวแทนใหมีคุณภาพรวมถึงจัดอบรม ใหความรูกับตัวแทนเพิ่มเติม สําหรับการรีครูตตัวแทน ยังเนนไปที่ กลุมคนรุนใหมที่มีคุณวุฒิการศึกษาสูงขึ้น ระดั บ ปริ ญ ญาตรี เพื่ อ รองรั บ การออก ผลิตภัณฑใหมแบบความคุม ครองหรือแบบ ประกันชีวติ ระยะยาวมากขึน้ กวาเดิม ดังนัน้ จึงจําเปนจะตองเตรียมตัวแทนใหพรอมดวย เชนกัน นอกจากนี้ เรงพัฒนาตัวแทนขยาย ฐานลูกคาและเพิม่ เบีย้ เ ลีย่ ตอรายใหสงู ขึน้ รวมถึงเพิ่มตัวแทนผลิตผลงานสมํ่าเสมอ A A ใหขนึ้ อีก 35
สถานะเศรษฐกิ จ ของประเทศในกลุ ม ยู โ รโซน ที่ มี ห นี้ ส าธารณะในสั ดส วนสู ง
ที่มา สํานักงานค กรรมการพัฒนาการเศรษ กิจ ล สังคม หงชาติ
ประเทศ
สัดสวนหนี้ตอ GDP
ดุลงบประมาณ (% GDP)
หนี้ครบกําหนดในป 2554 (bn eur)
อัตราการวางงาน Q1/2554 (%)
142.8 96.2 93.0 60.1 119.0 96.8
-7.4 -10.3 -4.9 -6.4 -4.2 -4.7
40.1 11.9 23.2 128.9 332.9 70.1
10.5 14.8 11.1 20.6 8.3 7.7
กรี ไ ร ลน ปร กส ส ปน ิ าลี ล ยียม
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ป อรไมกา า คา า
อร อร
B5
งัด ยท ไ ทเ า ง คาเปา มาย อรไมกา ลองครบรอบ 1 ศตวรรษ ยดหลักการดําเนิน ุรกิจ ดวยความรับผิด อบตอสังคม พรอมเผย มสินคาใหม ออกมา รองรับตลาดไล สไตลของคนรุน ใหม ปนีว้ างเปายอดขาย 1 00 ลาน ดวยงบลงทุนดานการตลาดกวา 0 ลานบาท เอาใจลูกคา สง ใหดาวน หลดเ ็กสินคาไดอยางรวดเร็ว น.ส.สมจิ ต ร มหาเจริ เกี ย รติ ผูอํานวยการฝายบริหาร ภูมิภาคอาเซียน บริษัท ฟอรไมกา (ประเทศไทย) จํากัด ผู ผ ลิ ต และจั ด จํ า หน า ยวั ส ดุ ป ด ผิ ว ลา มิเนทฟอรไมกา เพื่อใชในงานเฟอรนิเจอร และงานตกแตงภายใน กลาวในงาน FO M CA FO E E 100th A E A วา ผลิตภัณฑฟอรไมกา เริ่มกอตั้งเมื่อป 2456 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ปจจุบันมี การจัดจําหนายมากกวา 100 ประเทศทั่ว โลก ซึ่งจุดเดนของผลิตภัณฑ คือ การ พัฒนาลวดลายและผิวสัมผัสใหมทกุ ๆ 2 ป เพื่อรองรับความตองการของตลาด ทั้งนี้ ในวาระ ลองครบรอบ 100 ป ในครั้งนี้ บริษัทจึงไดมีการเปดตัวลวดลาย ใหม 156 แบบ รวมทัง้ A C ซึง่ ประกอบดวย 12 ลวดลายใหม
4 คอลเลคชั่น ไดรับการออกแบบโดย เพนตาแกรม บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาด า นการ ออกแบบอิ ส ระที่ ใ หญ ที่ สุ ด ระดั บ โลก ประกอบดวย คอลเลคชั่น E E และ เปน ลวดลายที่แสดงเอกลักษณของคอลเลค ชั่น 100 ป “F F ” โดยใช เทคนิคการพิมพที่เปนนวัตกรรมใหม ซึ่ง ชวยใหสามารถพิมพลวดลายไดไมซาํ้ แบบ โดยทั่วไปการพิมพจะมีลายซํ้าทุกๆ 127 เซนติเมตร แตสําหรับคอลเลคชั่นนี้ จะมีการพิมพซํ้าลายทุกๆ 500-700 แผน หรือความยาว 2 กิโลเมตร รวมถึงลวดลาย แต ล ะคอลเลคชั่ น แฝงด ว ยเส น ลายนํ้ า สัญลักษณฟอรไมกา รวมคอลเลคชั่นทั้ง หมดจะประกอบดวย 536 ลวดลาย และ ยังแนะนําผิวสัมผัสใหม คือ ,
และ 18 แบบ นอกจากการพั ฒ นาลวดลาย ผลิตภัณฑใหมแลว ผลิตภัณฑฟอรไมกา ยังใหความสําคัญกับเรื่องสิ่งแวดลอม โดย ไดพัฒนาผลิตภัณฑจนไดรับการรับรอง สํ า หรั บ คุ ณ ภาพอากาศ ภายในอาคารของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ผ ลิ ต ใน อเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย นอกจากนี้ กลุม บริษทั ฟอรไมกา ยัง
แ มป ยเครองมอ
มสินค ว
เครื่องมือไ า บอช กรง ป ต 0 มั่นใจป ุรกิจยังไปไดสวย เตรี ย มส งนวั ต กรรมใหม กว า 100 รายการ พรอมเปดตัว เดรเมล เครื่อง มือไ าอเนกปร สงคมัดใจลูกคา ล สง คมเป เดดตอกยํ้าการเปนผูนําใน อุตสาหกรรมเครือ่ งมือไ า ของไทย ล เอเชีย ตอบ จทยการสรางเทค น ลยีเพือ่ ชีวิต นายชัยพร รัตนเชตกุล ผูจัดการ ทั่วไป ฝายเครื่องมือไฟฟา บริษัท โรเบิรต บอช จํากัด กลาวถึงภาพรวมธุรกิจเครื่อง มือไฟฟาในประเทศไทยวา ในป 2555 มี อัตราการเติบโตประมาณ 14 ขณะที่ ภาพรวมธุรกิจของเครือ่ งมือไฟฟา บอช ใน ป 2555 มีอัตราการเติบโตถึง 30 โดยสินคาประเภทเครื่องมือไฟฟา ของบริษัทที่ไดรับความนิยมมากที่สุด คือ สวานโรตารี่ ( ) ที่มีสวน แบงทางการตลาดในปทผี่ า นมาสูงถึง 50 นอกจากนี้ ยังมีเครื่องเจียร สวานเจาะ กระแทก และสวานไขควงไรสาย สํ า หรั บ ทิ ศ ทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เครื่องมือไฟฟาของโรเบิรต บอช ในป 2556 นายชัยพร กลาววา บริษัทตั้งเปาไว วาจะขยายตัวในระดับเดียวกับป 2555 เนื่ อ งจากมี ป จ จั ย บวก คื อ การออก
ร ย ร น ทย
ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม อ ย า งต อ เนื่ อ งกว า 100 รายการสูต ลาด โดยมีผลิตภัณฑเดนแหงป คือ สวานโรตารี่ที่มาพรอมเทคโนโลยีลด แรงสั่นสะเทือน เพื่อสุขภาพและความ ปลอดภัยของผูใช ขณะเดียวกัน จะเนน การสือ่ สารและการจัดทํากิจกรรมสงเสริม การขายกั บ กลุ ม ลู ก ค า ทั้ ง แบรนด บ อช ( ) และแบรนดสกิล ( ) โดยจะจัด โรดโชวเริ่มจากกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ กระจายไปตามหัวเมืองตางๆ ทั่วประเทศ ประมาณ 10 จังหวัด “นอกจากเราจะจัดโรดโชวไปตาม จังหวัดตางๆ เพื่อสรางการรับรูแลว ทาง บริษัทยังมีโปรโมชั่นขอบคุณลูกคาบอช และสกิล ที่ใหการสนับสนุนเรามาเปน อยางดีโดยตลอด 90 ป โดยลูกคาที่ซื้อ ผลิตภัณฑตั้งแตวันนี้-30 มิ.ย. 56 เมื่อซื้อ ผลิ ต ภั ณ ฑ บ อช ประเภทสว า นเจาะ กระแทกโรตารี่ขนาด 2 กิโลกรัมขึ้นไป สวานเจาะทําลายทุกรุน และเครื่องเจียร ขนาด 5 นิว้ ขึน้ ไป รับฟรี กรมธรรมประกัน อุบัติเหตุ 100,000 บาท” “ขณะทีส่ กิล จัดโปรโมชัน่ พิเศษ เมือ่ ซื้อเครื่องมือไฟฟาสกิลภายในระยะเวลา ที่ กํ า หนด รั บ ประกั น คุ ณ ภาพ 90 วั น เปลี่ยนฟรี ไมมีเงื่อนไข เพื่อตอกยํ้าถึง คุณภาพของสินคาและบริการของโรเบิรต
บอช ในฐานะผูนําอุตสาหกรรมเครื่องมือ ไฟฟาในประเทศไทย” นายชัยพร กลาว นอกจากนี้ โรเบิรต บอช จะเตรียม เ ป ด ตั ว แ ล ะ ทํ า ก า ร ต ล า ด สํ า ห รั บ แบรนดเดรเมล ( ) ซึ่งเปนเครื่อง มือไฟฟาอเนกประสงคชั้นนําจากอเมริกา อยางเปนทางการในประเทศไทย เนือ่ งจาก มองเห็นศักยภาพและชองวางของตลาด ชางมืออาชีพทีเ่ นนงานตกแตงหรืองานเก็บ รายละเอียดตางๆ ที่เครื่องมือไฟฟาทั่วไป ไมสามารถตอบโจทยได รวมถึงผูท ชี่ นื่ ชอบ งานประดิษฐแบบดีไอวาย โดยตั้งเปาจะมี สวนแบงทางการตลาดไมนอยกวา 50 เนื่องจากประเทศไทยถือเปนประเทศที่มี ศักยภาพในการเติบโตและพรอมจะกาว ขึ้นเปนผูนําของเดรเมลในอาเซียนมาก ที่สุด สําหรับภาพรวมผลประกอบการใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกของเครื่องมือไฟฟา บอช นายชัยพร กลาววา ในป 2555 เครื่องมือไฟฟาบอช มีอัตราการเติบโตสูง ถึง 16 สวนกระแสการเติบโตของตลาด รวมเครื่ อ งมื อ ไฟฟ า ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิฟก ซึ่งเติบโตเพียงแค 4 ปจจัย สําคัญมาจากการที่บริษัทมีการนําเสนอ ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม ๆ ที่ ส อดคล อ งกั บ ความ ตองการของลูกคาในภูมภิ าคนีม้ าอยางตอ เนื่อง ขณะเดียวกัน ทิศทางการเติบโตของ ธุรกิจเครื่องมือไฟฟาในประเทศไทยและ ภูมภิ าคอาเซียนยังมีอนาคตทีส่ ดใส ทัง้ จาก อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ไทยมีแนวโนมดีขึ้น รวมถึงการลงทุนดาน โครงสรางพืน้ ฐานของประเทศ 2 ลานลาน บาท ที่นาจะเปนตัวสงเสริมใหปริมาณ ความตองการสินคาและบริการในเครื่อง มือ เครื่องใชไฟฟาตางๆ เพิ่มสูงขึ้น
เปนผูผ ลิตแหงแรกของโลกทีไ่ ดรบั ลากลด คาร บ อนจากองค ก ร C T เนือ่ งจากทุกขัน้ ตอนการผลิตตัง้ แตวตั ถุดบิ การผลิต การขนสง การจัดเตรียม การใช งาน และการกําจัด บริษทั จะมีการประเมิน ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่ ง จะช ว ยลดผลกระทบที่ จ ะเกิ ด กั บ สิ่งแวดลอม สําหรับในประเทศไทยนั้น ในปนี้ เอจิ เ ลนต เทคโนโลยี ส อิ ง ค ประกาศจัดงานประชุมวิชาการ T A E (TAE) ซึง่ ประกอบ ไปด ว ยเวิ ร ค ช็ อ ปจากผู เชี่ ย วชาญใน อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีลา สุดในการ วิ เ คราะห ท างชี ว ภาพ ที่ ก รุ ง เทพฯ สิงคโปร และกัวลาลัมเปอร โดยคาดวา มีนักเคมี นักวิจัย และนักวิทยาศาสตร จากทัว่ เอเชียเขารวมงานกวา 1,000 คน งานประชุมวิชาการ T A E เป น งานประชุ ม ประจํ า ป ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคของ บริษัท และถือเปนครั้งที่ 3 ที่มีผูเขารวม ประชุมเพิม่ ขึน้ 40 จากปทผี่ า นมา โดย งานนี้ ส ามารถดึ ง ดู ด สมาชิ ก กลุ ม นั ก วิ ท ยาศาสตร ที่ ทํ า งานในด า นความ ปลอดภั ย ทางอาหาร วิ จั ย พลั ง งาน นิติวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม การวิจัย เภสัชภัณฑ การผลิต และการวิจัยโรค ดานจีโนมิกส โปรติโอมิกส และเมตาโบ โลมิค เขารวมงานจํานวนมาก นายชั ย พั ฒ น จิ ร รรมจารี กรรมการผูจัดการ บริษัท เอจิเลนต เทคโนโลยีส (ประเทศไทย) จํากัด เปด เผยว า การประชุ ม ดั ง กล า วจั ด ขึ้ น ที่ ประเทศไทยเปนครั้งที่ 2 ครั้งนี้เราไดคัด เลื อ กวิ ธี แ ก ป ญ หาและวิ ท ยากรให เหมาะสมกับสังคมนักวิทยาศาสตรไทย ที่ เน น เรื่ อ งความปลอดภั ย ทางอาหาร คุณภาพอากาศ และอุตสาหกรรมการผลิต โดยการประชุมนีไ้ ดรบั การยอมรับ ในเรื่องงานวิจัยเชิงวิเคราะห ทดสอบ และอุตสาหกรรมวิทยาศาสตรชีวภาพ ซึ่งสามารถดึงความสนใจในการเรียนรู และสรางเครือขาย ธีมงานของปนี้คือ “โอกาสอันไรขัดจํากัดกับวิทยาศาสตร ของเอจิเลนต” ที่ทาทายกลุมนักวิจัย และนักวิทยาศาสตรในการใชเทคโนโลยี เพือ่ การคนพบใหมๆ ทีจ่ ะเปนประโยชน ตอมนุษยชาติ “ในฐานะเราเปนบริษทั ชัน้ นําของ โลกดานการตรวจวัดและทดสอบ เรามี ผลิตภัณฑเครือ่ งมือตรวจวัดและทดสอบ
นอกจาก A C ยังมี การแนะนําคอลเลคชั่นใหม คือ เอเชีย คอลเลคชั่น ป 2556-2558 อีกดวย ทําให เชือ่ มัน่ วาในปนบี้ ริษทั จะมีอตั ราการเติบโต 10-15 ซึ่งปจจุบันบริษัทมีฐานการผลิต อยูในประเทศไทย มีกําลังการผลิตอยูที่ 2.5 ลานแผน ป และมีศนู ยกระจายสินคา ครอบคลุมทัว่ ประเทศ ตลอดจนถึงภูมภิ าค อาเซียน “ปทแี่ ลวเรามียอดจําหนายสินคาถึง 1,200 ลานบาท ในประเทศไทย ซึ่งในปนี้ เราก็ตอ งโตกวาเดิม คาดหวังเรือ่ งยอดขาย ไวที่ 1,400 ลานบาท เพราะตอนนี้เรามี ส ว นแบ ง ทางการตลาดของผลิ ต ภั ณ ฑ ชนิดนี้สูงถึง 60 ปที่แลวโตมากหนอยก็ เพราะสืบเนื่องมาจากผลกระทบหลังจาก นํ้าทวมใหญปลายป 54” น.ส.สมจิตร เปดเผย สวนแผนการตลาดในปนี้ จะเนน ขยายตลาดไปที่จังหวัดใหญตามภูมิภาค ตางๆ เพิม่ ขึน้ พรอมทัง้ เจาะตลาดไปทีก่ ลุม ไ เอนด ดวยผลิตภัณฑวิเนียรลามิเนท รวมถึงจะมีการนํากลยุทธดานดิจิตอลมา ใชในการบริหารการตลาด เพื่อชวยให สามารถเจาะกลุมลูกคามัณฑนากรและ
สถาปนิกไดมากขึ้น โดยจะมีการเปดตัว F EA ซึ่งสามารถดาวนโหลดจาก A ลงใน ซึ่งจะทําใหลูกคา สามารถมองเห็นลายไมตามขนาดจริงของ ผลิตภัณฑ สามารถดาวนโหลดลาย เพือ่ ใช ในโปรแกรมออกแบบงาน และเปน ทีล่ กู คาสามารถออกแบบ หอง โดยเลือกผลิตภัณฑลวดลายตางๆ ได ดวยตัวเอง “การทีผ่ ลิตภัณฑฟอรไมกาสามารถ ครองใจลูกคาไดยาวนานนั้น เนื่องจากเรา มุงมั่นที่จะทําใหแนวคิดและการปฏิบัติ เพื่อความยั่งยืนเปนสวนหนึ่งของทุกอยาง ที่เราทํา พยายามยึดหลักจริยธรรม และ พยายามรักษาทรัพยากรอันทรงคุณคาไว เพื่ออนาคต และในวาระครบรอบ 100 ป นี้ บริษัทยังไดจัดกิจกรรมตอบแทนสังคม โดยไดจัดงาน F F 100 A ภายในงานจะมีการ ประมูลผลงานของดีไซเนอรทอี่ อกแบบชิน้ งานดวยผลิตภัณฑฟอรไมกา เพื่อมอบให มูลนิธิรามาธิบดี เพื่อใชในการซื้ออุปกรณ ทางการแพทยตอไป” น.ส.สมจิตร กลาว ปดทาย
นวัตกรรม ครือ ตรวจสาร
อจิ ลนตทาลอ ตัวใหม
ที่ลํ้าสมัยใหเลือกอยางหลากหลายและ ครบครันทีส่ ดุ ในตลาด ธุรกิจของเอจิเลนต แบงเปน 4 อยาง ไดแก การตรวจวิเคราะห ทางเคมี วิทยาศาสตรชีวภาพ การวินิจ ัย และจีโนมิกส และการวัดทางอิเล็กทรอ นิกส โดยนําเสนอลูกคาดวยผลิตภัณฑและ บริการที่สรางความแตกตางอยางแทจริง ขึน้ ในชีวติ ของทุกคน และทีห่ อ งปฏิบตั กิ าร วิจยั ของเอจิเลนต เราทํางานวิจยั ทีม่ งุ ตอบ สนองความต อ งการของลู ก ค า และ สรางสรรคนวัตกรรมทีส่ ง เสริมการเติบโต” นายชัยพัฒน กลาวถึงธุรกิจของบริษัท นอกจากนี้ เครื่องไมเครื่องมือที่เปน ผลิตภัณฑของเอจิเลนตสว นใหญจะสามารถ ใชในการตรวจสอบสารตางๆ ทัง้ ในอาหาร รางกายมนุษย หรือแมกระทัง่ ปโตรเคมีและ กาซตางๆ ดวย ะนั้น จึงทําใหในทุกๆ อุตสาหกรรมเรียกไดวา แทบจะตองใชเครือ่ ง มือตรวจสอบของเอจิเลนต เขาไปดําเนิน งานภายในองคกรของตนเสมอ ยกตัวอยางเชน การตรวจสารตกคาง ในอาหาร การวัดคาโปรตีนในเนื้อไกกอน สงออกไปขายยังตางประเทศ ในทางการ แพทยกส็ ามารถนําไปตรวจ A ในเลือด ได ตรวจโครโมโซมและยีนสในรางกายของ คน รวมทั้ ง การตรวจสารกระตุ น ของ นักกีฬาอาชีพในทัวรนาเมนตกฬี าตางๆ ไม เท า นั้ น ยั ง สามารถตรวจยาเสพติ ด ใน รางกายของผูตองหาวามีการเสพยาเสพ ติดจริงหรือไม “ตอนนีเ้ ราไมไดมเี พาะเครือ่ งตรวจ ทางวิทยาศาสตรแบบนี้อยางเดียว เรายัง มี ก ารผลิ ต เรดาร สํ า หรั บ เครื่ อ งบิ น ที่ กระทรวงกลาโหมก็ใชผลิตภัณฑของเราอยู เอจิ เ ลนต เ น น หนั ก ไปที่ เ ครื่ อ งมื อ ที่ มี คุณภาพและมีความหลากหลายตามความ
ตองการของลูกคา อีกทั้งยังสามารถ ตอบโจทยในเรือ่ งเทคโนโลยีองิ คเจ็ตทีย่ งั ไมมีผูผลิตรายไหนพัฒนาไดอยางเรามา กอน และที่สําคัญ ในดานบุคลากรเรา จะเนนเปนพิเศษ เพราะตองคอยบริการ และชวยเหลือลูกคาอยางเต็มที่” นาย ชัยพัฒน แจง น.ส.มณีนาฏ รัตนาธิคม T C M , C A กลาววา ในสวนของเครื่องมือตรวจวัด เรามีรุน ลาสุด ไดแก 7890 C และ 5977A M ที่สามารถชวยยกระดับให หองปฏิบตั กิ ารในดานปริมาณตัวอยางที่ ตองการทดสอบความเขมขนปริมาณ สารที่ ตํ่ า มากขึ้ น การตอบสนองและ ความเที่ยงตรงของผลการตรวจวัด นวัตกรรมเครื่องแกส 7890 C รุน ใหม คือ ความเขาใจในความตองการ ของผูใชที่ลึกซึ้ง เนื่องจากไดมีการทํา วิจยั ตลาดและสอบถามผูใ ชกวา 100 คน ทั่ ว โลก ตลอดระยะเวลา 3 ป โดย อุปกรณดงั กลาวไดถกู พัฒนาในดานการ ตอบสนองและประสิ ท ธิ ภ าพของ เครือ่ งมือเชนเดียวกับประสบการณของ ผูใช “ตัวอยางเชน กาซ เี ลียมทีใ่ ชเปน กาซพาในหองทดลองมีปริมาณจํากัด เราได เ พิ่ ม ศั ก ยภาพในอุ ป กรณ ก าซ โครมาโตกราฟ เพื่ อ ช ว ยผู ใช ตั้ ง แต กระบวนการติ ด ตั้ ง ระบบไปจนถึ ง ขั้ น ตอนการวิเคราะห ทั้งนี้ เอจิเลนตเปน ผูนําอุตสาหกรรมและเปนบริษัทแรกที่ แกปญหาดังกลาว โดยคํานึงถึงความ ตองการของผูใชของเราอยางละเอียด” น.ส.มณีนาฏ กลาวเสริม
ชื่อหนวยงาน สินคา/บริการ สถานที่ตั้ง
บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด โครงการรถไฟฟาเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ แอรพอรต เรล ลิงค ในเชิงพาณิชย สํานักบริหารโครงการรถไฟฟา การรถไฟแหงประเทศไทย ซอยศูนยวิจัย ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพ 10310 0-2308-5600 1690 www.srtet.co.th
โทรศัพท Call Center เว็บไซต
B 6 วันจันทรที่
27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
อ อ ลิ ห อชอ าอา มวลชน า ชอม าอา า าน ว อา า าน มหาน น า ะ หน น า อ า น า าน หน ขอ า ะ ขน มวลชน า า สําหรับแอรพอรตลิงคนนั้ ดําเนิน การกอสรางโดยการรถไฟแหงประเทศ ไทย หรือ รฟท. และเปดดําเนินการเชิง พาณิชยโดย บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจในกระทรวง คมนาคม อีกทั้งยังเปนบริษัทลูกของ การรถไฟแหงประเทศไทยโดยตรง จากการดําเนินการที่ผานมานั้น ถื อ ได ว า การดํ า เนิ น งานของ บริ ษั ท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด ยังไมมีผูเขามา
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
น า า วา า ะ ขน มิ ละ าน ั - า ขน มวลชน ิ น วน ะ าชาน มอ น วน น มหาน ละ ิม ล
ทํางาน โดยเมือ่ วันที่ 21 พ.ค. 2556 ทีผ่ า น มา ไดลงพื้นที่ทั้งสถานีมักกะสัน สถานี พญาไท และสถานี สุ ว รรณภู มิ เพื่ อ รั บ ทราบถึงปญหา และถือเปนการเปดตัวกับ สื่อมวลชนเปนครั้งแรก รวมถึงไดมีการ สัมภาษณพูดคุยกันถึงประเด็นตางๆ ตอง มาติดตามกัน นายพีรกันต เปดเผยกับ “TRAN SPORT” วา สิ่งที่ตองเรงดําเนินการหลัง จากนี้ คือ 1. การเรงแกปญหาภาพลักษณ
มักกะสันเชื่อมโยงกับถนนหลายสาย และ สุดทายการปรับปรุงบุคลากร ซึ่งตนจะ พัฒนาความพรอมของบุคลากรใหเปน ผู นํ า และเชี่ ย วชาญในการบริ ห ารการ เดิ น รถและซ อ มบํ า รุ ง ระบบรถไฟฟ า ปจจุบันไทยยังไมมีองคกรผูชํานาญการ ดานนี้ นายพีรกันต ยังกลาวถึงเปาหมายใน อนาคตของรถไฟฟ า แอร พ อร ต ลิ ง ค ว า ภายในสิ้ น ป นี้ จ ะเร ง เพิ่ ม รายได แ ละ
CEO ใหม ‘แอรพอรตลิงค’ พีรกันต แกววงศวัฒนา
เรงสรางภาพลักษณ-แกสภาพคลอง
รับตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ โดยตรง มีเพียงการรักษาการเทานั้น แตภายหลังที่ประธานคณะกรรมการ หรือบอรด บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด (แอรพอรตลิงค) ไดเรียกประชุม บอร ด วาระพิ เ ศษ เมื่ อ วั น ที่ 15 พฤษภาคม ทีผ่ า นมา เพือ่ อนุมตั ลิ งนาม สัญญาจาง “นายพีรกันต แกววงศ วัฒนา” เปนกรรมการผูอํานวยการ ใหญ (CEO) บริษัท รถไฟฟา รฟท. จํากัด โดยนายพีรกันต ไดเริ่มทํางาน แลวตั้งแตวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 ทัง้ นี้ นายพีรกันต เดินเครือ่ งการ
ซึ่งที่ผานมา แอรพอรตลิงคเคยมีปญหา และถูกวิพากษวิจารณจากสังคม 2. เรง เจรจา รฟท. เพือ่ แกปญ หาสภาพคลอง ซึง่ ทีผ่ า นมา แอรพอรตลิงคประสบปญหาการ เบิกจายทัง้ เงินเดือนพนักงานและการซอม บํารุงตางๆ ที่ตองเบิกจาก รฟท. เมื่อ ประสบปญหาก็สงผลกระทบโดยตรงตอ บุคลากร รวมทั้งการซอมบํารุงตางๆ ซึ่ง ส ง ผลให เ กิ ด ภาพลั ก ษณ ที่ ไ ม ดี ต อ การ บริการ 3. การปรับปรุงจุดเชื่อมตอตางๆ ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการหลายเรื่อง ทั้ ง การปรั บ ปรุ ง ทางเข า -ออกสถานี
ผูโดยสารอีก 10 จากปจจุบันที่มีรายได ประมาณ 500 ล า นบาทต อ ป และมี ผูโดยสารเ ลี่ย 45,000-50,000 คนตอวัน สวนการบริหารงานจะเรงปรับภาพลักษณ องคกรทีม่ ปี ญ หาในเรือ่ งการใหบริการ การ สร า งขวั ญ กํ า ลั ง ใจพนั ก งานในเรื่ อ งผล ตอบแทนและปญหาสภาพคลองซึง่ ทําใหมี พนักงานลาออกบอย “ต อ งยอมรั บ ว า แอร พ อร ต ลิ ง ค มี ปญหาสะสมมานาน สวนหนึ่งเพราะไมมี ผูบ ริหารตัวจริง ซึง่ การเปน CEO รักษาการ ทําใหไมสามารถทําอะไรไดเต็มที่ เมือ่ วันนี้ ผมเปนผูบริหารตัวจริงคนแรกของแอร
พอรตลิงค เชื่อวาจะเรงดําเนินการแก ปญหาตางๆ ไดอยางเต็มที่ และมั่นใจวา นายประภัสร จงสงวน ผูวาการ รฟท. ทราบปญหาของแอรพอรตลิงคดี ขึ้นอยูที่ วาจะเรงแกไขใหไดมากนอยแคไหน” นาย พีรกันต กลาว นอกจากนี้ จะมีการเขาพบ ดร.ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม
เพือ่ นําเสนอขอมูลตางๆ รวมถึงจะรายงาน ถึงจํานวนขบวนรถที่ไมเพียงพอตอการให บริการ, สภาพคลองของบริษทั และเรือ่ งการ หาความชัดเจนในการดําเนินงาน กลาวคือ การแยกองคกรออกจาก รฟท. นายพีรกันต ยังเปดเผยกับ “T A O T” ถึงหลักการบริหารอีกวา สวนตน มองวาตนเปนเพียงแคฟน เฟอง 1 ชิน้ ทีจ่ ะ
รมว คมนาคม ร กา ใหการสนับสนุน
การจัด าน สด สินคาอุตสาหกรรมดาน ทค น ลยทา รถไ กรุ ทพ
ดร.ชัชชาติ สิท ิพัน ุ รัฐมนตรีวาการกระทรวง เพื่ อ สนั บ สนุ น แผนงานในการปรั บ ปรุ ง คมนาคม ยืนยันใหการสนับสนุนในการจัดงาน E - โครงสรางและขยายเครือขายรถไฟไทย E A -T 2014 ในระหวาง ครัง้ ยิ่งใหญของประเทศ วันที่ 12-14 มีนาคม 2557 หลังจากเขาเยี่ยมชมงาน แสดงสินคาเทคโนโลยีดา นรถไฟ 2013 ณ กรุง ลอนดอน ประเทศอังกฤษ พรอมดวย นายประภัสร จง สงวน ผูวาการการรถไฟแหงประเทศไทย และนาย ยงสิทธิ์ โรจนศรีกุล ผูวาการการรถไฟฟาขนสงมวลชน แหงประเทศไทย ซึ่งวัตถุประสงคการจัดงานในครั้งนี้ เพื่อเปนแนวทางการศึกษาดานการจัดงานแสดงสินคา เทคโนโลยีทางดานรถไฟจากผูเ ชีย่ วชาญมืออาชีพ และ
คอยขับเคลื่อนองคกรใหเดินหนาไปได เทานัน้ และพรอมทีจ่ ะเปนฟนเฟองทีจ่ ะ ทํางานอยางเต็มที่ โดยตนยึดหลักที่วา “ทํางานคนเดียวชนะได แตทาํ งานเปน ทีม เปนแชมปได” นอกจากนี้ ในสวน ของงานอดิเรกจะเปนการออกกําลังกาย และการการสอนหนั ง สื อ เป น หลั ก เนื่องจากตนเปนอาจารย
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ก หมายจะศักดิสิท หรื ิ อไม อยูท ใี่ คร า ไมใ ป ระ า นทุกคน ่งผูป ิบัติที่อยูใตอํานาจเปนเพียงสวนหน่งเทานั้น ก หมายไมวา จะใ สําหรับตัวบุคคลหรือตัว ุรกิจก็ไมแตกตางกัน เพราะนั่นมัน เปนการแสดงแสนยานุภาพใหรูวาตองป ิบัติตาม ใครผิดตอง ูก ลง ทษ แตก็ไมมีใครอยากทําผิดกันทั้งนั้น เ กเ นเดียวกับ ุรกิจ ประกันภัยที่ในยุคเริ่มตน ตางกอตั้งบริษัทนอยใหญข้นมา ดยมี วัต ุประสงคเดียวกัน นั่นคือ การรับความเสี่ยงภัย ต อ ม า ใ น ยุ ค ที่ รุ ง เรื อ ง ข อ ง เศรษฐกิจ ตางชาติมีสิทธิในการเขามา ลงทุน ถือหุน สงผลใหบริษัทที่อาการ รอแรทยอยหายสาบสูญไป ทั้ง ควบรวม หรื อ แม ก ระทั่ ง สิ้นชื่อ มาในยุคที่ “กรม ก า ร ป ร ะ กั น ภั ย ” เปลีย่ นเปน “สํานักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ แ ล ะ ส ง เ ส ริ ม ก า ร ประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ” (คปภ.) โดย
“จันทรา บูรณฤกษ” ดํารงตําแหนง เลขา คปภ. ในขณะนัน้ ไดทาํ การแกไขก หมาย “ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535” เมื่อก มายเข ม ขึ้ น จึ ง มี ก ารสั่ ง ป ด บริษัทประกันวินาศภัยถึง 4 แหง ไกแก บริษัท สัมพันธ ประกันภัย จํากัด, บริษทั เอ.พี . เอฟ. อิ น เตอร เนชั่นแนล อินชัวรันส จํากัด, บริษทั ลิเบอรตี้ ประกันภัย จํากัด และ บริษัท วิคตอรี่ ประกัน ภั ย (ประเทศไทย) จํากัด
ปร เวช องอาจส กล
คมครอ มะ ร ตอ า หนา... เนื่องจากเบี้ยประกันแพงกวาสัญญา เพิ่ม เติมคุมครองมะเร็งแบบดังกลาว “เทรนดประกันสุขภาพกําลังมาแรง การแขงขันนาจะเปนการบริการความแตก ตางในการใหบริการลูกคา และอยูท คี่ วาม กลาของบริษัทประกันชีวิตที่จะรับความ เสี่ยงของลูกคาในเรื่องของโรคภัยไขเจ็บ ตางๆ มากนอยแคไหน ซึ่งกรุงไทยแอกซา จะมี สั ญ ญาเพิ่ ม เติ ม สุ ข ภาพระยะยาว ออกมาขายอีกเปนระลอก โดยในเดือน มิถุนายนนี้ จะมีออกมาอีกตัว” และจากขอมูลสํานักนโยบายและ
ยุ ท ธศาสตร ระบุ ว า ป 2553 มี ผู เ สี ย ชีวิตจากมะเร็งและเนื้องอกทุกชนิดกวา 58,000 คน และมีแนวโนมสูงขึ้นทุกป อีก ทั้งในปจจุบันสถิติดานคารักษาพยาบาล ปรับเพิ่มสูงขึ้นโดยเ ลี่ยปละ 10-15 ซึ่ง สงผลตอคาใชจายในการรักษาพยาบาล และดูแลสุขภาพของคนไทยใหปรับเพิ่ม สูงขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ เพื่อเปนการสงเสริมให คนไทยหันมารักและดูแลสุขภาพ บริษัทฯ ได เ ป ด ตั ว เว็ บ ไซต สุ ข ภาพแห ง แรกของ ธุรกิจประกันชีวิตไทย คือ . - . . โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยรวมในการให ความรูดานสุขภาพ ที่เปนประโยชนและ นาสนใจตอคนทุกเพศ ทุกวัย ซึง่ ในเว็บไซต นี้ แบงเปนเรื่องนารูเกี่ยวกับสุขภาพตางๆ
‘กลุมอลิอันซ’ถอนหายใจภัยพิบัติวืด 3ธุรกิจหลักทํารายไดสวยทุกภูมิภาค บริษัมแม “อลิอันซ” อวดไตรมาส 1 56 สถิ ติ ใ หม ส ร า งรายได ร วมสู ง สุ ด 1,211 พันลานบาท โต 6.6 ดันกําไรโต อี ก ไกล ธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย หลบภั ย พิบัติ ลุย ประกันชีวิต-สุขภาพ ยูนิตลิงค โกยเบี้ยเกินคาด ธุรกิจบริหารสินทรัพย ยังคงแข็งแกรงแมตลาดโลกฟนตัวยาก
โ
Insuranceว ว ก
กัน
ขอแสดงความยินดีกบั ผูท ไี่ ดรบั ทุน การศึกษาบุตร-ธิดาสมาชิกประจําป 2556 จํานวน 130 ทุน ที่ สมาคมผูส อื่ ขาว เศรษ กิจ เปนเจาภาพ โดยมีผใู หญใจดี จากองคกรตางๆ ใหการสนับสนุน และยัง มอบทุนการศึกษาเปนกรณีพิเศษทุนละ 4,000 บาท จํานวน 40 ทุน ใหกบั เด็กจาก
กลุ ม อลิ อั น ซ เป ด เผยถึ ง ผลการ ดําเนินธุรกิจโดยใหเหตุผลวากลุมธุรกิจ หลักทั้ง 3 มีสวนสําคัญที่สนับสนุนการ เติ บ โตของรายได แ ละกํ า ไร โดยธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย ได รั บ ประโยชน ใ นทุ ก ภูมิภาคจากราคาที่ปรับเพิ่มขึ้น และผล จากการพัฒนาการพิจารณารับประกันภัย โรงเรี ย นตํ า รวจตระเวนชายแดนในเขต จ.ตาก นั ก เรี ย นจาก จ.กาฬสิ น ธุ และ จ.รอยเอ็ด อีกดวย สําหรับขาวนี้ ยืนยันวาจริงแทแนนอน เมือ่ “สงเสริมประกันภัย” ถูกปดอยางถาวร ใครเปนลูกคา เจาหนี้ ลูกหนี้ โปรดตรวจสอบ ความคุม ครองในกรมธรรมดว ย จากนัน้ ให ติดตอกับบริษทั หรือ คปภ. วาจะตองทํายัง ไงตอไป หรือกด 1186 เลยจะ เมือ่ รอน วน อเยน ประธานเจาหนาที่ บริหาร เอไอเอ ปร เทศไทย สงดาราหนุม
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
B7
อก า รมประก อก ก มา ...อ รอ ไ อ า ไร ปจจุบันเลขาธิ การคนใหม ปร เวช องอาจสิท ิกุล ก็พยายามประคับ ประคอง บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด หลังจากมีฐานะการเงินไมดีมาโดยตลอด กุ น ซื อ ทั้ ง วงนอกและวงในต า งวิ พ ากษ วิจารณถงึ การยืดเยือ้ และขยายเวลาในการ แกไขปญหาการเงินครั้งนั้น แตแลวการ ปด าก “สงเสริมประกันภัย” ก็จบลง เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2556 โดยมีประกาศ จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ได มี คํ า สั่ ง ที่ 576 2556 ให เ พิ ก ถอนใบ อนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย ของ “บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด” ดวยบริษัทมีพฤติการณที่หากใหประกอบ ธุรกิจประกันวินาศภัยตอไป อาจทําใหเกิด ความเสียหายตอผูเอาประกันภัย หรือ ประชาชน คําสั่งดังกลาวเปนไปตามก หมาย ดังนัน้ สํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (คปภ.) ขอสรุปขอเท็จจริง ดังนี้ 1. บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด มีการดําเนินการ ในลักษณะที่อาจเปนเหตุใหเกิดความเสีย หายต อ ผู เ อาประกั น ภั ย หรื อ ประชาชน บริ ษั ท ไม มี ร ะบบควบคุ ม การจํ า หน า ย กรมธรรมประกันภัยรถภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ไมมีระบบควบคุมการสอบยันกรมธรรม ประกั น ภั ย ที่ จํ า หน า ย และเงิ น ค า เบี้ ย ประกันภัยใหถูกตองตรงกัน ไมมีระบบ ควบคุมการบันทึกบัญชีและสมุดทะเบียน ตามที่ก หมายกําหนด มีการบันทึกบัญชี โดยใช เ กณฑ เ งิ น สด ซึ่ ง ผู ส อบบั ญ ชี ไมรับรองงบการเงิน 2. นายทะเบียนดวยความเห็น ชอบของคณะกรรมการกํ า กั บ และสงเสริมการประกอบธุรกิจ สําหรับเด็ก ผูหญิง ผูชาย คนสูงวัย และ รู ป แบบการใช ชี วิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพทั้ ง ด า น รางกายและจิตใจ รวมทั้งไลฟสไตลตางๆ อี ก ทั้ ง เป น แหล ง รวบรวมกิ จ กรรมด า น สุขภาพ ศูนยรวมขอมูลสถานพยาบาล ในประเทศไทย พรอมมีพื้นที่ในการถาม และใหคาํ ตอบจากผูเ ชีย่ วชาญดานสุขภาพ สําหรับผูท สี่ นใจเขารวมและไดรบั ความรูท ี่ เปนประโยชนดานสุขภาพ สามารถสมัคร เปนสมาชิกโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ทั้ง สิ้น เพียงคลิกไปที่ . - . . สมาชิก 100 ทาน แรกรับของสมนาคุณพิเศษเพื่อเปนการ ตอนรับเขาสูค รอบครัวแหงการรักสุขภาพ สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมที่ศูนยลูกคา สัมพันธ โทร. 0-2689-4800 หรือ . - . . ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงการไมมีเหตุภัยพิบัติทาง ธรรมชาติที่รายแรงเกิดขึ้น ขณะที่ธุรกิจ ประกันชีวิตและสุขภาพ มีรายไดและผล กําไรเติบโต โดยเ พาะธุรกิจประกันชีวิต ในตลาดหลักของอลิอันซ ไดแก ฝรั่งเศส เยอรมนี และอิ ต าลี ส ว นธุ ร กิ จ บริ ห าร สินทรัพยประสบความสําเร็จตอเนื่องอีก ไตรมาสดวยเงินทุนไหลเขาสุทธิทสี่ งู ขึน้ สง ผลให โ ครงสร า งสิ น ทรั พ ย ข องอลิ อั น ซ ถูกจัดอันดับความนาเชื่อถือจาก อยูที่ระดับ AA และปรับ เพิ่มแนวโนมจาก อานตอหนา...B4
วราง ช วรร
สม ร ส วลกล
เดชน คูกมิ ยิ ขายยูนติ ลิงคในงานเปด ตัว เลนเอาเหลาไ โซกระเปาหนักที่คลั่ง กระแสความดังของหนุม อต อดใจไมไหว
ประกันภัย (คณะกรรมการ คปภ.) ไดใช อํานาจตามมาตรา 52 แหง พ.ร.บ.ประกัน วินาศภัย พ.ศ. 2535 (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551) สั่ ง ให บ ริ ษั ท หยุ ด รั บ ประกั น วินาศภัยเปนการชั่วคราว ตั้งแตวันที่ 20 กรก าคม 2555 และใหบริษทั ดําเนินการ แกไขขอผิดพลาดของบริษทั เกีย่ วกับฐานะ และการดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน วันที่ 31 มกราคม 2556 3. เนือ่ งจากการแกไขประเด็นปญหา ยังไมลุลวง ประกอบกับบริษัทไดรองขอ ขยายระยะเวลาการแกไขปญหาออกไป นายทะเบียนดวยความเห็นชอบของคณะ กรรมการ คปภ. ไดขยายระยะเวลาการ แกไขประเด็นปญหาของบริษัทออกไปอีก 30 วัน โดยมีเงื่อนไขใหบริษัทดําเนินการ แกไขขอผิดพลาดของบริษัทที่มีอยูเดิมให แลวเสร็จ 4. สํานักงาน คปภ. ไดใหโอกาส บริษัทในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา เป น ระยะเวลานานพอสมควรแล ว แต บริษัทไมสามารถดําเนินการแกไขปญหา ของบริษัทได ทั้งยังปรากฏขอเท็จจริงวา บริษัทมีการกระทําที่ฝาฝนก หมายเพิ่ม เติม ไดแก บริษัทไมสงงบการเงิน และ รายงานการดํารงเงินกองทุนตามทีก่ หมาย กําหนด บริษัทมีการกระทําที่ฝาฝนคําสั่ง นายทะเบียน และพนักงานเจาหนาทีท่ เี่ รียก เอกสารเพื่อการตรวจสอบการดําเนินงาน และฐานะการเงินของบริษทั ทําใหพนักงาน เจาหนาที่ไมสามารถประเมินการดําเนิน งานและฐานะการเงินของบริษทั ได 5. การเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจประกันวินาศภัยของ บริษทั สงเสริม ประกันภัย จํากัด ในครั้งนี้ จะไมสงผล กระทบตอบริษัทประกันวินาศภัยอื่นๆ 6. เพือ่ ปองกันมิใหประชาชนผูเ อาประกันภัย
ไดรับความเดือดรอน สํานักงาน คปภ. ได รั บ ความร ว มมื อ จากบริ ษั ท ประกั น วินาศภัยภัย จํานวน 22 บริษัท ยินดีรับ โอนกรมธรรมประกันภัยของผูเอาประกัน ภัยซึ่งไดทําประกันภัยไวกับ บริษัท สง เสริมประกันภัย จํากัด ที่ยังมีผลผูกพันอยู โดยขอความรวมมือใหผูเอาประกันภัยซื้อ กรมธรรมประกันภัยในแบบเดิม ระยะ เวลาคุมครอง 1 ป แลวบริษัทที่เขารวม โครงการจะขยายความคุม ครองเพิม่ เติมให กับผูเอาประกันภัยสําหรับระยะเวลาที่ เหลือของกรมธรรมประกันภัยเดิม ทั้งนี้ ผูเอาประกันภัยจะตองโอนสิทธิที่จะไดรับ เบี้ยประกันภัยสําหรับระยะเวลาที่เหลือ จากผูชําระบัญชี หรือจากกองทุนประกัน วินาศภัยใหแกบริษัทที่รับโอนกรมธรรม ประกันภัยนั้นดวย 7. สําหรับผูเปนเจาหนี้ตามสัญญา ประกันภัยของบริษทั ใหยนื่ ขอรับชําระหนี้ ต อ ผู ชํ า ระบั ญ ชี และกองทุ น ประกั น วินาศภัย ภายใน 2 เดือน นับแตวันที่ กองทุนประกันวินาศภัยออกประกาศ โดย ให นํ า เอกสารต น บั บ พร อ มทั้ ง สํ า เนา จํ า นวน 2 ชุ ด ประกอบการยื่ น ขอรั บ ชําระหนี้ ไดที่สวนกลาง สวนภูมิภาค 8. สําหรับเจาหนีอ้ นื่ ทีไ่ มใชเจาหนีต้ ามสัญญา ประกันภัย ใหยื่นคําขอรับชําระหนี้ตอ ผูชําระบัญชี 9. ปจจุบันมีกองทุนประกัน วินาศภัย ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ชวยเหลือเจาหนี้ ซึง่ มีสทิ ธิไดรบั ชําระหนี้ ทีเ่ กิดจากการเอา ประกันภัยในกรณีที่บริษัทลมละลายหรือ ถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยเจาหนีซ้ งึ่ มีสทิ ธิ ไดรบั ชําระหนีท้ เี่ กิดจากสัญญาประกันภัย จะตองไปขอรับชําระหนี้จากผูรับชําระ บัญชี และ หรือเจาพนักงานพิทกั ษทรัพย ในคดีลมละลายกอน หากจํานวนเงินที่ได
รับ ชํา ระหนี้จากบริษัท (ผูชํา ระบัญ ชี และ หรือเจาพนักงานพิทกั ษทรัพย) มีไม เพียงพอ เจาหนีด้ งั กลาวมีสทิ ธิไดรบั ชําระ หนี้สวนที่ขาดจากกองทุนฯ แตรวมกัน แลวทุกสัญญาไมเกิน 1 ลานบาทตอราย เคยมีโอกาสได สัมภาษณบริษัทที่เคยถูกคําสั่งใหหยุดรับ ประกันชั่วคราว ซึ่งแหลงขาวไดกลาวถึง ชวงเวลาที่ฝาฟนและตอสูเพื่อใหธุรกิจ อยูรอด วา การที่จะดําเนินธุรกิจใหพน อุปสรรคได สิ่งสําคัญ คือ การเคารพ ก หมาย เพราะการนอกลูนอกทางอาจ ทําใหเจอทางทีไ่ มสวย นําไปสูก ารดิง่ ลงเหว ไดงา ยๆ และหากไมชาํ นาญในธุรกิจควรที่ จะปรึกษาหาคําแนะนําจากผูเ ชีย่ วชาญใน ธุรกิจนั้น หรือหากเริ่มมีปญหาควรเขาไป ปรึกษา คปภ. หนวยงานทีก่ าํ กับดูแลธุรกิจ เพราะเชื่ อ ว า ไม มี ใ ครอยากให เ กิ ด เหตุการณปด กิจการลงแนนอน การที่ คปภ. ยืดเยื้อกวา 10 เดือน สํ า หรั บ “บริ ษั ท ส ง เสริ ม ประกั น ภั ย จํากัด” หลังจากที่ถูกคําสั่งใหหยุดรับ ประกันภัยชัว่ คราว 20 กรก าคม 2555 สุดทายปด ากลงอยางถาวร โดยมี 22 บริษัทประกันวินาศภัย ( . . . ) เซ็นสัญญารับทราบและยินดีรบั โอน สิทธิ์ กรมธรรมจากลูกคาทั้งหมดกอน หนานี้กวา 1 เดือนแลว ลาสุด มีคําสั่ง เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ ประกันวินาศภัยทันที กระทําที่ฝาฝน ก หมายเพิ่มเติม นี่จึงไมใชการเชือดไก ใหลิงดู แตเปนการกระทําตามคําสั่ง และตามก หมายประกันวินาศภัยทัง้ สิน้ ดวยเหตุผลเดียวเทานั้น คือ ไมตองการ ใหเกิดผลกระทบ หรือสรางความเสีย หายใหกับลูกคา และประชาชน
เค ม มเค มคนเงิน ิต ริง ทยสมุทร งเ นต ม ร แส ลูกคาวาว ไทยสมุทรปร กัน ชี วิ ต จั บ สิ น ค า เการี มิ ก ซ ใ หม สง ปร กันอุบัติเหตุส วนบุคคล ยังไงก คืน การันตีคืนเงินปสุดทายชัวรหาก ไมเคลมรับ 100 เคยเคลมรับ 0 คร่งปหลังหนุนชองทางตัว ทนตาม ผน รี ค รู ต เลื อ ดใหม ขยายสาขา รับมือวิก ติยายคายได มั่นใจตัว ทน รักองคกร นางนุสรา อัสสกุล บั ัติปย พจน กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย สมุทรประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) เผย ถึงกลยุทธตลอดป 2556 วา บริษทั ยังคง มุ ง มั่ น นํ า เสนอความคุ ม ครองที่ ห ลาก หลายเพือ่ ตอบสนองความตองการลูกคา อยางตอเนื่อง โดยลาสุดเปดตัวประกัน อุบัติเหตุสวนบุคคลใหม “ยังไงก็คืน” หรือ A ที่เนนตอบสนองความคุมคาให กับลูกคา โดยมีจดุ เดนคือ ไมวา ลูกคาจะ เคลมหรือไมเคลม ยังไดรับเงินคืนทุก กรณี แบบประกันดังกลาวใหระยะเวลา ความคุม ครองและชําระเบีย้ ประกัน 3 ป
เริ่มตนเพียงวันละ 6.6 บาท และไดรับ ความคุมครองชีวิตสูงสุดถึง 1,000,000 บาท คารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุสูงสุด 100,000 บาท พรอมชดเชยรายไดรายวัน 1,000 บาท สูงสุด 365 วัน รวมถึงคาชวย เหลื อ งานศพจากการเสี ย ชี วิ ต ทุ ก กรณี 10,000 บาท ในกรณีที่ลูกคามีการเคลมหรือไม เคลมก็ตาม ยังคงไดรับเงินคืนทุกกรณี โดยหากไมมกี ารเคลมจะไดรบั เบีย้ ประกัน ปสุดทายคืน 100 และหากแมวามีการ เคลมก็ยงั คงไดรบั เบีย้ ประกันปสดุ ทายคืน
ถึง 50 บริษัทเริ่มรับประกันตั้งแตอายุ 5-60 ป โดยไมตองตรวจสุขภาพ แนวคิ ด ในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ใหมนี้ มาจากการศึกษาและวิเคราะห ขอมูลความตองการของลูกคา ทีต่ อ งการ ประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล ( A) ที่มี ความคุม ครองสูงและไดรบั ความคุม คาใน รูปแบบของเงินคืนดวย ดังนั้น บริษัทจึง ไดนําเสนอประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล “ยั ง ไงก็ คื น ” เพื่ อ ตอบสนองความ ตองการดังกลาว นางนุสรา กลาววา “เราเชื่อวา ประกันอุบัติเหตุ ยังไงก็คืน จะไดรับการ ตอบรั บ เป น อย า งดี จ ากลู ก ค า กลุ ม ดั ง กล า วแน น อน ผู ที่ ส นใจสามารถ สอบถามข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ที่ ศู น ย ลู ก ค า สัมพันธ ไทยสมุทร โทรศัพท 0-22078888 หรื อ ตั ว แทนไทยสมุ ท รฯ ทั่ ว ประเทศ และสามารถดูขอ มูลรายละเอียด ผลิตภัณฑไดที่ . . . ” ดาน นายสืบพงษ พันธุพฤทธิ์ รอง กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทยสมุทรฯ ไดจัด อานตอหนา...B4
ตองควักกระเปาซื้อกรมธรรมมูลคาลาน บาทเพือ่ แลกกับการถายภาพคู ขณะทีฝ่ ง สาร ลํ่าซํา กรรมการผูจัดการและ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร เมื อ งไทย ปร กันชีวติ เขาก็มี บี้ สุก ษ ิ์ เปน พรีเซ็นเตอรยูนิตลิงคเชนกัน อตกันทั้งคู เรียกวากินกันไมลงเลยทีเดียว ไมวาจะ พรีเซ็นเตอร หรือคายแดง-ชมพูบานเย็น ถึง ทีตองตาตอตาฟนตอฟนกัน ณ บัดนาว ขยับมาดูแวดวงของธนาคารกันเล็ก นอย ซีไอเอมบี ไทย เขามอบรางวัล
CM T A A 2012 ครัง้ แรก ใหพนักงานทีท่ าํ ยอดขายประกัน ผานชองทางแบงกแอสชัวรันสสงู สุดเพือ่ เปน ขวัญกําลังใจ งานนี้ วรางค ไชยวรร รองกรรมการผูจัดการใหญ ไทยปร กัน ชีวติ และ ศิรนิ ทิพย ชติ รรมา ร ผูจ ดั การทัว่ ไป ไทยคารดิ ปร กันชีวติ ไดใหเกียรติมาเชิด ายในงานอีกดวย เพราะ เขาคือพารทเนอรระดับพรีเมีย่ ม แม สมพร สืบ วิลกุล กรรมการผูจัดการ ใหญ ทิพยปร กัน ยั จะปฏิเสธตําแหนง
ใน สมาคมปร กันวินาศ ยั ไทย ตัง้ แต กอนจะมีการเลือกตั้งคณะกรรมการชุด 2556-2558 ดวยเหตุผลหลักเพราะเกรงใจ กั บ ตํ า แหน ง ประธานคณะกรรมการ ประกันภัยยานยนตชุดกอน ที่เขารวม ประชุมบอรดนอยมาก เพือ่ ตองการทีจ่ ะ ทุมเทงานบริหารใหกับทิพยประกันภัย อยางเต็มที่ แตกไ็ มวายทีจ่ ะถูกเสนอชือ่ ให เขามามีบทบาทในตําแหนงอุปนายกสมา คมฯ จนได เหนือ่ ยนิดเพือ่ สมาคมฯ ละกัน นะคะ...พบกันใหม บับหนา สวัสดีคะ
นสรา อัสสกล ั
ัตป จน
á¼¹¡ÒþѲ¹Ò¸ØáԨ»ÃСѹÀÑ »‚ 55 ¢Í§ ¤»À. คปภ. จะเดินหนาภายใต 4 แนวทางหลักๆ ไดแก 1. สรางความเชื่อมั่นในธุรกิจประกันภัย 2. สงเสริมธุรกิจประภันภัยใหเกิดความเขมแข็ง 3. เรงพัฒนากฎหมายที่จะมีผลระหวางประชาชนผูทำประกันกับบริษัทประกัน 4. เสริมโครงสรางพื้นฐานใหธุรกิจประภันไทยขยายตัว ที่มา : คปภ.
B8
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ค ี ประก ามความ ก
สมาคม ไ เดยเ ังส า ันเทส ร
สมาคมประกันวินาศภัยไทย ปงแนวคิดตั้งส าบันทดสอบร กอนขายในตลาด ประเมินความเสีย่ งสมรร ภาพอะไหล คํานวณเบีย้ สมเหตุ ส มผล นั บ อยหลั ง 1 ก ค รายใหญ พ ร อ มขาย พ ร บ ออนไลน มัน่ ใจแ รขอ มูลสกัดนัก งิ่ กอการราย อกเงิน จาก ประวัติบุคคลได ัวร นายอานนท วังวสุ นายกสมาคม ประกันวินาศภัยไทย เปดเผยวา สมาคม มีแนวคิดทีจ่ ะเสนอใหภาครัฐสนับสนุนจัด ตั้งสถาบันที่ใชสําหรับทดสอบรถยนตใหม ที่ กํ า ลั ง จะขายและส ง มอบให กั บ ลู ก ค า เพื่อรวบรวมขอมูลและใชเปนสถิติในการ คํานวณเบี้ยประกันภัย โดยอิงจากผลการ ทดสอบสมรรถภาพของรถยนตแตละรุน แตละยี่หอ เนื่องจากรถยนตบางรุนถูก ผลิตขึ้นมาเนนในปริมาณมากกวาความ แข็งแรงปลอดภัย นับเปนความเสี่ยงที่จะ เกิดขึน้ ทัง้ ตอชีวติ และทรัพยสนิ ของผูข บั ขี่ และโดยสารดวยกันทั้งนั้น เดิมการคํานวณเบี้ยจะใชสถิติจาก การเกิดอุบัติเหตุของรถแตละรุน และอยู ระหวางการพัฒนาขอมูลรวมกันเพื่อใช ประวัติของคนขับมาเปนตัวคํานวนเบี้ย ดวย นอกจากนี้ หากรถบางรุนมีการใช อะไหลราคาแพงนับเปนตนทุนของผูใ ชรถ นี่จึงสามารถใชเปนขอมูลประกอบการ ตัดสินใจซื้อรถไดดวยเชนกัน “เราอยากให มี ก ารทดลองขั บ รถ ใหมที่จะออกมาขาย เพราะตนทุนของรถ บางประเภท โดยเ พาะอะไหลมีราคา
แพง บางชิ้ น ต อ งสั่ ง นํ า เข า จากต า ง ประเทศ ทําใหราคาคาซอมแพงกวาปกติ อยางรถบางรุนใชไฟซีนอนซึ่งมีราคาคูละ 40,000 บาท จากปกติไฟธรรมดาราคาคู ละ 10,000 บาทเทานั้น ยิ่งถาหากตอง เปลีย่ นไฟเพราะแตกตองซอม จะสงผลให ลูกคาสูญเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น” สํ า หรั บ การจั ด ตั้ ง สถาบั น ทดสอบ สมรรถภาพรถยนตนั้น ในตางประเทศจะ มีสถาบันที่ใชในการทดลองรถยนตที่จะ ออกขายสูทองตลาดกอนทุกครั้ง เพราะ จะมี ผ ลต อ การตั ด สิ น ใจในการซื้ อ ของ ลูกคา รวมไปถึงหากพบวารถบางประเภท มีความเปราะบาง นั่นหมายถึงความเสี่ยง ที่จะเกิดไดมากขึ้นหากเกิดอุบัติเหตุ ตอ ไปจําเปนตองดูไปถึงบริษัทรถดวย เพื่อดู ว า จะนํ า รถหรื อ ผลิ ต รถออกมาแข็ ง แรง มากน อ ยขนาดไหน เพื่ อ ใช อ า งอิ ง เพื่ อ คํานวณเบี้ยตอไป “มันเปนแนวคิดที่เราอยากทําแต เราต อ งให ภ าครั ฐ ช ว ยสนั บ สนุ น ด ว ย เพราะในไทยยังไมมีสถาบันลักษณะนี้ เรา มองวามันคือประโยชนทั้งตอธุรกิจและ ประชาชนเองทั้งสิ้น ทั้งนี้ เรายังดูวาหาก
อานน วังวส
จะทําเองโดยจัดตั้งสถาบันขึ้นมาแลวให นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญในสถาบัน หรือ มหาวิทยาลัยตางๆ มาชวย หากเราทําได เองหรือรอภาครัฐอยางไหนจะเปนไปได มากกวากัน เราจึงตองคุยกันกอน” ลาสุด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม ที่ ผานมา สํานักงานคณะกรรมการกํากับ
และสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปนประธานการประชุมติดตาม ความคืบหนาการประกันภัยรถภาคบังคับ แบบ O กับสมาคม ประกั น วิ น าศภั ย ไทย บริ ษั ท กลาง คุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด และ บริษัทประกันภัย เพื่อกําชับถึงแนวทาง
ปฏิบัติในการรับประกันและการสงขอมูล การประกั น ภั ย รถภาคบั ง คั บ (พ.ร.บ.) ภายใตระบบ O ซึ่งจะ ทําใหขัอมูลตางๆ เชื่อมโยงกันระหวาง บริษัทประกันภัยกับ คปภ. จากนั้น คปภ. จะเชื่อมโยงขอมูลกับ กรมการขนสงทางบก ในการจดทะเบียน รถยนต ห รื อ การรั บ ชํ า ระภาษี ร ถยนต ประจําป ซึ่งจะมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 กรก าคม 2556 เปนตนไป นายอานนท กลาววา ประกัน พ.ร.บ. เดิมมีการขายออนไลนอยูแลว แตสวน ใหญบริษัทประกันวินาศภัยรายเล็กที่ไมมี ความพรอมเรื่องระบบเชื่อมโยงที่เรียกวา และไมมโี ปรแกรมเมอรเปนของ ตัวเอง ตองพึ่งพาบริษัทเอาตซอรสเปน ผูใหบริการ แตรูปแบบใหมนี้มีการสราง ระบบเครือขายเพื่อรองรับและใหบริการ กับบริษัทเล็กๆ ไดดวย นายอานนท กล า วในฐานะ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จํากัด (มหาชน) หรือ วา “ตอนนี้บริษัทขนาดใหญพรอม แล ว อย า งเรา กรุ ง เทพประกั น ภั ย ที่ มี ระบบระบบเครือขายเชื่อมโยงของตนเอง หากจะเริ่มขายประกันภัยรถภาคบังคับ แบบ O ก็สามารถทําได ทันที” รูปแบบของการขายออนไลนนี้ เพือ่ ใหเปนขอมูลที่จะสงเขาไปถึงศูนยกลาง เร็วทีส่ ดุ เมือ่ ระบบรับรูว า มีการซือ้ ประกัน
แลวจะทําการเริ่มความคุมครองทันที นั่น หมายถึ ง ประชาชนก็ จ ะได รั บ บริ ก าร ทันที ประโยชนของ การประกันภัยรถ ภาคบังคับแบบ O คือ 1. ประชาชนไดรบั บริการเร็วขึน้ 2. บริษทั จะรั บ รู เ รื่ อ งรายรั บ จากเบี้ ย มากขึ้ น 3. เชื่อมระบบเขาสูกรมการขนสงทางบก เพื่อจะไดรับรูวาเมื่อถึงเวลาตอทะเบียน จะไดรวู า ทําประกันไวกบั บริษทั ใดทัง้ หมด เปาหมายคือการลดตนทุนเพราะหมายถึง การลดใช ก ระดาษที่ เ ป น ตั ว กรมธรรม เพราะหนาตาของกรมธรรม พ.ร.บ. ก็ เหมือนกันทุกบริษัท “เรามั่นใจวายิ่งหากมีสัญญาณ 3 เต็มระบบแลวการสงขอมูลจะยิ่งสะดวก ขึ้น อยางไรก็ตาม ก หมายจะตองเอื้อ และพรอมตอการดําเนินธุรกิจดวยเชนกัน และแมวาจะทําใหการตรวจสอบในการ ตอประกันครบถวนแตไมไดสงผลใหการ ตัดราคาลดลง เพราะราคาตลาดมันคือ กลไกในการแขงขัน แตผลในเรื่องของการ ลดต น ทุ น มากกว า ซึ่ ง ต น ทุ น กรมธรรม แตละ บับประมาณ 200-300 บาท” อยางไรก็ตาม ก็ไมไดมีผลในการยื้อ จายสินไหมอีกแนนอน แมจะมองวาเมื่อ รับรูเ บีย้ หรือรายไดแลวบริษทั ประกันตอง ตั้งสํา รอง และมีการลงทุนจํา นวนมาก เพราะเมื่อมีการเคลมจาก พ.ร.บ.บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จะเปน คนจายกอนจากนัน้ จึงเรียกเก็บจากบริษทั ประกัน
คุมครองม เรง วิ นังปอนต ด ทย รุง ทยแอ ซ รับเทรนด ต ดสวย ‘กรุ ทพ ร กันภัย’ ก ด ดสา ากา จนบุร ชัย ส พนิช ประธานกรรมการและประธานคณะผูบ ริหาร บริษทั กรุงเทพ ประกันภัย จํากัด (มหาชน) หรือ “ ” จัดพิธเี ปดสาขากาญจนาบุรอี ยางเปนทางการ พรอมอัญเชิญครุฑตราตั้งขึ้นประดิษฐานเพื่อความเปนสิริมงคล โอกาสนี้ “จิระศักดิ์ เหลาศิริไพศาล” ผูจัดการภาคกลาง และ “วิฑูร เข็มวิลาศ “ ผูจัดการภาค สายลูกคา ธุรกิจรายปลีกตางจังหวัด ธนาคารกรุงเทพ ยังไดรว มใหเกียรติเปนประธานในพิธี พรอม คณะผูบ ริหารและแขกผูม เี กียรติรว มในพิธเี ปดสาขาและทําบุญถวายภัตตาหารแกพระ ภิกษุ นอกจากนี้ ยังไดมอบกระเปาไวนิลใหแกนักเรียนโรงเรียนบานบอหวา เพื่อใช ประโยชนทางการศึกษาตอไป
กรุงไทย อกซา ปร กันชีวิต พัฒนา บบปร กันสนองลูกคาไมขาด สายมองเทรนดปร กันสุข าพยัง รง ทคที ม ง อกซา องกง เขน บบ ปร กันคุมครองม เรงผิวหนังเจา รกใน ไทย คนเซอร ซลูชั่น ครอบคลุมทุก ร ย ไมจํากัดจํานวนครั้ง ายใตวงเงิน 100 ของทุน บวกคาชดเชยรายได นางสาวสาย น สัจจศิลา ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหารฝายการตลาด บริษทั กรุง ไทย แอกซา ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา จากแผนงานของบริษัทในป 2556 ที่ เ น น ขายแบบประกั น คุ ม ครอง สุขภาพเปนหลัก โดยจะเรงออกสัญญาเพิม่ เติม หรืออนุสัญญาคุมครองสุขภาพใหมๆ มาขาย เพื่อนํามาโปรโมต ขายควบคูกับ แบบประกันชีวิตที่เนนคุมครองระยะยาว เชน แบบตลอดชีพ ( ) ทีม่ ขี าย อยูแ ลว ขณะเดียวกันก็จะออกสินคาทีเ่ ปน นวัตกรรมใหมทนี่ าํ มาจากแอกซา กรุป มา ปรับใหเขากับตลาดไทย ลาสุด บริษัทไดเปดตัวสัญญาเพิ่ม เติมประกันสุขภาพตัวใหม คือ “แคนเซอร โซลูชั่น” ซึ่งเนนความคุมครองโรคมะเร็ง ครอบคลุมทุกระยะ ไมจํากัดจํานวนครั้ง และมี ค า ชดเชยรายได โดยให ค วาม คุมครองโรคมะเร็งทุกระยะ รวมทั้งมะเร็ง
ผิวหนัง และมะเร็งระยะไมลกุ ลาม สามารถ เคลมไดไมจาํ กัดจํานวนครัง้ แตวงเงินตอง ไมเกิน 100 ของทุนประกัน และเปน มะเร็งคนละชนิด และตางอวัยวะกัน ทุน ประกันขัน้ ตํา่ 300,000 บาท สูงสุด 5 ลาน บาท เพื่อเปนคารักษาพยาบาลโรคมะเร็ง หรือคาใชจายอื่นๆ รับคาชดเชยรายได สูงสุด 10,000 บาทตอวัน นานสูงสุด 1,095 วัน กรณีเขารักษาตัวในโรงพยาบาล ด ว ยโรคมะเร็ ง และรั บ สิ ท ธิ ย กเว น เบี้ ย ประกัน สัญญาหลัก กรณีเจ็บปวยดวยโรค มะเร็ ง ระยะลุ ก ลาม โดยเป ด รั บ ผู เ อา ประกันอายุ 1 เดือน-65 วัน และขยาย ความคุมครองสูงสุดถึงอายุ 85 ป “เราถือเปนเจาแรกในประเทศไทย ที่คุมครองมะเร็งผิวหนัง โดยลูกคาตอง ตรวจสุขภาพกอนซือ้ ซึง่ แบบประกันนีเ้ รา รวมมือกับทีมออกแบบสินคาของแอกซา องกง จึงมั่นใจไดวาสินคาของเราบริหาร ความเสีย่ งไดอยางแนนอน และเบีย้ ไมแพง เชน ผูชายอายุ 35 ป ทุนประกัน 1 ลาน บาท เบีย้ ประกันแค 2,000 บาท คาชดเชย รายวัน 5,000 บาทตอวัน ทั้งนี้ เรายังเปน บริษัทหนึ่งเดียวในตลาดประกันชีวิตไทย ที่นําเสนอผลิตภัณฑตามความตองการ ของลูกคาแบบไมมีเงื่อนไข” ป จ จุ บั น บริ ษั ท มี สั ญ ญา เพิ่ ม เติ ม
สา น สัจจ ลา
เพียง 8-9 ตัว เชน สมารท เมดิแคร พลัส (MEA ) และแผนประกั น สํ า เร็ จ รู ป “รูใจ” คุมครอง 32 โรครายแรง เปนตน โดยปที่ผานมา ยอดขายสัญญาเพิ่มเติม ของบริษัทคิดเปนสัดสวน 12 ของเบี้ย รวม สวนแผนประกันชีวิตและสุขภาพ “คอมพลีท เ ลธ โซลูชั่น” ที่ใหความ คุม ครองคารักษาพยาบาลทุกโรคตลอดชีพ หรือจนถึงอายุ 99 ป รับประกันโดยไม ตรวจสุขภาพ ที่บริษัทออกขายเมื่อเดือน พฤษภาคม 2555 พบวาไดรับผลตอบรับ ดีจากลูกคา ซึ่งกลุมลูกคาสวนใหญจะเปน ระดับบน อานตอหนา...B7
เจาของ ริษัท หนังสือพิมพทรานสปอรต จา ั สํานักงาน เล ที่ ถนนเทอ าริ วง าง ื่อ เ ต าง ื่อ รุงเทพ โทรศัพท 662 556- 62 - ทรสาร 662 556- 62 พิมพที่ ริษัท ส พิจิตร ารพิมพ จา ั โทรศัพท 662 -2 -2 ูกอตั้ง สมพงษ สร วี ประ านกรรมการ สุ ี รีเ จ ติ ที่ปรกษา สุวั น สุ สัมฤท ิ บรรณา ิการบริหาร ร สุ ีรา รีเ จ ติ รองบรรณา ิการบริหาร สุ าลัย รีเ จ ติ พันทิพา จุลเพ ร กองบรรณา ิการ น า จน พฤ ษติ ุล วรั ยอ พรหม นพล สุวรร ี ยั วั น เ ษสม นิ พง เรือง ุ มา บรรณา ิการ ูพิมพ ูโ ษณา พิเ ษ จเที่ยง รรม จัดจําหนาย ริษัท เวิล ออ ิสทริ ิว ั่น จา ั
สถิติ เว็บไ ต Sanook.com MThai.com Kapook.com ผูจัดการออนไลน Dek-D.com
ต
ยย
าก ส 10 น
จานวนผูเยี่ยมชม 1,142,690 827,892 819,583 42 1 397,937
เว็บไ ต
ที่มา : truehits.net
จานวนผูเยี่ยมชม
yengo.com BlogGang.com teenee.com Weloveshopping.com www.thairath.co.th
356,745 319,134 299,378 294,534 288,378
C1
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล ปที่ 6 ั ที่ 7 5 วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
รมว.ไอซีที ประกาศความพรอม
มั่นใจดันไทยเปนสังคมสารสนเทศ กระทรวงไอ ี ที ี้ ป ระ ากร 1 ใน ของ ลกได เ ข า ง อินเทอรเน็ต คาดวาจะสูง ง 100 ลาน ภายในสิ้นปนี้ สวนไทย เขา ง ราว 1 วงตนป และคาดวา จะสูงข้นอยางมากเนื่องจากการเริ่มใ นาวาอากาศเอกอนุ ดิ ษ นาคร ทรรพ รัฐมนตรีวา การกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เปด เผยภายหลังเขารวมการประชุมติดตามผล การประชุ ม สุ ด ยอดผู นํ า ว า ด ว ยสั ง คม สารสนเทศ ค.ศ. 2013 ( F 2013 F 2013) และการเขา รวมการประชุมโตะกลมระดับรัฐมนตรี ซึง่ จั ด โดยสหภาพโทรคมนาคมระหว า ง ประเทศ ( T T ) วา “การประชุม F จัดขึ้น เปนประจําทุกป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ติดตามผลการดําเนินงานตามปฏิญญาวา ด ว ยหลั ก การสร า งสั ง คมสารสนเทศ ดี ทค ลองความสําเรจดวยยอด ผูใ ชบริการดี ทค ดีเซอรทพี่ งสู ุ งมากกวา 00 000 ราย ล มี นว นมเพิ่มข้น อย างต อเนื่ อ งเป น 1 ล า นราย ใน สิ้นป พ.ศ. พรอมเปดตัว พลต อรม อั จ ริ ย ลาสุ ด ที่ ช วยยกร ดั บ ความ สัมพัน ร หวางเหลาศิลปน ล น เพลงทั่ว ลกใหใกลชิดกันยิ่งกวาเดิม นายปกร พรร เชษ ผูอํานวย การอาวุโสฝายการตลาด บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) หรือดีแทค กลาววา “วันนี้ ดีแทค ดีเซอร ไดกาวเขาสูการเปนแอพฟงเพลงที่ไดรับ ความนิ ย มสู ง สุ ด มี จํ า นวนฐานลู ก ค า มากวา 300,000 ราย มีจํานวนรายชื่อ เพลงที่ถูกฟงมากกวา 500,000 เพลง พร อ มยอดการใช ง านฟ ง เพลงไปแล ว มากกวา 8 ลานครั้ง และกาวตอไปของ เราคือการประกาศความพรอมที่จะมอบ
(
) และแผน ปฏิบัติการ ( A ) ทั้ง 11 ประการ ทีก่ าํ หนดขึน้ ในการประชุม เมื่อป พ.ศ. 2546 เพื่อการพัฒนาสังคม สารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพและลด ความเหลื่อมลํ้าของประชากรโลก ในการ เขาถึงสารสนเทศและความรูไดภายใน ป ค.ศ. 2015” สําหรับการประชุม F 2013 ถือวาเปนครั้งที่ 8 ซึ่งไดกําหนดให มีการประชุมผูแทนระดับสูง ( ) และการประชุมโตะกลมระดับ รัฐมนตรี (M ) ควบคูไปดวยเนื่องจากประเทศสมาชิก T เห็นวาเปาหมายที่จะบรรลุในป ค.ศ.
ดีแทคยิ้มรับดีเซอรนิยมสูงสุด พรอมเปดตัว Deezer4Artists
รศ.ดร.บุญมาก ศิริเนาวกุล
อธิการบดี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด/boonmark@stamford.edu
ันทก ลัง า าย น ซ ยล อ เรื่องรายการบันทกสั่งลา หรือ ทําพินัยกรรมเพื่อเปดเผยหลังลาจาก ลกไป ลว ในร บบของ ซเชียลมีเดีย ได มี ก ารริ เริ่ ม ล ว จ มี ก ารทดสอบ ปร กรมของเดด ซเชียลในลักษ เบดา ล จ มีการเปดตัวสูสา าร ในเดือนมีนาคมนี้ สํ า หรั บ บริ ษั ท เดดโซเชี ย ลที่ ประกาศจะเป ด ตั ว ทางตอนใต ข อง สหรัฐอเมริกา ก็จะเปดตัวในงานเซาท เวิลด หรืองานตะวันตกเ ียงใตในเดือน มีนาคม และงานนี้จะจัดที่พิพิธภัณฑ ประหลาด (M ) ซึ่งก็ เป น อี เวนต ที่ เ หมาะเจาะกั บ บั น ทึ ก สําหรับหลังความตายพอดี
2015 ใกลจะถึงแลว และแผนปฏิบัติการ ในสวนที่ T รับผิดชอบ ไดแก โครงสราง พื้นฐานของสารสนเทศและการสื่อสาร
ก็ ยั ง มี อี ก บริ ษั ท ที่ ป ระเทศอั ง กฤษ ทีจ่ ดั ทําโปรแกรมประเภทนีเ้ ชนกัน และได จัดตารางเวลาเพื่อใหสามารถสงสารหรือ ขอความเพือ่ ใหเปนการเปดเผยตอสาธาณ ชนไดยาวนานไดถงึ 100 ปขา งหนา เพราะ ะนั้น ระบบความปลอดภัยของขอมูล และเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหลายจะตอง มีอายุยาวนานถึงขณะนั้น คือ 2 ชวงอายุ คน ซึ่งก็หมายความวาจะตองไมพึ่งคน หรือมนุษยในการซอมบํารุงรักษาใหทั้ง ซอฟตแวรและ ารดแวรปลอดภัย และ มีอายุยาวนานขนาดนั้น ในทางทฤษ ีทาง กลุมบริษัทในอังกฤษนี้พบวาสามารถที่จะ สรางระบบการบันทึกหลังความตายให ยาวนานไดถึง 400 ป ขางหนา
ถาหากอยากจะพูดกับมนุษยในโลก หนาหรืออีก 400 ปขางหนาวา มนุษยนั้น จะเปนเชนไรหรืออยากจะสื่ออะไรใหเปน ประวัติศาสตรกับมนุษยยุคนั้นก็สามารถ ทําได เพราะเราจะเปนประวัตศิ าสตรทจี่ ะ ถูกขุดพบขอความการสื่อสารใน 400 ป ขางหนา จินตนาการไมออกวาโลกเราที่ อยูนี้จะเปนเชนไร ในประเทศอิ ส ราเอลเร็ ว กว า ได มี การเปดตัวไปแลวในป 2011 ซึ่งขณะนั้น มีผูใชถึง 200,000 คน สวนใหญแลวก็จะ เลือกบันทึกคําลาจากที่สะเทือนใจ และ มักจะเปนบันทึกขอความมากกวาที่จะ บั น ทึ ก ด ว ยวิ ดี โ อ บริ ษั ท ในประเทศ อิ ส ราเอลยั ง ให บ ริ ก ารนี้ ฟ รี อ ยู แต ใ น อนาคตจะมีการเก็บเงินสําหรับการบันทึก และการบันทึกนี้จะเปดเผยตอเมื่อไดรับ การอนุญาตจากผูจ ดั การมรดกทีไ่ ดรบั การ แตงตั้งเทานั้น คุณรูบินสไดน ซึ่งเปนผูกอตั้งบริษัท อีฟไดดาย หรือบริษัทถา ันตาย ไดกลาว วา “บางคนรูวาถา ันจะตายและก็ไดมี การเตรี ย มตั ว เองก อ นตายเอาไว แต
และการสรางความมั่นคงปลอดภัยในการ สรางสังคมสารสนเทศ ควรมีการดําเนิน การเพือ่ จะบรรลุเปาหมายกอนป 2015 จึง ประสบการณใหมขยายใหลูกคาดีแทค พรีเพดไดสนุกสนานเพลิดเพลินกับ 20 ลานเพลงจากดีแทค ดีเซอร ในราคาสุด คุมเร็วๆ นี้ ซึ่งการพัฒนา คอนเทนตของ EE E ในครั้งนี้นับเปนการตอ ยอดวิสัยทัศนของดีแทคในการกาวสูมิติ ใหม T 3 โครงขายอัจ ริยะ หนึ่ง เดี ย วของไทยที่ มี ค ลื่ น ความถี่ ม ากที่ สุ ด บนแบนดวิธที่กวางที่สุด พรอมมุงสูธุรกิจ โมบายอินเทอรเน็ตเต็มรูปแบบ ดวยองค ประกอบทุกอยางที่พรอมลงตัว ไมวาจะ เปนเครือขายที่มีศักยภาพเต็มที่ อุปกรณ สื่อสารที่หลากหลาย การใชเทคโนโลยีที่ ดี ที่ สุ ด ในโลกในการพั ฒ นาเครื อ ข า ย ความพร อ มในการให บ ริ ก ารด า นคอน เทนตอยางครบวงจร ใหลกู คาสามารถฟง เพลงไดไมจํากัดกวา 20 ลานเพลง จาก ทั่วทุกมุมโลก ไดทุกที่ ทุกเวลาอยางราบ รื่นยิ่งกวาบนเครือขาย T ” อานตอหนา...C2 ปญหาที่ทาทายมากก็คือ เวลาความ ตายจะมาเยือน มักจะคาดไมถึงทุกครั้ง ไป” และยังกลาวตออีกวา “ในชวงยุค ที่เรายังมีชีวิตอยูสวนใหญบันทึกเรื่อง ราวในลักษณะดิจิตอลเอาไว แตคนเรา มักอยากจะควบคุมสิง่ นัน้ เอาไวใหไดใน ระดับหนึ่งและใหมีการเปดเผยในภาย หลังจากเสียชีวิตแลว” บริษัทเหลานี้ดูวาเทคโนโลยีจะ มาชวยทําใหมนุษยคิดเรื่องความตาย เอาไวบาง เมื่อยามจะลาจากโลกนี้ ใจ อยากจะบันทึกเรือ่ งความลับอะไรทีเ่ คย ทําไวหรืออยากจะทําอะไรจะไดคิดไว ลวงหนา เพื่อจะไดคุนเคยกับเรื่องของ ความตาย และเรื่องของความตายไมมี ทางที่จะแยกออกจากมนุษยโลกได สํ า หรั บ ปร เทศไทย คนสวน ให ซ่งกเปนศาสนาพุท ไมตางกัน เลยเชนกัน ล ใน งของความคิด อานปรัช า หงความตายกมีเรื่อง นรก ล สวรรคเชนเดียวกับศาสนา อื่น ตพอรูวาจ ตาย คําพูดนั้นมัก จ มีความจริงใหไดทราบเสมอ
เห็นควรมีการติดตามและ รายงานผลในระดับรัฐมนตรี ซึ่ ง มี ผู แ ทนระดั บ รั ฐ มนตรี และผูแทนระดับสูงเขารวม ประชุมกวา 40 ประเทศ ในการประชุม F 2013 นีป้ ระเทศไทย โดยกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ไดรายงานความคืบหนาการ ดําเนินการภายใตโครงการ ตางๆ เพือ่ ใหบรรลุเปาหมาย อาทิ การกํ า หนด นโยบายบรอดแบนด แ ห ง ชาติ โครงการ “O T C ” การจัด ตั้ ง ศู น ย ก ารเรี ย นรู CT ชุ ม ชน โครงการ “F -F ” ซึ่งคาดวาประเทศ ไทยจะสามารถบรรลุเปาหมายไดภายในป ค.ศ. 2015 แน น อน และสํ า หรั บ การ ประชุ ม โตะกลมระดั บ รั ฐ มนตรี ไ ด เ ป ด
ไม คร อ ท วน
โอกาสใหผนู าํ แตละประเทศเสวนาภายใต หัวขอ “F C A 2015 ถือวาเปนเวทีในการแลก เปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับแนวทางที่ควร ดําเนินการหรือเปาหมายที่จะตองบรรลุ หลังป ค.ศ. 2015 อาทิ กระบวนการใน การสรางสังคมสารสนเทศใหเปนไปใน ทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ กระบวนการตาม เป า หมายการพั ฒ นาแห ง สหั ส วรรษ (M ) หลังป ค.ศ. 2015 เปนตน “ CT เปนเครื่องมือสําคัญในการ พัฒนาและเรงความเติบโตทางเศรษฐกิจ โลก จากข อ มู ล สถิ ติ ข อง T ระบุ ว า ประชากร 1 ใน 3 ของโลกได เข า ถึ ง อินเทอรเน็ต โดยเ พาะอยางยิ่ง จํานวน M คาด วาจะสูงถึง 2,100 ลาน ภายในสิ้นปนี้ และในสวนของประเทศไทย การเขาถึง M C คิดเปนรอยละ 124 ใน ชวงตนป 2556 และคาดวาจะสูงขึ้นอยาง มากเนื่องจาก อานตอหนา...C2
อัพเกรด
เตรียมหยุดบริการ
00 และ
บริ ษั ท ไมโครซอฟท เชิ ญ ชวน ผู ป ระกอบการธุ ร กิ จ ขนาดกลางและ ขนาดยอม หรือ ME ทั่วเอเชีย ให ปรับปรุง กอนไมโครซอฟทจะหยุดให บริการ และ O 2003 ในวันที่ 8 เมษายน 2557 ทั้ง สวนลดสูงสุด 15 สําหรับ 8 และ O 2013 แบบ O รวมถึงการแขงขัน ME T M ในประเทศ ไทยและ ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย นางสาวทิ พ มาศ อจลากุ ล ผูอํานวยการกลุมธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมบริษทั ไมโครซอฟท (ประเทศ ไทย) จํากัด กลาววา “ธุรกิจ ME คิด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 99.8 ของธุ ร กิ จ ทั้งหมดในประเทศไทย บริษัทเหลานี้คือ โครงสรางหลักของสภาพเศรษฐกิจใน ประเทศไทย เนื่องจากพวกเขาคือผูจาง แรงงานสวนใหญ แถมยังเปนปจจัยหลัก ของศักยภาพในการผลิต การสงออก และแหลงรายไดของไทยอีกดวย อยางไร ก็ตาม ผูประกอบการจํานวนมากยังคง ใช เ ทคโนโลยี แ ละขั้ น ตอนการทํ า งาน แบบเกาอยู ดังนั้น เปาหมายและความ พยายามต า งๆ ของไมโครซอฟท คื อ การนํ า เสนอสิ ท ธิ ป ระโยชน ที่ โ ดดเด น กวาเดิมใหแกธุรกิจ ME ที่สามารถนํา
ไปปรั บ ปรุ ง ระบบของตนให ทั น สมั ย แทนที่ เ ทคโนโลยี ที่ มี อ ยู เ ดิ ม อย า ง หรือ O 2003 เพื่อ ที่พวกเขาจะไดรับประโยชนสูงสุดจาก ศั ก ยภาพในการทํ า งาน มี ร ะบบที่ ปลอดภั ย มากขึ้ น กว า เดิ ม และใช ประสิทธิภาพจากบริการคลาวดไดอยาง คุมคา” ME ที่ยังคงใช และ O 2003 เตรียมตัวอัพเกรด ระบบ เนื่องจากไมโครซอฟทประกาศ ตั้ ง แต วั น ที่ 8 เมษายน 2557 เป น ตนไป ไมโครซอฟทจะยุติการใหบริการ ผลิตภัณฑเหลานี้อีกตอไป ซึ่งจะทําให เกิ ด ความเสี่ ย งเรื่ อ งการรั ก ษาความ ปลอดภัยและความเสี่ยงเรื่องการปกปด ข อ มู ล ส ว นตั ว ซอฟต แวร ที่ ทํ า งานไม สอดคล อ งกั น ไม ส ามารถโทรขอคํ า ปรึกษาจากใครได อาจมีปญหาดาวน ไทม และค า ใช จ า ยการบํ า รุ ง รั ก ษาที่ สูงขึ้น ME ในประเทศไทยสามารถเขา รวมกับการแขงขัน 2M และ ME T M C เพื่อชิงรางวัลเปนโนตบุ กและแท็บเล็ต 8 สมาชิก O 365 และบริการ ยายระบบ อานตอหนา...C2
C2
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
รมว.ไอซีที
ประชุม F 2013 ใหเขารวม การประชุม C A ตอ า หนา... 2013 ที่ประเทศไทยจะเปนเจาภาพ จัดการประชุมในวันที่ 18 พฤศจิกายน การเริ่มใช 3 อยางไรก็ตาม ยังมีความ 2556 ณ กรุงเทพฯ กอนงาน T T ทาทายที่ตองเผชิญ คือ การพัฒนาในแง 2013 ระหว า งวั น ที่ 19-22 การประสานความรวมมือทั้งในระดับโลก พฤศจิกายน 2556 อีกดวย ระดั บ ภู มิ ภ าค และโดยเ พาะอย า ง ยิ่ ง ในระดั บ ประเทศ ในการสร า งสั ง คม สารสนเทศเพื่อประชาชนทุกคนไดเขาถึง และไดใชประโยชนอยางเทาเทียมและทั่ว ตอ า หนา... ถึง ทั้งนี้ กระบวนการ M หลังป ค.ศ. ด า น นายเอเซล ดู เช ซ ประธาน 2015 ยังคงตองเนนถึงความสําคัญของ CT เชน การใช CT สําหรับ เจาหนาทีบ่ ริหารดีเซอร กลาวเสริมวา “นีค่ อื คนพิการหรือกลุมคนที่ตองการความชวย ช ว งเวลาสํ า คั ญ สํ า หรั บ แฟนเพลงและ เหลื อ พิ เ ศษ ซึ่ ง ไม มี ก ารกํ า หนดไว ใ น ศิลปน เนื่องจากเปนครั้งแรกที่ปราการ ขวางกั้นการคนหาและเขาถึงเพลงทั้งหมด M ” น.อ.อนุดิษฐ กลาว นอกจากนั้น น.อ.อนุดิษฐ ในฐานะ ไดถูกทลายลงอยางสิ้นเชิง โดยเราชวยให ผูแ ทนของประเทศไทยไดเชิญชวนรัฐมนตรี แฟนเพลงทั่วโลกสามารถเขาสูจักรวาลที่ และผูแทนประเทศตางๆ ที่เขารวมการ เต็มไปดวยความคิดสรางสรรคของศิลปน
ี ทค มร
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล สั ม ผั ส เพลงแนวใหม พ ร อ มยกระดั บ สุนทรียภาพในการฟงเพลงของพวกเขา และในขณะเดียวกัน เรายังใชเครื่องมือ อั น ยอดเยี่ ย มทํ า หน า ที่ ส นั บ สนุ น การ ปฏิสัมพันธระหวางเหลาศิลปนและแฟน เพลง รวมไปถึงการวิเคราะหเพื่อความ เขาใจอยางลึกซึ้งวาปจจัยใดเปนเหตุให พวกเขาตกหลุมรักเพลงนัน้ ๆ ซึง่ ในปจจุบนั เครื่ อ งมื อ ดั ง กล า วสามารถสร า งหรื อ ทําลายศิลปนไดเลยทีเดียว” ขณะที่ นายวัลลภ เลิศมงคล ผูจ ดั การ ฝ า ยการตลาดอาวุ โ ส (ดิ จิ ต อล) บริ ษั ท อารเอส จํากัด (มหาชน) กลาววา “เมื่อ กอนคายเพลงมีขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห แบบชัดๆ นอยมาก สวนใหญที่ไดมามักจะ เป น ข อ มู ล กว า งๆ สิ่ ง ที่ ทํ า ได ก็ คื อ ใช วิ ธี ประเมินเทรนดของเพลงหรือศิลปนนั้นๆ เอาเองจากที่ ต า งๆ เช น รายการวิ ท ยุ เปนตน ซึ่งแนนอนวาไมใชเทรนดที่แท จริงๆ แตฟงกชัน 4A ที่เพิ่ม
เขามานั้นทําใหเราเห็นความเคลื่อนไหว เห็นอุปสงคทเี่ กิดขึน้ จริงๆ ในหลายมิติ เชน จํานวนการฟงเพลงเห็นหนาตากลุมลูกคา วาเขาคือใครรูวาฐานของลูกคาจริงๆ อยู ที่ไหน ทําใหเราสามารถวิเคราะห กําหนด กลยุทธการตลาดไดอยางแมนยําและเขา ถึงฐานแฟนเพลงจริงๆ ของแตละศิลปนได มากยิ่งขึ้น” สวน นายนัดดา บุรณศิริ กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั วอรนเนอร มิวสิค (ประเทศ ไทย) กลาววา“วอรนเนอรมิวสิคและคาย เพลงพันธมิตรเห็นวานี่เปนโอกาสในการ สร า งรายได สํ า หรั บ วงการอุ ต สาหกรรม ดนตรี ซึ่ ง แฟนเพลงสามารถสนั บ สนุ น ศิ ล ป น คนโปรดของพวกเขาได โ ดยตรง
NCR ั้ ิหา น ช้ ิ้น น้อา หน อ ATM หม
IT SOCIETY
บริ ษั ท เอ็ น ซี อ าร (ประเทศไทย) จํ า กั ด ได ป ระกาศแต ง ตั้ ง นายพรเทพ พิทกั ษสนิ สกุล เขาดํารงตําแหนงกรรมการ ผูจัดการประจําประเทศไทย มีสํานักงาน ที่กรุงเทพฯ นายพรเทพ มีหนาที่รับผิด ชอบการวางแผนงานยุทธศาสตรการขยาย ธุรกิจและการตลาดสายธุรกิจธนาคารใน ประเทศไทย รวมถึงขยายฐานพันธมิตร ธุ ร กิ จ เพื่ อ นํ า บริ ษั ท ขึ้ น สู ร ะดั บ ผู นํ า เทคโนโลยีเพื่อระบบบริการทางการเงินที่ ลูกคาสามารถทําธุรกรรมไดดวยตนเอง นายไจวินเดอร กิล ( ) รองประธานบริษทั เอ็นซีอาร สายงานธุรกิจ การเงินประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟกใต กลาววา “ผลงานและประสบการณของ นายพรเทพ ในการบริหารธุรกิจ จะมีสวน สําคัญอยางยิง่ ในการขยายบทบาทของเรา ในประเทศไทย และมีผลตอการนําเสนอ ยุ ท ธศาสตร ข องเราในเอเชี ย ตะวั น ออก เ ียงใต ตลอดจนเราเชื่อมั่นในวิสัยทัศน และประสบการณการทํางาน โดยเ พาะ
อยางยิ่งความมุงมั่นในการแสวงหาความ เปนเลิศและความรอบรูเ ชิงลึกในธุรกิจของ นายพรเทพ ที่ไดสั่งสมมาตลอดเวลาการ ทํางานในแวดวงนี้ จะเปนกําลังสําคัญใน การสรางเสริมประโยชนใหแกลกู คาของเรา ในไทย ซึ่งเราจะเดินหนาลงทุนในภูมิภาค นี้ตอไป” เอ็นซีอาร เริ่มธุรกิจในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2535 นําเสนอโซลูชั่นและ บริการใหกับสถาบันการเงินและธนาคาร ชั้นนําทั้งหมดในไทย เชน ธนาคารพาณิชย และธนาคารของรัฐที่ใหญที่สุด และไทย เปนตลาดเชิงยุทธศาสตรที่สําคัญสําหรับ เอ็ น ซี อ าร ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เ ียงใตนี้ นอกจากนี้ C ยังเตรียมนวัตกรรม ใหมเขาสูต ลาดธนาคารในประเทศไทย เนื่องจากมีการสํารวจแลวพบวา การเขา ใชบริการธนาคารยังมีความไมสะดวกจาก การรอคิวนานเกินกวาทีค่ วรจะเปน ขณะที่ คิวการรอที่ตูเอทีเอ็มยังยาวเกินไปอีกดวย
จัดโรดโชว : ธนวัฒน สุธรรมพันธุ กรรมการผูจ ดั การ และศักดิช์ าย ปญญจเร ผอ.หนวยธุรกิจ HP Networking บริษทั ฮิวเลตต-แพค การด (ประเทศไทย) จํากัด จัดงานโรดโชว HP Networking สําหรับลูกคาและพันธมิตร ในประเทศไทย ทัง้ นี้ อาโมล มิตรา รองประธาน หนวยธุรกิจ HP Networking บริษทั ฮิวเลตต-แพค การ ด เอเชี ย แปซิ ฟ ก และญี่ ปุ น บี ย อร น มุ น ช หั ว หน า นักวิเคราะหวจิ ยั การทเนอร ไดขนึ้ กลาวคําปราศรัยในงาน
โดยผลจากการศึกษาทั่วโลกพบวา 70 ไมมีเวลานานพอที่จะรอ 82 ใชเวลา นานมากในการทําธุรกรรมทีต่ ู ATM และ 86 ยอมจายเงินซื้อบริการที่รวดเร็ว เพิ่มขึ้น C จึงเตรียมนํานวัตกรรมตู ATM ใหม เข า มาโดยมี ชื่ อ เรี ย กว า A T A T เปนตู ATM ทีส่ ามารถ ทําการสื่อสารกับเจาหนาที่ผานหนาจอ โดยเครื่องดังกลาวสามารถทําธุรกรรมได เองทุกอยางแบบที่ธนาคารทําได ดวย การสือ่ สารแบบ 2 ทางทําใหสามารถระบุ ตัวตนไดอยางงายดาย อีกทั้งยังชวยให ธนาคารบริการลูกคาตามแผน C M ได นอกจากนี้ ยั ง สามารถใช ตู ช นิ ด ดังกลาวสรางธนาคารสาขาเสมือนจริงได เพื่อเปนการทดสอบความตองการของ ตลาด หากมีผูใชบริการมากก็สามารถ ลงทุนเพิ่มเติมเพื่อสรางธนาคารที่เปน อาคารขึ้ น มา โดยคาดว า จะได เ ห็ น เครื่องตนแบบชวงปลายปนี้
เปดตัวนองเล็ก : บราเดอร เนนตลาดอิง้ คเจทมัลติฟง กชนั่ สีแบบ เต็มสูบ หลังยอดขาย “Brother MFC-J2510” ติดลมบน ลาสุด สงนองเล็ก “Brother MFC-2310” เพือ่ ตองการรักษามารเก็ตแชร A3 มัลติฟง กชนั่ ยังคงเนนจุดขายดานดีไซนผสานฟงกชนั่ ทีเ่ หนือ กวา ทีม่ ที งั้ ไวรเลสและทัชสกรีนมาในเครือ่ งเดียวกัน พิมพ A4 ทัง้ ยังพิมพไดสงู สุดถึง A3 เพือ่ ตอบโจทยความตองการลูกคาระดับ กลางถึงบน ดวยราคาเบาๆ แค 7,990 บาท
ดวยการฟงเพลงจากดีเซอรและนําไปแชร ตอใหกับครอบครัว เพื่อนฝูง รวมไปถึงคน รูจัก ซึ่งถาดีเซอรยังเติบโตอยางตอเนื่อง เชนนี้ก็จะเปนกําลังสําคัญสําหรับวงการ เพลงไทยในอนาคตอั น ใกล ไ ด อ ย า ง แนนอน”
โดยผู ช นะรอบสุ ด ท า ยจะวั ด จาก คะแนนทัว่ ภูมภิ าคในเดือนกรก าคม 2556 รวมทั้ ง จะได รั บ รางวั ล เพิ่ ม อี ก 9,000 ดอลลารสหรัฐ (ประมาณ 267,000 บาท) ซึง่ ประกอบดวยซอฟตแวรของไมโครซอฟท โนตบุก แท็บเล็ต และบริการยายระบบ นอกจากนี้ ไมโครซอฟทเตรียมเปดตัว โปรโมชั่นอัพเกรด 2M โดยตั้ง เปาไปทีก่ ลุม ธุรกิจ ME ในไทยและแถบ ตอ า หนา... เอเชียแปซิฟกโดยเ พาะ องคกรตา งๆ จะไดรับสวนลดสูงสุด 15 จากการซื้อ ที่ มี มู ล ค า รวม 6,000 ดอลลาร ส หรั ฐ 8 และ O 2013 นัน้ ผาน (ประมาณ 178,000 บาท) ผูชนะระดับ O รวม ประเทศทุกรายยังมีสิทธิเขารวมแขงขันใน ทั้งขอเสนอการอัพเกรด ารดแวรโนตบุก ระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟกอีกดวย และแท็บเล็ต 8 ดวย
ไม ครซอ ท
¾ÒâÅ ÍÑÅâµ à¹çµàÇÔà ¡ à¼Â໇ÒÀѤء¤ÒÁâ¨ÁµÕ à¤Ã×Í¢‹ÒÂÊѧ¤Áà·ÕºäÁ‹ä´Œ¡Ñºá;¸ØáԨ
พาโล อั ล โต เน็ ต เวิ ร ก บริ ษั ท ชั้นนําดานการรักษาความปลอดภัยบน เครือขาย เปดเผยรายงานเรื่องการใช แอพพลิ เ คชั่ น กั บ ภั ย คุ ก คามต า งๆ รายงานจากการสํารวจครั้งที่ 10 นี้เปน เวอรชั่นแรกที่รวบรวมและวิเคราะห หาความสัมพันธระหวางขอมูลการใช งานแอพพลิเคชั่นกับกิจกรรมที่เปนภัย คุกคามตางๆ รายงาน บับนีอ้ าศัยการวิเคราะห ขอมูลที่สงผานไปมาบนเครือขายของ องคกรตางๆ จํานวนประมาณ 800 แหง ทั่วเอเชียแปซิฟก ระหวางเดือน พฤษภาคม และธันวาคม พ.ศ. 2555 นับเปนการตรวจสอบการใชงานแอพ พลิ เ คชั่ น และภั ย คุ ก คามที่ ค รอบคลุ ม ที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรมการรั ก ษาความ ปลอดภัยบนเครือขาย ซึ่งผลการศึกษาที่ปรากฏพบวา กิจกรรมดานสังคม การแบงปนไฟล และวิดีโอ ไมใชแหลงภัยคุกคามลําดับ แรกๆ แมวา แอพพลิเคชัน่ ดานเครือขาย สั ง คม การแบ ง ป น ไฟล แ ละวิ ดี โ อ จํานวน 299 รายการ ใชแบนดวิธของ
เครื อ ข า ยถึ ง ร อ ยละ 27 แต ก ลั บ ก อ ภั ย คุ ก คามเพี ย งร อ ยละ 1 ของภั ย คุ ก คาม ทั้งหมดที่บันทึกไว ซึ่งผูไมหวังดียังคงพุง เปาจูโจมสินทรัพยตางๆ ที่มีคามากที่สุด ของกิจการผานแอพพลิเคชั่นดานธุรกิจที่ ใชกันทั่วไป จากการศึกษาแอพพลิเคชั่นทั้งหมด จํานวน 1,244 รายการ พบวา แอพพลิ เคชัน่ ทีจ่ าํ เปนตอธุรกิจ 7 รายการ กอใหเกิด ภัยคุกคามถึงรอยละ 86 ของภัยคุกคาม ทั้งหมดที่บันทึกไว มัลแวรแฝงตัวอยูใน แอพพลิเคชั่นซึ่งทําขึ้นโดยเ พาะ แอพพลิ เคชัน่ ซึง่ ทําขึน้ โดยเ พาะหรือแอพพลิเคชัน่ ซึ่งไมเปนที่รูจักแพรหลายคือทราฟฟกที่ เกีย่ วของกับมัลแวรมากทีส่ ดุ โดยกอใหเกิด มัลแวรถึงรอยละ 71 ของมัลแวรทั้งหมด ที่บันทึกไว แตกระนั้นกลับใชแบนดวิธของ เครือขายนอยกวารอยละ 4 สําหรับองคกรที่มีการใช ( ) แอพพลิ เ คชั่ น ดังกลาวเปนแอพที่ทํางานทั้งกระบวนการ ในการรั ก ษาความปลอดภั ย และเป น การอําพรางตัว (M A ) โดย แอพพลิ เ คชั่ น 317 รายการ ใช
รวมงาน : กฤติกา มหัทธนกุล ประธานกลุม ธุรกิจเอเชียเหนือ พรอมดวย ไค ซาฮาลา ประธานกลุม การตลาดผลิตภัณฑโมบาย บรอดแบนด บริษทั โนเกีย ซีเมนส เน็ตเวิรค ส รวมงาน Mobile World Congress 2013 เพือ่ จัดแสดงสุดยอดนวัตกรรมเทคโนโลยี เพือ่ รองรับโลกทีไ่ มหยุดนิง่ ดวยผลิตภัณฑและการบริการตางๆ อาทิ LTE Smart Scheduler, Liquid Applications, Simplified Network Operations และ Customer Experience Management (CEM)
ในทางใดทางหนึ่ง รายงานยังจําแนกแอพพลิเคชั่น ออกเปน 3 ประเภททั้งแอพพลิเคชั่น สวนตัว แอพพลิเคชั่นดานธุรกิจ และ แอพพลิเคชั่นซึ่งทําขึ้นโดยเ พาะหรือ แอพพลิเคชัน่ ซึง่ ไมเปนทีร่ จู กั แพรหลาย โดยแอพพลิเคชั่นสวนตัว รวมถึงแอพ พลิเคชั่นเครือขายสังคมตางๆ (F , ,T และ T ) ตลอดจนแอพพลิเคชั่นเพื่อการ แบงปนไฟล ( T , , , , และ ) และวิดีโอ ( T , และ ) แอพพลิเคชั่นดานธุรกิจ รวมถึง M ,M A , M ,M C ตลอดจนแอพพลิเคชั่นอื่นๆ แอพ พลิเคชั่นซึ่งทําขึ้นโดยเ พาะ หรือแอพ พลิเคชั่นซึ่งไมเปนที่รูจักแพรหลาย คือ แอพพลิเคชั่น TC หรือ ที่ไดรับ การจัดทําขึ้นโดยเ พาะ (ใชเ พาะใน องคกร) ไมมีขายทั่วไป หรือเปนภัย คุกคาม
สัมมนา : นพชัย วีระมาน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั มาสเตอรคลู อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด พรอมดวยทีมงานรวมออกบูธในงาน สัมมนาดานเทคโนโลยีการอนุรกั ษพลังงานสูอ นาคต เพือ่ แนะนํา นวัตกรรมเครื่องสรางลมเย็น พัดลมไอนํ้า และระบบโอโซน สุดยอดแหงการประหยัดพลังงานกวา 10 เทา รวมถึงเปนวิทยากร ในหัวขอ “การแกไขปญหาอากาศรอน และชวยประหยัดพลังงาน ดวยเทคโนโลยี Evaporative Cooling และเทคโนโลยี Ozone
เกษตร
BHMR (ขาวหอมมะลิ 100% ชั้น 2 Both Options) Contract Month
JUL 12 AUG 12 SEP 12 OCT 12 NOV 12 DEC 12 JAN 13 FEB 13
Agriculture
Settle. Price Volume Open Interest
Prev.
New Chg. Total* EFP/NLT Prev. Curr. Chg.
30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40
30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20
-0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20
Total
0 0 0 0 0 0 0 0 0
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
เ
0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0 0 0
C3
เตรียมแ น ัด รน้ นอน คต
ร รั ม นาท ม ัย ง ระบบพยากรณทมี่ อี ยูเ ดิมใหมปี ระสิทธิภาพ และมี ค วามแม น ยํ า มากขึ้ น โดยการ เชื่ อ มโยงและรวมระบบคลั ง ข อ มู ล ระบบพยากรณ แ ละเตื อ นภั ย ของ 10 ลุมนํ้า ไดแก ปง วัง ยม นาน สะแกกรัง เจาพระยา ทาจีน ปาสัก แมกลอง ปราจีน และบางปะกง ใหเปนหนึ่งเดียว ซึ่งได ดําเนินการแลวเสร็จตั้งแตเดือนมีนาคม 2555 พรอมกันนี้ ยังไดดําเนินการฟนฟู และปรับปรุงสิ่งกอสรางเดิมที่ไดรับความ เสียหายจากเหตุอทุ กภัย ป 2554 ตามแผน ฟน ฟูและปรับปรุงประสิทธิภาพสิง่ กอสราง เดิมหรือตามแผนที่วางไวแลว ซึ่งดําเนิน การแลวเสร็จตัง้ แตเดือนสิงหาคม 2555 ที่ ผานมา นายชวลิต กลาวตอวา กระทรวง เกษตรฯ เปนหนวยงานหลักในการกําหนด พื้นที่รับนํ้านองและมาตรการชวยเหลือ ผูที่ไดรับผลกระทบจากการใชพื้นที่เพื่อ การรับนํ้า ซึ่งไดกําหนดพื้นที่รับนํ้านองใน ลุมนํ้าเจาพระยาทั้งหมด 2.14 ลานไร สามารถเก็ บ กั ก นํ้ า ไว ไ ด 5,112 ล า น ลู ก บาศก เ มตร แบ ง เป น พื้ น ที่ ใ นเขต ชลประทาน 1.26 ลานไร สามารถเก็บกัก นํ้ า ไว ไ ด 2,993 ล า นลู ก บาศก เ มตร และพื้นที่แกมลิงตามธรรมชาติ 0.88 ลาน ไร สามารถเก็บกักนํ้าไวได 2,119 ลาน ลูกบาศกเมตร ซึง่ สามารถลดยอดนํา้ หลาก ในชวงนํา้ ทวมได และยังนํานํา้ สวนหนึง่ มา ใชในการเพาะปลูกในฤดูแลงตอไป สําหรับในระยะยาว กรมชลประทาน ไดจดั ทําแผนพัฒนาการชลประทานระดับ ลุมนํ้าอยางเปนระบบ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพ จํ า นวน 60 ล า นไร จั ด ทํ า แผนการ พัฒนาการชลประทานเปนรายโครงการ
ผลักดันไทยศูนยกลางซื้อขายยางพารา
ชวลต ช จร
ตลอดจนเพื่ อ แก ไขป ญ หาเรื่ อ งนํ้ า ใน ทุ ก ภาคส ว นอย า งเป น ระบบ โดยกรม ชลประทาน ไดปรับยุทธศาสตรการพัฒนา และบริหารจัดการนํา้ ในเชิงรุกใหสอดคลอง กับยุทธศาสตรการพัฒนาการเกษตรของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหเกิด เปนรูปธรรม ทันตอการแกไขปญหานํ้า สวนใหญของประเทศมากขึ้น “เมื่ อ ดํ า เนิ น การตามแผนพั ฒ นา ชลประทานของประเทศอยางเต็มศักยภาพ จํานวน 8,789 โครงการ จะสามารถเก็บ
กั ก นํ้ า ได เ พิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 26,603 ลานลูกบาศกเมตร จะมีปริมาณนํ้าใชที่ สามารถควบคุ ม ได เ พิ่ ม อี ก ประมาณ 57,000 ล า นลู ก บาศก เ มตร ได พื้ น ที่ ชลประทานทั้งสิ้นประมาณ 34.04 ลานไร เมื่อรวมกับการพัฒนาที่มีในปจจุบัน จะ ทํ า ให ป ระเทศไทยมี แ หล ง เก็ บ กั ก นํ้ า เทากับ 102,973 ลานลูกบาศกเมตร หรือ ประมาณร อ ยละ 52 ของปริ ม าณนํ้ า ของประเทศมี พื้ น ที่ ช ลประทาน 62.4 ล า นไร ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ศั ก ยภาพการ
เกษตรฯตัง้ เปาราคายางพาราไวที่ 110/กก. จับมือเอกชนเพือ่ ใหราคายาง เปนไปตามทีก่ าํ หนด พรอมผลักดันให ไทยเปนศูนยกลางการซือ้ ขายยางพารา นายยุทธพงศ จรัสเสถียร รัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปดเผยวา การประเมินหลังโครงการ พัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อ รักษาเสถียรภาพราคายางไดสิ้นสุดลง เมือ่ เดือน มี.ค. ทีผ่ า นมา พบวาโครงการ ดังกลาวไดผลเปนทีน่ า พอใจ มีระยะเวลา 5 เดือน ทีด่ าํ เนินโครงการสามารถแกไข ปญหาและสามารถผานชวงวิกฤติราคา ยางตกตํา่ ทีเ่ กิดขึน้ ได โดยใชงบประมาณ 5,000 ลานบาท ในการเขาไปสนับสนุน เพือ่ ชวยเหลือเกษตรกรรายยอย เชือ่ มัน่ วาไมมีการทุจริต และไดใหกรมตรวจ บัญชีสหกรณ ตรวจสอบขอมูลใหถกู ตอง สวนธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ก็ตอ งเรงเบิกจายเงิน แกเกษตรกร สําหรับแนวโนมราคายางพารา ได หารือกับสมาคมยางพาราแหงประเทศ ไทย คาดราคายางจะปรับตัวสูงขึ้นตอ เนื่ อ งตามกลไกตลาดโลก เป น ช ว งที่ ยางพาราขาดตลาด และยางพาราอยูใ น ชวงผลิใบและฝนตกชุกมาก เกษตรกร ไมสามารถออกกรีดยางได อีกทั้งยังมี รายการสัง่ ซือ้ จากตางประเทศอีกจํานวน มาก แตชว งระยะเวลาสัน้ ๆ คาดวาราคา ยางพาราจะอยูท ี่ 95-100 บาทตอ กก. ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรฯ ตั้งราคา เปาหมายไวที่ 110 บาทตอ กก. ถือวาเปน ชลประทานทั้ ง หมด นอกจากนี้ ยั ง จะ สามารถพั ฒ นาพื้ น ที่ เ กษตรนํ้ า ฝนที่ อ ยู นอกพื้นที่ศักยภาพการชลประทานไดอีก
วีนิไทยรวมการประปาสวนภูมิภาคปลูกปะการัง นายสมศั ก ดิ์ ลื อ พั ฒ นสุ ข รอง กรรมการผูจัดการฝายการตลาดและการ ขาย พรอมดวย นายสมพจน ชีรนรวนิชย รองกรรมการผูจัดการฝายประสานงาน ธุ ร กิ จ และการสื่ อ สาร บริ ษั ท วี นิ ไ ทย จํ า กั ด (มหาชน) ให ก ารต อ นรั บ คณะ ผู บ ริ ห ารและพนั ก งานจากการประปา สวนภูมิภาคกวา 50 ทาน นําโดย นางสาว จันทิรา จุโฬทก ผูชวยผูวาการ สํานัก ผูวาการและสื่อสารองคกร ที่ใหเกียรติ รวมปลูกปะการังดวยทอพีวีซีในโครงการ “วีนิไทยรวมใจปลูกปะการัง 80,000 กิ่ง ทีเ่ ริม่ ตนเพือ่ ลนเกลา” ทีเ่ กาะทะลุ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ทั้งนี้ โครงการ “วีนิไทยรวมใจปลูก
0 0 0 0 0 0 0 0 0
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
กระทรวงเกษตรฯ เตรียมแผนบริหารจัดการนํา้ ในอนาคต พรอม พัฒนาระบบพยากรณและเตือนภัยอยางเต็มรูปแบบ 10 ลุม นํา้ สําคัญ ของประเทศ มัน่ ใจรับมือนํา้ ทวมและจัดสรรนํา้ เพือ่ การเกษตรไดอยางดี นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ กลาววา เพื่อใหการ บริหารจัดการนํ้าเกิดประสิทธิภาพสูงสุด กระทรวงเกษตรและสหกรณ จึงไดกาํ หนด แผนการบริหารจัดการนํา้ ในอนาคต ระยะ เวลา 3-5 ป แบงเปน 2 ระยะ คือ ระยะ เรงดวนและระยะยาว ทั้งนี้ ในระยะเรง ด ว น กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งได เห็นชอบตามขอเสนอของคณะกรรมการ ยุ ท ธศาสตร เ พื่ อ วางระบบการบริ ห าร จัดการทรัพยากรนํา้ ใน 2 เรือ่ ง ไดแก แผน ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ บรรเทาป ญ หาอุ ท กภั ย ระยะเรงดวน ประกอบดวย จัดทําแผนการ บริหารจัดการเขือ่ นเก็บนํา้ หลักและการจัด ทําแผนบริหารจัดการนํ้าของประเทศ เปาหมายเพื่อปรับปรุงระบบการ บริหารจัดการนํ้าของประเทศและระบบ การบริหารจัดการนํ้าในเขื่อนสําคัญใหมี ประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถ การปองกันและบรรเทาอุทกภัยที่จะเกิด ขึ้นในแตละป โดยไดดําเนินการปรับปรุง เกณฑปฏิบัติการอางเก็บนํ้า เขื่อนขนาด ใหญแลวจํานวน 10 เขื่อนหลักในลุมนํ้า เจาพระยา ไดแก เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขือ่ นแมกวงอุดมธารา เขือ่ นแมงดั สมบูรณ ชล เขือ่ นกิว่ ลม เขือ่ นกิว่ คอหมา เขือ่ นแคว นอยบํารุงแดน เขื่อนทับเสลา เขื่อนปาสัก ชลสิทธิ์ และเขื่อนกระเสียว ซึ่งจะทําให สามารถรองรับนํ้าในชวงตนฤดูฝนไดเพิ่ม ขึ้ น 3,440 ล า นลู ก บาศก เ มตร โดย กรมชลประทาน ไดดําเนินการแลวเสร็จ ตั้งแตเดือนมกราคม 2555 นอกจากนี้ ไดจัดทําแผนงานพัฒนา คลังขอมูล ระบบพยากรณและเตือนภัย โดยกรมชลประทานไดดาํ เนินการปรับปรุง
0 0 0 0 0 0 0 0 0
ปะการัง 80,000 กิง่ ทีเ่ ริม่ ตนเพือ่ ลนเกลา” จัดขึ้นโดย บริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน) รวมกับมูลนิธิกิจกรรมวิทยาศาสตรทาง ทะเลและการอนุรักษ เปนโครงการปลูก และขยายพันธุปะการังเขากวางดวยทอ พีวีซี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อขยายพันธุ ปะการั ง เขากวางจํ า นวน 80,000 กิ่ ง ภายในระยะเวลา 5 ป (พ.ศ. 2551-2555) โดยเป น การปลู ก ปะการั ง เขากวางโดย อาศั ย ท อ พี วี ซี ใ นการช ว ยยึ ด เกาะตั ว ปะการั ง ให เ ติ บ โตเป น กิ่ ง พั น ธุ และกิ่ ง อนุ บ าลเพื่ อ ใช ใ นการฟ น ฟู เนื่ อ งจาก ปะการังมีความออนไหวตอสิ่งแวดลอม มาก แตสามารถที่จะอยูกับทอพีวีซี และ สามารถเคลือบกันไดในระยะเวลาเพียง 2 สัปดาหหลังการปลูก เมื่อปะการังอายุ ประมาณ 1 ป ก็จะแยกกิ่งปะการังออก จากแปลงท อ พี วี ซี แล ว นํ า ไปวางตาม แนวปะการั ง ที่ เ สี ย หายหรื อ ถู ก ทํ า ลาย นอกจากนั้ น ยั ง สามารถนํ า แปลงท อ อนุบาลดังกลาวกลับมาใชใหม จึงทําให สะดวกและประหยั ด ทั้ ง ยั ง ได ผ ลการ
ขยายพันธุที่ดี โดยพื้นที่ปลูกปะการังของ โครงการฯ จะอยูบริเวณชายฝงดานอาว ไทย ซึ่งถือเปนทําเลที่เหมาะสมในการ ขยายพันธุปะการังเขากวาง ไดแก พื้นที่ ชายฝงหาดแสมสาร จังหวัดชลบุรี เกาะ ขาม จังหวัดชลบุรี เกาะหวาย จังหวัด
ตราด เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง และเกาะ ทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ โครงการนี้นับเปนจุดเริ่มตนที่ดีใน การกระตุนจิตสํานึกรักษธรรมชาติ และ ร ว มคื น ธรรมชาติ ใ ห กั บ ท อ งทะเลไทย ที่ริเริ่มโดยบริษัทเอกชน อยางไรก็ตาม
การสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการ อนุรักษปะการัง และสิ่งแวดลอม รวมถึง ความรวมมือจากทุกภาคสวนในสังคม ยัง คงเปนสิ่งที่ตองสรางใหเกิดขึ้นอยางตอ เนือ่ ง เพือ่ รวมอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ ของไทยใหยั่งยืนอยางแทจริง
ราคาที่นาพอใจกับทุกฝาย และพรอมที่ จะรวมมือกับภาคเอกชนเพือ่ ใหราคายาง มีเสถียรภาพตามราคาที่กําหนดไว โดย จะเปดโอกาสใหเอกชนเขามามีสวนรวม สงเสริมศักยภาพยางพาราใหมากขึน้ โดย ไดกาํ หนดใหมกี ารประชุมหนวยราชการ และภาคเอกชนที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ ร ว ม พิจารณาถึงแนวโนมราคายาง เจรจา ทิศทางยางพาราในอนาคต และการผลัก ดั น ให ไ ทยเป น ศู น ย ก ลางการซื้ อ ขาย ยางพารา “ป จ จุ บั น ไทยมี ต ลาดกลางอยู หลายแหง แตเนือ่ งจากภาครัฐไมไดรว ม มือกับภาคเอกชนเทาที่ควร ทําใหไม สามารถสรางความเชื่อมั่นใหกับตลาด กลาง ใหเปนผูน าํ กําหนดทิศทางราคายาง แตละวันได ราคายางที่เกิดขึ้นยังตอง อางอิงตลาดตางประเทศเปนหลัก ทั้งที่ ไทยเป น ผู ส ง ออกอั น ดั บ 1 ของโลก ปละกวา 3,00,000 ตัน มูลคา 400,000 ลานบาท ดังนัน้ ควรจะเปนผูน าํ ดานราคา ดวย” นายยุทธพงศ กลาว นายยุทธพงศ กลาววา แนวทาง ในการใช ก ลไกตลาดซื้ อ ขายสิ น ค า เกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย (AFET) ควรเขามามีบทบาทที่จะทําใหราคายาง พารามีความยัง่ ยืน แตปจ จุบนั ตลาดลวง หน า โตเกี ย ว (TOCOM) กลั บ เป น ผูกําหนดราคายาง ในขณะที่ตลาดนี้มี สต็อกนอยมาก ประมาณ 14,000 ตัน หากไทยได เ ป น ผู นํ า การรั บ ซื้ อ ยาง เหมือนกับญี่ปุนจะทําใหไทยมีศักยภาพ และคุณภาพมากขึ้น 2.4 ลานไร ดวยโครงการที่มีเทคโนโลยี สมัยใหม เชน โครงการสูบนํ้า โครงการ ผันนํ้า เปนตน” นายชวลิต กลาว
กาวทันโลก
CSR กับ CSV
ทานคงคุนเคย ั ค วา ‘CSR’ เพื่อ หเ า ทัน ร ส ล นยพั นาป าคมจง สื คน อมล นวคิ หม อง ล มาเสนอเปน มา า ทาน เพื่อ หทุ ทาน มต เทรน จง คันเอามา ตเนือ มาเลาส ัน ง จน ทความที่มีความยาว ลังพอ ี เหมา ั คนมีเวลานอยอยางเรา มอาน ม เลย อ อ เพรา ถา มรจั 2 ค นีจ เปนคนตาม มทัน ร ส พอ น ต นี่เพิ่งตามมาติ
CSR (Corporate Social Responsibility) คือ ารรั CSV (Creating Shared Value) คือ ารสรางสรรคคุ
ิ อ อง ุร ิจตอสังคม คาเพิ่มรวม ัน ห ั สังคม ที่มา
C4
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
กรุงศรี รวมอนุรักษโบราณสถานอยุธยา มิชลิน จัดกิจกรรม
‘ขับขี่ปลอดภัยชวงฤดูฝน’ Michelin Safe on the Road
นางเจนิ ส วน เอกเคอเรน ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) มอบเงิน จํานวน 4,060,000 บาท ภายใตโครงการ “กรุ ง ศรี อ นุ รั ก ษ ศิ ล ปกรรมและโบราณ สถาน จังหวัดบานเกิด” แกนายสหวัฒน แน น หนา อธิ บ ดี ก รมศิ ล ปากร เพื่ อ สนั บ สนุ น การฟ น ฟู บู ร ณะศิ ล ปกรรม และโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา
ÊÊÊ. ¡Í´¤Í True-Google ÊÌҧÊÃä â¤Ã§¡Òà ‘ÍíÒàÀÍÊÌҧÊØ¢’
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ เสริมสรางสุขภาพ (สสส.) รวมกับ บมจ. ทรู คอรเปอเรชั่น กูเกิล รพ.สารภี และ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม จั ด โครงการ “อําเภอสรางสุข” การจัดการสุขภาพ มิติใหมดวยเครือขาย T M 3 และเทคโนโลยีจาก ครั้ง แรกของประเทศไทย โดยมีการสาธิต การถายทอดสดการเก็บขอมูลสุขภาพ ภาวะชุมชนจาก อ.สารภี จ.เชียงใหม ผานเครือขาย T M 3 และ โปรแกรมสื่อสาร ป จ จุ บั น โรคเรื้ อ รั ง เป น ป ญ หาสาธารณสุ ข ลํ า ดั บ ต น ๆ และมักมีอาการแทรกซอนทําให เกิดเปนผูปวยติดเตียงในชุมชน จํ า นวนมาก ในขณะที่ สั ด ส ว น แพทยตอประชากรอยูที่ แพทย 1 คนตอประชากร 2,728 คน สสส. จึงมีแนวคิดจัดทําโครงการ “อําเภอสรางสุข”
มิชลิน หวงใยผูใชรถใชถนนใน ช ว งเข า ฤดู ฝ น จั ด กิ จ กรรม “ขั บ ขี่ ปลอดภัยชวงฤดูฝน” แนะนําเกี่ยวกับ การขับขี่ปลอดภัย การดูแลรักษายาง พรอมบริการตรวจเช็คและเติมลมยาง ฟรี ภายใตโครงการ “M ” ซึง่ เปนโครงการรณรงค เพื่ อ ความปลอดภั ย บนถนนกั บ ยาง มิชลิน ณ ปม ศิริเจริญวัฒนา หนา สถานีขนสงสายใต น า ย เ ส ก ส ร ร ค ไ ต ร อุ ษ กรรมการผู จั ด การใหญ กลุ ม สยาม มิชลิน เปดเผยวา มิชลินตระหนักและ ใส ใจในความปลอดภั ย บนท อ งถนน ดวยความมุงมั่นสรางการสัญจรที่ดีกวา อยางยั่งยืน จึงไดจัดกิจกรรมสงเสริม การขั บ ขี่ ป ลอดภั ย ภายใต โ ครงการ
ซึ่ ง ในป นี้ มิ ช ลิ น ยั ง คงเดิ น หน า จั ด กิจกรรมในโครงการ “M - ขับขี่ปลอดภัยชวงฤดู ฝน” เพื่อกระตุนเตือนใหผูขับขี่ใชรถ ใชถนนในชวงหนาฝนดวยความระมัด ระวัง เนื่องจากพื้นถนนที่เปยก และฝน ที่ ต กลงมาขณะขั บ ขี่ อาจทํ า ให เ กิ ด อุบัติเหตุไดงายขึ้น และยางเปนสวน เดี ย วของพาหนะที่ สั ม ผั ส กั บ พื้ น ถนน โดยตรง ดังนั้น เพื่อรักษาสมรรถนะ สูงสุดของยาง จึงควรตรวจเช็คลมยาง อยางนอยทุก 2 สัปดาห ความดันลม ยางที่ ถู ก ต อ งจะช ว ยลดความเสี่ ย ง ในการสู ญ เสี ย การควบคุ ม รถ และ ช ว ยไม ใ ห ย างสึ ก กร อ นก อ นเวลา อั น ควร อี ก ทั้ ง ช ว ยในการประหยั ด นํ้ามันดวย
และในปนี้ ยังได ขยายกลุมเปาหมายไป ยังผูขับขี่รถสาธารณะ เชน รถตู และรถแท็กซี่ เนื่องจากเปนพาหนะ ที่มีผูใชบ ริ การมากใน ช ว งฤดู ฝ น จึ ง จั ด ที ม งานที่ ผ า นการอบรม “M
ซึ่ ง เป น การพั ฒ นาต น แบบการ ทํางานของเครือขายสุขภาพระดับอําเภอ โดยนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาเชื่อมโยง กับระบบบริการสุขภาพ ชวยจัดการตัง้ แต ระดั บ ปฐมภู มิ จ นถึ ง การลดภาวะโรค โดยที่ชุมชนสามารถเรียนรูและวางแผน ร ว มกั น เพื่ อ นํ า ไปสู ก ารแก ป ญ หาที่ ตรงจุด โดยมี อ.สารภี เปนตนแบบ และ เตรี ย มดํ า เนิ น การในอี ก 2 พื้ น ที่ คื อ อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ และ อ.กุ ินารายณ
จ.กาฬสินธุ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท กลาววา พันธมิตรไมวาจะเปน ทรูมูฟ กูเกิล และ มช. ต า งเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ กั บ โครงการอําเภอสรางสุขนี้ จึงมีการรวม มื อ กั น นํ า ระบบเทคโนโลยี ข องแต ล ะ องค ก รเข า มาช ว ยบริ ห ารจั ด การใน ระบบขอมูลสุขภาพของชาวบาน คาดวา จะทยอยกระจายตนแบบนี้ออกไปใน หลายๆ พื้นที่ในประเทศไทยตอไป
” มาอยาง ตอเนื่อง ไมวาจะเปน กิจกรรม F A ที่ ร ณ ร ง ค ใ ห ผู ขั บ ขี่ ต รวจเช็ ค ลม ยางกอนออกเดินทาง โดยเ พาะในช ว ง เทศกาลที่ มี วั น หยุ ด ยาวต อ เนื่ อ ง เพื่ อ การเดิ น ทางที่ ปลอดภัยยิ่งขึ้น หรือการจัดกิจกรรม M รณรงคใหกลุม เยาวชน คนรุนใหมที่เปนวัยเริ่มตนขับขี่ ปรับ พฤติกรรมการใชรถใชถนนเพื่อความ ปลอดภัย และลดอุบัติภัยบนทองถนน
ดานการตรวจเช็คสภาพรถเบื้องตนทั้ง ภาคทฤษ ี และปฏิบัติ ซึ่งไดรับความ ร ว มมื อ จากมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ สงนักศึกษา มาใหบริการตรวจเช็คลมยางและสภาพรถ เบื้องตนใหกับผูขับขี่รถสาธารณะ ณ ปม หนาสถานีขนสงสายใต
A2
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
จากกอง
บรรณาธิการ
ตองยอมรับวา ลกออนไลน มี อิทธิพลตอการใชชวี ติ ของคนปจจุบนั ถา นํามาใชในทางสรางสรรคก็สามารถสราง มูลคาเพิ่มได โดยเ พาะชองทางในเรื่อง การค า ซึ่ ง กรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า กระทรวงพาณิชย เห็นชองทางนี้ จึงไดเปด โครงการ “ -C สรางคลืน่ ลูกใหมผปู ระกอบธุรกิจไทย”
ครงการดังกลาว เปนการสงเสริม การใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ C ในการเริม่ ตนประกอบธุรกิจ และใชเปนเครื่องมือขยายตลาด พรอม สรางประสบการณใหนักศึกษา ดวยการ ฝกปฏิบัติจริงในการสรางรานคาออนไลน ตัง้ เปาผลักดันผูป ระกอบการ ทายาทธุรกิจ สหกรณ ธุรกิจที่อยูในความสงเสริมของ กรมพัฒนาธุรกิจการคา นักศึกษา และ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ทั่ ว ไปให ส ร า งร า นค า ออนไลนจาํ นวน 200 รานคา กอนตอยอด โครงการใหแพรหลายยิ่งขึ้น ซ่งสอดคลองกับปจจุบันอินเทอร
มอ เงน : สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปนประธานในพิธีมอบสัญญา รับเงินสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน “โครงการ สงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ป 2555”
วันเวลาลวงเขาสู สัปดาหสุดทาย ของเดือนนี้กัน ลวน นั่นกหมายความ วาปร เทศไทยกําลังจ กาวเขาสูวสันต ดู อยางเปนทางการเสียที หลาย คนบน อุบคิด งพร พิรุ จ ยอยู ลว หลังจาก ที่ พ านพบกั บ มหกรรมรอ นตับ ตกอยู นานสองนาน ขออยางเดี ย วอยาตก บาร หํา่ จนไมเปนอันทํามาหากิน ลวกัน ตกพอหอมปากหอมคอใหบรรยากาศเยน สบายกพอ ลว ❒❒ ราวๆ กลางเดือน ที่ผานมา โรงเรียนทั่วประเทศตางทยอย เปดภาคเรียนกันไปเปนที่เรียบรอย โดย เ พาะในกรุงเทพฯ ยามเชารถติดวินาศ สันตะโร ดวยเพราะผูปกครองบึง่ รถไปสง บุตรหลานยันปากประตูโรงเรียน บางแหง จากถนนทีม่ ี 3-4 เลน โดนรถสงนักเรียน ดังกลาวครอบครองพืน้ ทีท่ าํ กินไปเกินครึง่ เหลือเลนเดียวใหรถทั่วไปหรือคนที่กําลัง จะไปทํางานไดใชกันอยางหยุมหยิม นี่แค ตอนเชานะ ตอนเย็นหลังโรงเรียนเลิกเปน ยังไงคงไมตอ งบอก ❒❒ ร ติด คือ
เน็ ต เป น ช อ งทางในการติ ด ต อ สื่ อ สาร ที่ สํ า คั ญ และมี แ นวโน ม เพิ่ ม ขึ้ น ตาม สภาวการณของโลก และบริบทใหมของ โลกในทศวรรษหน า เทคโนโลยี จ ะมี บทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและ ตอบสนองการดํารงชีวติ ของประชาชนมาก ขึน้ โดยเ พาะอยางยิง่ พาณิชยอเิ ล็กทรอ นิกสที่กลายเปนเครื่องมือทางการคาที่ สําคัญและมีบทบาทตอการเพิ่มศักยภาพ ในการทําธุรกิจ ชวยลดตนทุนและสราง
ด
จาล หวั่นกันทั่ว าคใต เมื่อตน สัปดาหที่ ลว จู ไ าดับกลางคัน ครอบคลุมพื้นที่ 1 จังหวัด ตกอยู ใน ความมืดมิดชั่วคราว พงษศักดิ์ รีบ ขอ ทษพี่ น อ งชาวปกษ ใ ต ที่ กํ า ลั ง ตื่ น ตร หนก พรอมชี้ จงสาเหตุที่ไ าดับ วาเกิดจากร บบสายสงทีก่ าํ ลังซอม ซม ู ก า ผา ด า น ก ผ. ปดขาวสร า ง ส านการ เพื่อใหเกิดความชอบ รรม ในการสราง รงไ า านหินทีก่ ร บี่ จาก ที่ ูกตอตานอยางหนักกอนหนานี้ เกิดเหตุไฟฟาดับ 14 จังหวัดทัว่ ภาค ใต เมื่อเวลา 18.52 น. ของวันที่ 21 พ.ค. 56 ทีผ่ า นมา ไดแก ชุมพร นครศรีธรรมราช
เสอหมอบ มวเ า
เป น แผนการของภาครั ฐ ที่ ต อ งการ เสี้ยมสอนพี่นองในพื้นที่ที่ออกมาตอตาน การสรางโรงไฟฟาถานหินที่ จ.กระบี่ กอน หนานีห้ รือไม เพราะทาง กฟผ. ดึงดันจะ ตองสรางใหได แตทางดาน สุทศั น ปทม ศิริวัฒน ผูวาการ กฟผ. ก็ออกมาชี้แจง สาเหตุของการเกิดไฟดับพรอมเพรียงกัน โดยมิ ไ ด นั ด หมายในครั้ ง นี้ ว า เกิ ด จาก สายสงไฟฟาเชือ่ มโยงขนาด 230 เมกะวัตต ระหวางภาคกลางกับภาคใต ทีส่ ถานีไฟฟา ใหญ อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรขี นั ธ ไม สามารถจายไฟฟาไดกะทันหัน ซึง่ เบือ้ งตน อาจจะเกิดจากไฟช็อต ประกอบกับโรง ไฟฟาที่ จ.กระบี่ หยุดซอมแซมอยู ทําใหมี
มอ วามส : บมจ.นวกิจประกันภัย รวมกับ “วิทยุครอบครัวขาว FM 10 ” จัดกิจกรรม “มอบความสุข เติมรอยยิ้ม” และรวมเลี้ยงอาหาร กลางวันใหกับผูสูงอายุ ณ ศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผูสูงอายุ จ.ปทุมธานี โดยมีพนักงานกลุม “นวกิจจิตอาสา” ผูประกาศขาวชอง 3 และศิลปนดารารวมสรางความสุขและแบงปนรอยยิ้ม
ร
ตอ า หนา...
ก ม า ออ ไ
ตอนรั : คณะทีมผูบริหาร บริษัท ที ไอ พี เอส ทาเทียบเรือตูสินคา ทา บี 4 ทาเรือแหลม บัง จ.ชลบุรี นําโดย ชัชวาล เกตุทะเล รองกรรมการ ผูจัดการ ตอนรับคณะกลุมผูเยี่ยมชม นําโดย aniei uah ผูจัดการ ทั่วไป บริษัท ฮุนได เมอรชานท มารีน (ประเทศสิงคโปร) จํากัด เนื่อง ในโอกาสเขามาศึกษาดูการป ิบัติการวางแผนเรือและตูสินคา
ปญหาทีไ่ มวา รัฐบาลสถิตลงมา จ า ก ส ว ร ร ค ชั้ น ไ ห น ก็ ไ ม สามารถแกไขไดอยางแนนอน เรือ่ งนีข้ อฟนธง แลวเตรียมตัว รั บ การจราจรเป น อั ม พาต อยางตอเนื่องในชวงสิ้นเดือน นี้ ตอตนเดือน มิ.ย. เนือ่ งจาก สถาบั น ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาก็ จ ะถึ ง คิ ว เป ด เทอมแลวเชนเดียวกัน จากที่รถติดเยี่ยง กาวอยูแ ลวก็จะเพิม่ ความหนึบไปอีกเทาตัว วิธแี กอยางเดียวก็คอื ทําใจ ❒❒ เรือ่ ง ใหญเรื่องโตกลางสัปดาหที่แลวคงไมมีใคร เกิน ยุท การดับไ ใต บางคนไดยนิ ขาว นีถ้ งึ กับตาลุกวาว แถมกระทุง วา เปนไป ไดอยางไรกัน พวกกอความไมสงบบีอาร เอนหยุ ด ยิ ง ล ว หรื อ นี่ ที่ ไ หนได เ ป น เหตุก ารณไ ฟฟา ดั บทั่ ว ป ก ษ ใ ต ก ว า 14 จังหวัด เลนเอาพีน่ อ งชาวดามขวานตกอยู ในวังวนแหงความมืด ตองรีบจุดเทียน แกขดั ไปพลางๆ ❒❒ ถึงขัน้ มีการลือสนัน่ วา ไฟฟาดับยกภาคในครั้งนี้ไมแนวาจะ
จัดกจกรรม : ดร.อุตตม สาวนายน รองอธิการบดีอาวุโส มหาวิทยาลัย กรุงเทพ จัดกิจกรรม “MME Open House” เพื่อแนะนํา “หลักสูตร ปริญญาโท การจัดการมหาบัณฑิต สาขาความเปนผูประกอบการ” โดยมี Tom Simon, นภัสถ อัสสกุล, ดร.พิชิต อัคราทิตย, ดร.โกศล ทรัพย ประเสริ , ดร.วุฒนิพงษ วราไกรสวัสดิ์ รวมงาน
ค
มอ นการ ก า ก ตร : พเยาว มริตตนะพร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ทางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) มอบทุนการศึกษาแกบุตร-ธิดา พนักงานบริษทั ทีม่ ผี ลการเรียนดีเดนระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ซึ่งเปนการมอบทุนตอเนื่องเปนปที่ 7
ปริมาณไฟฟาเขาสูร ะบบจายไฟไมเพียงพอ ❒❒ แลวควันหลงจากเหตุการณความ มืดมิดในครัง้ นีก้ ใ็ สไขกนั ไปตางๆ นานา ถึง ขั้นที่วา กลุมผูกอความไมส งบจะ วย โอกาสนีล้ อบเลนงานเจาหนาทีร่ ฐั และจะ ทํ า การวางระเบิ ด ปลิ ด ชี พ ตามสถานที่ ตางๆ สรางความโกลาหลไปทัว่ คุง ประชาชน ระดมโทรติดตอเขามาทางหนวยงานของ การไฟฟาและหนวยงานความมั่นคงแบบ ไมรามือ จนเครือขายแทบจะลม ณ บัดนัน้ หลังจากนีต้ อ งตามดูกนั ตอไปวากระทรวง พลังงานจะทําความเขาใจและเขาไปแก ปญหาเดิมๆ ซํา้ ๆ ซากๆ แบบนีอ้ กี อยางไร ❒❒ มาที่ประเด็นดานผลกระทบจาก ค า เงิ น บาทแข็ ง โปกกั น บ า ง บุ ทรง เตริยา ริ มย รมว.พาณิชย ฟนเปรีย้ งออก มาแลววา ตอนนีจ้ ะมีการปรับลดเปาการ สงออกจากเดิมทีต่ งั้ เอาไว 8-9 ดาวนลง มาเหลือ 7-7.5 เทานั้น และมีมูลคาที่ 245,000-246,000 ลานดอลลารสหรัฐ ซึง่ ได ป รึ ก ษาหารื อ กั บ ทู ต พาณิ ช ย ใ นการ
ออนไลน การบริหารจัดการ และเทคนิค การตลาดออนไลน ( -M ) รวม ไมนอ ยกวา 36 ชัว่ โมง รุน โครงการจะ จัดหาโดเมนเนมและพืน้ ทีเ่ ว็บไซตเปนเวลา 1 ป จํานวนไมนอ ยกวา 200 เว็บไซต เพือ่ การฝกปฏิ บั ติ จ ริ ง โดยจะติ ด ตามการ ดําเนินงานของผูเ ขารวมโครงการและใหคาํ ปรึกษาตลอดระยะเวลาโครงการ 1 ป จาก นัน้ จะทําการคัดเลือกรานคาออนไลนดเี ดน โดยพิจารณาจาก M และ ผลการเขารวมการพัฒนาจํานวนไมนอย กวา 4 เว็บไซต เพือ่ เผยแพรเปนตนแบบ การประกอบธุรกิจ -C
สัมมนา : เอ็มมานูเอล มิญโญต ผูจัดการใหญธุรกิจนํ้ามันหลอลื่น ประเทศไทย ฟลิปปนส เวียดนาม และเกาหลี นําทีมขายและทีม เทคนิคนํา้ มันหลอลืน่ เชลล จัดงานสัมมนา “คืนประสิทธิภาพสูงสุดให เครื่องจักรดวยสุดยอดเทคโนโลยีการหลอลื่นจากเชลล” ใหความรู เกี่ยวกับการใชเครื่องจักรอยางเต็มประสิทธิภาพแกลูกคา
ประชุมรวมกันมา เปนอยางดีแลว ซึง่ หากไม ล ดเป า ก็ จะไม ส ามารถไป กํ า ห น ด ร า ค า แขงขันกับประเทศ คูแขงได เกมนี้คง กระดอนไปที่ รมว. คลัง และผูวาการ แบงก ช าติ อ ย า ง นน ช : อานุสรา จิตตมิตรภาพ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท แนนอน ❒❒ ปด ไปรษณียไทย จํากัด (ปณท) รวมดวย อํานวย ทองสถิตย อธิบดีกรม ท า ย กั น ที่ ก า ร พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน ลงนามบันทึกขอตกลงความ โยกยายขาราชการ รวมมือ (MO ) “โครงการทดลองการใชนาํ้ มัน E- 5 กับรถจักรยานยนต ท า ง ก า ร เ มื อ ง ระบบหัว ีด” รณรงคใหพนักงานหันมาใชนํ้ามันแกสโซฮอล E- 5 ตําแหนงที่นาสนใจ และเปนที่ปอปปูลารก็คือ ษกสํานัก กลาวถึงคงจะไมไดกค็ อื คุ ห งิ พรทิพย นายกฯ ได ผู ป ระกาศข า วและพิ ธี ก ร รจนสุนันท ผอ.สํานักนิติวิทยาศาสตร รายการ นายกฯ ยิ่ ง ลั ก ษ พ บ กระทรวงยุตธิ รรม ตองจําใจโบกมือลาเกาอี้ ปร ชาชน รี ตั รัตนเสวี มาเปนเจาของ ตัวโปรดทีน่ งั่ มาอยางยาวนาน สไลดเขากรุ ไมคแทนทีข่ อง หมอทศพร เสรีรกั ษ รอง ไปเปนผูต รวจราชการ และให พ.ท.เอนก ุ หญิงหมอ เลขาธิการนายกฯ และอีกตําแหนงที่ไม ยมจินดา มานัง่ แทนทีค่ ณ
เ โ ม : มารค ริชารด บราวน กรรมการผูจัดการ และ ปยะนันท งาม ทวีกิจ ผูจัดการ ายการตลาด บจก.อินวิดา (ประเทศไทย) เปดตัว ผลิตภัณฑใหม “ไกลเดอรม สเตรทชมารค ครีม” L E M STE CH MA C EAM ครี ม ลดเลื อ นริ้ ว รอยแตกลาย ที่ พั ฒ นาขึ้ น ด ว ย นวัตกรรม ual Active จากประเทศ รั่งเศส
ทั้งหมดตั้งแตเวลา 23.45 น. พรอมกันนี้ตนไดสั่งการใหมีการตั้ง คณะทํางานเพื่อตรวจสอบขอเท็จจริงตอ ไป ยอมรับวาเหตุการณครัง้ นีถ้ อื เปนไฟฟา ดับเปนวงกวาง ซึ่งจะไดมีการนําบทเรียน ครั้ ง นี้ ม าศึ ก ษาที่ จ ะหาแนวทางป อ งกั น ได ป ระสานกั บ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ปญหาทั้งในระยะสั้นและระยะยาวตอไป ประเทศไทย (กฟผ.) ศูนยปองกันและ อี ก ครั้ ง เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ ด เหตุ ก ารณ เช น นี้ บรรเทาสาธารณภัย พรอมหนวยงานที่ ซํ้าแลวซํ้าเลา สํ า หรั บ สาเหตุ ไ ฟฟ า ดั บ ครั้ ง นี้ เกี่ยวของใหความชวยเหลือโดยเรงดวน กระทั่งในเวลาประมาณ 23.00 น. กฟผ. ทางการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จึงสามารถกูส ถานการณกลับมาไดทงั้ หมด (กฟผ.) ไดเขาตรวจสอบขอมูล พบวา มี สาเหตุเกิดจากการขัดของของระบบสายสง 100 เต็ม นายพงษ ศั ก ดิ์ รั ก ตพงศ ไ พศาล ไฟฟาแรงสูงทีจ่ า ยไฟฟาจากภาคกลางไปยัง รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปดเผย ภาคใต ซึง่ สายสงทีจ่ า ยไฟฟาไปยังภาคใตมี ถึงกรณีกระแสไฟฟาดับเปนวงกวางใน 4 วงจร คือ สาย 500 จํานวน 2 วงจร พื้นที่ภาคใต 14 จังหวัด วา กอนอื่นคงจะ และสาย 230 จํานวน 2 วงจร โดยในชวงเชาของวันที่ 21 พ.ค. 56 ต อ งขอโทษกั บ พี่ น อ งประชาชนชาวใต ที่ ต อ งได รั บ ผลกระทบ ซึ่ ง ทุ ก ฝ า ยที่ กฟผ. ไดปลดสายสง 500 จํานวน 1 เกีย่ วของไดเรงเขาดําเนินการแกไขเรงดวน เสน เพื่อทําการซอมบํารุง ในชวงเย็น จนสามารถทยอยจ า ยกระแสไฟฟ า ได สายสง 500 เสนที่ 2 เกิดการชํารุด
ป จั า ุ รง าถานหินภาค ต นราธิวาส ปตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต กระบี่ ระนอง สตูล สงขลา สุราษ รธานี ตรัง และยะลา สาเหตุจากสายสงขนาด 500 ซึ่ ง เป น สายส ง จอมบึ ง ประจวบคีรีขันธ ที่เปนสายสงหลักที่สง ไฟฟาจากภาคกลางไปภาคใตเกิดขัดของ ตอมาในเวลา 21.50 น. สถานการณไฟดับ ภาคใต ก็ ส ามารถแก ไขติ ด ครบทั้ ง 14 จังหวัดแลว แตยังไมเต็มระบบทั้งพื้นที่ บางพื้นที่ยังไมสามารถใชการได 100 บางพื้นที่ยังมีอาการดับสลับติดเปนชวงๆ รวมระยะเวลาที่ ไ ฟฟ า ดั บ ประมาณ 3 ชั่วโมง โดย จ.สุราษ รธานี ไฟฟายังคงใช การไมไดในบางพื้น กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
โอกาสในการขยายกลุมลูกคา ขยายเวลา และสถานที่สําหรับทําการคาใหมากขึ้น รวมถึงขยายการคาไปสูสากลเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข ง ขั น และสร า ง มูลคาเพิม่ ทางเศรษฐกิจใหกบั ประเทศ กรมพัฒนา ุรกิจการคา มีบทบาท ในการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจใหมีการ บริหารจัดการสมัยใหม สรางโอกาสในการ ขยายตลาดใหภาคธุรกิจ ไดมีการพัฒนา ผูประกอบธุรกิจทั่วไปและธุรกิจรายสาขา
รวมทั้งสงเสริมการใชพาณิชยอิเล็กทรอ นิกสเปนเครือ่ งมือในการเริม่ ตนธุรกิจ หรือ ขยายตลาด เพิม่ ประสิทธิภาพและขีดความ สามารถในการประกอบธุรกิจใหแกภาค ธุรกิจไทยมาอยางตอเนื่อง ในการสราง ผูป ระกอบธุรกิจรุน ใหมจาํ เปนตองสรางพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแรงตัง้ แตในระดับการศึกษา และ สรางทายาทธุรกิจใหเปนกําลังสําคัญสราง ความเติบโตทางธุรกิจของผูป ระกอบการ สําหรับการจัดอบรมเชิงป บิ ตั กิ าร ( ) โครงการ C สรางคลื่นลูกใหมผูประกอบ ธุรกิจไทย เปนหลักสูตรการสรางรานคา
ตอ าวหนา
โปรเจง : แบงกออฟไชนา เอาใจลูกคาผูถ อื บัตรเครดิต reat Wall เพือ่ กระตุนการใชจายของลูกคา จัดโปรโมชั่น รูดงายรับงาย iPad Mini มูลคา 15,200 บาท โดยไมตองลุน ไมตองสงชิงโชค ไมตองลงทะเบียน เพียงมียอดใชจา ยผานบัตรติดตอกัน 4 รอบบัญชี ระหวางวันที่ 1 เม.ย.27 ก.ย. 5 รวมตั้งแต 200,000 บาทขึ้นไป บัตร
คาดว า เกิ ด เนื่ อ งจากฟ า ผ า ทํ า ให ไ ม สามารถจายไฟฟาลงภาคใตได จึงจําเปน ตองจายไฟฟาผานสายสงเสน 230 ซึ่ง มีขนาดเล็กกวา จึงทําใหสายสงจายไฟฟา เกินพิกัดสงผลใหสายสงหลุดจากระบบ “จากการที่ภาคใตไมสามารถผลิต ไฟฟาไดเพียงพอและตองพึ่งพาการสง ไฟฟาจากภาคกลางผานสายสงดังกลาว โดยความตองการใชไฟฟาที่มีสูงถึง 2200 M ในขณะที่โรงไฟฟาภาคใตมีกําลังการ ผลิตเพียง 1600 M ทําใหโรงไฟฟาอื่น ในภาคใต อาทิ โรงไฟฟาขนอม โรงไฟฟา จะนะ และโรงไฟฟาเขื่อนรัชประภา ถูก ปลดออกจากระบบโดยอัตโนมัตเิ นือ่ งจาก ความความถี่ไฟฟาลดลงตํ่ากวามาตรฐาน 50 (เ ริ ตซ) เพือ่ ความปลอดภัยของโรง ไฟฟา ทําใหเกิดไฟฟาดับเปนวงกวางตัง้ แต เวลาประมาณ 18.52 น. ของเย็ น วั น ดังกลาว” รมว.พลังงาน เผย นายสุทัศน ปทมสิริวัฒน ผูวาการ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย
(กฟผ.) ระบุวา ในปจจุบันความตองการ ไฟฟาในภาคใตนั้น เพิ่มขึ้นราวรอยละ 6 ตอป โดยเ พาะอยางยิ่งในจังหวัดชายฝง อันดามัน แตขณะเดียวกันระบบผลิตไฟฟา ในพื้นที่ภาคใต ยังตองพึ่งการสงกระแส ไฟฟาจากภาคกลางเปนบางสวน ซึ่งการ สงมีลักษณะเปนคอขวดตามภูมิประเทศ ทําใหมีความความเสี่ยงตอระบบสงไฟฟา คอนขางสูง “จากปญหาดังกลาว ทาง กฟผ. จึง มีแนวทางในการพัฒนาโรงไฟฟาในพื้นที่ ภาคใตและขยายระบบสงเพิ่มขึ้น ไดแก การกอสรางโรงไฟฟาจะนะแหงที่ 2 ที่ กําลังกอสรางและจายไฟฟาเขาสูระบบได ในป 2557 และขณะนี้ ทาง กฟผ. ก็อยู ระหวางการศึกษาความเหมาะสมโครงการ ขยายกําลังการผลิตโรงไฟฟากระบี่ใชเชื้อ เพลิงถานหินนําเขา รวมทั้งการปรับปรุง ระบบส ง ให มี ค วามมั่ น คงยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง จะ เปนการลดความเสี่ยงตอระบบไฟฟาแก ภาคใตในระยะยาว” นายสุทัศน กลาว
Bangkok Airport Outbound Air Cargo Statisties
Unit : Kgs Prepared by Airline Cargo Business Association
For the month Jan-Feb 2012
To Area 2
To Area 1 USA CANADA South America Others Total Weight
11,312,177 461,518 1,239,702 376,930 13,390,327
Africa Austria Belgium C.I.S. Denmark France Total Weight
1,041,599 260,535 647,211 947,655 364,650 1,070,706 20,836,047
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
Germany Italy Kuwait Netherlands Oman Saudi Arabia
4,305,232 752,365 131,198 2,681,499 229,438 445,067
Spain Sweden Switzerland U.A.E. United Kingdom Others
296,017 324,162 738,867 1,439,910 2,398,628 2,761,308
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ก
า
A3
า
ังนาเงน าย น ย ด 2 ร จ ทัศพล บิก เผย ไดขายหุน จํานวน ลาน หุน สนับสนุนการเติบ ตของสายการบินไทยแอรเอเ ยี ในอนาคต หวัง นําเงินจากการขายหุนไปตอยอด ุรกิจ ทั้งการลงทุนจัดตั้งสายการ บินใหม รวมทุนกับสายการบินแอรเอเ ยี มาเลเ ยี รวม งพัฒนา รุ กิจ รงแรมระดับ ดาว คาดผลการดําเนินงาน ดีกวาปที่แลว แนนอน นายทัศพล บเลเวลด ประธาน เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารสายการบิ น ไทยแอร เอเชี ย และกรรมการ บริ ษั ท เอเชี ย เอวิเอชั่น จํากัด (มหาชน) หรือ AA เปด เผยวา เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม ที่ผานมา ตนเองไดทาํ การขายหุน AA ทีถ่ อื อยูอ อก ไปจํ า นวน 235 ล า นหุ น หรื อ คิ ด เป น 4.8 ของจํานวนหุน ทีอ่ อกและชําระแลว ทั้ ง หมดผ า นการซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย รายใหญ ( ) ในราคาขายหุนละ 6.50 บาท คิดเปนมูลคารวม 1,527.50 ลานบาท เพื่อนําเงินไปลงทุนในธุรกิจ ซึ่ง จะช ว ยสนั บ สนุ น การเติ บ โตของสาย การบินไทยแอรเอเชียในอนาคต และนํา ไปลงทุนในธุรกิจสวนตัวอื่นๆ รวมถึงจาย ชําระภาระทางการเงินสวนตัว ทั้ ง นี้ หลั ง จากการทํ า รายการ
ดังกลาว ตนยังคงรักษาสัดสวนในการเปน ผู ถื อ หุ น ใหญ ใ น AA ที่ 28.2 ของ จํานวนหุนที่ออกและชําระแลวทั้งหมด และยังคงดํารงตําแหนงประธานเจาหนาที่ บริหารตอไป โดยการทํารายการดังกลาว ไมมผี ลกระทบตอการบริหารงาน และการ ดําเนินธุรกิจของบริษัท สํ า หรั บ เงิ น จากการขายหุ น ครั้ ง นี้ จะนํามาตอยอดใน 2 ธุรกิจ คือ การลงทุน จัดตั้งสายการบินใหม โดยรวมทุนกับสาย การบินแอรเอเชียมาเลเซีย และตนจะเปน ผูถือหุนใหญ มีวัตถุประสงคที่จะจัดหา เครื่องบินขนาดใหญมาใหบริการเ พาะ เสนทางบินระหวางประเทศที่บินเกิน 4 ชั่วโมง เพื่อนําผูโดยสารมาสงตอใหกับ สายการบินไทยแอรเอเชีย เสมือนเปนการ เอื้อประโยชนกัน และจะไมมีเสนทางบิน
ั ล
ที่ทับซอนกัน ซึ่งเชื่อวาปลายปนี้สายการ บิ น ใหม ดั ง กล า วจะเริ่ ม ให บ ริ ก ารได นอกจากนี้ จะนําเงินสวนหนึ่งมาพัฒนา ธุรกิจโรงแรมระดับ 2-3 ดาว ทีข่ ณะนีม้ อี ยู 2 แหง บริเวณถนนเพชรบุรี เพื่อรองรับ
รวม สแตนด รด รเตอรด อง ังพ ันสร งคว มส เร
บริษทั การบินไทย จํากัด มหาชน รวมกับ นาคารส ตนดารดชารเตอรด ไทย จํากัด มหาชน รวม ลอง 1 ทศวรรษ หงความรวมมื อ ล ความ สําเรจในการเปนสายการบินชั้นนําของ ลก ดยในชวงกวา 10 ปที่ผ านมา การบินไทย ล นาคารไดพัฒนาความ สั ม พั น ผ านความรวมมื อ เพื่ อ จั ด หา เครื่องบิน ง ลํา รวมมูลคาทั้งสิ้นกวา 1 000 ลานบาท ดร.สรจักร เกษมสุวรร กรรมการ ผูอํานวยการใหญ การบินไทย กลาววา การจัดหาเครื่องบินใหมของการบินไทย เปนสวนหนึ่งของการดําเนินกลยุทธใน การพัฒนาเครือขายเสนทางบินและฝูงบิน นอกจากนัน้ ยังเปนการเพิม่ ประสิทธิภาพ ของฝูงบินดวยการจัดหาเครื่องบินใหม ทดแทนการปลดระวางเครื่องบินที่มีอายุ การใชงานมานาน และเพิ่มปริมาณการ ผลิ ต เพื่ อ รองรั บ การเจริ ญ เติ บ โตของ
ผู จั ด การใหญ แ ละประธานเจ า หน า ที่ บริหาร ธนาคารสแตนดารดชารเตอรด (ไทย) กลาววา ธนาคารมุงเนนการพัฒนา ความสัมพันธระยะยาวและนําเสนอการ ใหบริการทางการเงินที่หลากหลายเพื่อ สนั บ สนุ น การขยายตั ว ทางธุ ร กิ จ ของ บริ ษั ท คู ค า ของธนาคาร โดยสํ า หรั บ การบินไทย เราดําเนินธุรกิจรวมกันครั้ง แรกในป 2545 และจนถึงป 2556 นี้ เรา ได เ ป น ธนาคารหลั ก ในการสนั บ สนุ น ทางการเงินเพื่อการจัดหาเครื่องบินทั้งสิ้น 7 ลํ า มู ล ค า การสนั บ สนุ น ทั้ ง สิ้ น กว า 12,000 ลานบาท รวมทั้ ง การสนั บสนุ น ผ า นรู ปแบบ การใหบริการทางการเงินที่หลากหลาย เชน การเชาซือ้ เครือ่ งบินโดยใชสนิ เชือ่ เพือ่ การบินไทย การสงออก โดยมีธนาคารเพื่อการสงออก ทั้งนี้ ในชวง 1 ทศวรรษที่ผานมา และนําเขา ทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา สะท อ นให เ ห็ น ถึ ง กลยุ ท ธ ที่ มี เ ป า หมาย เปนผูคํ้าประกันเงินกู (E C ชั ด เจนของการบิ น ไทยในการพั ฒ นา F ) การเชาดําเนินงานเครื่องบิน ผลิตภัณฑและการใหบริการของสายการ (A O ) เงินกูระยะ บิ น จนถึ ง ป จ จุ บั น ทํ า ให ก ารบิ น ไทยมี ยาว (T ) และวงเงินสินเชื่อ ฝูงบินที่มีเครื่องบินใหมและทันสมัย ทั้งนี้ หมุนเวียน (C C ) เพื่อเปนการตอบสนองความตองการและ “เรามีความภูมิใจที่ไดเปนสวนรวม สรางความพึงพอใจแกผูโดยสาร จนทําให ในการพัฒนาการใหบริการสายการบิน มี จํ า นวนผู โ ดยสารเพิ่ ม สู ง ขึ้ น และเพื่ อ แหงชาติใหเปนหนึ่งในสายการบินชั้นนํา รองรับนักทองเที่ยวที่จะเดินทางเขามายัง ของโลก และการบิ น ไทยจํ า เป น ต อ งมี ประเทศไทย ทําใหสามารถสนับสนุนการ ความเขมแข็งในทุกๆ ดานเพื่อใหสามารถ ท อ งเที่ ย วของประเทศไทยได อ ย า งมี แขงขันกับคูแขงทั้งในดานการบริการที่ดี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี ก ารคาดการณ ว า อย า งต อ เนื่ อ งและสมํ่ า เสมอ โดยนอก ตัวเลขนักทองเที่ยวที่จะเดินทางเขามาใน เหนื อ จากฝู ง บิ น ที่ มี ค วามทั น สมั ย และ ประเทศไทยในป 2556 จะมีถึง 23 ลาน บริการที่เปนเลิศแลว ความมั่นคงทางการ คน หรือมากกวาเดิมกวารอยละ 10-13 เงิ น และความคล อ งตั ว ในการบริ ห าร ซึ่ ง การบิ น ไทยได รั บ การสนั บ สนุ น เป น จัดการความเสี่ยงตางๆ ลวนแลวแตเปน อยางดีจากธนาคารสแตนดารดชารเตอรด ปจจัยที่จะสงผลตอการดําเนินงานของ ดาน นางสาวลิน ค็อก กรรมการ บริษัททั้งสิ้น” นางสาวลิน กลาว
นักทองเที่ยว โดยเ พาะชาวจีน อยางไรก็ดี ในสวนของแนวโนมผล การดําเนินงานไตรมาส 2 2556 (เม.ย.-
เลเว็ลด
มิ.ย.) จะดีกวาปที่แลวแนนอน เพราะ ลาสุดมีอัตราสวนการบรรทุกผูโดยสารตอ เที่ยวบิน (C F ) 81-82 ขณะ
ปกอนอยูที่ 78 ซึ่งปจจัยหนุนที่สําคัญ คือสถานการณภายในประเทศสงบ และ ราคานํ้ามันไมผันผวน สวนชวงครึ่งปหลัง (ก.ค.-ธ.ค. 56) เชื่ อ ว า การท อ งเที่ ย ว ภายในประเทศจะเติบโตดีที่ 20-25 ซึ่ง จะสงผลใหธรุ กิจสายการบินเติบโตไปดวย สํ า หรั บ ไทยแอร เ อเชี ย แล ว ทั้ ง ปริมาณผูโดยสารและรายไดก็จะเติบโต ในระดับ 20-25 ตามการทองเทีย่ วเชน กัน สวนเรื่องเงินบาทแข็งคานั้นไมได ส ง ผลกระทบแบบมี นั ย สํ า คั ญ กั บ ผล ประกอบการ เพราะไทยแอร เ อเชี ย มีรายไดเปนสกุลเงินบาทที่ 70 “ไตรมาส 2 ปนจี้ ะดีกวาปทแี่ ลว แนนอน เพราะ C F เรา เพิ่มขึ้นตอนนี้อยูที่ 81-82 เนื่อง จากทุกอยางนิ่ง นํ้ามันนิ่งก็ทําใหทุก อยางออกมาดี สวนครึ่งปหลังผมยัง มองวาการทองเทีย่ วในประเทศจะโต ที่ 20-25 แนนอนวาธุรกิจสายการ บินจะไดรับประโยชน ซึ่งผูโดยสาร และรายไดของเราก็จะโตประมาณนี้เชน กัน” นายทัศพล กลาว
‘สนามบินสมุย’ ลอ ครบรอบ 24 จัดคอน สิรตให
“สนามบินสมุย” ครบรอบ 24 ป จัด งาน ลอง นํ า โดยสายการบิ น บางกอก แอรเวยส ภายใตธีม “ F ” A 24 A พรอมดวยคอนเสิรต ลอง 24 ป สนามบินสมุย นายพุฒิพงศ ปราสาททอง อส กรรมการผูอํานวยการใหญ สายการบิน บางกอก แอรเวยส กลาววา ตลอดระยะ เวลา 24 ป ที่สนามบินสมุย ไดเปดให บริการแกนักทองเที่ยว และนักเดินทาง จากทั่วโลก ทั้งบางกอก แอรเวยส และ สนามบินสมุย ตางก็มีความมุงมั่นที่จะให บริการและอํานวยความสะดวกในการเดิน ทางแก ผู โ ดยสารทุ ก ท า น เกาะสมุ ย มี ศักยภาพดานการทองเที่ยวสูง และชาว สมุยเองก็เปดประตูตอนรับนักทองเที่ยว ที่ ม าเยื อ น เกาะสมุ ย จึ ง เป น แหล ง ท อ ง เทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก เปนเกาะในฝน ที่ใครๆ ก็อยากมา “สํ า หรั บ สนามบิ น สมุ ย ภู มิ ใจที่ ไ ด เปนสวนหนึง่ ของการพัฒนาการทองเทีย่ ว ของเกาะสมุย โดยเปนประตูดานแรกที่ คอยตอนรับนักทองเที่ยว ในโอกาสนี้ขอ ขอบคุณทั้งสวนราชการ เทศบาล ภาค เอกชน สมาคมโรงแรม สมาคมทองเที่ยว
เกาะสมุย ผูส นับสนุน สือ่ มวลชน และชาว สมุยทุกทาน ทีไ่ ดใหการสนับสนุนสนามบิน สมุยมาโดยตลอด คอนเสิรตครั้งนี้ไดจัด เพื่อพี่นองชาวสมุย และถือวาเปนการ พบปะสังสรรค และรวม ลองครบรอบ 24 ปสนามบินสมุยไปพรอมๆกัน” ดาน ม.ล.นันทิกา วรวรรณ รอง ผูอํานวยการใหญฝายโ ษณาและประชา สัมพันธ กลาววา เมื่อชวงตนปที่ผานมา เราไดมีการจัดปารตี้ ลองครบรอบ 45 ป ของสายการบิ น เพื่ อ เป น การขอบคุ ณ ลูกคา และผูใ หการสนับสนุนทุกทาน และ ในป นี้ ส นามบิ น สมุ ย ก็ ค รบรอบ 24 ป อีกดวย เราจึงจัดคอนเสิรต ลอง 24 ป ขึ้น เพื่อเปนการขอบคุณ และสงมอบ ความสุขใหกับชาวเกาะสมุย โดยภายใน งานจะแบ ง ออกเป น 3 โซน คื อ โซน คอนเสิรต ที่เราขนทัพดารา ศิลปนจาก กรุงเทพฯ เพื่อมอบความสุขใหกับชาว เกาะสมุย โซนฟน พารค (F ) โซน สวนสนุก ที่มีเครื่องเลนแปลกใหมใหชาว เกาะสมุยไดสนุกกันเต็มที่ และโซนอาหาร เลือกอรอยกับอาหารตางๆ จากโรงแรม และรานอาหารชื่อดังบนเกาะสมุย” คอนเสิรต ลอง 24 ป สนามบินสมุย เปดตัวดวยโชวชุดที่หนึ่ง
เปนโชวจากแคทรียา อิงลิช และเบน ชลาทิศ ตอดวยโชวชุดที่ สอง A จากสาม หนุมสุด อต มาริโอ เมาเรอ เคน ภูภูมิ เวียร ศุกลวัตน และบิลลี่ โอแกน จากนั้น ตอดวยโชวที่สาม แดนซ ไ ปกั บ คอนเสิ ร ต สุ ด มั น ส กั บ เจ เจตริน โจอี้ บอย และกานคอคลับ ปดทาย ดวยโชว กับคอนเสิรต จากวง F ผูสื่อขาวรายงานวา สนามบินสมุย เริ่ ม เป ด บริ ก ารเส น ทางแรกในเส น ทาง กรุ ง เทพ-สมุ ย ด ว ยเครื่ อ งบิ น A 8-100 ขนาด 37 ที่นั่ง ใชเวลาเดินทาง เพียงแค 1 ชั่วโมง 10 นาที ซึ่งเปนการยน ระยะเวลาเดินทางไปเกาะสมุย ซึ่งโดย ปกติ จะตองใชเวลาไมตํ่ากวา 6 ชั่วโมง ถึง 1 วัน ของการเดินทางแตละประเภท และ ในปจจุบัน สนามบินสมุยสามารถรองรับ เครื่องบินไอพนขนาดเล็ก เชน A A320-A319 และ 737 โดยใช เวลาเดินทางประมาณ 50 นาทีเทานั้น ปจจุบันมีเสนทางบินที่ใชสนามบินสมุย เปนศูนยกลาง ไดแก สมุย-กระบี่, สมุยภูเก็ต, สมุย-อูตะเภา, สมุย-เชียงใหม, สมุย-สิงคโปร และสมุย- องกง ปจจุบนั สนามบินสมุยไดทาํ การขยาย อาคารผูโ ดยสารใหม โดยอาคารผูโ ดยสาร ภายในประเทศอาคารใหมไดเปดใหบริการ ไปเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2550 และ อาคารผูโดยสารระหวางประเทศอาคาร ใหมไดเปดใหบริการเมือ่ วันที่ 31 สิงหาคม 2550 โดยอาคารผู โ ดยสารใหม มี พื้ น ที่ ใชสอยกวา 7,300 ตารางเมตร โดยประกอบ ไปดวยอาคารผูโ ดยสาร 6 อาคาร แบงเปน อาคารผูโ ดยสารภายในประเทศ 4 อาคาร และอาคารผูโดยสารระหวางประเทศ 2 อาคาร โดยอาคารผูโ ดยสารใหม สามารถ รองรับผูโ ดยสารไดวนั ละประมาณ 16,000 คนตอวัน หรือ 6,000,000 คนตอป
A4
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล สัมภาษ พิเ ษ
TG นา นอขอมล ั ั้ มา ล คมนาคมชี้ยึดประโยชนองคกรเปนหลัก
อีกทั้งจะเสนอกระทรวงคมนาคม พิจารณาการจัดตัง้ สายการบินไทยสมายล แอรเวย เปนบริษัทยอยของการบินไทย โดยเบื้ อ งต น กํ า หนดทุ น จดทะเบี ย นไว ประมาณ 1,400 ลานบาท พรอมสงไมตอ เพือ่ เสนอคณะรัฐมนตรี หรือ ครม. พิจารณา จากการจะจั ด ตั้ ง สายการบิ น ไทย สมายล แอร เวย เป น บริ ษั ท ย อ ยของ การบิ น ไทยนั้ น ผู กํ า กั บ ดู แ ลอย า ง กระทรวงคมนาคม ไดใหการบินไทยกลับ ไปทําขอมูลเพิม่ เติม เนือ่ งจากแผนทีเ่ สนอ มายังมีรายละเอียดไมชัดเจนและมีความ พรอมในการเขาแขงขันในธุรกิจการบิน อยางแทจริง โดยเ พาะขอมูลกรณีที่สาย การบินอื่นที่มีการตั้งบริษัทลูกขึ้นมาเชน เดียวกับบริษัท ไทยสมายลนั้น มีขอดีขอเสีย และประสบความสําเร็จหรือไม โดย ใหทบทวนแผนเสนอกลับมาโดยเร็วที่สุด รวมถึ ง พบว า มี ห ลายสายการบิ น ที่ตั้งบริษัทลูกขึ้นมาแลวไมประสบความ สําเร็จ เชน สายการบินลุฟท ันซา สาย การบินแอรฟรานซ และบริติช แอรเวยส เคยมี ก ารตั้ ง บริ ษั ท ลู ก ถื อ หุ น 100 ดําเนินธุรกิจเปนสายการบินตนทุนตํ่า แต ไมประสบความสําเร็จ ในขณะที่สิงคโปร
แอรไลนตั้งซิลคแอรไลนเปนบริษัทลูก ถือ หุน 100 โดยซิลคแอรไลนประสบความ สําเร็จมาก แตในขณะที่สิงคโปรแอรไลน กลับมีผลประกอบการที่ตกตํ่าลง ดังนั้น การบินไทยตองนําขอมูลเหลานี้มาเปรียบ เทียบขอดีขอเสียและศึกษาใหดี ลาสุด การบินไทยไดนําเสนอขอมูล เพิ่ ม เติ ม ถึ ง แผนจั ด ตั้ ง “ไทยสมายล แอร เวย ” โดยมี ก ารเปรี ย บเที ย บข อ ดี ระหว า งการตั้ ง บริ ษั ท ใหม กั บ การ เป น หน ว ยธุ ร กิ จ ทั้ ง นี้ หนั ง สื อ พิ ม พ “TRANSPORT” มี โ อกาสสั ม ภาษณ พล.อ.พ ท สุวรร ทัต รัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวงคมนาคม ถึงเรื่องดัง กลาว ตองมาติดตามกัน รมช.คมนาคม เปดเผยวา ภายหลัง ที่สั่งใหการบินไทยมานําเสนอขอมูลนั้น โดยการบินไทยไดนํารายละเอียดเพิ่มเติม เรื่องการจัดตั้งบริษัท ไทยสมายล แอรเวย มาใหพิจารณา ซึ่งกระทรวงจะพิจารณา อยางรอบคอบโดยยึดประโยชนสูงสุดของ การบินไทยเปนหลัก อยางไรก็ดี จะสรุป แผนและสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา ตอไป สําหรับแผนการจัดตั้งบริษัท ไทย
รศ.ดร.ทวีศักดิ เท ิทัก
อ.ศนยวิ ัย ล ิสติกสแล การ ัดการ มหาวิทยาลัยบร า ma ta eesak @ otma . om
การศก า ปรี ที การประ ก การ การ กก า ก า ะ า อม อ ประ ทศพ า วก อทอป อ ประ ทศไท ตอ า ... 3. ผลการศกษา ล การอ ิปรายผล เชิงเปรียบเทียบ .1 การจัดซื้อ จัดหา วัต ุดิบ (Procurement and Purchasing) ในภาวะการแขงขันปจจุบันราคา ขายเป น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการตั ด สิ น ใจซื้ อ สิ น ค า ของผู บ ริ โ ภค ผู ผ ลิ ต และ ผูประกอบการจํานวนมากตางตองปรับ ตัวเพื่อหาแหลงตนทุนตํ่าเพื่อความอยู รอดทางธุ ร กิ จ จากงานวิจัยของ , และ (2000) แสดง ให เ ห็ น ว า ผู ป ระกอบการ ME ใน องกงใชวิธีการหาสินคาราคาถูกจาก แหลงภายนอกประเทศเพื่อปอนใหกับผู ประกอบการภายใน องกง ทั้งสินคา สําหรับรานสะดวกซื้อและโรงงานผลิต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสเพื่อการสงออก โดยเ พาะกรณี สินคากลุม อุตสาหกรรม ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสจะนําเขามาจาก
ประเทศจีนซึ่งเปนฐานการผลิตที่สําคัญ เนื่องจากมีขอไดเปรียบเรื่องตนทุนการ ผลิต อีกทัง้ ยังอยูไ มไกลจาก อ งกงมากนัก การหาแหลงผลิตที่ตํ่ากวาจากภายนอก ประเทศสําหรับธุรกิจการผลิตเครื่องจักร และชิ้ น ส ว นสอดคล อ งกั บ งานวิ จั ย ของ , และ (2000) พบว า ME ซึ่ ง เป น ผู ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว น อิเล็กทรอนิกสในเมือง ประเทศ อังกฤษ ไดทําการหาแหลงผลิตที่มีตนทุน ตํ่า โดยพบวาประเทศจีนเปนแหลงผลิต ต น ทุ น ตํ่ า ที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ ประเทศ อังกฤษ ผลการวิจยั ของ A ,F , , และ (1999) พบวา การจางแหลง ผลิตจากภายนอกประเทศเพื่อเปนการ รักษาจุดแข็งทางการแขงขันของตนไวแต ไม ไ ด ใ ห ซั พ พลายเออร ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว นให ทั้งหมด โดยผูประกอบการ ME จะ
“
า า า ที่ า ่ า ่ า ท า ่ า ่ ท มา า ทา ท ท มา า า าม ่ ี า ่ า า ี ท ท มา า า ท ม ี่
“
ภายหลังที่บอรด บริษัท การบินไทย จํากัด มหา น ระบุวา การบินไทยมี ครงการลงทุนจัดตั้งสายการบินไทยสมายล แอรเวย เปนบริษัทยอย ดยสายการบินไทยสมายลข้นเปนหนวย ุรกิจหน่ง ของบริษัท กําหนดบทบาทใหเปน ของการบินไทย ดย ตองการสรางความแตกตางเพื่อเปนทางเลือกใหมใหแกลูกคา ดย ผลิตภัณ ใหมจะมีภาพลักษณที่มีความทันสมัย เนนความรวดเร็ว ของการใหบริการ
สมายล แอร เวย นั้ น จากข อ มู ล ของ การบินไทย ระบุวา ปจจุบันอยูระหวาง การจ า งที่ ป รึ ก ษาเพื่ อ แยกบั ญ ชี ต น ทุ น สวนแผนการใชเครื่องบินนั้น การบินไทย ในฐานะผูเชาซื้อเครื่องบินแอรบัส A 320200 จํานวน 6 ลํา ซึ่งไทยสมายลใชงาน อยู ใ นป จ จุ บั น จะทํ า สั ญ ญาเช า กั บ บริษทั ไทยสมายลตอ ไป โดยคิดคาเชาตาม ปกติ ส ว นเครื่ อ งบิ น อี ก 9 ลํ า ซึ่ ง อยู ระหวางการเตรียมเชา จะโอนใหบริษัท ไทยสมายลเปนผูเชาตรงโดยการบินไทย ไมเกี่ยวของ ในส ว นของการตั้ ง ข อ สั ง เกตว า รายชื่อคณะกรรมการบริษัท ไทยสมายล มีชอื่ ของกรรมการและผูบ ริหารการบินไทย บางคนนั้น การบินไทยไดนํารายชื่อเหลา นั้นออกแลว เพราะเดิมที่ตั้งไวเปนเพียง ตุ กตาเทานั้น โดยคณะกรรมการบริษัท ทําการผลิตชิ้นสวนที่เปน C T เพียงผูเดียวและใหซัพพลาย เออรทอี่ ยูใ นกลุม พันธมิตรผลิตชิน้ สวนที่ ไมมีความสําคัญกับเครื่องจักรมากนัก เช น วั ส ดุ ห อ หุ ม เครื่ อ งจั ก รภายนอก เปนตน จากกรณีทกี่ ลาวมาขางตน การหา ซั พ พลายเออร จ ะแตกต า งจากธุ ร กิ จ เสื้อผาแฟชั่นโดยพบวา ME ของกลุม เสื้อผาแฟชั่นในเมือง ในประเทศญี่ ปุ น ซึ่ ง เป น เมื อ งแฟชั่ น เที ย บเท า กั บ , และ จะมี ก ารทํ า ธุ ร กิ จ ร ว มกั บ ซัพพลายเออรที่ตั้งอยูไมไกลจากราน ของตน เนื่ อ งจากต อ งตอบสนองต อ ความตองการของลูกคาที่เปลี่ยนแปลง ตามกระแสแฟชั่นอยางรวดเร็ว สําหรับ การขายหนารานและสงออกไปยังกรุง โซล ประเทศเกาหลีใตซึ่งใช ทั้ ง หมดจนถึ ง มื อ ลู ก ค า หน า ร า นที่ โซล โดยใชเวลาเพียง 2 วัน บางประเทศมีการเพิ่มศักยภาพ ทางการแขงขันโดยการนําระบบ T เขา มาลดตนทุนดานการจัดหาและสั่งซื้อ สินคากับซัพพลายเออร อีกทั้งยังมีการ จัดทําฐานขอมูลรวมสําหรับใชในการ พัฒนากลุมธุรกิจของตนเอง เพื่อแขงขัน กับคูแขงขันจากภายนอกประเทศ อานตอ หนา...
“Mittu Chandilya” ขึ้นนั่งเกาอี้ แอร อานตอ หนา... เอเชี ย อิ น เดี ย ทั้ ง นี้ มี ผ ลตั้ ง แต วั น ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2556 เป น ต น ไป (( รายงานขาวจากแอรเอเชีย อินเดีย ระบุวา M ไดสงั่ สมประสบการณการเปนผูน าํ นับตั้งแตการเปนผูประกอบการที่ประสบ สวั ส ดี ค รั บ พบกั บ สั ง คมทาง ความสําเร็จ ตลอดจนการเปนผูบ ริหารใน Mittu Chandilya เลสล ล องคกรระดับประเทศ ภูมภิ าค และระดับ อากาศ ปร จําหนังสือพิมพ PORT (( เริ่มที่ขาวคณะกรรมการ โลกกับบริษัทขามชาติชั้นนํา และสุดทาย หลงใหลในแวดวงธุรกิจการบิน ตําแหนง แอร เ อเชี ย อิ น เดี ย แต ง ตั้ ง ตํ า แหน ง กับประสบการณที่ปรึกษาใหกับผูบริหาร สุดทายของเขา คือ ประธานเจาหนาที่บริหารคนใหม โดย ระดับสูงตลอดมา (( M สนใจและ ประจํา ภูมิภาค
ี ท า า า า ม า
ไทยสมายล จะมีไมตํ่ากวา 11 คน ประกอบดวย ผูแทนจากกระทรวง การคลัง ผูแทนการบินไทย และ ไม จํ า เป น ว า ประธานกรรมการ การบิ น ไทยต อ งเป น ประธาน กรรมการ บริษัท ไทยสมายล บริษัท ไทยสมายล มีทุน จดทะเบียน 1,800 ลานบาท โดย การบินไทยคาดวาในชวง 5 ป ตัง้ แตป 2556-2560 ไทยสมายลจะ มีรายได 88,678 ลานบาท และมี กําไรสุทธิ 7,056 ลานบาท โดยป 2556 จะมีรายได 6,384 ลาน บาท มีกาํ ไรสุทธิ 54 ลานบาท และป 2560 จะมี ร ายได 23,374 ลานบาท มีกาํ ไรสุทธิ 1,946 ลานบาท
ลอ สวรร ัต รั มนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม
รมเ ท เนนคว ม ปรง ส เ มสอบปร นียบัตรคนเรอ นายศรศักดิ์ สนสมบัติ อธิบดีกรม เจาทา กลาววา จากนโยบายกระทรวง คมนาคม โดย ดร.ชั ช ชาติ สิ ท ธิ พั น ธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม และ พลตํารวจเอกวิเชียร พจนโพธิ์ศรี ปลัด กระทรวงคมนาคม กําชับใหหนวยงานใน สั ง กั ด ปฏิ บั ติ ภ ารกิ จ ด ว ยความโปร ง ใส และให ค วามสํ า คั ญ ในการปราบปราม ทุจริต กรมเจาทา จึงไดกําชับขาราชการ เจาหนาที่ใหเขมงวด ตรวจสอบการสอบ ประกาศนียบัตรผูทําการในเรือใหเปนไป ตามระเบียบ ก เกณฑอยา งเครงครัด หากพบวามีการทุจริต หรือปลอมแปลง เอกสาร จะเอาผิ ด ขั้ น สู ง สุ ด พร อ มทั้ ง ขอแจ ง เตื อ นผู ที่ จ ะมาสอบความรู ค น ประจําเรือ อยาหลงเชื่อมิจ าชีพที่หลอก วาจะชวยใหสอบได ซึ่งไมเปนความจริง หากมี ข อ สงสั ย ประการใดให ส อบถาม มายังกรมเจาทา กองมาตรฐานคนประจํา เรือ โทร. 0-2236-1808 จากสถิติคนประจําเรือของประเทศ ไทยลาสุดปรากฏวา ปจจุบันมีคนประจํา เรื อ ที่ ทํ า งานอยู ใ นเรื อ ประมงทั้ ง สิ้ น ประมาณ 27,000 คน และคนประจําเรือ
ที่อยูบนเรืออื่นที่มิใชเรือประมงประมาณ 40,000 คน ซึ่ ง จะเห็ น ได ว า การเจริ ญ เติบโตของคนประจําเรือไทยอาจถือไดวา มี ส ว นสํ า คั ญ และมี ผ ลกระทบต อ การ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอยางมีนัย สําคัญ ทั้งนี้ การผลักดันใหคนประจําเรือ ของไทยมีความรูความสามารถมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจการ ขนส ง ทางทะเล และธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ ง ที่ มี แ นวโน ม เพิ่ ม มากขึ้ น จากการเป น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป พ.ศ. 2558 รวมทัง้ สรางรายไดทสี่ งู ขึน้ ใหกบั คน ประจํ า เรื อ นั้ น เป น ภารกิ จ ที่ สํ า คั ญ ประการหนึ่งของกรมเจาทา สํ า หรั บ การเพิ่ ม ความรู ค วาม สามารถของคนประจําเรือไทยใหสูงขึ้น โดยมี ม าตรฐานทั ด เที ย มกั บ มาตรฐาน ที่ไดรับการยอมรับในสากล (มาตรฐาน ขององคการทางทะเลระหวางประเทศ) นั้ น กรมเจ า ท า ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ กระบวนการสอบความรูคนประจําเรือ ไทยเปนอยา งมาก โดยไดมีการนํา เอา ระบบบริหารคุณภาพ ( O 9001 2008) มาใช กั บ กระบวนการสอบความรู ค น
ประจําเรือไทยเพื่อใหมีมาตรฐาน โปรงใส และสามารถตรวจสอบการดําเนินการได ในทุกขั้นตอน ตั้งแตขั้นตอนการรับสมัคร สอบ จนกระทั่งถึงขั้นตอนในการออกใบ ประกาศนียบัตรใหกับคนประจําเรือไทย รวมทัง้ มีการจัดการตามระบบคุณภาพ คือ มีการตรวจติดตามประจําป และมีการ ตรวจสอบจากผู ต รวจสอบภายนอก เพื่อรักษาคุณภาพของระบบในการสอบ ความรู ค นประจํ า เรื อ ไว ใ ห มี ม าตรฐาน นอกจากนี้ กรมเจ า ท า ยั ง สั่ ง การให เจ า หน า ที่ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การคุ ม สอบ ดําเนินการตามระเบียบ ก เกณฑอยาง เครงครัด โดยปจจุบันมีการตรวจสอบพบ การทุจริตในการสอบ และมีการดําเนิน การลงโทษแลวหลายราย ปจจุบัน กรมเจาทาอยูระหวางการ พิจารณาจัดทํา และเสนอเพือ่ ขออนุมตั เิ งิน งบประมาณในการดําเนินโครงการสอบ ขอเขียนอิเล็กทรอนิกส (E-E ) ซึ่ง เปนการพัฒนานําเอาระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ เขามาประยุกต ใชชว ยในการสอบสามารถกําหนดแผนการ สอบไดหลายรอบตอป และมีขั้นตอนการ สอบที่สะดวก รวดเร็ว สามารถประกาศ ผลสอบไดทันที ทําใหเกิดความโปรงใส ประหยัดเวลา ลดตนทุนทีเ่ กิดจากการสอบ แบบใชกระดาษไดเปนอยางมาก และคาด วาจะสามารถนํามาใชในการสอบความรู คนประจําเรือไดในอนาคตอันใกล
เอเชียแปซิฟก ของบริษทั E ซึง่ ทําใหเขาไดเรียนรูง านดานการทองเทีย่ ว และบริการ โดยเบื้องตนเนนในดานสาย การบินและธุรกิจการบิน (( M กลาวถึงการเขามารับตําแหนงซีอโี อวา ตน เปนคนเชนไน ทั้งนี้ตื่นเตนที่ไดกลับมายัง อินเดียเพือ่ ปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมการบิน ตน รอที่จะไดเขามาสวนหนึ่งของครอบครัว แอรเอเชีย และทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ จะสรางนิยาม ใหมของคําวา “การบิน” ใหกบั ลูกคาชาว อินเดีย (( สําหรับ M เติบโตใน
อินเดีย แอฟริกา และสหรัฐอเมริกา จบการ ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี วิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาธุรกิจและเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา M ยังสําเร็จการศึกษาปริญญาโทดาน บริหารธรุกจิจากฝรัง่ เศส สิงคโปร และจีน (( ต อ กั น ที่ ข า วด า นการบิ น สํ า หรั บ เยาวชนไทย โดย “คาเธย แปซิฟค ” จัดฝก อบรมดานการบินใหแกเยาวชนไทยที่เขา รอบสุดทายในโปรแกรม C F ป 2 (( งานนี้ เลสลี่ ลู ผูจ ดั การประจํา
ประเทศไทยสายการบินคาเธย แปซิฟค เปดเผยวา เยาวชน 15 คน ทีไ่ ดรบั การ คัดเลือกเขารวมโปรแกรม C F ที่ เปดโอกาสใหเยาวชนไดเรียนรูก ระบวนการ ทํางานของหนวยงานหลักๆ ของธุรกิจการ บินจากผูเ ชีย่ วชาญ ทีไ่ ดรบั การจัดขึน้ เปน ปที่ 2 ในประเทศไทย ผูเ ขาอบรมยังไดรบั โอกาสพิเศษในการเยีย่ มชมภายในเครือ่ ง บินพาณิชย, เครื่องบินขนสงสินคาและ หองนักบินของเครื่องบินพาณิชยดวย... พบกันใหม บับหนา สวัสดีครับ ((
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
คม าคม
A5
า คร การ ท .
นน ด นทน จส ส
คมนาคม เรงสรุป ครงการทาเรือ าย ง และ ครงการพัฒนา ศูนยการขนสงตูส นิ คาทางร ไ ว ยลดตนทุน ลจิสติกส เพิม่ สัดสวน การขนสงทางนํ้าและรางมากข้น คาดวาจะเปดใหบริการไดภายใน ป
ทาเรือแหลม บัง เปนจุดตนทางและ ปลายทางของตู สิ น ค า ที่ ข นส ง ทางเรื อ ชายฝงจากทาเรืออื่นๆ ที่อยูบริเวณแนว ชายฝงอาวไทย แตปญหาอยูที่ปจจุบัน ทาเรือแหลม บัง ยังไมมีทาเทียบเรือ ที่ สามารถใหบริการแกเรือขนสินคาชายฝง โดยเ พาะได ทําใหไมสามารถใหบริการแก เรื อ ชายฝ ง ได อ ย า งเต็ ม ที่ ประกอบกั บ ต น ทุ น ที่ สู ง สํ า หรั บ การขนถ า ยสิ น ค า เนื่องจากผูประกอบการตองมีคาใชจายใน การขนสงตูสินคาไปยังทาเทียบเรืออื่นๆ เพื่อนําสินคาขึ้นเรือขนสงสินคาระหวาง ประเทศเพิ่มมากขึ้น ขอจํากัดสวนนี้ทําใหผูประกอบการ จะนําเรือชายฝงเขาเทียบยังทาเรือตาง ประเทศโดยตรง ซึ่งก็จะกอใหเกิดปญหา อื่นตามมา นั่นก็คือ ทําใหตนทุนเรือคอย ทริสเรทติ้ง ปรับลดอันดับเครดิต องคกรของ บริษัท อาร ซี อล จํากัด มหาชน เป น ร ดั บ จาก ดย นว นมยังคง หรือ ลบ การปรับลดอันดับเครดิตดังกลาว สะทอนถึงผลการดําเนินของบริษัทที่ฟน ตัวชากวาที่คาดการณไวเนื่องจากภาวะ อุตสาหกรรมที่ออนแอ ทั้งนี้ บริษัทยังคง มีผลประกอบการขาดทุนจากการดําเนิน งานจํานวน 1,174 ลานบาท ในป 2555 เมื่อเทียบกับ 2,051 ลานบาท ในป 2554 บริ ษั ท ยั ง คงต อ งเผชิ ญ กั บ ความท า ทาย หลายประการในการปรั บ ปรุ ง ผลการ ดํ า เนิ น งาน อาทิ การชะลอตั ว ของ เศรษฐกิจโลก ราคานํ้ามันที่อยูในระดับสูง การแขงขันที่รุนแรงในภูมิภาคเอเชีย และ อุ ป ทานส ว นเกิ น ของเรื อ ที่ ยั ง คงมี อ ย า ง ตอเนื่อง อยางไรก็ตาม อันดับเครดิตยังคง สะท อ นถึ ง คณะผู บ ริ ห ารของบริ ษั ท ที่ มี ความสามารถและประสบการณ รวมทั้ง สถานะผูนําในตลาดผูประกอบการขนสง ทางเรือระดับภูมภิ าคอันเนือ่ งมาจากความ ได เ ปรี ย บในด า นขนาดและอายุ เ ลี่ ย ของกองเรือ ตลอดจนความถี่ในการให บริการ ในขณะที่แนวโนมอันดับเครดิต “ ” หรื อ “ลบ” สะท อ นถึ ง สถานการณทางการตลาดที่ไมเอื้ออํานวย อย า งต อ เนื่ อ งซึ่ ง คาดว า จะยั ง คงกดดั น ความสามารถของบริษัทในการปรับปรุง ผลประกอบการและสถานะทางการเงินใน ระยะใกลตอไป ทั้งนี้ อันดับเครดิตอาจได â´Â : Ocean Princess
แวดวง
พาณิชยนาวี
สวัสดีค พบกับ วดวงพา ิชย นาวี ป ร จํ า หนั ง สื อ พิ ม พ ...เริม่ ตนทีโ่ รดโชวของ ยิง่ ลักษ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นําทีมโรดโชว ญี่ปุนแจงแผนลงทุนขนาดใหญของไทย ทั้งโครงการนํ้า โครงสรางพื้นฐาน และ ทวาย ภายหลั ง เดิ น ทางถึ ง นายก
เทียบทา ( T ) สูงขึ้น และยังมี ปญหาดานคาใชจายในการยกขนและการ เคลือ่ นยายตูส นิ คาทีซ่ าํ้ ซอนอีกดวย ดังนัน้ เพื่อแกปญหา กทท. จึงไดวาจางกลุมที่ ปรึกษาใหดาํ เนินการศึกษาความเหมาะสม และออกแบบรายละเอียดในการกอสราง ทาเทียบเรือชายฝง ที่ทาเรือแหลม บัง เป า หมายที่ ต อ งการให บ ริ ก ารใน รู ป แบบของท า สาธารณะอย า งแท จ ริ ง ซึ่งจะชวยลดตนทุนกระจายสินคาใหแก ผูประกอบการ เพียงพอที่จะรองรับและ สรางความมั่นใจที่จะเพิ่มปริมาณการให บริการขนสงตูส นิ คาทางชายฝง และทางลํา แมนาํ้ มายังทาเรือแหลม บัง ซึง่ มีอตั ราการ ขยายตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ตอความคืบหนาดังกลาว ดร.ชัชชาติ สิ ท ิ พั น ุ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง
คมนาคม กลาววา กระทรวงเตรียมเรงสรุป รายละเอียดโครงการกอสรางทาเทียบเรือ ชายฝงของทาเรือแหลม บัง บริเวณทา เทียบเรือเอ วงเงิน 1,959.49 ลานบาท และโครงการพัฒนาศูนยการขนสงตูส นิ คา ทางรถไฟ วงเงิน 3,062.65 ลานบาท เพื่อ เสนอใหคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณา
อนุมัติเร็วๆ นี้ ทั้ง 2 โครงการ การทาเรือ แหงประเทศไทย (กทท.) จะเปนผูลงทุน หากดําเนินการแลวเสร็จจะชวยลดตนทุน โลจิสติกส เพิ่มสัดสวนการขนสงทางนํ้า และรางมากขึน้ คาดวาจะเปดใหบริการได ภายในป 2558 การที่ ต อ งก อ สร า งท า เที ย บเรื อ
ระดับ 673 ดอลลารสหรัฐตอเมตริกตัน จาก 638 ดอลลารสหรัฐตอเมตริกตัน ใน ป 2554 อยางไรก็ตาม บริษัทมีคาใชจาย เชื้อเพลิงลดลงเล็กนอยจาก 196.1 ลาน ดอลลารสหรัฐ ในป 2554 เปน 184.5 ลานดอลลารสหรัฐ ในป 2555 เนื่องจาก บริษัทลดการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงลง อยางไรก็ตาม ในป 2555 ผลการ ดําเนินงานของบริษทั ปรับตัวดีขนึ้ เล็กนอย จากความสํ า เร็ จ ในการปรั บ ลดต น ทุ น อัตราสวนกําไรจากการดําเนินงานกอน คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนายตอราย ไดที่ปรับปรุงรายการเชาดําเนินงานแลว ปรับตัวดีขึ้นจาก -2.3 ในป 2554 เปน 4.5 ในป 2555 อัตราสวนกําไรกอน ดอกเบี้ยจาย ภาษี คาเสื่อมราคา และ คาตัดจําหนายตอดอกเบีย้ ทีป่ รับปรุงรายการ เชาดําเนินงานแลวเพิ่มขึ้นจาก -0.5 เทา ในป 2554 เปน 1.5 เทา ในป 2555 อัตราสวนเงินทุนจากการดําเนินงานตอ เงินกูร วมทีป่ รับปรุงรายการเชาดําเนินงาน แลวปรับตัวเพิม่ ขึน้ จาก -6.0 ในป 2554 เปน 3.7 ในป 2555 สวนอัตราสวนหนี้ สินตอโครงสรางเงินทุนที่ปรับปรุงรายการ เช า ดํ า เนิ น งานแล ว ก็ ป รั บ ตั ว ลดลงจาก 45.4 ในป 2554 เปน 42.2 ในป 2555 เนื่องจากการชําระคืนหนี้ อยางไร
ก็ตาม อัตราสวนหนี้สินตอโครงสรางเงิน ทุนคาดวาจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากบริษัทไดซื้อ เรือจํานวน 2 ลํา ซึ่งจะรับมอบภายในป 2556 นี้ โดยบริษัทใชเงินกูยืมจากสถาบัน การเงินในการซื้อเรือดังกลาว สภาพคลองของบริษัทยังคงตึงตัว เนื่องจากบริษัทมีกําหนดจะชําระเงินกูยืม จํานวน 1,680 ลานบาท ภายในป 2556 นี้ ในขณะที่ ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2555 บริษัทมีเงินสดจํานวน 2,101 ลานบาท อยางไรก็ตาม บริษัทก็จะตองดํารงเงินสด ขั้ น ตํ่ า จํ า นวน 40 ล า นดอลลาร ส หรั ฐ สํารองเอาไวตามเงื่อนไขของสัญญาเงินกู ะนั้น หากผลประกอบการของบริษัทยัง คงฟนตัวชาเชนเดิมก็อาจสงผลกระทบตอ สภาพคลองได จากรายงานของ A ปริมาณ การบรรทุกสินคาในชวงป 2556-2557 จะ เพิ่มขึ้นประมาณ 3.0 ลานตู หรือคิดเปน 18 ของปริ ม าณบรรทุ ก ในป จ จุ บั น นอกจากนี้ ราคานํ้ามันก็ยังคงอยูในระดับ สูง โดยราคานํ้ามันเ ลี่ยในชวงไตรมาส แรกของป 2556 อยูที่ระดับ 620 ดอลลาร สหรัฐตอเมตริกตัน ความสามารถในการ เพิ่มอัตราคาระวางของบริษัทยังคงไดรับ แรงกดดันจากการชะลอตัวของการเติบโต ของเศรษฐกิ จ โลกและอํ า นาจในการ ต อ รองที่ บ ริ ษั ท มี ตํ่ า กว า ผู ป ระกอบการ รายใหญ ดั ง นั้ น เพื่ อ สนั บ สนุ น ให ผ ล ประกอบการเพิ่มขึ้น บริษัทจึงวางแผนใน การปรับลดคาใชจายในการดํ าเนินงาน ตลอดจนลดการให บ ริ ก ารที่ ไ ม ทํ า กํ า ไร และขนสงสินคาที่ใหกําไรสูง
รัฐมนตรีเขารวมงาน “T 2013” ในหัวขอ “ F T A EA ” ซึ่งกระทรวงการคลังจัดขึ้น เพื่อ สร า งความมั่ น ใจแก นั ก ลงทุ น ญี่ ปุ น ถึ ง ศั ก ยภาพการบริ ห ารประเทศเพื่ อ สร า ง ความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแผนการ งลัก ชนวัตร ั จั จ ลงทุ น เพื่ อ พั ฒ นาประเทศ เพื่ อ เป น ศูนยกลางการเชื่อมโยงของอาเซียน รวม โอกาสนี้ นายกรัฐมนตรี ไดกลาวเปดงาน ทั้งการสนับสนุนโครงการพัฒนาทาเรือนํ้า ต อ ผู เ ข า ร ว มการประชุ ม bb โดย ลึกและเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย โดยใน โครงการที่นายกฯ รวมโปรโมทมีทั้งหมด
3 โครงการ ไดแก โครงการลงทุนดานการ บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรนํ้ า ในวงเงิ น 350,000 ลานบาท โครงการที่สอง คือ แผนการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน 2 ล า นล า นบาท และโครงการที่ 3 คื อ โครงการนิคมอุตสาหกรรมและทาเรือนํ้า ลึกทวาย ในประเทศเมียนมาร bb สรุป แล ว ทั้ ง 3 โครงการเป น โครงการที่ ต อ งการการลงทุ น ขนาดใหญ ทั้ ง มี โครงการที่ตองรองรับในหลายมิติ นายก รัฐมนตรีและรัฐบาลไทยจึงตองการที่จะ
ปรับ ดอันดับเครดิตองค ร แนว นม e ti e เปน รั บ การปรั บ ลดลงอี ก หากบริ ษั ท ยั ง คง ประสบภาวะขาดทุนอยางมีนัยสําคัญและ ประสบป ญ หาด า นสภาพคล อ งในช ว ง ไตรมาสขางหนานี้ อยางไรก็ตาม หาก บริษัทสามารถปรับปรุงอัตราการทํากําไร และสร า งกระแสเงิ น สดที่ เข ม แข็ ง เพี ย ง พอที่จะใชชําระคืนหนี้ไดก็จะเปนปจจัย บวกตออันดับเครดิต และ หรือแนวโนม อันดับเครดิตของบริษัท ในป 2555 ปริมาณการขนสงสินคา ของบริษัทอาร ซี แอล ลดลง 4 จาก กลยุทธการยกเลิกเสนทางเดินเรือที่ไมทํา กําไร โดยการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ยังคงสงผลกระทบตอปริมาณการขนสง สินคาของบริษัท ในป 2555 อัตราคา ระวางโดยเ ลีย่ ของบริษทั เพิม่ ขึน้ เล็กนอย ที่ระดับ 2.3 โดยอยูที่ 195 ดอลลาร สหรัฐตอตูสินคา (T - E TE ) ซึ่งสงผลใหรายไดรวม ของบริษทั ลดลงเล็กนอยจาก 13,684 ลาน บาท ในป 2554 เปน 13,548 ลานบาท ในป 2555 อยางไรก็ตาม อัตราคาระวาง ยังคงไดรับ แรงกดดันจากภาวะอุ ปทาน สวนเกินของเรือที่ยิ่งเพิ่มการแขงขันให รุ น แรงมากขึ้ น และรวมไปถึ ง ภาวะ เศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบาง ทั้งนี้ ในป 2555 ราคานํ้ า มั น โดยเ ลี่ ย ก็ เ พิ่ ม ขึ้ น สู
ชายฝง เพราะปจจุบันไมมีทาเทียบเรือ ชายฝงเปนการเ พาะ เรือชายฝงตองใช รวมกับทาเทียบเรือระหวางประเทศ เมื่อ ตารางเวลาเรือเทียบทาเต็ม เรือชายฝง ตอง รอเทียบทา บางครั้งตองใชเวลารอนานถึง 7-8 วัน มีคาใชจายในการยกขนสินคาซํ้า ซอน เมื่อมีทาเทียบเรือชายฝงแลวจะชวย ลดเวลา ตนทุนคาใชจายลงได ดร.ชัชชาติ กลาววา การขนสงสินคา จากภาคใตในปจจุบนั ใชเรือชายฝง คอนขาง มาก มีปริมาณการขนสงปละ 200,000 ทีอียู โดยทาเทียบเรือเอ สามารถรองรับตู สินคาไดปละ 300,000 ทีอียู คาใชจายใน การยกขนสินคาอยูที่ 2,145 บาทตอตู 20 ฟุต แตหากเรือชายฝงเทียบทาระหวาง ประเทศคาใชจา ยจะอยูท ี่ 3,070 บาทตอตู 20 ฟุ ต โครงการนี้ มี ผ ลตอบแทนทาง เศรษฐกิจ 19.84 อยูในระดับที่ยอมรับ ให ดํ า เนิ น การได กํ า หนดกรอบอั ต รา คาภาระขั้นตํ่า 1,545 บาท ประกอบดวย อัตราคาภาระยกขนตูสินคาในอัตราขั้นตํ่า 715 บาทต อ ตู สิ น ค า ทุ ก ขนาดและทุ ก สถานภาพ และอัตราคาธรรมเนียมเคลือ่ น ยายตูสินคาระหวางทาในอัตราขั้นตํ่า 830 บาทตอตูส นิ คาทุกขนาดและทุกสถานภาพ ทาเรือชายฝงจะชวยใหผูประกอบ การจะสามารถเชือ่ มโยงการคมนาคมขนสง ไดรวดเร็วมากขึ้น ทา เรือชายฝงแหงนี้
‘ ินหยา ิ
เกิดขึ้น เพื่อรองรับการเปดเสรีประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ซึ่งประเทศใน แถบอาเซียน โดยเ พาะในกลุมลุมแมนํ้า โขงจะเข า มาใช บ ริ ก ารมากขึ้ น จึ ง เป น โอกาสสําคัญที่จะเพิ่มมูลคาการขนสงเปน 10 ลานตันตอป ปจจุบนั ในสวนของทาเรือ แหลม บัง มีการขนสงอยูท ี่ 200,000 ลาน ตู ซึง่ คาดวาปนจี้ ะเพิม่ สูงขึน้ เปน 300,000 ลานตู ตามการเติบโตของภาคเศรษฐกิจ ใน ส ว นของท า เรื อ ชายฝ ง แห ง นี้ จ ะนํ า เอา เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช อาทิ ระบบการ ยกสินคาจากเรือ การจัดเรียงสินคาพื้นที่ ภายในทาเรือ สํ า หรั บ โครงการพั ฒ นาศู น ย ก าร ขนสงตูส นิ คาทางรถไฟ ตัง้ อยูบ ริเวณโซน 4 ทาเรือแหลม บัง พื้นที่ 600 ไร ระยะแรก ดํ า เนิ น การ 370 ไร รองรั บ ตู สิ น ค า ได ปละ 2 ลานทีอียู จะติดตั้งเครื่องมือยกขน ชนิดปน จัน่ เดินบนราง ซึง่ จะใชเวลาในการ ยกขนตูสินคาทางรถไฟไดเร็วขึ้นจากเดิมที่ ยกขนตูสินคาไดเพียงดานเดียว สงผลให ขบวนรถไฟตองเสียเวลาจอดรอ กระทบ ต อ การหมุ น เวี ย นการใช ง านของขบวน รถไฟ ขณะเดี ย วกั น ยั ง จะเพิ่ ม รางจอด รถไฟดวยโครงการดังกลาวผลตอบแทน ดานเศรษฐกิจของโครงการอยูที่ 23.15 เบื้ อ งต น จะจ า งเอกชนบริ ห ารทั้ ง 2 โครงการ
’ ใหบริการ สน ดิน รือใหม
ชินหยาง ชิปปง เปดใหบริการเสนทาง เดินเรือใหม จากทาเรือยูนไิ ทย สูม าเลเซีย ตะวันออก และบรูไน บริษทั ( ), เปดบริการเสนทางเดินเรือใหม ชือ่ “E M E (EME)” เพือ่ ใหบริการเรือขนสงสินคาจากประเทศไทย สู ป ระเทศมาเลเซี ย ฝ ง ตะวั น ออก และ ประเทศบรูไน โดยแตงตัง้ ใหบริษทั แมกซ มาริไทม จํากัด เปนตัวแทนในประเทศไทย เมือ่ เร็วๆ นี้ ทาเรือยูนไิ ทย ไดตอ นรับ เรือ “ A M152” จาก บริษทั ชินหยาง ชิปปง คอรปปอเรชัน่ ( C ) ในการมาใชบริการ ณ ทาเรือยูนไิ ทย E M E (EME) เปน บริการเดินเรือเสนทางแรก ที่ใหบริการ ขนสงตูส นิ คาคอนเทนเนอรรายสัปดาห เสน ทางตรงจากกรุงเทพฯ โดยเรือคอนเทนเนอร จะออกเดินทางจากทาเรือยูนิไทย ไปยัง ประเทศมาเลเซียฝง ตะวันออก และประเทศ บรูไน โดยผานทาเรือตางๆ อาทิ , , , , , M , , , ,T
และ M ทําใหประหยัดเวลาการขนสง มีความสะดวกรวดเร็ว เพือ่ ตอบสนองความ ตองการของลูกคาในการนําเขา สงออก สินคาไปยังประเทศในเสนทางดังกลาว นอกจากนี้ บริษทั ชินหยาง ชิปปง ยังให บริการรองรับการขนสงตูสินคาประเภท OC ทัง้ ทีเ่ ปนตูส นิ คาแหงและตูส นิ คาเย็น เพือ่ ไปเปลีย่ นถายลําทีท่ า เรือ อีกดวย ทาเรือยูนไิ ทย เปนทาเรือเอกชนแหง เดียวในรองนํ้าเจาพระยา เปดดําเนินการ มากวา 16 ป เพือ่ ใหบริการขนถายตูส นิ คา คอนเทนเนอร ดวยเครื่องมือปฏิบัติงาน ทาเรือทีท่ นั สมัย พรอมรองรับการขนถายตู สินคาคอนเทนเนอรอยางมีประสิทธิภาพ และดวยทําเลทีต่ งั้ นอกเขตกรุงเทพมหานคร ทําใหเรือขนสงสินคาสามารถเลี่ยงความ หนาแนนของการจราจรใจกลางเมืองไดอกี ดวย ในปจจุบนั ทาเรือยูนไิ ทยใหบริการแก สายเรือใหญ 4 สายเรือ ไดแก M C (M C), T (โดย T O , , MTC, ) และ
เชิญชวนนักลงทุนจากประเทศตางๆ เขา รวมโครงการเหลานั้น bb ทิ้งทายที่การ สร า งท า เรื อ ท อ งเที่ ย วในสถานที่ ใ หญ ๆ เพิม่ เติม ั จับใจ รองอธิบดีกรมเจาทา (จท.) ในการของบประมาณกระทรวง คมนาคม ในการสรางทาเรือทองเทีย่ ว โดย รองอธิบดีกรมเจาทา แจงวา กรมเจาทามี แผนที่จะเสนอตอกระทรวงคมนาคม เพื่อ ขออนุมัติงบประมาณกอสรางทาเรือทอง เที่ยวเพิ่มเติมโดยเ พาะสถานที่ทองเที่ยว จุ ด ใหญ ซึ่ ง มี อ ยู ห ลายจั ง หวั ด ที่ มี นั ก
ทองเทีย่ วเดินทางจํานวนมาก ทัง้ นี้ อยาง เกาะลาน ก็มีเพียงทาเรือแหลมบาลี าย เทานั้นที่ใหบริการนักทองเที่ยว ซึ่งคิดวา หากมีจํานวนนักทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น กวานี้ก็จะไมเพียงพอ อยางไรก็ตาม คาด วาแผนดังกลาวจะแลวเสร็จภายใน 1-2 เดือน กอนเสนอกระทรวงคมนาคม ซึ่ง หากกระทรวงคมนาคม อนุมัติโครงการ ดังกลาว กรมเจาทาก็จะตองเปนหนวย งานที่ดําเนินการโครงการ...พบกันใหม บับหนา สวัสดีคะ bb
A6
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ประ มรวม ครม.ไท
าว
เดน นาเ ่ ม ยงไ สปดเทรนสจน
ทีป่ ระ มุ คณะรั มนตรีรว มอยางไมเปนทางการไทย ลาว ครัง้ ที่ เนนหารือระบบการคมนาคมขนสง หวังสรางใหเปนรูป รรม ัดเจน รองรับ พรอมผลักดันการกอสรางร ไ ความเร็วสูงจาก จ หนองคาย ไปยังลาว เพือ่ เ อื่ มตอกับร ไ ความเร็วสูงจากจีน ขณะที่ ปลัดคมนาคม หารือปรับ ครงสรางของร ไ ความเร็วสูง เสนทาง กรุงเทพ หัวหิน กับทางพิเศษศรีรั วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร นายสุรนันทน เวชชาชีว เลขาธิการ นายกรัฐมนตรี กลาวถึงการประชุมคณะ รัฐมนตรีรว มอยางไมเปนทางการไทย-ลาว ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันที่ 19-20 พฤษภาคม 2556 ที่ผานมา วา ไดมีการหารือหลายประเด็น ที่เปนประโยชนรวมกันในการพัฒนาดาน ตางๆ โดยเ พาะระบบการคมนาคมขนสง ซึ่ ง การประชุ ม คณะรั ฐ มนตรี ร ว มอย า ง ไมเปนทางการ เนนใหเกิดความรวมมือ อยางเปนรูปธรรมใหชัดเจน เพราะตางมี เปาหมายเดียวกันในการกาวสูประชาคม อาเซียน หรือ AEC ในป 2558 โดยเ พาะ การเชื่ อ มโยงด า นต า งๆ ให เ ป น ระบบ เดียวกันในภูมิภาค ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีไทยและนายก รัฐมนตรีแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว รวมหารือระบบการเชื่อม
โยงข อ มู ล ข า วสารร ว มกั น เน น ความ ร ว มมื อ บริ เวณแนวชายแดน และการ อํ า นวยความสะดวกต า งๆ ในการร ว ม แกปญ หา โดยเ พาะปญหายาเสพติดและ การค า มนุ ษ ย โดยนายกรั ฐ มนตรี ไ ทย จะหารือเรือ่ งการผลักดันการกอสรางรถไฟ ความเร็วสูงจาก จ.หนองคาย ไปยังลาว เพื่อเชื่อมตอกับรถไฟความเร็วสูงจากจีน ซึ่ ง เป น ประโยชน ต อ เส น ทางคมนาคม ขนสงระดับภูมิภาค ที่เปนความรวมมือ 3 ประเทศ คือ ไทย จีน ลาว สําหรับในสวนของไทย-ลาว มีการ พูดคุยในเบื้องตนแลว คาดวา ในอนาคต จะมีการประชุมรวม 3 ฝาย ในการพัฒนา ระบบโครงสร า งพื้ น ฐานด า นคมนาคม ขนส ง ไทย-ลาว-จี น โดยเ พาะการ กอสรางรถไฟความเร็วสูงเชือ่ มโยงระหวาง
ท ง วง นบท ย ย นน 4 เ น เสริมทองเทียว ัว ิน ปร วบ ทช. ดํ า เนิ น การก อสร า ง นน ทางหลวงชนบทสาย ยกทางหลวง หมายเลข นนบายพาสเลีย่ งเมือง หัวหิน บานหัวนา อําเ อหัวหิน จังหวัด ปร จวบคีรีขัน เพื่อสงเสริมเศรษ กิจ การทองเที่ยว ลดร ย เวลาในการเดิน ทาง เพิม่ ความส ดวก ปลอด ยั นายปร เสริ จั น ทรรวงทอง รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม กลาววา ถนนทางหลวงชนบทสาย ปข. 1057 แยกจาก ทล.37 (ถนนบายพาสเลีย่ ง เมื อ งหั ว หิ น )-บ า นหั ว นา อํ า เภอหั ว หิ น จังหวัดประจวบคีรีขันธ มีสภาพสายทาง เดิมเปนผิวจราจรลาดยาง ขนาด 2 ชอง
จราจร มี ก ารสั ญ จรของยวดยานและ รถบรรทุกเปนจํานวนมากซึง่ มีปริมาณเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ประกอบกับเปนเสนทาง เขาสูแ หลงทองเทีย่ วของอําเภอหัวหิน เชน ตลาดนํา้ หัวหิน ตลาดนํา้ หัวหินสามพันนาม ชายหาดหัวหิน รวมถึงสามารถใชเดินทางจากชุมชน หัวหินไปยังวัดหวยมงคล และเปนเสนทาง ลัดระหวางถนนเพชรเกษม (ทางหลวง หมายเลข 4) กับถนนบายพาสเลี่ยงเมือง หัวหิน (ทางหลวงหมายเลข 37) ทัง้ นี้ เพือ่ สงเสริมการทองเทีย่ วและยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของชุมชนในพืน้ ที่ ทช. จึงไดดาํ เนินการ ขยายผิวจราจรเปน 4 ชองจราจร เพือ่ ให
IN LAND
IN SIGHT
โดย : ตามรอยพอ
สวัสดีครับทานผูอ านทีร่ กั กลับมา พบกับคอลัมน อีกครั้ง รายงานความเคลื่อนไหวของ คนใน วดวงคมนาคมในสไตล ขาวขน คนเขม เหมือนเดิม ดยมี ตามรอย พอ คอยอัพเดตขาวสารอยางตอเนือ่ ง ... บับนี้ขอเริ่มที่ขาวของ “กระทรวง คมนาคม” ทํ าแผนพั ฒนาโครงสราง พืน้ ฐาน 3 จังหวัดชายแดนใต หวังเปด พื้ น ที่ ล ดจุ ด เสี่ ย งในการเดิ น ทางของ ประชาชน พรอมเสนอติด F บนรถ ทุกคันที่เขาออกพื้นที่ ตัดตนตอกอเหตุ ราย JJ โดย ดร.ชัชชาติ สิท พิ นั ุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม เปด เผยภายหลังประชุมจัดทําแผนปฏิบัติ การพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานระบบ คมนาคมขนสงในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต วา จากการที่ ยิง่ ลักษ ชินวัตร
ดร ชัชชาต ส
ัน ชั วั น อง า
นายกรัฐมนตรี ไดมอบหมายใหกระทรวง คมนาคมจัดทําแผนการพัฒนาเสนทาง ต า งๆ เพื่ อ เป ด พื้ น ที่ ล ดจุ ด เสี่ ย งในการ เดิ น ทาง เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกแก ประชาชนในพื้ น ที่ และให ร ายงานต อ นายกฯ ตอนสิน้ เดือน พ.ค. 2556 JJ ทั้งนี้ ไดสั่งใหหนวยงานในสังกัด ทั้งกรม ทางหลวง (ทล.) กรมทางหลวงชนบท (ทช.) กรมเจาทา (จท.) กรมการบินพลเรือ (บพ.) การรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) จัดทํา แผนการพัฒนาโครงการตางๆ ใหชัดเจน JJ สําหรับโครงการเรงดวนทีส่ ดุ คือการ ปรับปรุงถนนเขาพืน้ ทีต่ า งๆ เพือ่ หลีกเลีย่ ง พื้นที่ปญหาและเพิ่มทางเลือกในการเดิน ทางใหประชาชน เชน กรมทางหลวง มีแผน
กัน โดยการประชุมครั้งนี้จะมีการลงนาม ความรวมมือระหวาง 2 ประเทศในดาน ต า งๆ ด ว ย อาทิ ความร ว มมื อ ด า น การเกษตร, การลงนามความรวมมือความ ตกลงว า ด ว ยกรรมสิ ท ธิ์ ก ารนํ า ใช ก าร บริ ก าร และการบู ร ณะ รั ก ษาสะพาน มิตรภาพแหงที่ 4 (เชียงของ-หวยทราย) ดาน ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ รัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคม เปดเผยวา จาก การหารื อ ในที่ ป ระชุ ม ครม.ร ว มอย า ง ไมเปนทางการไทย-ลาว ถึงความรวมมือ พัฒนาโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อมตอ ผูใชเสนทางไดรับความสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ ดาน นายชาติชาย ทิพยสนุ าวี อธิบดี กรมทางหลวงชนบท กล า วเพิ่ มเติ มว า โครงการดั ง กล า วจะก อ สร า งเป น ถนน ลาดยางผิ ว จราจรแอสฟ ล ติ ก คอนกรี ต ขนาด 4 ชองจราจร กวาง 15 เมตร ไหล ทางกวางขางละ 1.50 เมตร ระยะทาง 7.605 กิโลเมตร พรอมกอสรางสะพาน คอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน 1 แหง ใชงบ ประมาณในการกอสราง 149.870 ลาน บาท เปนงบผูกพันตั้งแตป 2555-2557 ระยะเวลาในการกอสราง 720 วัน ปจจุบันโครงการดังกลาวมีผลงาน ความกาวหนากวา 22 เร็วกวาแผนที่ กําหนด โดยอยูร ะหวางการกอสรางผิวทาง บางชวง ซึ่งคาดวาจะกอสรางแลวเสร็จ ประมาณเดือนสิงหาคม 2557 จะขยายถนนจากยะลา-เบตง จาก 2 ชอง เปน 4 ชองจราจร สวน รฟท. ใหทบทวน ความจําเปนดานยุทธศาสตรของพื้นที่ ภาคใตในการกอสรางรถไฟทางคูจาก หาดใหญ-ยะลา สวนทางนํา้ ใหศกึ ษาความ ตองการแหลงอุตสาหกรรมในพืน้ ที่ สวน ทางอากาศนั้น จะมีการปรับปรุงขยาย ทาอากาศยานเบตงและนราธิวาส JJ ตอกันที่ “สนข.” เปดเวทีสาธารณะครัง้ ที่ 2 ระดมความคิดเห็นชาวสุโขทัย ตามขัน้ ตอนการศึกษาความเหมาะสม รวมคัด เลือกแนวเสนทางทีเ่ หมาะสมพัฒนารถไฟ ความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-เชียงใหม JJ โดย ชัยวัฒน ทองคําคู รองผูอ าํ นวย การสํานักงานนโยบายและแผนการขนสง และจราจร เปนประธานในพิธีเปดงาน สั ม มนารั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ประชาชน ครั้งที่ 2 โครงการศึกษาและออกแบบ รถไฟความเร็วสูง สายกรุงเทพฯ-เชียงใหม ระยะที่ 1 กรุงเทพฯ-พิษณุโลก เพื่อนํา เสนอสาระสําคัญคือรูปแบบแนวเสนทาง เลือก... บับนีเ้ นือ้ ทีห่ มดแลว พบกันใหม บับหนา สวัสดีครับ JJ
จากประเทศจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว มายั ง ประเทศไทย ทั้งนี้ เร็วๆ นี้ กระทรวงคมนาคม จะไปหารือกับนายทองลุน สีสลุ ดิ รองนายก รัฐมนตรี และ รมว.ตางประเทศของ สปป. ลาว เพื่อสรุปรูปแบบพัฒนารวมกัน จาก นั้นจะตั้งคณะทํางานรวม 3 ประเทศ ทั้ง จีน สปป.ลาว และไทย กอนจัดประชุมเพือ่
เรงผลักดันโครงการดังกลาวใหเสร็จ ขณะที่ พล.ต.อ.วิเชียร พจนโพธิ์ศรี ปลัดกระทรวงคมนาคม เปดเผยภายหลัง เปนประธานประชุมการปรับโครงสราง ของรถไฟความเร็วสูง (ไ สปดเทรน) เสน ทางกรุงเทพ-หัวหิน กับทางพิเศษศรีรัชวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร วา ทัง้ 2 โครงการมีปญหาโครงสรางทับซอนกัน เนื่องจากตองกอสรางบนพื้นที่ของการ รถไฟแหงประเทศไทย หรือ รฟท. ตั้งแต ถนนราชพฤกษ - บางบํ า หรุ ระยะทาง ประมาณ 15 กิโลเมตร ซึ่งมีพื้นที่เขตทาง จํากัด โดยเบื้องตนบริษัทที่ปรึกษาของ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและ จราจร หรือ สนข. และที่ปรึกษาโครงการ ทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนฯ ไดหารือรวม กันและเสนอการกอสราง 3 ทางเลือก ในแนวเสนทางที่ทับซอนกัน สําหรับ 3 ทางเลือกในแนวเสนทาง ที่ทับซอนกันนั้น คือ 1. กอสรางรถไฟ ความเร็วสูงเปนอุโมงคใตดินลอดใตทาง รถไฟปจจุบันของ รฟท. และยกระดับ
ทางดวนศรีรัช-วงแหวนฯ 2. กอสรางเปน ทางยกระดั บ ทั้ ง รถไฟความเร็ ว สู ง และ ทางดวนโดยแยกโครงสรางจากกัน แนว เสนทางจะคูขนานกันไป 3. กอสรางเปน ทางยกระดั บ ทั้ ง รถไฟความเร็ ว สู ง และ ทางดวน โดยใชโครงสรางฐานรากรวมกัน ทั้งนี้ รมว.คมนาคม ไดสั่งการให รฟท. หารือรวมกับ สนข. กรณีทเี่ คยศึกษา ให ร ถไฟดี เ ซลของ รฟท. ใช ท าง รวมกับรถไฟสายสีแดง (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) หรือ T ซึ่งจะทําใหมีพื้นที่เขต ทางรถไฟเหลือเพื่อกอสรางรถไฟความ เร็วสูง แตแนวทางนี้มีปญหาเรื่องระบบ อาณัติสัญญาระหวางรถไฟสีแดงกับรถไฟ ดีเซล โดยจะตองเรงสรุปเพือ่ เลือกแนวทาง ที่ ดี ที่ สุ ด ภายในสั ป ดาห ห น า เพื่ อ ไม ใ ห กระทบต อ การก อ สร า งทางด ว นศรี รั ช วงแหวนฯ เนื่องจากขณะนี้การทางพิเศษ แหงประเทศไทย หรือ กทพ. ไดลงนาม สัญญากอสรางกับบริษทั ทางดวนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) หรือ EC ผูรับสัมปทาน ไปแลว
การ คห ลุยสรา บานตาม นวรถไ าสมว
การเคหะแห ง ชาติ ลุ ย สร า งบ า น แนวรถไฟฟา ตามความรวมมือกับ รฟม. เดินหนา 2 สายแรก คือ สายสีมวง สาย สีเขียว และพรอมผลักดันโครงการพัฒนา ที่อยูอาศัยชุดที่ 1 จํานวน 96 โครงการ กวา 50,000 หนวยทั่วประเทศ คาดสง เขา ครม. พิจารณา ส.ค.นี้ นางอํ า า รุ งปติ รองผู ว า การ รักษาการแทนผูวาการการเคหะแหงชาติ เผยวา ความคืบหนาการดําเนินโครงการ พัฒนาที่อยูอาศัยตามแนวรถไฟฟาเปน ความรวมมือระหวางการเคหะแหงชาติ กั บ การรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนแห ง ประเทศไทย หรือ รฟม. ซึ่งจะดําเนินการ ในพื้นที่ที่มีความพรอมกอน โดยขณะนี้ได 3 พื้นที่ ประกอบดวย พืน้ ทีส่ ายสีมว ง (บางใหญ-บางซือ่ ) บริเวณ บางไผ จังหวัดนนทบุรี พื้นที่สายสีเขียว (แบรริ่ง-บางปง) จังหวัดสมุทรปราการ
และพื้นที่จุดตัดของสายสีชมพูและสาย สีสม (แคราย-มีนบุรี) บริเวณสถานีมีนบุรี ทั้งนี้ ทั้งสองหนวยงานจะรวมกัน จั ด ทํ า ข อ ตกลงพร อ มรายละเอี ย ดแบบ ก อ สร า งที่ อ ยู อ าศั ย ในพื้ น ที่ ส ายสี ม ว ง และพื้นที่สายสีเขียวกอน ลาสุด ไดตั้ง คณะกรรมการรวมกันแลว พรอมทั้งไดมี การพิจารณาแนวความคิดการออกแบบ (C ) ในแตละพื้นที่ โดย สํารวจพื้นที่ทั้ง 3 แหง เพื่อใหการพัฒนา ที่อยูอาศัยมีความสอดคลองกันในแตละ พื้นที่ ตลอดจนเพื่อวิเคราะหความเปน ไปไดทั้งดานการตลาด การเงินการลงทุน การบริหารจัดการ อยางไรก็ดี คาดวาจะสามารถนํา เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ การเคหะแห ง ชาติ แ ละคณะรั ฐ มนตรี ไดภายในเดือนสิงหาคม 2556 นอกจากนี้ การเคหะแหงชาติยนื ยัน
สังคม โดย : หงสแดง
สวัสดีครับทานผูอานที่รักกลับมา พบกันอีกครั้งกับคอลัมน สังคมยาน ยนต ดยมี หงส ดง เจ า พอ จําเปน มา ลวกับขาวคราว ความ เคลื่อนไหวใน วดวงร ยนตในสไตล ขาวเขม รสจัด บับนี้ใกลจ สิ้น เดือนอีก ลวกับรายจาย ล รายรับที่ พอกัน ใชเงินกันอยางพอเพียงน ครับ วาเรื่องขาวกันดีกวา ,, สมพงษ เผอิ ชค กรรมการ และกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท ไทยรุงยูเนี่ยนคาร จํากัด (มหาชน) สรุปผลการดําเนินงาน ไตรมาส 1 2556 ซึ่ ง บริ ษั ท มี ร ายได รวมทั้งสิ้น 1,024.50 ลานบาท เพิ่มขึ้น 25 และมีกําไรสุทธิ 175 ลานบาท เพิ่มขึ้น 40 เมื่อเทียบกับ 1 55 ซึ่ง มีปจจัยหลักมาจากยอดขายที่เพิ่มขึ้น จากธุรกิจผลิตชิ้นสวน รับจางประกอบ
สม ง เ อ โช
ดร ชม ล รปร า
และพ น สี จากลู ก ค า ทั้ ง กลุ ม ยานยนต เครื่องจักรอุตสาหกรรม และเครื่องจักร กลทางการเกษตร ที่มีการเจริญเติบโต เพิ่มสูงขึ้นกวาปที่แลวอยางมาก ,, เมื่อ เร็วๆ นี้ ดร.ชุมพล พรปร า ประธาน กลุ ม เอสพี อิ น เตอร แ นชั่ น แนล และ ประธาน บริษัท ฐิติกร จํากัด (มหาชน) รั บ สารตราตั้ ง กงสุ ล ใหญ กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาธารณรัฐฟจิ ประจําประเทศไทย คน แรก เพื่อขยายการคาการลงทุนระหวาง กัน โดยในอดีตจนถึงปจจุบันมูลคาการคา ระหวาง 2 ประเทศ มีมูลคาประมาณ 300-600 ลานบาทตอป ยกเวนบางป มูลคาการคาพุงขึ้นถึง 1,900 ลานบาท ,, บริษัท เชฟรอน (ไทย) จํากัด ผูผลิต
ยว
ผลักดันโครงการพัฒนาที่อยูอาศัยชุดที่ 1 จํานวน 96 โครงการ รวม 50,205 หนวย ครอบคลุ ม ทุ ก ภาคทั่ ว ประเทศ โดยจะ ดํ า เนิ น การจั ด สร า งบนพื้ น ที่ ที่ มี ทํ า เลดี ศักยภาพสูง และอยูในความตองการของ กลุม ประชาชนทีม่ รี ายไดนอ ยถึงปานกลาง ขึ้นไป นอกจากนี้ ยังไดประสานงานกับ ธนาคารอาคารสงเคราะห เพื่อเปนแหลง สินเชื่อรองรับประชาชนที่ตองการมีบาน เปนของตัวเองเรียบรอยแลว ทั้งนี้ โครงการดังกลาวไดรับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการการเคหะแหง ชาติแลว และอยูระหวางการพิจารณา ขอความเห็ น ชอบจากสํ า นั ก งานคณะ กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สศช.) คาดวาจะทราบความคืบ หนาภายในเดือนมิถุนายนนี้ หลังจากนั้น จะนํ า เสนอขอความเห็ น ชอบจากคณะ รัฐมนตรีตอไป และจําหนายผลิตภัณฑคาลเท็กซ ขอ เชิญรวมงาน A F 2013 มหกรรม สิ น ค า และบริ ก ารชั้ น นํ า จากอเมริ ก า ซึ่ ง จั ด โดยหอการค า อเมริ กั น ประจํ า ประเทศไทย และสถานทู ต สหรั ฐ อเมริ ก าประจํ า ประเทศไทย ภายใต แนวคิด “เติมเต็มความสุขทุกเสนทาง ดวยพลังสะอาด” นําทัพผลิตภัณฑสนิ คา คุณภาพ อาทิ ผลิตภัณฑนํ้ามันเครื่อง คาลเท็กซเดโล และ าโวลีน บัตรเติม นํ้ามันสตารแคช พรอมพบกับโปรโมชั่น พิ เ ศษอี ก มากมาย ที่ บู ธ คาลเท็ ก ซ ระหวางวันที่ 31 พฤษภาคม-2 มิถุนายน ศกนี้ เวลา 10.00-20.00 น. ณ ลานแสดง สินคา ชั้น 1 ศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลด ,, บริษัท อนดา มอเตอร จํ ากัด ประกาศเขารวมการแขงขันรายการ F A F O (F1) C เริ่มตั้งแตฤดูกาล 2558 เปนตนไป และแม็คลาเรนจะทําหนาที่พัฒนาและ ผลิตแชสซีส รวมทั้งบริหารทีมแขงใหมที่ มีชื่อวา ทีมแม็คลาเรน อนดา...จบขาว สวัสดีผูอานนะครับ ,,
ตอ าวหนา
สัมภาษ พิเ ษ หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ความปลอดภัย ือเปนสิ่งสําคัญที่มนุษยทุกคนตองการให เกิดข้นใน ีวิต ทั้งนี้ เพื่อความเปนอยูที่ยั่งยืน ดยเ พาะความ ปลอดภัยในการเดินทาง สืบเนือ่ งจากอันตรายรวม งอุบตั เิ หตุทเี่ กิด ข้นสวนใหญมักจะเกิดจากการเดินทาง ดังนั้น จึงมีหลายหนวยงานให ความสํ า คั ญ ในการสร า งความ ปลอดภัยจากการเดินทาง อีกทั้งจาก สถิ ติ อุ บั ติ เ หตุ ท างถนนช ว งเทศกาล สงกรานต 2556 พบวา สาเหตุการเกิด อุบัติเหตุสูงสุดยังคงเปนเมาแลวขับ รอยละ 39.95 รองลงมา คือ การขับ รถเร็วเกินกําหนด โดยสาเหตุของการขับรถเร็วเกิน กําหนดนัน้ ลาสุด “กรมการขนสงทาง บก” ออกมาเปดเผยถึงผลจากการติด ตั้ ง เพื่ อ ให ส ามารถติ ด ตาม ควบคุม กํากับดูแล พนักงานขับรถ ไมใหขับเร็วเกินกําหนด ทั้งนี้ หนังสือ พิ ม พ “TRANSPORT” มี โ อกาส สัมภาษณ นายสมชัย ศิริวัฒน ชค อธิบดีกรมการขนสงทางบก ถึงเรือ่ งดัง กลาว รวมถึงการเตรียมจัดตั้งศูนย ประวั ติ ผู ขั บ รถสาธารณะและรถ บรรทุกวัตถุอนั ตราย เพือ่ เปนขอมูลแก
ไท ตอ า หนา... 1 กระทรวงคมนาคม รวมกับกระทรวง พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน สถาบันวิชาการกิจการ นโยบายกับธุรกิจและการกํากับดูแล และ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย จัดสัมมนา เรื่อง “ T E ” การเตรียมความ พรอมเพื่อการขยายตัวดานการขนสงและ โลจิสติกส ภายใตโครงการ “วาระดิจิตอล รูทันโลก รวมเปดไทย” ครั้งที่ 8 พล.ต.อ.วิเชียร พจน พ ิ์ศรี ปลัด กระทรวงคมนาคม เปนประธานในการ เป ด สั ม มนา และกล า วถึ ง การพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมของ ประเทศ วา กระทรวงคมนาคมไดใหความ สําคัญในการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานดาน การคมนาคมขนสงของประเทศ จึงไดจัด ทํากรอบแผนการลงทุนพัฒนาโครงสราง พื้นฐานระบบคมนาคมขนสง พ.ศ. 25562563 เพื่อดําเนินการพัฒนาระบบขนสง ทางถนน ทางราง ทางนํ้า และทางอากาศ ใหสามารถรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในอนาคต โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความสอดคล อ งกั บ ยุทธศาสตรการลงทุนโครงสรางพื้นฐาน ดานการขนสงที่มุงเนนการเพิ่มประสิทธิ ภาพระบบการขนสงภายในประเทศ และ การสรางโอกาสใหมดานการคา และการ ลงทุนจากการเชื่อมตอระบบการขนสง ใหม ข องไทยเข า กั บ ประเทศต า งๆ ใน ภูมิภาค สนับสนุนการคา การลงทุน การ ทองเที่ยว และการจางงาน ตลอดจนการ กระจายความมั่งคั่งสูชุมชนทั่วประเทศ และสงเสริมความพรอมของประเทศไทย ในการเปนศูนยกลางระบบการขนสงแหง ภูมิภาคเอเชียตอไป สวนในชวงการสัมมนานั้น ดร.พงศ ศักติ เสมสันต รักษาการผูอํานวยการ ใหญ บริษัท การทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) กลาววา ทอท. มีแผนหลักในการ พัฒนาอยูแลว การคมนาคมทางอากาศ เปนปจจัยหลักในดานอุตสาหกรรมการบิน และการขนสง ขณะนี้ประเทศไทยเปน ศูนยกลางการบินในภูมิภาคอาเซียนและ เปนลําดับตนๆ ของการบินในทวีปเอเชีย จุดเดนในดานความทันสมัยนี้เองทําให ทอท. ตองมีการพัฒนาอยูต ลอดเวลา กอน ที่จะเกิด AEC ขึ้นในป 2558
A7
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556 และควบคุมชั่วโมงการทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยกําหนดใหรถโดยสาร ประจําทางของ บขส. ดังกลาว ซึ่งมีอยู ประมาณ 800 คัน ตองเริ่มติดตั้ง มา ตั้งแต 1 มกราคม ที่ผานมานั้น ปรากฏวา จนถึงขณะนี้ไดมีการทยอยติดตั้งไปแลว จํานวน 751 คัน คาดวาจะติดตั้งครบ ทุกคันภายในเดือนมิถุนายนนี้ สํ า หรั บ รถบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตราย (ลักษณะ 4) และรถลากจูง (ลักษณะ 9) ที่ ใช สํ า หรั บ ลากรถกึ่ ง พ ว งบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตรายที่ จ ดทะเบี ย นใหม ตั้ ง แต 1 มกราคม 2556 นั้น กรมการขนสงทางบก
ที่ ไ ม มี คุ ณ ภาพออกจากระบบ รวมทั้งเปนการสงเสริมผูขับ รถที่ มี คุ ณ ภาพให อ ยู ใ น ระบบและได รั บ การส ง เสริ ม ด า นการประกอบ อ า ชี พ ก า ร ขั บ ร ถ ที่ มี คุ ณ ภาพให อ ยู ใ นระบบ มากยิ่งขึ้น
รถลากจู ง ที่ จ ดทะเบี ย นไว ก อ นวั น ที่ 1 มกราคม 2556 แตยังมิไดติดตั้งเครื่อง ตองทยอยติดตั้งเครื่อง ใหแลว เสร็จภายในสิ้นปนี้ สําหรับบางสวนที่ได ติดตั้งเครื่อง ไปกอนหนานี้แลว แต มิ ไ ด เ ป น แบบที่ ก รมการขนส ง ทางบก รับรองตองดําเนินการปรับปรุงอุปกรณให ถู ก ต อ งตามที่ ก รมการขนส ง ทางบก กําหนดภายในสิ้นปหนา อธิบดีกรมการขนสงทางบก กลาว เพิ่มเติมอีกวา นอกจากการดําเนินการ ดังกลาวแลว ขณะนีก้ รมการขนสงทางบก อยูร ะหวางเตรียมจัดตัง้ ศูนยขอ มูลประวัติ
สมชัย ิริวัฒนโชค
ขบ.เรงติด GPS ร โดยสารสาธาร ะ
า ต ตัง ร ก ัน า น น นี
ผูป ระกอบการในการคัดกรองประวัตกิ อ น รับเขาทํางาน ตองมาติดตามกัน อธิบดีกรมการขนสงทางบก เปดเผย วา ตามทีก่ รมการขนสงทางบก ไดกาํ หนด ใหรถโดยสารสาธารณะ (นํารองเ พาะ รถโดยสารประจํ าทางของ บขส. ที่ วิ่ ง ระหวาง กทม. ไปยังตางจังหวัด) และรถ บรรทุกวัตถุอนั ตรายตองติดตัง้ ระบบ เพือ่ ใหสามารถติดตาม ควบคุม กํากับดูแล พนักงานขับรถไมใหขับเร็วเกินกําหนด
ไดกาํ หนดใหตอ งติดตัง้ เครือ่ งบันทึกขอมูล การเดินทางของรถ ( T ) ซึง่ ติด ตัง้ อุปกรณระบุตวั ผูข บั รถโดยใชใบอนุญาต ขั บ รถชนิ ด แถบแม เ หล็ ก และผ า นการ รั บ รองจากกรมการขนส ง ทางบก โดย ขณะนี้ มี ร ถบรรทุ ก วั ต ถุ อั น ตรายที่ จ ด ทะเบียนใหมดังกลาว ติดตั้งเครื่อง แบบที่ไดรับการรับรองจากกรมการขนสง ทางบกแลวกวา 300 คัน ในสวนรถบรรทุกวัตถุอันตรายและ
ผูข บั รถสาธารณะและรถบรรทุก วั ต ถุ อั น ตราย เพื่ อ รวบรวม ขอมูลประวัติผูขับรถและ ผูประจํารถใหแกผู ประกอบการขนสง ที่ จ ะรั บ เข า ทํ า งาน เ พื่ อ เ ป น ก า ร คั ด ก ร อ ง ผู ขั บ ร ถ สาธารณะและรถ บรรทุกวัตถุอนั ตราย
“สนามบิน สุว รรณภู มิ รองรั บนั ก ท อ งเที่ ย วและผู ใช บ ริ ก ารได ไ ม เ พี ย ง พอแลว ตอนนี้กําลังเรงดําเนินการในการ ขยายเฟส 2 ซึ่งที่จริงเราควรขยายในทุก มิติมานานแลว แตติดปญหาตางๆ นานา โดยเ พาะในเรือ่ งการเมืองทีม่ มี าอยางตอ เนื่อง รวมทั้งการเปลี่ยนตัวผูบริหารบอย จนเกินไป โดยในเฟสที่ 2 นี้ เราไดทีม วิศวกรผูออกแบบมาเรียบรอยแลวและก็ เพิ่งเซ็นสัญญากันไป อีกไมเกิน 2-3 ป ก็ จะไดเห็นเฟส 2 เรียกไดวาจะมีการเพิ่ม ประตูขาเขา-ขาออกอีก 28 ประตู กอน หนานี้เราทิ้งสนามบินดอนเมืองรางเอาไว 3-4 ป ซึ่งเราดึงมาใชไดทันเวลา เกือบมี การนําไปปรับปรุงเปนสถานที่อยางอื่น แล ว ดอนเมื อ งเข า มาช ว ยแบ ง เบาผู โดยสารจากสุวรรณภูมไิ ดกวา 10 ลานคน ป ทําใหการคมนาคมขนสงทางอากาศ คลองตัวเพิ่มมากขึ้น แตก็ยังไมเต็มที่พอ” ดร.พงศศักติฐ กลาวเพิ่มเติมวา การ ขยายสุวรรณภูมิเฟส 2 ตองใหทันรถไฟ ความเร็วสูงของกระทรวงคมนาคม ซึ่งจะ ทําใหระบบโลจิสติกสของประเทศสงเสริม ซึ่งกันและกันทั้งทางรางและทางอากาศ จะชวยแบงเบากันไป หลักๆ แลว ทอท. จะขนสงผูโ ดยสารและสินคาคารโก โดยจะ มีการเขาไปปรับปรุงหลักเกณฑการบริหาร จั ด การสิ น ค า ร ว มกั บ องค ก รภาครั ฐ ที่ เกี่ยวของ ในสวนของการลงทุนดานโลจิสติกส ในอนาคตนั้น ทอท. มีแหลงเงินทุน คือ การกูเ งินจากธนาคารและผลกําไรจากการ บริหารงานในแตละปมาเปนทุนหลัก ซึ่ง ทางบอรด ทอท. กําลังจะหาเครื่องมือ ทางการเงินใหมๆ มาใชในการขับเคลื่อน ทางดานระบบขนสงใหดีกวาเดิม อาจมี การคุ ย กั บ การบิ น ไทยในการร ว มกั น บริหารสนามบินก็เปนไปได “เราพยายามที่จะพัฒนาสนามบิน ในประเทศไทยใหกาวขามพรมแดนไปสู ความเปนสากล เพราะเราเปนสวนหนึ่ง ของโลจิสติกสโลก” ดร.พงศศักติฐ กลาว ปดทาย ดาน นายเกริกกลา สนธิมาศ ประธาน สมาพันธโลจิสติกสไทย เปดเผยวา ภาค เอกชนรอที่รัฐบาลมีการลงทุนขนาดใหญ เชนนี้มานานมากแลว คิดวาผูประกอบ การโลจิ ส ติ ก ส ต อ งเตรี ย มตั ว ว า ภาครั ฐ ลงทุนแบบนี้ เอกชนจะตองปรับตัวและ ดําเนินการอยางไรบาง “การที่ภาครัฐตองการสรางรถไฟ รางคูเพื่อตีคูกับระบบโลจิสติกสทางบก อยากใหรฐั มองดูวา C หรือจุดเก็บสินคา
มีความจําเปนหรือไมกับรถไฟรางคู การ เก็บและการกระจายสินคาตองดูวา รางคูท ี่ สรางนัน้ จุดไหนมีความเหมาะสมทีจ่ ะสราง เปนจุด C บางพื้นที่อาจถึงขั้นที่ตอง พั ฒ นาเป น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ เพราะ แตละพื้นที่จะมีความเหมาะสมไมเหมือน กัน ทวาหากสรางแลวจะตองมีจดุ พักรถอยู ที่เดียวกัน ไมใชวาวางจุดพักสินคากับจุด พักรถอยูคนละที่ละทาง” นายเกริกกลา ยังกลาวตออีกวา การ ขนส ง ในอาเซี ย นจะต อ งเชื่ อ มอยู บ น อาเซียนไ เวย แตกม็ ขี อ เสียตรงทีป่ ลอยให รถวิ่งกันสะเปะสะปะก็อาจจะไดสินคาที่ ไม มี คุ ณ ภาพจากเพื่ อ นบ า นมาได ต อ ง คํานึงถึงการควบคุมเอาไวดวย “ผมอยากใหมีการทําจุดพักรถทุกๆ 400 กิโลเมตร เพราะวาคนขับจะไดมีการ พักผอนบาง เปนมาตรฐานสากล ไมงั้นให วิง่ ขนสงสินคาอยางเดียวอาจจะเพลียแลว เกิดอุบัติเหตุ จนไมสามารถสงของไดตาม เวลา หากมี จุ ด พั ก รถอยู ที่ เ ดี ย วกั บ จุ ด กระจายสินคาจะทําใหพนื้ ทีน่ นั้ มีเศรษฐกิจ ที่โต เพราะจะมีการจางงานเพิ่ม ผูคนไม ตองเขาไปหางานตามเมืองใหญๆ อยูที่วา รัฐบาลจะเอาดวยหรือไมเทานั้น”
) ทัง้ สิน้ 26,040 ลานบาท (เปนวงเงิน ของธนาคารกรุงไทย 18,030 ลานบาท) และมีตนทุนดอกเบี้ยเงินกูยืมเ ลี่ยเทากับ 4.93 ลดลงจาก 4.98 ณ สิ้นป 2555 สวนตางอัตราดอกเบี้ย ( M ) ลดลงจาก 13.8 เหลือ 13.2 จากชวงเดียวกันของปกอ น และอัตราสวน ของหนี้สินตอสวนของผูถือหุนอยูที่ 7.73 เทา ซึง่ ตํา่ กวาภาระผูกพันทีก่ าํ หนดไวที่ 10 เทา และลดลงจากสิ้นป 2555 ซึ่งเทากับ 8.47 เทา นางสาวอภิศมา ณ สงขลา ผูชวย ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร สายงานคอรปอ เรท ไฟแนนซ บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) กลาววา ทางเคทีซีมีแผนที่จะ ออกหุนกูชุดใหมเพื่อทดแทนหุนชุดเดิมที่ กํ า ลั ง จะครบกํ า หนดระยะเวลาในการ ไถถอน มูลคา 7,500 ลานบาท โดยรูปแบบ ในการออกหุนชุดใหมยังตองรอดูสภาวะ ตลาดในชวงเวลานั้นเสียกอน โดยคาดวาชวงระยะเวลาในการออก หุนกูชุดใหมจะอยูในชวงตนเดือน พ.ย. 2556 และจะเปนในรูปแบบการทยอย ออก สวนจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับพอรต ของบริษทั วามีการเติบโตมากนอยแคไหน รวมถึงการดูโครงสรางเงินกูร ะยะสัน้ ระยะ ยาว และเรื่องตนทุนที่จะเกิดขึ้น ทั้งนี้ ถาตนทุนมีแนวโนมที่จะสูงมาก ทางเคทีซี ก็อาจจะออกหุนกูไมเต็มจํานวน 7,500 ลานบาท หรือถาเงินกูร ะยะสัน้ มีมากก็อาจ จะออกหุ น กู ไ ม เ ต็ ม จํ า นวนด ว ยเช น กั น อยางไรก็ตาม ถาในชวงเวลานั้นดอกเบี้ย อยูใ นอัตราทีส่ งู ทางเคทีซกี อ็ าจจะออกหุน กูเพื่อล็อคดอกเบี้ยใหคงที่เอาไวก็เปนได นางสาวอภิศมา กลาวตอวา ทาง เคที ซี ยั ง ไม มี แ ผนที่ จ ะไปกู เ งิ น จากต า ง ประเทศอยางแนนอน แมอตั ราดอกเบีย้ ใน ข ณ ะ นี้ จ ะ อ ยู ใ น ร ะ ดั บ ที่ ตํ่ า ก ว า ใ น ประเทศไทย เพราะมีความเสี่ยงในเรื่อง การแปลงคาเงินที่อัตราแลกเปลี่ยนยังมี ความผันผวนอยูมาก อีกทั้งบริษัทไมมี ธุ ร กิ จ อยู ใ นต า งประเทศ จึ ง ไม มี ค วาม จําเปนที่จะตองไปกูเงินในตางประเทศ
คทีซี ตอ า หนา... 1 และการดูแลคุณภาพหนี้ไดดียิ่งขึ้น โดยมี คาใชจา ยการบริหารงานลดลง 8 เทากับ 115 ลานบาท คาใชจายทางการเงินลดลง 7 เทากับ 34 ลานบาท หนี้สูญและหนี้ สงสัยจะสูญลดลง 8 หรือเทากับ 99 ลานบาท ผลของการใชนโยบายลดตนทุนการ ดํ า เนิ น งานอย า งต อ เนื่ อ ง ได เริ่ ม ส ง ผล ทีช่ ดั เจนขึน้ ทําใหเคทีซมี สี ดั สวนคาใชจา ย รวมตอรายไดรวม (C ) ในไตรมาส 1 2556 อยูที่ 40.8 ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอ น และจาก สิน้ ปทผี่ า นมาเทากับ 46.4 และ 52 ตาม ลําดับ และหากไมรวมคาใชจายดานการ ตลาด คาใชจาย F และ รายการพิเศษจากการขายเงินลงทุนแลว สัดสวนคาใชจายการดําเนินงานตอรายได (O C ) ลด ลงอยูที่ 27.1 จากชวงเดียวกันของป กอนและสิ้นปที่ผานมา 32.1 และ 30.1 ตามลําดับ สําหรับไตรมาส 1 2556 บริษัทมี วงเงินสินเชื่อคงเหลือ (A C
ศอ. ี ตอ า หนา... 1 การแข็ ง ค า ของเงิ น บาทได ส ร า ง โอกาสตอภาคอุตสาหกรรมหลายดานดวย กัน เชน การนําเขาสินคาทุนและเครือ่ งจักร ทีม่ รี าคาถูกลง ถือเปนโอกาสใหผปู ระกอบ การไดปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรเพือ่ ยกระดับ
นวน า ขอ อ น . าน อ
าิ า อ นัล
1. ม อา ม ห ม อา า 2. หา า น . ม ม า า ะชา ัม ัน ะ มขอ นั นน า ขา น นั มหนั อ ิ หม น ลา า า ขา า น า ะ อ วิชาช ั ิม ม ม า วา าหนา าม ิม หนั อ อ ิน ห อ อวา ิล ั ล า านั้น ะนั้น อน หนว านห ออ ะล า ว ว อ ห นชั อ ล ะ ชนขอ าน ั้ น้ า อ า ิ า น . าน อ อ นัล ั นห ั น า า ิ ะ มัน น า ห วิชาช ั
ว วาม า นา า น . TRANSPORT JOURNAL
เทคโนโลยีในการผลิต เพิ่มผลิตภาพการ ผลิ ต และเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ แขงขัน นอกจากนี้ ยังเปนการรองรับเพื่อ การเปดโอกาสทางการคาและการแขงขัน ใน AEC ซึ่งในชวงนี้ที่คาเงินบาทแข็งคา ทําใหราคาสินคาทุนและเครื่องจักรนําเขา มีตนทุนถูกลงมากโดยเ พาะการนําเขา จากประเทศที่ มี เ ทคโนโลยี ชั้ น ดี อ ย า ง ประเทศญี่ปุน เมื่อผนวกกับคาเงินเยน ที่ อ อ นค า ลง ทํ า ให ร าคาสิ น ค า ทุ น และ เครื่องจักรถูกลงประมาณรอยละ 20 ซึ่ง ผูประกอบการจะมีความไดเปรียบดาน ตนทุน นอกจากนี้ ในชวงทีค่ า เงินบาทแข็ง คานี้ เปนโอกาสดีที่นักลงทุนไทยสามารถ ไปลงทุนในตางประเทศ นายสมชาย กลาวอีกวา กระทรวง อุ ต สาหกรรมได เ สนอนโยบายเพื่ อ ใช โอกาสคาเงินบาทแข็งคาเพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถของผูประกอบการไทย ดังนี้ 1. สนั บ สนุ น ให มี ก ารนํ า เข า สิ น ค า ทุ น และ เครือ่ งจักรเพือ่ ปรับปรุงเครือ่ งจักรโดยการ สงเสริมการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต โดย สนั บ สนุ น ด า นสิ น เชื่ อ การปรั บ เปลี่ ย น เครื่ อ งจั ก ร ในอั ต ราดอกเบี้ ย ตํ่ า 2. สนับสนุนการลงทุนในตางประเทศ โดย สนับสนุนมาตรการสงเสริมการลงทุนคน ไทยในตางประเทศ อาทิ การยกเวนหรือ ลดหยอนภาษีกําไรจากการลงทุนในตาง ประเทศ เมื่อนําเงินกลับสูประเทศ นอกจากนี้ กระทรวงอุตสาหกรรม ยังเสนอมาตรการเพือ่ สนับสนุนผูป ระกอบ การและสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมใหมี
ความพรอมและเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถ ของผู ป ระกอบการในการเผชิ ญ ป ญ หา ความผันผวนคาเงินบาท โดยมีมาตรการ ระยะสั้น คือ 1. ลดความเสี่ยงและความ ผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนโดยการจัด อบรมใหความรู การปองกันความเสี่ยง ดวยเครือ่ งมือทางการเงินตางๆ โดยเ พาะ ผูประกอบการ ME 2. สงเสริมใหมีการ ขยายตลาดสิ น ค า ทั้ ง ตลาดในประเทศ ตลาดชายแดน และตลาดประเทศเพื่อน บานเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยตลาดสงออกหลัก เดิมที่มีการสงออกลดลงจากการแข็งคา ของเงินบาท 3. สนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน โดย มีโครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน เพือ่ การสงเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครอบ ครัวและหัตถกรรมไทย โดยเนนผูป ระกอบ การในอุ ต สาหกรรมครอบครั ว และ หัตถกรรมสงออกและไดรบั ผลกระทบจาก อั ต ราแลกเปลี่ ย น วงเงิ น กู ด อกเบี้ ย ตํ่ า รายละ 50,000 บาท และ 4. ผอนผันให สามารถใช ส กุ ล เงิ น ดอลลาร ซื้ อ ขาย ระหวางของ C ในประเทศ ทั้งนี้ จะตองแกไขก หมาย ก ระเบียบ ที่เกี่ยวของ เชน AT ภาษีหัก ณ ที่จาย ในขณะที่มาตรการระยะกลางและ ระยะยาว คือ 1. การพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิต และระบบบริหารใหมปี ระสิทธิผล โดยการใหความรู ME โดยเนนการ ปฏิบตั ใิ หเกิดผล เพือ่ เพิม่ ผลิตภาพและลด ตนทุน อันเปนการเพิม่ ขีดความสามารถใน การแขงขัน 2. เพิ่มขีดความสามารถทาง นวัตกรรม เพื่อเพิ่มมูลคาสินคา
สถิติการขายรถยนต ในป 2555 ยอ ายป 2555
- รถ ร - รถ ร
A8
- ปริมา าร ายรวม - รถยนตนั่ง - รถเพื่อ ารพา ิ ย ตัน รวมรถ ร ั ปลง ตัน มรวมรถ ร ั ปลง
6 5 คัน 672 6 คัน 76 75 คัน 666 6 คัน 5 2 725 คัน
เปลี่ยน ปลง เทีย ั ป 255 66 76 2 22 หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ก อกร ร ม ไม ม
ไ รมาส 3 เ าค เปด ั ตลาดร ยนตบา นเราหลังสุดเกจ ปร ม นั่ คืนภาษีใหกบั คน อื้ ร คันแรก แมหวงเวลาที่ผานมาร หลายรุนไดใ เวทีบางกอก อินเตอร เน นั่ แนล มอเตอร ว 01 เปนทีเ่ ปดตัวไปแลวหลายแบรนดหลาย รุน แตทวาหาไดหมดไปไม หากแตไตรมาส หรือ ของปนีย้ งั มี ร ยนตรนุ ใหมเปดตัวเพือ่ กระตุน ตลาดอยางตอเนือ่ งแนนอน แมจะไม มากมายนัก แตกไ็ มทาํ ใหผดิ หวัง สงผลใหอตุ สาหกรรมร ยนตบา นเรา เนือ้ หอมไมเลิก ต ยตา กินรวบเกงเลก ดันอี คคาร อยางไรก็ตาม ในแงของรถรุนใหมที่ พอจะตรวจจั บ ความเคลื่อนไหวไดจาก คายผูผลิตยังพบวามีโอกาสจะเปดตัวได ในไตรมาส 3 หรือ 4 ของปนี้ เริ่มจากคาย ยักษใหญ “โตโยตา” ที่เปดตัว โตโยตา วีออส ใหม และหากยอนดูจากการแถลง นโยบายบริษทั ของ นายเคียวอิจิ ทานาดะ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ที่ไดเปดเผย วา “ปนี้ สําหรับผลิตภัณฑใหม บริษัท แนะนํา โตโยตา วีออส โมเดล 2013 อยาง เปนทางการในชวงไตรมาส 1 และไตรมาส 3 ประมาณเดือนตุลาคมนี้ โตโยตา นาจะ ไดฤกษเปดตัวอีโคคารรุนแรกของโตโยตา ลงตลาด พรอมกับเพิ่มโชวรูมจาก 375 เป น 400 แห ง รวมถึ ง ศู น ย จํ า หน า ย รถยนตใชแลว โตโยตา ชัวร จาก 85 เปน 100 แหงภายในปนี้ดวย”
นิสสัน สง มใหม รุน ดาน นิสสัน ผูนําตลาดในเซกเมนต อีโคคาร หลังจากได ไมเนอรเชนจ นิสสัน มาร ช เพื่ อ สร า งความคึ ก คั ก ให กั บ ตั ว ผลิตภัณฑ และลาสุด นายทาคายูกิ คิมูระ ประธานบริษัท นิสสัน มอเตอร (ประเทศ ไทย) จํากัด ไดกลาวเปดเผยวา ป 2556 บริษัทมีแผนเปดตัวรถใหม 3 รุน และรถ พลังงานทางเลือกอีกอยางนอย 2 รุน และ หากดู ร ถที่ จ อดในโชว รู ม แล ว คาดว า หนึ่งในรุนที่ นายทาคายูกิ บอก นาจะ คาดเดาไดวานาจะเปน “นิสสัน เทียนา” ใหม น า จะได ฤ กษ เ ป ด ตั ว ทํ า ตลาดใน ประเทศ ไทยอย า งเต็ ม รู ป แบบ โดย รถยนตรุนใหมที่มาพรอมรูปรางหนาตาที่ โ บเ ยี่ วขึน้ เครือ่ งยนตรนุ ใหม เทคโนโลยี ที่ทันสมัยกวา อรด ปรับ มเ ยสตา ขณะที่ ฟอรด จะตองมีแผนงานเปด
A t z i เพิม
ตัว ฟอรด เฟยสตา ไมเนอรเชนจ เพื่อมา กระตุน ตลาดรถยนตนงั่ ขนาดเล็กทีส่ ดุ ของ ฟอรด อีกครั้ง ซึ่งเฟยสตา ไมเนอรเชนจ นัน้ ดูดดุ นั ไมนอ ยทีเดียว นาจะถูกใจวัยรุน ไมนอย และก็ตองลุนกันหนักๆ วาฟอรด จะเปดตัว F E ทีถ่ กู ออกแบบ มาใหเปนรถยนตอเนกประสงคไซซเล็ก ลออัลลอยขอบ 16 นิ้ว ที่นาสนใจคือ เครื่องยนตของ F E ที่จะใช เครื่องยนต E 1.0 ลิตร ใหกําลัง
ังแม ทอ อเสีย A C E ชุด ท อ ไอเสี ย สายพั น ธุ ร ถแข ง จากประเทศ สโลวี เ นี ย ผลิ ต ด ว ย T นํ้าหนักเบา แข็งแกรงทนทาน ทนความ รอนสูง และ E ชุดลอแม็กทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก นําเขาจาก อเมริกา นํ้าหนักเบา ซึ่งมีประสิทธิภาพ สูงสุดในการเพิม่ สมรรถนะรถยนตใหมพี ละ กําลังในการขับเคลื่อนที่สูงขึ้น ทัง้ นี้ ชุดทอไอเสีย A พรอม ปรับแตงและเพิม่ สมรรถนะสําหรับรถยนต
นายพสุพงษ ลีนุตพงษ กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั ออโตซคิน จํากัด ผูน าํ เขา และจํ า หน า ยฟ ล ม กั น รอยปกป อ งสี ร ถ ร ว มกั บ นายไบรนั ล ชู ว (M . C ) กรรมการผูจัดการ บริษัท ออโตวอรค บริษัทผูนําเขาและ จํ า หน า ยชุ ด อุ ป กรณ ต กแต ง รถยนต รายใหญ ที่ สุ ด ในภู มิ ภาคเอเชียแปซิฟก พรอมผูบริหารระดับสูง รวมแถลงขาว แนะนํ า ชุ ด ท อ ไอเสี ย สายพั น ธุ ร ถแข ง A C E ทอไอเสียผลิตดวยวัสดุนํ้าหนักเบา T พรอมลอแม็ก E จากอเมริกา ผลิตดวย วัสดุที่มีนํ้าหนักเบาที่ดีที่สุดในโลก ซึ่งทั้ง 2 ยีห่ อ เปนสินคาชัน้ นําทีน่ าํ เขามาเพือ่ การ ปรับเพิ่มสมรรถนะรถยนต นายพสุพงษ กลาววา “หลังจาก บริษทั ดําเนินธุรกิจในดานการจัดจําหนาย พรอมศูนยติดตั้งฟลมกันรอยปกปองสีรถ A ไดรับการตอบรับจากกลุมรถ กวา 80 บริษัทจึงมีนโยบาย ในการขยายธุรกิจ ดวยการนําเขาและ
จําหนายอุปกรณเพื่อเพิ่ม สมรรถนะรถยนต ชั้ น นํ า ระดั บ โลก เข า มาเสริ ม ตลาดให กั บ กลุ ม ลู ก ค า รถยนตระดับพรีเมีย่ มมาก ขึ้ น ภายใต ค อนเซ็ ต ป “A ” และใน อนาคตบริ ษั ท ตั้ ง เป า ในการนํ า เข า และ ทุกรุน อาทิ F , จําหนายสินคาเพือ่ การปรับเพิม่ สมรรถนะ , , M ,A , , รถยนตชนั้ นําใหครบทุกเซ็กเมนทอกี ดวย” M AM , M , , สํ า หรั บ สิ น ค า ที่ บ ริ ษั ท ได ลิ ข สิ ท ธิ์ ,F ,C ราคาจําหนาย ในการนํ า เข า มาทํ า ตลาดในป นี้ ได แ ก พรอมติดตั้ง ชุดทอไอเสีย A ราคาขึน้ อยูก บั รถยนตแตละรุน เลือกติดตัง้ ตามโครงสรางของตัวรถ E มี ขนาดวงลอใหเลือกตั้งแต 17, 18, 19, 20, 21, 22 นิ้ว สําหรับราคาจําหนายในรุน EC ชุดละ 990,000 บาท และในรุน E F ราคาแตกตางกันตาม โดยเริม่ ตนราคาชุดละ 150,000-300,000 บาท
สูงสุด 118 แรงมา ใหแรงบิดสูงสุด 125 ปอนด- ฟุต และยังมีเวอรชั่นเครื่องยนต T - CT ขนาด 1.5 ลิตร ซึ่งคาดวานาจะ เปนเวอรชั่นที่ลงทําตลาดในประเทศไทย มาสดา ปลอย สวนคายมาสดา ไมมอี ะไรทีร่ อ นแรง ไปกวา มาสดา C 5 ที่จะเปดตัวในชวง เดือน ตุลาคมนีเ้ ชนกัน หลังจากไดโชวโ ม มาสดา C 5 โปรโตไทป ในงานบางกอก อินเตอรเนชัน่ แนล มอเตอรโชว 2013 ไป 6 บริษทั ผูผ ลิตยางรถยนตยกั ษใหญ นําโดย บริดจสโตน กู ดเยียร แม็กซิส มิชลิน ดันลอป โยโก ามา รวมกอตั้ง “สมาคมผูผลิตยางรถยนตไทย” หวังเปน ตั ว ประสานความสั ม พั น ธ ข องสมาชิ ก สรางประโยชนแกผูบริโภค คูคา และ มุงพัฒนาอุตสาหกรรมยางรถยนตไทย นายชิ น อิ จิ ซา ต กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั ไทยบริดจสโตน จํากัด ใน ฐานะนายกสมาคมผูผลิตยางรถยนตไทย กลาววา อุตสาหกรรมยางรถยนตถือเปน อุตสาหกรรมที่เปนรากฐานสรางความ มัน่ คงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย และ เปนอุตสาหกรรมตอยอดใหเกิดรายไดใน ภาคอุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง รวมทั้งผูประกอบธุรกิจขนาด เล็กและเกษตรกร อาทิ การจางแรงงาน ในการผลิ ต ผู ป ระกอบกิ จ การขนส ง เกษตรกรผูปลูกยางพารา เปนตน ดวย เล็ ง เห็ น ถึ ง ประโยชน ความสํ า คั ญ ของ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางรถยนต ใ น ประเทศไทย จึงเปนที่มาของการจับมือ ผนึกกําลังเพื่อจัดตั้ง “สมาคมผูผลิตยาง รถยนตไทย” (T A T M A ) หรือ “TATMA” โดยสมาคมผู ผ ลิ ต ยางรถยนต มี วัตถุประสงค สรางสัมพันธอันดีระหวาง สมาชิ ก พร อ มส ง เสริ ม การประกอบ วิสาหกิจประเภทที่เกี่ยวกับการผลิตยาง รถยนต กําหนดและดําเนินมาตรการเชิง นโยบายในเรื่องความปลอดภัยของยาง รถยนต รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของ การผลิตและการบริโภคยางรถยนตเพื่อ ชวยใหสมาชิกสามารถแขงขันกันอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ทั้ ง ในและต า ง ประเทศ นอกจากนี้ ยังสงเสริมความรวมมือ และการติ ด ต อ ประสานงานอย า งมี
หมาดๆ ซึ่ ง มาสด า C 5 นั้ น มาพร อ ม เทคโนโลยี สกายแอ็กทีฟ ( ) พรอม กันทัง้ เบนซิน 2.0 และดีเซล 2.2 ลิตร ซึง่ มาสดาคุยวาเปนเครื่องยนตที่ประหยัด นํา้ มันทีส่ ดุ และกําลังเครือ่ งยนตดที สี่ ดุ ซูบารุ สงมวย ด า น นายอภิ ชั ย ธรรมศิ ร ารั ก ษ ผู จั ด การทั่ ว ไป บริ ษั ท ที ซี ซู บ ารุ (ประเทศไทย) จํ า กั ด ในฐานะผู จั ด จําหนายรถยนต ซูบารุอยางเปนทางการ
เปดเผยวา ที่ผานมาบริษัทประสบความ สําเร็จกับรุน ซูบารุ เอ็กซวี ( A ) อยางมาก โดยไดออกโรดโชวกวา 50 จุด ทั่ ว ประเทศ แบ ง เป น กรุ ง เทพฯ และ ปริมณฑลกวา 30 จุด และตางจังหวัดอีก กวา 20 จุด อาทิ เชียงใหม, นครราชสีมา, อุ ด รธานี , ชลบุ รี , สุ ร าษ ร ธ านี , และ หาดใหญ “บริษัทยังมีแผนเปดตัวรถยนตรุน ใหม “ซู บ ารุ ออล นิ ว ฟอเรสเตอร ( A A E FO E TE )” ใน ไตรมาตรที่ 3 โดยมั่นใจวา ซูบารุ ออล นิว ฟอเรสเตอร สุดยอดรถยนตอเนกประสงค ( ) เจเนอเรชั่น 4 จะไดรับการตอบรับ เปนอยางดี “ ลุน อีซูซุ ดัน อีซูซุ มิว ใหม สําหรับรถอเนกประสงคในรูปแบบ พีพวี ี ( ) ปนี้ไมมีอะไรใหม แตที่นาลุนที่สุดมีเพียง คาย อีซซู ุ ทีจ่ ะดัน “อีซซู ุ มิว-7” เพราะหาก ยึดตามคําพูดของผูบริหารตรีเพชรอีซูซุ เซลส ในวันเปดตัวปกอัพโ มใหม อีซูซุ ดีแมคซ เมือ่ ปลายป 2554 วาจะไมมกี าร เปดตัวโมเดลเชนจของรุน มิว-7 ภายในระยะ เวลา 2 ป ถาเชนนัน้ ประมาณเดือนสิงหาคม นี้แฟนๆ คายตรีเพชรอาจมีเซอรไพรสกับ “อีซซู ุ มิว-7” โมเดลใหม..
นกกําลั 6 ู ลิตยา รถยนตยัก ให
ประสิทธิภาพกับหนวยงานราชการทั้ง องคกรภายใน ประเทศและตางประเทศ รวมถึ ง หน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อุตสาหกรรมยางรถยนต ตลอดจนจัด สัมมนาหรือเผยแพรบทความตางๆ ใน หัวขอที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมยางรถยนต โดยไมมุงเนนการแสวงรายได “เพื่ อ สร า งความแข็ ง แกร ง แก เศรษฐกิจของประเทศไทย และพัฒนา อุ ต สาหกรรมยางรถยนต ซึ่ ง ถื อ เป น อุตสาหกรรมสําคัญที่เปนพื้นฐานสราง ความเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ภาพความ รวมมือกันของทั้ง 6 บริษัทผูผลิตยาง รถยนต ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวั น นี้ นั บ เป น การ เริ่มสัญญาณที่ดีถึงความรวมมือระหวาง กลุมอุตสาหกรรม หนวยงานรัฐ รวมทั้ง ผู บ ริ โ ภค โดยหวั ง ว า จะ สามารถขยายวงกวางไป ยัง คูคา พันธมิตรบริษัท ยางรถยนต อื่ น ๆ ใน ประเทศไทย เพื่อกอเกิด ประโยชน ต อ ส ว นรวม รวมกันอยางยั่งยืน ตอไป” นายซาโตะ กลาว
สําหรับการจัดงานเปดตัว “สมาคม ผูผลิตยางรถยนตไทย” วันที่ 22 พ.ค. มี ผูบริหารระดับสูงเขารวม ทั้งนายชินอิจิ ซาโตะ กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท ไทยบริ ด จสโตน จํ า กั ด นายฟ น บาร โอคอนเนอร กรรมการผูจัดการ บริษัท กูดเยียร (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) นายหลิน ยวี่ ยวู รองประธานอาวุโส บริ ษั ท แม็ ก ซิ ส อิ น เตอร เ นชั่ น แนล (ประเทศไทย) จํากัด นายเสกสรรค ไตร อุโ ษ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท สยามมิชลิน จํากัด นายโทรุ นางา าตะ ประธาน บริษัท ซูมิโตโม รับเบอร (ไทย แลนด) จํากัด และนายยะสึ โิ ร มิซโึ มโตะ ประธานบริษทั โยโก ามา ไทร แมนูแฟค เจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ปที่ 6 ั ที่ 7 5 วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
การ คม ป
B1
ก ท
ั ดันมา า ดส รน จส ส
กนอ เปดน ยบายเรงดวนควบคุมมลภาวะกลุม นิคมฯ และทาเรือ อุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง เตรียมนําระบบกรีน ลจิสติกส ครงการพัฒนาระบบขนสงอยางมีประสิท ภิ าพ ปลอดภัย และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อสรางศักยภาพทางการแขงขัน ดร.วิ ู ร ย สิ ม ชคดี ประธาน กรรมการ การนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย เผยโครงการพัฒนา ระบบ ขนสงอยางมีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ( ) ในกลุมนิคมฯ และทาเรืออุตสาหกรรม พื้ น ที่ ม าบตาพุ ด จั ง หวั ด ระยอง สื บ เนือ่ งจากแผนยกระดับกลุม นิคมมาบตาพุด สู เ มื อ งอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เวศ ผ า น 3 กลยุทธ ไดแก กลยุทธการปรับเปลี่ยนรูป แบบการขนสง ( ) กลยุทธการ กํ า กั บ ดู แ ลตามก หมาย กลยุ ท ธ ก าร พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน โดยคาดหวังวา สามารถลดความหนาแน น การจราจร ขนสงระหวางทาเรือ ประหยัดพลังงาน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ โดยรายละเอียดในการขับ เคลื่อน ดังนี้ กลยุทธที่ 1 การปรับเปลีย่ นรูปแบบ การขนสง ( ) ไดแก การ
เคลื่อนยาย วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบ การขนสง อาทิ รูปการเคลื่อนยายจากรถ ไปเรือ หรือรถไปราง การวางระบบราง ขนสง ฯลฯ กลยุ ท ธ ที่ 2 การกํ า กั บ ดู แ ลตาม ก หมาย มีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมและ ตรวจสอบการปฏิ บั ติ ต ามก หมาย การขนสง และยกระดับมาตรฐานความ ปลอดภัยในการขนสง อาทิ การกําหนด เสนทางการเดินรถไมใหผานพื้นที่ชุมชน การกําหนดเวลาเดินรถ ฯลฯ กลยุทธที่ 3 การพัฒนาโครงสราง พืน้ ฐาน มีวตั ถุประสงคเพือ่ พัฒนาโครงสราง พื้นฐานดานการขนสง และลดความหนา แนนของการจราจรบนถนนและรองรับการ ขยายตัวดานการขนสงจากภาคอุตสาห กรรมในอนาคตสําหรับในทุกชองทาง ดร.วิฑูรย กลาวเพิ่มเติมวา จากที่ กนอ. ไดดาํ เนินการสรางโครงการเชือ่ มตอ
10 ของปริมาณโรงงานทัง้ หมดทีม่ จี าํ นวน 148 โรงงาน ซึ่ ง คาดว า จะดํ า เนิ น การ เชื่อมโยงสัญญาณครบ 100 ภายในป 2558 โดยตัวอยางรายชื่อโรงงานอุตสาห กรรมในป 2556 ไดแก บริษัท แอร ลิควิด (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไบเออรไทย จํากัด บริษัท สไตรโนลูชั่น (ประเทศไทย) จํากัด อยางไรก็ตาม กนอ. มีนโยบายใน การเฝาระวังและตรวจสอบคุณภาพสิ่ง แวดลอม และกํากับดูแลโรงงานใหปฏิบัติ ตามก หมาย และระเบียบตางๆ ทัง้ นีแ้ ผน งานการเชื่ อ มโยงระบบเฝ า ระวั ง ของ
‘หอการคาไทย’ ด 2 หลักสูตร ลจิสติกส
ทจริง ชี้ ซนนิ่งจ สําเรจ ล ยั่งยืนหรือ ไมอยูทีบ่ คุ ลากรในพืน้ ทีต่ อ งรวมใจเสนอ ยุท ศาสตรตอสวนกลาง พรอมนําเงินกู . ลานลาน มาพัฒนาร บบ ลจิสติกส ลดตนทุน นายยุคล ลิ้ม หลมทอง รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวง เกษตรและสหกรณ กลาวในงานประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนกับพืชสวนไทย จัดโดย สมาคมพืชสวนไทย ทีศ่ นู ยนทิ รรศการและ การประชุมไบเทค บางนา เมื่อเร็ว ๆ นี้วา ความต อ งการของตลาดจะเป น ตั ว ขั บ เคลื่อนเศรษฐกิจของประชาคมอาเซียน แมไทยจะมีมาตรฐานและศักยภาพของ สินคาเหนือกวาประเทศเพื่อนบาน แตพืช เกษตรมีการแขงขันกันสูง สิ่งแวดลอมเขา มามีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากผูซื้อจาก
สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ใหความ สํ า คั ญ สุ ด ท า ยแล ว ราคายั ง เป น ตั ว ตัดสินใจ ดังนั้น เรื่องการลงทุนเพาะ ขยายปรับปรุงพันธุพืช บีโอไอตองมีการ เป ด ส ง เสริ ม การลงทุ น ให ธุ ร กิ จ ขนาด กลางและเล็ก หรือ ME เขามาในธุรกิจ นี้ ม ากขึ้ น ต อ งมี ก ารแก ก หมายใน ประเด็นการอนุรกั ษพนั ธุ การเคลือ่ นยาย มากขึ้ น เพื่ อ ให ไ ทยเป น ศู น ย ก ลาง การเกษตรในภูมิภาคนี้ นอกจากนี้ ภาวะโลกรอนที่สงผล กระทบตอทางดานวิชาการทั้งหมด ตอ ไปตองวิจัยหาพันธุพืชตามสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนไป จากอุณหภูมิที่สูงขึ้นทุกป และเดียวนีเ้ ปลีย่ นทุกวัน เชน ภาคอีสาน อุณหภูมิกลางวัน กลางคืน บางจังหวัด แตกตางกันถึง 15-18 เซลเซียส หรือ อยางลิ้นจี่ จ.สมุทรสงคราม 7,000 กวา ไร ติดผลอยูตนเดียว นอกเหนือจาก ฤดูกาลเปลีย่ นแปลงแลว ผลผลิตยังออก สูตลาดลาชาไป 1 เดือนเศษดวย ะนั้น องคความรู อานตอหนา...B2
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เปด 2 หลักสูตรใหม ผลิตผูเชี่ยวชาญก หมาย ดานโลจิสติกส ตอยอดสาขาเดิม รองรับ ไทยศูนยกลางโลจิสติกส นายสุ รรม อยู ใน รรม คณบดี คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยหอการคา ไทยและประธานสถาบั น วิ ช าการ นโยบายสาธารณะกั บ ธุ ร กิ จ และการ กํ า กั บ ดู แ ล (A ) มหาวิ ท ยาลั ย หอการคาไทย กลาววา มหาวิทยาลัยได เปดหลักสูตรใหม ไดแกสาขาโลจิสติกส ของคณะนิ ติ ศ าสตร ที่ เ น น ผลิ ต ผู เชี่ยวชาญก หมายดานโลจิสติกสและสา ขาโลจิสติกสของคณะบริหารธุรกิจที่เนน ดานการบริหารจัดการโลจิสติกส ในป การศึกษา 2556 เพื่อผลิตบัณฑิตปอน ภาคธุรกิจรองรับการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานรถไฟความเร็วสูง และการผลัก ดันใหไทยเปนศูนยกลาง ( ับ) โลจิสติกส ของภูมิภาคเอเชีย และเปนการตอยอด จากเดิ ม ที่ เ ป ด สอนสาขาโลจิ ส ติ ก ส ใ น คณะวิศวกรรมศาสตร “ไทยถือเปนจุดยุทธศาสตรสําคัญ ของเอเชีย มีความไดเปรียบดานทําเล ภูมิศาสตรที่จะสงผลใหเกิดการพัฒนา ทางธุรกิจและเศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มขึ้น ดังนั้นในเชิงธุรกิจมีความจําเปนที่จะตอง ผลิ ต บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ค วามชํ า นาญ ดานการคาและการขนสงโลจิสติกสเพื่อ มารองรับธุรกิจที่กําลังขยายตัวเพิ่มขึ้น” นายสุธรรม กลาว ทั้ ง นี้ มหาวิ ท ยาลั ย ได เร ง พั ฒ นา
หลักสูตรโลจิสติกส เนื่องจากเล็งเห็นถึง ความจําเปนและความตองการแรงงาน และบุคลากรดานขนสงและโลจิสติกสใน อนาคตอีกจํานวนมาก โดยเ พาะอยาง ยิ่งหากรัฐบาลสามารถพัฒนาโครงการ โครงสรางพื้นฐานรถไฟความเร็วสูงให เกิดขึ้นในอีก 3-5 ปขางหนาไดสําเร็จ ก็ จะสงผลใหมีโอกาสเกิดธุรกิจใหมๆ ตาม มาอีกมาก หลั ก สู ต รใหม เ ป น การปรั บ ปรุ ง เนื้อหาการเรียนการสอน โดยผสมผสาน ศาสตรอื่นที่เกี่ยวของกับธุรกิจเขามาใน หลักสูตร เชน การเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับ โลจิสติกสควบคูไปกับก หมาย ทําให นักศึกษามีความเขาใจและความรูเกี่ยว กับธุรกิจโลจิสติกส และสามารถประยุกต ใชในการทํางานไดจริง เนื้อหาของหลักสูตรดังกลาว จะมี ความแตกตางจากคณะนิติศาสตรของ มหาวิทยาลัยอื่น คือ นอกจากตองเรียน เนื้อหาก หมายพื้นฐานทั่วไป นักศึกษา ยั ง ต อ งเรี ย นก หมายธุ ร กิ จ ได แ ก ก หมายการค า ระหว า งประเทศแบบ เจาะลึ ก โลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชน แฟรนไชส บริหารงานบุคคล ทรัพยสิน ทางปญญา ก หมายการเงินการธนาคาร และก หมายอาหาร เพื่ อ ให เ ข า ใจ ก หมายดานธุรกิจอยางลึกซึ้ง อยางไร ก็ ต าม มหาวิ ท ยาลั ย ประเมิ น ว า จะ สามารถผลิตแรงงานสําหรับธุรกิจขนสง และโลจิสติกสจาก 3 คณะ ไดปละเกือบ 1,000 คน
หากมาดูตวั เลขรายประเทศ จะเห็น วาเราคาขายกับมาเลเซียสูงสุดถึงรอยละ 58 ตามมาดวยประเทศเมียนมาร รอยละ 19.5 ประเทศ สปป.ลาว รอยละ 14.4 และประเทศกัมพูชา รอยละ 8.1 หันกลับ มาดู คํ า นิ ย ามของการค า ชายแดน ซ่ ง หมาย งการคาในร ดับทอง ิ่น เปน การค า สิ น ค า พื้ น านข า ม ดน ดย ผูป ร กอบการทอง นิ่ การชําร เงินสวน ให เปนเงินสกุลบาท ล มักชําร กัน ดวยร บบเงินสด อาศัยความรูจัก ล เชื่อใจกันเปนสําคั ซึ่งป 2556 การคา ชายแดนของไทยจะมีตัวเลขอยูใน ถึงรอยละ 9 เทียบเทากับการสงออกไป ประเทศสหรัฐอเมริกา บวกกับการสงออก ไปกลุมประเทศอียูอีกครึ่งหนึ่ง จะเห็นได วาเปนตัวเลขที่ไมนอย ขณะที่การคากับ ประเทศเพื่อนบาน เมื่อเทียบกับประเทศ
ที่พัฒนาแลว จะมีความยุงยากทั้งดาน มาตรฐานและการกีดกันที่นอยกวามาก ดังนั้น คําจํากัดความของการคาชายแดน แบบเดิ ม ๆ อาจต อ งนิ ย ามกั น ใหม ซึ่ ง ตั ว เลขการค า ชายแดน ซึ่ ง สู ง ขนาดนี้ จําเปนทีท่ งั้ ภาคเอกชนและภาครัฐจะตอง ใหความสนใจในตัวเลขการคาชายแดน ของไทย ถึ ง แม ว า จะมี ค วามกั ง ขาว า ตัวเลขที่สงออกขามแดนไปมาเลเซีย นา จะเปนการสงสินคา โดยเ พาะยางพารา ขามแดนไปสูประเทศที่ 3 หากสามาร ที่ จ มี ก าร ยกตั ว เลขที่ ชั ด เจนร หวาง การคาที่เปนการคาชาย ดน กั บ การค า ที่ ข า ม พรม ดนปร เทศเพือ่ นบานไปสูปร เทศ ที่ ก็ จ ะสามารถกํ า หนด กลยุทธ และยุทธศาสตรไดชัดเจนกวาที่ เปนอยู
อย า งไรก็ ต าม ต อ งยอมรั บ ว า ประเทศเพื่อนบานของเราก็มีการพัฒนา เปนลําดับ และเริ่มจะใหความสําคัญกับ สินคาที่ผานแดนจากประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งในระยะยาวก็คงมีมาตรการตางๆ ใน การควบคุมสินคานําเขาและสงออก เห็น ไดจากบางประเทศมีความเขมงวดในการ เปดดานถาวร จําเปนที่ปร เทศไทยจ ตองใหความสําคั ตอการพัฒนาชอง ทางการคา ซึง่ ตลอดทัง้ ชายแดนมีมากกวา 89 ชองทาง โดยจะตองยกระดับดาน ชายแดนที่ มี ศั ก ยภาพ ซึ่ ง ป จ จุ บั น มี โครงสรางพื้นฐานที่คอนขางพรอมที่จะ รองรับการคาในอนาคต ตปร เดนจ ตองเชือ่ ม ยง าคเศรษ กิจใหสามาร ใช ปร ยชน จ าก ครงสร า งที่ มี อ ยู ใน ป จจุ บั น ล ในอนาคตได อ ย างมี ปร สิท ิ าพ ตรงนี้เปนจุดที่ภาครัฐจะ
ตองเรงดําเนินการ ทั้งในสวนที่เกี่ยวของ กับก เกณฑ ระเบียบ ขอบังคับ ทั้งดาน ขนสง ดานศุลกากร ดานใบอนุญาต และ อื่นๆ ซึ่งประเทศไทยกับประเทศเพื่อน บานยังขาดความสอดคลองและเชือ่ มโยง ทั้งนี้ การสงเสริมการคาชายแดน ในอนาคตภายใตการเชื่อมโยงของ AEC โดยประเทศไทยอยูตรงศูนยกลางของ ภูมิภาค ซึ่งเปนจุดที่ประเทศไทยมีความ ไดเปรียบ โดยรูปแบบการคาในอนาคต การขนสงทางถนนจะมีบทบาทสําคัญตอ การคาในกลุม ประเทศสมาชิกอาเซียน ซึง่ มี แ ผ น ดิ น ติ ด ต อ กั น ที่ เรี ย กว า A EA M ซึง่ รวมถึงประเทศจีนตอนใต หากปร เทศไทยไมอยากเสี ย อกาส จํ า เป น ที่ จ ต อ งยกร ดั บ จากการค า ร ดั บ ท อ ง ิ่ น ไปสู การค า ที่ เ ป น บบ สากล
ดร ว ร สม โช ด
สัญญาณแจงเตือนภัยจากระบบเฝาระวัง มายังศูนยเฝาระวังและควบคุมคุณภาพ สิ่งแวดลอม (EMCC) ในกลุมนิคมฯ และ ท า เรื อ อุ ต สาหกรรมพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด
เ ตร เรงย ม ตร นสินค รับเออีซี พรอมพั น ร บบ ิสติ ส ดตนทุน เกษตรฯ ยกร ดับมาตร าน ล พั ฒ นาศั ก ย าพ าคเกษตรไทยรั บ เออี ซี เ ตมที่ จี้ บี อไอให ก ารสงเสริม
ลงทุนเพา ขยายพัน ุพืช รวมทั้ง ผลั ก ดั น รั ปรั บ ปรุ ง ก หมายที่ เ ป น อุปสรรค เพื่อใหไทยเปนศูนยกลางอยาง
ดร.ธนิต สรัตน ร ธาน
รอ ร ธานส าอุตสาหกรรมแห ร เทศ ทย ร ธานสาย าน ล ิสติกส ส.อ.ท.
การคา า
... อ กระ ไป อ อร
ภายใต เ ศรษฐกิ จ แบบเป ด ของ อาเซียน หรือ AEC ซึ่งในอีกเกือบ 3 ป ข า งหน า ก็ จ ะทํ า ให ต ลาดในภู มิ ภ าค อาเซียนกลายเปนตลาดเดียวกัน และ เป น ฐานการผลิ ต ร ว มกั น โดยที่ ประเทศไทย มี พ รมแดนติ ด ต อ กั บ ประเทศเพื่ อ นบ า น ทั้ ง มาเลเซี ย เมียนมาร ลาว กัมพูชา โดยโครงสราง พื้นฐาน ทั้งสะพานและถนนที่มีระยะ ทางสั้นๆ สามารถเชื่อมโยงกับประเทศ
จีนตอนใต และเวียดนาม ทําใหเปนขอได เปรียบ และเอือ้ ตอการสงเสริมการคาของ ไทย ดังนั้น แนวโนมการคาชายแดนของ ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบาน นับวัน จะมีบทบาทสําคัญตอภาคเศรษฐกิจ เห็น ไดจากตัวเลขการคาชายแดนในปที่แลว อยูที่ประมาณ 912,500 ลานบาท โดยมี อัตราการเติบโตเ ลี่ยรอยละ 13-14 คาด วา ปนี้ตัวเลขการคาชายแดนของไทยคง ทะลุหลัก 1.05 ลานบาท อยางแนนอน
โรงงานมายังศูนยเฝาระวังฯ ไมใชการ ดําเนินงานตามก หมายบังคับ แตเปน ความร ว มมื อ จากผู ป ระกอบการ โดย ปจจุบัน โรงงานกวา 148 เขตนิคมฯ และ ท า เรื อ อุ ต สาหกรรมพื้ น ที่ ม าบตาพุ ด จังหวัดระยอง เปนโรงงานอุตสาหกรรม ข น า ด ใ ห ญ ดํ า เ นิ น ง า น ก า ร ผ ลิ ต อุตสาหกรรมประเภทปโตรเคมี เคมีภัณฑ เหล็ ก โรงกลั่ น นํ้ า มั น และโรงไฟฟ า ครอบคลุมเนื้อที่ 10,215 ไร แบงเปนเขต อุตสาหกรรมทั่วไป 7,092 ไร เขตที่พัก อาศัยของชุมชนโดยรอบ 1,490 ไร และที่ อานตอหนา...B2 เหลือเปน
จังหวัดระยอง นั้นไดดําเนินการวางระบบ แลวเสร็จ สามารถเชือ่ มโยงแจงเหตุ กุ เ นิ ของโรงงานมายังศูนยเฝาระวังฯ เปนที่ เรียบรอยแลว จํานวน 25 โรงงาน หรือกวา
B2
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ของกร ทรวงพา ชิ ย กิจกรรมให ทีจ่ ดั ข้นเมือ่ วันที่ 0 พ.ค. ซ่งมีงานสัมมนา เรื่องที่สําคั ูกผนกอยูในงานนั้นดวย คือเรื่องการคา ล พลังงาน ล ครงการทาเรือนํา้ ลกทวาย ซ่งเรือ่ งเหลานีพ้ ฒ ั นาไปสูเปาหมายทีว่ าง ไวในการเปนศูนยกลางของ ูมิ าคเอเชียต วันออกเ ียงใต ดยกร ทรวงพา ิชย รวมกับ าคเอกชนเดินหนาชูศักย าพ ลจิสติกส ในวันที่ 29 พฤษภาคม 2556 มีกิจกรรมกระทบไหลทูตพาณิชย ชี้ชอง ME บุกตลาดอาเซียน ซึ่งจะมีทั้งการบรรยายพิเศษ และการเสวนาหัวขอ “ลวงลึกตลาด มุสลิมและหมูเกาะมาเลเซีย สิงคโปร ฟลิปปนส อินโดนีเซีย บรูไน” จัดที่โรงแรม เซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัล ลาดพราว เสวนา “จาก 7 แสนลานสู 1 ลานลาน โอกาสทองคาชายแดน” และเสวนา “เจาะตลาดการคาชายแดน พมา-ลาว-กัมพูชาเวียดนาม” เปนตน ในฐานะแมงาน นางศรีรัตน รัษ ปาน อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวาง ประเทศ เปดเผยวา การจัดสัมมนา 2 เรื่อง คือ การคาและพลังงาน (T
บับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ เปดเผยอีกวา สําหรับการสัมมนา เรื่อง A EA C และโครงการทาเรือนํ้าลึกทวายนั้น การพัฒนาเต็ม โครงการของทาเรือนํ้าลึกทวาย ตั้งอยูดานทิศตะวันตกของนิคมอุตสาหกรรม และ มีทางเขาออกโดยตรงสูทะเลอันดามัน จะประกอบดวย อูตอเรือ พื้นที่โกดังเก็บ สินคาและไซโล สิ่งอํานวยความสะดวกดานระบบโลจิสติกส รวมทั้งอาคารเก็บ สินคาเทกองและตูส นิ คาคอนเทนเนอร ประตูการคาสูภ มู ภิ าคเอเชียตะวันออกเ ยี ง ใต ดังนั้น เมื่อประสานความเชื่อมโยงระหวางทาเรือแหลม บังและทาเรือทวาย โดยทาเรือทวาย ไดเปรียบเสนทางการขนสงไปทางตะวันตก และทาเรือแหลม บัง ไดเปรียบเสนทางการขนสงไปทางตะวันออก “ประโยชนทปี่ ระเทศไทยจะไดรบั คือ เมือ่ พิจารณาดานศักยภาพความเชือ่ ม โยงทางเศรษฐกิจ ทาเรือนํ้าลึกทวาย จะเสริมศักยภาพของการเปนโลจิสติกส ับ ของไทย มีการเชื่อมโยงวัตถุดิบจากสหภาพพมา ที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดม สมบูรณ ดานอุปทานแรงงานซึ่งมีอยู จํานวนมาก และมีคาจางแรงงานถูก เสริ ม ความมั่ น คงด า นพลั ง งาน กิจกรรมการผลิตในภาคอุตสาหกรรม อื่นๆ โดยเ พาะอุตสาหกรรมตนนํ้า เชน ดานปโตรเคมี นํ้ามัน โรงผลิต ไฟฟา เปนตน” นางศรีรตั น กลาวอีกวา สําหรับ มูลคาการคาระหวางไทยกับอาเซียน ทั้ง 9 ประเทศ ในไตรมาสแรกของป 2556 นี้มีมูลคา 14,670 ลานเหรียญ สหรัฐ เพิ่มขึ้น 5.9 ขณะที่ป 2555 มีการสงออก 56,730 ลานเหรียญ สหรัฐ เพิ่มขึ้น 7.6 สินคาสงออกสําคัญ ไดแก นํ้ามันสําเร็จรูป รถยนต อุปกรณ และชิ้นสวน เครื่องจักรและสวนประกอบ เคมีภัณฑ เหล็ก เหล็กกลาและผลิตภัณฑ เม็ดพลาสติก เครือ่ งคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบ นํา้ ตาลทราย ผลิตภัณฑ ยาง และแผงวงจรไฟฟา ถือเปนแนวโนมดานการคาที่ดีขึ้น สวนการประชุมติดตามสถานการณการคาระหวางประเทศในชวงครึง่ หลังของ ป 2556 รวมกับสํานักงานพาณิชยในตางประเทศ 4 แหง หัวหนาสํานักงานสงเสริม การคาระหวางประเทศ 62 สํานักงานทั่วโลก ภาคเอกชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่ประชุมไดแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณการคาในปจจุบัน ซึ่งประสบ ปญหาอุปสรรคหลายดาน รวมถึงการแข็งคาและผันผวนของคาเงินบาทที่มากกวา คาเงินของประเทศคูแขงขันในภูมิภาค ผลจากการหารือรวมกันในครั้งนี้ ทําให กระทรวงพาณิชย ปรับเปาหมายการสงออกของป 2556 จากเดิมขยายตัวรอยละ 8-9 เปนขยายตัวรอยละ 7-7.5 หรือ มีมูลคาสงออกรวม 245,585-246,733 ลาน เหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ มีความเชื่อมั่นในการผลักดันการสงออกใหเพิ่มขึ้นในตลาดใหมๆ โดยเ พาะตลาดอาเซียน ซึ่งมีสัดสวนการสงออกถึงรอยละ 25 ของการสงออกรวม ป นี้ ค าดว า การส ง ออกจะขยายตั ว ร อ ยละ 12.4 จากเดิ ม ที่ ตั้ ง เป า หมายไว ที่ รอยละ 10
AEC WEEK ศรีรั น รัษฐปานะ
เรง ั นาสรางเ รอขายเออีซี E ) กับการสัมมนาเรื่อง A EA C และโครงการทาเรือนํ้าลึกทวาย ซึ่งเปนหนึ่งในกิจกรรมใหญ “AEC EE ” โดยกรมรวมกับหนวยงานภาครัฐและ เอกชน รวมเสริมสรางและพัฒนาผูประกอบการไทยสูเวทีการคาระหวางประเทศ วา ทาเรือนํ้าลึกทวาย กับพลังงาน เปนนโยบายของรัฐบาล ซึ่งจะเปนนโยบายสําคัญใน การพัฒนาเศรษฐกิจของไทยไปสูเปาหมายความเปนศูนยกลางของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเ ียงใต และเสริมศักยภาพการรวมเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) นโยบายรัฐบาลตองการเรงใหเศรษฐกิจขยายตัวเต็มที่ จําเปนตองสรางขีดความ สามารถในการแขงขันในภาคการลงทุนและการผลิตของไทย ตองพัฒนาโครงสราง พื้นฐานและกําหนดนโยบายดานพลังงานที่ชัดเจน ซึ่งกระทรวงพาณิชย ไดวาง ยุทธศาสตรการใชอาเซียนเปนฐานไปสูเวทีโลกเพื่อใชประโยชนจากความไดเปรียบ เชิงที่ตั้งเชิงยุทธศาสตรในภูมิภาคของไทยเปนศูนยกลางการคาลงทุนในภูมิภาคและ เรงใชประโยชนจากทรัพยากร ผูประกอบการและผูบริโภคของอาเซียนเปนฐาน เพื่อ กาวไปสูก ารยกระดับใหประเทศไทยมีการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจใหเจริญเติบโต อยางยัง่ ยืน รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และผลักดันใหไทยเปนศูนยกลางการผลิต สินคาและบริการในภูมิภาคอาเซียนตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ก ร ร ตอ า หนา... ที่จะตองจัดการรับกับการเปลี่ยนแปลงจึง เปนหัวใจสําคัญ นายยุ ค ล กล า วต อ ว า การปรั บ โครงสรางการผลิตทางดานเกษตร คือโซน นิ่ง เปนอีกเรื่องหนึ่งที่ไทยตองปรับตัวรับ กับการเปลี่ยนแปลงเพื่อเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี พืน้ ทีเ่ กษตร 151 ลานไร จะตองมีการจัดตามศักยภาพของ ดิน อากาศ นํ้า ขณะนี้กระทรวงเกษตรฯ
ประกาศพื้นที่เหมาะสมไปแลว ประกอบ ดวยพืช 8 ชนิด ประมง 3 ชนิด และ ปศุสัตว 5 ชนิด แตเรื่องโซนนิ่งจะสําเร็จ หรือไมขนึ้ อยูก บั บุคลากรในพืน้ ที่ จากเดิม จะเปนการสั่งจากขางบน หรือสวนกลาง ลงลาง บอกใหขา งลางวาตองทําอะไร ขาง ลางเลยไมคิด เวลาหนวยงานตางประเทศ มาประเมิ น หรื อ ให ทุ น จะสรุ ป ว า ทุ ก โครงการประสบความสําเร็จ แตสาํ เร็จเมือ่ เสร็จโครงการเทานั้น ไมมีการสานตอแต อยางใด ตอไปตองปรับเปลีย่ นใหม ขางลาง ตองเสนอขึน้ มาภายในเดือนนีว้ า จะทําอะไร
มอ นการ ก า : สมาคมผูสื่อขาวเศรษ กิจ รวมกับองคกรตางๆ จัดพิธีมอบทุนการศึกษา บุตร-ธิดาสมาชิกสมาคม ประจําป 255 จํานวน 130 ทุน และในโอกาสนีไ้ ดจดั สรรเงินจํานวน 1 0,000 บาท เพือ่ มอบทุนการศึกษาเปนกรณีพเิ ศษทุนละ 4,000 บาท ใหกบั เด็กในถิน่ ทุรกันดาร จากโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนในเขตจังหวัดตาก จํานวน 30 ทุน และนักเรียนจากจังหวัด กา สินธุ และจังหวัดรอยเอ็ด จํานวน 10 ทุน เพื่อสนับสนุนดานการศึกษาและพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ณ โรงภาพยนตรเมเจอรรัชโยธิน เมื่อเร็วๆ นี้
Logistics Corner
โดย : Miss Delivery
สวัสดีค พบกับ ปร จําหนังสือ เริ่มตนโครงการที่คาดวาจะชวย ลดตนทุนโลจิสติกสและการขนสงกับ ความคืบหนาทาเรือปากบารา ศรศักดิ์ สนสมบัติ อธิบดีกรมเจาทา ชี้แจงวา ขณะนี้เตรียมจางที่ปรึกษาวิเคราะหผล
กระทบทางสิง่ แวดลอมและสุขภาพ (อีเอช ไอเอ) โครงการกอสรางทาเรือนํ้าลึกปาก บารา จ.สตูล ระยะที่ 1 ภายหลังรางพระ ราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ใหอํานาจกระทรวง การคลังกูเ งิน เพือ่ การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานด า นคมนาคมขนส ง ของประเทศ พ.ศ....ผ า นการพิ จ ารณาแล ว โดยการ ดําเนินการดังกลาวเปนไปตามก หมายที่ กําหนดใหตองจัดทําอีเอชไอเอ ถึงแมที่ ผานมาจะผานการวิเคราะหผลกระทบทาง สิ่งแวดลอม (อีไอเอ) เสร็จเรียบรอยแลว
CLO
จะพัฒนาโซนนิ่งอยางไร ผูประกอบการ เกษตรกร องคกรสวนทองถิ่นตองมาทํา ยุทธศาสตรรว มกันวาจะทําอะไรในพืน้ ทีใ่ ห สินคามีความปลอดภัย มีคณ ุ ภาพ และขาย ได สวนพืน้ ทีไ่ มเหมาะสม เชน ขาวเปลือก ศ.ดร.ฐาปนา บุญหลา, ประธานกรรมการ มูลนิธิสถาบันโลจิสติกสแหงเอเซีย ไดผลผลิตเพียง 350 กก. ไร จากทีค่ วรจะ ไดไรละ 730 กก. ถาจะปลูกใหไดไรละ 500 กก. ตองใสปุย ใสอะไรบาง หรือจะปรับ เปลีย่ นอาชีพเปนอะไร รวมทัง้ ตองการให บริบทโลกาภิวัตนที่มีการเปลี่ยน โอกาสและอุปสรรคอยางนาสนใจที่ควร ภาครัฐเขาไปสนับสนุนอะไรบาง แปลงและไมแนนอนตลอดเวลาทั้งมิติ พิจารณา คือ ผลสะทอนของวิกฤติ การ “เราทํ า โซนนิ่ ง เพราะไม ต อ งการ ดานคุณประโยชนและโทษตอมนุษย ใน เปลี่ ย นขั้ ว อํ า นาจทางการเมื อ งภู มิ ภ าค หวานแห การเตรียมตัวเขาสูการแขงขัน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม นวัตกรรม ความทาทายของเทคโนโลยี การเปลี่ยน ในเออีซี ยกตัวอยาง ในพื้นที่ปลูกขาว เทคโนโลยีสารสนเทศ สิ่งแวดลอม และ แปลงของบรรยากาศ นํ้าและอาหาร การ กระทรวงเกษตรฯกําลังหารือกับบริษัท ธรรมชาติ ผูที่มีปญญาและเขมแข็งกวา ศึกษาการเปลีย่ นแปลงประชากร สงคราม เอกชนในการพิจารณาสายพันธุที่เหมาะ ยอมอยูรอด สวนผูที่ดอยปญญาและ การกอการราย และความไมสงบทางสังคม สมในแตละพืน้ ที่ รวมทัง้ การบริหารจัดการ ออนแอกวายอมดับสูญไปเปนธรรมดา พลังงาน ระบบนิเวศและความหลากหลาย จะไดไมตองพึ่งรัฐบาลมาก” ประเด็นสําคัญเราควรตระหนักรูว า อะไร ทางชีวภาพ สุขภาพ และภัยพิบตั ธิ รรมชาติ อี ก เรื่ อ งหนึ่ ง คื อ การจั ด ระบบ จะขึ้นกับตัวเรา และสังคมในวันพรุงนี้ วันนี้จะขอขยายความเลาสูกันฟงแตละ โลจิสติกสที่ไทยยังมีตนทุนคอนขางสูงถึง เพื่อเตรียมตัวเตรียมใจ และปรับตัวกับ เรื่องพอสังเขปดังนี้ 17 โครงการเงินกูเพื่อนํามาพัฒนาสา สถานการณทจี่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตคงจะ ผลกร ทบของวิก ติ ธารณูป โภค 2.2 ลานลานบาท รัฐบาล ดีกวาแน จากขอมูลหนังสือ O A มี ก ารกล า วถึ ง ผลของ พรอมจะพัฒนาใหไทยเปนศูนยกลางใน T E ของ A ไดระบุถงึ ลมละลายและเปนอัมพาตระบบ ภูมภิ าคนี้ ซึง่ จะตองมีการจัดระบบราง ทํา แนวโน ม อนาคต 12 เรื่ อ งที่ เ ป น ทั้ ง การเงินของโลก แตภาวะตกตํ่าไดทําให ถนนเชือ่ มตอในการขนถายสินคา และการ รวบรวมสินคาเกษตรทัง้ หมดเพือ่ ขนสงจาก สิ่งแวดลอมตางๆ โดยแบงระบบติดตาม แหลงผลิตถึงมือผูบริโภค โดยขนสงออก 50,000 ครัวเรือน นอกจากนี้ กนอ. มีนโยบายในการ ตรวจสอบและเฝาระวังเปน 5 ดาน ไดแก จากพืน้ ทีผ่ ลิตเร็วขึน้ เพือ่ มิใหราคาตกตํา่ กํากับดูแลสิง่ แวดลอมรวมกับทุกภาคสวน ดานอากาศ ดานนํ้า ดานฐานขอมูลและ เพื่อใหสามารถอยูรวมกับชุมชนไดอยาง การเชื่อมโยง ดานสื่อสารประชาสัมพันธ ยั่งยืน โดยเ พาะมาตราการเฝาระวังและ ดานความปลอดภัยรวม 21 ระบบ อาทิ ตอ า หนา... ควบคุมสิ่งแวดลอม ซึ่งศูนยเฝาระวังและ ระบบเฝาระวังคุณภาพอากาศจากปลอง ควบคุมคุณภาพสิง่ แวดลอม (EMCC) เปน แบบต อ เนื่ อ ง สถานี ต รวจวั ด คุ ณ ภาพ พืน้ ทีว่ า งเปลา จํานวนประชากรอาศัยโดย กลไกลที่ สํ า คั ญ ในการติ ด ตามเฝ า ระวั ง อากาศรถเคลื่ อ นที่ สํ า หรั บ ตรวจวั ด รอบรวมกว า 200,000 คน หรื อ กว า และควบคุ ม สั่ ง การในการจั ด การด า น คุณภาพอากาศ สถานีตรวจคุณภาพนํา้ ตน
Chief Logistics Officer
ว ม กา ว
อ ที
ก
อลัน มว
ร ักด สนสม ัต
ก็ตาม ทั้งนี้ ภายหลังราง พ.ร.บ. ผานการ พิจารณาแลว กรมจะสามารถนําเงินมา ดํ า เนิ น งานตามขั้ น ตอนได ทั น ที โดย
กระบวนการจัดทําอีเอชไอเอ จะมีตั้งแต 1-2 ป หากไมมปี ญ หาอะไรมากนักก็จะใช เวลาเร็วสุดไมตาํ่ กวา 1 ป แตจะไมเกิน 2 ป หลังจากนั้นจึงจะประกวดราคาหาผูรับ เหมาเขาไปดําเนินการกอสรางตอไป มา ทีค่ ณะกรรมาธิการ (กมธ.) วิสามัญพิจารณา รางพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ใหอํานาจ กระทรวงการคลั ง กู เ งิ น เพื่ อ การพั ฒ นา โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงของ ประเทศ พ.ศ....หรือ พ.ร.บ.กูเ งิน 2 ลานลาน บาท ในสวนของพรรคประชาธิ ปตย (ปชป.)
นําโดย กร จาติกว ชิ ส.ส.บัญชีรายชือ่ สามาร ราชพลสิท ิ์ ส.ส.บัญชีรายชือ่ รวม กันแถลงขาวถึงความเปนไปไดของนโยบาย คาโดยสารของ รถไฟฟา ทีร่ ฐั บาลประกาศ วาจะเก็บคาโดยสาร 20 บาทตลอดสาย ซึง่ เปนเพียงนโยบายขายฝน ทิง้ ทายที่ บริ ษั ท ที เ อ็ น ที เอ็ ก ซเพรส เวิ ล ด ไวด (ประเทศไทย) ผู นํ า ด า นบริ ก ารขนส ง พัสดุภัณฑดวนครบวงจร ทั้งในและตาง ประเทศ ซึง่ มีฐานการดําเนินงานในประเทศ เนเธอรแลนด รวมสนับสนุนการจัดงาน
หลายสิง่ หลายอยางจนกลายเปนบทเรียน ที่ดี จากเหตุการณเงินจํานงอสังหาริม ทรัพยสว นเกิน ภาระหนีส้ นิ ในหลักทรัพย สินเชือ่ ลมเหลว และปญหาโครงสรางการ ลงทุ น ในรถยนต ที่ เ คยเฟ อ งฟู ข อง ประวัติศาสตร ภาวะฟองสบูที่พรอมจะ แตกไดทุกเมื่อ โลกที่แตกตางจะรวมตัว เขาหากัน วิกฤติทางการเงินที่เลวราย สงผลมาตัง้ แตมรสุมดีเปรสชัน่ ใหญเมือ่ ป ค.ศ. 1930 เศรษฐกิ จ ใหม การเงิ น การเมือง ก หมาย และโครงสราง และ ก กติกาจะเสือ่ มถอย และในศตวรรษที่ 21 นี้จะขับเคลื่อนโดยเศรษฐกิจโลกาภิ วัตนอยูอยางขาดความไมแนนอน หลัง จากการโยนเงินสาธารณะกอนโตเพือ่ พยุง ปญหา หนี้สวนเกินไดเคลื่อนยายจาก ระดับครอบครัวสูระดับชาติอยางหลีก เลีย่ งไมได ประเด็นสําคัญปจจุบนั คือ จะ แกปญหาหนี้สาธารณะของโลกจํานวน ประมาณ 39,000,000,000,000 เหรียญ สหรัฐ จะทําอยางไรขึน้ อยูก บั วาคุณอาศัย อยูท ไี่ หน มีวถิ ที างทีแ่ ตกตางของจํานวน ทีผ่ ดิ ปกติ อานตอ หนา... คลอง และปลายคลอง ระบบการเชือ่ มโยง ขอมูลการตรวจวัดคุณภาพนํ้าทิ้งอุตสาห กรรม ระบบฐานขอมูลอัตราการระบายมล สารทางอากาศ รถสนับสนุนหนวยเคลื่อน ที่ เร็ ว และประชาสั ม พั น ธ ก ระจายข า ว ระบบเครือขายความปลอดภัยดวยกลอง วงจรปด ระบบเชื่อมตอระบบติดตามเฝา ระวั ง ของโรงงานเพื่ อ รองรั บ เหตุ ก ารณ ุกเ ินแบบทันที ฯลฯ เ ลิม ลอง วันชาติเนเ อร ลนด ครบ รอบ 00 ป ในว รกาสการสล ราช สมบัติข องสมเดจพร ราชินีนา เบีย ทริกซ ล พิ รี าชา เิ ษกพร ราชา บิ ดี หงราชอา าจักรเนเ อ ลนด โดยได รับเกียรติจาก อลัน มิว กรรมการผูจ ดั การ ใหญ ที เ อ็ น ที ประเทศไทย นํ า คณะ ผูบริหารและเชิญลูกคาของทีเอ็นที เขา รวมงาน บริเวณสวนของสถานทูตเนเธอร แลนดประจําประเทศไทย...พบกันใหม บับหนา สวัสดีคะ
รา ากา า า ราคารั กา น ราคา รง ยก ราคา
ร า การ น น า ลิ
อลลา / ัน 333.00 550.00 900.00
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ยูบีเอ็ม ประเทศไทย เตรียมจัดงานใหญ 01 จัดเวทีเสวนาระดมสมองพลังงานทดแทนในอาเ ียน ูไ ไลท หวังสรางการเจรจาการคาและการ ลงทุนพลังงานทดแทนอยางเปนรูป รรม ตัง้ เปาใหไทยเปนศูนยกลาง พลังงานทดแทนแหงอาเ ียน ตอยอดเทค น ลยีสูพาณิ ย
เมาทเผาขน โดย : เสือหมอบแมวเซา
ลวงเข า สู สั ป ดาห สุ ด ท า ยของ เดือน พ.ค. กันเปนทีเ่ รียบรอย กําลังจ เขาสู กลางปที่เตมเปยมไปดวยความ ชุม ํ่าของสาย นที่บรรจงเทกร หนํ่า ลงมาขจั ด ความร อ นให ห ายไปจาก สารบบ หลั ง จากที่ เราตรากตรํ า กั บ
18.13 24.82 36.35
จาก 30 ประเทศทั่วโลก “การจัดงานในปนี้ขยายตัวเพิ่มขึ้น 20 จากปที่แลว ซึ่งนับวาเปนเรื่องที่ดี ทีเดียวสําหรับประเทศไทยของเรา เพราะ เปนสิ่งบงชี้ใหเห็นถึงการใหความสําคัญ ของพลังงานทดแทนในระดับชาติ การันตี วาการดําเนินนโยบายของภาครัฐไดผล ซึง่
สร ักด นตตวั น
เข า ใจในการใช ง านและการดู แ ลรั ก ษา อยางถูกวิธี ถึงแมวาจะไมแตกตางจาก การใชระบบนํ้ามันมากนักก็ตาม แตการ บํารุงรักษา ตรวจสภาพการใชงาน ยอมเปน สิง่ ทีค่ วรกระทําอยางสมํา่ เสมอ ดังนัน้ ใน การแกไขและปองกันปญหารถติดกาซไฟ ไหม ควรจะสงเสริมและมุง เนนทีม่ าตรฐาน ของอุปกรณและผูประกอบการติดตั้งที่ได มาตรฐานและไดรบั ใบอนุญาตเปนสําคัญ ทั้งนี้ จากขอมูลกรมการขนสงทาง บก ณ วันที่ 9 ก.พ. 56 พบวา ในประเทศ ไทยมีรถยนตทตี่ ดิ ตัง้ กาซ ทัง้ ประเทศ เกือบ 1 ลานคัน เนื่องจากกาซ เปน พลังงานทางเลือกที่ไดรับความนิยมจาก ประชาชนที่มีรายไดปานกลางถึงรายได น อ ย ซึ่ ง เป น ประชากรส ว นใหญ ข อง ประเทศ สามารถนํามาใชเพื่อลดรายจาย และลดภาระคาเชือ้ เพลิงของครอบครัวได “แนวคิดทีจ่ ะยกเลิกการจดทะเบียน รถ เปนการจํากัดสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนในการใชพลังงานทางเลือกอยาง
B3
งั งานทด ทน าเ ยน ไมเพียงแตเปนเรือ่ งภายในประเทศเทานัน้ แตยังชวยดึงดูดการคาและการลงทุนดาน
ค นแนวคิด มรับ ดท เบียนร วัน ร ทบ ูปร อบ รทัวปร เท
สมาคม รุ กิจกาซร ยนตไทย บุก กร ทรวงพลังงาน ยืน่ หนังสือเปดผนก ง รมว.พลังงาน ทวง ามความชัดเจน กร ี ไ มรั บ จดท เบี ย นร ที่ ใช สอ ววกร ทบผูใชร กวา 1 ลานคัน ล ผู ป ร กอบการทั่ ว ปร เทศ ผู มี รายไดนอย ดนไปเตม นายสุ ร ศั ก ดิ์ นิ ต ติ วั ฒ น นายก สมาคมธุรกิจกาซรถยนตไทย เปดเผยวา สมาคมธุ ร กิ จ ก าซรถยนต ไ ทยได ยื่ น หนั ง สื อ เป ด ผนึ ก ต อ นายกรั ฐ มนตรี รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ปลัด กระทรวงคมนาคม รองปลัดกระทรวง พลังงาน และอธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อคัดคานแนวคิด หรื อ นโยบายที่ จ ะยกเลิ ก การรั บ จด ทะเบียนรถยนตทใี่ ชระบบกาซ และ ขอความชัดเจนในการดําเนินธุรกิจใหแก ผู ป ระกอบการต า งๆ ที่ อ ยู ใ นอุ ต สาห กรรมกาซรถยนตของประเทศไทย ที่ ปจจุบนั ไดรบั ผลกระทบจากกรณีที่ รมว. พลังงาน มีแนวคิดที่จะยกเลิก ไมรับจด ทะเบียนรถที่ใชกาซ เปนเชื้อเพลิง อยางไรก็ดี จากการศึกษาถึงปจจัย ที่สงผลใหเกิดอุบัติเหตุไฟไหมรถติดตั้ง กาซ และ นัน้ สวนใหญมาจาก 3 สาเหตุหลัก ไดแก 1. การเลือกใชระบบ และอุปกรณกาซที่ไมไดมาตรฐานความ ปลอดภั ย ที่ ดี 2. สถานที่ ติ ดตั้งหรืออู ติดตั้งที่ไมชํานาญการ บุคลากรขาดการ ฝกอบรมทีค่ รบถวนอยางแทจริง และไม ไดมาตรฐานหรือไมไดรบั ใบอนุญาตจาก กรมการขนสงทางบกอยางถูกตองตาม ก หมาย และ 3. ผูใชขาดความรู ความ
า าขา ล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
เ มส ั นายมนู เลียวไพ รจน ประธาน บริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จํากัด เผยถึงการจัดงาน E A 2013 ที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 5-8 มิ.ย. 56 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา วา ในขณะนี้มีบริษัทตอบ รับเขารวมงานแลวมากกวา 300 บริษัท
า / . 10.26 16.96 27.76
เสรี และยังสงผลกระทบตอผูประกอบ การ ซึ่งอยูในอุตสาหกรรมติดตั้งกาซ ในรถยนตมากวา 30 ป หากมีการ ยกเลิกยอมสงผลกระทบตอผูประกอบ การ และแรงงานในอุตสาหกรรมจํานวน มาก ทั้งกลุมผูประกอบการศูนยติดตั้ง กาซ ทีไ่ ดรบั ใบอนุญาตแลวกวา 330 ราย ผูจ ดั จําหนายระบบและอุปกรณกาซกวา 50 บริษัท โรงงานผลิตถุงบรรจุกาซ 5 โรงงาน รวมถึงสถานีบริการปมกาซ อีกกวา 1,160 แหงทั่วประเทศ และ แรงงานทีเ่ กีย่ วของอีกนับหมืน่ คน” นาย สุรศักดิ์ กลาว กาซ ที่ใชในรถยนตถือเปน พลังงานทางเลือกชนิดหนึง่ ทีไ่ ดรบั ความ นิยมทั่วโลก โดยเ พาะในกลุมประเทศ ที่พัฒนาแลวหลายประเทศ ทั้งสหรัฐ อเมริกา ยุโรป ออสเตรเลีย และเอเชีย สง ผลใหปจจุบันมีรถยนตที่ขับเคลื่อนดวย กาซ มากกวา 23 ลานคันทัว่ โลก โดยมากกวารอยละ 50 เปนรถยนตสว น บุคคลหรือรถครอบครัวทัว่ ไป นายสุ ร ศั ก ดิ์ กล า วว า ป จ จุ บั น ผูประกอบการติดตั้งกาซ มีการนํา เทคโนโลยีทันสมัยจากตางประเทศเขา มาใหบริการติดตั้งกาซ มากขึ้น และศูนยบริการติดตั้งแกสมีมาตรฐาน มากขึ้น เทียบเทาศูนยบริการรถยนต ขณะเดี ย วกั น ยั ง ได รั บ การยอมรั บ ใน มาตรฐานระดับโลก ดังนัน้ จึงควรสงเสริมและสนับสนุน ใหประชาชนเลือกใชผูประกอบการที่ได มาตรฐานและมีใบอนุญาต มากกวาจะใช วิธยี กเลิกดวยการไมรบั จดทะเบียนรถทีใ่ ช กาซ เปนเชือ้ เพลิง
อากาศรอน สนทรมานมาไมตํา่ กวา เดือนเตม ชวงนี้หวังวาทานผูอานคง เยนใจลงมากข้ น แต แวดวง พลังงานยังไมยอมเย็น มีแตเรือ่ งรอนๆ เขา มาไมขาดสาย เสี่ยเพง พงษศักดิ์ รักต พงศไพศาล รมว.พลังงาน ใหสัมภาษณ ราวๆ กลางเดือนวา ชักจะทอใจกับการ สรางโรงไฟฟาถานหิน เพราะพี่นองชาว ล ต อ วร ง ชวปรชา ส ั น ป ม รวั น กระบี่ออกมาตอตานอยางแข็งขันวา ไม งานนี้ ทํ า เอาแกนนํ า กระทรวง เอา แตทาง กฟผ. ก็ยืนยันหนักแนนวา พลังงาน ถึงกับเซ็งและเบือ่ ถึงขัน้ ออกปาก จะตองสรางใหไดเพราะถือเปนเรือ่ งจําเปน วา หากประชาชนไมตอ งการจนสรางไมได
พลังงานทดแทนจากตางประเทศเขามา ดวย ซึง่ การจัดงานในปนเี้ รามีแนวคิดเกีย่ ว กับเรื่องอาเซียนสอดแทรกเขาไปในทุก สวน เพื่อสงสัญญาณเตือนวาไดเวลาแลว ทีผ่ ปู ระกอบการไทยจะนําเอาเทคโนโลยีที่ เราถนั ด ไปต อ ยอดสู ก ารค า ในระดั บ อาเซียน เกิดเปนอุตสาหกรรมใหมที่สราง เงิน สรางงาน สรางรายไดใหกับคนไทย โดยเราตัง้ เปาวาจะตองดึงนานาชาติมาเขา รวมใหมากที่สุด ทั้งในเชิงธุรกิจการคา และวิชาการ เพือ่ สะทอนภาพลักษณความ เป น ศู น ย ก ลางพลั ง งานทดแทนแห ง อาเซียนออกมาสูส ายตาประชาคมโลก อีก ทัง้ ยังเปดโอกาสทางการคาและการลงทุน ขามชาติดวย” นายมนู กลาว ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรม
พั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน (พพ.) กลาววา นับวาเปนงาน ดานพลังงานทดแทนทีย่ งิ่ ใหญมากในเมือง ไทย ซึง่ งานนีผ้ ปู ระกอบการทีเ่ ขารวมจะได พบหน ว ยงานต า งๆ ที่ ร ว มขั บ เคลื่ อ น พลังงานทดแทนในประเทศไทย รวมทั้ง พพ. ดวย โดยจะเปดโอกาสใหผปู ระกอบการได เรียนรูเทคโนโลยีใหมๆ จากตางประเทศ สรางการคาและการลงทุน โดยเ พาะใน กลุ ม ผู ผ ลิ ต สิ น ค า สิ่ ง แวดล อ ม ที่ พพ. พยายามสงเสริมตอยอดจากความเชีย่ วชาญ เทคโนโลยีพลังงานทดแทนของคนไทยเรา ไปสูก ารเปนผูส ง ออกสินคาสิง่ แวดลอม ทัง้ ดานระบบและอุปกรณในกลุมกาซชีวภาพ เอทนอล และนํา้ รอนแสงอาทิตย นอกจากนี้ ในการแถลงขาวดังกลาว ยังไดมีการเสวนาระดมความคิดในเรื่อง เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานและพลังงาน หมุนเวียนอีกดวย โดย รศ.ดร.สิรินทรเทพ เตาประยูร ผูอํานวยการบัณฑิตวิทยาลัย รวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ( EE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี แนะวา ตอไปพลังงานชีวมวล ( M ) ซึ่งทํามาจากออย ยางพารา นํา้ มันปาลม เศษวัสดุเหลือทิง้ รวมทัง้ ขยะ และพืชโตเร็วตางๆ นั้น จะเปนพลังงาน ทางเลือกหลักๆ ใหกับประเทศได ทั้งนี้ ทาง EE ถื อ เป น ผู นํ า ในการผลิ ต
บา จากคิกออ รวม 12 สถาบัน
บุคลากรดานพลังงาน และทําผลงานวิจัย ออกมา เพื่อเอื้อประโยชนกับชุมชน และ ผูประกอบการทางธุรกิจที่ตองการหันมา ใชพลังงานชีวภาพมากขึ้น นายสนัน่ อังอุบลกุล ซีอโี อบริษทั ศรี ไทย ซุปเปอรแวร จํากัด (มหาชน) มองวา เรื่องนโยบายการกระตุนใหภาคอุตสาห กรรมหันไปใชพลังงานทดแทนเปนเรื่อง สํ า คั ญ ก็ จ ริ ง แต เรื่ อ งของการลงสู ภ าค ปฏิบัติก็สําคัญไมยิ่งหยอนไปกวากัน ทั้งนี้ ตนมองวาผูป ระกอบการรายใหญๆ มักตืน่ ตัวกับเรื่องพวกนี้อยูแลว แตสําหรับเหลา ผูประกอบการรายยอย หรือ ME ยังคง ละเลยเรือ่ งดังกลาวอยูม าก เหตุนซี้ อี โี อผูน ี้ จึงจัดตั้ง “โครงการเพื่อนชวยเพื่อน” โดย ตั ว เองได ส ง พนั ก งานจากบริ ษั ท ตนไป แนะนําความรูด า นประหยัดพลังงานใหแก กลุมอุตสาหกรรมเดียวกัน และปดทายที่ นายพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งาน ทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทย กลาวเห็นดวยวา รัฐบาลควรมีการ สนับสนุนใหทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และ เอกชนหันมาใชพลังงานชีวภาพมากขึ้น มองวารัฐนาจะมีการเก็บขอมูลเปนตัวเลข วาโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ใชพลังงาน กันคนละเทาไหร ขอมูลตรงนีจ้ ะนํามาเปน แผนยุ ท ธศาสตร ด า นพลั ง งานให กั บ ประเทศไทยได
บางจาก ตอยอดโซลารฟารมสูบาน โซลาร เซลล ร ว มมื อ สมาคมสถาปนิ ก สยามฯ และคณะสถาปตยกรรมศาสตร 12 มหาวิทยาลัยชั้นนําทั่วประเทศ ออกแบบ และโชวบานอยางมืออาชีพ ในโครงการ “นวัตกรรมบานโซลารเซลลเพื่ออนาคต” จุดประกายการสรางบานของประชาชนใน ปจจุบนั และอนาคต ชวยประหยัดคาไฟฟา ลดภาวะโลกรอนอยางยั่งยืน นายวิเชียร อุษ า ชติ กรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท บางจากปโตรเลียม จํ า กั ด (มหาชน) เป ด เผยว า ในฐานะที่ บางจาก เปนบริษทั พลังงานของคนไทยและ มีนโยบายรวมสรางสังคมสีเขียว ( ) จึงสนับสนุนการนําพลังงานทดแทน มาใชอยางตอเนื่อง และขยายธุรกิจไปยัง พลังงานสะอาดทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ดวยโครงการผลิตไฟฟาจากเซลล แสงอาทิตย หรือ ซึ่ง ได เ ป ด ดํ า เนิ น การแล ว 3 แห ง ที่ อ.บางปะอิน อ.บางปะหัน จ.พระนคร ศรีอยุธยา และ อ.บําเหน็จณรงค จ.ชัยภูมิ
กําลังผลิตรวม 70 เมกะวัตต และกําลังจะ เปดเพิ่มเติมในภาคตะวันออกและตะวัน ออกเ ียงเหนืออีก 48 เมกะวัตต รวมทั้ง สิ้น 118 เมกะวัตต “พลังงานธรรมชาติจากเซลลแสง อาทิ ต ย ที่ ไ ม มี วั น หมด สามารถนํ า มา ประยุ ก ต ใช ใ นอาคาร บ า นเรื อ นของ ประชาชนได จึ ง เป น ที่ ม าของแนวคิ ด โครงการนวัตกรรมบานโซลารเซลลเพื่อ อนาคต ( F ) ซึ่ ง เป น ความคิ ด ริ เริ่ ม สรางสรรคแบบมืออาชีพที่คณาจารยและ นักศึกษาไดรวมกันนําเทคโนโลยีโซลาร เซลล ม าออกแบบติ ด ตั้ ง กั บ บ า นเดี่ ย ว ทาวนเ าส และคอนโดมิเนียม เพื่อผลิต
กระแสไฟฟาสําหรับภาคประชาชนใชใน ครัวเรือนอยางมีประสิทธิภาพ ทดแทนการ ใชไฟฟาจากสวนกลาง” “อีกทั้งนําเสนอการใชแผงโซลาร เซลล ม าตกแต ง เพิ่ ม ความสวยงาม ให กั บ บ า นได อยางกลมกลืน เหมาะสมกั บ สภาพแวดลอม ของประเทศ ไทย ดวยแนว คิ ด บานอยูส บาย ชวยประหยัดไฟและ รักษาสิง่ แวดลอม เปนตนแบบทีส่ ามารถนํา มาใชประโยชนไดจริง” นายวิเชียร กลาว โครงการดังกลาว ไดรบั ความรวมมือ จากสมาคมสถาปนิ ก สยามในพระบรม ราชูปถัมภ คณะสถาปตยกรรมศาสตร 12 มหาวิ ท ยาลั ย ได แ ก ม.เกษตรศาสตร ม.ขอนแก น ม.เชี ย งใหม ม.เทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ม.เทคโนโลยีราชมงคลลานนา ม.ธรรม ศาสตร ม.นเรศวร ม.มหาสารคาม ม.ศรีปทุม ม.ศิลปากร และ ม.อัสสัมชัญ รวมกันออกแบบและเผยแพรความรูแก ประชาชน
ก็จะไมสรางแลว แตหากภาคใตเกิดปญหา ไฟติดๆ ดับๆ เหมือนที่แลวๆ มาก็ตัวใคร ตัวมัน แตคนที่กําหมัดไดอยาง หนั ก แน น ก็ คื อ สุ ทั ศ น ปทมศิ ริ วั ฒ น ผูว า การ กฟผ. ทีป่ ระกาศกราวในงานครบ รอบสถาปนา กฟผ. 44 ป วา แผนในชวง 5 ปขางหนาแบงเปน 2 เรื่อง หนึ่งในนั้น คือ โครงการพัฒนาโรงไฟฟาถานหิน 800 เมกะวั ต ต ที่ ทุ บ โต ะยื น ยั น ว า ต อ งใน จ.กระบี่ เทานั้น เพราะถือวาที่นั่น กฟผ. มีพื้นที่อยูแลว กระทรวงพลังงาน
ทําพิธีบันทึกขอตกลงรวมกับกระทรวง วิทยาศาสตรฯ ภายใตการนําของ วรวัจน เอื้ออ ิ ากุล รมว.วิทยาศาสตรฯ ที่มา เปนประธานในการลงนามเรื่องโครงการ ความรวมมือการพัฒนาศักยภาพดานการ วิจัยและพัฒนา และกิจกรรมนวัตกรรม ด า นการสํ า รวจและผลิ ต ป โ ตรเลี ย ม ระหวาง กจญ.ปตท.สผ. เทวินทร วงศ วานิช กับทางดาน าดา มุกดาพิทักษ รักษาการเลขาธิการ สวทน. และ ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผอ.สวทช. โดยมีวตั ถุประสงค
เพื่ อ ส ง เสริ ม การแลกเปลี่ ย นความรู ประสบการณ และขอมูลทางวิชาการรวม กัน บิกยอย พล.ต.อ.วรพงษ ชิวปรีชา รอง ผบ.ตร. ในฐานะ ผอ.งาน ปราบปรามการกระทําผิดเกี่ยวกับนํ้ามัน เชื้ อ เพลิ ง ลุ ย แหลกจั บ เพิ่ ม ผู ลั ก ลอบ จําหนาย ผิดประเภท ตรวจพบโรง บรรจุขโี้ กง 30 ราย และปม 41 ราย ทีต่ อ ง ผงะคือ เจอผูค า มาตรา 7 ตัง้ บริษทั นอมินี ลั ก ลอบจํ า หน า ยเอาส ว นต า งเสี ย เอง แบบนีต้ อ งปราบใหเรียบครับเจานาย
ออก บบบาน ซลาร ซลล พือคนไทย
จับตามอง SME ไทย
ตัวเลขการลงทุนในเดือนมกราคม 2554 มีจ นวน 120 โครงการ เพิ่มขึ้น 35 เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่ผานมา มีมูลคาเงินลงทุน 2 ,400 ลานบาท ลดลง 55 เนื่องจากปที่ผานมา มีโครงการขนาดใหญยื่นขอรับการสงเสริมในกิจการ ผลิตไฟฟาหลายโครงการ คาดการณภาพรวมการลงทุนในป 2554 จะไมต่ กวา 400,000 ลานบาท โดยอุตสาหกรรม ที่นาจับตามอง คือ อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป, ยานยนตและชิ้นสวน, เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส, พลังงานไฟฟา และปโตรเคมี
B4
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
กร ศรี
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
อ
อ
.
ยท ร ม มค สั เ ร ด นทน และรวมกลุมกัน หรือเรียกวาคลัสเตอร เช น สามารถขอสิ น เชื่ อ รวมกั น เป น กลุมได ซึ่งคาดวาจะออกในชวงปลาย ไตรมาส 2 2556 หรือประมาณไตรมาส 3 2556 นายสยาม กล า วว า กลุ ม ธุ ร กิ จ ME ที่ธนาคารสนใจที่ทําการรวมเปน กลุ ม คลั ส เตอร ในลํ า ดั บ แรกๆ ของ ธนาคารก็จะเปนกลุม เครือ่ งใชไฟฟา กลุม รถยนต กลุม อาหารและเครือ่ งดืม่ เปนตน เพราะสินเชื่อที่ใหในกลุมเหลานี้จะดีมาก แตอยางไรก็ตาม ลักษณะการใหบริการ ในแตละกลุม ยอมไมเหมือนกัน ทัง้ ในเรือ่ ง การเบิกถอน การใหสนิ เชือ่ โดยในปนคี้ าด วาจะทําการรวมกลุม คลัสเตอรผปู ระกอบ การ ME ไดประมาณ 2 กลุม ซึ่งกลุมที่ ธนาคารมองไวในขณะนี้คือกลุมเครื่องใช ไฟฟ า เพราะในป จ จุ บั น กลุ ม นี้ เ ป น ที่ ตองการของตลาด และพันธมิตรลูกคา ME กลุ ม นี้ กั บ กรุ ง ศรี เ ฟริ ส ช อ ยส มี จํานวนมาก นอกจากนี้ ประโยชนทสี่ าํ คัญ
ทีส่ ดุ ของการรวมกลุม คลัสเตอร คือ ลูกคา จะใชสินเชื่อกับธนาคารมากขึ้น ธนาคาร ไดรบั คาธรรมเนียมมากขึน้ และมีเงินฝาก ที่ตนทุนตํ่า รวมถึงตัวลูกคาจะไดรับการ บริการที่สะดวกสบาย และรวดเร็ว “ลาสุดทางกรุงศรีไดทําการศึกษา ลูกคา ME และพบวานอกจากสินเชื่อ ทางธุ ร กิ จ แล ว สิ่ ง ที่ ผู ป ระกอบการ ตองการมากที่สุดคือ โอกาสในการขยาย ธุ ร กิ จ และเพื่ อ เป น การตอบโจทย ดั ง กล า ว ป นี้ จึ ง ได มี ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ หลากหลาย ภายใตชื่อ “ลับคมธุรกิจ ตอยอด ME” และการเยีย่ มชมโรงงานอิ ชิ ตั น นอกจากจะเป น การแลกเปลี่ ย น ทักษะในดานการผลิต การสรางจุดตาง ใหแกแบรนด ยังเปนการเปดโอกาสให ผูประกอบการ ME ในแวดวงธุรกิจ เดี ย วกั น ได รู จั ก กั น เพื่ อ สร า งความ สัมพันธทางธุรกิจระหวางกัน เพื่อขยาย โอกาสทางธุ ร กิ จ ให กั บ ลู ก ค า กรุ ง ศรี ไดมากขึ้น” นายสยาม กลาว
กิจการของบริษัทประกันภัยของฝรั่งเศส E ในปทผี่ า นมา รวมถึง การลดลงของธุ ร กิ จ การเพาะปลู ก ใน ตอ า หนา... ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีอัตราสวนคาใช “เชิงลบ” เปน “มีเสถียรภาพ” จายทีต่ าํ่ กวาคาเ ลีย่ และการเปลีย่ นแปลง นายดี เ ทอร เวมเมอร ประธาน ก ระเบียบของคาธรรมเนียมในบราซิล เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารฝ า ยการเงิ น บริ ษั ท ตางมีสวนผลักดันตัวเลขสูงขึ้น อลิอันซ เอสอี กลาววา กลุมอลิอันซอยูใน “สําหรับธุรกิจประกันวินาศภัยเรา ฐานะที่ดีมากสําหรับการเติบโตทั้งภายใน ถือวาดีที่สุดในรอบหลายป ซึ่งเราประสบ และภายนอก ยกตัวอยางเชน จากขอ ความสํ า เร็ จ ทั้ ง ในตลาดหลั ก ๆ ในกลุ ม ตกลงการเขาซื้อบริษัทประกันของตุรกี ประเทศอุตสาหกรรมและในตลาดทีม่ กี าร คาดวาจะเพิ่มความ เติ บ โต ซึ่ ง การที่ ไ ม มี เ หตุ ภั ย พิ บั ติ ท าง แข็งแกรงใหกับสถานภาพของอลิอันซใน ธรรมชาติครั้งรุนแรงมีสวนชวยไดเยอะ ตลาดที่กําลังพัฒนา มาก ทัง้ นี้ เรายังมีผลประกอบการทีด่ เี ยีย่ ม นายไมเคิ ล ดิ ก แมนน ประธาน ในตลาดที่มีการแขงขันสูงมากอยางอิตาลี เจาหนาที่บริหารของอลิอันซ เอสอี กลาว และสเปนอีกดวย” วา กลุม อลิอนั ซ มีความมัน่ ใจถึงผลกําไรใน สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ประกั น ชี วิ ต และ ชวงเวลาที่เหลือของป 2556 แตอยางไร สุขภาพเติบโตทั้งรายไดและผลกําไร โดย ก็ตาม หากคํานึงถึงความเสี่ยงของตลาด ธุรกิจประกันชีวติ และสุขภาพเติบโต 8.3 ที่ มี อ ยู และความเป น ไปไดข องภั ย พิบั ติ มูลคาประมาณ 560.3 พันลานบาท การ ธรรมชาติ ที่ อ ยู ใ นระดั บ ที่ สู ง ขึ้ น คงไม เติบโตของรายไดสวนใหญเปนผลมาจาก เหมาะทีจ่ ะเหมารวมผลประกอบการทัง้ ป ผลิตภัณฑประกันชีวติ ควบการลงทุน หรือ ดวยตัวเลขผลกําไรจากการดําเนินงานใน ยูนิตลิงค แมตลาดจะมีการแขงขันสูงใน ไตรมาสปจจุบัน ดังนั้น กลุมอลิอันซจึง ภาวะที่ อั ต ราดอกเบี้ ย ตํ่ า แต ย อดเบี้ ย ยืนยันแนวโนมกําไรจากการดําเนินงาน ประกันยังสามารถเติบโตในอัตราที่เปน สําหรับป 2556 จะอยูที่ประมาณ 348.30 ตัวเลข 2 หลักในตลาดหลักๆ ซึ่งรวมถึง พันลานบาท บวกลบ 500 ลานยูโร หรือ ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และประเทศใน ประมาณ 18.93 พันลานบาท ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ขณะที่เบี้ยประกัน ขณะที่ธุรกิจประกันวินาศภัยทําผล ภัยในสหรัฐอเมริกากลับลดลง เนื่องจากมี งานยอดเยี่ยม ถือเปนไตรมาสที่ดีที่สุดนับ การเปลี่ยนแปลงในแงผลิตภัณฑและคา ตั้งแตเริ่มวิกฤติเศรษฐกิจเปนตนมา โดยมี นายหนา ซึง่ ประกาศใชในป 2555 สําหรับ รายไดประมาณ 575.45 พันลานบาท ใน ผลิ ต ภั ณ ฑ บํ า นาญแบบคงที่ แ ละแบบมี ไตรมาสแรกของป 2556 เพิ่มขึ้น 2.7 เงินปนผล รวมถึงในประเทศโปแลนดที่มี ปจจัยหลักมาจากผลกระทบเชิงบวกในดาน การเปลี่ยนแปลงในก ระเบียบดวย ราคาในหลายตลาดและสายผลิตภัณฑ โดย ดังนัน้ กําไรจากการดําเนินงานจึงอยู ตลาดเยอรมนี ตุรกี พันธมิตร อลิอนั ซทวั่ โลก ที่ประมาณ 32.37 พันลานบาท เพิ่มขึ้น และประเทศในลาตินอเมริกามีสว นสําคัญใน 3.6 กําไรจากการดําเนินงานไดรับผล การผลักดันการเติบโตนี้ มีกําไรประมาณ กระทบจากการลงทุนในดานการดําเนิน 49.22 พันลานบาท เพิม่ ขึน้ 11.5 ผลการ งานที่ลดลง แตยังคงไดรับประโยชนจาก รั บ ประกั น ภั ย เพิ่ ม ขึ้ น มาอยู ที่ ป ระมาณ คาใชจา ยในการซือ้ กิจการและการบริหาร 20.44 พันลานบาท เนื่องจากอัตราสวน ทีล่ ดลง จึงสงผลใหกลุม อลิอนั ซมกี าํ ไรจาก ความเสียหายจากอุบตั เิ หตุรายปทดี่ ขี นึ้ รวม ธุ ร กิจ ใหม 1.8 มู ล ค า ของธุ ร กิ จ ใหม ถึงความ เคลือ่ นไหวดานราคาทีเ่ ปนบวก ประมาณ 9.01 พันลานบาท แมวาอัตราสวนคาใชจายปรับเพิ่ม “ธุรกิจประกันชีวติ และสุขภาพยังคง เล็กนอย หรือ 28.2 จาก 27.9 ราย ตองเผชิญกับความทาทาย เราสามารถ จายที่สูงขึ้นนั้นเปนผลมาจากการเขาซื้อ คาดการณไดวาตลาดจะอยูในภาวะที่ยาก
ลํ า บากต อ ไป ท า มกลางภาวะอั ต รา ดอกเบี้ยที่อยูในระดับตํ่า ซึ่งสงกระทบตอ ทั้งผูออมเงินและนักลงทุน อยางไรก็ตาม เราก็ ยั ง สามารถเติ บ โตได ทั้ ง ในแง ข อง รายไดและผลกําไร ซึ่งสะทอนใหเห็นวา ผลิตภัณฑของเรามีความคุมคาและใหผล ตอบแทนที่ดี” ด า นธุ ร กิ จ บริ ห ารสิ น ทรั พ ย ยั ง คง แข็ ง แกร ง นั บ เป น อี ก ไตรมาสที่ ธุ ร กิ จ บริหารสินทรัพยทาํ ผลงานไดดี ซึง่ มีรายได ประมาณ 71.93 พันลานบาท เพิ่มขึ้น 32.8
นาคารกรุงศรีฯ เผยตัวเลข เดือน สินเ ื่อ ต มั่นใจ ข้นเบอร ใน ปไดแนนอน พรอมงัดกลยุท ใ หมรวมกลุม คลัสเตอร ผูประกอบการ หวัง วยเพิ่มอํานาจตอรองลดตนทุนได นายสยาม ปร สิท ศิ ริ กิ ลุ ประธาน คณะเจาหนาที่ดานลูกคาธุรกิจ ME ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา เปาสินเชื่อลูกคา ME ของ ธนาคารในปนอี้ ยูท ี่ 15 ซึง่ จะทําใหยอด สินเชื่อคงคางเพิ่มขึ้นไปอยูที่ 208,000 ลานบาท จากสิ้นป 2555 อยูที่ 181,000 ลานบาท โดยในชวง 5 เดือนแรกของ ปนี้ ยอดสินเชื่อคงคางลูกคา ME เพิ่ม ขึ้นมาอยูที่ 189,000 ลานบาท หรือเพิ่ม ขึน้ มาประมาณ 4.4 โดยเปนการเติบโต จากลูกคาทุกขนาด อีกทั้งในปนี้จะใช 4 กลยุทธหลัก ประกอบดวย 1) การสรางเครือขายเพื่อ ตอยอดธุรกิจ 2) มีสินเชื่อที่หลากหลาย
สามารถแขงขันได และครอบคลุมความ ตองการของลูกคาในทุกขนาด 3) มีระบบ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ชวยลดขั้นตอนการ ทํางาน ทําใหอนุมัติเร็วขึ้น และ 4) ชอง ทางจากธุรกิจในเครือกรุงศรีที่จะมาสนับ สนุนกิจการของลูกคากรุงศรีอีกทางหนึ่ง ดวย ซึ่งจะสงผลใหภายใน 3 ป พอรต สินเชือ่ ของธนาคารจะไปแตะที่ 300,000 ลานบาท หรือมีสวนแบงการตลาดอยูใน อันดับที่ 3 จากปจจุบันอยูในลําดับที่ 5 อยางไรก็ตาม ธนาคารจะไมแขงขัน ดวยราคาอยางแนนอน เนื่องจากเห็นวา ไม มี ค วามจํ า เป น ที่ ธ นาคารต อ งออก ผลิตภัณฑในดานนี้เพื่อมาแขงขัน เพราะ ยังมีผลิตภัณฑรปู แบบอืน่ ใหเลือกใชไดอกี
ทีเอมบี เปดตัว
รูดบัตรเครดิต อน
ทีเอ็มบี จัดงาน ทีเอ็มบี โซกูดด “TM O ” ทาใหลองทุกอยาง แบงจาย 0 ไดหมด ที่เซ็นทรัลพลาซา แกรนด พระราม 9 มอบเอกสิทธิ์แบง จายรายเดือนใหผถู อื บัตรเครดิตทีเอ็มบี สามารถแบงจาย 0 นาน 3 เดือน สํ า หรั บ ทุ ก ยอดใช จ า ยค า สิ น ค า และ บริการทุกอยางจากทุกรานคา ทุกวัน ทัว่ ทุกมุมโลก ไมจาํ กัดประเภทราน และ สินคา เริ่มตนเพียง 1,000 บาทตอเซลล สลิป เพราะเขาใจถึงความตองการของ ลูกคาที่ตองการความสะดวก ไมยุงยาก และมีอํานาจในการจัดการทางการเงิน ของตัวเองมากขึน้ แครดู ปุบ โทรปบ ทุก อยางแบงจายไดจริง พรอมกับโปรโมชัน่ ดีๆ สําหรับผูที่ใชจายผานบัตรเครดิต ทีเอ็มบี เมื่อเปลี่ยนเปนยอดแบงจาย ทีเอ็มบี โซกูดด ที่บูธทีเอ็มบี ชั้น 1 และ ชั้น 6 เซ็นทรัลพลาซา แกรนด พระราม 9 ตัง้ แตวนั ที่ 24 พ.ค.-24 มิ.ย. นี้ รับฟรี ทันที เกาอี้ปคนิก นางกา จนา รจวทั ู หัวหนา เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารส ง เสริ ม การตลาด ลูกคาบุคคล ทีเอ็มบี เปดเผยวา ทีเอ็มบี มีความมุง มัน่ ทีจ่ ะสรางคุณคาเพือ่ ลูกคา
ดวยการมอบผลิตภัณฑและบริการที่เปน ประโยชนกับลูกคาอยางแทจริง เราเขาใจ ความตองการของลูกคาอยางลึกซึ้ง และ มุง มัน่ ในการคิดคนแสวงหาวิธกี ารทีจ่ ะเติม เต็มความตองการของลูกคาอยางไมหยุด ยั้ง ทาทายขอเสนอและเปลี่ยนก ของ ตลาดแบบเดิ ม ๆ ที่ มี อ ยู เพื่ อ M T E ใหลูกคามีคุณภาพชีวิต ทางการเงินทีด่ ขี นึ้ เชน บริการ “TM O ” ที่ลูกคาผูถือบัตรเครดิตทีเอ็มบี มีอิสระในการใชจายสินคาและบริการทุก อยางจากทุกรานคา ทุกวัน ทั่วทุกมุมโลก ไมวา จะเปนอะไรๆ ก็สามารถแบงจาย 0 ไดทุกอยางนานถึง 3 เดือน เชน เสื้อผา รองเทา กระเปาแบรนดเนม เครือ่ งสําอาง คาอาหาร คาเทอม คาโทรศัพท อินเทอร เน็ต เติมนํา้ มัน อาหารและสินคาในซูเปอร มารเก็ต ทั้งชอปเมืองไทย หรือไปตาง ประเทศ เพียงแคมยี อดใชจา ยขัน้ ตํา่ 1,000 บาท ขึ้นไปตอเซลลสลิป ผานบัตรเครดิต ทีเอ็มบี และติดตอ TM C C โทร. 1558 กด 1110 เพือ่ ทํารายการกอน วันสรุปยอดบัญชี ก็ทํารายการแบงจายได อยางสะดวกไมมีขั้นตอนที่ยุงยาก “ปจจุบนั โปรแกรมแบงจายรายเดือน
ส าม ปร ส
มากมาย นอกจากนี้ ทางธนาคารยังจัดทํา สัมมนาในรูปแบบใหมทไี่ มใชรปู แบบเดิม ที่เขาไปนั่งฟง โดยธนาคารจะพาลูกคา ME มาพบกับผูป ระกอบการทีป่ ระสบ ความสําเร็จ และเรียนรูเทคนิคที่นํามา ใชไดจริง ซึ่งการทําสัมมนาในลักษณะนี้
D น น เดอน แบบไมมดี อกเบีย้ ไดเขามามีบทบาทและ ไดรบั ความนิยมสูงอยางมากในตลาดบัตร เครดิต เพราะโปรแกรมแบงจายเชนนี้ ทําใหลูกคาสามารถซื้อสินคาชิ้นใหญๆ ราคาสูงๆ ไดโดยไมตอ งรอการสะสมเงิน กอน แตลูกคาก็ยังติดขัดที่ตองมองหา โปรโมชัน่ หรือรานคา สินคาทีร่ ว มรายการ ผอนกับบัตรเครดิตอีก ทีเอ็มบีจึงไดมอบ อิสระในการใชจา ยอยางแทจริง ไมวา จะ ชอปอะไร หรือชอปทีไ่ หน ทีเ่ คยคิดวาแบง จายไมได เราทําใหแบงจาย 0 นาน 3 เดือน ไดหมดดวย ทีเอ็มบี โซกูดด ลูกคา ผูถือบัตรเครดิตทีเอ็มบีจึงสามารถเลือก ซือ้ และแบงจายสินคาและบริการทุกอยาง จากทุกรานคา ทุกวัน ทัว่ ทุกมุมโลก โดย ไมตอ งรอโปรโมชัน่ ใดๆ จากทางรานคาอีก ตอไป” นางกาญจนา กลาว นอกจากนี้ ทีเอ็มบี ยังมีโปรโมชั่น ดี ๆ กั บ ทางเซ็ น ทรั ล พลาซา แกรนด พระราม 9 ภายในวันที่ 24 พฤษภาคม-24 มิถนุ ายน นี้ ใหกบั ผูถ อื บัตรเครดิตทีเอ็มบี เมือ่ ชอป ณ โซนพลาซาของหาง เพียงแค 3,000 บาท จากลูกคาทั่วไปที่ตองชอป ครบถึง 4,000 บาท รับฟรีรม สุดชิค และ ทุ ก ยอดช อ ปด ว ยบั ต รเครดิ ต ที เ อ็ ม บี ขั้นตํ่า 1,000 บาทตอเซลลสลิป เมื่อนํา มาเปลี่ ย นเป น ยอดแบ ง จ า ย ที เ อ็ ม บี โซกูดด ที่บูธ ทีเอ็มบี ชั้น 1 และชั้น 6 ที่ เซ็นทรัลพลาซา แกรนด พระราม 9 รับ เกาอี้ปคนิก ฟรีทันที ผูส นใจทีต่ อ งการสมัครบัตรเครดิต ทีเอ็มบี เพือ่ อิสระในการใชจา ยและอยาก มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ทางการเงิ น ที่ ดี ขึ้ น ... สามารถสมัครไดที่ทีเอ็มบีทุกสาขา ทั่ว ประเทศ หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่ TM C C 1558 หรือ . ลองพิสูจนไดดวย ตัวคุณเองวาทุกอยางรูดปุบ โทรปบ แบง จายไดจริง 0 3 เดือน กับ TM O
รกล
จะชวยใหกลุม ME ทําธุรกิจในแบบ เดียวกันรวมกลุมเปนคลัสเตอรได และ สามารถต อ รองราคาวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ลด ตนทุนที่ไมจําเปนออกได โดยในอนาคตธนาคารจะออก ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ อื้ อ ประโยชน ต อ กลุ ม ผูป ระกอบการ ME ทีท่ าํ ธุรกิจเดียวกัน
ก มอ อ ซ
ไท มทร ตอ า หนา... ประชุ ม ใหญ ผู บ ริ ห ารฝ า ยขายช อ งทาง ตัวแทนกวา 350 คน เพื่อวางแผนพิชิต ยอดขายครึ่ ง ป ห ลั ง ป 2556 และจาก นโยบายบริษัทยังคงมีทิศทางการดําเนิน ธุ ร กิ จ ป นี้ ที่ เ น น ช อ งทางการขายผ า น ตัวแทนเปนหลักเชนเดิม ซึ่งมีสัดสวนเบี้ย 90 โดยเ พาะการทํ า ตลาดในต า ง จังหวัดที่ยังมีโอกาสเติบโตเชิงเบี้ยประกัน ที่เพิ่มขึ้น และแผนสนับสนุนจะมุงเนน ตัวแทนที่มีคุณภาพ ตาแผนบริษัทจะพิ่มจํานวนตัวแทน ใหม 5,000 คน เพื่อใหสิ้นปมีจํา นวน ตัวแทนคุณภาพ 20,000 คน จากปจจุบัน มีประมาณ 17,000 คน ควบคูไปกับการ ปรับปรุงสาขาใหมีความทันสมัยเพิ่มอีก 93 แหง จากปทผี่ านมาไดปรับปรุงไปแลว 77 สาขา เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางาน ของตัวแทนใหมีคุณภาพรวมถึงจัดอบรม ใหความรูกับตัวแทนเพิ่มเติม สําหรับการรีครูตตัวแทน ยังเนนไปที่ กลุมคนรุนใหมที่มีคุณวุฒิการศึกษาสูงขึ้น ระดั บ ปริ ญ ญาตรี เพื่ อ รองรั บ การออก ผลิตภัณฑใหมแบบความคุม ครองหรือแบบ ประกันชีวติ ระยะยาวมากขึน้ กวาเดิม ดังนัน้ จึงจําเปนจะตองเตรียมตัวแทนใหพรอมดวย เชนกัน นอกจากนี้ เรงพัฒนาตัวแทนขยาย ฐานลูกคาและเพิม่ เบีย้ เ ลีย่ ตอรายใหสงู ขึน้ รวมถึงเพิ่มตัวแทนผลิตผลงานสมํ่าเสมอ A A ใหขนึ้ อีก 35
สถานะเศรษฐกิ จ ของประเทศในกลุ ม ยู โ รโซน ที่ มี ห นี้ ส าธารณะในสั ดส วนสู ง
ที่มา สํานักงานค กรรมการพัฒนาการเศรษ กิจ ล สังคม หงชาติ
ประเทศ
สัดสวนหนี้ตอ GDP
ดุลงบประมาณ (% GDP)
หนี้ครบกําหนดในป 2554 (bn eur)
อัตราการวางงาน Q1/2554 (%)
142.8 96.2 93.0 60.1 119.0 96.8
-7.4 -10.3 -4.9 -6.4 -4.2 -4.7
40.1 11.9 23.2 128.9 332.9 70.1
10.5 14.8 11.1 20.6 8.3 7.7
กรี ไ ร ลน ปร กส ส ปน ิ าลี ล ยียม
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
ป อรไมกา า คา า
อร อร
B5
งัด ยท ไ ทเ า ง คาเปา มาย อรไมกา ลองครบรอบ 1 ศตวรรษ ยดหลักการดําเนิน ุรกิจ ดวยความรับผิด อบตอสังคม พรอมเผย มสินคาใหม ออกมา รองรับตลาดไล สไตลของคนรุน ใหม ปนีว้ างเปายอดขาย 1 00 ลาน ดวยงบลงทุนดานการตลาดกวา 0 ลานบาท เอาใจลูกคา สง ใหดาวน หลดเ ็กสินคาไดอยางรวดเร็ว น.ส.สมจิ ต ร มหาเจริ เกี ย รติ ผูอํานวยการฝายบริหาร ภูมิภาคอาเซียน บริษัท ฟอรไมกา (ประเทศไทย) จํากัด ผู ผ ลิ ต และจั ด จํ า หน า ยวั ส ดุ ป ด ผิ ว ลา มิเนทฟอรไมกา เพื่อใชในงานเฟอรนิเจอร และงานตกแตงภายใน กลาวในงาน FO M CA FO E E 100th A E A วา ผลิตภัณฑฟอรไมกา เริ่มกอตั้งเมื่อป 2456 ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ปจจุบันมี การจัดจําหนายมากกวา 100 ประเทศทั่ว โลก ซึ่งจุดเดนของผลิตภัณฑ คือ การ พัฒนาลวดลายและผิวสัมผัสใหมทกุ ๆ 2 ป เพื่อรองรับความตองการของตลาด ทั้งนี้ ในวาระ ลองครบรอบ 100 ป ในครั้งนี้ บริษัทจึงไดมีการเปดตัวลวดลาย ใหม 156 แบบ รวมทัง้ A C ซึง่ ประกอบดวย 12 ลวดลายใหม
4 คอลเลคชั่น ไดรับการออกแบบโดย เพนตาแกรม บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาด า นการ ออกแบบอิ ส ระที่ ใ หญ ที่ สุ ด ระดั บ โลก ประกอบดวย คอลเลคชั่น E E และ เปน ลวดลายที่แสดงเอกลักษณของคอลเลค ชั่น 100 ป “F F ” โดยใช เทคนิคการพิมพที่เปนนวัตกรรมใหม ซึ่ง ชวยใหสามารถพิมพลวดลายไดไมซาํ้ แบบ โดยทั่วไปการพิมพจะมีลายซํ้าทุกๆ 127 เซนติเมตร แตสําหรับคอลเลคชั่นนี้ จะมีการพิมพซํ้าลายทุกๆ 500-700 แผน หรือความยาว 2 กิโลเมตร รวมถึงลวดลาย แต ล ะคอลเลคชั่ น แฝงด ว ยเส น ลายนํ้ า สัญลักษณฟอรไมกา รวมคอลเลคชั่นทั้ง หมดจะประกอบดวย 536 ลวดลาย และ ยังแนะนําผิวสัมผัสใหม คือ ,
และ 18 แบบ นอกจากการพั ฒ นาลวดลาย ผลิตภัณฑใหมแลว ผลิตภัณฑฟอรไมกา ยังใหความสําคัญกับเรื่องสิ่งแวดลอม โดย ไดพัฒนาผลิตภัณฑจนไดรับการรับรอง สํ า หรั บ คุ ณ ภาพอากาศ ภายในอาคารของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ผ ลิ ต ใน อเมริกาเหนือ ยุโรป และเอเชีย นอกจากนี้ กลุม บริษทั ฟอรไมกา ยัง
แ มป ยเครองมอ
มสินค ว
เครื่องมือไ า บอช กรง ป ต 0 มั่นใจป ุรกิจยังไปไดสวย เตรี ย มส งนวั ต กรรมใหม กว า 100 รายการ พรอมเปดตัว เดรเมล เครื่อง มือไ าอเนกปร สงคมัดใจลูกคา ล สง คมเป เดดตอกยํ้าการเปนผูนําใน อุตสาหกรรมเครือ่ งมือไ า ของไทย ล เอเชีย ตอบ จทยการสรางเทค น ลยีเพือ่ ชีวิต นายชัยพร รัตนเชตกุล ผูจัดการ ทั่วไป ฝายเครื่องมือไฟฟา บริษัท โรเบิรต บอช จํากัด กลาวถึงภาพรวมธุรกิจเครื่อง มือไฟฟาในประเทศไทยวา ในป 2555 มี อัตราการเติบโตประมาณ 14 ขณะที่ ภาพรวมธุรกิจของเครือ่ งมือไฟฟา บอช ใน ป 2555 มีอัตราการเติบโตถึง 30 โดยสินคาประเภทเครื่องมือไฟฟา ของบริษัทที่ไดรับความนิยมมากที่สุด คือ สวานโรตารี่ ( ) ที่มีสวน แบงทางการตลาดในปทผี่ า นมาสูงถึง 50 นอกจากนี้ ยังมีเครื่องเจียร สวานเจาะ กระแทก และสวานไขควงไรสาย สํ า หรั บ ทิ ศ ทางการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เครื่องมือไฟฟาของโรเบิรต บอช ในป 2556 นายชัยพร กลาววา บริษัทตั้งเปาไว วาจะขยายตัวในระดับเดียวกับป 2555 เนื่ อ งจากมี ป จ จั ย บวก คื อ การออก
ร ย ร น ทย
ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม อ ย า งต อ เนื่ อ งกว า 100 รายการสูต ลาด โดยมีผลิตภัณฑเดนแหงป คือ สวานโรตารี่ที่มาพรอมเทคโนโลยีลด แรงสั่นสะเทือน เพื่อสุขภาพและความ ปลอดภัยของผูใช ขณะเดียวกัน จะเนน การสือ่ สารและการจัดทํากิจกรรมสงเสริม การขายกั บ กลุ ม ลู ก ค า ทั้ ง แบรนด บ อช ( ) และแบรนดสกิล ( ) โดยจะจัด โรดโชวเริ่มจากกรุงเทพฯ ปริมณฑล และ กระจายไปตามหัวเมืองตางๆ ทั่วประเทศ ประมาณ 10 จังหวัด “นอกจากเราจะจัดโรดโชวไปตาม จังหวัดตางๆ เพื่อสรางการรับรูแลว ทาง บริษัทยังมีโปรโมชั่นขอบคุณลูกคาบอช และสกิล ที่ใหการสนับสนุนเรามาเปน อยางดีโดยตลอด 90 ป โดยลูกคาที่ซื้อ ผลิตภัณฑตั้งแตวันนี้-30 มิ.ย. 56 เมื่อซื้อ ผลิ ต ภั ณ ฑ บ อช ประเภทสว า นเจาะ กระแทกโรตารี่ขนาด 2 กิโลกรัมขึ้นไป สวานเจาะทําลายทุกรุน และเครื่องเจียร ขนาด 5 นิว้ ขึน้ ไป รับฟรี กรมธรรมประกัน อุบัติเหตุ 100,000 บาท” “ขณะทีส่ กิล จัดโปรโมชัน่ พิเศษ เมือ่ ซื้อเครื่องมือไฟฟาสกิลภายในระยะเวลา ที่ กํ า หนด รั บ ประกั น คุ ณ ภาพ 90 วั น เปลี่ยนฟรี ไมมีเงื่อนไข เพื่อตอกยํ้าถึง คุณภาพของสินคาและบริการของโรเบิรต
บอช ในฐานะผูนําอุตสาหกรรมเครื่องมือ ไฟฟาในประเทศไทย” นายชัยพร กลาว นอกจากนี้ โรเบิรต บอช จะเตรียม เ ป ด ตั ว แ ล ะ ทํ า ก า ร ต ล า ด สํ า ห รั บ แบรนดเดรเมล ( ) ซึ่งเปนเครื่อง มือไฟฟาอเนกประสงคชั้นนําจากอเมริกา อยางเปนทางการในประเทศไทย เนือ่ งจาก มองเห็นศักยภาพและชองวางของตลาด ชางมืออาชีพทีเ่ นนงานตกแตงหรืองานเก็บ รายละเอียดตางๆ ที่เครื่องมือไฟฟาทั่วไป ไมสามารถตอบโจทยได รวมถึงผูท ชี่ นื่ ชอบ งานประดิษฐแบบดีไอวาย โดยตั้งเปาจะมี สวนแบงทางการตลาดไมนอยกวา 50 เนื่องจากประเทศไทยถือเปนประเทศที่มี ศักยภาพในการเติบโตและพรอมจะกาว ขึ้นเปนผูนําของเดรเมลในอาเซียนมาก ที่สุด สําหรับภาพรวมผลประกอบการใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟกของเครื่องมือไฟฟา บอช นายชัยพร กลาววา ในป 2555 เครื่องมือไฟฟาบอช มีอัตราการเติบโตสูง ถึง 16 สวนกระแสการเติบโตของตลาด รวมเครื่ อ งมื อ ไฟฟ า ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิฟก ซึ่งเติบโตเพียงแค 4 ปจจัย สําคัญมาจากการที่บริษัทมีการนําเสนอ ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม ๆ ที่ ส อดคล อ งกั บ ความ ตองการของลูกคาในภูมภิ าคนีม้ าอยางตอ เนื่อง ขณะเดียวกัน ทิศทางการเติบโตของ ธุรกิจเครื่องมือไฟฟาในประเทศไทยและ ภูมภิ าคอาเซียนยังมีอนาคตทีส่ ดใส ทัง้ จาก อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ ไทยมีแนวโนมดีขึ้น รวมถึงการลงทุนดาน โครงสรางพืน้ ฐานของประเทศ 2 ลานลาน บาท ที่นาจะเปนตัวสงเสริมใหปริมาณ ความตองการสินคาและบริการในเครื่อง มือ เครื่องใชไฟฟาตางๆ เพิ่มสูงขึ้น
เปนผูผ ลิตแหงแรกของโลกทีไ่ ดรบั ลากลด คาร บ อนจากองค ก ร C T เนือ่ งจากทุกขัน้ ตอนการผลิตตัง้ แตวตั ถุดบิ การผลิต การขนสง การจัดเตรียม การใช งาน และการกําจัด บริษทั จะมีการประเมิน ปริมาณการปลดปลอยกาซเรือนกระจก ซึ่ ง จะช ว ยลดผลกระทบที่ จ ะเกิ ด กั บ สิ่งแวดลอม สําหรับในประเทศไทยนั้น ในปนี้ เอจิ เ ลนต เทคโนโลยี ส อิ ง ค ประกาศจัดงานประชุมวิชาการ T A E (TAE) ซึง่ ประกอบ ไปด ว ยเวิ ร ค ช็ อ ปจากผู เชี่ ย วชาญใน อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีลา สุดในการ วิ เ คราะห ท างชี ว ภาพ ที่ ก รุ ง เทพฯ สิงคโปร และกัวลาลัมเปอร โดยคาดวา มีนักเคมี นักวิจัย และนักวิทยาศาสตร จากทัว่ เอเชียเขารวมงานกวา 1,000 คน งานประชุมวิชาการ T A E เป น งานประชุ ม ประจํ า ป ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคของ บริษัท และถือเปนครั้งที่ 3 ที่มีผูเขารวม ประชุมเพิม่ ขึน้ 40 จากปทผี่ า นมา โดย งานนี้ ส ามารถดึ ง ดู ด สมาชิ ก กลุ ม นั ก วิ ท ยาศาสตร ที่ ทํ า งานในด า นความ ปลอดภั ย ทางอาหาร วิ จั ย พลั ง งาน นิติวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม การวิจัย เภสัชภัณฑ การผลิต และการวิจัยโรค ดานจีโนมิกส โปรติโอมิกส และเมตาโบ โลมิค เขารวมงานจํานวนมาก นายชั ย พั ฒ น จิ ร รรมจารี กรรมการผูจัดการ บริษัท เอจิเลนต เทคโนโลยีส (ประเทศไทย) จํากัด เปด เผยว า การประชุ ม ดั ง กล า วจั ด ขึ้ น ที่ ประเทศไทยเปนครั้งที่ 2 ครั้งนี้เราไดคัด เลื อ กวิ ธี แ ก ป ญ หาและวิ ท ยากรให เหมาะสมกับสังคมนักวิทยาศาสตรไทย ที่ เน น เรื่ อ งความปลอดภั ย ทางอาหาร คุณภาพอากาศ และอุตสาหกรรมการผลิต โดยการประชุมนีไ้ ดรบั การยอมรับ ในเรื่องงานวิจัยเชิงวิเคราะห ทดสอบ และอุตสาหกรรมวิทยาศาสตรชีวภาพ ซึ่งสามารถดึงความสนใจในการเรียนรู และสรางเครือขาย ธีมงานของปนี้คือ “โอกาสอันไรขัดจํากัดกับวิทยาศาสตร ของเอจิเลนต” ที่ทาทายกลุมนักวิจัย และนักวิทยาศาสตรในการใชเทคโนโลยี เพือ่ การคนพบใหมๆ ทีจ่ ะเปนประโยชน ตอมนุษยชาติ “ในฐานะเราเปนบริษทั ชัน้ นําของ โลกดานการตรวจวัดและทดสอบ เรามี ผลิตภัณฑเครือ่ งมือตรวจวัดและทดสอบ
นอกจาก A C ยังมี การแนะนําคอลเลคชั่นใหม คือ เอเชีย คอลเลคชั่น ป 2556-2558 อีกดวย ทําให เชือ่ มัน่ วาในปนบี้ ริษทั จะมีอตั ราการเติบโต 10-15 ซึ่งปจจุบันบริษัทมีฐานการผลิต อยูในประเทศไทย มีกําลังการผลิตอยูที่ 2.5 ลานแผน ป และมีศนู ยกระจายสินคา ครอบคลุมทัว่ ประเทศ ตลอดจนถึงภูมภิ าค อาเซียน “ปทแี่ ลวเรามียอดจําหนายสินคาถึง 1,200 ลานบาท ในประเทศไทย ซึ่งในปนี้ เราก็ตอ งโตกวาเดิม คาดหวังเรือ่ งยอดขาย ไวที่ 1,400 ลานบาท เพราะตอนนี้เรามี ส ว นแบ ง ทางการตลาดของผลิ ต ภั ณ ฑ ชนิดนี้สูงถึง 60 ปที่แลวโตมากหนอยก็ เพราะสืบเนื่องมาจากผลกระทบหลังจาก นํ้าทวมใหญปลายป 54” น.ส.สมจิตร เปดเผย สวนแผนการตลาดในปนี้ จะเนน ขยายตลาดไปที่จังหวัดใหญตามภูมิภาค ตางๆ เพิม่ ขึน้ พรอมทัง้ เจาะตลาดไปทีก่ ลุม ไ เอนด ดวยผลิตภัณฑวิเนียรลามิเนท รวมถึงจะมีการนํากลยุทธดานดิจิตอลมา ใชในการบริหารการตลาด เพื่อชวยให สามารถเจาะกลุมลูกคามัณฑนากรและ
สถาปนิกไดมากขึ้น โดยจะมีการเปดตัว F EA ซึ่งสามารถดาวนโหลดจาก A ลงใน ซึ่งจะทําใหลูกคา สามารถมองเห็นลายไมตามขนาดจริงของ ผลิตภัณฑ สามารถดาวนโหลดลาย เพือ่ ใช ในโปรแกรมออกแบบงาน และเปน ทีล่ กู คาสามารถออกแบบ หอง โดยเลือกผลิตภัณฑลวดลายตางๆ ได ดวยตัวเอง “การทีผ่ ลิตภัณฑฟอรไมกาสามารถ ครองใจลูกคาไดยาวนานนั้น เนื่องจากเรา มุงมั่นที่จะทําใหแนวคิดและการปฏิบัติ เพื่อความยั่งยืนเปนสวนหนึ่งของทุกอยาง ที่เราทํา พยายามยึดหลักจริยธรรม และ พยายามรักษาทรัพยากรอันทรงคุณคาไว เพื่ออนาคต และในวาระครบรอบ 100 ป นี้ บริษัทยังไดจัดกิจกรรมตอบแทนสังคม โดยไดจัดงาน F F 100 A ภายในงานจะมีการ ประมูลผลงานของดีไซเนอรทอี่ อกแบบชิน้ งานดวยผลิตภัณฑฟอรไมกา เพื่อมอบให มูลนิธิรามาธิบดี เพื่อใชในการซื้ออุปกรณ ทางการแพทยตอไป” น.ส.สมจิตร กลาว ปดทาย
นวัตกรรม ครือ ตรวจสาร
อจิ ลนตทาลอ ตัวใหม
ที่ลํ้าสมัยใหเลือกอยางหลากหลายและ ครบครันทีส่ ดุ ในตลาด ธุรกิจของเอจิเลนต แบงเปน 4 อยาง ไดแก การตรวจวิเคราะห ทางเคมี วิทยาศาสตรชีวภาพ การวินิจ ัย และจีโนมิกส และการวัดทางอิเล็กทรอ นิกส โดยนําเสนอลูกคาดวยผลิตภัณฑและ บริการที่สรางความแตกตางอยางแทจริง ขึน้ ในชีวติ ของทุกคน และทีห่ อ งปฏิบตั กิ าร วิจยั ของเอจิเลนต เราทํางานวิจยั ทีม่ งุ ตอบ สนองความต อ งการของลู ก ค า และ สรางสรรคนวัตกรรมทีส่ ง เสริมการเติบโต” นายชัยพัฒน กลาวถึงธุรกิจของบริษัท นอกจากนี้ เครื่องไมเครื่องมือที่เปน ผลิตภัณฑของเอจิเลนตสว นใหญจะสามารถ ใชในการตรวจสอบสารตางๆ ทัง้ ในอาหาร รางกายมนุษย หรือแมกระทัง่ ปโตรเคมีและ กาซตางๆ ดวย ะนั้น จึงทําใหในทุกๆ อุตสาหกรรมเรียกไดวา แทบจะตองใชเครือ่ ง มือตรวจสอบของเอจิเลนต เขาไปดําเนิน งานภายในองคกรของตนเสมอ ยกตัวอยางเชน การตรวจสารตกคาง ในอาหาร การวัดคาโปรตีนในเนื้อไกกอน สงออกไปขายยังตางประเทศ ในทางการ แพทยกส็ ามารถนําไปตรวจ A ในเลือด ได ตรวจโครโมโซมและยีนสในรางกายของ คน รวมทั้ ง การตรวจสารกระตุ น ของ นักกีฬาอาชีพในทัวรนาเมนตกฬี าตางๆ ไม เท า นั้ น ยั ง สามารถตรวจยาเสพติ ด ใน รางกายของผูตองหาวามีการเสพยาเสพ ติดจริงหรือไม “ตอนนีเ้ ราไมไดมเี พาะเครือ่ งตรวจ ทางวิทยาศาสตรแบบนี้อยางเดียว เรายัง มี ก ารผลิ ต เรดาร สํ า หรั บ เครื่ อ งบิ น ที่ กระทรวงกลาโหมก็ใชผลิตภัณฑของเราอยู เอจิ เ ลนต เ น น หนั ก ไปที่ เ ครื่ อ งมื อ ที่ มี คุณภาพและมีความหลากหลายตามความ
ตองการของลูกคา อีกทั้งยังสามารถ ตอบโจทยในเรือ่ งเทคโนโลยีองิ คเจ็ตทีย่ งั ไมมีผูผลิตรายไหนพัฒนาไดอยางเรามา กอน และที่สําคัญ ในดานบุคลากรเรา จะเนนเปนพิเศษ เพราะตองคอยบริการ และชวยเหลือลูกคาอยางเต็มที่” นาย ชัยพัฒน แจง น.ส.มณีนาฏ รัตนาธิคม T C M , C A กลาววา ในสวนของเครื่องมือตรวจวัด เรามีรุน ลาสุด ไดแก 7890 C และ 5977A M ที่สามารถชวยยกระดับให หองปฏิบตั กิ ารในดานปริมาณตัวอยางที่ ตองการทดสอบความเขมขนปริมาณ สารที่ ตํ่ า มากขึ้ น การตอบสนองและ ความเที่ยงตรงของผลการตรวจวัด นวัตกรรมเครื่องแกส 7890 C รุน ใหม คือ ความเขาใจในความตองการ ของผูใชที่ลึกซึ้ง เนื่องจากไดมีการทํา วิจยั ตลาดและสอบถามผูใ ชกวา 100 คน ทั่ ว โลก ตลอดระยะเวลา 3 ป โดย อุปกรณดงั กลาวไดถกู พัฒนาในดานการ ตอบสนองและประสิ ท ธิ ภ าพของ เครือ่ งมือเชนเดียวกับประสบการณของ ผูใช “ตัวอยางเชน กาซ เี ลียมทีใ่ ชเปน กาซพาในหองทดลองมีปริมาณจํากัด เราได เ พิ่ ม ศั ก ยภาพในอุ ป กรณ ก าซ โครมาโตกราฟ เพื่ อ ช ว ยผู ใช ตั้ ง แต กระบวนการติ ด ตั้ ง ระบบไปจนถึ ง ขั้ น ตอนการวิเคราะห ทั้งนี้ เอจิเลนตเปน ผูนําอุตสาหกรรมและเปนบริษัทแรกที่ แกปญหาดังกลาว โดยคํานึงถึงความ ตองการของผูใชของเราอยางละเอียด” น.ส.มณีนาฏ กลาวเสริม
ชื่อหนวยงาน สินคา/บริการ สถานที่ตั้ง
บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด โครงการรถไฟฟาเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ แอรพอรต เรล ลิงค ในเชิงพาณิชย สํานักบริหารโครงการรถไฟฟา การรถไฟแหงประเทศไทย ซอยศูนยวิจัย ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพ 10310 0-2308-5600 1690 www.srtet.co.th
โทรศัพท Call Center เว็บไซต
B 6 วันจันทรที่
27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
อ อ ลิ ห อชอ าอา มวลชน า ชอม าอา า าน ว อา า าน มหาน น า ะ หน น า อ า น า าน หน ขอ า ะ ขน มวลชน า า สําหรับแอรพอรตลิงคนนั้ ดําเนิน การกอสรางโดยการรถไฟแหงประเทศ ไทย หรือ รฟท. และเปดดําเนินการเชิง พาณิชยโดย บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจในกระทรวง คมนาคม อีกทั้งยังเปนบริษัทลูกของ การรถไฟแหงประเทศไทยโดยตรง จากการดําเนินการที่ผานมานั้น ถื อ ได ว า การดํ า เนิ น งานของ บริ ษั ท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด ยังไมมีผูเขามา
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
น า า วา า ะ ขน มิ ละ าน ั - า ขน มวลชน ิ น วน ะ าชาน มอ น วน น มหาน ละ ิม ล
ทํางาน โดยเมือ่ วันที่ 21 พ.ค. 2556 ทีผ่ า น มา ไดลงพื้นที่ทั้งสถานีมักกะสัน สถานี พญาไท และสถานี สุ ว รรณภู มิ เพื่ อ รั บ ทราบถึงปญหา และถือเปนการเปดตัวกับ สื่อมวลชนเปนครั้งแรก รวมถึงไดมีการ สัมภาษณพูดคุยกันถึงประเด็นตางๆ ตอง มาติดตามกัน นายพีรกันต เปดเผยกับ “TRAN SPORT” วา สิ่งที่ตองเรงดําเนินการหลัง จากนี้ คือ 1. การเรงแกปญหาภาพลักษณ
มักกะสันเชื่อมโยงกับถนนหลายสาย และ สุดทายการปรับปรุงบุคลากร ซึ่งตนจะ พัฒนาความพรอมของบุคลากรใหเปน ผู นํ า และเชี่ ย วชาญในการบริ ห ารการ เดิ น รถและซ อ มบํ า รุ ง ระบบรถไฟฟ า ปจจุบันไทยยังไมมีองคกรผูชํานาญการ ดานนี้ นายพีรกันต ยังกลาวถึงเปาหมายใน อนาคตของรถไฟฟ า แอร พ อร ต ลิ ง ค ว า ภายในสิ้ น ป นี้ จ ะเร ง เพิ่ ม รายได แ ละ
CEO ใหม ‘แอรพอรตลิงค’ พีรกันต แกววงศวัฒนา
เรงสรางภาพลักษณ-แกสภาพคลอง
รับตําแหนงกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ โดยตรง มีเพียงการรักษาการเทานั้น แตภายหลังที่ประธานคณะกรรมการ หรือบอรด บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด (แอรพอรตลิงค) ไดเรียกประชุม บอร ด วาระพิ เ ศษ เมื่ อ วั น ที่ 15 พฤษภาคม ทีผ่ า นมา เพือ่ อนุมตั ลิ งนาม สัญญาจาง “นายพีรกันต แกววงศ วัฒนา” เปนกรรมการผูอํานวยการ ใหญ (CEO) บริษัท รถไฟฟา รฟท. จํากัด โดยนายพีรกันต ไดเริ่มทํางาน แลวตั้งแตวันที่ 16 พฤษภาคม 2556 ทัง้ นี้ นายพีรกันต เดินเครือ่ งการ
ซึ่งที่ผานมา แอรพอรตลิงคเคยมีปญหา และถูกวิพากษวิจารณจากสังคม 2. เรง เจรจา รฟท. เพือ่ แกปญ หาสภาพคลอง ซึง่ ทีผ่ า นมา แอรพอรตลิงคประสบปญหาการ เบิกจายทัง้ เงินเดือนพนักงานและการซอม บํารุงตางๆ ที่ตองเบิกจาก รฟท. เมื่อ ประสบปญหาก็สงผลกระทบโดยตรงตอ บุคลากร รวมทั้งการซอมบํารุงตางๆ ซึ่ง ส ง ผลให เ กิ ด ภาพลั ก ษณ ที่ ไ ม ดี ต อ การ บริการ 3. การปรับปรุงจุดเชื่อมตอตางๆ ปจจุบันอยูระหวางดําเนินการหลายเรื่อง ทั้ ง การปรั บ ปรุ ง ทางเข า -ออกสถานี
ผูโดยสารอีก 10 จากปจจุบันที่มีรายได ประมาณ 500 ล า นบาทต อ ป และมี ผูโดยสารเ ลี่ย 45,000-50,000 คนตอวัน สวนการบริหารงานจะเรงปรับภาพลักษณ องคกรทีม่ ปี ญ หาในเรือ่ งการใหบริการ การ สร า งขวั ญ กํ า ลั ง ใจพนั ก งานในเรื่ อ งผล ตอบแทนและปญหาสภาพคลองซึง่ ทําใหมี พนักงานลาออกบอย “ต อ งยอมรั บ ว า แอร พ อร ต ลิ ง ค มี ปญหาสะสมมานาน สวนหนึ่งเพราะไมมี ผูบ ริหารตัวจริง ซึง่ การเปน CEO รักษาการ ทําใหไมสามารถทําอะไรไดเต็มที่ เมือ่ วันนี้ ผมเปนผูบริหารตัวจริงคนแรกของแอร
พอรตลิงค เชื่อวาจะเรงดําเนินการแก ปญหาตางๆ ไดอยางเต็มที่ และมั่นใจวา นายประภัสร จงสงวน ผูวาการ รฟท. ทราบปญหาของแอรพอรตลิงคดี ขึ้นอยูที่ วาจะเรงแกไขใหไดมากนอยแคไหน” นาย พีรกันต กลาว นอกจากนี้ จะมีการเขาพบ ดร.ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม
เพือ่ นําเสนอขอมูลตางๆ รวมถึงจะรายงาน ถึงจํานวนขบวนรถที่ไมเพียงพอตอการให บริการ, สภาพคลองของบริษทั และเรือ่ งการ หาความชัดเจนในการดําเนินงาน กลาวคือ การแยกองคกรออกจาก รฟท. นายพีรกันต ยังเปดเผยกับ “T A O T” ถึงหลักการบริหารอีกวา สวนตน มองวาตนเปนเพียงแคฟน เฟอง 1 ชิน้ ทีจ่ ะ
รมว คมนาคม ร กา ใหการสนับสนุน
การจัด าน สด สินคาอุตสาหกรรมดาน ทค น ลยทา รถไ กรุ ทพ
ดร.ชัชชาติ สิท ิพัน ุ รัฐมนตรีวาการกระทรวง เพื่ อ สนั บ สนุ น แผนงานในการปรั บ ปรุ ง คมนาคม ยืนยันใหการสนับสนุนในการจัดงาน E - โครงสรางและขยายเครือขายรถไฟไทย E A -T 2014 ในระหวาง ครัง้ ยิ่งใหญของประเทศ วันที่ 12-14 มีนาคม 2557 หลังจากเขาเยี่ยมชมงาน แสดงสินคาเทคโนโลยีดา นรถไฟ 2013 ณ กรุง ลอนดอน ประเทศอังกฤษ พรอมดวย นายประภัสร จง สงวน ผูวาการการรถไฟแหงประเทศไทย และนาย ยงสิทธิ์ โรจนศรีกุล ผูวาการการรถไฟฟาขนสงมวลชน แหงประเทศไทย ซึ่งวัตถุประสงคการจัดงานในครั้งนี้ เพื่อเปนแนวทางการศึกษาดานการจัดงานแสดงสินคา เทคโนโลยีทางดานรถไฟจากผูเ ชีย่ วชาญมืออาชีพ และ
คอยขับเคลื่อนองคกรใหเดินหนาไปได เทานัน้ และพรอมทีจ่ ะเปนฟนเฟองทีจ่ ะ ทํางานอยางเต็มที่ โดยตนยึดหลักที่วา “ทํางานคนเดียวชนะได แตทาํ งานเปน ทีม เปนแชมปได” นอกจากนี้ ในสวน ของงานอดิเรกจะเปนการออกกําลังกาย และการการสอนหนั ง สื อ เป น หลั ก เนื่องจากตนเปนอาจารย
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ก หมายจะศักดิสิท หรื ิ อไม อยูท ใี่ คร า ไมใ ป ระ า นทุกคน ่งผูป ิบัติที่อยูใตอํานาจเปนเพียงสวนหน่งเทานั้น ก หมายไมวา จะใ สําหรับตัวบุคคลหรือตัว ุรกิจก็ไมแตกตางกัน เพราะนั่นมัน เปนการแสดงแสนยานุภาพใหรูวาตองป ิบัติตาม ใครผิดตอง ูก ลง ทษ แตก็ไมมีใครอยากทําผิดกันทั้งนั้น เ กเ นเดียวกับ ุรกิจ ประกันภัยที่ในยุคเริ่มตน ตางกอตั้งบริษัทนอยใหญข้นมา ดยมี วัต ุประสงคเดียวกัน นั่นคือ การรับความเสี่ยงภัย ต อ ม า ใ น ยุ ค ที่ รุ ง เรื อ ง ข อ ง เศรษฐกิจ ตางชาติมีสิทธิในการเขามา ลงทุน ถือหุน สงผลใหบริษัทที่อาการ รอแรทยอยหายสาบสูญไป ทั้ง ควบรวม หรื อ แม ก ระทั่ ง สิ้นชื่อ มาในยุคที่ “กรม ก า ร ป ร ะ กั น ภั ย ” เปลีย่ นเปน “สํานักงาน คณะกรรมการกํ า กั บ แ ล ะ ส ง เ ส ริ ม ก า ร ประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย ” (คปภ.) โดย
“จันทรา บูรณฤกษ” ดํารงตําแหนง เลขา คปภ. ในขณะนัน้ ไดทาํ การแกไขก หมาย “ประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535” เมื่อก มายเข ม ขึ้ น จึ ง มี ก ารสั่ ง ป ด บริษัทประกันวินาศภัยถึง 4 แหง ไกแก บริษัท สัมพันธ ประกันภัย จํากัด, บริษทั เอ.พี . เอฟ. อิ น เตอร เนชั่นแนล อินชัวรันส จํากัด, บริษทั ลิเบอรตี้ ประกันภัย จํากัด และ บริษัท วิคตอรี่ ประกัน ภั ย (ประเทศไทย) จํากัด
ปร เวช องอาจส กล
คมครอ มะ ร ตอ า หนา... เนื่องจากเบี้ยประกันแพงกวาสัญญา เพิ่ม เติมคุมครองมะเร็งแบบดังกลาว “เทรนดประกันสุขภาพกําลังมาแรง การแขงขันนาจะเปนการบริการความแตก ตางในการใหบริการลูกคา และอยูท คี่ วาม กลาของบริษัทประกันชีวิตที่จะรับความ เสี่ยงของลูกคาในเรื่องของโรคภัยไขเจ็บ ตางๆ มากนอยแคไหน ซึ่งกรุงไทยแอกซา จะมี สั ญ ญาเพิ่ ม เติ ม สุ ข ภาพระยะยาว ออกมาขายอีกเปนระลอก โดยในเดือน มิถุนายนนี้ จะมีออกมาอีกตัว” และจากขอมูลสํานักนโยบายและ
ยุ ท ธศาสตร ระบุ ว า ป 2553 มี ผู เ สี ย ชีวิตจากมะเร็งและเนื้องอกทุกชนิดกวา 58,000 คน และมีแนวโนมสูงขึ้นทุกป อีก ทั้งในปจจุบันสถิติดานคารักษาพยาบาล ปรับเพิ่มสูงขึ้นโดยเ ลี่ยปละ 10-15 ซึ่ง สงผลตอคาใชจายในการรักษาพยาบาล และดูแลสุขภาพของคนไทยใหปรับเพิ่ม สูงขึ้นอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ เพื่อเปนการสงเสริมให คนไทยหันมารักและดูแลสุขภาพ บริษัทฯ ได เ ป ด ตั ว เว็ บ ไซต สุ ข ภาพแห ง แรกของ ธุรกิจประกันชีวิตไทย คือ . - . . โดยมี วัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยรวมในการให ความรูดานสุขภาพ ที่เปนประโยชนและ นาสนใจตอคนทุกเพศ ทุกวัย ซึง่ ในเว็บไซต นี้ แบงเปนเรื่องนารูเกี่ยวกับสุขภาพตางๆ
‘กลุมอลิอันซ’ถอนหายใจภัยพิบัติวืด 3ธุรกิจหลักทํารายไดสวยทุกภูมิภาค บริษัมแม “อลิอันซ” อวดไตรมาส 1 56 สถิ ติ ใ หม ส ร า งรายได ร วมสู ง สุ ด 1,211 พันลานบาท โต 6.6 ดันกําไรโต อี ก ไกล ธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย หลบภั ย พิบัติ ลุย ประกันชีวิต-สุขภาพ ยูนิตลิงค โกยเบี้ยเกินคาด ธุรกิจบริหารสินทรัพย ยังคงแข็งแกรงแมตลาดโลกฟนตัวยาก
โ
Insuranceว ว ก
กัน
ขอแสดงความยินดีกบั ผูท ไี่ ดรบั ทุน การศึกษาบุตร-ธิดาสมาชิกประจําป 2556 จํานวน 130 ทุน ที่ สมาคมผูส อื่ ขาว เศรษ กิจ เปนเจาภาพ โดยมีผใู หญใจดี จากองคกรตางๆ ใหการสนับสนุน และยัง มอบทุนการศึกษาเปนกรณีพิเศษทุนละ 4,000 บาท จํานวน 40 ทุน ใหกบั เด็กจาก
กลุ ม อลิ อั น ซ เป ด เผยถึ ง ผลการ ดําเนินธุรกิจโดยใหเหตุผลวากลุมธุรกิจ หลักทั้ง 3 มีสวนสําคัญที่สนับสนุนการ เติ บ โตของรายได แ ละกํ า ไร โดยธุ ร กิ จ ประกั น วิ น าศภั ย ได รั บ ประโยชน ใ นทุ ก ภูมิภาคจากราคาที่ปรับเพิ่มขึ้น และผล จากการพัฒนาการพิจารณารับประกันภัย โรงเรี ย นตํ า รวจตระเวนชายแดนในเขต จ.ตาก นั ก เรี ย นจาก จ.กาฬสิ น ธุ และ จ.รอยเอ็ด อีกดวย สําหรับขาวนี้ ยืนยันวาจริงแทแนนอน เมือ่ “สงเสริมประกันภัย” ถูกปดอยางถาวร ใครเปนลูกคา เจาหนี้ ลูกหนี้ โปรดตรวจสอบ ความคุม ครองในกรมธรรมดว ย จากนัน้ ให ติดตอกับบริษทั หรือ คปภ. วาจะตองทํายัง ไงตอไป หรือกด 1186 เลยจะ เมือ่ รอน วน อเยน ประธานเจาหนาที่ บริหาร เอไอเอ ปร เทศไทย สงดาราหนุม
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
B7
อก า รมประก อก ก มา ...อ รอ ไ อ า ไร ปจจุบันเลขาธิ การคนใหม ปร เวช องอาจสิท ิกุล ก็พยายามประคับ ประคอง บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด หลังจากมีฐานะการเงินไมดีมาโดยตลอด กุ น ซื อ ทั้ ง วงนอกและวงในต า งวิ พ ากษ วิจารณถงึ การยืดเยือ้ และขยายเวลาในการ แกไขปญหาการเงินครั้งนั้น แตแลวการ ปด าก “สงเสริมประกันภัย” ก็จบลง เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2556 โดยมีประกาศ จากรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ได มี คํ า สั่ ง ที่ 576 2556 ให เ พิ ก ถอนใบ อนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย ของ “บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด” ดวยบริษัทมีพฤติการณที่หากใหประกอบ ธุรกิจประกันวินาศภัยตอไป อาจทําใหเกิด ความเสียหายตอผูเอาประกันภัย หรือ ประชาชน คําสั่งดังกลาวเปนไปตามก หมาย ดังนัน้ สํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (คปภ.) ขอสรุปขอเท็จจริง ดังนี้ 1. บริษัท สงเสริมประกันภัย จํากัด มีการดําเนินการ ในลักษณะที่อาจเปนเหตุใหเกิดความเสีย หายต อ ผู เ อาประกั น ภั ย หรื อ ประชาชน บริ ษั ท ไม มี ร ะบบควบคุ ม การจํ า หน า ย กรมธรรมประกันภัยรถภาคบังคับ (พ.ร.บ.) ไมมีระบบควบคุมการสอบยันกรมธรรม ประกั น ภั ย ที่ จํ า หน า ย และเงิ น ค า เบี้ ย ประกันภัยใหถูกตองตรงกัน ไมมีระบบ ควบคุมการบันทึกบัญชีและสมุดทะเบียน ตามที่ก หมายกําหนด มีการบันทึกบัญชี โดยใช เ กณฑ เ งิ น สด ซึ่ ง ผู ส อบบั ญ ชี ไมรับรองงบการเงิน 2. นายทะเบียนดวยความเห็น ชอบของคณะกรรมการกํ า กั บ และสงเสริมการประกอบธุรกิจ สําหรับเด็ก ผูหญิง ผูชาย คนสูงวัย และ รู ป แบบการใช ชี วิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพทั้ ง ด า น รางกายและจิตใจ รวมทั้งไลฟสไตลตางๆ อี ก ทั้ ง เป น แหล ง รวบรวมกิ จ กรรมด า น สุขภาพ ศูนยรวมขอมูลสถานพยาบาล ในประเทศไทย พรอมมีพื้นที่ในการถาม และใหคาํ ตอบจากผูเ ชีย่ วชาญดานสุขภาพ สําหรับผูท สี่ นใจเขารวมและไดรบั ความรูท ี่ เปนประโยชนดานสุขภาพ สามารถสมัคร เปนสมาชิกโดยไมเสียคาใชจายใดๆ ทั้ง สิ้น เพียงคลิกไปที่ . - . . สมาชิก 100 ทาน แรกรับของสมนาคุณพิเศษเพื่อเปนการ ตอนรับเขาสูค รอบครัวแหงการรักสุขภาพ สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมที่ศูนยลูกคา สัมพันธ โทร. 0-2689-4800 หรือ . - . . ที่เพิ่มขึ้น รวมถึงการไมมีเหตุภัยพิบัติทาง ธรรมชาติที่รายแรงเกิดขึ้น ขณะที่ธุรกิจ ประกันชีวิตและสุขภาพ มีรายไดและผล กําไรเติบโต โดยเ พาะธุรกิจประกันชีวิต ในตลาดหลักของอลิอันซ ไดแก ฝรั่งเศส เยอรมนี และอิ ต าลี ส ว นธุ ร กิ จ บริ ห าร สินทรัพยประสบความสําเร็จตอเนื่องอีก ไตรมาสดวยเงินทุนไหลเขาสุทธิทสี่ งู ขึน้ สง ผลให โ ครงสร า งสิ น ทรั พ ย ข องอลิ อั น ซ ถูกจัดอันดับความนาเชื่อถือจาก อยูที่ระดับ AA และปรับ เพิ่มแนวโนมจาก อานตอหนา...B4
วราง ช วรร
สม ร ส วลกล
เดชน คูกมิ ยิ ขายยูนติ ลิงคในงานเปด ตัว เลนเอาเหลาไ โซกระเปาหนักที่คลั่ง กระแสความดังของหนุม อต อดใจไมไหว
ประกันภัย (คณะกรรมการ คปภ.) ไดใช อํานาจตามมาตรา 52 แหง พ.ร.บ.ประกัน วินาศภัย พ.ศ. 2535 (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2551) สั่ ง ให บ ริ ษั ท หยุ ด รั บ ประกั น วินาศภัยเปนการชั่วคราว ตั้งแตวันที่ 20 กรก าคม 2555 และใหบริษทั ดําเนินการ แกไขขอผิดพลาดของบริษทั เกีย่ วกับฐานะ และการดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน วันที่ 31 มกราคม 2556 3. เนือ่ งจากการแกไขประเด็นปญหา ยังไมลุลวง ประกอบกับบริษัทไดรองขอ ขยายระยะเวลาการแกไขปญหาออกไป นายทะเบียนดวยความเห็นชอบของคณะ กรรมการ คปภ. ไดขยายระยะเวลาการ แกไขประเด็นปญหาของบริษัทออกไปอีก 30 วัน โดยมีเงื่อนไขใหบริษัทดําเนินการ แกไขขอผิดพลาดของบริษัทที่มีอยูเดิมให แลวเสร็จ 4. สํานักงาน คปภ. ไดใหโอกาส บริษัทในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา เป น ระยะเวลานานพอสมควรแล ว แต บริษัทไมสามารถดําเนินการแกไขปญหา ของบริษัทได ทั้งยังปรากฏขอเท็จจริงวา บริษัทมีการกระทําที่ฝาฝนก หมายเพิ่ม เติม ไดแก บริษัทไมสงงบการเงิน และ รายงานการดํารงเงินกองทุนตามทีก่ หมาย กําหนด บริษัทมีการกระทําที่ฝาฝนคําสั่ง นายทะเบียน และพนักงานเจาหนาทีท่ เี่ รียก เอกสารเพื่อการตรวจสอบการดําเนินงาน และฐานะการเงินของบริษทั ทําใหพนักงาน เจาหนาที่ไมสามารถประเมินการดําเนิน งานและฐานะการเงินของบริษทั ได 5. การเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ ธุรกิจประกันวินาศภัยของ บริษทั สงเสริม ประกันภัย จํากัด ในครั้งนี้ จะไมสงผล กระทบตอบริษัทประกันวินาศภัยอื่นๆ 6. เพือ่ ปองกันมิใหประชาชนผูเ อาประกันภัย
ไดรับความเดือดรอน สํานักงาน คปภ. ได รั บ ความร ว มมื อ จากบริ ษั ท ประกั น วินาศภัยภัย จํานวน 22 บริษัท ยินดีรับ โอนกรมธรรมประกันภัยของผูเอาประกัน ภัยซึ่งไดทําประกันภัยไวกับ บริษัท สง เสริมประกันภัย จํากัด ที่ยังมีผลผูกพันอยู โดยขอความรวมมือใหผูเอาประกันภัยซื้อ กรมธรรมประกันภัยในแบบเดิม ระยะ เวลาคุมครอง 1 ป แลวบริษัทที่เขารวม โครงการจะขยายความคุม ครองเพิม่ เติมให กับผูเอาประกันภัยสําหรับระยะเวลาที่ เหลือของกรมธรรมประกันภัยเดิม ทั้งนี้ ผูเอาประกันภัยจะตองโอนสิทธิที่จะไดรับ เบี้ยประกันภัยสําหรับระยะเวลาที่เหลือ จากผูชําระบัญชี หรือจากกองทุนประกัน วินาศภัยใหแกบริษัทที่รับโอนกรมธรรม ประกันภัยนั้นดวย 7. สําหรับผูเปนเจาหนี้ตามสัญญา ประกันภัยของบริษทั ใหยนื่ ขอรับชําระหนี้ ต อ ผู ชํ า ระบั ญ ชี และกองทุ น ประกั น วินาศภัย ภายใน 2 เดือน นับแตวันที่ กองทุนประกันวินาศภัยออกประกาศ โดย ให นํ า เอกสารต น บั บ พร อ มทั้ ง สํ า เนา จํ า นวน 2 ชุ ด ประกอบการยื่ น ขอรั บ ชําระหนี้ ไดที่สวนกลาง สวนภูมิภาค 8. สําหรับเจาหนีอ้ นื่ ทีไ่ มใชเจาหนีต้ ามสัญญา ประกันภัย ใหยื่นคําขอรับชําระหนี้ตอ ผูชําระบัญชี 9. ปจจุบันมีกองทุนประกัน วินาศภัย ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ ชวยเหลือเจาหนี้ ซึง่ มีสทิ ธิไดรบั ชําระหนี้ ทีเ่ กิดจากการเอา ประกันภัยในกรณีที่บริษัทลมละลายหรือ ถูกเพิกถอนใบอนุญาต โดยเจาหนีซ้ งึ่ มีสทิ ธิ ไดรบั ชําระหนีท้ เี่ กิดจากสัญญาประกันภัย จะตองไปขอรับชําระหนี้จากผูรับชําระ บัญชี และ หรือเจาพนักงานพิทกั ษทรัพย ในคดีลมละลายกอน หากจํานวนเงินที่ได
รับ ชํา ระหนี้จากบริษัท (ผูชํา ระบัญ ชี และ หรือเจาพนักงานพิทกั ษทรัพย) มีไม เพียงพอ เจาหนีด้ งั กลาวมีสทิ ธิไดรบั ชําระ หนี้สวนที่ขาดจากกองทุนฯ แตรวมกัน แลวทุกสัญญาไมเกิน 1 ลานบาทตอราย เคยมีโอกาสได สัมภาษณบริษัทที่เคยถูกคําสั่งใหหยุดรับ ประกันชั่วคราว ซึ่งแหลงขาวไดกลาวถึง ชวงเวลาที่ฝาฟนและตอสูเพื่อใหธุรกิจ อยูรอด วา การที่จะดําเนินธุรกิจใหพน อุปสรรคได สิ่งสําคัญ คือ การเคารพ ก หมาย เพราะการนอกลูนอกทางอาจ ทําใหเจอทางทีไ่ มสวย นําไปสูก ารดิง่ ลงเหว ไดงา ยๆ และหากไมชาํ นาญในธุรกิจควรที่ จะปรึกษาหาคําแนะนําจากผูเ ชีย่ วชาญใน ธุรกิจนั้น หรือหากเริ่มมีปญหาควรเขาไป ปรึกษา คปภ. หนวยงานทีก่ าํ กับดูแลธุรกิจ เพราะเชื่ อ ว า ไม มี ใ ครอยากให เ กิ ด เหตุการณปด กิจการลงแนนอน การที่ คปภ. ยืดเยื้อกวา 10 เดือน สํ า หรั บ “บริ ษั ท ส ง เสริ ม ประกั น ภั ย จํากัด” หลังจากที่ถูกคําสั่งใหหยุดรับ ประกันภัยชัว่ คราว 20 กรก าคม 2555 สุดทายปด ากลงอยางถาวร โดยมี 22 บริษัทประกันวินาศภัย ( . . . ) เซ็นสัญญารับทราบและยินดีรบั โอน สิทธิ์ กรมธรรมจากลูกคาทั้งหมดกอน หนานี้กวา 1 เดือนแลว ลาสุด มีคําสั่ง เพิ ก ถอนใบอนุ ญ าตประกอบธุ ร กิ จ ประกันวินาศภัยทันที กระทําที่ฝาฝน ก หมายเพิ่มเติม นี่จึงไมใชการเชือดไก ใหลิงดู แตเปนการกระทําตามคําสั่ง และตามก หมายประกันวินาศภัยทัง้ สิน้ ดวยเหตุผลเดียวเทานั้น คือ ไมตองการ ใหเกิดผลกระทบ หรือสรางความเสีย หายใหกับลูกคา และประชาชน
เค ม มเค มคนเงิน ิต ริง ทยสมุทร งเ นต ม ร แส ลูกคาวาว ไทยสมุทรปร กัน ชี วิ ต จั บ สิ น ค า เการี มิ ก ซ ใ หม สง ปร กันอุบัติเหตุส วนบุคคล ยังไงก คืน การันตีคืนเงินปสุดทายชัวรหาก ไมเคลมรับ 100 เคยเคลมรับ 0 คร่งปหลังหนุนชองทางตัว ทนตาม ผน รี ค รู ต เลื อ ดใหม ขยายสาขา รับมือวิก ติยายคายได มั่นใจตัว ทน รักองคกร นางนุสรา อัสสกุล บั ัติปย พจน กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย สมุทรประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) เผย ถึงกลยุทธตลอดป 2556 วา บริษทั ยังคง มุ ง มั่ น นํ า เสนอความคุ ม ครองที่ ห ลาก หลายเพือ่ ตอบสนองความตองการลูกคา อยางตอเนื่อง โดยลาสุดเปดตัวประกัน อุบัติเหตุสวนบุคคลใหม “ยังไงก็คืน” หรือ A ที่เนนตอบสนองความคุมคาให กับลูกคา โดยมีจดุ เดนคือ ไมวา ลูกคาจะ เคลมหรือไมเคลม ยังไดรับเงินคืนทุก กรณี แบบประกันดังกลาวใหระยะเวลา ความคุม ครองและชําระเบีย้ ประกัน 3 ป
เริ่มตนเพียงวันละ 6.6 บาท และไดรับ ความคุมครองชีวิตสูงสุดถึง 1,000,000 บาท คารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุสูงสุด 100,000 บาท พรอมชดเชยรายไดรายวัน 1,000 บาท สูงสุด 365 วัน รวมถึงคาชวย เหลื อ งานศพจากการเสี ย ชี วิ ต ทุ ก กรณี 10,000 บาท ในกรณีที่ลูกคามีการเคลมหรือไม เคลมก็ตาม ยังคงไดรับเงินคืนทุกกรณี โดยหากไมมกี ารเคลมจะไดรบั เบีย้ ประกัน ปสุดทายคืน 100 และหากแมวามีการ เคลมก็ยงั คงไดรบั เบีย้ ประกันปสดุ ทายคืน
ถึง 50 บริษัทเริ่มรับประกันตั้งแตอายุ 5-60 ป โดยไมตองตรวจสุขภาพ แนวคิ ด ในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ใหมนี้ มาจากการศึกษาและวิเคราะห ขอมูลความตองการของลูกคา ทีต่ อ งการ ประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล ( A) ที่มี ความคุม ครองสูงและไดรบั ความคุม คาใน รูปแบบของเงินคืนดวย ดังนั้น บริษัทจึง ไดนําเสนอประกันอุบัติเหตุสวนบุคคล “ยั ง ไงก็ คื น ” เพื่ อ ตอบสนองความ ตองการดังกลาว นางนุสรา กลาววา “เราเชื่อวา ประกันอุบัติเหตุ ยังไงก็คืน จะไดรับการ ตอบรั บ เป น อย า งดี จ ากลู ก ค า กลุ ม ดั ง กล า วแน น อน ผู ที่ ส นใจสามารถ สอบถามข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ที่ ศู น ย ลู ก ค า สัมพันธ ไทยสมุทร โทรศัพท 0-22078888 หรื อ ตั ว แทนไทยสมุ ท รฯ ทั่ ว ประเทศ และสามารถดูขอ มูลรายละเอียด ผลิตภัณฑไดที่ . . . ” ดาน นายสืบพงษ พันธุพฤทธิ์ รอง กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทยสมุทรฯ ไดจัด อานตอหนา...B4
ตองควักกระเปาซื้อกรมธรรมมูลคาลาน บาทเพือ่ แลกกับการถายภาพคู ขณะทีฝ่ ง สาร ลํ่าซํา กรรมการผูจัดการและ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร เมื อ งไทย ปร กันชีวติ เขาก็มี บี้ สุก ษ ิ์ เปน พรีเซ็นเตอรยูนิตลิงคเชนกัน อตกันทั้งคู เรียกวากินกันไมลงเลยทีเดียว ไมวาจะ พรีเซ็นเตอร หรือคายแดง-ชมพูบานเย็น ถึง ทีตองตาตอตาฟนตอฟนกัน ณ บัดนาว ขยับมาดูแวดวงของธนาคารกันเล็ก นอย ซีไอเอมบี ไทย เขามอบรางวัล
CM T A A 2012 ครัง้ แรก ใหพนักงานทีท่ าํ ยอดขายประกัน ผานชองทางแบงกแอสชัวรันสสงู สุดเพือ่ เปน ขวัญกําลังใจ งานนี้ วรางค ไชยวรร รองกรรมการผูจัดการใหญ ไทยปร กัน ชีวติ และ ศิรนิ ทิพย ชติ รรมา ร ผูจ ดั การทัว่ ไป ไทยคารดิ ปร กันชีวติ ไดใหเกียรติมาเชิด ายในงานอีกดวย เพราะ เขาคือพารทเนอรระดับพรีเมีย่ ม แม สมพร สืบ วิลกุล กรรมการผูจัดการ ใหญ ทิพยปร กัน ยั จะปฏิเสธตําแหนง
ใน สมาคมปร กันวินาศ ยั ไทย ตัง้ แต กอนจะมีการเลือกตั้งคณะกรรมการชุด 2556-2558 ดวยเหตุผลหลักเพราะเกรงใจ กั บ ตํ า แหน ง ประธานคณะกรรมการ ประกันภัยยานยนตชุดกอน ที่เขารวม ประชุมบอรดนอยมาก เพือ่ ตองการทีจ่ ะ ทุมเทงานบริหารใหกับทิพยประกันภัย อยางเต็มที่ แตกไ็ มวายทีจ่ ะถูกเสนอชือ่ ให เขามามีบทบาทในตําแหนงอุปนายกสมา คมฯ จนได เหนือ่ ยนิดเพือ่ สมาคมฯ ละกัน นะคะ...พบกันใหม บับหนา สวัสดีคะ
นสรา อัสสกล ั
ัตป จน
á¼¹¡ÒþѲ¹Ò¸ØáԨ»ÃСѹÀÑ »‚ 55 ¢Í§ ¤»À. คปภ. จะเดินหนาภายใต 4 แนวทางหลักๆ ไดแก 1. สรางความเชื่อมั่นในธุรกิจประกันภัย 2. สงเสริมธุรกิจประภันภัยใหเกิดความเขมแข็ง 3. เรงพัฒนากฎหมายที่จะมีผลระหวางประชาชนผูทำประกันกับบริษัทประกัน 4. เสริมโครงสรางพื้นฐานใหธุรกิจประภันไทยขยายตัว ที่มา : คปภ.
B8
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ค ี ประก ามความ ก
สมาคม ไ เดยเ ังส า ันเทส ร
สมาคมประกันวินาศภัยไทย ปงแนวคิดตั้งส าบันทดสอบร กอนขายในตลาด ประเมินความเสีย่ งสมรร ภาพอะไหล คํานวณเบีย้ สมเหตุ ส มผล นั บ อยหลั ง 1 ก ค รายใหญ พ ร อ มขาย พ ร บ ออนไลน มัน่ ใจแ รขอ มูลสกัดนัก งิ่ กอการราย อกเงิน จาก ประวัติบุคคลได ัวร นายอานนท วังวสุ นายกสมาคม ประกันวินาศภัยไทย เปดเผยวา สมาคม มีแนวคิดทีจ่ ะเสนอใหภาครัฐสนับสนุนจัด ตั้งสถาบันที่ใชสําหรับทดสอบรถยนตใหม ที่ กํ า ลั ง จะขายและส ง มอบให กั บ ลู ก ค า เพื่อรวบรวมขอมูลและใชเปนสถิติในการ คํานวณเบี้ยประกันภัย โดยอิงจากผลการ ทดสอบสมรรถภาพของรถยนตแตละรุน แตละยี่หอ เนื่องจากรถยนตบางรุนถูก ผลิตขึ้นมาเนนในปริมาณมากกวาความ แข็งแรงปลอดภัย นับเปนความเสี่ยงที่จะ เกิดขึน้ ทัง้ ตอชีวติ และทรัพยสนิ ของผูข บั ขี่ และโดยสารดวยกันทั้งนั้น เดิมการคํานวณเบี้ยจะใชสถิติจาก การเกิดอุบัติเหตุของรถแตละรุน และอยู ระหวางการพัฒนาขอมูลรวมกันเพื่อใช ประวัติของคนขับมาเปนตัวคํานวนเบี้ย ดวย นอกจากนี้ หากรถบางรุนมีการใช อะไหลราคาแพงนับเปนตนทุนของผูใ ชรถ นี่จึงสามารถใชเปนขอมูลประกอบการ ตัดสินใจซื้อรถไดดวยเชนกัน “เราอยากให มี ก ารทดลองขั บ รถ ใหมที่จะออกมาขาย เพราะตนทุนของรถ บางประเภท โดยเ พาะอะไหลมีราคา
แพง บางชิ้ น ต อ งสั่ ง นํ า เข า จากต า ง ประเทศ ทําใหราคาคาซอมแพงกวาปกติ อยางรถบางรุนใชไฟซีนอนซึ่งมีราคาคูละ 40,000 บาท จากปกติไฟธรรมดาราคาคู ละ 10,000 บาทเทานั้น ยิ่งถาหากตอง เปลีย่ นไฟเพราะแตกตองซอม จะสงผลให ลูกคาสูญเสียคาใชจายเพิ่มขึ้น” สํ า หรั บ การจั ด ตั้ ง สถาบั น ทดสอบ สมรรถภาพรถยนตนั้น ในตางประเทศจะ มีสถาบันที่ใชในการทดลองรถยนตที่จะ ออกขายสูทองตลาดกอนทุกครั้ง เพราะ จะมี ผ ลต อ การตั ด สิ น ใจในการซื้ อ ของ ลูกคา รวมไปถึงหากพบวารถบางประเภท มีความเปราะบาง นั่นหมายถึงความเสี่ยง ที่จะเกิดไดมากขึ้นหากเกิดอุบัติเหตุ ตอ ไปจําเปนตองดูไปถึงบริษัทรถดวย เพื่อดู ว า จะนํ า รถหรื อ ผลิ ต รถออกมาแข็ ง แรง มากน อ ยขนาดไหน เพื่ อ ใช อ า งอิ ง เพื่ อ คํานวณเบี้ยตอไป “มันเปนแนวคิดที่เราอยากทําแต เราต อ งให ภ าครั ฐ ช ว ยสนั บ สนุ น ด ว ย เพราะในไทยยังไมมีสถาบันลักษณะนี้ เรา มองวามันคือประโยชนทั้งตอธุรกิจและ ประชาชนเองทั้งสิ้น ทั้งนี้ เรายังดูวาหาก
อานน วังวส
จะทําเองโดยจัดตั้งสถาบันขึ้นมาแลวให นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญในสถาบัน หรือ มหาวิทยาลัยตางๆ มาชวย หากเราทําได เองหรือรอภาครัฐอยางไหนจะเปนไปได มากกวากัน เราจึงตองคุยกันกอน” ลาสุด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม ที่ ผานมา สํานักงานคณะกรรมการกํากับ
และสงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เปนประธานการประชุมติดตาม ความคืบหนาการประกันภัยรถภาคบังคับ แบบ O กับสมาคม ประกั น วิ น าศภั ย ไทย บริ ษั ท กลาง คุมครองผูประสบภัยจากรถ จํากัด และ บริษัทประกันภัย เพื่อกําชับถึงแนวทาง
ปฏิบัติในการรับประกันและการสงขอมูล การประกั น ภั ย รถภาคบั ง คั บ (พ.ร.บ.) ภายใตระบบ O ซึ่งจะ ทําใหขัอมูลตางๆ เชื่อมโยงกันระหวาง บริษัทประกันภัยกับ คปภ. จากนั้น คปภ. จะเชื่อมโยงขอมูลกับ กรมการขนสงทางบก ในการจดทะเบียน รถยนต ห รื อ การรั บ ชํ า ระภาษี ร ถยนต ประจําป ซึ่งจะมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 กรก าคม 2556 เปนตนไป นายอานนท กลาววา ประกัน พ.ร.บ. เดิมมีการขายออนไลนอยูแลว แตสวน ใหญบริษัทประกันวินาศภัยรายเล็กที่ไมมี ความพรอมเรื่องระบบเชื่อมโยงที่เรียกวา และไมมโี ปรแกรมเมอรเปนของ ตัวเอง ตองพึ่งพาบริษัทเอาตซอรสเปน ผูใหบริการ แตรูปแบบใหมนี้มีการสราง ระบบเครือขายเพื่อรองรับและใหบริการ กับบริษัทเล็กๆ ไดดวย นายอานนท กล า วในฐานะ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท กรุงเทพประกันภัย จํากัด (มหาชน) หรือ วา “ตอนนี้บริษัทขนาดใหญพรอม แล ว อย า งเรา กรุ ง เทพประกั น ภั ย ที่ มี ระบบระบบเครือขายเชื่อมโยงของตนเอง หากจะเริ่มขายประกันภัยรถภาคบังคับ แบบ O ก็สามารถทําได ทันที” รูปแบบของการขายออนไลนนี้ เพือ่ ใหเปนขอมูลที่จะสงเขาไปถึงศูนยกลาง เร็วทีส่ ดุ เมือ่ ระบบรับรูว า มีการซือ้ ประกัน
แลวจะทําการเริ่มความคุมครองทันที นั่น หมายถึ ง ประชาชนก็ จ ะได รั บ บริ ก าร ทันที ประโยชนของ การประกันภัยรถ ภาคบังคับแบบ O คือ 1. ประชาชนไดรบั บริการเร็วขึน้ 2. บริษทั จะรั บ รู เ รื่ อ งรายรั บ จากเบี้ ย มากขึ้ น 3. เชื่อมระบบเขาสูกรมการขนสงทางบก เพื่อจะไดรับรูวาเมื่อถึงเวลาตอทะเบียน จะไดรวู า ทําประกันไวกบั บริษทั ใดทัง้ หมด เปาหมายคือการลดตนทุนเพราะหมายถึง การลดใช ก ระดาษที่ เ ป น ตั ว กรมธรรม เพราะหนาตาของกรมธรรม พ.ร.บ. ก็ เหมือนกันทุกบริษัท “เรามั่นใจวายิ่งหากมีสัญญาณ 3 เต็มระบบแลวการสงขอมูลจะยิ่งสะดวก ขึ้น อยางไรก็ตาม ก หมายจะตองเอื้อ และพรอมตอการดําเนินธุรกิจดวยเชนกัน และแมวาจะทําใหการตรวจสอบในการ ตอประกันครบถวนแตไมไดสงผลใหการ ตัดราคาลดลง เพราะราคาตลาดมันคือ กลไกในการแขงขัน แตผลในเรื่องของการ ลดต น ทุ น มากกว า ซึ่ ง ต น ทุ น กรมธรรม แตละ บับประมาณ 200-300 บาท” อยางไรก็ตาม ก็ไมไดมีผลในการยื้อ จายสินไหมอีกแนนอน แมจะมองวาเมื่อ รับรูเ บีย้ หรือรายไดแลวบริษทั ประกันตอง ตั้งสํา รอง และมีการลงทุนจํา นวนมาก เพราะเมื่อมีการเคลมจาก พ.ร.บ.บริษัท กลางคุมครองผูประสบภัยจากรถ จะเปน คนจายกอนจากนัน้ จึงเรียกเก็บจากบริษทั ประกัน
คุมครองม เรง วิ นังปอนต ด ทย รุง ทยแอ ซ รับเทรนด ต ดสวย ‘กรุ ทพ ร กันภัย’ ก ด ดสา ากา จนบุร ชัย ส พนิช ประธานกรรมการและประธานคณะผูบ ริหาร บริษทั กรุงเทพ ประกันภัย จํากัด (มหาชน) หรือ “ ” จัดพิธเี ปดสาขากาญจนาบุรอี ยางเปนทางการ พรอมอัญเชิญครุฑตราตั้งขึ้นประดิษฐานเพื่อความเปนสิริมงคล โอกาสนี้ “จิระศักดิ์ เหลาศิริไพศาล” ผูจัดการภาคกลาง และ “วิฑูร เข็มวิลาศ “ ผูจัดการภาค สายลูกคา ธุรกิจรายปลีกตางจังหวัด ธนาคารกรุงเทพ ยังไดรว มใหเกียรติเปนประธานในพิธี พรอม คณะผูบ ริหารและแขกผูม เี กียรติรว มในพิธเี ปดสาขาและทําบุญถวายภัตตาหารแกพระ ภิกษุ นอกจากนี้ ยังไดมอบกระเปาไวนิลใหแกนักเรียนโรงเรียนบานบอหวา เพื่อใช ประโยชนทางการศึกษาตอไป
กรุงไทย อกซา ปร กันชีวิต พัฒนา บบปร กันสนองลูกคาไมขาด สายมองเทรนดปร กันสุข าพยัง รง ทคที ม ง อกซา องกง เขน บบ ปร กันคุมครองม เรงผิวหนังเจา รกใน ไทย คนเซอร ซลูชั่น ครอบคลุมทุก ร ย ไมจํากัดจํานวนครั้ง ายใตวงเงิน 100 ของทุน บวกคาชดเชยรายได นางสาวสาย น สัจจศิลา ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหารฝายการตลาด บริษทั กรุง ไทย แอกซา ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา จากแผนงานของบริษัทในป 2556 ที่ เ น น ขายแบบประกั น คุ ม ครอง สุขภาพเปนหลัก โดยจะเรงออกสัญญาเพิม่ เติม หรืออนุสัญญาคุมครองสุขภาพใหมๆ มาขาย เพื่อนํามาโปรโมต ขายควบคูกับ แบบประกันชีวิตที่เนนคุมครองระยะยาว เชน แบบตลอดชีพ ( ) ทีม่ ขี าย อยูแ ลว ขณะเดียวกันก็จะออกสินคาทีเ่ ปน นวัตกรรมใหมทนี่ าํ มาจากแอกซา กรุป มา ปรับใหเขากับตลาดไทย ลาสุด บริษัทไดเปดตัวสัญญาเพิ่ม เติมประกันสุขภาพตัวใหม คือ “แคนเซอร โซลูชั่น” ซึ่งเนนความคุมครองโรคมะเร็ง ครอบคลุมทุกระยะ ไมจํากัดจํานวนครั้ง และมี ค า ชดเชยรายได โดยให ค วาม คุมครองโรคมะเร็งทุกระยะ รวมทั้งมะเร็ง
ผิวหนัง และมะเร็งระยะไมลกุ ลาม สามารถ เคลมไดไมจาํ กัดจํานวนครัง้ แตวงเงินตอง ไมเกิน 100 ของทุนประกัน และเปน มะเร็งคนละชนิด และตางอวัยวะกัน ทุน ประกันขัน้ ตํา่ 300,000 บาท สูงสุด 5 ลาน บาท เพื่อเปนคารักษาพยาบาลโรคมะเร็ง หรือคาใชจายอื่นๆ รับคาชดเชยรายได สูงสุด 10,000 บาทตอวัน นานสูงสุด 1,095 วัน กรณีเขารักษาตัวในโรงพยาบาล ด ว ยโรคมะเร็ ง และรั บ สิ ท ธิ ย กเว น เบี้ ย ประกัน สัญญาหลัก กรณีเจ็บปวยดวยโรค มะเร็ ง ระยะลุ ก ลาม โดยเป ด รั บ ผู เ อา ประกันอายุ 1 เดือน-65 วัน และขยาย ความคุมครองสูงสุดถึงอายุ 85 ป “เราถือเปนเจาแรกในประเทศไทย ที่คุมครองมะเร็งผิวหนัง โดยลูกคาตอง ตรวจสุขภาพกอนซือ้ ซึง่ แบบประกันนีเ้ รา รวมมือกับทีมออกแบบสินคาของแอกซา องกง จึงมั่นใจไดวาสินคาของเราบริหาร ความเสีย่ งไดอยางแนนอน และเบีย้ ไมแพง เชน ผูชายอายุ 35 ป ทุนประกัน 1 ลาน บาท เบีย้ ประกันแค 2,000 บาท คาชดเชย รายวัน 5,000 บาทตอวัน ทั้งนี้ เรายังเปน บริษัทหนึ่งเดียวในตลาดประกันชีวิตไทย ที่นําเสนอผลิตภัณฑตามความตองการ ของลูกคาแบบไมมีเงื่อนไข” ป จ จุ บั น บริ ษั ท มี สั ญ ญา เพิ่ ม เติ ม
สา น สัจจ ลา
เพียง 8-9 ตัว เชน สมารท เมดิแคร พลัส (MEA ) และแผนประกั น สํ า เร็ จ รู ป “รูใจ” คุมครอง 32 โรครายแรง เปนตน โดยปที่ผานมา ยอดขายสัญญาเพิ่มเติม ของบริษัทคิดเปนสัดสวน 12 ของเบี้ย รวม สวนแผนประกันชีวิตและสุขภาพ “คอมพลีท เ ลธ โซลูชั่น” ที่ใหความ คุม ครองคารักษาพยาบาลทุกโรคตลอดชีพ หรือจนถึงอายุ 99 ป รับประกันโดยไม ตรวจสุขภาพ ที่บริษัทออกขายเมื่อเดือน พฤษภาคม 2555 พบวาไดรับผลตอบรับ ดีจากลูกคา ซึ่งกลุมลูกคาสวนใหญจะเปน ระดับบน อานตอหนา...B7
เจาของ ริษัท หนังสือพิมพทรานสปอรต จา ั สํานักงาน เล ที่ ถนนเทอ าริ วง าง ื่อ เ ต าง ื่อ รุงเทพ โทรศัพท 662 556- 62 - ทรสาร 662 556- 62 พิมพที่ ริษัท ส พิจิตร ารพิมพ จา ั โทรศัพท 662 -2 -2 ูกอตั้ง สมพงษ สร วี ประ านกรรมการ สุ ี รีเ จ ติ ที่ปรกษา สุวั น สุ สัมฤท ิ บรรณา ิการบริหาร ร สุ ีรา รีเ จ ติ รองบรรณา ิการบริหาร สุ าลัย รีเ จ ติ พันทิพา จุลเพ ร กองบรรณา ิการ น า จน พฤ ษติ ุล วรั ยอ พรหม นพล สุวรร ี ยั วั น เ ษสม นิ พง เรือง ุ มา บรรณา ิการ ูพิมพ ูโ ษณา พิเ ษ จเที่ยง รรม จัดจําหนาย ริษัท เวิล ออ ิสทริ ิว ั่น จา ั
สถิติ เว็บไ ต Sanook.com MThai.com Kapook.com ผูจัดการออนไลน Dek-D.com
ต
ยย
าก ส 10 น
จานวนผูเยี่ยมชม 1,142,690 827,892 819,583 42 1 397,937
เว็บไ ต
ที่มา : truehits.net
จานวนผูเยี่ยมชม
yengo.com BlogGang.com teenee.com Weloveshopping.com www.thairath.co.th
356,745 319,134 299,378 294,534 288,378
C1
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล ปที่ 6 ั ที่ 7 5 วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
รมว.ไอซีที ประกาศความพรอม
มั่นใจดันไทยเปนสังคมสารสนเทศ กระทรวงไอ ี ที ี้ ป ระ ากร 1 ใน ของ ลกได เ ข า ง อินเทอรเน็ต คาดวาจะสูง ง 100 ลาน ภายในสิ้นปนี้ สวนไทย เขา ง ราว 1 วงตนป และคาดวา จะสูงข้นอยางมากเนื่องจากการเริ่มใ นาวาอากาศเอกอนุ ดิ ษ นาคร ทรรพ รัฐมนตรีวา การกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เปด เผยภายหลังเขารวมการประชุมติดตามผล การประชุ ม สุ ด ยอดผู นํ า ว า ด ว ยสั ง คม สารสนเทศ ค.ศ. 2013 ( F 2013 F 2013) และการเขา รวมการประชุมโตะกลมระดับรัฐมนตรี ซึง่ จั ด โดยสหภาพโทรคมนาคมระหว า ง ประเทศ ( T T ) วา “การประชุม F จัดขึ้น เปนประจําทุกป โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ติดตามผลการดําเนินงานตามปฏิญญาวา ด ว ยหลั ก การสร า งสั ง คมสารสนเทศ ดี ทค ลองความสําเรจดวยยอด ผูใ ชบริการดี ทค ดีเซอรทพี่ งสู ุ งมากกวา 00 000 ราย ล มี นว นมเพิ่มข้น อย างต อเนื่ อ งเป น 1 ล า นราย ใน สิ้นป พ.ศ. พรอมเปดตัว พลต อรม อั จ ริ ย ลาสุ ด ที่ ช วยยกร ดั บ ความ สัมพัน ร หวางเหลาศิลปน ล น เพลงทั่ว ลกใหใกลชิดกันยิ่งกวาเดิม นายปกร พรร เชษ ผูอํานวย การอาวุโสฝายการตลาด บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) หรือดีแทค กลาววา “วันนี้ ดีแทค ดีเซอร ไดกาวเขาสูการเปนแอพฟงเพลงที่ไดรับ ความนิ ย มสู ง สุ ด มี จํ า นวนฐานลู ก ค า มากวา 300,000 ราย มีจํานวนรายชื่อ เพลงที่ถูกฟงมากกวา 500,000 เพลง พร อ มยอดการใช ง านฟ ง เพลงไปแล ว มากกวา 8 ลานครั้ง และกาวตอไปของ เราคือการประกาศความพรอมที่จะมอบ
(
) และแผน ปฏิบัติการ ( A ) ทั้ง 11 ประการ ทีก่ าํ หนดขึน้ ในการประชุม เมื่อป พ.ศ. 2546 เพื่อการพัฒนาสังคม สารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพและลด ความเหลื่อมลํ้าของประชากรโลก ในการ เขาถึงสารสนเทศและความรูไดภายใน ป ค.ศ. 2015” สําหรับการประชุม F 2013 ถือวาเปนครั้งที่ 8 ซึ่งไดกําหนดให มีการประชุมผูแทนระดับสูง ( ) และการประชุมโตะกลมระดับ รัฐมนตรี (M ) ควบคูไปดวยเนื่องจากประเทศสมาชิก T เห็นวาเปาหมายที่จะบรรลุในป ค.ศ.
ดีแทคยิ้มรับดีเซอรนิยมสูงสุด พรอมเปดตัว Deezer4Artists
รศ.ดร.บุญมาก ศิริเนาวกุล
อธิการบดี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด/boonmark@stamford.edu
ันทก ลัง า าย น ซ ยล อ เรื่องรายการบันทกสั่งลา หรือ ทําพินัยกรรมเพื่อเปดเผยหลังลาจาก ลกไป ลว ในร บบของ ซเชียลมีเดีย ได มี ก ารริ เริ่ ม ล ว จ มี ก ารทดสอบ ปร กรมของเดด ซเชียลในลักษ เบดา ล จ มีการเปดตัวสูสา าร ในเดือนมีนาคมนี้ สํ า หรั บ บริ ษั ท เดดโซเชี ย ลที่ ประกาศจะเป ด ตั ว ทางตอนใต ข อง สหรัฐอเมริกา ก็จะเปดตัวในงานเซาท เวิลด หรืองานตะวันตกเ ียงใตในเดือน มีนาคม และงานนี้จะจัดที่พิพิธภัณฑ ประหลาด (M ) ซึ่งก็ เป น อี เวนต ที่ เ หมาะเจาะกั บ บั น ทึ ก สําหรับหลังความตายพอดี
2015 ใกลจะถึงแลว และแผนปฏิบัติการ ในสวนที่ T รับผิดชอบ ไดแก โครงสราง พื้นฐานของสารสนเทศและการสื่อสาร
ก็ ยั ง มี อี ก บริ ษั ท ที่ ป ระเทศอั ง กฤษ ทีจ่ ดั ทําโปรแกรมประเภทนีเ้ ชนกัน และได จัดตารางเวลาเพื่อใหสามารถสงสารหรือ ขอความเพือ่ ใหเปนการเปดเผยตอสาธาณ ชนไดยาวนานไดถงึ 100 ปขา งหนา เพราะ ะนั้น ระบบความปลอดภัยของขอมูล และเครื่องคอมพิวเตอรทั้งหลายจะตอง มีอายุยาวนานถึงขณะนั้น คือ 2 ชวงอายุ คน ซึ่งก็หมายความวาจะตองไมพึ่งคน หรือมนุษยในการซอมบํารุงรักษาใหทั้ง ซอฟตแวรและ ารดแวรปลอดภัย และ มีอายุยาวนานขนาดนั้น ในทางทฤษ ีทาง กลุมบริษัทในอังกฤษนี้พบวาสามารถที่จะ สรางระบบการบันทึกหลังความตายให ยาวนานไดถึง 400 ป ขางหนา
ถาหากอยากจะพูดกับมนุษยในโลก หนาหรืออีก 400 ปขางหนาวา มนุษยนั้น จะเปนเชนไรหรืออยากจะสื่ออะไรใหเปน ประวัติศาสตรกับมนุษยยุคนั้นก็สามารถ ทําได เพราะเราจะเปนประวัตศิ าสตรทจี่ ะ ถูกขุดพบขอความการสื่อสารใน 400 ป ขางหนา จินตนาการไมออกวาโลกเราที่ อยูนี้จะเปนเชนไร ในประเทศอิ ส ราเอลเร็ ว กว า ได มี การเปดตัวไปแลวในป 2011 ซึ่งขณะนั้น มีผูใชถึง 200,000 คน สวนใหญแลวก็จะ เลือกบันทึกคําลาจากที่สะเทือนใจ และ มักจะเปนบันทึกขอความมากกวาที่จะ บั น ทึ ก ด ว ยวิ ดี โ อ บริ ษั ท ในประเทศ อิ ส ราเอลยั ง ให บ ริ ก ารนี้ ฟ รี อ ยู แต ใ น อนาคตจะมีการเก็บเงินสําหรับการบันทึก และการบันทึกนี้จะเปดเผยตอเมื่อไดรับ การอนุญาตจากผูจ ดั การมรดกทีไ่ ดรบั การ แตงตั้งเทานั้น คุณรูบินสไดน ซึ่งเปนผูกอตั้งบริษัท อีฟไดดาย หรือบริษัทถา ันตาย ไดกลาว วา “บางคนรูวาถา ันจะตายและก็ไดมี การเตรี ย มตั ว เองก อ นตายเอาไว แต
และการสรางความมั่นคงปลอดภัยในการ สรางสังคมสารสนเทศ ควรมีการดําเนิน การเพือ่ จะบรรลุเปาหมายกอนป 2015 จึง ประสบการณใหมขยายใหลูกคาดีแทค พรีเพดไดสนุกสนานเพลิดเพลินกับ 20 ลานเพลงจากดีแทค ดีเซอร ในราคาสุด คุมเร็วๆ นี้ ซึ่งการพัฒนา คอนเทนตของ EE E ในครั้งนี้นับเปนการตอ ยอดวิสัยทัศนของดีแทคในการกาวสูมิติ ใหม T 3 โครงขายอัจ ริยะ หนึ่ง เดี ย วของไทยที่ มี ค ลื่ น ความถี่ ม ากที่ สุ ด บนแบนดวิธที่กวางที่สุด พรอมมุงสูธุรกิจ โมบายอินเทอรเน็ตเต็มรูปแบบ ดวยองค ประกอบทุกอยางที่พรอมลงตัว ไมวาจะ เปนเครือขายที่มีศักยภาพเต็มที่ อุปกรณ สื่อสารที่หลากหลาย การใชเทคโนโลยีที่ ดี ที่ สุ ด ในโลกในการพั ฒ นาเครื อ ข า ย ความพร อ มในการให บ ริ ก ารด า นคอน เทนตอยางครบวงจร ใหลกู คาสามารถฟง เพลงไดไมจํากัดกวา 20 ลานเพลง จาก ทั่วทุกมุมโลก ไดทุกที่ ทุกเวลาอยางราบ รื่นยิ่งกวาบนเครือขาย T ” อานตอหนา...C2 ปญหาที่ทาทายมากก็คือ เวลาความ ตายจะมาเยือน มักจะคาดไมถึงทุกครั้ง ไป” และยังกลาวตออีกวา “ในชวงยุค ที่เรายังมีชีวิตอยูสวนใหญบันทึกเรื่อง ราวในลักษณะดิจิตอลเอาไว แตคนเรา มักอยากจะควบคุมสิง่ นัน้ เอาไวใหไดใน ระดับหนึ่งและใหมีการเปดเผยในภาย หลังจากเสียชีวิตแลว” บริษัทเหลานี้ดูวาเทคโนโลยีจะ มาชวยทําใหมนุษยคิดเรื่องความตาย เอาไวบาง เมื่อยามจะลาจากโลกนี้ ใจ อยากจะบันทึกเรือ่ งความลับอะไรทีเ่ คย ทําไวหรืออยากจะทําอะไรจะไดคิดไว ลวงหนา เพื่อจะไดคุนเคยกับเรื่องของ ความตาย และเรื่องของความตายไมมี ทางที่จะแยกออกจากมนุษยโลกได สํ า หรั บ ปร เทศไทย คนสวน ให ซ่งกเปนศาสนาพุท ไมตางกัน เลยเชนกัน ล ใน งของความคิด อานปรัช า หงความตายกมีเรื่อง นรก ล สวรรคเชนเดียวกับศาสนา อื่น ตพอรูวาจ ตาย คําพูดนั้นมัก จ มีความจริงใหไดทราบเสมอ
เห็นควรมีการติดตามและ รายงานผลในระดับรัฐมนตรี ซึ่ ง มี ผู แ ทนระดั บ รั ฐ มนตรี และผูแทนระดับสูงเขารวม ประชุมกวา 40 ประเทศ ในการประชุม F 2013 นีป้ ระเทศไทย โดยกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ไดรายงานความคืบหนาการ ดําเนินการภายใตโครงการ ตางๆ เพือ่ ใหบรรลุเปาหมาย อาทิ การกํ า หนด นโยบายบรอดแบนด แ ห ง ชาติ โครงการ “O T C ” การจัด ตั้ ง ศู น ย ก ารเรี ย นรู CT ชุ ม ชน โครงการ “F -F ” ซึ่งคาดวาประเทศ ไทยจะสามารถบรรลุเปาหมายไดภายในป ค.ศ. 2015 แน น อน และสํ า หรั บ การ ประชุ ม โตะกลมระดั บ รั ฐ มนตรี ไ ด เ ป ด
ไม คร อ ท วน
โอกาสใหผนู าํ แตละประเทศเสวนาภายใต หัวขอ “F C A 2015 ถือวาเปนเวทีในการแลก เปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับแนวทางที่ควร ดําเนินการหรือเปาหมายที่จะตองบรรลุ หลังป ค.ศ. 2015 อาทิ กระบวนการใน การสรางสังคมสารสนเทศใหเปนไปใน ทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ กระบวนการตาม เป า หมายการพั ฒ นาแห ง สหั ส วรรษ (M ) หลังป ค.ศ. 2015 เปนตน “ CT เปนเครื่องมือสําคัญในการ พัฒนาและเรงความเติบโตทางเศรษฐกิจ โลก จากข อ มู ล สถิ ติ ข อง T ระบุ ว า ประชากร 1 ใน 3 ของโลกได เข า ถึ ง อินเทอรเน็ต โดยเ พาะอยางยิ่ง จํานวน M คาด วาจะสูงถึง 2,100 ลาน ภายในสิ้นปนี้ และในสวนของประเทศไทย การเขาถึง M C คิดเปนรอยละ 124 ใน ชวงตนป 2556 และคาดวาจะสูงขึ้นอยาง มากเนื่องจาก อานตอหนา...C2
อัพเกรด
เตรียมหยุดบริการ
00 และ
บริ ษั ท ไมโครซอฟท เชิ ญ ชวน ผู ป ระกอบการธุ ร กิ จ ขนาดกลางและ ขนาดยอม หรือ ME ทั่วเอเชีย ให ปรับปรุง กอนไมโครซอฟทจะหยุดให บริการ และ O 2003 ในวันที่ 8 เมษายน 2557 ทั้ง สวนลดสูงสุด 15 สําหรับ 8 และ O 2013 แบบ O รวมถึงการแขงขัน ME T M ในประเทศ ไทยและ ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย นางสาวทิ พ มาศ อจลากุ ล ผูอํานวยการกลุมธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดยอมบริษทั ไมโครซอฟท (ประเทศ ไทย) จํากัด กลาววา “ธุรกิจ ME คิด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 99.8 ของธุ ร กิ จ ทั้งหมดในประเทศไทย บริษัทเหลานี้คือ โครงสรางหลักของสภาพเศรษฐกิจใน ประเทศไทย เนื่องจากพวกเขาคือผูจาง แรงงานสวนใหญ แถมยังเปนปจจัยหลัก ของศักยภาพในการผลิต การสงออก และแหลงรายไดของไทยอีกดวย อยางไร ก็ตาม ผูประกอบการจํานวนมากยังคง ใช เ ทคโนโลยี แ ละขั้ น ตอนการทํ า งาน แบบเกาอยู ดังนั้น เปาหมายและความ พยายามต า งๆ ของไมโครซอฟท คื อ การนํ า เสนอสิ ท ธิ ป ระโยชน ที่ โ ดดเด น กวาเดิมใหแกธุรกิจ ME ที่สามารถนํา
ไปปรั บ ปรุ ง ระบบของตนให ทั น สมั ย แทนที่ เ ทคโนโลยี ที่ มี อ ยู เ ดิ ม อย า ง หรือ O 2003 เพื่อ ที่พวกเขาจะไดรับประโยชนสูงสุดจาก ศั ก ยภาพในการทํ า งาน มี ร ะบบที่ ปลอดภั ย มากขึ้ น กว า เดิ ม และใช ประสิทธิภาพจากบริการคลาวดไดอยาง คุมคา” ME ที่ยังคงใช และ O 2003 เตรียมตัวอัพเกรด ระบบ เนื่องจากไมโครซอฟทประกาศ ตั้ ง แต วั น ที่ 8 เมษายน 2557 เป น ตนไป ไมโครซอฟทจะยุติการใหบริการ ผลิตภัณฑเหลานี้อีกตอไป ซึ่งจะทําให เกิ ด ความเสี่ ย งเรื่ อ งการรั ก ษาความ ปลอดภัยและความเสี่ยงเรื่องการปกปด ข อ มู ล ส ว นตั ว ซอฟต แวร ที่ ทํ า งานไม สอดคล อ งกั น ไม ส ามารถโทรขอคํ า ปรึกษาจากใครได อาจมีปญหาดาวน ไทม และค า ใช จ า ยการบํ า รุ ง รั ก ษาที่ สูงขึ้น ME ในประเทศไทยสามารถเขา รวมกับการแขงขัน 2M และ ME T M C เพื่อชิงรางวัลเปนโนตบุ กและแท็บเล็ต 8 สมาชิก O 365 และบริการ ยายระบบ อานตอหนา...C2
C2
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
รมว.ไอซีที
ประชุม F 2013 ใหเขารวม การประชุม C A ตอ า หนา... 2013 ที่ประเทศไทยจะเปนเจาภาพ จัดการประชุมในวันที่ 18 พฤศจิกายน การเริ่มใช 3 อยางไรก็ตาม ยังมีความ 2556 ณ กรุงเทพฯ กอนงาน T T ทาทายที่ตองเผชิญ คือ การพัฒนาในแง 2013 ระหว า งวั น ที่ 19-22 การประสานความรวมมือทั้งในระดับโลก พฤศจิกายน 2556 อีกดวย ระดั บ ภู มิ ภ าค และโดยเ พาะอย า ง ยิ่ ง ในระดั บ ประเทศ ในการสร า งสั ง คม สารสนเทศเพื่อประชาชนทุกคนไดเขาถึง และไดใชประโยชนอยางเทาเทียมและทั่ว ตอ า หนา... ถึง ทั้งนี้ กระบวนการ M หลังป ค.ศ. ด า น นายเอเซล ดู เช ซ ประธาน 2015 ยังคงตองเนนถึงความสําคัญของ CT เชน การใช CT สําหรับ เจาหนาทีบ่ ริหารดีเซอร กลาวเสริมวา “นีค่ อื คนพิการหรือกลุมคนที่ตองการความชวย ช ว งเวลาสํ า คั ญ สํ า หรั บ แฟนเพลงและ เหลื อ พิ เ ศษ ซึ่ ง ไม มี ก ารกํ า หนดไว ใ น ศิลปน เนื่องจากเปนครั้งแรกที่ปราการ ขวางกั้นการคนหาและเขาถึงเพลงทั้งหมด M ” น.อ.อนุดิษฐ กลาว นอกจากนั้น น.อ.อนุดิษฐ ในฐานะ ไดถูกทลายลงอยางสิ้นเชิง โดยเราชวยให ผูแ ทนของประเทศไทยไดเชิญชวนรัฐมนตรี แฟนเพลงทั่วโลกสามารถเขาสูจักรวาลที่ และผูแทนประเทศตางๆ ที่เขารวมการ เต็มไปดวยความคิดสรางสรรคของศิลปน
ี ทค มร
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล สั ม ผั ส เพลงแนวใหม พ ร อ มยกระดั บ สุนทรียภาพในการฟงเพลงของพวกเขา และในขณะเดียวกัน เรายังใชเครื่องมือ อั น ยอดเยี่ ย มทํ า หน า ที่ ส นั บ สนุ น การ ปฏิสัมพันธระหวางเหลาศิลปนและแฟน เพลง รวมไปถึงการวิเคราะหเพื่อความ เขาใจอยางลึกซึ้งวาปจจัยใดเปนเหตุให พวกเขาตกหลุมรักเพลงนัน้ ๆ ซึง่ ในปจจุบนั เครื่ อ งมื อ ดั ง กล า วสามารถสร า งหรื อ ทําลายศิลปนไดเลยทีเดียว” ขณะที่ นายวัลลภ เลิศมงคล ผูจ ดั การ ฝ า ยการตลาดอาวุ โ ส (ดิ จิ ต อล) บริ ษั ท อารเอส จํากัด (มหาชน) กลาววา “เมื่อ กอนคายเพลงมีขอมูลที่จะนํามาวิเคราะห แบบชัดๆ นอยมาก สวนใหญที่ไดมามักจะ เป น ข อ มู ล กว า งๆ สิ่ ง ที่ ทํ า ได ก็ คื อ ใช วิ ธี ประเมินเทรนดของเพลงหรือศิลปนนั้นๆ เอาเองจากที่ ต า งๆ เช น รายการวิ ท ยุ เปนตน ซึ่งแนนอนวาไมใชเทรนดที่แท จริงๆ แตฟงกชัน 4A ที่เพิ่ม
เขามานั้นทําใหเราเห็นความเคลื่อนไหว เห็นอุปสงคทเี่ กิดขึน้ จริงๆ ในหลายมิติ เชน จํานวนการฟงเพลงเห็นหนาตากลุมลูกคา วาเขาคือใครรูวาฐานของลูกคาจริงๆ อยู ที่ไหน ทําใหเราสามารถวิเคราะห กําหนด กลยุทธการตลาดไดอยางแมนยําและเขา ถึงฐานแฟนเพลงจริงๆ ของแตละศิลปนได มากยิ่งขึ้น” สวน นายนัดดา บุรณศิริ กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั วอรนเนอร มิวสิค (ประเทศ ไทย) กลาววา“วอรนเนอรมิวสิคและคาย เพลงพันธมิตรเห็นวานี่เปนโอกาสในการ สร า งรายได สํ า หรั บ วงการอุ ต สาหกรรม ดนตรี ซึ่ ง แฟนเพลงสามารถสนั บ สนุ น ศิ ล ป น คนโปรดของพวกเขาได โ ดยตรง
NCR ั้ ิหา น ช้ ิ้น น้อา หน อ ATM หม
IT SOCIETY
บริ ษั ท เอ็ น ซี อ าร (ประเทศไทย) จํ า กั ด ได ป ระกาศแต ง ตั้ ง นายพรเทพ พิทกั ษสนิ สกุล เขาดํารงตําแหนงกรรมการ ผูจัดการประจําประเทศไทย มีสํานักงาน ที่กรุงเทพฯ นายพรเทพ มีหนาที่รับผิด ชอบการวางแผนงานยุทธศาสตรการขยาย ธุรกิจและการตลาดสายธุรกิจธนาคารใน ประเทศไทย รวมถึงขยายฐานพันธมิตร ธุ ร กิ จ เพื่ อ นํ า บริ ษั ท ขึ้ น สู ร ะดั บ ผู นํ า เทคโนโลยีเพื่อระบบบริการทางการเงินที่ ลูกคาสามารถทําธุรกรรมไดดวยตนเอง นายไจวินเดอร กิล ( ) รองประธานบริษทั เอ็นซีอาร สายงานธุรกิจ การเงินประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟกใต กลาววา “ผลงานและประสบการณของ นายพรเทพ ในการบริหารธุรกิจ จะมีสวน สําคัญอยางยิง่ ในการขยายบทบาทของเรา ในประเทศไทย และมีผลตอการนําเสนอ ยุ ท ธศาสตร ข องเราในเอเชี ย ตะวั น ออก เ ียงใต ตลอดจนเราเชื่อมั่นในวิสัยทัศน และประสบการณการทํางาน โดยเ พาะ
อยางยิ่งความมุงมั่นในการแสวงหาความ เปนเลิศและความรอบรูเ ชิงลึกในธุรกิจของ นายพรเทพ ที่ไดสั่งสมมาตลอดเวลาการ ทํางานในแวดวงนี้ จะเปนกําลังสําคัญใน การสรางเสริมประโยชนใหแกลกู คาของเรา ในไทย ซึ่งเราจะเดินหนาลงทุนในภูมิภาค นี้ตอไป” เอ็นซีอาร เริ่มธุรกิจในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2535 นําเสนอโซลูชั่นและ บริการใหกับสถาบันการเงินและธนาคาร ชั้นนําทั้งหมดในไทย เชน ธนาคารพาณิชย และธนาคารของรัฐที่ใหญที่สุด และไทย เปนตลาดเชิงยุทธศาสตรที่สําคัญสําหรับ เอ็ น ซี อ าร ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก เ ียงใตนี้ นอกจากนี้ C ยังเตรียมนวัตกรรม ใหมเขาสูต ลาดธนาคารในประเทศไทย เนื่องจากมีการสํารวจแลวพบวา การเขา ใชบริการธนาคารยังมีความไมสะดวกจาก การรอคิวนานเกินกวาทีค่ วรจะเปน ขณะที่ คิวการรอที่ตูเอทีเอ็มยังยาวเกินไปอีกดวย
จัดโรดโชว : ธนวัฒน สุธรรมพันธุ กรรมการผูจ ดั การ และศักดิช์ าย ปญญจเร ผอ.หนวยธุรกิจ HP Networking บริษทั ฮิวเลตต-แพค การด (ประเทศไทย) จํากัด จัดงานโรดโชว HP Networking สําหรับลูกคาและพันธมิตร ในประเทศไทย ทัง้ นี้ อาโมล มิตรา รองประธาน หนวยธุรกิจ HP Networking บริษทั ฮิวเลตต-แพค การ ด เอเชี ย แปซิ ฟ ก และญี่ ปุ น บี ย อร น มุ น ช หั ว หน า นักวิเคราะหวจิ ยั การทเนอร ไดขนึ้ กลาวคําปราศรัยในงาน
โดยผลจากการศึกษาทั่วโลกพบวา 70 ไมมีเวลานานพอที่จะรอ 82 ใชเวลา นานมากในการทําธุรกรรมทีต่ ู ATM และ 86 ยอมจายเงินซื้อบริการที่รวดเร็ว เพิ่มขึ้น C จึงเตรียมนํานวัตกรรมตู ATM ใหม เข า มาโดยมี ชื่ อ เรี ย กว า A T A T เปนตู ATM ทีส่ ามารถ ทําการสื่อสารกับเจาหนาที่ผานหนาจอ โดยเครื่องดังกลาวสามารถทําธุรกรรมได เองทุกอยางแบบที่ธนาคารทําได ดวย การสือ่ สารแบบ 2 ทางทําใหสามารถระบุ ตัวตนไดอยางงายดาย อีกทั้งยังชวยให ธนาคารบริการลูกคาตามแผน C M ได นอกจากนี้ ยั ง สามารถใช ตู ช นิ ด ดังกลาวสรางธนาคารสาขาเสมือนจริงได เพื่อเปนการทดสอบความตองการของ ตลาด หากมีผูใชบริการมากก็สามารถ ลงทุนเพิ่มเติมเพื่อสรางธนาคารที่เปน อาคารขึ้ น มา โดยคาดว า จะได เ ห็ น เครื่องตนแบบชวงปลายปนี้
เปดตัวนองเล็ก : บราเดอร เนนตลาดอิง้ คเจทมัลติฟง กชนั่ สีแบบ เต็มสูบ หลังยอดขาย “Brother MFC-J2510” ติดลมบน ลาสุด สงนองเล็ก “Brother MFC-2310” เพือ่ ตองการรักษามารเก็ตแชร A3 มัลติฟง กชนั่ ยังคงเนนจุดขายดานดีไซนผสานฟงกชนั่ ทีเ่ หนือ กวา ทีม่ ที งั้ ไวรเลสและทัชสกรีนมาในเครือ่ งเดียวกัน พิมพ A4 ทัง้ ยังพิมพไดสงู สุดถึง A3 เพือ่ ตอบโจทยความตองการลูกคาระดับ กลางถึงบน ดวยราคาเบาๆ แค 7,990 บาท
ดวยการฟงเพลงจากดีเซอรและนําไปแชร ตอใหกับครอบครัว เพื่อนฝูง รวมไปถึงคน รูจัก ซึ่งถาดีเซอรยังเติบโตอยางตอเนื่อง เชนนี้ก็จะเปนกําลังสําคัญสําหรับวงการ เพลงไทยในอนาคตอั น ใกล ไ ด อ ย า ง แนนอน”
โดยผู ช นะรอบสุ ด ท า ยจะวั ด จาก คะแนนทัว่ ภูมภิ าคในเดือนกรก าคม 2556 รวมทั้ ง จะได รั บ รางวั ล เพิ่ ม อี ก 9,000 ดอลลารสหรัฐ (ประมาณ 267,000 บาท) ซึง่ ประกอบดวยซอฟตแวรของไมโครซอฟท โนตบุก แท็บเล็ต และบริการยายระบบ นอกจากนี้ ไมโครซอฟทเตรียมเปดตัว โปรโมชั่นอัพเกรด 2M โดยตั้ง เปาไปทีก่ ลุม ธุรกิจ ME ในไทยและแถบ ตอ า หนา... เอเชียแปซิฟกโดยเ พาะ องคกรตา งๆ จะไดรับสวนลดสูงสุด 15 จากการซื้อ ที่ มี มู ล ค า รวม 6,000 ดอลลาร ส หรั ฐ 8 และ O 2013 นัน้ ผาน (ประมาณ 178,000 บาท) ผูชนะระดับ O รวม ประเทศทุกรายยังมีสิทธิเขารวมแขงขันใน ทั้งขอเสนอการอัพเกรด ารดแวรโนตบุก ระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟกอีกดวย และแท็บเล็ต 8 ดวย
ไม ครซอ ท
¾ÒâÅ ÍÑÅâµ à¹çµàÇÔà ¡ à¼Â໇ÒÀѤء¤ÒÁâ¨ÁµÕ à¤Ã×Í¢‹ÒÂÊѧ¤Áà·ÕºäÁ‹ä´Œ¡Ñºá;¸ØáԨ
พาโล อั ล โต เน็ ต เวิ ร ก บริ ษั ท ชั้นนําดานการรักษาความปลอดภัยบน เครือขาย เปดเผยรายงานเรื่องการใช แอพพลิ เ คชั่ น กั บ ภั ย คุ ก คามต า งๆ รายงานจากการสํารวจครั้งที่ 10 นี้เปน เวอรชั่นแรกที่รวบรวมและวิเคราะห หาความสัมพันธระหวางขอมูลการใช งานแอพพลิเคชั่นกับกิจกรรมที่เปนภัย คุกคามตางๆ รายงาน บับนีอ้ าศัยการวิเคราะห ขอมูลที่สงผานไปมาบนเครือขายของ องคกรตางๆ จํานวนประมาณ 800 แหง ทั่วเอเชียแปซิฟก ระหวางเดือน พฤษภาคม และธันวาคม พ.ศ. 2555 นับเปนการตรวจสอบการใชงานแอพ พลิ เ คชั่ น และภั ย คุ ก คามที่ ค รอบคลุ ม ที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรมการรั ก ษาความ ปลอดภัยบนเครือขาย ซึ่งผลการศึกษาที่ปรากฏพบวา กิจกรรมดานสังคม การแบงปนไฟล และวิดีโอ ไมใชแหลงภัยคุกคามลําดับ แรกๆ แมวา แอพพลิเคชัน่ ดานเครือขาย สั ง คม การแบ ง ป น ไฟล แ ละวิ ดี โ อ จํานวน 299 รายการ ใชแบนดวิธของ
เครื อ ข า ยถึ ง ร อ ยละ 27 แต ก ลั บ ก อ ภั ย คุ ก คามเพี ย งร อ ยละ 1 ของภั ย คุ ก คาม ทั้งหมดที่บันทึกไว ซึ่งผูไมหวังดียังคงพุง เปาจูโจมสินทรัพยตางๆ ที่มีคามากที่สุด ของกิจการผานแอพพลิเคชั่นดานธุรกิจที่ ใชกันทั่วไป จากการศึกษาแอพพลิเคชั่นทั้งหมด จํานวน 1,244 รายการ พบวา แอพพลิ เคชัน่ ทีจ่ าํ เปนตอธุรกิจ 7 รายการ กอใหเกิด ภัยคุกคามถึงรอยละ 86 ของภัยคุกคาม ทั้งหมดที่บันทึกไว มัลแวรแฝงตัวอยูใน แอพพลิเคชั่นซึ่งทําขึ้นโดยเ พาะ แอพพลิ เคชัน่ ซึง่ ทําขึน้ โดยเ พาะหรือแอพพลิเคชัน่ ซึ่งไมเปนที่รูจักแพรหลายคือทราฟฟกที่ เกีย่ วของกับมัลแวรมากทีส่ ดุ โดยกอใหเกิด มัลแวรถึงรอยละ 71 ของมัลแวรทั้งหมด ที่บันทึกไว แตกระนั้นกลับใชแบนดวิธของ เครือขายนอยกวารอยละ 4 สําหรับองคกรที่มีการใช ( ) แอพพลิ เ คชั่ น ดังกลาวเปนแอพที่ทํางานทั้งกระบวนการ ในการรั ก ษาความปลอดภั ย และเป น การอําพรางตัว (M A ) โดย แอพพลิ เ คชั่ น 317 รายการ ใช
รวมงาน : กฤติกา มหัทธนกุล ประธานกลุม ธุรกิจเอเชียเหนือ พรอมดวย ไค ซาฮาลา ประธานกลุม การตลาดผลิตภัณฑโมบาย บรอดแบนด บริษทั โนเกีย ซีเมนส เน็ตเวิรค ส รวมงาน Mobile World Congress 2013 เพือ่ จัดแสดงสุดยอดนวัตกรรมเทคโนโลยี เพือ่ รองรับโลกทีไ่ มหยุดนิง่ ดวยผลิตภัณฑและการบริการตางๆ อาทิ LTE Smart Scheduler, Liquid Applications, Simplified Network Operations และ Customer Experience Management (CEM)
ในทางใดทางหนึ่ง รายงานยังจําแนกแอพพลิเคชั่น ออกเปน 3 ประเภททั้งแอพพลิเคชั่น สวนตัว แอพพลิเคชั่นดานธุรกิจ และ แอพพลิเคชั่นซึ่งทําขึ้นโดยเ พาะหรือ แอพพลิเคชัน่ ซึง่ ไมเปนทีร่ จู กั แพรหลาย โดยแอพพลิเคชั่นสวนตัว รวมถึงแอพ พลิเคชั่นเครือขายสังคมตางๆ (F , ,T และ T ) ตลอดจนแอพพลิเคชั่นเพื่อการ แบงปนไฟล ( T , , , , และ ) และวิดีโอ ( T , และ ) แอพพลิเคชั่นดานธุรกิจ รวมถึง M ,M A , M ,M C ตลอดจนแอพพลิเคชั่นอื่นๆ แอพ พลิเคชั่นซึ่งทําขึ้นโดยเ พาะ หรือแอพ พลิเคชั่นซึ่งไมเปนที่รูจักแพรหลาย คือ แอพพลิเคชั่น TC หรือ ที่ไดรับ การจัดทําขึ้นโดยเ พาะ (ใชเ พาะใน องคกร) ไมมีขายทั่วไป หรือเปนภัย คุกคาม
สัมมนา : นพชัย วีระมาน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั มาสเตอรคลู อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด พรอมดวยทีมงานรวมออกบูธในงาน สัมมนาดานเทคโนโลยีการอนุรกั ษพลังงานสูอ นาคต เพือ่ แนะนํา นวัตกรรมเครื่องสรางลมเย็น พัดลมไอนํ้า และระบบโอโซน สุดยอดแหงการประหยัดพลังงานกวา 10 เทา รวมถึงเปนวิทยากร ในหัวขอ “การแกไขปญหาอากาศรอน และชวยประหยัดพลังงาน ดวยเทคโนโลยี Evaporative Cooling และเทคโนโลยี Ozone
เกษตร
BHMR (ขาวหอมมะลิ 100% ชั้น 2 Both Options) Contract Month
JUL 12 AUG 12 SEP 12 OCT 12 NOV 12 DEC 12 JAN 13 FEB 13
Agriculture
Settle. Price Volume Open Interest
Prev.
New Chg. Total* EFP/NLT Prev. Curr. Chg.
30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40
30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20
-0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20
Total
0 0 0 0 0 0 0 0 0
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
เ
0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0 0 0
C3
เตรียมแ น ัด รน้ นอน คต
ร รั ม นาท ม ัย ง ระบบพยากรณทมี่ อี ยูเ ดิมใหมปี ระสิทธิภาพ และมี ค วามแม น ยํ า มากขึ้ น โดยการ เชื่ อ มโยงและรวมระบบคลั ง ข อ มู ล ระบบพยากรณ แ ละเตื อ นภั ย ของ 10 ลุมนํ้า ไดแก ปง วัง ยม นาน สะแกกรัง เจาพระยา ทาจีน ปาสัก แมกลอง ปราจีน และบางปะกง ใหเปนหนึ่งเดียว ซึ่งได ดําเนินการแลวเสร็จตั้งแตเดือนมีนาคม 2555 พรอมกันนี้ ยังไดดําเนินการฟนฟู และปรับปรุงสิ่งกอสรางเดิมที่ไดรับความ เสียหายจากเหตุอทุ กภัย ป 2554 ตามแผน ฟน ฟูและปรับปรุงประสิทธิภาพสิง่ กอสราง เดิมหรือตามแผนที่วางไวแลว ซึ่งดําเนิน การแลวเสร็จตัง้ แตเดือนสิงหาคม 2555 ที่ ผานมา นายชวลิต กลาวตอวา กระทรวง เกษตรฯ เปนหนวยงานหลักในการกําหนด พื้นที่รับนํ้านองและมาตรการชวยเหลือ ผูที่ไดรับผลกระทบจากการใชพื้นที่เพื่อ การรับนํ้า ซึ่งไดกําหนดพื้นที่รับนํ้านองใน ลุมนํ้าเจาพระยาทั้งหมด 2.14 ลานไร สามารถเก็ บ กั ก นํ้ า ไว ไ ด 5,112 ล า น ลู ก บาศก เ มตร แบ ง เป น พื้ น ที่ ใ นเขต ชลประทาน 1.26 ลานไร สามารถเก็บกัก นํ้ า ไว ไ ด 2,993 ล า นลู ก บาศก เ มตร และพื้นที่แกมลิงตามธรรมชาติ 0.88 ลาน ไร สามารถเก็บกักนํ้าไวได 2,119 ลาน ลูกบาศกเมตร ซึง่ สามารถลดยอดนํา้ หลาก ในชวงนํา้ ทวมได และยังนํานํา้ สวนหนึง่ มา ใชในการเพาะปลูกในฤดูแลงตอไป สําหรับในระยะยาว กรมชลประทาน ไดจดั ทําแผนพัฒนาการชลประทานระดับ ลุมนํ้าอยางเปนระบบ โดยมีวัตถุประสงค เพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทานตามศักยภาพ จํ า นวน 60 ล า นไร จั ด ทํ า แผนการ พัฒนาการชลประทานเปนรายโครงการ
ผลักดันไทยศูนยกลางซื้อขายยางพารา
ชวลต ช จร
ตลอดจนเพื่ อ แก ไขป ญ หาเรื่ อ งนํ้ า ใน ทุ ก ภาคส ว นอย า งเป น ระบบ โดยกรม ชลประทาน ไดปรับยุทธศาสตรการพัฒนา และบริหารจัดการนํา้ ในเชิงรุกใหสอดคลอง กับยุทธศาสตรการพัฒนาการเกษตรของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อใหเกิด เปนรูปธรรม ทันตอการแกไขปญหานํ้า สวนใหญของประเทศมากขึ้น “เมื่ อ ดํ า เนิ น การตามแผนพั ฒ นา ชลประทานของประเทศอยางเต็มศักยภาพ จํานวน 8,789 โครงการ จะสามารถเก็บ
กั ก นํ้ า ได เ พิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 26,603 ลานลูกบาศกเมตร จะมีปริมาณนํ้าใชที่ สามารถควบคุ ม ได เ พิ่ ม อี ก ประมาณ 57,000 ล า นลู ก บาศก เ มตร ได พื้ น ที่ ชลประทานทั้งสิ้นประมาณ 34.04 ลานไร เมื่อรวมกับการพัฒนาที่มีในปจจุบัน จะ ทํ า ให ป ระเทศไทยมี แ หล ง เก็ บ กั ก นํ้ า เทากับ 102,973 ลานลูกบาศกเมตร หรือ ประมาณร อ ยละ 52 ของปริ ม าณนํ้ า ของประเทศมี พื้ น ที่ ช ลประทาน 62.4 ล า นไร ครอบคลุ ม พื้ น ที่ ศั ก ยภาพการ
เกษตรฯตัง้ เปาราคายางพาราไวที่ 110/กก. จับมือเอกชนเพือ่ ใหราคายาง เปนไปตามทีก่ าํ หนด พรอมผลักดันให ไทยเปนศูนยกลางการซือ้ ขายยางพารา นายยุทธพงศ จรัสเสถียร รัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปดเผยวา การประเมินหลังโครงการ พัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อ รักษาเสถียรภาพราคายางไดสิ้นสุดลง เมือ่ เดือน มี.ค. ทีผ่ า นมา พบวาโครงการ ดังกลาวไดผลเปนทีน่ า พอใจ มีระยะเวลา 5 เดือน ทีด่ าํ เนินโครงการสามารถแกไข ปญหาและสามารถผานชวงวิกฤติราคา ยางตกตํา่ ทีเ่ กิดขึน้ ได โดยใชงบประมาณ 5,000 ลานบาท ในการเขาไปสนับสนุน เพือ่ ชวยเหลือเกษตรกรรายยอย เชือ่ มัน่ วาไมมีการทุจริต และไดใหกรมตรวจ บัญชีสหกรณ ตรวจสอบขอมูลใหถกู ตอง สวนธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ก็ตอ งเรงเบิกจายเงิน แกเกษตรกร สําหรับแนวโนมราคายางพารา ได หารือกับสมาคมยางพาราแหงประเทศ ไทย คาดราคายางจะปรับตัวสูงขึ้นตอ เนื่ อ งตามกลไกตลาดโลก เป น ช ว งที่ ยางพาราขาดตลาด และยางพาราอยูใ น ชวงผลิใบและฝนตกชุกมาก เกษตรกร ไมสามารถออกกรีดยางได อีกทั้งยังมี รายการสัง่ ซือ้ จากตางประเทศอีกจํานวน มาก แตชว งระยะเวลาสัน้ ๆ คาดวาราคา ยางพาราจะอยูท ี่ 95-100 บาทตอ กก. ทั้งนี้ กระทรวงเกษตรฯ ตั้งราคา เปาหมายไวที่ 110 บาทตอ กก. ถือวาเปน ชลประทานทั้ ง หมด นอกจากนี้ ยั ง จะ สามารถพั ฒ นาพื้ น ที่ เ กษตรนํ้ า ฝนที่ อ ยู นอกพื้นที่ศักยภาพการชลประทานไดอีก
วีนิไทยรวมการประปาสวนภูมิภาคปลูกปะการัง นายสมศั ก ดิ์ ลื อ พั ฒ นสุ ข รอง กรรมการผูจัดการฝายการตลาดและการ ขาย พรอมดวย นายสมพจน ชีรนรวนิชย รองกรรมการผูจัดการฝายประสานงาน ธุ ร กิ จ และการสื่ อ สาร บริ ษั ท วี นิ ไ ทย จํ า กั ด (มหาชน) ให ก ารต อ นรั บ คณะ ผู บ ริ ห ารและพนั ก งานจากการประปา สวนภูมิภาคกวา 50 ทาน นําโดย นางสาว จันทิรา จุโฬทก ผูชวยผูวาการ สํานัก ผูวาการและสื่อสารองคกร ที่ใหเกียรติ รวมปลูกปะการังดวยทอพีวีซีในโครงการ “วีนิไทยรวมใจปลูกปะการัง 80,000 กิ่ง ทีเ่ ริม่ ตนเพือ่ ลนเกลา” ทีเ่ กาะทะลุ จังหวัด ประจวบคีรีขันธ ทั้งนี้ โครงการ “วีนิไทยรวมใจปลูก
0 0 0 0 0 0 0 0 0
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
กระทรวงเกษตรฯ เตรียมแผนบริหารจัดการนํา้ ในอนาคต พรอม พัฒนาระบบพยากรณและเตือนภัยอยางเต็มรูปแบบ 10 ลุม นํา้ สําคัญ ของประเทศ มัน่ ใจรับมือนํา้ ทวมและจัดสรรนํา้ เพือ่ การเกษตรไดอยางดี นายชวลิต ชูขจร ปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ กลาววา เพื่อใหการ บริหารจัดการนํ้าเกิดประสิทธิภาพสูงสุด กระทรวงเกษตรและสหกรณ จึงไดกาํ หนด แผนการบริหารจัดการนํา้ ในอนาคต ระยะ เวลา 3-5 ป แบงเปน 2 ระยะ คือ ระยะ เรงดวนและระยะยาว ทั้งนี้ ในระยะเรง ด ว น กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดดําเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งได เห็นชอบตามขอเสนอของคณะกรรมการ ยุ ท ธศาสตร เ พื่ อ วางระบบการบริ ห าร จัดการทรัพยากรนํา้ ใน 2 เรือ่ ง ไดแก แผน ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ บรรเทาป ญ หาอุ ท กภั ย ระยะเรงดวน ประกอบดวย จัดทําแผนการ บริหารจัดการเขือ่ นเก็บนํา้ หลักและการจัด ทําแผนบริหารจัดการนํ้าของประเทศ เปาหมายเพื่อปรับปรุงระบบการ บริหารจัดการนํ้าของประเทศและระบบ การบริหารจัดการนํ้าในเขื่อนสําคัญใหมี ประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถ การปองกันและบรรเทาอุทกภัยที่จะเกิด ขึ้นในแตละป โดยไดดําเนินการปรับปรุง เกณฑปฏิบัติการอางเก็บนํ้า เขื่อนขนาด ใหญแลวจํานวน 10 เขื่อนหลักในลุมนํ้า เจาพระยา ไดแก เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขือ่ นแมกวงอุดมธารา เขือ่ นแมงดั สมบูรณ ชล เขือ่ นกิว่ ลม เขือ่ นกิว่ คอหมา เขือ่ นแคว นอยบํารุงแดน เขื่อนทับเสลา เขื่อนปาสัก ชลสิทธิ์ และเขื่อนกระเสียว ซึ่งจะทําให สามารถรองรับนํ้าในชวงตนฤดูฝนไดเพิ่ม ขึ้ น 3,440 ล า นลู ก บาศก เ มตร โดย กรมชลประทาน ไดดําเนินการแลวเสร็จ ตั้งแตเดือนมกราคม 2555 นอกจากนี้ ไดจัดทําแผนงานพัฒนา คลังขอมูล ระบบพยากรณและเตือนภัย โดยกรมชลประทานไดดาํ เนินการปรับปรุง
0 0 0 0 0 0 0 0 0
ปะการัง 80,000 กิง่ ทีเ่ ริม่ ตนเพือ่ ลนเกลา” จัดขึ้นโดย บริษัท วีนิไทย จํากัด (มหาชน) รวมกับมูลนิธิกิจกรรมวิทยาศาสตรทาง ทะเลและการอนุรักษ เปนโครงการปลูก และขยายพันธุปะการังเขากวางดวยทอ พีวีซี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อขยายพันธุ ปะการั ง เขากวางจํ า นวน 80,000 กิ่ ง ภายในระยะเวลา 5 ป (พ.ศ. 2551-2555) โดยเป น การปลู ก ปะการั ง เขากวางโดย อาศั ย ท อ พี วี ซี ใ นการช ว ยยึ ด เกาะตั ว ปะการั ง ให เ ติ บ โตเป น กิ่ ง พั น ธุ และกิ่ ง อนุ บ าลเพื่ อ ใช ใ นการฟ น ฟู เนื่ อ งจาก ปะการังมีความออนไหวตอสิ่งแวดลอม มาก แตสามารถที่จะอยูกับทอพีวีซี และ สามารถเคลือบกันไดในระยะเวลาเพียง 2 สัปดาหหลังการปลูก เมื่อปะการังอายุ ประมาณ 1 ป ก็จะแยกกิ่งปะการังออก จากแปลงท อ พี วี ซี แล ว นํ า ไปวางตาม แนวปะการั ง ที่ เ สี ย หายหรื อ ถู ก ทํ า ลาย นอกจากนั้ น ยั ง สามารถนํ า แปลงท อ อนุบาลดังกลาวกลับมาใชใหม จึงทําให สะดวกและประหยั ด ทั้ ง ยั ง ได ผ ลการ
ขยายพันธุที่ดี โดยพื้นที่ปลูกปะการังของ โครงการฯ จะอยูบริเวณชายฝงดานอาว ไทย ซึ่งถือเปนทําเลที่เหมาะสมในการ ขยายพันธุปะการังเขากวาง ไดแก พื้นที่ ชายฝงหาดแสมสาร จังหวัดชลบุรี เกาะ ขาม จังหวัดชลบุรี เกาะหวาย จังหวัด
ตราด เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง และเกาะ ทะลุ จังหวัดประจวบคีรีขันธ โครงการนี้นับเปนจุดเริ่มตนที่ดีใน การกระตุนจิตสํานึกรักษธรรมชาติ และ ร ว มคื น ธรรมชาติ ใ ห กั บ ท อ งทะเลไทย ที่ริเริ่มโดยบริษัทเอกชน อยางไรก็ตาม
การสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการ อนุรักษปะการัง และสิ่งแวดลอม รวมถึง ความรวมมือจากทุกภาคสวนในสังคม ยัง คงเปนสิ่งที่ตองสรางใหเกิดขึ้นอยางตอ เนือ่ ง เพือ่ รวมอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ ของไทยใหยั่งยืนอยางแทจริง
ราคาที่นาพอใจกับทุกฝาย และพรอมที่ จะรวมมือกับภาคเอกชนเพือ่ ใหราคายาง มีเสถียรภาพตามราคาที่กําหนดไว โดย จะเปดโอกาสใหเอกชนเขามามีสวนรวม สงเสริมศักยภาพยางพาราใหมากขึน้ โดย ไดกาํ หนดใหมกี ารประชุมหนวยราชการ และภาคเอกชนที่ เ กี่ ย วข อ ง เพื่ อ ร ว ม พิจารณาถึงแนวโนมราคายาง เจรจา ทิศทางยางพาราในอนาคต และการผลัก ดั น ให ไ ทยเป น ศู น ย ก ลางการซื้ อ ขาย ยางพารา “ป จ จุ บั น ไทยมี ต ลาดกลางอยู หลายแหง แตเนือ่ งจากภาครัฐไมไดรว ม มือกับภาคเอกชนเทาที่ควร ทําใหไม สามารถสรางความเชื่อมั่นใหกับตลาด กลาง ใหเปนผูน าํ กําหนดทิศทางราคายาง แตละวันได ราคายางที่เกิดขึ้นยังตอง อางอิงตลาดตางประเทศเปนหลัก ทั้งที่ ไทยเป น ผู ส ง ออกอั น ดั บ 1 ของโลก ปละกวา 3,00,000 ตัน มูลคา 400,000 ลานบาท ดังนัน้ ควรจะเปนผูน าํ ดานราคา ดวย” นายยุทธพงศ กลาว นายยุทธพงศ กลาววา แนวทาง ในการใช ก ลไกตลาดซื้ อ ขายสิ น ค า เกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย (AFET) ควรเขามามีบทบาทที่จะทําใหราคายาง พารามีความยัง่ ยืน แตปจ จุบนั ตลาดลวง หน า โตเกี ย ว (TOCOM) กลั บ เป น ผูกําหนดราคายาง ในขณะที่ตลาดนี้มี สต็อกนอยมาก ประมาณ 14,000 ตัน หากไทยได เ ป น ผู นํ า การรั บ ซื้ อ ยาง เหมือนกับญี่ปุนจะทําใหไทยมีศักยภาพ และคุณภาพมากขึ้น 2.4 ลานไร ดวยโครงการที่มีเทคโนโลยี สมัยใหม เชน โครงการสูบนํ้า โครงการ ผันนํ้า เปนตน” นายชวลิต กลาว
กาวทันโลก
CSR กับ CSV
ทานคงคุนเคย ั ค วา ‘CSR’ เพื่อ หเ า ทัน ร ส ล นยพั นาป าคมจง สื คน อมล นวคิ หม อง ล มาเสนอเปน มา า ทาน เพื่อ หทุ ทาน มต เทรน จง คันเอามา ตเนือ มาเลาส ัน ง จน ทความที่มีความยาว ลังพอ ี เหมา ั คนมีเวลานอยอยางเรา มอาน ม เลย อ อ เพรา ถา มรจั 2 ค นีจ เปนคนตาม มทัน ร ส พอ น ต นี่เพิ่งตามมาติ
CSR (Corporate Social Responsibility) คือ ารรั CSV (Creating Shared Value) คือ ารสรางสรรคคุ
ิ อ อง ุร ิจตอสังคม คาเพิ่มรวม ัน ห ั สังคม ที่มา
C4
วันจันทรที่ 27 พฤษภาคม - วันอาทิตยที่ 2 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
กรุงศรี รวมอนุรักษโบราณสถานอยุธยา มิชลิน จัดกิจกรรม
‘ขับขี่ปลอดภัยชวงฤดูฝน’ Michelin Safe on the Road
นางเจนิ ส วน เอกเคอเรน ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) มอบเงิน จํานวน 4,060,000 บาท ภายใตโครงการ “กรุ ง ศรี อ นุ รั ก ษ ศิ ล ปกรรมและโบราณ สถาน จังหวัดบานเกิด” แกนายสหวัฒน แน น หนา อธิ บ ดี ก รมศิ ล ปากร เพื่ อ สนั บ สนุ น การฟ น ฟู บู ร ณะศิ ล ปกรรม และโบราณสถานในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา
ÊÊÊ. ¡Í´¤Í True-Google ÊÌҧÊÃä â¤Ã§¡Òà ‘ÍíÒàÀÍÊÌҧÊØ¢’
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ เสริมสรางสุขภาพ (สสส.) รวมกับ บมจ. ทรู คอรเปอเรชั่น กูเกิล รพ.สารภี และ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม จั ด โครงการ “อําเภอสรางสุข” การจัดการสุขภาพ มิติใหมดวยเครือขาย T M 3 และเทคโนโลยีจาก ครั้ง แรกของประเทศไทย โดยมีการสาธิต การถายทอดสดการเก็บขอมูลสุขภาพ ภาวะชุมชนจาก อ.สารภี จ.เชียงใหม ผานเครือขาย T M 3 และ โปรแกรมสื่อสาร ป จ จุ บั น โรคเรื้ อ รั ง เป น ป ญ หาสาธารณสุ ข ลํ า ดั บ ต น ๆ และมักมีอาการแทรกซอนทําให เกิดเปนผูปวยติดเตียงในชุมชน จํ า นวนมาก ในขณะที่ สั ด ส ว น แพทยตอประชากรอยูที่ แพทย 1 คนตอประชากร 2,728 คน สสส. จึงมีแนวคิดจัดทําโครงการ “อําเภอสรางสุข”
มิชลิน หวงใยผูใชรถใชถนนใน ช ว งเข า ฤดู ฝ น จั ด กิ จ กรรม “ขั บ ขี่ ปลอดภัยชวงฤดูฝน” แนะนําเกี่ยวกับ การขับขี่ปลอดภัย การดูแลรักษายาง พรอมบริการตรวจเช็คและเติมลมยาง ฟรี ภายใตโครงการ “M ” ซึง่ เปนโครงการรณรงค เพื่ อ ความปลอดภั ย บนถนนกั บ ยาง มิชลิน ณ ปม ศิริเจริญวัฒนา หนา สถานีขนสงสายใต น า ย เ ส ก ส ร ร ค ไ ต ร อุ ษ กรรมการผู จั ด การใหญ กลุ ม สยาม มิชลิน เปดเผยวา มิชลินตระหนักและ ใส ใจในความปลอดภั ย บนท อ งถนน ดวยความมุงมั่นสรางการสัญจรที่ดีกวา อยางยั่งยืน จึงไดจัดกิจกรรมสงเสริม การขั บ ขี่ ป ลอดภั ย ภายใต โ ครงการ
ซึ่ ง ในป นี้ มิ ช ลิ น ยั ง คงเดิ น หน า จั ด กิจกรรมในโครงการ “M - ขับขี่ปลอดภัยชวงฤดู ฝน” เพื่อกระตุนเตือนใหผูขับขี่ใชรถ ใชถนนในชวงหนาฝนดวยความระมัด ระวัง เนื่องจากพื้นถนนที่เปยก และฝน ที่ ต กลงมาขณะขั บ ขี่ อาจทํ า ให เ กิ ด อุบัติเหตุไดงายขึ้น และยางเปนสวน เดี ย วของพาหนะที่ สั ม ผั ส กั บ พื้ น ถนน โดยตรง ดังนั้น เพื่อรักษาสมรรถนะ สูงสุดของยาง จึงควรตรวจเช็คลมยาง อยางนอยทุก 2 สัปดาห ความดันลม ยางที่ ถู ก ต อ งจะช ว ยลดความเสี่ ย ง ในการสู ญ เสี ย การควบคุ ม รถ และ ช ว ยไม ใ ห ย างสึ ก กร อ นก อ นเวลา อั น ควร อี ก ทั้ ง ช ว ยในการประหยั ด นํ้ามันดวย
และในปนี้ ยังได ขยายกลุมเปาหมายไป ยังผูขับขี่รถสาธารณะ เชน รถตู และรถแท็กซี่ เนื่องจากเปนพาหนะ ที่มีผูใชบ ริ การมากใน ช ว งฤดู ฝ น จึ ง จั ด ที ม งานที่ ผ า นการอบรม “M
ซึ่ ง เป น การพั ฒ นาต น แบบการ ทํางานของเครือขายสุขภาพระดับอําเภอ โดยนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาเชื่อมโยง กับระบบบริการสุขภาพ ชวยจัดการตัง้ แต ระดั บ ปฐมภู มิ จ นถึ ง การลดภาวะโรค โดยที่ชุมชนสามารถเรียนรูและวางแผน ร ว มกั น เพื่ อ นํ า ไปสู ก ารแก ป ญ หาที่ ตรงจุด โดยมี อ.สารภี เปนตนแบบ และ เตรี ย มดํ า เนิ น การในอี ก 2 พื้ น ที่ คื อ อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ และ อ.กุ ินารายณ
จ.กาฬสินธุ ดร.สุปรีดา อดุลยานนท กลาววา พันธมิตรไมวาจะเปน ทรูมูฟ กูเกิล และ มช. ต า งเล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ กั บ โครงการอําเภอสรางสุขนี้ จึงมีการรวม มื อ กั น นํ า ระบบเทคโนโลยี ข องแต ล ะ องค ก รเข า มาช ว ยบริ ห ารจั ด การใน ระบบขอมูลสุขภาพของชาวบาน คาดวา จะทยอยกระจายตนแบบนี้ออกไปใน หลายๆ พื้นที่ในประเทศไทยตอไป
” มาอยาง ตอเนื่อง ไมวาจะเปน กิจกรรม F A ที่ ร ณ ร ง ค ใ ห ผู ขั บ ขี่ ต รวจเช็ ค ลม ยางกอนออกเดินทาง โดยเ พาะในช ว ง เทศกาลที่ มี วั น หยุ ด ยาวต อ เนื่ อ ง เพื่ อ การเดิ น ทางที่ ปลอดภัยยิ่งขึ้น หรือการจัดกิจกรรม M รณรงคใหกลุม เยาวชน คนรุนใหมที่เปนวัยเริ่มตนขับขี่ ปรับ พฤติกรรมการใชรถใชถนนเพื่อความ ปลอดภัย และลดอุบัติภัยบนทองถนน
ดานการตรวจเช็คสภาพรถเบื้องตนทั้ง ภาคทฤษ ี และปฏิบัติ ซึ่งไดรับความ ร ว มมื อ จากมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ สงนักศึกษา มาใหบริการตรวจเช็คลมยางและสภาพรถ เบื้องตนใหกับผูขับขี่รถสาธารณะ ณ ปม หนาสถานีขนสงสายใต