ปที่ 16th หนังสืือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
A3
เจาะลึกโลจิสติกส ไอที พลังงาน ทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ การคา ประกัน ยานยนต
ปรับแผนชดเชยเสียงสุวรรณภูมิ
ผุดแผน Infrastructure ชายแดนใต
A6
รา า
าท
130531
www.transportnews.co.th
ปที่ 16 ั ที่ 716 วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
ม เดน น ทรคมน คม
ทา ไทยวา ร
ตก
เ ด ครง ร ว ล นบ ท ล ต ม มี ลค อง ครง ร >>A7 วนบร ทที รอมเ รวม บงเค
A8 อุตฯ ยานยนตไทยสะดุด ‘บาทแข็ง’
การ ก า ิ ปรย ย
การปร ยกตการ การ ิสติกส รศ.ดร.ทวีศักดิ เทพพิทัก
า ิน า ก
A4 กร
ตสา กรร า การ ิต
ดร. นิต โสรัตน
ผนึกรัฐหนุนขนสง ‘ลดใชพลังงาน’
B1
น น กา ิ ตน
ตน
ศ.ดร. าปนา บุ หลา
า ขาร ย ส ใน ก
(1)
รศ.ดร.บุ มาก ศิริเนาวกุล
B5 ไทย-บังกลาเทศ จับมือเจรจาการคา
า ย
อม วน ชา ย
ทีเอ็มบีรับแ ง ั้งออกบอนด สปป.ลาว มัน เพิมทางเลอก หมแกนักลงทน
บ ทัก วังเจริ
เ ม รั ั เปน ั าร าร ั า นาย พั น ั ร ระ ร ารเ น ปป า นั เปน รั ร ระ ร ารเ น ปป า ระ ม นเปน เ น า ประเ า า พัน ั ร น า ประเ ะระ ม น า า พัน ั ร ยน า พัน ั ร ย ช าร พั น ั ร า รั า า ประเ เปน ารระ ม น น า ย พัน ั ร ม รั าร ั นั ั าม นาเช ยม ร ั น พน น ั า ั เป น ปร า
า ารเ น ร ม ร ั เปน ปร า า มาย นาย ั ั เ ร ประธาน เจ า หน า ที่ บ ริ ห าร ที เ อ็ ม บี ในฐานะ ผูจัดการการจัดจําหนาย กลาววา ความ สํ า เร็ จ ในการออกพั น ธบั ต รในภาวะที่ ตลาดผันผวนเชนนี้ ถือไดวาเปนผลงาน ที่นาทึ่งในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้ ไทย เพราะเปนการเปดทางเลือกใหมๆ ในการลงทุนใหแกนักลงทุนในประเทศ ความนาเชื่อถือที่แข็งแกรงของรัฐบาล สปป.ลาว ไดรับการขานรับอยางดีจาก นักลงทุน อานตอหนา...A7
นย
นาการ าแ
รก ไทย
รม ียว ปร กอ การ กอา ซียน
ไอ ที ีแกป หา ชระบบ GPS ิด มอเ อรไ ค
นาย ชยยั น พ เ ยร พ ร น ปลัดกระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) เปดเผยถึงการประชุมหารือแนวทาง การลงทะเบียนรถจักรยานยนตโดย ใช ร ะบบ Glo al Positioning Systems (GPS) สําหรับ 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต วา “จากสถานการณการกอความ ไมสงบของผูกอการรายใน 5 จังหวัด ชายแดนภาคใต ไดแก ปตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล กอใหเกิด ผลกระทบ า อ หนา...C1
เรื่องวุนๆ
‘ตลาดนัดรถไฟ’
กอนเปลี่ยนทาเลสู ‘ศรีนครินทร’
A2
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
เพือ่ เชือ่ มโยงกับเสนทางการขนสงระหวาง ประเทศในภูมิภาคอาเซียน า ย ม า เผชิญปจจัยเสีย่ ง โดยเฉพาะอยางยิง่ ภาวะ ขาดแคลนแรงงาน ที่อาจสงผลใหภาค นา าร ร ย โลจิสติกสของไทยไมสามารถขยายตัวตาม วิเคราะห “แรงงานไมเพียงพอ ปจจัย ที่คาดการณไว แมวาสถาบันการศึกษาทั้ง เสีย่ งฉุดรัง้ การเติบโตของภาคโลจิสติกส” อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาเรงผลิตแรงงาน โดยมองวาภาคโลจิสติกสของไทยมีแนว ดานโลจิสติกสปอนสูตลาดแลวก็ตาม โนมเติบโตอยางตอเนื่อง ตามการขยาย ย นย ั ย ร ย า า ตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ ของ ประเทศไทยยังคงเผชิญภาวะขาดแคลน ประเทศ และการกาวเขาสูประชาคม แรงงานดานโลจิสติกส ทั้งแรงงานกลุม เศรษฐกิจอาเซียนในป 255 รวมถึงการ บริหารจัดการและกลุมปฏิบัติการ โดยใน พัฒนาเสนทางคมนาคมภายในประเทศ ป 2556 มีความตองการแรงงานดานโลจิส
รงง นไมเ ียง อ ยเ ียง ด ล ต ไทย
จากกอง
บรรณาธิการ
ระดมความคิดเ น็ : ดรุณ แสงฉาย รองอธิบดีกรมทางหลวงชนบท เปน ประธานในการประชุ ม ตรวจราชการระดมความคิ ด เห็ น เพื่ อ เสนอ แนวทางในการพั นางาน อาทิ การเตรียมความพรอมการเขาสู AEC, งานดานสงเสริมการพั นาทางหลวงทอง ิ่น ณ เขื่อนรัชชประภา อ.บานตาขุน จ.สุราษ รธานี วันที่ 26-2 พฤษภาคม 2556
นรั เ า ัป า ร เ นม นายน ันเปนเ น น า าน ั าย ร า าน ั เ นน ยา เ ม รม เพราะ า มม ัน ย เ ย ม นั เ ย พ าย า มเปน า าพรเ า นั ยา านเ น ปเร ะ เ ะ ม เปน ร รม นา ัน า าเปน ะ า ัน ป ❒❒ ขณะที่เรากําลัง ป ด ต น ฉบั บ เล ม ที่ 716 อยู ใ นขณะนี้ ที่ รั ฐ สภากํ า ลั ง มี ก ารอภิ ป รายเรื่ อ งงบ ประมาณ 2557 กันอยู ซึ่งก็แนนอนวา มี ความมันสะใจและเดือดดาลถึงอกถึงใจคอ ซาดิสตโดยแท ฟากประชาธิปต ยงดั ขอมูล ตางๆ นานา มารุมกระหนํ่ารัฐบาลพรรค เพื่อไทย โดยเฉพาะเงินกูกอนใหญ 2 ลาน ลานบาท ❒❒ ปนี้ นาย ป ย ั ชน ั ร ไดเสนอราง พ.ร.บ.งบ ประมาณรายจายประจําป 2557 เอาไวสงู ปรีด๊ ถึง 2,525,000 ลานบาท ตอทีป่ ระชุม
ัมมนา : จรัมพร โชติกเส ียร กรรมการและผูจัดการ บดินทร อูนากูล รองผูจัดการ ตลาดหลักทรัพย พรอมดวย โสภาวดี เลิศมนัสชัย เลขาธิการ กบข. รวมเปดงานสัมมนา Sustainability In estment Time for enchmarking ซึ่งขึ้นให บจ. บล. และ บลจ. เตรียมความพรอม รับกระแสการลงทุนระดับโลก
สภาผูแทนราษฎร และก็เปน ไปตามคาดที่ฝายคาน (ตลอด กาล) นําทัพโดย เช ชาช ะ พรอมทั้งทีมงานแปร ญั ต ติ ฝ ป ากกล า ช ว ยกั น คน ละไม ล ะมื อ รุ ม สกั ด กั้ น ร า ง พ.ร.บ.งบประมาณ ดังกลาว ไมใหผานไปไดโดยงาย โดยมีการชี้แจงถึง ความลมเหลวในหลายๆ โครงการ โดย เฉพาะโครงการรั บ จํ า นํ า ข า ว รวมถึ ง ประเด็นคาเงินบาทแข็งโปก จนสงผลกระ ทบตอภาคสงออก ❒❒ งานนี้ รั น ระน รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง รูสึกวาจะโดนอวมที่สุด ถึง ขั้นที่ฝายคานจะมีการยื่นถอดถอนบิ๊กโตง ออกจากตําแหนง โทษฐานมีพฤติกรรม ละเว น ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไม ป ฏิ บั ติ ต าม พ.ร.บ.การออมแหงชาติ ที่กําหนดใหเปด รับสมัครสมาชิกกองทุนภายใน 1 ป นับ แตกฎหมายมีผลบังคับใช แตขณะนี้เวลา
จัดงาน : โอภาส เฉิดพันธุ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอ็ม วิชั่น จํากัด ผนึกกําลังพันธมิตรโทรศัพทมอื อื กวา 0 แบรนดดงั ชัน้ นํา รวมดวย โอเปอเรเตอรรายให ทั้ง 3 คาย AIS, dtac, truemo e และบริษัทคูคา จัดงาน “Thailand Mobile Expo 2013 i-End” ครั้งที่ 15 ตั้งแตวันที่ 23-26 พฤษภาคม ที่ผานมา
ร
ติกสรวม 1,054,000 คน ในขณะที่ผลิต แรงงานสูตลาดไดเพียง 51,000 คน จึง สงผลใหยงั ขาดแคลนแรงงานอีกประมาณ 103,000 คน นย ยั ร ย ม า าร ปญหาขาดแคลนแรงงานดานโลจิสติกส นั้น ตองใหความสําคัญกับแรงงานทั้งกลุม บริหารจัดการและแรงงานกลุม ปฏิบตั กิ าร ควบคูกันไป จึงจะสงผลใหประเทศไทยมี แรงงานอยางเพียงพอ และสามารถบรรลุ
ด
เสอหมอบ มวเ า
ลวงเลยมาปกวาแลว นายกิตติรัตน ยังไม ดํ า เนิ น การใดๆ ส ง ผลให ป ระชาชน มากกวา 1 ลานคน เสียสิทธิจากการไดรับ เงิ น สมทบจากรั ฐ เดื อ นละ 100 บาท ❒❒ ถึงแมวารัฐบาลจะโดนฝายคานงัด กลยุทธใดๆ มาสกัดกั้นการออกกฎหมาย งบประมาณรายจายก็ตาม แตดว ยเสียงใน สภาที่เหนือวาบานเบอะ ก็สามารถผาน ราง พ.ร.บ.งบประมาณ ไปไดอยางฉลุย ไมมีปญหาแตประการใด เตรียมใชเงิน กระจุ ย กระจายในป ง บประมาณใหม ตุลาคมนีไ้ ดเลย ❒❒ ควันหลงเหตุการณ ไฟฟาดับพรึ่บยกภาคใตกวา 14 จังหวัด
รับ : ไตรรัตน ฉัตรแกว ผอ.สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรม ซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) จัดสัมมนา “การจัดการทรัพยสนิ ทางป ากับการเขาสูป ระชาคมเศรษ กิจอาเซียน” ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแกน ราชาออรคิด จ.ขอนแกน ซึ่งโครงการนี้จัดทําเพื่อรณรงค สงเสริมใหเกิดการคุมครองทรัพยสินทางป าสําหรับซอฟตแวรไทย
น ต า น รถ
ก น ป ยน า ส รน ริน ร ตอ า หนา... ายเปน เ ะ า น า รั ประเ น ชายช า ะ าร าน น า น พร ม ยร าน น ัน เ ามา า ารร น รา า นั ร นน า พ เพชร ะเ ั ร ม ยม มพ า ม าเ น พยายาม ะเ า ป าร าม ม เ า ป ะ าม ายรป น ามาร ย พน ะเ าย ร พรอมทั้งไดฉุดกระชากตัวคนขับรถ แบ็กโฮลงมาจนมีเรือ่ งกัน อีกทัง้ กลุม ผูค า ได
ใชกอ นหินขวางปาจนเกิดการกระทบกระทัง่ กันจนเกือบบานปลาย แตทางเจาหนาที่ ตํารวจรถไฟไดเขามาระงับเหตุ ทุกอยางจึง สงบลง และวันตอมาไดมีผูแทนของกลุม ผูค า ตลาดนัดรถไฟ ไดเดินทางไปเจรจารวม กับการรถไฟแหงประเทศไทย หรือ รฟท. จากกรณีดงั กลาว นาย รน ร ร ย ตัวแทนผูค า ตลาดนัดรถไฟ กลาววา ในฐานะตัวแทนผูคาพรอมปฏิบัติตามขอ ตกลงทีม่ กี บั รฟท. หากในอนาคตมีผคู า คน ใดไมปฏิบัติตามขอตกลงวันนี้ ก็จะถือวา ไมใชตวั แทน หรือเกีย่ วของกับผูค า แตอยาง ใด ปจจุบนั พอคาและแมคา ทีเ่ คยขายของ ในตลาดนัดรถไฟจะมีประมาณ 1,000 ราย
ทั้ ง นี้ การออกจากพื้ น ที่ ต ลาดนั ด รถไฟ กลุมผูคาเห็นถึงความจําเปนที่ตอง เคลียรพนื้ ที่ เพือ่ ให รฟท. สามารถเดินหนา ก อ สร า งรถไฟฟ า สายสี แ ดงได ซึ่ ง การ กอสรางโครงการดังกลาวถือเปนประโยชน ของสวนรวมที่ผูคาเขาใจและเห็นถึงความ จําเปน และจะปรับปรุงพื้นที่ในโกดังให เสร็จภายใน 1-2 อาทิตย กอนจะมีการจับ สลากแบงพื้นที่ขายของในโกดังอยางเปน ธรรม และจะใชโกดังขายของประมาณ 6 เดื อ น จากนั้ น จะย า ยพ อ ค า แม ค า ไปที่ ตลาดนัดรถไฟ 2 ยานศรีนครินทร หลังหาง ซีคอนสแควร ซึง่ มีพนื้ ทีก่ วา 50 ไร ซึง่ เพียง พอตอการยายของที่นั่น
เปาหมายในการเปนศูนยกลางดานการ ขนส ง ของอาเซี ย นตามที่ ตั้ ง ไว สํ า หรั บ แรงงานกลุมบริหารจัดการนั้น ปญหาการ ขาดแคลนแรงงานจะเปนไปในระยะเวลา สัน้ ๆ เนือ่ งจากสถาบันการศึกษาไดเรงผลิต แรงงานออกสู ต ลาดในรู ป แบบการรั บ สมัครนักศึกษาเพิ่มขึ้น และเปดหลักสูตร สาขาโลจิสติกสและสาขาทีเ่ กีย่ วของใหมๆ เพิ่มเติม รวมถึงแรงงานที่ขาดแคลนยัง สามารถทดแทนไดดวยแรงงานที่จบการ
ศึกษาในสาขาอื่น และแรงงานที่ยายจาก สาขางานดานอื่นเขาสูสาขางานดานโลจิส ติกสได ทั้งนี้ จะตองพิจารณาความตอง การแรงงานดานโลจิสติกสในระยะยาวเพือ่ ปองกันภาวะแรงงานลนตลาด เ น นะเช น ย ายเพ ป ญ หาขาดแคลนแรงงานกลุ ม บริ ห าร จัดการ ไดแก การเปดหลักสูตรการศึกษา สาขาโลจิสติกสและสาขาที่เกี่ยวของใน ระยะสั้ น , การผลิ ต แรงงานเพื่ อ รองรั บ AEC, ถายทอดองคความรูดานโลจิสติกส ที่สามารถนําไปปฏิบัติงานไดในเชิงธุรกิจ า รั ร าน มป ั ารนัน เปนกลุม ทีย่ งั ขาดแคลนอยูเ ปนจํานวนมาก
รับรางวัล : โรลส-รอยซ มอเตอร คารส แบงคอก บริหารงานโดยบริษัท มิลเลียนแนร ออโต เซลส แอนด เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จํากัด ได รับรางวัลผูจําหนายรายใหมประจําปดีเดน รางวัลนี้มอบใหเพื่อเปนการ ชื่นชมความมุงมั่นที่โดดเดนตอตราสินคาใน านะผูจําหนายอยางเปน ทางการในกรุงเทพมหานคร ณ ประเทศ องกง
เมือ่ ราวๆ สองสัปดาหทผี่ า นมา ปรากฏวา กมธ.พลังงาน สภาผูแทนราษฎร ไดเรียก ตั ว เ ยเพ พ ั รั พ พ า รมว.พลังงาน รวมทั้ง กฟผ. และ สนพ. เขาชี้แจงขอเท็จจริง หลังจากถูก ครหาว า เกี่ ย วข อ งกั บ กรณี จ ะสร า งโรง ไฟฟ า ถ า นหิ น ในพื้ น ที่ ภ าคใต แต ถู ก ตอตานจากคนในพืน้ ที่ ❒❒ ซึง่ ทัง้ กฟผ. และกระทรวงพลังงาน ไดชี้แจงถึงสาเหตุ การเกิดไฟดับดังกลาววา เปนเหตุการณ ไมคาดฝน ในเรื่องของสายสงที่ถูกฟาผา และมีการปลดเพื่อซอมบํารุงในบางสวน ทํ า ให ต อ งเปลี่ ย นมาใช ส ายส ง เส น เล็ ก แกขัดไปพลางๆ แถมยังเกิดเหตุสุดวิสัยที่ ไมสามารถรับไฟจากมาเลเซียไดอีกทาง จึงเปนเหตุทําใหพี่นองปกษใตตกอยูใน ภวังคแหงความมืดมิด ไมไดมีเบื้องหลัง การถ า ยทํ า ให เข า เงื่ อ นไขการสร า งโรง ไฟฟ า ที่ จ.กระบี่ แต อ ย า งใด ❒❒ ผูคาขายในตลาดนัดสวนจตุจักรไดเฮลั่น
จึงเปนปญหาเรงดวนที่ตองแกไข โดยขอ เสนอแนะเชิ ง นโยบายเพื่ อ แก ป ญ หา ขาดแคลนแรงงานกลุมปฏิบัติการ มีดังนี้ ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพ คือแรงงาน ดานโลจิสติกสกลุมปฏิบัติการควรไดรับ การยกระดับมาตรฐานวิชาชีพเพื่อสราง ความเชื่อมั่นใหกับผูใชบริการโลจิสติกส ทั้งในประเทศและตางประเทศ ในรูป แบบของการอบรมเชิงปฏิบัติการ าร รา ร น ารประ อาชีพ โดยแรงงานกลุม ปฏิบตั กิ ารควรได รั บ การยกระดั บ สภาพแวดล อ มการ ทํางานและคุณภาพชีวิต ทั้งในสวนของ คาจางและสวัสดิการพื้นฐาน
เ ือ ังคม : พีซีเอส ซึ่งเปนบริษัทในเครือของบริษัท โอซีเอส กรุป ประเทศอังกฤษ นําโดย เ เธอร สุขเกษม กรรมการผูจัดการระดับ ภูมิภาค เอเชียใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต และตะวันออกกลาง จัด กิจกรรมเพื่อตอบแทนสังคม ภายใตโครงการ “PCS e care for kids” โดยจัดทัศนศึกษานอกส านที่
แบบสุ ด ตั ว เมื่ อ ร น ร า ร ตุ ล าการศาล ปกครอง ออกนั่ ง บั ล ลั ง ก อ า นคํ า พิพากษาเพิกถอน ประกาศ รฟท. จํานวน 5 ฉบับ ที่ ให ผู ค า ในตลาด 7 ราย ไป ล ง น า ม สั ญ ญ า เ ดโครงการ : คิดสซาเนีย กรุงเทพ เปดตัวโครงการ คิดสซาเนีย เช า และค า เช า ใน กรุงเทพ พาเด็กไทยกาวสูโ ลก AEC โดยไดรบั เกียรติจาก พงศเทพ เทพ จนา รมว.ศึกษาธิการ เปนประธานในพิธี พรอมดวย ดร.อั มณี อั ต ราใหม ศาล กา บุ ซื่อ อาจารยประจําสาขาวิชาการศึกษาป มวัย คณะครุศาสตร เห็ น ว า การออก จุ าลงกรณมหาวิทยาลัย และสงคราม ชางนอย acility Director ประกาศดั ง กล า ว คิดสซาเนีย ของ รฟท. ไมชอบ ดวยกฎหมาย แถมยังเรียกเก็บคาเชาสูงเกิน มากอนหนานีท้ งั้ หมด และบังคับหามเก็บ ไป ไม เ ป น ไปตามระเบี ย บ รฟท. ศาล คาเชาแผงเกิน 0 บาท/เดือน พอรูผ ลคํา ปกครองกลางจึงมีคําพิพากษาใหยกเลิก พิพากษากลุม ผูค า ก็เฮฮาแบบลืมตัว ราวกับ ประกาศ 5 ฉบับของ รฟท. ทีไ่ ดกาํ หนดขึน้ วาสามารถปลดแอกเปนอิสรภาพเสียที
ดูงานนอรเวย : ดร.พัลลภา เรืองรอง คณะกรรมการ กกพ. พรอมคณะ เจาหนาที่จากสํานักงาน กกพ. ไดรวมเดินทางไปศึกษาดูงานดาน พลังงาน ณ หนวยงานตาง ที่กํากับดูแลกิจการพลังงานของประเทศ นอรเวย เพื่อเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณในการกํากับดูแล กิจการพลังงานระหวางประเทศรวมกัน
ด า น นายประ ั ร น ผูวาการ รฟท. เปดเผยถึงกรณีดังกลาว ที่ไดมีการรื้อถอนแผงคาบริเวณตลาดนัด รถไฟ วา ไดเรียกตัวแทนกิจการการคารวม เอสยู ทีเ่ ปนผูร บั เหมากอสรางรถไฟฟาสาย สีแดงบางซือ่ -รังสิต และตัวแทนผูค า ตลาด นัดรถไฟหารือ ซึ่งไดขอสรุปทาง รฟท. จะ ขยายเวลาให ก ลุ ม ผู ค า ที่ มี อ ยู ป ระมาณ 1,000 แผงคา ใชพื้นที่อีก 5 เดือน กอน ยายไปอยูที่ยานศรีนครินทร แตตองอยูใน พื้นที่ที่จัดเตรียมไวใหชั่วคราว เนื่องจาก กลุมผูคาอางวาตลาดบริเวณศรีนครินทร ยังปรับปรุงไมแลวเสร็จ “การชวยเหลือผูคาใหมีพื้นที่ขาย ของนั้น ตามขอมูลกลุมผูคาระบุวาภายใน 5-6 เดือนขางหนาผูคาทั้งหมดจะยายไป พื้ น ที่ เช า ของภาคเอกชนบริ เ วณถนน ศรีนครินทร แตขณะนี้การเตรียมพื้นที่ บริเวณดังกลาวยังไมเสร็จ โดยเดือน มิ.ย.นี้ รฟท. จะอนุญาตใหกลุม ผูค า เขาไปใชพนื้ ที่
ตอ าวหนา
รอบ ือ : “อาโจว” ยุทธกร สุกมุกตาภา พรอมดวยนักแสดงและทีม งานเรื่อง “ยังบาว” รวมกันแ ลงขาวเปดตัวภาพยนตรยังบาวในรอบ สื่อมวลชน ที่โรงภาพยนตรพารากอน ซีนีเพล็กซ สยามพารากอน โดย มีกองทัพสื่อมวลชนรวมทําขาวกันอยางเนืองแนน
บริเวณโกดังรับคืนสินคาของ รฟท. ใกล เคียงกับพื้นที่ตลาดนัดรถไฟ ซึ่งกลุมผูคา ก็ยอมรับเงือ่ นไขดังกลาว ถือเปนขอตกลง ที่ ทํ า ให ป ญ หาการเตรี ย มพื้ น ที่ ส ง มอบ เอกชนเพื่ อ ก อ สร า งสถานี ร ถไฟฟ า สาย สีแดง ชวงบางซือ่ -รังสิต สามารถเดินหนา ตอไป” ผูวาการ รฟท. กลาว อยางไรก็ตาม ขณะนีม้ กี ลุม คนอีก กลุมหนึ่งที่พยายามติดปายประกาศเชิญ ชวนให ย า ยไปใช พื้ น ที่ ข ายของบริ เวณ บริษัท ขนสง จํากัด หรือ บขส. การรถไฟ แหงประเทศไทย ยืนยันวาเปนพื้นที่ของ การรถไฟ และจําเปนตองใชพื้นที่บริเวณ ดังกลาวดวย ดังนัน้ วอนกลุม ผูค า อยาหลง เชื่อ และยืนยันวาที่ผานมาไมมีการทํา สัญญาในการเชาทีร่ ะหวาง รฟท. และผูค า แตอยางใด แตพบวาขณะนี้มีเจาหนาที่ การรถไฟระดับปฏิบตั กิ ารเขาไปเก็บคาเชา ระบบฉีกตัว โดยที่การรถไฟแหงประเทศ ไทย ไมมสี ว นเกีย่ วของ ซึง่ ไดมกี ารตัง้ คณะ
กรรมการสอบเรื่องดังกลาวแลว ผูวาการ รฟท. กลาวเพิ่มเติมวา ที่ ผานมาทีด่ นิ ของรถไฟบริเวณดังกลาวมักจะ ถูกบุกรุกจากกลุม ทีไ่ ปแอบอางเรียกเก็บคา เชาแผงกับผูคา ลาสุดบริเวณใกลสถานี ขนสงหมอชิตมีการขึน้ ปายเชิญชวนผูค า ให ไปค า ขายในพื้ น ที่ ซึ่ ง ได มี ก ารสั่ ง การให เจาหนาทีฝ่ า ยทรัพยสนิ รฟท. ลอมรัว้ เพือ่ ปองกันการบุกรุก และสัง่ กําชับวาหลังจาก นี้ทุกพื้นที่ของ รฟท. จะไมมีปญหาการ บุกรุกอีก และขอใหพอ คาแมคา อยาไปหลง เชือ่ ผูแ อบอางและเรียกเก็บผลประโยชน สํ า หรั บ ตลาดนั ด รถไฟ ที่ ผ า นมา ยืนยันวาไมมีการทําสัญญาในการเชาที่แต อยางใด ซึ่งถือวาเปนการบุกรุกพื้นที่ ซึ่ง เขาใจวาเปนการทําอาชีพ แตขณะนีพ้ บวา มีเจาหนาทีก่ ารรถไฟระดับปฏิบตั กิ ารเขาไป เก็บคาเชาระบบฉีกตัว โดยทีก่ ารรถไฟแหง ประเทศไทย ไมมสี ว นเกีย่ วของ ซึง่ ไดมกี าร ตัง้ คณะกรรมการสอบเรือ่ งดังกลาวแลว
Bangkok Airport Outbound Air Cargo Statisties For the month Jan-Feb 2012
To Area 2
To Area 1 USA CANADA South America Others Total Weight
Unit : Kgs Prepared by Airline Cargo Business Association
11,312,177 461,518 1,239,702 376,930 13,390,327
Africa Austria Belgium C.I.S. Denmark France Total Weight
1,041,599 260,535 647,211 947,655 364,650 1,070,706 20,836,047
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
Germany Italy Kuwait Netherlands Oman Saudi Arabia
4,305,232 752,365 131,198 2,681,499 229,438 445,067
น ยาย
จากการพัฒนาสุวรรณภูมิเฟส 2 คาดวา จะไดขอสรุปภายใน 2 เดือน ประธานบอรด ทอท. กลาวตอวา การปรั บ รู ป แบบการชดเชยผู ไ ด รั บ ผล กระทบทางเสี ย งจะทํ า ให ก ารพั ฒ นา สุวรรณภูมเิ ฟส 2 เปนไปอยางรวดเร็วมาก ขึน้ โดยนําปญหาจากเฟส 1 มาปรับปรุง จากทีม่ กี รอบชดเชยในเสนเสียง 2 ระดับ ซึง่ ทําใหมกี รณีความไมทวั่ ถึง คือ บานทีต่ ดิ กันแตเปนคนละเสนเสียง บานหลังหนึง่ ได รับชดเชยแตอกี หลังไมไดทงั้ ทีต่ ดิ กันและได รับผลกระทบทางเสียงในระดับใกลเคียงกัน ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นรู ป แบบการ ชดเชยใหม โดยเพิม่ ระดับพืน้ ทีต่ งั้ แต EF 20-30 EF 30-40 และระดับ EF เกิน 40 ซึ่งมั่นใจวารูปแบบดังกลาวจะไมทําให วงเงินชดเชยบานปลาย เพราะจะใชวิธี เฉลี่ยใหผูไดรับผลกระทบภายใตกรอบ ที่ มี เช น เดิ ม บ า นหลั ง หนึ่ ง ได ช ดเชย 200,000 บาท แตอกี หลังทีอ่ ยูต ดิ กันไมได ชดเชยเลย ก็เปลี่ยนเปนหลังแรกไดรับ เสียงดังกวาไดชดเชยที่ 150,000 บาท สวนบานอีกหลังที่ไดรับเสียงดังระดับรอง ลงมาไดชดเชย 50,000 บาท “ยอมรับวาการเพิม่ ระดับการชดเชย จะทําให ทอท. ยุงยากมากขึ้น แตเปน แนวทางที่บรรเทาปญหาใหประชาชนได ซึ่ง ทอท. จะสรุปรายละเอียดรายงาน ความคืบหนาให รมว.คมนาคม รับทราบ ภายใน 1 สัปดาห โดยสวนใหญเปนเรื่อง ขอกฎหมายที่เกี่ยวของ ซึ่งผมกําลังให เจาหนาที่ชวยดูขอกฎหมายที่เปนสากล
2 ชด ชย ปน รรม
น ต ิธา ทิวารี
ดวย สวนจะมีจํานวนผูไดรับผลกระทบ เทาไหร วงเงินชดเชยแคไหนนาจะสรุปได ใน 2 เดือน” ประธานบอรด ทอท. กลาว ทั้ ง นี้ หลั ก การในการกํ า หนด เสนเสียงจะตองสะทอนความเปนจริงมาก ที่สุด โดยคํานวณจากการใชงานจริง ไมใช คํานวณบนพื้นฐานของขีดความสามารถ ในการรองรับเที่ยวบินของทางวิ่ง ซึ่งใน ทางปฏิบัติไมไดใชเต็มขีดความสามารถ โดยเบื้ อ งต น มี ค วามเป น ไปได ที่ ว งเงิ น ชดเชยผลกระทบดานเสียงจากการขยาย ทาอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 จะสูง กวาระยะแรก เพราะความถี่ของเที่ยวบิน เพิม่ ขึน้ จากปริมาณเทีย่ วบินและผูโ ดยสาร ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยวงเงิ น ชดเชยผลกระทบ ดานเสียงระยะแรกอยูที่ 5,000 ลานบาท ขณะที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติกรอบวงเงินไว 11,233 ลานบาท “ขี ด ความสามารถในการรองรั บ เที่ ย วบิ น ของทางวิ่ ง อยู ที่ 76 เที่ ย วบิ น ตอชั่วโมง แตในทางปฏิบัติใชงานเฉลี่ย
ร รงร นสง อ สนา น งร ไ อน อง ยงไ ส รร ู เร เ ร รร มเ เ ร ป ายป พร ม า เ นาน เ น นาปรั ปร ระ น เช ม ระ า นาม น นเม รร ม ั เพม าม ะ ย าร นายพ ั เ ม นั กรรมการ และรักษาการผูอํานวยการใหญ บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. กลาววา การเปด AEC จะมีการ เปลี่ยนแปลงหลายอยาง สิ่งที่กังวลคือคน ทํางานในทุกภาคสวนมีการปรับตัวใหทัน กับสิ่งที่จะเกิดขึ้นไดหรือไม ทั้งวิธีคิดและ วิธกี ารทํางาน ในสวนของ ทอท. นัน้ ขณะนี้ ไดเรงดําเนินการโครงการเพิ่มขีดความ สามารถของท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ระยะ 2 ใหสามารถรองรับผูโดยสารเพิ่ม จาก 45 ลานคน เปน 60 ลานคนตอป วงเงินลงทุนรวมทั้งสิ้น 62,503 ลานบาท ทัง้ นี้ ไดวา จางบริษทั ผูอ อกแบบแลว
ใชเวลาออกแบบ 10 เดือน หาผูรับเหมา อีก 5 เดือน คาดวางานกอสรางจะแลว เสร็จปลายป 255 และจะเริ่มทําแผน ศึกษาการพัฒนาสุวรรณภูมิในเฟส 3, 4 และรันเวย 3 และ 4 คูขนานไปพรอมกัน เพื่อเรงขยายขีดความสามารถใหทันการ เติบโตของเที่ยวบินและผูโดยสาร ในขณะเดี ย วกั น จะเร ง ปรั บ ปรุ ง ทาอากาศยานดอนเมืองใหบริการเต็มรูป แบบ (Full Service) ซึ่งจะเสนอแผนให บอร ด ทอท. พิ จ ารณา โดยจะทยอย ปรั บ ปรุ ง เริ่ ม จากเทอร มิ นั ล 2 วงเงิ น ประมาณ 2,000-3,000 ลานบาทกอน ใน ขณะเดี ย วกั น จะต อ งประสานกั บ สาย การบินตางๆ ที่จะมาใชบริการ ในสวนของการใหบริการปจจุบนั จะ มีการปรับปรุงระบบขนสงเชือ่ มตอระหวาง 2 สนามบิน (ดอนเมือง-สุวรรณภูมิ) เพื่อ เพิม่ ความสะดวกแกผโู ดยสาร เชน เพิม่ รถ ใหบริการภายใน 1-2 เดือน และจัดรถไฟ
A3
ม
ทอท เสนอ รมว คมนาคม ปรับกรอบการชดเชยผูไดรับผล กระทบทางเสยงการขยายทาอากาศยานสวรร ภูมริ ะยะท 2 ใหม คาด ไดขอสรปภายใน 2 เดอน ในการสํารว เสนเสยงและ ํานวนผูไดรับ ผลกระทบท ะไดรับการชดเชย ากการพั นาสวรร ภูมิเ ส 2 ระบ แนวทางการ ายเงินชดเชยประชาชนตองใหเกิดความเปน รรมมาก ทสด
า
296,017 324,162 738,867 1,439,910 2,398,628 2,761,308
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
ทอท รบ น ร ดเ ยเ ียง วรร
น า าร ประธานกรรมการ บริษทั ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. เปดเผยภายหลังการประชุม แก ป ญ หาผลกระทบด า นเสียงจากการ ดําเนินงานของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ วา ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงคมนาคม ได สั่ ง การให ค ณะ ทํางานที่เกี่ยวของจัดทํารายละเอียดเสน เสี ย งจากการขยายท า อากาศยาน สุวรรณภูมริ ะยะที่ 2 และแนวทางการจาย เงิ น ชดเชยประชาชนให เ กิ ด ความเป น ธรรมมากที่สุด รวมทั้งเรงรัดใหจายเงิน ชดเชยระยะแรกใหแลวเสร็จโดยเร็ว โดย ใหไดขอสรุปภายใน 1 สัปดาห นอกจากนี้ ทอท. ยังไดเสนอใหมี การปรับกรอบการชดเชยผูไดรับผลกระ ทบทางเสี ย งการขยายท า อากาศยาน สุ ว รรณภู มิ ร ะยะที่ 2 ใหม ต อ รมว. คมนาคม โดยเพิ่มระดับการชดเชยตั้งแต ในพื้นที่ EF 20-30, พื้นที่ EF 30-40 และพื้นที่ EF เกิน 40 จากเดิมที่กําหนด กรอบการชดเชยแค 2 ระดับ คือ ผูที่ไดรับ ผลกระทบพื้นที่ EF 30-40 และพื้นที่ EF มากกวา 40 เพื่อใหการชดเชยเปน ไปอยางทั่วถึง ทัง้ นี้ รมว.คมนาคม ไดมอบหมายให ทอท. จั ด ทํ า รายละเอี ย ดรู ป แบบการ ชดเชยดังกลาวกลับมาเสนออีกครัง้ ภายใน 1 สั ป ดาห เนื่ อ งจากต อ งพิ จ ารณาข อ กฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ งให ร อบคอบก อ น ขณะที่ การสํ ารวจเส น เสี ย งและจํานวน ผูไดรับผลกระทบที่จะไดรับการชดเชย
Spain Sweden Switzerland U.A.E. United Kingdom Others
ขบวนพิเศษใหบริการจากสถานีดอนเมืองมั ก กะสั น -ทั บ ช า ง และต อ รถยนต เข า สุวรรณภูมิ ซึ่งไดหารือกับผูบริหารการ รถไฟแหงประเทศไทย หรือ รฟท. แลว “การลงทุน 2 ลานลาน เนนระบบ รางเป น หลั ก แต ก็ ถื อ เป น ระบบที่ จ ะ สนับสนุนกับทางอากาศไมไดแขงขันกัน ในสวนของ ทอท. ตองมีการลงทุนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพดานขนสงทางอากาศใหไทย เปนศูนยกลางในภูมิภาค ซึ่งตองมีการ ลงทุ น จํ า นวนมาก โดยอยู ร ะหว า งหา โมเดลเครือ่ งมือทางการเงินใหมๆ มาใชใน การระดมเงินทั้งจากตลาดทุนและตลาด เงินรวมถึงหาพันธมิตรมารวมลงทุน เชน ร ว มกั บ การบิ น ไทยในการบริ ห ารท า อากาศยาน หรื อ ร ว มกั บ พั น ธมิ ต รใน อาเซียนบริหารทาอากาศยานในอาเซียน เพื่ อ เพิ่ ม รายได จ าก on Aero ให เพิ่ ม มากกว า รายได จ ากเที่ ย วบิ น และ ผูโดยสาร” นายพงศศักติฐ กลาว
54-56 เที่ยวบินตอชั่วโมง โดยสถิติสูงสุด ที่ เ คยทํ า การบิ น อยู ที่ 6 เที่ ย วบิ น ตอชัว่ โมง การคํานวณเงินชดเชยทีเ่ หมาะสม ตองคิดบนพืน้ ฐานของการใชงานจริง ไมใช
คิดแบบเดิมเพราะทําใหตวั เลขสูงเกินจริง” ประธานบอรด ทอท. กลาว นอกจากนั้ น จะต อ งกํ า หนด แนวทางการชดเชยเพื่อใหเกิดความเปน
ธรรมและลดความเหลื่ อ มลํ้ า ให กั บ ประชาชนในพื้นที่ เชน บางพื้นที่บานติด กันโดยหลังหนึ่งไดรับการชดเชยแตอีก หลังไมไดรับการชดเชย ประชาชนจึงไม ยอมรับเพราะไดรบั ผลกระทบดานเสียงไม ตางกันมากนัก ซึ่งหลักการใหมอาจใหมี การเฉลี่ยเงินชวยเหลือเพื่อไมใหเกิดชอง วางดังกลาว สําหรับความคืบหนาในการจายเงิน ชดเชยผลกระทบดานเสียงระยะแรกนั้น ทอท. จายเงินไปแลวประมาณ 4,000 ลานบาท คิดเปนสัดสวน 0% สวนที่ เหลืออีก 10% อยูร ะหวางการเจรจาตกลง ราคา สวนความชัดเจนของวงเงินชดเชย จากการขยายทาอากาศยานระยะที่ 2 จะ ไดขอสรุปเมื่อกําหนดเสนเสียงที่ชัดเจน ใ น ส ว น ข อ ง พื้ น ที่ ที่ ไ ด รั บ ผ ล กระทบดานเสียงจากการดําเนินงานของ ท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ร ะยะแรก ประกอบดวย พื้นที่ EF มากกวา 40 ซึ่ง กอสรางกอนป 2544 จํานวน 646 อาคาร พื้นที่ EF 30-40 กอสรางกอนป 2544 จํานวน 15,040 อาคาร
เ ็ทส าร เพิมเทียวบินสูกรงเทพ เจ็ ท สตาร ประกาศเพิ่ ม เที่ ย วบิ น ในเสนทางระหวางสิงคโปร-กรุงเทพ อีก สัปดาหละ เที่ยว รองรับความตองการ ที่เพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวและนักธุรกิจ สําหรับการขยายเที่ยวบินดังกลาวทําให เจ็ ท สตาร เอเชี ย ให บ ริ ก ารเที่ ย วบิ น ระหวางสิงคโปร-กรุงเทพ สูงถึงวันละ 6 เทีย่ ว โดยมีสมรรถนะรองรับผูโ ดยสารเพิม่ ขึ้นกวา 2, 00 ที่นั่งตอสัปดาห นาย ารา าน พ ปะ ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร เจ็ทสตาร เอเชีย กลาววา กรุงเทพ และประเทศไทยยังคงเปนหนึ่ง ในตลาดที่มีขนาดใหญที่สุดในเครือขาย เส น ทางบิ น สู ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก
เฉียงใตของเจ็ทสตาร เราพรอมเดินหนา ขยายเที่ยวบินสูกรุงเทพ เพื่อตอบโจทย ความต อ งการตลาดท อ งเที่ ย วที่ เ ติ บ โต อย า งแข็ ง แกร ง และผู โ ดยสารระดั บ นักธุรกิจทีท่ วีจาํ นวนเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ดวยคาโดยสารราคาคุมคาและตารางการ บินที่โดดเดน “ในปที่ผานมา เจ็ทสตาร เอเชีย รับ-สงผูโดยสารในเสนทางบินดังกลาว จํานวนมากกวา 2 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 30 การใหบริการเที่ยวบินวันละ 6 เที่ยว ทํ า ให นั ก เดิ น ทางเพื่ อ การท อ งเที่ ย วพั ก ผอนมีทางเลือกเพิ่มขึ้นและเลือกเวลาใน การเดินทางไดมากขึ้นทั้งการบินตรงจาก
สิงคโปรหรือแวะเปลีย่ นเครือ่ งทีศ่ นู ยกลาง การบินของเจ็ทสตารในประเทศสิงคโปร เพื่อตอเครื่องไปยังเสนทางบินอื่นๆ ของ เจ็ทสตารไดอยางสะดวกและคลองตัว” นายพสุปะธิ กลาว ทั้ ง นี้ เมื่ อ รวมเที่ ย วบิ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ดังกลาว ทําใหเจ็ทสตาร กรุป ใหบริการ เที่ยวบินสูไทยรวมทั้งสิ้นสัปดาหละ 106 เทีย่ วในเสนทางบินจากสิงคโปรและซิดนีย สูภูเก็ต และเสนทางบินจากเมลเบิรนและ สิงคโปรสูกรุงเทพ สําหรับคาโดยสารชั้น ประหยั ด ในเส น ทางบิ น จากสิ ง คโปร สู กรุงเทพ มีราคาเริ่มตนที่ 114 เหรียญ สิงคโปร หรือ 2,6 บาทตอเที่ยว
เ ย ลสํารว ดานการบิน อ งการสั า บนเครองบิน “การเชื่อมตออินเทอรเน็ตคือสิ่งที่ นั ก เดิ น ทางต อ งการมากที่ สุ ด ขณะอยู บนเครื่ อ งบิ น ” โดยจากผลสํ า รวจของ S yscanner เว็บไซตคนหาตัวเครื่องบิน โรงแรมทีพ่ กั และรถเชาชัน้ นําของโลก พบ วา 47%ของนักทองเที่ยวในประเทศแถบ เอเชียแปซิฟก ระบุวาสัญญาณ Wi-Fi เปน สื่อบันเทิงที่พวกเขาตองการมากที่สุดเมื่อ อยูบนความสูง 30,000 ฟุต จากพื้นโลก กาวเขาสูโลกแหงยุคดิจิตอลเต็มรูปแบบ ทัง้ นี้ นักทองเทีย่ วเพียง 32.4% หรือ นอยกวา 1 ใน 3 จากนักทองเที่ยวกลุม ตัวอยาง 5,000 คนเทานั้นที่ยอมจายเงิน สํ า หรั บ หนั ง สื อ พิ ม พ แ ละนิ ต ยสารเพื่ อ ความบันเทิงบนเครื่องบิน อี ก ทั้ ง ขณะนี้ ส ายการบิ น บางแห ง เชน เอมิเรตส ไดใหบริการถายทอดสด รายการโทรทัศนบนเครือ่ ง แตมนี กั ทองเทีย่ ว จากกลุมตัวอยางเพียง 36% บอกวาพวก
เขายินดีจา ยเงินเพิม่ เพือ่ ชมรายการโทรทัศน แบบสดๆ ขณะที่มีถึง 47% บอกวายินดี จายเงินเพื่อชมภาพยนตรที่ชื่นชอบ สําหรับวิดโี อเกมสกไ็ ดรบั ความนิยม เชนกันโดยผูโดยสาร 1 ใน 4 ยินดีจายเงิน เพิ่มเพื่อความบันเทิงขณะโดยสารเครื่อง บิน ดานความสะดวกสบายบนเครื่องบิน นักทองเที่ยว 62% ยินดีจายเงินเพิ่มเพื่อ ใหมีพื้นที่เหยียดขามากขึ้น และกวา 56% ยินดีจายเงินเพิ่มนั่งในแถวที่นั่งสําหรับ 2 คนเทานั้น นายแซม พูแล็ง โ ษก S yscanner กล า วว า เราไม แ ปลกใจเลยเมื่ อ พบว า นักทองเที่ยวตองการสัญญาณ Wi-Fi มาก แคไหน เพราะผลสํารวจในครัง้ นีส้ อดคลอง กั บ ผลการสํ า รวจครั้ ง ก อ นๆ ของเรา เกี่ยวกับอุปนิสัยการใชโซเชียลมีเดียของ นักทองเที่ยวซึ่งหลายคนยังคงตองการ ติดตอกับโลกอินเตอรเน็ตทุกวันไมวาจะ
เดินทางไปไหนก็ตาม “ด า นความสะดวกสบายก็ เ ป น ที่ ชั ด เจนว า การได นั่ ง แถวที่ มี พื้ น ที่ ก ว า ง พิเศษยังคงเปนทีต่ อ งการของนักทองเทีย่ ว หลายคนและพวกเขายอมจายเงินเพิม่ เพือ่ ประสบการณระหวางโดยสารเครื่องบิน ที่ดีกวา” โ ษก S yscanner กลาว อยางไรก็ตาม เมื่อดูผลสํารวจแบบ เจาะลึก พบวา ผูห ญิงสวนใหญมกั ยินดีจา ย เพิ่ ม เพื่ อ ความบั น เทิ ง และความสะดวก สบายในหลายๆ ดาน ยกเวนเรื่องอาหาร และเปนไปตามคาดวานักทองเทีย่ วทีม่ อี ายุ นอยกวามีแนวโนมทีจ่ ะจายเงินเพิม่ สําหรับ รายการตางๆ ระหวางการเดินทางมากกวา นักทองเทีย่ วทีม่ อี ายุมากกวาสวนสัญญาณ Wi-Fi ภาพยนตร และพืน้ ทีโ่ ดยสารทีก่ วาง ขึ้นคือสิ่งที่นักทองเที่ยวยินดีจายเงินเพิ่ม มากที่สุดเวลาเดินทางเพื่อความบันเทิง และความสะดวกสบาย
A4
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ทาเรือประจวบ นกําไรเ ียด 55 ลานบาท
บริ ัท ทาเรอประ วบ ํากัด หรอ ทาเรอพา ิชยเอกชน ทสามาร รองรับเรอขน า ยสินคาทมระวางขับนํา้ สูงสด ง 110,000 WT นับเปนหัวใ สําคั ของอตสาหกรรมเหลกในการขน าย วัต ดิบและผลิตภั เหลกดวยตนทนการขนสงทตําและแขงขันได ในป 2 น้ บริ ทั มแนวทางท ะดําเนิน รกิ ทหลากหลายข้น โดย เพิมรายไดนอกกลมบริ ทั ใหมากข้น มการลงทนใหม ทเปนพ้น าน เพอความแขงแกรงในอนาคตและเพิมศักยภาพของการใหบริการ ง เปนสวนหนงของโครงการขยาย รกิ ของบริ ัทในอนาคต ลาสุด “ทาเรือประจวบ” หรือพีพีซี เผยไตรมาสแรก ป 2556 มีกาํ ไรสุทธิเกือบ 55 ลาน เพิ่มจากปกอนถึง 45% บริษัทมี รายไดจากการใหบริการรวม 116 ลาน บาท เผยปริมาณวัตถุดิบแหลงแทงแบน (Sla ) จากบริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี ยูเค จํากัด หรือเอสเอสไอ ยูเค เพิ่มขึ้น ชี้ปจจัยความตองการวัตถุดิบเหล็กและ การขนสงนําเขา-สงออกขยายตัว คาดทัง้ ป มีเรือสินคาเขาเทียบทาแตะ 2.5 ลานตัน นาย า ร านั กรรมการ ผูจ ดั การ เปดเผยวา แนวโนมอุตสาหกรรม ทาเรือ และการขนสงทางเรือของไทยเริ่ม มีปจจัยหนุน แตยังคงเผชิญความเสี่ยง หลายดาน อาทิ อุปทานขนสงทางเรือยัง คงเติบโตในอัตราคอนขางสูง แตเริ่มที่จะ ชะลอตัว เนือ่ งจากมีคา ระวางเรือคอนขาง ตํ่าและมีอัตราการแขงขันสูง สวนแนว โนมคาระวางเรือยังคงไมฟ นตัว คาดวา หลังจากเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ ของ โลกฟนตัว ดวยเหตุดังกลาว จะชวยใหมีการ คาขายระหวางประเทศมากยิ่งขึ้น ตลอด จนป ญ หาด า นแรงงาน ซึ่ ง ในป จ จุ บั น
าวร ค านั ปจจัยหลักความตองการเหล็กในประเทศเพิ่ม ลานบาท สวนรายไดจากธุรกิจนอกเครือ ในชวงไตรมาส 2/2556 รายไดของธุรกิจ ยังคงขึน้ อยูก บั ปริมาณสงออกนํา้ มันปาลม และการจอดเรือเพื่อซอมแซม โดยอาจจะ มีรายไดจากการนําเขาแร ซึง่ ประมาณการ
รั พ ั ั ม า า า ประ า นั พมพ (( เริ่มที่ขาว “การบินไทย” สุดเจง ควารางวัลพนักงานตอนรับภาคพื้นที่ให บริการดีทสี่ ดุ “The Most Courteous
เครื่องมือการขนถาย PPC Shore Crane ในไตรมาส 1/2556 ไปทั้งสิ้น 550,251 ตั น โดยมี อั ต ราการขนถ า ยโดยเฉลี่ ย อยู ที่ 20, 74 ตั น /วั น ซึ่ ง สามารถ ทํา ไดตามเปา หมายที่วางไวที่ 20,000
ตั น /วั น เล็ ก น อ ย เพื่ อ เป น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพและมุ ง เน น การบริ ก ารให กับลูกคาทางบริษัทไดตั้งเปาหมายในการ เพิ่ ม อั ต ราการขนถ า ยให ไ ด ที่ 23,000 ตัน/วัน
ผู ป ระกอบการส ว นใหญ ต อ งเผชิ ญ กั บ ภาระต น ทุ น ที่ สู ง ขึ้ น และขาดแคลน แรงงาน ซึ่งเปนอุปสรรคตอการดําเนิน ธุรกิจ เทานั้นไมพอ คาเงินบาทที่แข็งตัว ยังสงผลตอการสงออกของไทย สงผลก ระทบต อ เป น ลู ก โซ ม ายั ง การส ง ออก สินคาทางเรือดวยเชนกัน สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ อื่ น ๆ นอกเหนื อ จากอุ ต สาหกรรมเหล็ ก ยั ง คงไม มี ค วาม เปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัด คาดวามีปริมาณ ใกลเคียงกับไตรมาสแรกของปนี้ ทัง้ นํา้ มัน ปาล ม และการให บ ริ ก ารจอดเรื อ เพื่ อ ซอมแซมหรืออื่นๆ แนวโน ม ผลการ ดําเนินงานของบริษัท ทาเรือประจวบ จํากัด รายไดจากบริษัทใน เครือในชวงไตรมาส 2/2556 ปริ ม าณ สิ น ค า ผ า น ท า ประมาณ 1.5 ลาน ตั น รายได ค า สิ น ค า ผ า น ท า ประมาณ 122
ประเทศจีนเพื่อลดตนทุนการผลิตและ ปญหาที่เกิดขึ้น ยกเวนกรณีกลุมผูผลิต รศ.ดร.ทวีศักดิ เท ิทัก ชิ้นสวนยานยนตระดับ 3rd Tier ของ อ.ศนยวิ ัย ล ิสติกสแล การ ัดการ มหาวิทยาลัยบร า ma ta eesak @ otma . om ยุโรปที่ไมไดนําระบบ EDI เขามาใชใน การดําเนินงาน เพราะมีซัพพลายเออร ระดับ 3rd Tier จํานวนมากและตาง ร เ งเ รียบเทียบ ร ระย ต ร ด ร ล ต บ ลต น ด ล ง ละ น ดยอม ก็มีมาตรฐานการใช IT ที่แตกตางกันไป ง เป น การยากที่ จ ะเปลี่ ย นแปลง อง ระเท น ลว บ ลต อทอ อง ระเท ไทย จึเทคโนโลยี ที่ใชอยู (Euro ean Council of A lied Sciences and Engiตอ า ... and Order และ Management of neering) จากการศึ ก ษาของ Andersen Dra ings ith Su liers ซึ่งขอมูล การศึ ก ษาของ Euro ean และคณะ (1 ) พบวา กลุม SMEs เหลานี้ถือเปนขอมูลที่สําคัญที่ใชสําหรับ Council of A lied Sciences and ที่ ผ ลิ ต เครื่ อ งจั ก รและชิ้ น ส ว น ใน การสื่อสารเพื่อการสั่ ง ซื้ อ จากซั พ พลาย Engineering (2000) พบว า ในกลุ ม เครือขายประเทศพันธมิตรซึ่งประกอบ เออร ระบบต า งๆ ที่ ใช ส นั บ สนุ น การ ประเทศยุโรป SMEs คาปลีกขนาดเล็ก ดวย สเปน ออสเตรีย นอรเวย และ ทําธุรกิจนี้จะทําผาน Internet ซึ่งมีคาใช มีการรวมตัวอยางสมัครใจเพื่อตอสูกับ สวีเดน มีการรวมมือกันจัดทําฐานขอมูล จายตํ่า ธุรกิจคาปลีกขนาดใหญซึ่งลักษณะของ กลางที่ใชสําหรับคนหาซัพพลายเออร งานวิ จั ย ของ Seeley และคณะ การรวมตัวเพื่อความรวมมือของ SMEs ในการผลิตสินคาใหกับตนซึ่งฐานขอมูล (2000) พบวา SMEs กรณีศึกษาของตน คาปลีก ไดแก การซื้อสินคา ดําเนินงาน นี้จะประกอบไปดวย รายชื่อซัพพลาย จะใช ก ารสื่ อ สารระหว า งศู น ย ก ระจาย รวมกัน (Co-o eration) และทําธุรกิจ เออรที่มีอยูทั่วโลก และ ead time สิ น ค า ของตนที่ ป ระเทศอั ง กฤษกั บ ในรูปแบบ Franchises สําหรับกรณี สําหรับการจัดสงสินคา อีกทั้ง หากเปน ซั พ พลายเออร ซึ่ ง เป น โรงงานผลิ ต ที่ การรวมตัวแบบเปนเครือขายเพื่อเพิ่ม ซัพพลายเออรที่มีการติดตอซื้อขายกัน ประเทศจีนผานระบบ Internet เพื่อลด ศักยภาพการแขงขันนั้น ในบางประเทศ จะมี Soft are พิเศษที่มีขอมูลเฉพาะ ต น ทุ น ด า นการสื่ อ สารและค า เดิ น ทาง มีแนวปฏิบัติที่ตางออกไป เชน SMEs บางอย า งที่ ใ ช สํ า หรั บ อํ า นวยความ ไปยั ง โรงงาน เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาของ ผูผ ลิต Plastic molding ใน ancashire สะดวกดานคําสัง่ ซือ้ เชน Product Data Su lier และงานวิจัยของ ose h และ ในประเทศอังกฤษที่ไมมีระบบการจัด M a n a g e m e n t ( P D M ) , B i l l คณะ (2000) พบวา SMEs กรณีศึกษา ซื้อ-จัดหาแบบเครือขายเพื่อลดตนทุน of Material (BOM), Automatic มีการนําระบบ Com uteri ed เขาไป การผลิตของตน Generation of Production Planning บริหารจัดการกิจกรรมภายในโรงงานที่ อานตอ หนา...
ั
รายไดใกลเคียงกับตัวเลขของไตรมาสแรก ที่ประมาณการไวที่ 4 ลานบาท ไม เ พี ย งเท า นี้ ทางบริ ษั ท ได เ พิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการยกขนเหล็ ก เท ง แบน (Sla ) ที่ ม าจาก SSI K ผ า น
and Hel ful Chec -in Staff” (( โดย อานตอ หนา... ปาน ชนะ ัย กรรมการผูจัดการ หนวยธุรกิจการบริการภาคพืน้ เปนผูแ ทน บริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) รับมอบ รางวัลสายการบินที่พนักงานตอนรับภาค พืน้ ใหบริการดีทสี่ ดุ “The Most Cour teous and Hel ful Chec -in Staff” ที่ าน ิต ชนะ ัย น ต ิธา ทิวารี ปฏิบัติหนาที่ในทาอากาศยานนานาชาติ ฮองกง ในการประกาศรางวัล The Hong A ard Presentation 2012/13 (( Kong International Air ort-Customer ทัง้ นี้ โครงการ The Customer Service Service E cellence Programme E cellence Programme A ards ของ
า ย อ ร การ น ห ยา นไทย น ู ารอ ส ทาย ผูส อื่ ขาวรายงานวา ตลอดเวลาทัง้ 6 วันของกิจกรรม ผูเ ขารวมอบรมทัง้ 15 คน ไดรับฟงการบรรยายถึงความรูทั่วไปใน ธุรกิจการบิน พรอมทั้งพูดคุยและซักถาม รวมถึงเยีย่ มชมการทํางานของพนักงานใน หนวยงานตางๆ ของคาเธย แปซิฟค ไมวา จะเป น พนั ก งานต อ นรั บ บนเครื่ อ งบิ น พนักงานภาคพืน้ ดิน วิศวกรเครือ่ งบินและ พนักงานจัดการดานขนสงสินคา รวมถึง หน ว ยงานของการท า อากาศยานแห ง ประเทศไทย ณ สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่ง ผูเขารวมอบรมไดรับความรูจากพนักงาน ทุกหนวยงาน นอกจากนี้ ยังไดรวมทํา ประโยชนโดยการปรับปรุงสภาพแวดลอม ที่คลองลัดมะยม เพื่อสรางจิตสํานึกความ รับผิดชอบตอสังคมรวมกันดวย นายพิ สิ ฐ ถนอมชาติ ผู เข า ร ว ม โครงการ I Can Fly จากโรงเรียนสารสิทธิ พิทยาลัย จ.ราชบุรี กลาววา การไดไป เยี่ยมชมการทํางานของพนักงานในหนวย งานตางๆ ของคาเธย แปซิฟค รวมถึง องคกรที่เกี่ยวของเปนประสบการณการ เรียนนอกหองเรียนที่มีคาอยางยิ่ง “กอนที่ผมจะเขารวมกับโครงการ I Can Fly ผมพอจะมีความรูเรื่องเครื่องบิน
อยูบาง แตการที่ไดมาสัมผัสดวยตัวเอง จริงๆ พรอมทั้งพูดคุยกับพี่ๆ ในแผนก ตางๆ ไมวาจะเปนนักบิน พนักงานตอนรับ บนเครื่องบิน ทําใหผมไดรับความรูเพิ่ม เติ ม ซึ่ ง ผมเชื่ อ ว า ไม ส ามารถหาได จ าก โครงการอืน่ ๆ แนนอนครับ นอกจากนี้ ผม ยังไดมีโอกาสพิเศษในการไปเยี่ยมชมการ ทํ า งานในส ว นที่ ป กติ แ ล ว ไม เ ป ด ให ค น ภายนอกเขาไปเยี่ยมชม ไมวาจะเปนหอ บั ง คั บ การบิ น (Air Traf c Control To er) และทางวิ่ ง ของเครื่ อ งบิ น (Run ay) เรียกไดวาโครงการนี้ทําให ความฝนของผมและเพื่อนๆ ชัดเจนขึ้น ขอขอบคุณคาเธย แปซิฟค อีกครัง้ สําหรับ โครงการที่เปนประโยชนมากๆ เชนนี้” นายพิสิฐ กลาว ดาน นางสาวสิริยาภรณ วงศจักร ผูเ ขารวมโครงการ I Can Fly จากโรงเรียน เรยีนาเชลีวิทยาลัย จ.เชียงใหม กลาววา นอกจากการไดพบและไดรว มประสบการณ อั น มี ค า กั บ เพื่ อ นใหม ๆ ที่ มี ค วามฝ น เดียวกันทั้ง 14 คนแลว โครงการ I Can Fly ยังไดเปดมุมมองเกี่ยวกับการบินของ ผูที่เขารวมโครงการใหกวางขึ้นดวย “ทําใหหนูไดทราบวาเบื้องหลังของ
งานที่ เ กี่ ย วกั บ การบิ น นั้ น เกี่ ย วข อ งกั บ บุ ค ลากรและหน ว ยงานหลายฝ า ย ซึ่ ง หนวยงานแตล ะแหงตองทํา งานติดตอ ประสานกันเริม่ ตัง้ แตกอ นเครือ่ งบินขึน้ จน กระทัง่ เครือ่ งบินบินถึงทีห่ มายและเขาจอด นอกจากกิจกรรมนี้ หนูยังไดรวมกิจกรรม เพื่อสังคมคือการปรับปรุงสภาพแวดลอม บริเวณคลองลัดมะยม ทําใหหนูสนิทกับ เพื่อนๆ มากขึ้นดวยคะ สําหรับหนูแลว โครงการนี้ เ ป น เสมื อ นจุ ด เริ่ ม ต น ของ ความฝนที่หนูจะทําใหเปนจริงใหไดคะ” นางสาวสิริยาภรณ กลาว ขณะที่ นายเลสลี่ ลู ผูจ ดั การประจํา ประเทศไทยสายการบินคาเธย แปซิฟค กลาววา ในปนี้นับเปนปที่ 2 ที่เราไดจัด โครงการ I Can Fly ซึ่งเปนโครงการที่ สะทอนถึงเจตนารมณของคาเธย แปซิฟค ในการพัฒนาความรูความสามารถของ เยาวชนไทย ใหมีศักยภาพยิ่งขึ้นโดยการ เรียนรูจากพนักงานในแตละสาขาอาชีพ มาให ค วามรู พู ด คุ ย รวมถึ ง การเรี ย นรู เชิงปฏิบัติการจากการจําลองสถานการณ และจากการรับชมขั้นตอนการทํางานจริง เพื่อใหเด็กมีประสบการณตรงและนําไป พัฒนาตนเองตอไปไดในอนาคต
ทาอากาศยานนานาชาติฮองกง เกิดขึ้น ตั้ ง แต ป พ.ศ. 2545 เพื่ อ สนั บ สนุ น ให พนักงานในหนวยงานตางๆ ทีป่ ฏิบตั หิ นาที่ ท า อากาศยานนานาชาติ ฮ อ งกง มี แรง บั น ดาลใจที่ จ ะมอบบริ ก ารที่ ดี ที่ สุ ด แก ผูโ ดยสารผานโครงการตางๆ อยางตอเนือ่ ง สําหรับรางวัลสายการบินทีพ่ นักงานตอนรับ ภาคพืน้ ใหบริการดีทสี่ ดุ “The Most Courteous and Hel ful Chec -in Staff” ที่ การบินไทยไดรบั ในปนี้ ไดมาจากการโหวต ของผูโ ดยสารทีม่ าใชบริการทีท่ า อากาศยาน
นานาชาติฮอ งกง (( ตอกันทีข่ า วคึกโครม ของการรั ก ษาความปลอดภั ย ของท า อากาศยานสุวรรณภูมิ โดยหนุมเยอรมัน ทีห่ นีกบดานเขาประเทศไทย และถูกคุมตัว สงกลับประเทศหลังพนโทษคดีลักทรัพย แวะสนามบินสุวรรณภูมิ เพือ่ รอเปลีย่ นเครือ่ ง ขณะทีต่ าํ รวจเผลอหลับเลยหนีเขาชองหนีไฟ หายตัวไป (( งานนี้ น า าร ในฐานะประธานคณะกรรมการ บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. เปดเผยวา สําหรับชองทางหนีไฟบริเวณ
คองคอรทจีของสนามบิน ตามปกติผทู จี่ ะ ผานเขา-ออกตองรูดบัตรจึงจะผานเขาไป ได แตกรณีดงั กลาวปรากฏวาคนรายมีการ ตัดระบบสายไฟบางเสน ทําใหสามารถ ผานเขาไปไดโดยไมตอ งรูดบัตร รวมทัง้ คน รายยังไดตดั สายไฟฟาของระบบสัญญาณ แจงเตือนภัยบริเวณบันไดหนีไฟ ทําให สามารถหนีออกไปจากสนามบินไดสาํ เร็จ... ในฐานะประตูของประเทศไทย ตองวาง มาตรการรักษาความปลอดภัยเพิม่ นะครับ ...พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ ((
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
A5
ทท เ นอตว อท เอง
มนา ม รอรปแ
มปทานทา รอ
คมนาคม หนนใหสัมปทานเอกชนประกอบการทาเรอและ ขนสงทางร ไ เนนเสนอคาบริการตําสด แทน ายรายไดสูงสด หวัง ลดตนทน กระตนคนใชบริการเพิม ดาน กทท ลมสัมปทานทาเรอ ชาย ง A และศูนยการขนสงตูสินคาทางร ไ ทแหลม บัง พ เชยร พ น พ ร ปลัด กระทรวงคมนาคม เปดเผยภายหลังเปน ประธานการประชุมเพื่อหาขอสรุปในการ กําหนดแนวทางและรูปแบบที่เหมาะสม สําหรับการใหสมั ปทานประกอบการทาเรือ และโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงทาง รถไฟเมือ่ วันที่ 2 พฤษภาคม วา เนือ่ งจาก ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการพั ฒ นาระบบ บริหารจัดการขนสงสินคาและบริการของ ประเทศ (กบส.) เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2555 มีมติวา ตองการใหสมั ปทานทีม่ กี ารกําหนด เงื่อนไขการแขงขัน พิจารณาจาก “คา บริการทีจ่ ะเรียกเก็บจากผูใ ชบริการตํา่ สุด” หรื อ Tendering แทน “จํ า นวนเงิ น ตอบแทนสูงสุดที่จะจายใหแกรัฐวิสาหกิจ เจ า ของโครงการ” หรื อ Bidding ซึ่ ง กระทรวงมีโครงการของ 3 หนวยงาน ที่
เขาขาย คือ ทาเทียบเรือชายฝง (A) ทาเรือแหลมฉบัง และศูนย การขนสงสินคาทางรถไฟ ทาเรือแหลมฉบัง (SRTO) ของการท า เรื อ แห ง ประเทศไทย (กทท.), การคัดเลือกเอกชนรับ สัมปทานเปนผูป ระกอบ การสถานี บ รรจุ แ ละ แยกสินคากลอง (ไอซีด)ี ล ต อ วิเชียร จนโ ธิ รี ที่ลาดกระบัง ของการ รถไฟแห ง ประเทศไทย (รฟท.) และการให สั ม ปทานท า เรื อ ที่ (Shi Mode) ก อ สร า งใหม แ ละท า เรื อ โลจิ ส ติ ก ส ข อง ทัง้ นี้ โครงการทาเทียบเรือชายฝง (A) กรมเจ า ท า (จท.) ซึ่ ง การมี ค า บริ ก าร วงเงิน 1, 5 .4 ลานบาท และศูนยการ ที่ ตํ่ า ลงจะจู ง ใจทํ า ให ผู ข นส ง เปลี่ ย นมา ขนสงสินคาทางรถไฟ ทาเรือแหลมฉบัง ใชการขนสงทางรางและทางนํ้ามากขึ้น (SRTO) วงเงินลงทุน 3,062.65 ลานบาท
ชา เ นน รมเ า า า เ ย เร นาม นนานาชา เ ม า า าน า รั ร าร เร นเ ร เ ชนเ นเร เ น า ประ าร ร า นาม น ปยั า ปา นาย รพั ฒ น ระ พ ผูอ าํ นวยการสํานักงานเจาทาภูมภิ าคสาขา ภูเก็ต เปดเผย วา ในขณะนี้สํานักงาน เจาทาภูมภิ าคสาขาภูเก็ต กําลังอยูร ะหวาง การผลักดันโครงการลงเรือ-ขึ้นเครื่อง โดย มีแผนจะกอสรางทาเทียบเรือโดยสาร บน พื้นที่ 4 ไร บริเวณที่ดินราชพัสดุ แปลง สนามบินนานาชาติภูเก็ต เพื่อเชื่อมเสน ทางเดินทางจากทาอากาศยานไปยังหาด ปาตอง โดยโครงการนี้ไดดําเนินการชี้แจง รายละเอียดโครงการและสํารวจความคิด เห็นของชาวภูเก็ตในพื้นที่ตางๆ มา 4 ครั้ง แลว อาทิ หาดปาตอง หาดไมขาว ซึ่งกวา 0% เห็นดวยที่จะสนับสนุนโครงการนี้ ทั้งนี้ เนื่องจากจะชวยลดปญหาการ จราจรในภูเก็ตไดมาก เพราะปจจุบันการ เดิ น ทางจากสนามบิ น ภู เ ก็ ต ไปยั ง หาด ตางๆ โดยเฉพาะหาดปาตอง ตองอาศัย รถยนต ส ว นตั ว รถโดยสารประจํ า ทาง หรือรถแท็กซี่ ทําใหการจราจรติดขัดมาก โดย เสนทางการจราจรทางบกที่เปนเสนทาง เดียว จากสนามบินไปหาดปาตอง มีระยะ ทางประมาณ 50 กิโลเมตร การเดินทางใน ชั่วโมงปกติจะใชเวลา 1 ชั่วโมง หากเปน ชัว่ โมงเรงดวนตองใชเวลากวา 1 ชัว่ โมงครึง่ ถึ ง 2 ชั่ ว โมง แต ห ากเดิ น ทางทางเรื อ
ร รงการลง รอ ้น รอง หนน ทา ทย รอสนา น ู กต
â´Â : Ocean Princess
แวดวง
พาณิชยนาวี
ั ะพ ั พา ชย นา ประ า นั พมพ เริ่ ม ที่ ก ารพั ฒ นาขนส ง สาธารณะทางนํ้า ประเ ร ัน รร รั ฐ มนตรี ช ว ยว า การกระทรวง คมนาคม เป ด เผยหลั ง เป น ประธาน ประชุมแนวทางการพัฒนาระบบขนสง
นัน้ กทท. ไดเสนอวาจะดําเนินการเองจาก เดิมทีจ่ ะใชตาม พ.ร.บ.วาดวยการใหเอกชน เขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 เนือ่ งจากใชเวลากวา 4 ปแลว ยั ง ไม ผ า นความเห็ น ชอบจากสํ า นั ก งาน
เปนทาเทียบเรือขนาดไมเกิน 100 ตัน กรอส จึงไมเขาขายตองดําเนินการศึกษา ผลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม หรื อ EIA ส ว น อาคารผูโดยสารของทาเทียบเรือรองรับ ผูโดยสารไดราว 100 คน ซึ่งเมื่อไดรับ งบประมาณคาดว า ใช เวลาดํ า เนิ น การ กอสรางราว 1 ปครึ่ง” นายภูริพัฒน ยังกลาวตอวา การ สร า งท า เที ย บเรื อ โดยสารบริ เ วณท า อากาศยานนานาชาติ ภู เ ก็ ต ในช ว งแรก อาจจะเปนเหมือนทาเทียบเรือตนทาง ที่ รองรับผูโดยสารที่ตองการเดินทางจาก สนามบินไปยังโปะเทียบเรือชั่วคราวของ เอกชนที่หาดปาตองกอนในชวงแรก ซึ่ง หากไปไดดี ก็สามารถสรางทาเทียบเรือ โดยสารบริเวณหาดปาตองไดในอนาคต ทัง้ นี้ การเลือกเสนทางจากสนามบิน ภู เ ก็ ต ไปหาดป า ตอง เป น เส น ทางแรก เนื่ อ งจากถื อ เป น พื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร ท อ ง เที่ยวของภูเก็ต ที่อยูไมไกลจากหาดกะตะ และกะรน โดยจะเปดใหเอกชนที่สนใจ เสนอตัวเขามาเดินเรือประจําในเสนทางนี้ โดยเรือจะรองรับไดไมเกิน 200 คน แต ขณะเดียวกันก็มองวาทาเทียบเรือแหงนี้ ก็ จะเปดรองรับเรือของประชาชนทั่วไป เรือ สวนตัวตางๆ เพราะตอไปทาเรือแหงนี้ก็
สามารถพัฒนาเปนทาเทียบเรือตนทาง และปลายทางไดทั้งคู เชน การเดินเรือ เชื่ อ มโยงระหว า งเกาะราชา จ.ภู เ ก็ ต เกาะลันตา เกาะพีพี จ.กระบี่ ดวยเรือ ไพรเวตตามเกาะตางๆ ใกลเคียง เปนตน “ป จ จุ บั น มี โรงแรมระดั บ หรู ห รา หลายแหงในภูเก็ตและเกาะตางๆ ใกลเคียง ดังนั้นตอไปโรงแรมก็สามารถจัดบริการ สปดโบตหรือไพรเวตเจ็ต จากโรงแรมมายัง สนามบินภูเก็ตได โดยผูโดยสารสามารถรู เวลาเดินทางที่แนนอน เพราะไมมีปญหา รถติด ซึง่ ตลาดทีม่ าใชบริการทาเทียบเรือนี้ ก็ จ ะเปนอีกกลุมตลาดที่ไมไดใชบ ริการ แท็กซี่ของภูเก็ตอยูแลว แตขณะเดียวกัน ก็ ยั ง ช ว ยลดการจราจรที่ ติ ด ขั ด ทํ า ให ร ถ แท็กซีส่ ามารถวิง่ ใหบริการเพิม่ จํานวนรอบ ไดมากขึน้ ” นายภูรพิ ฒ ั น กลาว ดาน นายประเทือง ศรขํา ผูอ าํ นวย การท า อากาศยานภู เ ก็ ต บริ ษั ท ท า อากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. กลาววา โครงการสรางทาเทียบเรือนี้ ทาง สนามบินเห็นวาเปนประโยชนมาก เพราะ ไมเพียงแตแกปญ หารถติด ยังชวยลดความ แออัดภายในอาคารผูโ ดยสารของสนามบิน ภูเก็ตไดในระดับหนึง่ ดวย เพราะผูโ ดยสาร จะทราบเวลาถึงสนามบินที่ชัดเจน แทน จากเดิมทีต่ อ งเดินทางมารอทีส่ นามบินกอน เวลานานๆ ซึง่ ทางสนามบินก็เตรียมแผนไว วาจะมีการพัฒนาถนนภายในเชือ่ มการเดิน ทางจากอาคารผูโ ดยสารไปยังทาเทียบเรือ ทีอ่ ยูห า งกันราว 1 กิโลเมตรครึง่
สาธารณะทางนํา้ ใน กทม. และปริมณฑล วาขณะนี้มีโครงการที่จะพัฒนาทาเรือใน แมนาํ้ เจาพระยาทัง้ 11 ทาเรือ เพือ่ เชือ่ มโยง กับการใหบริการรถไฟฟาในอนาคต โดย ไดมอบหมายใหกรมเจาทา (จท.) และ สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและ จราจร (สนข.) รวมศึกษารายละเอียด โดย จะตองไดขอสรุปภายใน 60 วัน กอนจะ ระเ ริ จันทรรวงทอง นิวั นธารง บ ทรง าล หารืออีกครัง้ bb รมช.คมนาคม กลาวยํา้ ศึกษาขอมูล ซึง่ จะตองดูเรือ่ งขอจํากัด, งบ วาไดสั่งการใหกรมเจาทา และสํานักงาน ประมาณลงทุน, ระยะเวลาดําเนินการ, ดู นโยบายและแผนการขนสงและจราจร รวม พืน้ ทีห่ ลังทา และขอกฎหมายตางๆ โดยจะ
ตองรวบรวมขอมูลทั้งหมดใหเสร็จภายใน 60 วัน กอนทีจ่ ะมาหารือใหมอกี ครัง้ สวน ปญหาทีพ่ บในขณะนีห้ ากจะมีการเชือ่ มโยง ระหวางรถไฟฟา และทาเรือก็คือการให บริการเรื่องของรถสาธารณะที่ยังไมเพียง พอ ซึง่ บางจุดยังพบความไมสะดวก คาดวา ตนปหนาจะเห็นบางทาเรือที่เกิดเปนรูป ธรรมได bb มาที่ “ทวาย” น ฒ ั น าร ร พ า รมต.ประจําสํานักนายก รั ฐ มนตรี เผยว า ในการประชุ ม คณะ กรรมการระดับสูงระหวางไทย-เมียนมาร
เสนทางนี้จะมีระยะทางประมาณ 13.5 ไมลทะเล หรือ 25 กิโลเมตร ใชเรือสปด โบต (ความเร็วประมาณ 35 นอต) ใชเวลา ประมาณ 25 นาที หรือหากใชเรือโดยสาร ทั่วไป (ความเร็วประมาณ 20 นอต) ใช เวลาเดินทางประมาณ 35-40 นาทีเทานั้น ขณะเดียวกัน ยังเปนการเพิ่มทาง เลือกระบบการขนสงมวลชนรูปแบบใหม แกนกั ทองเทีย่ ว และชวยลดปญหาจํานวน ผู โ ดยสารแออั ด ภายในสนามบิ น ภู เ ก็ ต เนื่องจากผูโดยสารตองเผื่อเวลามาก เพื่อ ให เ ดิ น ทางมาถึ ง สนามบิ น ก อ นเวลาที่ กําหนดนาน จากปญหารถติดที่เกิดขึ้น ทําใหไมสามารถกําหนดระยะเวลาที่เดิน ทางถึ ง สนามบิ น ได แ น น อน ซึ่ ง ในป ที่ ผานมามีนกั ทองเทีย่ วเดินทางผานสนามบิน ภูเก็ตถึง .5 ลานคน และมีแนวโนมเพิ่ม ขึ้นตอเนื่อง “ความคืบหนาของโครงการนี้หลัง จากทําประชาพิจารณในพื้นที่และสวน ใหญเห็นดวยไปแลว ขณะนี้อยูระหวาง การทําเรื่องเสนอของบประมาณผานไป ยังกระทรวงคมนาคม โดยตามแบบที่ออก ไวจะใชงบราวกวา 200 ลานบาท ซึ่งจะ เปนทาเรือโดยสาร ที่อยูหางจากฝง 240 เมตร มีความยาวหนาทาอยูที่ 125 เมตร
คณะกรรมการพัฒนา การเศรษฐกิ จ และ สังคมแหงชาติ (สศช.) ในขณะที่ ก ารใช วิ ธี Tendering แทน Bidding จะเกิดความไม เปนธรรมในการแขงขัน ระหวางผูป ระกอบการ ในแหลมฉบังขั้นที่ 1 และ 2 เพราะรายเดิม ที่ใชวิธี Bidding จะมี ตนทุนสูงกวารายที่มา จากวิ ธี Tendering และเกิดการฟองรอง กทท. ได ดังนั้น ใน สวนของ กทท. จึงไม เข า ข า ยที่ ต อ งใช วิ ธี Tendering “เมื่ อ กทท. บริ ห ารจั ด การเอง มีความเปนไปไดที่อัตราคาบริการจะไมสูง เพราะไมไดมุงหวังกําไรสูงสุด การคิดคา บริการจะคิดเทาทุน และยังลดปญหาความ ขัดแยงกับผูประกอบการรายอื่นในทาเรือ แหลมฉบังขัน้ ที่ 1 และที่ 2 จากปญหาความ ไม เ ป น ธรรมในการแข ง ขั น เพราะว า ผูประกอบการรายเดิมจะมีตนทุนสูงกวา ผู ป ระกอบการที่ ม าจากกระบวนการ Tendering ซึง่ เสนออัตราคาภาระทีต่ าํ่ กวา
เพื่อจะชนะการคัดเลือก ซึ่งอาจสงผลให ผูป ระกอบการรายเดิมฟองรอง กทท. ได" สวนสัมปทานไอซีดีลาดกระบังนั้น ไดให รฟท. ใชหลัก Tendering ในการ คัดเลือกผูประกอบการ 6 สถานี ซึ่งจะ ดําเนินการตามมาตรา 13 ของ พ.ร.บ. รวมทุน 2535 ภายใตหลักการผูป ระกอบ การไมตาํ่ กวา 2 ราย โดย รฟท. ควรคิดคา เชาพืน้ ทีจ่ ากเอกชน ทุกรายในอัตราเทากัน และใหแขงขันกันที่คาบริการที่เรียกเก็บ ตํา่ ทีส่ ดุ นอกจากนั้ น กระทรวงคมนาคม ยังเตรียมทีจ่ ะใชวธิ กี าร Tendering กับการ บริหารจัดการทาเรือของกรมเจาทา ซึ่งมี ทั้งหมด 14 แหง และประสบปญหาไมมี ผูใ หบริการทาเรือหลายแหง โดยระยะแรก จะคัดเลือกทาเรือทีร่ องรับระบบโลจิสติกส และทาเรือใหมกอน เชน ทาเรือที่อยุธยา ทาเรือคลองวา ซึ่งกรมเจาทาจะสรุป รายละเอียดเกีย่ วกับทาเรือทีจ่ ะสรรหาเอกชน และปญหาอุปสรรคตางๆ ภายใน 1 เดือน “ในสวนกรมเจาทานั้น เนื่องจากมี ท า เรื อ ในความรั บ ผิ ด ชอบถึ ง 14 ท า โดยมีทั้งทาเรือระหวางประเทศ ทาเรือ สาธารณะ ทาเรือพาณิชย จึงใหรวบรวม รายละเอียดของปญหาและแนวทางการ พัฒนาทําแผนเสนอกระทรวงภายใน 1 เดือน เพื่อหาขอสรุป”
กรมเ าทาไม หเรอดวน ้น บาท
นา า ปร า รั า น กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั เรือดวนเจาพระยา จํากัด เปดเผยวา ขณะนี้ตนไดสงหนังสือไปถึง อธิบดีกรมเจาทา เพือ่ ชีแ้ จงถึงความจําเปนใน การพิจารณาปรับคาโดยสารเรือทุกประเภท เพิม่ ขึน้ อีก 2 บาท ซึง่ เมือ่ วันที่ 12 กุมภาพันธ 2556 ไดมีการประชุมของคณะกรรมการ เรื อ ประจํ า ทาง แต ยั ง ไม มี ก ารอนุ มั ติ เนือ่ งจาก การคํานวณอัตราคาโดยสารจาก โครงสรางตนทุนระหวางภาครัฐและเอกชน ยังไมสอดคลองกัน จึงตองมีการพิจารณา ใหม โดยกําหนดกรอบระยะเวลาภายใน 0 วัน และตอนนีไ้ ดเลยเวลาทีก่ าํ หนดแลว “ถายังไมมีการอนุมัติจะทําใหเรา ขาดทุนปนถี้ งึ 16 ลานบาท แตเราก็คาดวา หลังจากสงหนังสือไปทีก่ รมเจาทาแลว ทาง กรมเจาทา นาจะเชิญคณะกรรมการมา หารือกัน ภายในเดือนมิถนุ ายน 2556 และ ประกาศใชอตั ราคาโดยสารใหมไดประมาณ กลางเดือนกรกฎาคม 2556” นาวาโท ปริญญา กลาว ดาน นายศรศักดิ แสนสมบัติ อธิบดี กรมเจาทา เปดเผยวา ทางกรมเจาทายังไมมี มติอนุมัติใหมีการปรับขึ้นคาเรือโดยสาร
คลองแสนแสบ, เรือขามฝาก และเรือดวน เจาพระยา ตามขอเสนอของผูป ระกอบการ เนือ่ งจากมาตรฐานโครงสรางตนทุนทีน่ าํ มา คิดอัตราคาโดยสารเรือแตละประเภทของ กรมเจาทา และผูประกอบการยังมีความ แตกตางกัน ทําใหไมสามารถนํามาใชเปน บรรทัดฐานในการคํานวณอัตราคาโดยสาร ทีเ่ หมาะสม และสอดคลองกับขอเท็จจริงได โดยได ใ ห ฝ า ยที่ เ กี่ ย วข อ งประชุ ม ถึ ง รายละเอียด ที่จะนํามาใชประกอบเปน โครงสรางตนทุน วาควรประกอบดวยอะไร บาง รวมทัง้ วิธกี ารคํานวณตนทุนทีเ่ หมาะสม ดวยวาควรคิดอยางไร ทัง้ ในเรือ่ งของคาแรง นอกจากนัน้ ในสวนของราคานํา้ มันดีเซลยัง ไมเกิน 30 บาท/ลิตร จึงยังไมเปนสาเหตุที่ จะตองปรับราคาคาโดยสาร “ทีผ่ า นมาตางคนตางคิด ภาครัฐคิด อีกแบบ ผูประกอบการคิดอีกแบบ โดย เฉพาะขอมูลตัวเลขที่เกี่ยวกับอัตราการ ลงทุน ผลตอบแทนในการลงทุน แมกระทัง่ ตัวเลขผลขาดทุนทีน่ าํ มาเปนขออางในการ ขอขึน้ ราคา ก็ไมตรงกับขอมูลของกรมเจาทา ซึ่งจําเปนตองจัดทํามาตรฐานโครงสราง ตนทุนรวมกันกอน”
เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษทวายและ พืน้ ทีโ่ ครงการทีเ่ กีย่ วของ (เจเอชซี) จะมีการ ลงนามรวมกันเพื่อจัดตั้งบริษัทนิติบุคคล เฉพาะกิจ (เอสพีว)ี หรือบริษทั ทวาย เอส อี แซด ดีเวลล็อปเมนท เพื่อเขาถือสัญญา สั ม ปทานการพั ฒ นาพื้ น ที่ เขตเศรษฐกิ จ พิเศษทวาย แทนทีบ่ ริษทั อิตาเลียนไทย ดี เวลอปเมนต bb ในสวนการจัดตัง้ บริษทั เอสพีวี 2 ในประเทศเมียนมาร และเปน บริษทั ทีถ่ อื หุน โดยบริษทั ทวาย เอส อี แซด ดีเวลล็อปเมนต 100% นั้นจะเปนเอสพีวี
ทีต่ งั้ ในเมียนมาร มีหนาทีป่ ระสาน บริหาร จัดการโครงการในพืน้ ทีล่ งทุน และชวยหา นักลงทุนมาลงทุน bb สําหรับการคืน เงินลงทุนใหบริษทั อิตาเลียนไทยนัน้ รมต. ประจําสํานักนายกรัฐมนตรี กลาววาเมือ่ มีการจัดตัง้ บริษทั รวมทุน 7 บริษทั เพือ่ ลงทุน 7 โครงการเรงดวน บริษทั รวมทุน จะระดมเงินทุนจายใหอติ าเลียนไทยแตจะ ตองประเมินวาอิตาเลียนไทยลงทุนอะไร บาง เปนเงินเทาใด...พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ bb
A6
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
คค ท
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
น
น
ย ดน ต
ท ดนหนา ‘5 นทา 1 ก กรรม
กระทรวงคมนาคม ทําแผนระยะสัน้ และระยะยาวพั นาโครงสราง พ้น านในพ้นท งั หวัดชายแดนภาคใต เสนทาง 1 กิ กรรม พรอม นําเสนอตอนายกรั มนตร คาดเบ้องตนลงทนวงเงินกวา ,000 ลาน บาท หวังลดป หาชายแดนใต พ เชยร พ น พ ร ปลัดกระทรวงคมนาคม เปดเผยภายหลัง ประชุมหารือจัดทําแผนปฏิบัติการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานระบบคมนาคมขนสงใน พืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต รวมกับหนวย งานในสังกัดทั้งกรมทางหลวง (ทล.) กรม ทางหลวงชนบท (ทช.) กรมเจาทา (จท.) กรมการบินพลเรือ (บพ.) การรถไฟแหง ประเทศไทย (รฟท.) โดยมี ดร.ชัชชาติ สิ ท ธิ พั น ธุ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง คมนาคม เปนประธาน วา เบื้องตนไดจัด ทําแผนการพัฒนาโครงการตางๆ เปนแผน ระยะสั้นและระยะยาว เชน การปรับปรุง ถนนของกรมทางหลวง และกรมทางหลวง ชนบท เพื่อนําเสนอตอนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ทั้งนี้ จากที่คณะทํางานขับเคลื่อน การบริหารงานพัฒนาคุณภาพชีวิตและ โครงสรางพืน้ ฐานซึง่ มีกระทรวงมหาดไทย เปนหัวหนากลุม ไดประชุมรวมกับองคกร ทองถิ่น ประชาชน และหอการคาในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใตเมื่อวันที่ 22-24 พฤษภาคม ที่ผานมา ที่ศาลากลางจังหวัด สงขลา ไดมกี ารเสนอแผนปรับปรุงเสนทาง คมนาคมเพื่อเสริมสรางความมั่นคงและ ปลอดภัยในพืน้ ที่ เชน การเพิม่ ชองจราจร, ปรับปรุงมาตรฐานทางเปนชั้น 1 เพื่อให ล ต อ วิเชียร จนโ ธิ รี ไหลทางกวางมากขึน้ , กอสรางทางหนา 25 ซม. คลุมหลังทอลอดใตถนน กอนปูทับ ดวยแอสฟลตเพือ่ ใหยากตอการขุดเจาะฝง ปองกันภัย เปนตน ระเบิด, ดูแลตัดตนไม พุมไมสองขางทาง สําหรับแผนระยะสัน้ กรมทางหลวง ให โ ล ง เพื่ อ ง า ยต อ การตรวจตราระวั ง จะมีการพัฒนาถนน 5 เสนทาง และ 1
้ น ู ร กอ การ ตรย ร นาย มชัย ร ัฒน ช อธิบดีกรม การขนสงทางบก เปดเผยวา ตามที่กรม การขนสงทางบก ไดทาํ ความตกลงวาดวย การขนส ง ทางถนนระหว า งรั ฐ บาลไทย และรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (สปป.ลาว) และความ ตกลงวาดวยการขนสงขามพรมแดนใน อนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง เพื่ออํานวยความ สะดวกในการเดิ น ทางด ว ยรถโดยสาร ระหวางสองประเทศใหประชาชนไดรับ ความสะดวกมากขึ้น ปจจุบัน กรมการขนสงทางบก ได ออกใบอนุ ญ าตประกอบการขนส ง ผูโดยสาร (รถโดยสารไมประจําทางและ สวนบุคคล) จํานวนผูประกอบการ 2 5 ราย จํ า นวนรถ 677 คั น มี เ ส น ทาง การเดิ น รถโดยสารประจํ า ทางระหว า ง ประเทศไทย-สปป.ลาว จํานวน 10 เสน ทาง ไดแก เสนทางหนองคาย-นครหลวง
เวียงจันทน เสนทางอุดรธานี-นครหลวง เวียงจันทน เสนทางอุบลราชธานี-ปากเซ เสนทางมุกดาหาร-สะหวันนะเขต เสนทาง ขอนแกน-นครหลวงเวียงจันทน เสนทาง กรุงเทพ -นครหลวงเวียงจันทน เสนทาง นครพนม-ท า แขก เส น ทางเชี ย งใหม เชียงราย-บอแกว-หลวงนํ้าทา-อุดมไชยหลวงพระบาง เส น ทางอุ ด รธานี หนองคาย-วังเวียง และเสนทางกรุงเทพ อุบลราชธานี-ปากเซ นอกจากนี้ ยังอยูระหวางสํารวจเสน ทางการเดินรถโดยสารเพิ่มเติม ไดแก เสน ทางเชียงของ-บอแกว ล และรอลงนาม ความตกลงว า ด ว ยการอํ า นวยความ สะดวกผูโดยสารขามแดน เสนทางเดินรถ ไทย-ลาว-จีน ณ จุดผานแดนเชียงของหวยทราย และบอเต็น-โมฮาน ระหวาง กระทรวงคมนาคมของไทย และกระทรวง คมนาคม สปป.ลาว ตอไป
IN LAND
IN SIGHT
โดย : ตามรอยพอ
ั รั าน าน รั ั มา พ ั ัมน รั ราย าน ามเ น นน มนา ม น า น นเ ม เ ม นเ ม ยม ามร ยพ ย ัพเ า าร ยา เน Inland Insight ฉบับนี้ ขอเริ่มที่ขาวของสะพานมิตรภาพแหงที่ 4 (เชียงของ-หวยทราย) จังหวัดเชียงราย ทีก่ อ นหนานีม้ กี าํ หนดการทีจ่ ะเปดใหใช บริการในเดือน มิ.ย. 2556 นี้ JJ แต ลาสุดแหลงขาวจากกรมทางหลวง เปด เผยวา จากการประเมินลาสุดคาดวาจะ ตองใชเวลากอสรางอีกประมาณ 2-3 เดือนจึงจะแลวเสร็จ ในขณะที่สัญญา ก อ สร า งจะสิ้ น สุ ด ในเดื อ นมิ ถุ น ายน 2556 นี้ ซึ่งกรมทางหลวง จะไมมีการ ขยายสัญญาใหผูรับเหมาอีก เนื่องจาก
ชัชวาลย บ เจริ กิจ
วั นา ัทรชนม
ก อ นหน า นี้ ไ ด มี ก ารขยายอายุ สั ญ ญา กอสรางออกไปแลว 6 เดือน จากเดิม สัญญากอสรางเริ่มตนวันที่ 11 มิถุนายน 2553-10 ธันวาคม 2555 เปนสิน้ สุดเดือน มิถุนายน 2556 JJ ดังนั้น หากพน กํ า หนดสั ญ ญางานยั ง ไม แ ล ว เสร็ จ ผู รั บ เหมาจะต อ งจ า ยเงิ น ค า ปรั บ ประมาณ วันละ 500,000 บาท จนกวาโครงการ กอสรางจะแลวเสร็จสมบูรณ JJ แต กอนหนานี้ ชัช า ย เ ร อธิบดีกรมทางหลวง หรือ ทล. ระบุวา โครงการจะแลวเสร็จและเปดใชสะพาน อยางเปน ทางการไดในเดือน มิ.ย. 2556 แนนอน JJ ตอกันที่ กรมการขนสงทาง บก จับมือหนวยงานภาครัฐและเอกชนใน
อธิบดีกรมการขนสงทางบก กลาว ต อ อี ก ว า กรมการขนส ง ทางบกยั ง ได ทําความตกลงระหวางไทย-ลาว-เวียดนาม และไทย-กัมพูชา-เวียดนาม เพื่อสงเสริม และสนับสนุนการทองเที่ยว โดยใหสิทธิ ซึ่ ง กั น และกั น ในการขนส ง ผู โ ดยสาร ระหว า งประเทศและไม มี ก ารจํ า กั ด จํานวนรถที่ใชในการขนสงอีกดวย ดังนั้น จึงเปนโอกาสของผูประกอบ การที่ ส นใจประกอบกิ จ การรถโดยสาร เพื่ อ การท อ งเที่ ย วในกลุ ม ประเทศ อาเซียน จะตองศึกษากฎ ระเบียบตางๆ และเรี ย นรู วั ฒ นธรรมความปลอดภั ย ทางถนนของประเทศอาเซี ย น เพื่ อ เตรียมพรอมเขาสู AEC และพัฒนาไปใน ทิศทางที่ถูกตอง สําหรับผูประกอบการ ขนสงที่สนใจสอบถามขอมูลการเดินรถ โดยสารในกลุมอาเซียนไดที่กลุมกิจการ ขนสงระหวางประเทศ 0-2271- 407 หรื อ กลุ ม พั ฒ นาและส ง เสริ ม การขนส ง ผู โ ดยสาร สํ า นั ก การขนส ง ผู โ ดยสาร 0-2271- 503 การจั ด ระเบี ย บ และพั ฒ นารถรั บ ส ง นั ก เรี ย นให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ร ะบบ มาตรฐานความปลอดภัย และสรางความ มัน่ ใจตอผูใ ชบริการ โดย ฒ ั นา พั ร ชนม รองอธิบดีกรมการขนสงทางบก เปดเผยวา กรมการขนสงทางบกไดดําเนิน การออกกฎหมายเพื่อเสริมสรางความ ปลอดภัยของรถโรงเรียนมาอยางตอเนือ่ ง นับตัง้ แตป 2526 เปนตนมา ทัง้ การออก กฎกระทรวงวาดวย ร ร เรยน ตาม กฎหมายวาดวยการขนสงทางบก JJ โดยไดกาํ หนดใหรถโรงเรียน ตองติดแผน ปายพืน้ สีสม สะทอนแสง มีขอ ความ “รถ โรงเรียน” เปนตัวอักษรสีดํา ติดอยูดาน หนาและดานทายของรถใหเห็นชัดเจน สี ของตัวรถตองมีสีเหลืองคาดดํา พรอมมี อุปกรณสวนควบตามที่กําหนด และที่ สํ า คั ญ ผู ขั บ รถโรงเรี ย นต อ งได รั บ ใบ อนุญาตเปนผูขับรถตามกฎหมายวาดวย การขนสงทางบกมาแลวไมนอ ยกวา 3 ป เปนตน ปองกันไวกอ นการแกไข ถูกตอง ทีส่ ดุ แลวครับ...ฉบับนีเ้ นือ้ ทีห่ มดแลว พบ กันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ JJ
กิจกรรม (งานติดตั้งไฟฟาแสงสวางเพื่อ ความปลอดภั ย ) ค า ก อ สร า งประมาณ 2,323 ลานบาท โดยเปนเสนทางที่อยูใน เขตพืน้ ทีท่ ไี่ ดรบั ผลกระทบจากการกอการ ราย ดักซุมโจมตีและลอบวางระเบิด เชน ทางหลวงหมายเลข 4063-4066 (อ.เมือง
ยะลา-อ.รื อ เสาะ) ทางหลวงหมายเลข 4060-416 -4136 (แยกตะโละหะลออ.กะพอ-เทศบาลตําบลตนไทร-บาเจาะสนามบินบานทอน) เปนตน สวนกรม ทางหลวงชนบทเสนอกอสราง, พัฒนา ปรับปรุงถนนและติดตั้งสิ่งอํานวยความ สะดวก วงเงินรวม 6,451 ลานบาท ซึ่งที่ ประชุมไดใหปรับลดโครงการลง โดยจัด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ เร ง ด ว นทํ า ให เ หลื อ วงเงินลงทุนประมาณ 2,500 ลานบาท ในสวนขอเสนอของหอการคา ใน พื้ น ที่ ใ นการขยายโครงการรถไฟทางคู จากหาดใหญ-สุไหงโก-ลก วงเงินลงทุน ประมาณ 20,000 ลานบาทนั้น ทาง รมว. คมนาคม ได ม อบหมายให สํ า นั ก งาน นโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ศึกษาความตองการดานการขนสง ผูโ ดยสารและสินคาเพิม่ เติม เนือ่ งจากเห็น วาเสนทางเดีย่ วในปจจุบนั ยังรองรับความ ตองการไดเพียงพอ กอนหนานี้ ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม กลาววา โครงการเรงดวนทีส่ ดุ คือการปรับปรุงถนน เขาพื้นที่ตางๆ เพื่อหลีกเลี่ยงพื้นที่ปญหา และเพิ่ ม ทางเลื อ กในการเดิ น ทางให
สัง สน . ก านํารถ คมนาคม สั่ ง ศึ ก ษาแผนพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง ท า เรื อ 11 แห ง ในแม นํ้ า เจาพระยา รองรับการเดินทางเชือ่ มตอกับ รถไฟฟา (เรือตอรถไฟฟา) ที่จะเปดให บริการในอนาคต ผุดไอเดียรถไฟราง (รถ tram line) มอบ สนข. ดูความเปนไปได เชื่อมทาเรือกับสถานีรถไฟฟา นายประเ ร ั น รร รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงคมนาคม เป ด เผยว า ได ม อบหมายให สํ า นั ก งาน นโยบายและแผนการขนสงและจราจร หรือ สนข. และกรมเจาทา หรือ จท. รวมศึกษารายละเอียดโครงการพัฒนา ทาเรือในแมนาํ้ เจาพระยาจํานวน 11 แหง เพื่ อ เชื่ อ มโยงการเดิ น ทางกั บ โครงการ รถไฟฟาทีจ่ ะเปดใหบริการในอนาคต เชน
เชอมเรอ อรถไ า
โครงการรถไฟฟาสายสีมวง (บางใหญบางซื่อ) เปนตน โดยใหสรุปแผนภายใน 60 วัน “ขณะนี้มีทาเรือทั้งหมด 11 ทา ที่ จะเปนโครงขายสามารถเชื่อมตอสถานี รถไฟฟาไดในอนาคต โดยจะตองศึกษา ขอมูลที่เกี่ยวของใหรอบดาน ทั้งเรื่องงบ ประมาณลงทุน, ระยะเวลาดําเนินการ, พื้นที่หลังทา ขอจํากัด และขอกฎหมาย ตางๆ ที่เกี่ยวของ เมื่อไดรวบรวมขอมูล ทั้งหมดเสร็จแลวจะตองนํามาหารือกัน ใหมอีกครั้ง อยางไรก็ตาม ปญหาที่พบใน ขณะนี้ ห ากจะมี ก ารเชื่ อ มโยงระหว า ง รถไฟฟา กับทาเรือก็คอื การใหบริการเรือ่ ง ของรถสาธารณะที่ ยั ง ไม เ พี ย งพอ ซึ่ ง บางจุดยังพบความไมสะดวก ทั้งนี้ คาดวา
สังคม โดย : หงสแดง
ั รั าน าน รั ั มา พ ัน รั ั ัมน ั มยาน ยน ยม เ าพ าเปน มา ั า รา าม เ น น ร ยน น า เ มร ั ั นเรมเ น ม า า เป ยน ป ยรั า าพ ยนะ รั ,, ั ัย ัน รา ร ผูจัดการทั่วไป โรลส-รอยซ มอเตอร คารส แบงคอก กลาวเกี่ยวกับ การรั บ รางวั ล ในครั้ ง นี้ ว า “รางวั ล อั น ทรงเกี ย รติ นี้ เ ป น เครื่ อ งยื น ยั น ถึ ง ความมุงมั่นทุมเทของเราที่มีตอแบรนด สิ น ค า หรู ร ะดั บ แนวหน า ด ว ยการที่ เปนหนึ่งในโชวรูมที่ใหญที่สุดในเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใต การดํ า เนิ น งาน ของเราไดรับการดูแลใหสามารถมอบ บริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพแก ลู ก ค า ของเรา
ประชาชน เชน กรมทางหลวง มีแผนจะ ขยายถนนจากยะลา-เบตง จาก 2 ชอง เปน 4 ชองจราจร สวน รฟท. ใหทบทวนความจําเปน ดานยุทธศาสตรของพื้นที่ภาคใตในการ กอสรางรถไฟทางคูจากหาดใหญ-ยะลา เนื่องจากปริมาณการเดินทางกับความจุ ของทางเดี่ยวในปจจุบันยังเพียงพอ สวน ทางนํ้ า ให ศึ ก ษาความต อ งการแหล ง อุตสาหกรรมในพื้นที่ ดานการสงออกสินคาทางเรือจาก ภาคใตมายังทาเรือกรุงเทพ และทาเรือ แหลมฉบัง สวนทางอากาศนั้น จะมีการ ปรับปรุงขยายทาอากาศยานเบตง และ นราธิวาส เพื่ออํานวยความสะดวกและ ปลอดภัยสําหรับผูแ สวงบุญเดินทางไปประ กอบพิธีฮัจญ “สาเหตุ ก ารก อ เหตุ ค วามสงบใน พื้ น ที่ ภ าคใต จ ะใช ร ถจั ก รยานยนต ห รื อ รถยนตที่ขโมยมาดําเนินการ ซึ่งมีแนวคิด ในการนําระบบ RFID ติดกับรถที่ผานเขา ออกพื้นที่ เพื่อระบุตัวตนและติดตามได อยางชัดเจนขึ้น แตจะหารือกับหนวยงาน ที่เกี่ยวของเพื่อพิจารณาความเปนไปได กอน” รมว.คมนาคม กลาว
ัตวิทัย ตันตรา ร ริชารด เจ เครเมอร
เมื่อลูกคาสั่งซื้อรถยนตโรลส-รอยซ อีกทั้ง ในสวนศูนยบริการที่ไดมาตรฐานของเรา ยังไดรับการสนับสนุนอยางดีจากโรงงาน ผลิตรถยนตโรลส-รอยซที่กูดวูด ประเทศ อังกฤษ และพรอมไปดวยเครื่องมือและ เทคโนโลยีอันทันสมัยเพื่อมอบบริการที่ดี ที่สุดแกลูกคา นอกจากโชวรูมบนถนน พระราม 3 แลว เรายังหวังเปนอยางยิ่ง วาจะไดทําการเปดโรลส-รอยซ บูติคแหง แรกในเอเชีย ณ ศูนยการคาสยามพารา กอน ในเดือนพฤษภาคมนี้” ,, รชาร เ เ รเม ร ประธานกรรมการและ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร เป ด เผยว า “แมวาเศรษฐกิจโดยรวมจะอยูในภาวะ ชะลอตัว แตกูดเยียรยังคงมีกําไรที่เติบโต
ในตนปหนาจะตองเห็นบางทาเรือที่เกิด เปนรูปธรรมได อยางทาเรือสาทรทีจ่ ะเปน ทาเรือนํารองได” นายประเสริฐ กลาว นอกจากนี้ ยั ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะให สนข. ศึกษาความเปนไปได กรณีที่จะนํา รถ tram line หรือเสนทางเดินรถไฟราง มาใหบริการเพื่อเชื่อมตอระหวางสถานี รถไฟฟากับทาเรือ ซึ่งจะเปนการอํานวย ความสะดวกในการเดินทางของประชาชน อย า งไรก็ ต าม สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร จะตองศึกษาวา ผู ป ระกอบการได รั บ ผลกระทบหรื อ ไม และเรื่องของงบประมาณวามีมูลคาลงทุน อยางไร ซึ่งประเทศที่ใชลักษณะรถ tram line เชื่อมตอนั้นก็จะมีประเทศออสเตรีย ที่ดําเนินการอยู ขึ้นในไตรมาสแรกของปนี้ ตอกยํ้าการ บรรลุเปาหมายเชิงกลยุทธที่มุงพัฒนา ประสิทธิภาพการผลิตและจําหนายยาง รถยนตที่โดดเดนดานนวัตกรรม เพื่อ ตอบโจทยความตองการของกลุมลูกคา และสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ให แ ก แ บรนด โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในตลาดอเมริ ก า เหนือ ซึ่งกู ดเยียรมีผลประกอบการสูง กวาที่คาดการณไวอยางตอเนื่อง ,, บริ ษั ท มาสด า เซลส (ประเทศไทย) จํากัด จัดกิจกรรมสานความสัมพันธเพื่อ เป น การขอบคุ ณ ลู ก ค า ครั้ ง ยิ่ ง ใหญ ประสานความรวมมือกับมาสดา ราชา ออโต เซลส และมาสด า เอกสหกรุ ป มอเตอร 2 ดีลเลอรรายใหญที่คูเมืองยา โมมายาวนาน นําขบวนรถปกอัพมาสดา บีที-50 กวา 70 คัน เขารวมการแขงขัน แฟมิ ลี่ แรลลี่ ภายชื่ อ งาน “ OOMOOM Rally BT-50 Family Day” ดวยเสนทางสายธรรมชาติอันเขียวขจี จากตัวเมืองโคราชมุงหนาสูเขาใหญที่ อุดมไปดวยความสมบูรณของธรรมชาติ... จบขาว สวัสดีครับ ,,
ตอ าวหนา
สัม า พิเ หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
STE นวัตกรรมลํา้ สมัย กู ออกแบบมาเพอยกระดับความสขตลอด การเดินทางใหแกผูโดยสาร ทั้งมาตร านความปลอดภัย และสรางสสันให ผูโดยสารไดเดินทางแบบไมรูเบอ ะดูหนัง งเพลง เลนเกมส ชอปปงของ าก สัง องทพักและอาหาร ไดเพยงปลายนิว้ สัมผัสหนา อ พรอมเปดตัวใน ประเทศไทยดวยแคมเป ใหเปนเ า ของไดเพยง 1 บาทตอวันตอ อ พรอม เตรยมกาวเขาสูประชาคมอาเ ยนในอก 2 ปขางหนา นายร ร น เ มั น ประธานกรรมการ บริษัท เพาวเวอร โกลดิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา เร็ ว ๆ นี้ บ ริ ษั ท จะทํ า การเป ด ตั ว นวั ต กรรมอัจฉริยะกาวลํา้ เขาสูย คุ 4G ลาสุด ของเมืองไทย ภายใตชอื่ “STEP” เครือ่ ง มือสําคัญที่จะปฏิวัติปรับโฉมการเดิน ทางบนรถบัส/รถทัวร ของคนไทยในรูป แบบใหมลาํ้ สมัย เพราะ STEP คือ Business Intelligent เครื่องมือสรางสรรค พัฒนาระบบดวยแนวคิดที่ตองการยก ระดับภาพลักษณและคุณภาพการเดิน ทางสูระดับสากล ดวยการเพิ่มความ พึงพอใจของผูใชบริการใหมีมากขึ้นทั้ง
ม เดน น ตอ า หนา... 1 ารประ า เป ประเ พมา ร เมยนมาร เ น ยา ร เร าย ารนา นายเ เ ประ านา เ ม นปรา าร ป าช นา ะ รา าม น า น า ายประเ ารเป ประเ ั า าม าเป น น าร น ร รา พน านเ นมา มาย น นนัน ระ ร มนา ม พมา พร มเ นเ ร ยม า ร าร าน า นาย รั น นั ร ปาน ผูจ ดั การ การขนสงสินคาผานแดน บริษัท KWEKintetsu World E ress (Thailand) Co., td, เปดเผยกับ TRANSPORT วา จากการที่ พ ม า ประกาศเดิ น หน า ระบบ โทรคมนาคมภายในประเทศ ซึ่งมีมูลคา โครงการกวา 45,000 ลานบาท โดยการ ปฏิรปู ระบบโทรคมนาคมของประเทศพมา ในครัง้ นีไ้ ดรบั ความสนใจจากนักลงทุนตาง ชาติเปนอยางมาก โดยเฉพาะบริษทั ลงทุน จากยุโรป อเมริกา จีน ไทย สิงคโปร และ ญี่ปุน เขาไปลงทุน
เรือ่ งความปลอดภัย พรอมสิง่ อํานวยความ สะดวก ความสุข ความบันเทิง การซือ้ ขาย สินคา การติดตามอัพเทรนด การวางแผน การทองเที่ยวทุกจังหวัด การจองตัว จอง ที่พัก สั่งอาหาร หรือแมกระทั่งผลสํารวจ ความคิดเห็นตางๆ สามารถทําผานหนาจอ Terminal สวนบุคคลบนรถบัสที่ติดตั้ง “STEP” ไดตลอดการเดินทางจากจุดเริ่ม ตนจนถึงที่หมาย ผูโดยสารจะไมนั่งเบื่อ นานๆ บนรถอีกตอไป ซึ่งประเทศไทยจะเป น ศู น ย ก ลาง ประชาคมอาเซียนเปนการรองรับตลาดที่ ใหญขึ้นโดยเฉพาะตลาดนักเดินทาง ทั้ง ทางบกและทางอากาศ รวมถึงการเพิ่ม
และจากโครงการดังกลาว สงผลให มีการจัดทําระบบโลจิสติกสเกิดขึน้ ซึง่ พมา ไมมีความถนัดในการทําระบบ ไมวาจะ เปนเรือ่ งการทําแวรเฮาส การจัดการสินคา คงคลัง และการสงของเพือ่ นําไปประกอบ แตละจุดของโครงการโทรคมนาคม ทีต่ อ ง ตรงเวลา ปลอดภัย และไมเสียหาย จึงได มีการทาบทามบริษัทโลจิสติกสของไทย ซึ่งถือวาเปนโอกาสของบริษัทไทยที่จะ เขาไปทําระบบดังกลาว “ถาบริษทั ไหนทีม่ คี วามพรอมนาจะ เขาไป สิง่ แรกทีจ่ าํ เปนตองมี คือ แวรเฮาส ผูจ ดั การทีเ่ ปนคนไทย 1 คน ซุปเปอรไวเซอร ในการบริหารจัดการ ขั้นตอมา คือ การ อบรมคนของเขาใหทาํ เรือ่ งแวรเฮาสได แลว ที่บริษัทที่ประมูลงานไดเขาจะดูวาพมามี สิ่งอํานวยความสะดวกหรือไม ระบบมี ความพรอมหรือไม ซึ่งพมาตองอางอิงถึง ระบบของไทย เพื่อสรางความมั่นใจ ถา ระบบของพมาจัดการเองเขาไมมีความ มัน่ ใจ เพราะพมาไมมรี ะบบ จึงเปนโอกาส ของโลจิสติสกไทย การทีพ่ มาใหความสนใจ ไทย เนือ่ งจากเขามีความคุน เคยกับเรา และ เขามีความมั่นใจเรื่องการทําระบบโลจิส ติกส ถาพมาใชบริษทั ในประเทศของเขาวาง ระบบโลจิสติกส ไมสามารถสรางความเชือ่ มั่นจากตางชาติที่เขามาลงทุนได” นาย สุรตั น กลาวและวา เรือ่ งนีเ้ ปนเรือ่ งใหม เปน
เ ดงาน : นาวาอากาศเอกอนุดิษ นาครทรรพ รมว.ไอซีที ใหเกียรติเปนประธานในการกลาว เปดงานสัมมนา “Symantec o ernment Symposium 2013” จัดโดยไซแมนเทค ดวยการ สนับสนุนจากสํานักงานพั นาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) และสํานักงานรั บาล อิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) ณ โรงแรมสยาม เคมปนสกี้ กรุงเทพ
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556 ช อ งทางการหารายได จ ากปริ มาณผู ใช บริการที่เพิ่มขึ้นดวยการเพิ่มมูลคาจาก Feature ตางๆ จากเทคโนโลยีใหมๆ ใน การชวยเพิม่ ความสะดวกสบาย, เพิม่ ความ บันเทิงใหแกผใู ชบริการทัง้ ยังเพิม่ ขีดความ สามารถในการสรางรายได ดวยบริการ สั่งซื้อของออนไลน เปนตน แนวทางการทําตลาดระยะแรกมุง เนนไปที่ผูประกอบการรถบัสในประเทศ 0% ของตลาดยานยนต โดยในสวนของ รถไฟ, Hi s eed Train, เครื่องบิน, เรือ, รถแวน, รถตู , เรื อ เฟอร รี่ , เรื อ ครุ ย ส (Mar et Trans ort) สามารถติ ด ตั้ ง “STEP” ไดทั้งหมด และเพื่อใหผูสนใจใน ลําดับตนๆ ถูกจดจําจากผูใชบริการ และ ยกระดั บ การให บ ริ ก ารด ว ยการติ ด ตั้ ง
แบบ A solute Solution คือทั้งตัวรถ และระบบแบบครบวงจรในหนึ่งเดียวโดย วางแผนภายใน 3 ปแรกจะทําตลาดกับ กลุ ม ประเทศอาเซี ย น 6 ได แ ก จี น , เกาหลี, ญี่ปุน อินเดีย, นิวซีแลนด และ ออสเตเรีย จากนั้นจะกาวไปสู International เชน ตะวันออกกลาง ยุโรป โดยทีม การตลาดจะเริ่มบุกตลาดตนป 2557 เริ่ม จากประเทศไทยเป น ประเทศแรกใน อาเซียน ตามดวยกัมพูชา ลาว และยุโรป (ขณะนีอ้ ยูร ะหวางทําขอมูล เชน สาธารณ รัฐเช็ก ซึ่งเปนประเทศที่มีรถวิ่งจํานวน มาก) สเต็ป “STEP” ถูกพัฒนาออกแบบ ขึ้นเพื่อรองรับฟงกชั่น ที่ครอบคลุมทุก กิจกรรมขณะเดินทาง ตั้งแตการจําหนาย
ร โร
ม
มุงเนนไปที่ 2 กลุมเปาหมายหลัก ไดแก กลุมเจาของกิจการยานยนต ดวยการให คํามั่นสัญญาในการยกระดับมาตรฐานรถ ทัวรไทยใหมปี ระสิทธิภาพ Performance of Ste , การดูแลความปลอดภัยใหกับผู ใชบริการและคนขับ, เปน One Sto Service ในอนาคต และการตอยอดทาง ธุรกิจใหกับผูติดตั้ง “STEP” สามารถเปน เจาของไดไมยากสําหรับผูประกอบการ ทางบริษัทมีทั้งขายและระบบผอน ผูประกอบการขนาดเล็กมีรถ ไมเยอะหรือสนใจ Volume เล็ก (ขายขาด) ผูป ระกอบ การรายใหญมีรถจํานวน มาก Volume สูงบริษัทมี ระบบเชา เพื่อกระตุนการ
A7
ตัดสินใจไดงาย (เรียกวาการเชาซื้อแบบ ไมเปนเจาของ)และกลุมผูบริโภคหรือ ผูใชบริการเปนครั้งแรกของการปฏิวัติ ปรับโฉม ยกระดับความบันเทิงในการ เดิ น ทาง ส ง ผลต อ การเปลี่ ย นแปลง ไลฟสไตล ข องผู โ ดยสารให ไ ด สั ม ผั ส ประสบการณ ใ หม พ ร อ มกั บ ความ เพลิดเพลินแบบไมมสี ะดุด เชน ไมมเี สียง รบกวน รวมถึ ง ความปลอดภั ย ด ว ย เทคโนโลยี ต รวจสภาพรถ และ อุปกรณพิเศษตรวจเช็คคนขับ ขณะขับรถวามีความพรอม หรือไมในการปฏิบัติงาน เปนตน
ก
‘STEP’ นวัตกรรมอัจฉริยะ เพื่อนเดินทาง
มัลติมีเดีย อินโฟเทนเมนท เพื่อสรางภาพ ลักษณใหบริษัททันสมัยกาวลํ้ากอนใคร ดวยเงื่อนไขพิเศษสุด “ดับเบิ้ลโปรโมชั่น” ปกติตองจาย 100% แตในชวงแรกของ การทําตลาดมีเงื่อนไขใหเจาของกิจการ รถบัสสามารถติดตั้ง “STEP” ไดงายมาก ด ว ยรู ป แบบเช า แค มี เ งิ น มั ด จํ า เพี ย ง 100,000 บาท สามารถจายคาเชา 15 บาทตอจอตอวันตอหนึ่งเดือน สัญญาเชา 4 เดือน หรือ 4 ป รับประกันระบบ ทั้งหมดตลอดระยะการใชงาน และมีสวน หนึง่ เปนรายไดชดเชยคืนใหผใู ช ซึง่ เปนอีก การลงทุนในการชวยยกระดับสรางภาพ ลักษณ เพิ่มรายไดใหไดเปรียบคูแขงขัน ครั้งแรกของเมืองไทย สําหรับแผนงานธุรกิจเพื่อกาวเขา ประชาคมอาเซียนในอีก 2 ปขา งหนา แบง ออกเปน 2 สวนหลัก ไดแก ธุรกิจ Hardare Solution คือ เฉพาะสวนระบบและ หนาจอของ “STEP” ทัง้ รถใหมและรถเกา สามารถติดตั้งไดและอีกสวน คือ ธุรกิจ
ตัวโดยสารที่นั่ง การซื้อขาย สงสินคา การ บริการดาวนโหลด ภาพยนตร เกมส เพลง สิ่งตางๆ เหลานี้กระทําผานหนาจอ Terminal สวนบุคคลและระบบซอฟตแวร อัจฉริยะ STEP System ผานการ สงสัญญาณดวยเทคโนโลยีลิขสิทธิจาก ประเทศเยอรมนี เทคโนโลยี โ ครงข า ย มั ล ติ มี เ ดี ย ความเร็ ว สู ง ส ง ข อ มู ล ผ า น ไฟเบอรออพติก ทําใหสามารถสงขอมูล ขนาดใหญไดอยางรวดเร็ว และไมเกิดการ รบกวนหรือสะดุดแตอยางใด หรือเรียกวา สัญญาณสะอาด ปราศจากสนามแมเหล็ก จึงไมสงผลกระทบตออุปกรณไฟฟา และ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ข องยานยนต ทั้ ง หมด เหมาะสําหรับติดตั้งใชงานในระบบยาน ยนต รถไฟ และเครื่องบิน ล จาก ประสิ ท ธิ ภ าพดั ง กล า ว จึ ง นํ า มาสู ก าร พัฒนาใหเปนรูปแบบ Infotainment นวัตกรรม “STEP” มีการพัฒนา มาอยางตอเนื่อง ดวยงบประมาณรวม ฮารดแวรทงั้ หมดมากกวา 1,000 ลานบาท
โอกาสที่บริษัทโลจิสติกสไทยนาจะเขาไป เพราะสวนแบงของโลจิสติกส มีประมาณ 30% ของมูลคาโครงการ สํ า หรั บ บริ ษั ท ที่ จ ะเข า ไปรั บ งาน ดังกลาว ตองมีความแข็งแกรงเรื่องเงินทุน มีความชํานาญในการวางระบบโลจิสติกส รวมถึ ง ความน า ถื อ ถื อ ของบริ ษั ท ถ า พิจารณาแลวมีคุณสมบัติเหลานี้ ถือวามี โอกาสมาก แตถา บริษทั ใดทีเ่ งินทุนไมมาก พอก็สามารถเขาไปรับงานตออีกทีหนึ่ง เชน ในเรื่องของขนสง เปนตน นายสุรัตน กลาวถึงโลจิสติกสของ พมา วา เปนเรื่องใหมที่เพิ่งตื่นตัวและให ความสนใจ ยังไมมบี คุ ลากรทีม่ คี วามรูด า น นี้ ลาสุด มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดเปด หลั ก สู ต รโลจิ ส ติ ก ส เ กี่ ย วกั บ การบริ ห าร จัดการ ทีก่ รุงยางกุง ซึง่ ไดรบั ความสนใจเปน อยางดี สําหรับการฝกอบรมบุคลากรดาน โลจิสติกส ปจจุบันพมาไดสงบุคลากรไป อบรมทีม่ าเลเซีย สิงคโปร และไทย เปนตน ซึ่งเรื่องนี้ถือวาเปนโอกาสของคนไทยที่มี ความเชี่ยวชาญในการเขาไปทํางาน ดาน โลจิสติกสเมือ่ เปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สําหรับผูป ระกอบการโลจิสติกสของ ไทย ขณะนีใ้ หความสนใจการลงทุนทีพ่ มา หลายบริษัท แตยังพิจารณารายละเอียด ในการทําธุรกิจ รวมทัง้ ปญหาและอุปสรรค ตางๆ ขณะนีบ้ ริษทั ทีไ่ ดเขาไปอยางเต็มตัว เทาทีท่ ราบ คือ บริษทั บลูแอนดไวท โลจิส ติกส จํากัด ที่เขาทําไปธุรกิจดานแวรเฮาส และการขนสง โดยไดรวมมือกับหุนสวนที่ เปนคนพมา “การเขาไปทําธุรกิจในพมา ตองหา พันธมิตรที่เปนนักธุรกิจจริงๆ อยาเขาไป ติดตอกลุม อิทธิพล ไมวา จะเปนทหาร หรือ นักการเมือง ที่อางวาชวยได เพราะทาย ที่สุดจะถูกโกงได เพราะเขาเหลานั้นทํา ธุรกิจไมเปน สามารถชวยไดแคเรือ่ งไลเซนส สํ า หรั บ อุ ป สรรคในการทํ า ธุ ร กิ จ ในพม า ไดแก กฎระเบียบตางๆ ทีย่ งั ไมชดั เจน แต คาดวาระยะหนึง่ มีการปรับตัว สวนคาเชา คือเรือ่ งหนึง่ ทีเ่ ปนอุปสรรค เพราะยอมรับ
วาราคาแพงมาก แตเรือ่ งนีม้ ที างออก ถามี หุนสวนในการทําธุรกิจก็สามารถใชที่ดิน ของเขาได” นายสุรตั น กลาว
ทีเอมบี ตอ า หนา... 1 สถาบันไทยและกลุมผูลงทุนรายใหญ ซึ่ง เปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จในการจัด จําหนายพันธบัตรครั้งนี้ และการเปนผูจัด จําหนายพันธบัตรในครั้งนี้ ยังสะทอนถึง ความมุงมั่นของทีเอ็มบีในการมีสวนรวม เสริมสรางความแข็งแกรงทางการเงินให แกประเทศสมาชิกของภูมภิ าคนีเ้ พือ่ ความ เติบโตอยางมั่นคง การออกพันธบัตรสกุลเงินบาทของ กระทรวงการเงิน สปป.ลาว ครัง้ นีไ้ ดรบั การ ตอบรับทีด่ จี ากนักลงทุน ในชวงสํารวจความ ตองการซื้อหลักทรัพยพบวามีคําสั่งซื้อเขา มากวา 4,000 ลานบาท สูงกวามูลคาทีต่ งั้ ใจ ไวถึง 2.7 เทา กลุมนักลงทุนที่ใหความ สนใจมีหลากหลาย ไดแก นักลงทุนสถาบัน ของไทย บรรษัทไทย ผูล งทุนรายใหญ และ องคกรที่เชื่อมโยงกับภาครัฐของไทย กระทรวงการเงินแหงสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) ในฐานะหนวยงานระดมทุนของรัฐบาล สปป.ลาว ประสบความสําเร็จกับการออก พันธบัตรมูลคา 1,500 ลานบาท (ประมาณ 50 ลานดอลลารสหรัฐ) เปนสกุลเงินบาท ระยะเวลาไถถอน 3 ป และอัตราดอกเบี้ย 4.5% ต อ ป เสนอขายให แ ก นั ก ลงทุ น สถาบันและกลุมนักลงทุนรายใหญ ความ สําเร็จในการออกพันธบัตรครั้งนี้ตอกยํ้า ศักยภาพความแข็งแกรงของรัฐบาล สปป. ลาว ในฐานะผูออกพันธบัตรในตลาดเงิน ตลาดทุนภายในภูมิภาคเอเชียที่เชื่อมโยง รวมตัวกันมากขึ้น กระทรวงการเงิน สปป.ลาว ไดรับ อนุมตั ใิ หออกพันธบัตรสกุลเงินบาท มูลคา 1,500 ลานบาท จากกระทรวงการคลังของ
นวน า ขอ กอ รร า ิการ นส . รานส อร เจอรนัล 1. มเอาเ ร ม กหก ม ก อ าก า 2. หาก า นส . ม มการ า ระชาสัม ัน จะ มขอสนั สนน า เ ขา น จจ นั มหนั สอเกิ หม น ลา า รา ขา จรร า รร น การ ระกอ วิชาช จั ิม ม มการวา จาหนา าม ิม หนั สอเ เ อเก เ ิน หรอเ อวา ิลกั ลูกคาเ านั้น ะนั้นกอน หนว านหรออ คกร จะล าควร รวจสอ ห นชั เ อ ล ระ ชนขอ าน ั้ น้ า กอ รร า ิการ นส . รานส อร เจอรนัล ั ค นห ั นการ า รกิจ จะ มัน นจรร า รร ห วิชาช เคร ครั
ว ความ ราร นา จาก นส . TRANSPORT JOURNAL
ไทยเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2555 นับเปน รัฐบาลตางชาติประเทศแรกที่ไดรับอนุมัติ ใหออกพันธบัตรดังกลาว การออกพันธบัตร ครั้งนี้ยังไดรับยกเวนในดานการจัดอันดับ ความน า เชื่ อ ถื อ ซึ่ ง เป น ข อ กํ า หนดโดย กระทรวงการคลั ง ของไทยในการออก พันธบัตรหรือหุน กูข องนิตบิ คุ คลทัว่ ไป ทัง้ นี้ เนื่องจากกระทรวงการเงิน สปป.ลาว มี คุ ณ สมบั ติ เ ที ย บเท า องค ก รภาครั ฐ ต า ง ประเทศ ภายใตรฐั บาล สปป.ลาว สําหรับ เงินทุนทีร่ ะดมจากการออกพันธบัตรครัง้ นี้ จะนํ า ไปใช เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค ทั่ ว ไปตาม บทบาทหนาที่ของกระทรวงการเงิน อาทิ โครงการลงทุนตางๆ ของรัฐบาล สปป.ลาว มาดามทิพากอน จันทะวงสา อธิบดี กรมการเงินระหวางประเทศ กระทรวง การเงิ น สปป.ลาว ในฐานะตั ว แทน กระทรวง กลาววา รูสึกพอใจกับการออก พันธบัตรครั้งสําคัญนี้เปนอยางยิ่ง ดวย เหตุผลหลายประการ นับเปนครั้งแรกที่ ผูออกพันธบัตรที่เปนรัฐบาลตางประเทศ เขามาใชศักยภาพของตลาดพันธบัตรไทย
ใหเกิดประโยชน และการดําเนินงานเปน ไปโดยราบรื่น และที่สําคัญที่สุด รัฐบาล สปป.ลาว ไดมโี อกาสเขามาเปดตัวในตลาด การลงทุนของไทย และเตรียมพรอมกาว ไปสู ก ารรวมตั ว กั น ของตลาดทุ น ระดั บ ภูมภิ าค จากการทีป่ ระเทศสมาชิกอาเซียน กําลังคืบหนาไปสูเ ปาหมายการรวมตัวของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นายอดิศร สิงหสัจจะ ผูกอตั้ง และ กรรมการผูจัดการ บริษัท ทวินไพน คอน ซั ล ติ้ ง จํ า กั ด ในฐานะบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษา ทางการเงิน กลาววา การออกพันธบัตร ครั้งนี้เปนกาวแรกไปสูการรวมตัวกันของ ตลาดทุนในกลุมประเทศอาเซียน รัฐบาล สปป.ลาว ประสบความสําเร็จในการเปน แบบอย า งที่ ดี สํ า หรั บ รั ฐ บาลอื่ น ๆ ใน อาเซียนที่ตองการระดมทุนโดยการออก พันธบัตรจัดจําหนายในตลาดตราสารหนี้ ไทย นอกจากนี้ ยั ง แสดงให เ ห็ น ถึ ง ศักยภาพและพัฒนาการของตลาดทุนไทย ตลอดจนความพรอมที่จะขึ้นมาเปนผูนํา ตลาดทุนในภูมิภาค
สถิติการขายรถยนต ในป 2555 ยอ ายป 2555
- รถ ร - รถ ร
A8
- ปริมา าร ายรวม - รถยนตนั่ง - รถเพื่อ ารพา ิ ย ตัน รวมรถ ร ั ปลง ตัน มรวมรถ ร ั ปลง
36 335 62 6 63 5 666 6 592 25
ัน นั นั นั นั
เปลี่ยน ปลง เทีย ั ป 255 9 66 62 22 หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
รบท ลด งออ บ น ระเท
อต ยานยนตไทย ดด าทแ หลัง ากชนมนกับตัวเลขยอดการผลิตร ยนตทเกินกวา 2 ลานคัน ในป 2 ทผานมา นทําใหมการคาดการ กันวาในป 2 น้ ประเทศไทยนา ะมยอดการผลิตร ยนตเพิมข้นไป ง 2 ลานคัน เปน อยางนอย หรอมากทสดกประมา 2 ลานคัน ทําเอาคนในแวดวง อตสาหกรรมยานยนตและรั บาลเคลิ้มไปกับตัวเลขประมา การกัน เลยทเดยว แตลา สุดสถานการณกาํ ลังเปลีย่ นไป เมื่ อ เงิ น บาทแข็ ง ค า ขึ้ น อย า งมากตั้ ง แต ปลายเดือนเมษายนทีผ่ า นมา ทําใหสง ผลก ระทบถึงบริษทั ผูผ ลิตรถยนต รวมถึงบริษทั ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตดวย เรื่องนี้หาก รัฐบาลไมรีบหามาตรการสกัดกั้นโดยเร็ว อาจจะทําใหตัวเลขการผลิตรถยนตที่ฝน หวานกันไวเมื่อปลายปอาจเปนแคฝนไป จริงๆ ก็เปนได สําหรับกรณีเงินบาทแข็งคาขึ้นนั้น นายพย ั ชา ประธานสภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) กลาววา ส.อ.ท. ไดรายงานตอทีป่ ระชุมวา คาเงินบาทที่แข็งคาไดสงผลกระทบตอ ซั พ พลายเชนของอุ ต สาหกรรม เช น อุตสาหกรรมยานยนตที่ไดรับผลกระทบ จากเดิมทีค่ าดวาจะไมไดรบั ผลกระทบมาก นั้น มองวาหากคาเงินบาทมีเสถียรภาพ และเศรษฐกิจขยายตัวไดดีจะทําใหการ ผลิตยานยนตปน มี้ ากกวา 2.5 ลานคัน โดย ร ั
รเพชร ั าน ารา าน ั ป น น รรม ั นเปนประ า ยา เพ เปน าร
เ
าั ร ประ า า ัมพัน เน ป า ะ
เ รม าร เ ย า ร ยน นรป ารา าน ประชา ม ั า ร ยเปนประ า ป ประเ ม าม น ั เน า ร ป ยเ น า า ระ เปน ั ั ชาย น าน ะ ัน น น ประเ ะป น ั ั ะเช เ รา ยเ น า เ ม ป ย าน เ ย นา น ั า ประ ั า ร ะ า รรมชา “อีซูซุคาราวานสัญจร” ประจําป 2556 เสนทางที่ 1 สระแกว-ฉะเชิงเทรา ไดรับเกียรติจากนายวาย โยชิดะ รอง ผูจัดการทั่วไป บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส
เอกชนภายในตัง้ เปาหมายไวที่ 2. ลานคัน จะสงผลใหจีดีพีขยายตัวไดมากกวา 5% ขณะเดียวกัน การหารือกับรัฐบาลเปนการ ยํ้าถึงแนวทางการดูแลคาเงินบาทวาตอง รวมมือกัน ทําใหคาเงินบาทมีเสถียรภาพ และดูแลคาเงินบาทใหสอดคลองกับฤดูกาล รับสินคา เพราะหากเงินบาทแข็งคามาก เกินไป สินคาสงออกแพง คูคาก็จะไปสั่ง สินคาจากคูแ ขงแทน โดยเฉพาะขณะนีเ้ ปน หวงเงินบาทเทียบกับเงินเยน เพราะเงินเยน ออนคาลงมาก ทําใหสง ออกไทยเสียเปรียบ สวนเรื่องที่ภาคเอกชนเคยเสนอให กนง. ลดอัตราดอกเบีย้ ลงอีก 1% นัน้ เห็น วา เปนเรื่องของธนาคารแหงประเทศไทย ทีจ่ ะเลือกใชมาตรการดูแลคาเงินบาท มีทงั้ มาตรการเบาไปถึงหนัก ซึ่งดอกเบี้ยเปน เครื่องมือหนึ่ง แตเอกชนจะมองที่ผลลัพธ เปนหลัก หากคาเงินบาทมีเสถียรภาพและ ใกล เ คี ย งกั บ ภู มิ ภ าค สิ น ค า แข ง ขั น ได เอกชนก็พอใจ อยางไรก็ตาม มองวายัง
อ ู
ต อ งมี ก ารหารื อ ร ว มกั น อย า งต อ เนื่ อ ง เพราะขณะนี้ เ ศรษฐกิ จ โลกยั ง มี ค วาม ผันผวนอยู มีแนวโนมชะลอตัวลงจากเดิม ที่คาดการณไวที่ 3.5% มาอยูที่รอยละ 3.3% ดานนางจุรีรัตน สุวรรณวิทยา รอง ผูอํานวยการสถาบันยานยนต เปดเผยวา ปญหาเงินบาทแข็งคา มีผลกระทบกับการ สงออกรถยนต ทําใหบริษัทหลายรายเริ่ม ปรับกระบวนการผลิตใหม จากเดิมที่เนน ตลาดสงออก 70- 0% ก็ลดสัดสวนลงมา เนนตลาดในประเทศมากขึ้น เปน 50% และสงออก 50% ขณะเดียวกัน โรงงาน ประกอบรถยนตบางรายจะจัดหาชิ้นสวน
อินโดนีเซีย เวียดนาม เหมือนอยางผูผลิต ชิ้นสวนขนาดใหญและขนาดกลางจาก ญีป่ นุ ยายฐานผลิตมาไทย เนือ่ งจากคาเงิน เยนในอดีตแข็งมากกวาการแข็งคาของเงิน บาทในปจจุบัน “ไทยยังคงเปนฐานการผลิตรถยนต อันดับ ของโลก และทวีความสําคัญมาก ขึ้นเรื่อยๆ สถาบันยานยนตกําลังจัดทํา แผนยุทธศาสตร อุตสาหกรรมยานยนต ฉบับที่ 3 โดยมีเปาหมายผลักดันใหไทย จะมีกาํ ลังการผลิตรถยนตเปนปละ 5 ลาน คัน ไมเกิน 10 ปนับจากนี้ไป เปนฐานการ ผลิตทีส่ าํ คัญของโลก ไมใชจาํ กัดแคเปนฮับ ของภูมภิ าคอาเซียน นอกจากเปนฐานการ จากตางประเทศ ที่มีตนทุนตํ่ากวา แทน ผลิตรถยนตของโลก ยังเปนฐานหลักของ การจัดซื้อภายในประเทศ ผูผลิตชิ้นสวน ซัพพลายเชนหรือหวงโซอุปทาน ดานชิ้น ไทยจึงควรใชโอกาสที่เงินบาทแข็งคามาก สั่งนําเขาเครื่องจักรใหมๆ ขยายกําลังการ ผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให มากขึน้ ลดตนทุนใหนอ ยลง ขณะเดียวกัน สถาบันยานยนตจะสงเสริมใหผูผลิตชิ้น ส ว นออกไปลงทุ น สร า งโรงงานใหม ใ น ประเทศในกลุม อาเซียนทีม่ ตี น ทุนการผลิต ตํา่ กวา และมีสกุลเงินทีแ่ ข็งคานอยกวาเงิน บาท อยางไรก็ตาม เชื่อวา กลุมผูผลิตชิ้น สวนรายใหญจะไมยายฐานการผลิตออก มาไทยไปยังประเทศเพื่อนบานอื่นๆ ที่ พยายามสรางศักยภาพแขงกับไทย อยาง
สวนยานยนตโลก ที่มีเทคโนโลยีหวงใย สิง่ แวดลอม และเพิม่ ขีดความสามารถและ ศักยภาพของแรงงานพรอมกันไปดวย” เรียกวาสถานการณเงินบาทแข็งคา ขณะนีต้ อ งจับตาดูวา ภาครัฐจะมีมาตรการ แกไขอยางไร แตถาใหมองตอนนี้สภาพ อุ ต สาหกรรมและผู ป ระกอบการโดย เฉพาะค า ยรถยนต เชี ย ร รั ฐ บาลสุ ด ตั ว กันเลยทีเดียว อยูท วี่ า ธนาคารแหงประเทศ ไทย (ธปท.) จะใจแข็งตรึงอัตราดอกเบีย้ ไป ไดนานแคไหน ไมแนวาอุตสาหกรรมยาน ยนตที่แข็งแกรงของไทยที่ใชเวลาสรางมา หลายสิบป อาจจะเจงเพราะความดื้อดึง และ “ทิฐิ” ของคนไมกี่คนใน ธปท. ก็ เปนได สถานการณจากนีต้ อ งบอกวา อยา กะพริบตาครับ
นายพ นั น น า านน กรรมการผูจัดการ บริษัท เบนซ เอ็น.เค. ออรโต อิมพอรต เปดเผยวา ในขณะนีท้ าง บริษัทไดรับสิทธิจากสํานักแตง 4 แบรนด ดังระดับโลกไดแก ชุดแตง Hamann, Piecha, Prior Design และ Caractere โดยทัง้ 4 บริษทั ไดใหสทิ ธิทางเบนซ เอ็น.เค. เปนผูแทนจําหนายอยางเปนทางการใน ประเทศไทย ถือเปนการยกระดับคุณภาพ ในการใหบริการ และเปนการแสดงใหเห็น ถึ ง มาตรฐานของทางบริ ษั ท ที่ เ ป น ที่ ยอมรับจากบริษัทสํานักแตงมาตรฐาน ระดับโลกถึง 4 แบรนด ถือเปนการขยาย ไลนธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับรถยนตของทาง บริษัทออกไป ซึ่งเปนไปตามแผนกลยุทธ การทําตลาดในป 2013 ที่มุงเนนในเรื่อง การใหบริการครอบคลุมแบบ 360 องศา ทั้งในสวนของโปรดักส การบริการหลัง การขาย และการให บ ริ ก ารเสริ ม จาก พันธมิตรชั้นเลิศทั้ง 7 ในโครงการ “ K Auto Avenue” ที่เพิ่งมีการแถลงขาวไป เมือ่ ชวงตนปทผี่ า นมา ทัง้ นี้ เพือ่ ขยายกลุม ลูกคาใหครอบคลุมและตอบโจทยครบทุก ความตองการ โดยการเปดตัวในการเปนผูแทน จํ า หน า ยชุ ด แต ง 4 แบรนด อ ย า งเป น ทางการในครัง้ นี้ ทางเบนซ เอ็น.เค. พรอม เปดยนตรกรรมหรู 4 รุน ไดแก S K Piecha, C-Cou e Prior Design Blac Edition Wide Body, Range Rover Evo ue Hamann และ Porsche Cayenne Caractere โดยทั้ง 4 รุนเปนการ ตกแตงในแบบ Com lete Car ในทุกจุด ทุกรายละเอียด สะทอนคาแรคเตอรที่ ชัดเจนและเอกลักษณทโี่ ดดเดนเฉพาะตัว ในแตละแบรนด พรอมตอบโจทยลกู คาทุก
กลุม ทุกยีห่ อ ไดครบทุกความตองการ โดย การเปดตัวในครั้งนี้ถือเปนการยกระดับ มาตรฐานของทางบริษัท และเพิ่มทาง เลือกใหกับลูกคาที่ตองการความโดดเดน และความพิเศษที่ไมเหมือนใคร สําหรับสํานักแตง Hamann Motor s ort ตนกําเนิดจากประเทศเยอรมนี ถือเปน 1 ในสํานักแตงที่เกาแกและไดรับ การยอมรับมาอยางยาวนานตัง้ แตป 1 6 โดยเริ่มโดงดังมาจากชุดแตง Bm และ ตอมาไดขยายไลนไปทําชุดแตงสําหรับ Ferrari, Porsche, am orghini, Aston Martin และ Range Rover เปนตน มี แผนกวิจัยและพัฒนาโปรดักสครอบคลุม ตั้ ง แต ก ารจู น นิ่ ง เครื่ อ งยนต แ ละกล อ ง EC ชุดแตงบอดี้พารท ชวงลาง ลอแม็ก ไปจนถึงระบบชุดทอไอเสีย สํานักแตง Piecha ถือกําเนิดตั้งแต ป 1 2 ในประเทศเยอรมนี เนนชุดแตง สําหรับแบรนด Mercedes-Ben โดย เฉพาะ โดยมีโปรดักสใหเลือกตั้งแตชุด แตงรอบคัน ลอแม็ก ชุดทอไอเสีย และ กล อ งจู น นิ่ ง ครอบคลุ ม ทุ ก รุ น สํ า หรั บ A-Class, C-Class, E-class ทั้ ง รุ น Saloon และ Cou e, S K และ S ถือ เปนแบรนดทมี่ ชี ดุ แตงสําหรับรถเบนซทกุ รุน มากทีส่ ดุ แบรนดหนึง่ Prior Design ถือ เปนอีกหนึ่งสํานักแตงระดับแนวหนาจาก ประเทศเยอรมนี เป น บริ ษั ท ที่ มี ค วาม เชี่ยวชาญในการออกแบบชุดบอดี้พารท ใหมีความโดดเดนดุดันและโฉบเฉี่ยวใน สไตลวายบอดี้ (Wide Body) แตถกู ดีไซน ให ส ามารถติ ด ตั้ ง บนตั ว ถั ง เดิ ม ได อ ย า ง ลงตัวและถูกตองตามหลักแอรโรวไดนามิค โดยมี โ ปรดั ก ส ตั้ ง แต ชุ ด แต ง รอบคั น ลอแม็ก และชุดทอไอเสีย
เสริมทัพ
นหนาสตารท า สนก
ก ารา านส
ร สนทาง รก อง
และสถาปตยกรรมของปราสาทสดกกอกธม กั น อย า งเต็ ม อิ่ ม แล ว ขบวนรถอี ซู ซุ คาราวานสัญจรจึงไดเดินทางตอไปยังสวน รุกขชาติ “เขาฉกรรจ” ซึ่งเราจะมองเห็น เปนภูเขาหินปูนเรียงกันอยู 3 ลูกในระยะ ไกล โดยมีเขาฉกรรจอยูต รงกลางและใหญ ที่สุด ใชเปนสถานที่ปลูกปา ของกรมปาไม สวนเชิงเขาฉกรรจเปนที่ตั้งของวัดถํ้าเขา ฉกรรจ มีบนั ไดขึน้ ไปถึงยอดเขาทีท่ อดยาว ทาทายใหสมาชิกประชาคมอีซซู เุ ดินขึน้ ไป เพื่อสักการะรอยพระพุทธบาทจําลองที่ จํากัด พรอมดวย คุณภัครธรณ เทียนไชย ประดิษฐานอยู ณ ถํ้าเขาทะลุ พรอมกับมี ผู ว า ราชการจั ง หวั ด สระแก ว และ จุดชมวิวใหสมาชิกไดพกั กายและสัมผัสกับ คุณสานนท เพ็งแสง นักวิเคราะหนโยบาย ทิวทัศนที่กวางไกลสุดสายตากอนลงมา และแผนชํานาญการ (รักษาการแทนทอง เที่ยวและกี าจังหวัดสระแกว) ใหเกียรติ ร ว มเป ด งานและตี ธ งปล อ ยคาราวาน รถอีซูซุ จํานวน 3 คัน ณ บริษัท อีซูซุ สระแกว จํากัด สาขาอรัญประเทศ โดย ขบวนคาราวานอี ซู ซุ อ อกเดิ น ทางสู จุ ด หมายแรก คือ “ปราสาทสดกกอกธม” ศาสนสถานที่สรางขึ้นอยางงดงามตาม แบบฉบับของศิลปะเขมรโบราณ หลังจากชื่นชมความงามของศิลปะ ทักทาย แถมยังไดทําความรูจักและให อาหารกั บ เหล า ฝู ง ลิ ง จํ า นวนมากอย า ง สนุกสนานอีกดวย ไดเวลาเคลื่อนขบวนตอไปเพื่อรวม แบงปนนํา้ ใจ บริจาคเงิน อุปกรณการเรียน และอุปกรณกี าใหกบั นองๆ ทีโ่ รงเรียนวัด ศรี สุ ต าราม อํ า เภอบางคล า จั ง หวั ด ฉะเชิงเทรา ทําเอาสมาชิกอิม่ อกอิม่ ใจ และ อิม่ บุญกันอยางถวนหนา กอนออกเดินทาง สูโ รงแรมซันธารา เวลเนส รีสอรท เพือ่ รวม
ปารตมี้ อื้ คํา่ ดวยบรรยากาศทีแ่ สนครึกครืน้ สมาชิ ก ได ร ว มสนุ ก กั บ เกม เพื่ อ ชิ ง ของ รางวัลมากมายจากสปอนเซอรใจดี อาทิ ตรีเพชรอีซูซุลิซซิ่ง นํ้ามันเครื่องคาลเท็กซ เดโล ยางบริดจสโตน นิตยสาร เนชั่นแนล จี โ อกราฟ ก วี พี ซาวด และแบตเตอรี่ สปารค อิม่ อรอยกับอาหารทีอ่ ซี ซู เุ ลือกสรร สําหรับสมาชิกประชาคมอีซูซุโดยเฉพาะ ปดทายคํ่าคืนแหงความสนุกดวยศิลปน ดูโอ “ฝนดี-ฝนเดน จรรยาธนากร” ขึน้ โชว
เพลงฮิตทีอ่ ยูใ นความทรงจําของใครหลาย คนไดอยางประทับใจ สามารถติดตามความสนุกของอีซูซุ คาราวานสั ญ จร กั บ การเดิ น ทางอี ก 3 เสนทางที่เหลือ คือ เสนทางที่ 2 ชะอํา (เพชรบุรี)-ชุมพร ระหวางวันที่ 15-16 มิถุนายน เสนทางที่ 3 กา สินธุ-บึงกา ระหวางวันที่ 6-7 กรกฎาคม และเสนทางที่ 4 เสนทางตางประเทศ ไทย-ลาว-เวียดนาม ระหวางวันที่ 7-11 สิงหาคม ศกนี้
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ปที่ 6 ั ที่ 6 วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
อ ท เ ม ีดคว ม ม ร
นกร หนน น
สภาอตสาหกรรม หนนผูประกอบการขนสง ลดใชพลังงาน ปรั บ ปรงระบบบริ ห าร ั ด การขนส ง เพอเพิ มประสิ ท ิ ภ าพการใช เช้อเพลิง พรอมทั้งนําแนวทางการปรับปรงไปป ิบัติใหเกิดข้น ริง อยางเปนรูป รรม เพอลดตนทนพลังงานทมความผันผวนและมแนว โนมสูงข้นในอนาคต นาย เ พ เ ยม รเ ร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผน พลังงาน เปดเผยวา กระทรวงพลังงาน ได เล็งเห็นถึงโอกาส และความสําคัญในการ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานในสาขาขนสง โดยเฉพาะการขนสงทางบก เนื่องจาก ปจจุบนั ประเทศไทยยังคงพึง่ พาการขนสง ทางบกดวยรถยนตเปนหลัก ซึง่ ผูป ระกอบ การขนส ง ส ว นใหญ อ าจไม ไ ด ใ ห ค วาม สําคัญกับเรื่องของการประหยัดพลังงาน มากนัก แตปจ จุบนั ราคาพลังงานเชือ้ เพลิง มีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ทําให สงผลกระทบตอความสามารถทางการ แขงขันทางธุรกิจได ดังนัน้ ผูป ระกอบการ ขนสงจึงควรเริ่มตระหนักถึงการพัฒนา ระบบบริหารจัดการขนสงใหมีประสิทธิ ภาพมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ลดการใชพลังงาน รวม
ถึงลดตนทุนดานพลังงานลงได ด ว ยเหตุ ดั ง กล า ว กองทุ น เพื่ อ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํานักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน กระทรวง พลังงาน จึงสนับสนุนใหสถาบันพลังงาน เพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย ดํ า เนิ น โครงการดั ง กล า ว อยางตอเนือ่ งเปนปที่ 2 ซึง่ การดําเนินงาน ตลอดระยะเวลาทีผ่ า นมาประสบผลสําเร็จ อยางดียิ่ง สามารถลดการใชพลังงานใน ภาคการขนสงไดอยางเปนรูปธรรม และ ช ว ยส ง เสริ ม ให ผู ป ระกอบการภายใน ประเทศ ลดตนทุนดานพลังงานไดทั้งใน ดานของการพัฒนาบุคลากร ซึ่งถือเปน ปจจัยสําคัญตอการใชพลังงาน โดยเฉพาะ สําหรับภาคการขนสง การพัฒนาดานการ บริหารจัดการซึง่ ถือเปนแนวทางทีส่ ามารถ
ธิบดี า ระเ ริ
ลดตนทุนไดโดยไมตองสูญเสียคาใชจาย มากนัก รวมถึงการลงทุนปรับปรุงทางดาน เทคโนโลยี ซึ่งในปจจุบันเขามามีบทบาท ตอการดําเนินงานขนสงใหมปี ระสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น “หวังเปนอยางยิ่งวาการจัดสัมมนา ในครั้ ง นี้ จ ะเป น การเผยแพร ค วามรู
ประสบการณ และผลสําเร็จที่ไดรับจาก การดําเนินโครงการ ซึ่งจะเปนจุดเริ่มตน ของการพั ฒ นาศั ก ยภาพการอนุ รั ก ษ พลังงานในภาคการขนสง และนําไปสูก าร ประยุกตใชกบั องคกรธุรกิจของผูป ระกอบ การ เพื่อลดตนทุนดานพลังงาน และเพิ่ม ศักยภาพในการแขงขันไดตอไป” นาย
ร ธาน
ท ท งค เงนบ ท บ ล ระทบ นเ ร อต รรม ค ร ลต เปนทีท่ ราบโดยทัว่ ไปวา อัตราแลก เปลี่ ย นเงิ น บาทเที ย บกั บ เงิ น ดอลลาร สหรัฐ มีการแข็งคาสูงสุดในรอบหลายป โดยอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทถัวเฉลี่ย ชวงปลายเดือนเมษายน ทีผ่ า นมา แข็งคา สูงสุดถึง 2 .66 บาทตอดอลลารสหรัฐ อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทตอเงินเหรียญ สหรัฐ เปรียบเทียบกับปลายป 2555 แข็ง คาไปถึงรอยละ 6.33 นช า เ นพ า ม ั รา เป ยนเ น า ม าร น าเ ย า
าร รั (อัตราแลกเปลีย่ นเงินบาท ณ วันที่ 22 พ.ค. 56 ถัวเฉลีย่ อยูท ี่ 2 . 2 บาทตอดอลลารสหรัฐ) ั น าร น า เ น า ย นช า เ น พ า ม เม เ ย ั ั รา เป ยน ป ายป าเ ย เ น ร า เ ร ย ะ ทัง้ นี้ ตัง้ แต ตนป 2556 เงินบาทก็ยังแข็งคามากกวา หลายประเทศในภูมภิ าค เชน เมือ่ เทียบกับ เงินริงกิตมาเลเซีย ซึ่งแข็งคาเฉลี่ยรอยละ 2.3 สวนดอลลารสิงคโปร ออนคาเฉลี่ย
สุเทพ กลาว ดาน นาย า ประเ ร กรรมการ บริ ห ารสถาบั น พลั ง งาน เพื่ อ อุ ต สาหกรรม สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทย และประธานคณะ ทํางาน “โครงการสงเสริม ระบบบริหารจัดการขนสง เพื่อการประหยัดพลังงาน (พ.ศ. 2555) ogistics and Trans ort Management” เป ด เผยว า ปจจุบันภาคการขนสงถือ เปนภาคสวนที่มีสัดสวน การใชพลังงานสูงถึงรอย ละ 35.7 ของการใช พลังงานทั้งประเทศ โดย เปนพลังงานเชือ้ เพลิงทีใ่ ชในภาคการขนสง ทางบกถึงรอยละ 7 ของการใชพลังงาน ทัง้ หมดของภาคการขนสง และดวยสภาพ
าน
การแข ง ขั น ที่ สู ง ขึ้ น ประกอบกั บ ราคา พลังงานมีความผันผวนอยางตอเนื่อง สง ผลกระทบอยางยิง่ ตอผูป ระกอบการขนสง ในประเทศจํานวนมากในการแบกรับภาระ ตนทุนการดําเนินงานที่สูงขึ้น จากปจจัยตางๆ นั้น กองทุนเพื่อ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํานักงาน นโยบายและแผนพลั ง งาน กระทรวง พลังงาน เล็งเห็นความสําคัญในการพัฒนา และสงเสริมประสิทธิภาพการใชพลังงาน ในสาขาขนส ง จึ ง สนั บ สนุ น ให ส ถาบั น พลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาห กรรม ดํา เนินโครงการสงเสริมระบบ บริ ห ารจั ด การขนส ง เพื่ อ การประหยั ด พลั ง งานมาอย า งต อ เนื่ อ งซึ่ ง สามารถ สงเสริมใหผปู ระกอบการขนสงสามารถลด การใชพลังงานไดอยางเปนรูปธรรม ตัง้ แต ป 2553-2554 ทีผ่ า นมา สถาบันพลังงาน ไดดําเนินโครงการสงเสริมระบบบริหาร จัดการขนสงเพื่อการประหยัดพลังงาน (พ.ศ. 2553) อานตอหนา...B2
ับมอพันธมิ รอัพเกรดคน ล ิส ิกส
ม าร า ย ชช า น น ัมพชา ระ ม ายป ัยเ าร น พร มเป เ น า ั า า นา า รา ะ า า า ร ร ันชัย รั น คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร และผูอํานวยการ ศู น ย วิ จั ย โลจิ ส ติ ก ส มหาวิ ท ยาลั ย หอการค า ไทย กล า วถึ ง การลงทุ น ใน ประเทศกัมพูชา วา นอกจากบรรยากาศ ตางๆ ทีช่ ว ยสนับสนุนการลงทุนในกัมพูชา อยางคุมคาแลว เรื่องของโครงสรางพื้น ฐานก็เปนเรื่องสําคัญ ซึ่งปจจุบันรัฐบาล กัมพูชาไดสงเสริมใหนักลงทุนตางชาติเขา มาลงทุนดานระบบคมนาคมและระบบ สื่อสารไดโดยเสรี ทั้งนี้ กัมพูชามีเสนทางคมนาคม ขนสงทางถนนทีส่ าํ คัญ 7 เสนทาง คือ ถนน หมายเลข 1 กรุงพนมเปญ ทาเรือเน็ก
เลือง-ดานบาเวท ระยะทางรวม 167 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางประมาณ 3 ชั่วโมง และสามารถเชื่อมตอไปยังนคร โฮจิมินห ของเวียดนาม โดยใชเวลาเดิน ทางอี ก ราว 1.40 ชั่ ว โมง ส ว นถนน หมายเลข 2 กรุงพนมเปญ-ดานพนมเดิน จังหวัดตาแกว (ชายแดนติดกับเวียดนาม ที่หนาเบิง) ระยะทางรวม 121 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางประมาณ 1.5-2 ชั่วโมง สภาพถนนเปนถนนลาดยาง ไหลทาง แคบ มี ส ะพานคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก สําหรับขามแมนํ้าโขง ถนนหมายเลข 3 กรุงพนมเปญ-จังหวัดกัมปอต เริ่มจาก กรุ ง พนมเปญไปทางใต ผ า นจั ง หวั ด กันดาล กัมปงสะปอ และตาแกว ไปยัง จังหวัดกัมปอต แลวเลียบชายฝงไปทาง ตะวันตกจดกับเสนทางหมายเลข 4 ใกล กรุ ง สี ห นุ วิ ล ล ระยะทางรวม 202 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางประมาณ 3.5-4 ชั่วโมง ถนนหมายเลข 4 กรุงพนมเปญกรุงสีหนุวลิ ล เริม่ จากกรุงพนมเปญ ผาน จังหวัดกัมปงสะปอ และเกาะกง จนจด อานตอหนา...B2 อาวไทย
อีเกิลส แอรแอนดซี รวมกับสมา พันธโลจิสติกสไทย สถาบันขนสงจุ า และพันธมิตรหนวยงานในวงการโลจิส ติกสชนั้ นํา เดินหนาอัพเกรดบุคลากรดาน โลจิสติกสคณ ุ ภาพ รับประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน นา า ั า รช า เลขาธิ การสมาพันธโลจิสติกสไทย และผูอํานวย การฝายวางแผน กลยุทธ บริษัท อีเกิลส แอรแอนดซี (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา เนื่องจากปจจุบันความตองการบุคลากร ในระดับหัวหนางานในกลุมอุตสาหกรรม โลจิ ส ติ ก ส กํ า ลั ง ขาดแคลนและเป น ที่ ตองการ สําหรับการเปด AEC (Asean Economic Community) การเปดเสรี ทางการคาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ จะกําลังเกิดขึ้น ดังนั้น การเตรียมความ พร อ มในเรื่ อ งของการพั ฒ นาบุ ค ลากร ภายในองคกรก็เปนทางเลือกที่ดี หรือแม กระทัง่ การขยายธุรกิจไปยังประเทศเพือ่ น บานในกลุม AEC ก็เปนทางเลือกที่นา สนใจ ทั้งนี้ การขยายธุรกิจไปยังประเทศ เพื่ อ นบ า น คงหนี ไ ม พ น ในเรื่ อ งของ บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีความ ชํานาญ
ซึ่ ง จะเห็ น ได ว า บุ ค ลากรในระดั บ หัวหนางาน (คลังสินคา) ในกลุมอุตสาห กรรมโลจิสติกส นับไดวาเปนบุคลากรที่ สําคัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ ซึ่งนอกจาก จะตองทํางานในสวนของที่ตนเองตองรับ ผิ ด ชอบแล ว ยั ง ต อ งบริ ห ารทรั พ ยากร บริหารขอมูล และดูแลผูใ ตบงั คับบัญชาให ทํางานไดสําเร็จลุลวง เพื่อสรางผลลัพธ และทําใหบรรลุเปาหมาย และสอดคลอง กับนโยบายของบริษัท ดังนั้น บริษัท อีเกิลส แอรแอนดซี (ประเทศไทย) จํากัด จึงไดรว มกับสมาพันธ โลจิสติกสไทย สถาบันขนสงจุ า และ พันธมิตรหนวยงานในวงการโลจิสติกส ชั้นนําอีกหลายที่มารวมเปนวิทยากร จัด ทําหลักสูตร “หัวหนางานคลังสินคาพันธุ ใหม” ขึ้น โดยจะเรียนทุกวันเสาร จํานวน 4 ชม. ( วั น ) ระยะเวลา 2 เดื อ น สอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดที่ สมาพันธโลจิส ติ ก ส ไ ทย โทร. 0-2252-7425 อี เ มล mail thailog.org นางสาววัลภา กลาวตอวา การเปน หัวหนางานทีด่ นี นั้ ไมเพียงแคมที กั ษะและ ประสบการณในสายงานที่ทํา แตยังตอง รูจักการวางตัว อานตอหนา...B2
รอยละ -1.31 เงินเยนญี่ปุนออนคาเฉลี่ย รอยละ -14.43 เงินรูเปยของอินโดนีเซีย ออนคาเฉลี่ยรอยละ -1.11 ขณะที่เงิน หยวนของจีนแข็งคาเฉลีย่ รอยละ 1.43 าม าเ น า า ระ ั าร ะเ ร ย ร ม กอนอืน่ ตองเขาใจวา การทีเ่ งินบาทแข็งคา มีทั้งดานบวกและดานลบ เพราะ า ารนาเ า ก็จะไดรับผลในทางบวก ะ าน าร ป ัย า เ น า า เปนป ัย น ระ ยั น ย ั ป าม าร ประเ เปน า ั ซึ่งเปนปจจัยภายนอกประเทศ ซึ่ง ประเทศผู นํ า เศรษฐกิ จ ของโลก เช น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุน ซึ่งได รั บ ผลกระทบจากวิ ก ฤติ ด า นการเงิ น ลุ ก ลามไปจนเศรษฐกิ จ ชะลอตั ว เกิ ด สภาวะเงินฝด และการวางงาน จนประเทศ
เหลานัน้ ตองอัดฉีดเงินมหาศาลเขาสูร ะบบ ( uantitative Easing) เพื่ อ กระตุ น เศรษฐกิจใหมีการฟนตัว จากปจจัยซึ่งกลาวขางตน แสดงให เห็ น ว า เงิ น บาทที่ แข็ ง ค า บวกกั บ วิ ก ฤติ เศรษฐกิจของโลก จะสงผลกระทบตอภาค การสงออกในปนี้อยางชัดเจน อาจทําให มูลคาการสงออกลดลง 430,000-450,000 ลานบาท อีกทั้งเศรษฐกิจญี่ปุนยังมีการ ถดถอย การที่ CB หรือธนาคารกลางญีป่ นุ กระตุนเศรษฐกิจดวยการอัดฉีดเงิน จน ทําใหเงินเยนออนคามากผิดปกติ ทําใหการ สงออกไปในตลาดญีป่ นุ ซึง่ มีสดั สวนในภาค การสงออกของไทย รอยละ 10.5 อาจมีผล กระทบจากราคาขายเมื่อแลกเปลี่ยนเปน เงินเยน มีราคาทีส่ งู ขึน้ รวมทัง้ เศรษฐกิจใน อียู เขาสูส ภาวะถดถอย โดยมีสดั สวนการ สงออกของไทยประมาณรอยละ .5 า าเ น า ะ ป า
น จากการประเมินรวมกับภาคเอกชน และสถาบันการเงิน เห็นวา น นมเ น า ยั ม าม ัน น โดยเฉพาะใน ปลายไตรมาส 2 ตอไปถึงตนไตรมาส 3 ยมเ า ระ าร เ า ย เ มา ร าร ระ นเ ร เร็ ว กว า กํ า หนด ทํ า ให ค า เงิ น ดอลลารสหรัฐออนตัวเล็กนอย ซึ่งยอม กระทบตอกระแสเงินไหลเขาและตอความ ผันผวนของเงินบาทและเงินสกุล อื่นใน ภูมภิ าค น า มเม เ น เ ามา น ม า โดยเฉพาะในประเทศเอเชีย ซึง่ สภาวะเศรษฐกิจยังไปได และดูเหมือนวา า ชา ะเช เ ร ประเ ย มา าประเ เพ น าน จึงนําเงิน หรือเงินทุนเคลือ่ นยาย (Cash In o ) เขา มาลงทุนในตราสารหนี้และตลาดทุน โดย มีพันธบัตรของ ธปท. หรือธนาคารแหง ประเทศไทย และพันธบัตรของรัฐบาล
เป น เป า หมาย รวมถึ ง อั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายของไทยสูงกวาประเทศ G-3 คอนขางสูง เฉลี่ยรอยละ 3.0 3.1 ั นัน น นม น รมา รมา ยั ม ระ เ น เ ามา นประเ ย ยา เน ทัง้ จากตลาด อนุพนั ธ ตลาดทุน และอัตราแลกเปลีย่ น ถึง แมวาในชวงกลาง-ปลายเดือนพฤษภาคม เงิ น บาทไทยค อ นข า งมี เ สถี ย รภาพใน ทิศทางทีแ่ ข็งคาเล็กนอย ทีร่ อ ยละ 2. จาก ที่กอนหนานี้แข็งคาเฉลี่ยรอยละ 6.33 (เทียบจากปลายป 2555) เนื่องจาก นั น า ชา ม ามเช มันประเ ย ะ า นั ารเ น ย อยางไรก็ตาม ยังคงตองมีการศึกษาและติดตามทิศทาง ความผันผวนของอัตราแลกเปลีย่ นเงินบาท และเงินสกุลอืน่ ของภูมภิ าคอยางใกลชดิ ตอ ไป เพราะมีผลโดยตรงตอภาพรวมของ เศรษฐกิจของไทย
สนทาง ล สตกส อ้อ นสง
รอ ร ธานส าอุตสาหกรรมแห ร เทศ ทย ร ธานสาย าน ล ิสติกส ส.อ.ท.
ดใช
เท เ ลียม ิริเจริ
หอการ าไทย ้ องลงทนก ู า
ดร.ธนิต สรัตน
ร งน
B1
B2
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล สัม า พิเ
ะ ประก การด ย ค ด
ย หง า สํา ร รก อสงหาร ทร ย
มู ิ ักดิ จลม ีโชติ รองกรรมการ ูจัดการอาวโ บริ ัท ลั ร็อ เ อรตี จากัด
ไล สไตลของคนสมัยใหมหวัง ะมทอยูอาศัยในแบบมสไตล เขากับรูปแบบการดําเนินชวิต เพราะตองอาศัยอยูในระยะยาว อก ทัง้ ยคน้เปนยคแหงความศิวไิ ล ท เขามาครอบคลมเรยกไดวา แทบ ะ ทกหยอมห าตามหัวเมองตาง แลว ความพิ พิ ันในการเลอกสิง ทดทสดใหกับตนเองนับวาเปนเรองทสําคั ไมนอย
อ รค ไทย ตอ า หนา... บริเวณทาเรือสีหนุวลิ ล รวมระยะทาง 226 กิโลเมตร ใชเวลาเดินทางประมาณ 3-4 ชัว่ โมง สภาพถนนเปนถนนลาดยางสภาพดี และเปนเสนทางขนสงสินคาสายสําคัญทีส่ ดุ ของกัมพูชา ถนนหมายเลข 5 กรุงพนมเปญดานปอยเปต จังหวัดบันเตียเมียนเจย เปน ถนนทีค่ นไทยรูจ กั กันดีและใชถนนเสนนีเ้ ขา สูก มั พูชา เปนถนนทีใ่ ชในการขนสงสินคาจาก สระแกวสูพ นมเปญ เริม่ จากกรุงพนมเปญไป ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผานจังหวัด กันดาล กัมปงชะนัง โพธิสัต พระตะบอง ศรีโสภณ ไปสิน้ สุดทีด่ า นชายแดนปอยเปต จั ง หวั ด บั น เตี ย เมี ย นเจย ติ ด กั บ อํ า เภอ อรัญประเทศ จังหวัดสระแกวของไทย ถนนหมายเลข 6 กรุงพนมเปญอําเภอศรีโสภณ เปนถนนทีค่ นไทยรูจ กั กัน ดีเชนกัน เปนถนนทีใ่ ชในการทองเทีย่ วเชิง วัฒนธรรม ซึง่ จะผานนครวัดและนครธมที่ ถนนเสนนี้ เริม่ จากกรุงพนมเปญขึน้ ไปทาง เหนือ ผานจังหวัดกันดาล กัมปงจาม กัม ปงทม และเสียมเรียบ แลวไปบรรจบกับ เสนทางหมายเลข 5 ที่อําเภอศรีโสภณ มี ระยะทางรวม 416 กิโลเมตร ใชเวลาเดิน ทางประมาณ 6.5- ชั่วโมง สภาพถนน เป น ถนนลาดยางสภาพดี และถนน หมายเลข 7 บานเชิงไพร จังหวัดกัมปง จาม ดานบานโอสวาย จังหวัดสตึงเตรง (ติดกับดานเวือนคํา แขวงจําปาสักของ ลาว) รวมระยะทาง 461 กิโลเมตร
Logistics Corner
โดย : Miss Delivery
ั ะ พ ั ประ า นั พมพ เริม่ ทีก่ ารโรดโชวของทีม เศรษฐกิจ เมือ่ ครัง้ เยือนญีป่ นุ เมือ่ เร็วๆ นี้ โดย ร ชัชชา พัน รัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคม ไดบรรยายใน หัวขอ
เสนทางสายหลักทั้ง 7 สายนี้ทาง กัมพูชาไดพยายามพัฒนาเพื่อรองรับการ ขยายตัวทางเศษฐกิจ การคา การลงทุน โดยได รั บ ความช ว ยเหลื อ จากหลาย ประเทศ ทัง้ ญีป่ นุ สวีเดน สหรัฐ รวมถึง ไทยดวย โดยคาดวาทั้ง 7 สายหลักนี้จะ ลาดยางไดแลวเสร็จภายในป 56 นี้ รศ.ดร.วั น ชั ย กล า วต อ ว า การ คมนาคมขนสงทางนํา้ ของกัมพูชานัน้ จะมี ทาเรือหลักทีใ่ ชขนสงสินคาของกัมพูชาทาง ทะเล 3 แหง คือ ทาเรือพนมเปญ ทาเรือ กัมปงโสม/ทาเรือสีหนุวลิ ล และทาเรือเกาะ กง/ทาเรือออกญามง สําหรับเสนทางรถไฟนัน้ กัมพูชามีเสน ทางรถไฟสําคัญ 2 สาย ไดแก กรุงพนมเปญโพธิสัต-พระตะบอง-อําเภอศรีโสภณ-ปอย เปต ระยะทาง 3 6 กิโลเมตร และกรุง พนมเปญ-ตาแกว-กัมปอต-กรุงสีหนุวิลล ระยะทาง 264 กิโลเมตร สวนทางอากาศนัน้ มี ส นามบิ น นานาชาติ ได แ ก สนามบิ น นานาชาติพนมเปญหรือสนามบินโปเชนตง ที่กรุงพนมเปญ และสนามบินนานาชาติ เสียมเรียบ ทีจ่ งั หวัดเสียมเรียบ ซึง่ ทัง้ 2 แหง ยังมีสิ่งอํานวยความสะดวกไมเพียงพอที่จะ รองรับผูโดยสารระหวางประเทศ ขณะที่ สนามบินภายในประเทศ ไดแก สนามบิน กางแก็ง กรุงสีหนุวลิ ล สนามบินจังหวัดพระ ตะบอง ทาอากาศ ยานขนาดเล็กทีก่ รุงสีหนุ วิลล และทาอากาศยานสํารองเพือ่ การขนสง สินคาทีจ่ งั หวัดกัมปงชะนัง อยางไรก็ตาม ระบบการคมนาคม ขนสงในกัมพูชาแมจะมีเสนทางครบทั้ง ทางถนน ทางราง ทางนํ้า และทางอากาศ แต ใ นแต ล ะเส น ทางยั ง อยู ร ะหว า งการ
ผูประกอบการหรือวาเจาของธุรกิจทางดานอสังหาริมทรัพยจะมีการปรับตัวกัน จาละหวั่น สังเกตไดจากหลังเหตุการณนํ้าทวมครั้งใหญเมื่อปลายป 2554 แวดวงที่อยู อาศัยมีการขยับขยายและแขงขันกันอยางคึกคัก แถมยังแยงชิงลูกคากันรุนแรงมากขึ้น กวาเดิม เจาไหนที่มีจุดเดนดึงดูดใจลูกคาไดแจมแจงกวายอมไดเปรียบ “บริษัท พร็อพเพอรตี้ จํากัด” ถือวาเปนองคกรหนึ่งที่มีความครํ่าหวอดและ เชีย่ วชาญดานธุรกิจอสังหาริมทรัพยมาอยางยาวนาน ไดรบั ความไวเนือ้ เชือ่ ใจจากลูกคา มาโดยตลอด ปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจและแผนการพัฒนาธุรกิจ หรือ แมกระทั่งตัวเลขรายไดตางๆ ของบริษัทดังกลาวจะเปนอยางไร เราไปพูดคุยกับ นาย ม ั ม ช ร รรม าร ั าร า ร ั พ ั พร พเพ ร า ั กันดีกวา นายภูมศิ กั ดิ เปดเผยวา พลัส พร็อพเพอรตี้ เปนผูเ ชีย่ วชาญดานบริหารและจัดการ อสังหาริมทรัพยครบวงจรของประเทศไทย ซึ่งในป 2556 บริษัทมุงเนนการพัฒนาไปใน 2 ดานหลัก สวนแรก คือ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ซึ่งถือเปนหัวใจหลักของงาน บริหารจัดการ เพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพยทกุ เซ็กเมนตในภูมภิ าค “โดยจะมีการพัฒนาหลักสูตรตางๆ อยางตอเนือ่ ง และจะมีการฝกอบรมพนักงาน กอนอยางนอย 3 เดือน กอนจะปฏิบตั งิ านจริง รวมทัง้ เนนการใชพนักงานทีเ่ ปนคนพืน้ ที่ เพือ่ ความรูจ ริงเรือ่ งตลาดและพฤติกรรมลูกคา นอกจากนัน้ ยังมีการวางแผนขยายตลาด ไปยังชาวตางชาติ โดยมีทมี งานรองรับแตละกลุม โดยเฉพาะ เชน จีน รัสเซีย อังกฤษ และ กลุมสแกนดิเนเวีย ที่เริ่มมีความตองการหรือกําลังซื้อมากขึ้นดวย” “ตอมาคือแผนการดําเนินงานทีย่ งั คงเนนธุรกิจการใหบริการดานอสังหาริมทรัพย เปนหลัก โดยในปนี้ไดขยายตลาดไปในตางจังหวัดที่มีแนวโนมการเติบโตดี เชน ภูเก็ต เชียงใหม ขอนแกน อุดรธานี โคราช สงขลา ชลบุรี ระยอง” ทั้งนี้ บริษัทยังคงเปาหมายการเติบโตของธุรกิจ ซึ่งคาดวารายไดรวมในป 2556 จะเติบโตกวาปกอน 11% ซึ่ง ณ ไตรมาส 1 ป 2556 (สิ้นสุด 31 มี.ค. 56) บริษัทมี รายไดรวมอยูที่ 211 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนที่มีรายได 163 ลาน บาทที่ 2 % นอกจากนี้ ป 2555 ที่ผานมานั้น ธุรกิจตัวแทน ซื้อ ขาย เชา อสังหาริมทรัพยนั้น มีผลการดําเนินงานเติบโตเปนประวัติการณ สามารถขายโครงการแนวสูงใหบริษัทแม จํานวน 47 โครงการ มูลคาขายรวมประมาณ 2 ,600 ลานบาท รวมกับการรับจางขาย โครงการใหกบั ผูป ระกอบการรายอืน่ อีก 17 โครงการ คิดเปนมูลคาขายราว 10,000 ลาน บาท โดยบริษัทมีรายไดจากธุรกิจบริการ 75 ลานบาท เติบโตเพิ่มขึ้นจากป 2554 ถึง 41% สวนธุรกิจบริหารจัดการดานทีพ่ กั อาศัยนัน้ ปจจุบนั มีโครงการทีบ่ ริหารทัง้ สิน้ 122 โครงการ และธุรกิจบริหารทรัพยากรอาคารมีความคืบหนาลาสุด คือ บริษัทไดรับการ พั ฒ นาเพื่ อ รองรั บ การลงทุ น มหาศาลที่ กําลังจะเกิดขึ้น
CLO
แตงตั้งใหบริหารศูนยการคาและที่พักอาศัยในโครงการจามจุรีสแควร สําหรับปจจัยสําคัญสําหรับการเติบโตของธุรกิจอสังหาริมทรัพยทสี่ าํ คัญภายใน ระยะเวลาอันใกลนี้ นายภูมิศักดิ บอกวา การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะกระตุน ใหชาวไทยและตางชาติมกี ารลงทุนในอสังหาริมทรัพยสงู ขึน้ ตัง้ แตชว งหลาย ปที่ผานมา รวมถึงนโยบายของรัฐบาลที่จะมีการลงทุนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ตางๆ จะสงใหภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพยมกี ารขยายตัวและพัฒนาโครงการตางๆ เพือ่ รองรับนักทองเที่ยงและนักธุรกิจที่จะหลั่งไหลเขาสูประเทศไทย “สวนเรื่องสัญญาณฟองสบูในภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่หลายฝายจับตามอง นั้น ปจจุบันยังไมพบสัญญาณใดๆ โดยฝายวิจัยและพัฒนาของพลัส พร็อพเพอรตี้ ได มีการตรวจสอบขอมูลทัง้ ดานความตองการซือ้ ในสวนของผูบ ริโภคในแตละพืน้ ที่ กอน ที่จะเริ่มบริหารงานขายโครงการไมวาจะเปนตลาดในกรุงเทพ หรือตางจังหวัด ซึ่ง การปดการขายโครงการตางๆ สามารถยืนยันความตองการของตลาดไดดี” “ก็มอี ยางเชน โครงการเอดจ สุขมุ วิท 23 (EDGE Su humvit 23) มูลคาโครงการ 2, 00 ลานบาท และโครงการเดอะ เทอรตี้ไนน (The XXXIX) มูลคาโครงการ 2,700 ลานบาท ที่สามารถปดการขายไดใน 1 วัน หรือโครงการตางจังหวัด เชน เดอะ เบส ไฮท ขอนแกน, ดีคอนโด เนินพระ ระยอง รวมทั้งดีเวียง สันติธรรม เชียงใหม สามารถ ปดการขายไดในระยะเวลา 1-2 วัน ในทางตรงกันขามนี่เปนสัญญาณชี้ใหเห็นวาของ ความตองการที่อยูอาศัยของตลาดในจังหวัดที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจที่ดีมีเพิ่มมาก ขึ้น” นายภูมิศักดิ เผย รอง กก.ผจก.อาวุโส ยังกลาวอีกวา อีกหนึ่งโมเดลที่สําคัญของการเติบโต อสังหาริมทรัพยตามหัวเมืองใหญนนั้ ขอแนะนําวา ผูซ อื้ ผูป ระกอบการ และผูใ หบริการ ตองเตรียมความพรอมใหดี เพือ่ ใหวงจรของอสังหาริมทรัพยสามารถขับเคลือ่ นไดอยาง เต็มตัว หลังจากเปดขายโครงการแลว ควรประกอบไปดวย 3 ระยะ เริ่มตนจากเมื่อโครงการขายหมด ซึ่งบางโครงการอาจขายหมดในระยะเวลาอัน สั้น โดยระยะแรก (Stage 1) คือผูประกอบการ/ผูใหบริการ ควรหาตลาดรองในการ Resale สําหรับนักลงทุนระยะสั้น ระยะที่สอง (Stage 2) เมื่อสรางเสร็จแลว ควรจัดหาบริษัทบริหารอาคารที่ได มาตรฐาน เพื่อใหการอยูอาศัยรวมกันเปนไปอยางมีความสุข มีการจัดการบริหารคา สวนกลางที่มีประสิทธิภาพ มีการบํารุงสภาพโครงการใหดูดีอยูเสมอ เพื่อเปนมูลคา ของโครงการในอนาคต สําหรับระยะที่ 3 (Stage 3) คือการหาตลาดเชาสําหรับนักลงทุนระยะยาว “หากนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย มีการเตรียมพรอมทั้ง 3 Stage ไดดี จะชวยให อสังหาริมทรัพยของจังหวัดนั้นๆ เติบโตไดอยางตอเนื่องในระยะยาว” คุณภูมิศักดิ กลาวปดทาย
Chief Logistics Officer
( ogistics and Trans ort Management TM) โดยไดรับความสนใจจาก ผูประกอบการสมัครเขารวมโครงการกวา 105 แหง เพือ่ สงทีมผูเ ชีย่ วชาญเขาทําการ วิ นิ จ ฉั ย ระบบบริ ห ารจั ด การขนส ง ของ ผูประกอบการ พรอมใหคําแนะนําในการ ปรับปรุงระบบบริหารจัดการขนสงอยาง ทัว่ ถึงทุกดานใหมกี ารใชพลังงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ โดยผลการดําเนินงานนั้น สามารถลดการใช พ ลั ง งานในภาคการ ขนสงไดกวา 4.5 toe หรือเทียบเปนเงิน กวา 200 ลานบาท อยางไรก็ตาม หลังจาก ดําเนินโครงการแลวเสร็จ สถาบันพลัง งาน ยังคงไดรบั การติดตอสนใจโครงการ จากผู ป ระกอบการอย า งต อ เนื่ อ ง สอดคล อ งกั บ จํ า นวนของผู ป ระกอบ การขนส ง และจํ า นวนรถบรรทุ ก ของ
ารเป ยน ป ั านา า าร เม กลุม เศรษฐกิจ BRIC กําลังเคลือ่ นที่ อยางรวดเร็ว จีนคือผูที่อยูแนวหนาดวย ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) ที่ได เติบโตเหนือกวาเศรษฐกิจยุโรปตะวันตก และคาดวาจะใกลเคียงสหรัฐอเมริกา ในป ค.ศ. 2035 ถัดมาก็เปนอินเดียดวย ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) จะ แซงหนายุโรปทั้งหมดในป ค.ศ. 2040 รัสเซียเปนลําดับ 3 ที่จะเทียบเทายุโรป ตะวันตกทั้งหมดในป ค.ศ. 2035 ตาม หลังมาติดๆ ดานพลังงาน คือ บราซิล ติดกลุมยุโรปในป ค.ศ. 2040 ดวยอัตรา ที่เติบโตเศรษฐกิจของกลุม BRIC จะ เทียบเทากลุมเศรษฐกิจ G7 ในป ค.ศ.
2032 การรวมกลุม เศรษฐกิจอืน่ ก็กาํ ลังกอ ตัวขึ้นโดยเฉพาะกลุมประชาคมอาเซียน (Asean Community) ดวยความสําเร็จ ของเศรษฐกิจมาพรอมกับอํานาจทางการ เมื อ งและเป น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งมิ ไ ด มวล ประเทศเหลานีต้ า งกลาวกันวาเปน “คําสัง่ โลก” ในขณะทีธ่ รรมาภิบาลก็ลม เหลว ถา คุณไมมสี ว นเกีย่ วของกับประเทศเหลานัน้ คุณจะพบดวยตัวคุณเองวาบอนํ้ากําลังจะ เหือดแหง าม า ายเ น ย การกอใหเกิดการสนใจของคุณวา อะไรกําลังคิดอะไรเกีย่ วกับ “High-Tech” (การขยายต อ สู อิ น เทอร เ น็ ต , รถยนต อิเล็กทรอนิกส, ไอแพด และอื่นๆ) การ เตรียมความพรอมสําหรับความจริงของ
เทคโนโลยี ที่ ห ลากหลายและเปลี่ ย น แปลงตลอดเวลา ในทางเดียวกันการ ขนสงทางบก ทางนํ้า ทางอากาศ และ สังคมการเปลี่ยนแปลงอินเทอรเน็ตใน ศตวรรษที่ 20 กําลังรอนแรง นอกจากนัน้ การปรับเปลี่ยนตามชวงระยะเวลาของ เทคโนโลยีทมี่ อี ยูจ ะมีผลกระทบอยางตอ เนื่องของยุคสมัยใหมนี้ แตสิ่งเหลานี้จะ ดําเนินตอไปกอนทีจ่ ะมีการปรับปรุงทีละ เล็กทีละนอย เมือ่ เทคโนโลยีมอี ยูใ นระดับ กาวหนา และมีความออนไหวตอนวัต กรรมใหมที่ขยายตัวตลอดเวลา การไร ความสามารถที่เห็น หรือปรับ ตัวเพื่อ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอยางกะทันหัน ผลลัพธการเปลี่ยนแปลงมี 1 ใน 5 ของ บริษัทชั้นนํา 10 แหงของโลกในป ค.ศ. 1 60 ที่อยูรอดในชวง 40 ปที่ผานมา การเตรียมตัวเพื่อสรางสรรคการทําลาย ศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีที่จะ ก า วกระโดดสู “Radar-Screen” เทคโนโลยี แ ละพลั ง งานไร ส ายจะถู ก ทดแทนดวย “Avalar-Style” หุนยนต พูดได ยาตอตานชรา ทีจ่ ะมีผลกระทบตอ ชีวิตใหมของเราในอนาคต อานตอ หนา...
ประเทศไทยที่ ป จ จุ บั น มี จํ า นวนถึ ง กว า 350,000 แหง และ 6 , 47 คัน สําหรับป พ.ศ. 2555 ไดเปดโอกาส ใหกบั ผูป ระกอบการขนสง ทัง้ ขนสงสินคา ขนสงคน และโรงงานอุตสาหกรรมทีข่ นสง ดวยตนเอง ทีม่ คี วามสนใจจะปรับปรุงการ ใชพลังงานดานการขนสงของตนเองอยาง จริ ง จั ง เข า ร ว มโครงการ เพื่ อ ให ที ม
ผูเ ชีย่ วชาญเขาใหคาํ ปรึกษา และศึกษาหา แนวทางการปรับปรุงดวยหลักการ 4 ดาน คือ ดานวิศวกรรมและเทคโนโลยี ดานการ บริ ห ารจั ด การขนส ง ด า นวิ ธี ก ารขั บ ขี่ รถยนต และดานการสรางทีมงานภายใน องค ก ร โดยตลอดระยะเวลาดํ า เนิ น โครงการที่ ผ า นมาได ทํ า การศึ ก ษาและ พัฒนาระบบบริหารจัดการขนสงใหกับ
ผูป ระกอบการขนสงไปแลวกวา 104 ราย สงผลใหเกิดการประหยัดพลังงานโดยรวม กว า 7.142 toe หรื อ คิ ด เป น ต น ทุ น พลังงานเชือ้ เพลิงทีส่ ามารถประหยัดไดกวา 1 1,406,403 บาทตอป ซึง่ แสดงถึงศักย ภาพการประหยัดพลังงานใหกับประเทศ หากขยายผลการดํ า เนิ น งานออกไปยั ง ผูป ระกอบการขนสงรายอืน่ ๆ ตอไป
ซึง่ ไดชใี้ หเห็นถึงการเชือ่ ม โยงระบบโลจิ ส ติ ก ส จ ะช ว ยให ไ ทยและ อาเซียนไดรับประโยชนจากการรวมกลุม ทางเศรษฐกิจอย า งแท จ ริ ง ในป จ จุ บัน ประเทศ ไทยยังพึง่ พาการขนสงทางถนนที่ สูงกวารอยละ 6 ของการขนสงทัง้ หมด ซึง่ ทําใหตน ทุนทางโลจิสติกสของประเทศอยู ในระดับทีส่ งู ถึงรอยละ 15.2 ของจีดพี ี การ ดร ชัชชาติ ิทธิ ันธ อาน รา จิตตมติ ร า ลงทุนในโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม การขนสงมวลชน จะชวยลดตนทุนดาน ขนสงของประเทศ 2 ลานลานบาท ทั้ง โลจิสติกสและลดการนําเขาพลังงานเพื่อ รถไฟรางคู รถไฟความเร็วสูง ดาน การขนสง อันจะเพิ่มขีดความสามารถใน
การแขงขันของประเทศไดอยางยัง่ ยืน โดย คาดวาการดําเนินการตามยุทธศาสตรการ พั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานด า นคมนาคม ขนสงของประเทศ จะสงผลใหตนทุนโลจิ สติ ก ส ต อ จี ดี พี ข องประเทศลดลงจาก ปจจุบนั ไมนอ ยกวารอยละ 2.0 ทัง้ นี้ รมว.คมนาคม ไดกลาวเชิญชวนภาคเอกชน ญีป่ นุ ใหเขามามีสว นรวมในโครงการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานตางๆ ของไทยผานการ เขารวมประมูลสัมปทานโครงการตางๆ มาที่ พ ั เ ม นั กรรมการ
และรักษาการกรรมการ ผูอ าํ นวยการใหญ บริษทั ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. เปดเผยในงานสัมมนาการเตรี ยมความพรอมสําหรับประเทศไทยเพือ่ การ ขยายตัวดานการขนสงและโลจิสติกส วา ขณะนี้ ทอท. อยู ร ะหว า งเร ง ขยายท า อากาศยานสุวรรณภูมริ ะยะที่ 2 และการ ปรับปรุงอาคาร 2 ทาอากาศยานดอนเมือง เพือ่ รองรับจํานวนผูโ ดยสารไดมากขึน้ ซึง่ ทีผ่ า นมาไดเสนอระดับนโยบายเพือ่ เปดให บริการที่ทาอากาศยานดอนเมืองเต็มรูป
แบบแลว ทิง้ ทายที่ าน รา ม ร าพ บอสใหญไปรษณียไ ทย ไมเคย ทําใหกองเชียรผดิ หวัง ลาสุดจัดกิจกรรม ดีๆ เพื่อสังคม โครงการประกวดเขียน จดหมายเลาเรือ่ งเมืองไทย 2556 ขานรับ ปสาํ คัญ ร เ พ เม นั ในหัวขอ ช ันเป ยน ป เม าน เขียนดีมลี นุ รางวัลเงินสดกวาแสน บาท...ผู ส นใจสามารถส ง ผลงานเข า ประกวดไดแลวตัง้ แตวนั นี-้ 31 กรกฎาคม ศกนี.้ ..พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ
บมอ
ตอ า หนา... เพื่ออยูรวมกันและเปนคนกลางที่ดีในการ สื่อสารระหวางหัวหนากับลูกนอง ดังนั้น เพื่อใหการทํางานมีประสิทธิภาพ ทักษะ ความเปนผูน าํ จึงเปนสิง่ สําคัญและมีความ จําเปนเปนอยางยิ่ง ในหลักสูตรนี้จะชวย พัฒนาและยกระดับทักษะความเปนผูนํา ที่ดีใหกับหัวหนางาน
น ร นน ตอ า หนา...
ศ.ดร.ฐาปนา บุญหลา, ประธานกรรมการ มูลนิธิสถาบันโลจิสติกสแหงเอเซีย
ตอ า
นว นม ล
วตน ตอนที
ราคากาซ LPG โดยประมาณการป 2556 ราคา ราคารัฐกําหนด ราคา รงแยก ราคา C
น นการ ลิ อลลาร/ ัน 333.00 550.00 900.00
า /กก. 10.26 16.96 27.76
ราคาขา ลก
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
18.13 24.82 36.35 วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
ตท น ลวด นนวต รรมเ อเ ลง
B3
ด ตมร รการ อนทีรายแรก
ปตท ยัง อรมหรูเปดตัวนวัตกรรมใหมลาสดตอบสนองความ ตองการผูบ ริโภคอยาง งกน ดวยบริการเปลยน า ยนํา้ มันหลอลนนอก ส านท โดยทมชางผูเ ชยวชา พรอมเทคโนโลยอันทันสมัยและความ หวงใยสิงแวดลอม สวนการลงทนปโตรเคมแบบครบวง รในเวยดนาม ใกลเปน ริงทกข ะ รั บาลเหงยนตอบรับหลักการแลว ร พรน ร ช ช า ร ประธาน เจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการ ใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เปด เผยวา “FitStation Mo ile Service” เปนอีกหนึ่งนวัตกรรมที่ ปตท. สรางสรรค ขึ้นโดยผสานเทคโนโลยีและความหวงใย สิ่งแวดลอมเขาดวยกัน เพื่อตอบสนอง ความตองการของผูบริโภคในยุคปจจุบัน เพิ่ ม ความสะดวกรวดเร็ ว ในการ เปลีย่ นถายนํา้ มันหลอลืน่ ประหยัดทัง้ เวลา และทรัพยากร ดวยระบบ Intelligent Oil Change พรอม Ram และเครื่องดูด นํ้ามัน ซึ่งออกแบบเปนพิเศษใหสามารถ เปลี่ยนถายนํ้ามันหลอลื่นไดอยางรวดเร็ว และสะอาดหมดจด มีการใชพลังงานดวยระบบ Fle Energy ซึ่งสามารถจายไฟฟาสําหรับการ
รง รา พ น ย น เร พน ร า น ายนามั น ั น า ะ น ม า ราย เ พ ายนามั น ม าพ า เ ร ยน ร เ ย น าเนน ัน รา ร น าร ั า า ามประเ นันยั ม ย เน รั เ ยประ ยชน า าน า นาย ระพ รประ อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.) เปดเผย วา ผลจากการที่ ธพ. ไดดําเนินการ ควบคุมดูแลคุณภาพนํ้ามันเชื้อเพลิงที่ จํ า หน า ยในประเทศเพื่ อ คุ ม ครอง ผูบริโภค โดยการสงหนวยตรวจสอบ คุณภาพเชื้อเพลิงเคลื่อนที่ (Mo ile a ) จากสวนกลาง และหนวย Mo ile a ของสวนภูมภิ าค รวม 4 แหง ไดแก สวข.2 (นครราชสีมา) สวข.3 (ราชบุรี)
บริการทัง้ หมดของรถ มาจาก 3 แหลง คือ พลังงานแสงอาทิตย แบตเตอรี่รถยนต และไฟฟากระแสสลับจากอาคาร ทําให เลือกใชพลังงานทดแทนไดอยางเหมาะ สมในทุกพืน้ ที่ นอกจากนัน้ ยังมีการจัดการ นํ้ามันหลอลื่นใชแลวอยางเปนระบบ เพื่อ มิ ใ ห เ กิ ด ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มและ ความปลอดภัยของประชาชน นายสรั ญ รั ง คสิ ริ รองกรรมการ ผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน ปตท. กลาวเสริมวา FitStation Mo ile Service ใหบริการเปลี่ยนถายนํ้ามันหลอลื่น นอกสถานที่ ดวยความเปนมืออาชีพและ การบริการที่ตอบโจทยของผูบริโภค ดวย การเปลี่ยนถายนํ้ามันเครื่อง นํ้ามันเกียร นํ้ามันพวงมาลัยเพาเวอร เปลี่ยนอะไหล เบาตางๆ เชน ไสกรอง ใบปดนํ้าฝน และ
ตร นํ้า นไร ร
เ
เมาทเผาขน
บริ ก ารตรวจเช็ ก สภาพรถยนต อี ก 12 รายการ นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ ก ารตรวจ สภาพและวิเคราะหปญ หาการทํางานของ รถยนตดวยเครื่อง OBD (On-Board Diagnostics) อีกดวย “ปตท. ไม ห ยุ ด ยั้ ง ที่ จ ะพั ฒ นา คุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละบริ ก าร ด ว ย นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อสรางความ พึ ง พอใจ ยกระดั บ การให บ ริ ก ารและ สามารถครองใจผูบริโภครักษาความเปน ผูนําในตลาดหลอลื่นในประเทศ เพื่อกาว
สวข.4 (สงขลา) สวข.6 (เชียงใหม) ออก ตรวจสอบคุ ณ ภาพนํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ของ สถานีบริการนํ้ามันทั่วประเทศ รวมทั้ง มอบใหพลังงานจังหวัดเก็บตัวอยางนํ้ามัน จากสถานีบริการในพื้นที่รับผิดชอบสงมา ตรวจสอบที่สวนกลาง ปรากฏวา ในรอบ 6 เดือน (ต.ค. 55-มี.ค. 56) ไดตรวจสอบปมนํา้ มันรวมทัง้ สิ้น 3,22 ราย 5,4 6 ตัวอยาง พบการ จําหนายนํา้ มันทีม่ คี ณ ุ ภาพไมเปนไปตามที่ กรมธุรกิจพลังงานกําหนด 14 ราย 20 ตัวอยาง คิดเปนรอยละ 0.43 และ 0.36 ของจํานวนรายและตัวอยางที่ตรวจสอบ
า
งร สยกําไร ตามลําดับ “ซึ่ง ธพ. ไดพิจารณาดําเนินคดีตาม กฎหมายกับผูกระทําความผิดทุกรายแลว และจากการเปรียบเทียบสถิตผิ ลการตรวจ สอบในรอบปทผี่ า นมา พบวาการจําหนาย นํ้ามันคุณภาพไมถูกตอง มีแนวโนมลดลง โดยในปงบประมาณ 2555 ตรวจพบผิด คิ ด เป น ร อ ยละ 0.65 และ 0.41 ของ จํานวนรายและตัวอยางนํา้ มันทีต่ รวจสอบ ตามลําดับ” อธิบดี ธพ. เปดเผย นอกจากนี้ นายวีระพล ยังกลาวอีก วา หลังจากที่ ธพ. ไดประกาศกําหนด ลั ก ษณะและคุ ณ ภาพนํ้ า มั น เบนซิ น ให เหลือเพียงเกรดเดียวคือ เบนซิน 5 ตัง้ แต เดือน ม.ค. และไดผอนผันใหป มนํ้ามัน สามารถจําหนายนํา้ มันเบนซิน 1 ทีเ่ หลือ คางอยูใหถึงสิ้นเดือน มี.ค. จากการตรวจสอบในสิ้นเดือน มี.ค. พบวา ปมนํ้ามันสวนใหญจําหนายนํ้ามัน เบนซินเกรดใหมแลว โดยไดตรวจสอบรวม ทั้งสิ้น 46 ราย พบการจําหนายนํ้ามัน เบนซิน 1 เพียง 22 ราย คิดเปน 2.6% และไมพบวามีการนํานํา้ มันเบนซิน 1 มา จําหนายเปนเบนซิน 5 แตอยางใด
าน น น ระ ะ ั ั น น า ม รเรม าเนน าร ร ยั ร าพน ชา ป ยนยัน มเ า า เ ย เร น ร าเปน ย ม ัน โดย : เสือหมอบแมวเซา ประ ั า ร ะ าร ย าะ ั น มม นั แตทนี่ า หวง นั เ าร ั เ ั ั ั า พ าย าม ถึงขีดสุดในยามที่ไฟฟาบกพรองไมยอม ทํางาน พ ประย ัน ร ล อ ระยทธ จันทรโอชา ดร ทวารั ตู ะบตร ม ันเ ย า เ ย เ ย า ชา ผบ.ทบ. รวมทั้งบิ๊กๆ ในสายความ เพราะไมแนวา กลุม ผูก อ ความไมสงบทีเ่ รียก รา เ า ย านมา ม าร พ ประเ นน ัน ยา ม ม น มัน่ คงตางหวัน่ วิตกวา หากครัง้ หนายังเปน ประเทศไทยวา า า าน ม ยาม ะ าระ าร ร า ร า แบบนี้อีก เรื่องไมคาดคิดอาจเกิดขึ้นได อาจจะฉวยโอกาสความโกลาหลนี้สราง
ไปสูการเปนบริษัทพลังงานไทยขามชาติ ชั้นนํา” นายสรัญ กลาว สวนความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับการ ลงทุนโรงกลั่นและปโตรเคมีครบวงจรใน ประเทศเวียดนามนัน้ ดร.ไพรินทร เปดเผย วา ขณะนี้รัฐบาลเวียดนามไดเห็นชอบ กรอบการศึ ก ษาเบื้ อ งต น ของโครงการ ลงทุนดังกลาวที่เมืองบินหดินห ประเทศ เวี ย ดนามของบริ ษั ท แล ว โดยจะบรรจุ โครงการดังกลาวในแผนพัฒนานํา้ มันและ กาซธรรมชาติแหงชาติเวียดนาม อย า งไรก็ ต าม หากผู บ ริ โ ภค พบเห็นหรือสงสัยวาผูคานํ้ามันรายใด จําหนายนํ้ามันเชื้อเพลิงไมไดคุณภาพ ทําใหเครือ่ งยนตไดรบั ความเสียหาย ใน สวนกลางใหแจงเบาะแสหรือรองเรียน ไปที่สํานักคุณภาพนํ้ามันเชื้อเพลิง กรม ธุรกิจพลังงาน โทร. 0-2547-4324-5 หรือโทร. 0 - 205-2333 สําหรับใน สวนภูมิภาคแจงไดที่สํานักงานพลังงาน จังหวัด เพื่อจะไดจัดสงเจาหนาที่ไป ดําเนินการตรวจสอบตอไป ดานการจําหนายกาซ PG ผิด วัตถุประสงคและขามประเภทลาสุดนัน้ อธิบดี ธพ. เปดเผยวา ธพ. ไดออก มาตรการอยางรัดกุม โดยกําหนดใหโรง บรรจุขอซือ้ PG ไดเฉพาะทีม่ กี าํ ลังการ ผลิตลงถังจริงเทานั้น และกอนเคลื่อน ยายตองแจงกรมกอนทุกครั้ง ทําใหยอดการใช PG ภาคครัว เรือนเริม่ เขาสูภ าวะปกติ จากเดือน ม.ค. 56 มียอดใชสงู ถึง ,700 ตัน/วัน แตใน เดือน เม.ย. 56 ยอดใชปรับลดลงเหลือ 6,200 ตัน/วัน ขณะทีภ่ าคขนสง มียอด ใชปรับขึน้ ตามความตองการใชจริง โดย เดือน ม.ค. 56 มียอดใช 2, 00 ตัน/วัน ปรับเพิม่ ขึน้ ในเดือน เม.ย. 56 เปน 5,000 ตัน/วัน ซึง่ สะทอนใหเห็นถึงการลักลอบ ขาย PG ขามประเภทไดอยางชัดเจน สง ผลใหรฐั เสียผลประโยชนจากการชดเชย ราคาถึงปละกวา 2,400 ลานบาท สถานการณจนเกิดความสูญเสียใหญหลวง จะรีบทําอะไรก็ทาํ นะครับ เอแบค โพลลไมชาทีลงพื้นที่สอบถามความเห็น เกี่ยวกับความเชื่อมั่นของประชาชนหลัง จากเกิดเหตุไฟดับฉับพลันดังกลาว โดยสุม ตัวอยางประชาชนอายุ 1 ป ขึน้ ไปกวา 17 จังหวัดทัว่ ไทย พบวา รอยละ 60.5 รูส กึ กลัว ตกใจ กังวลตอปญหาอาชญากรรม การกอวินาศกรรม กอการราย และความ ไมปลอดภัยอืน่ ๆ จากเหตุการณไฟฟาดับ 14 จั ง หวั ด ภาคใต ที่ ผ า นมา ในขณะที่
ขณะเดียวกันทาง ปตท. จะตอง ศึ ก ษารายละเอี ย ดความเป น ไปได ข อง โครงการ (Detail FEASIBI IT ST D ) แลวเสร็จภายใน 12 เดือน หลังจากนั้น หากรัฐบาลเวียดนามอนุมัติก็จะเดินหนา โครงการไดเลย โครงการดังกลาวจะสรางโรงกลั่น นํ้ามันขนาด 660,000 บารเรล/วัน เปน ขนาดกําลังการกลั่นใกลเคียงโรงกลั่นใหม ของสิงคโปร ซึ่งออกแบบเพื่อตอยอดการ ผลิตโอเลฟนส 6.5 ลานตัน/ป และโรง อะโรเมติกส 3.7 ลานตัน/ป ใชเงินลงทุน 2 ,700 ลานเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 60,000 ลานบาท ผลตอบแทนการลงทุน (IRR) ประมาณ 14-15% โครงการนี้จะใช วัตถุดิบ คือ นํ้ามันดิบนําเขาจากตะวัน ออกกลาง “หากผลการศึ ก ษาพบว า เป น โครงการที่ดี ผลตอบแทนดี เชื่อวามีนัก ลงทุนสนใจที่จะเขามารวมทุนดวย อีกทั้ง โครงการนี้ ไ ม ห า งจากเมื อ งดานั ง ของ เวียดนาม ซึง่ สามารถเชือ่ มโยงมายังไทยตอ ไปยังนิคมทวาย ประเทศพมา และเมือง เชนไน ประเทศอินเดีย เพื่อสงออกนํ้ามัน และปโตรเคมีในอนาคตได”
“สามารถพู ด ได ว า เป น โครงการ อีสเทิรนซีบอรด อาเซียน เพราะเปนการ เชื่อมประเทศระหวางฝ งตะวันออกกับ ตะวันตกเขาหากัน และการเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 255 จะ ทําใหเปนตลาดใหญทจี่ ะรองรับผลิตภัณฑ ที่ผลิตได” ดร.ไพรินทร เผย ทั้งนี้ ปตท. เปดใหพันธมิตรรวมทุน ต า งชาติ ที่ ส นใจเข า มาร ว มถื อ หุ น ใน โครงการ โดยพันธมิตรเหลานีจ้ ะตองมีสว น ชวยเสริมใหโครงการเดินหนาไปได เชน หาพั น ธมิ ต รจากตะวั น ออกกลางที่ มี วัตถุดบิ ปอนโครงการ หรือดึงเทรดเดอรมา ชวยดานตลาด ขณะเดียวกันก็จะชักชวน บริษทั ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) เขา รวมทุนในโครงการดังกลาวดวยแทนการ ลงทุนโครงการปโตรเคมีคอมเพล็กซของ เครือซิเมนตไทยเองเพื่อลดความซํ้าซอน ดานการลงทุนโครงการตางๆ หลังจากรัฐบาลอนุมัติใหเดินหนา โครงการจะใช เ วลาในการออกแบบ กอสรา ง คาดวา จะผลิตเชิงพาณิชยได ภายในป 2563 ซึง่ การจัดหาเงินกูไ มนา จะ มีปญหาหากโครงการมีผลตอบแทนการ ลงทุนที่ดี
กองทน อนมั ิงบ 581 ลานบาท ชวย SMEs เรงลด นทนพลังงาน กองทุ น เพื่ อ ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พลังงาน อนุมตั งิ บประมาณ 5 1.44 ลานบาท ให สนพ. และ พพ. ดําเนินมาตรการชวยเหลือ ผูป ระกอบการ SMEs คาดชวยประหยัดคาใช จายพลังงานไดปล ะ 700 ลานบาท นายพ ั รั พ พ า รมว. พลังงาน ในฐานะประธานการประชุมคณะ อนุกรรมการกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ พลังงาน เปดเผยภายหลังการประชุม เมือ่ เร็วๆ นีว้ า ตามทีร่ ฐั บาลมีนโยบายเรงดวนใน การหามาตรการชวยเหลือผูประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากความผั น ผวนทาง เศรษฐกิจทัง้ จากปจจัยภายในและภายนอก ประเทศใหแลวเสร็จภายในเดือน มิ.ย. 56 นัน้ กระทรวงพลังงานในฐานะหนวยงาน ภาครั ฐ ที่ กํ า กั บ ดู แ ลด า นพลั ง งานของ ประเทศ จึงไดจดั เตรียมมาตรการชวยเหลือ ผูประกอบการในการลดคาใชจายดาน พลังงาน ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของตนทุนในการ ดํ า เนิ น กิ จ การ โดยที่ ป ระชุ ม คณะ อนุกรรมการกองทุน ไดเห็นชอบสนับสนุน งบประมาณจํานวน 5 1.44 ลานบาท ให สํ า นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) และกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไปดําเนิน
มาตรการชวยเหลือผูประกอบการ SMEs จํานวน 2 โครงการ ไดแก 1. โครงการ SMEs ประหยัดไฟ ชวย ไทยลดใชพลังงาน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ สนับสนุนใหสถานประกอบการ SMEs ทัว่ ประเทศ เปลี่ยนมาใชหลอดไฟประสิทธิ ภาพสูง โดยที่ประชุมอนุมัติงบประมาณ จํานวน 420.44 ลานบาท ให สนพ. ไป จัดสรรใหการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ดําเนินโครงการดังกลาว 2. โครงการสนั บ สนุ น การให คํ า ปรึกษาเพื่อลดตนทุนพลังงานในโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหโรงงานอุตสาห กรรม SMEs ไดรบั คําแนะนําในการดําเนิน มาตรการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ที่ โรงงาน สามารถดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง การใช พลังงานใหมีประสิทธิภาพในเครื่องจักร วัสดุและอุปกรณไดดวยตนเอง โดยเน น มาตรการที่ ไ ม ต อ งลงทุ น หรือลงทุนนอย และมีระยะเวลาคืนทุนสัน้ ซึ่งจะชวยลดคา ใชจา ยดา นพลังงานได อยางรวดเร็ว โดย พพ. ไดรับงบประมาณ ในการดําเนินโครงการจํานวน 161 ลาน บาท ตั้งเปาโรงงาน SMEs เขารวมไมนอย กวา 2,000 แหง
รอยละ 31.6 รูส กึ เฉยๆ และรอยละ 7. ไมรสู กึ อะไร เปอรเซ็นตทนี่ า สนใจ นอกเหนือจากความเชือ่ มัน่ ขางตนแลว เมือ่ ถามถึงความรับผิดชอบตอเหตุการณ ม ั เม นี้ ปรากฏวา รอยละ 55.7 ระบุ วารัฐมนตรีกระทรวงพลังงานควรเปนผูร บั ผิดชอบ ในขณะรอยที่ 35.1 ระบุรฐั บาลทัง้ คณะควรรับผิดชอบ รอยละ 7.0 ระบุหนวย งานราชการ และรอยละ 2.2 ระบุควรรับ ผิดชอบตัวเอง ผลโพลลออกมาแบบนีร้ สู กึ อยางไรกันบางครับพีน่ อ ง นโยบาย
การลอยตัวราคากาซ PG ภาคครัวเรือน ของกระทรวงพลังงานทีก่ าํ ลังจะเกิดขึน้ ใน อีกไมชานี้ หากไมมีการเลื่อนไปไหนอีก ทางดาน ร ะ ร ารั ะ ร รองอธิบดี พพ. เอยเอื้อนออกมาวา ได เตรียมพรอมการสนับสนุนการใชเตาแกส แรงดันสูง หรือเตาแมคา ซึง่ มีประสิทธิภาพ สูง ไมมรี รู วั่ ไมมเี ขมา และแรงดันไฟสูง ซึง่ ประดิษฐจากนักประดิษฐไทยและชาว ญีป่ นุ ซึง่ ชวยประหยัด PG ได 30-40% จากการใชปกติ ก็นบั วาเปนเรือ่ งดี
จับตามอง SME ไทย
ตัวเลขการลงทุนในเดือนมกราคม 255 มีจ นวน 120 โครงการ เพิ่มขึ้น 35 เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปที่ผานมา มีมูลคาเงินลงทุน 2 , 00 ลานบาท ลดลง 55 เนื่องจากปที่ผานมา มีโครงการขนาดให ยื่นขอรับการสงเสริมในกิจการ ผลิตไฟฟาหลายโครงการ คาดการณภาพรวมการลงทุนในป 255 จะไมต่ กวา 00,000 ลานบาท โดยอุตสาหกรรม ที่นาจับตามอง คือ อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป, ยานยนตและชิ้นสวน, เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส, พลังงานไฟฟา และปโตรเคมี
B4
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
มน บีเ ต ตอบ นองคนเมองได น
ชอยอดชาร น าน ตร ม น
กรงเทพ มันใ บัตรบเ สต สมารท แรบบิท ชวยเพิม รกรรม การใชบัตรเดบิตชําระสินคาเพิม ข้น มันใ บัตรใหม ูกใ สไตลคน เมองแนนอน วอนภาครั ชวย สนับสนนการใหความรูเรองการ ใช บั ต รเดบิ ต ชํ า ระสิ น ค า อย า ง ตอเนอง
ร า า รมย กรรมการ ผูช ว ยผูจ ดั การใหญ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) หรือ BB กลาววา ธนาคารเปด ตัวภาพยนตรโ ษณาชุดใหม “1 วันกับ บั ต รบี เ ฟ ส ต สมาร ท แรบบิ ท ” พร อ ม พรี เซนเตอร ตั ว แทนคนรุ น ใหม “เตอฉันทวิชช ธนะเสวี” ทีน่ าํ เสนอวิธกี ารใชบตั ร หลากหลายรูปแบบใน 1 วัน ตามไลฟสไตล คนเมือง โดยเริ่มตั้งแตใชเปนบัตรโดยสาร รถไฟฟาบีทีเอสเดินทางไปทํางาน ใชทํา ธุรกรรมทางการเงินทีต่ เู อทีเอ็ม ใชซอื้ สินคา จากรานคาพันธมิตรที่มีสัญลักษณแรบบิท ทัว่ กรุงเทพ พรอมรับคะแนนสะสมแครอท พอยท จากการเดินทางหรือเติมเงินในบัตร และใชชาํ ระคาสินคาและบริการในรานทีร่ บั บั ต ร VISA ทั่ ว โลก นั บ เป น นวั ต กรรม ทางการเงินทีถ่ กู ออกแบบมาเพือ่ ตอบสนอง ไลฟสไตลคนเมืองยุคใหมที่ตองการความ สะดวกสบายพร อ มรั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน มากมาย โดยภาพยนตรโ ษณาดังกลาวจะ ปรากฏสูสาธารณชนทั่วประเทศเปนครั้ง
แรบบิทไดที่รานคาชั้นนําที่รวมใหบริการ หรือเติมเงินไดที่หองจําหนายตัวโดยสาร ของรถไฟฟ า บี ที เ อส และรถโดยสาร ประจําทางดวนพิเศษ (BRT) ทุกสถานี รวมถึงจุดบริการเติมเงินที่ไดรับอนุญาต ลูกคาสามารถทําการเปลี่ยนแปลง และออกบัตรบีเฟสต สมารท แรบบิท เพิม่ เติ ม เป น บั ต รใบที่ 2 โดยใช ฐ านบั ญ ชี เดียวกันไดโดยไมตอ งเปดบัญชีใหม พรอม รั บ โปรโมชั่ น มากมายตามเงื่ อ นไขที่ ธนาคารกําหนด พิเศษ สําหรับผูถือบัตร บีเฟสต บีทีเอส อยูในปจจุบัน สามารถนํา บัตรมาเปลี่ยนเปนบัตรบีเฟสต สมารท แรบบิ ท ได ทั น ที โ ดยไม มี ค า ใช จ า ย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่สาขา ของธนาคารกรุงเทพในเขตนครหลวง หรือ บริการบัวหลวงโฟน โทร. 1333 และที่ เว็บไซต . ang o an .com โดยปจจุบันบัตรเดบิตของธนาคาร
แรกในวันที่ 1 มิถนุ ายน เปนตนไป ธนาคารตอกยํ้าความเปนผูนําดาน เทคโนโลยีหลังจากเปนธนาคารไทยแหง แรกที่เปดตัวชิพอัจฉริยะ EMV ที่มีความ ปลอดภัยสูง และในครั้งนี้ธนาคารไดนํา เสนอบัตรพรอมเทคโนโลยีลาสุดสําหรับ ไลฟสไตลคนเมือง โดยการใชเทคโนโลยี Contactless ที่มีรูปแบบการใชเชนเดียว กับบัตรแรบบิทมาใหบริการ พรอมเปดตัว ภาพยนตรโ ษณาตัวใหม เพื่อสื่อใหลูกคา กลุม เปาหมายไดเขาใจถึงวิธกี ารใชงานและ คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษอั น โดดเด น ของบั ต ร
บีเฟสต สมารท แรบบิท ที่ชวยอํานวย ความสะดวกและเพิม่ ความคลองตัวใหกบั ลูกคาของธนาคาร และลูกคาผูโดยสารรถ ไฟฟาบีทเี อส ทําใหไมตอ งพกพาบัตรตางๆ หลายใบ เพียงแคลูกคานําบัตรมาแตะที่ เครื่ อ งอ า นบริ เวณทางเข า -ออกสถานี รถไฟฟาบีทเี อส หรือรานคาพันธมิตรตางๆ ที่มีสัญลักษณแรบบิท ระบบจะทําการตัดเงินคาสินคาและ บริการจากขอมูลที่อยูในชิป ซึ่งเปนขอมูล คนละสวนกับบัญชีเงินฝากของลูกคา ทัง้ นี้ ลูกคาสามารถตรวจสอบมูลคาคงเหลือใน
า อก ้ยน ย าย งท น ยง ต ต การ ร ประเมน เ ยน ย าย นป ั น ประ า ั รา เ ยน ย าย เ น า รั เร น ามเ ย าน ั ารม รั พ ย ยั ม มมา มั น เร ยยั ยาย ั ประมา ม ั เ าร ร า เ ชน ร ั ร ม าเ ร นั ก เศรษฐศาสตรอาวุโส ศูนยวิจัยธนาคาร ไทยพาณิ ช ย หรื อ EIC เป ด เผยว า ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) มีมติ เอกฉันทใหลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 0.25% จาก 2.75 เหลือ 2.50% ในการ ประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) วันที่ 2 พ.ค. 2556 สาเหตุ ม าจากการชะลอตั ว ของ การใชจา ยภายในประเทศในไตรมาสแรก ทําให กนง. ตัดสินใจลดอัตราดอกเบี้ย นโยบาย การขยายตั ว ของอุ ป สงค ใ น ประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุน ภาคเอกชนในไตรมาส 1/2556 ทีต่ าํ่ กวา การคาดการณไว ทําให กนง. ผอนคลาย นโยบายการเงินเพิ่มเติมเพื่อกระตุนการ ใชจายในประเทศ และรักษาแรงสงตอ การขยายตัวทางเศรษฐกิจภายใตภาวะ แรงกดดันเงินเฟอทีม่ ไี มมากนัก แนวโนม แข็งคาของเงินบาท และความไมแนนอน ของเศรษฐกิจโลก อยางไรก็ตาม ธปท. ยังกังวลความ
เสีย่ งดานเสถียรภาพการเงิน รวมไปถึงเงิน ทุ น เคลื่ อ นย า ย การลดอั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายลงอาจเปนการเรงการขยายตัว ของสินเชือ่ ซึง่ หากอยูร ะดับทีส่ งู เกินไปจะ สงผลกระทบตอเสถียรภาพทางการเงินได นอกจากนี้ เงิ น ทุ น เคลื่ อ นย า ยจาก มาตรการผ อ นคลายทางการเงิ น ของ ประเทศสหรัฐ และญี่ปุน ก็ยังคงเปน ความเสี่ยงตอเสถียรภาพการเงินที่ ธปท. ใหความสนใจเชนกัน “การประชุ ม ในครั้ ง นี้ ส รุ ป ได ว า เศรษฐกิจในภาพรวมฟนตัวลาชากวาที่ คาดไว สหรัฐอเมริกา มีการฟนตัวอยาง คอยเปนคอยไป ยุโรปยังคงออนแอแตมี ความเสีย่ งทีล่ ดลง และญีป่ นุ ไดรบั ผลบวก จากปจจัยนโยบายในการกระตุน เศรษฐกิจ และจีนรวมถึงเอเชียมีอัตราการขยายตัว ตํ่ากวาที่คาดไว สวนเศรษฐกิจไทยในชวงไตรมาส 1/2556 ที่ผานมา ขยายตัวตํ่ากวาที่คาด ซึ่งสาเหตุมาจากอุปสงคภายในประเทศ อาจจะกระทบตอแรงสงของเศรษฐกิจใน ระยะตอไปได โดยเฉพาะหากมีความลาชา ในโครงการลงทุนขนาดใหญของภาครัฐ และแนวโนมของภาคการสงออกมีความ เสี่ ย งมากขึ้ น จากการที่ จี น มี อั ต ราการ เติบโตที่ชะลอตัวลง แตในสวนของแรง กดดันดานเงินเฟอก็จะมีทิศทางที่ลดลง จากปจจัยในเรือ่ งตนทุนทีล่ ดลง แตในเรือ่ ง หนี้ สิ น ภาคครั ว เรื อ นยั ง มี แ นวโน ม การ
งส้น ล ลง
เติบโตในระดับสูงอยางตอเนื่อง” ดร. อธิภัทร กลาว ดั ง นั้ น EIC คาดอั ต ราดอกเบี้ ย นโยบายคงอยูที่ระดับ 2.50% จนถึง สิน้ ป หนีค้ รัวเรือนและความเสีย่ งในภาค อสังหาริมทรัพยเปนปจจัยสําคัญทีท่ าํ ให โอกาสในการลดอัตราดอกเบีย้ เพิม่ เติมมี ไมมากนัก นอกจากนี้ เศรษฐกิจไทยยังมี แนวโนมขยายตัวไดดีราว 5% แมวาจะ มีความเสีย่ งเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากการบริโภค ภาคเอกชนขยายตั ว ตํ่ า กว า ที่ ค าดใน ไตรมาสแรกก็ตาม โดยการสงออกที่เริ่ม สงสัญญาณฟนตัว และการลงทุนภาครัฐ ที่ยังขยายตัวไปตามคาดจะเปนแรงสง เพิ่มเติมใหแกเศรษฐกิจไทยในป นอกจากนี้ ตองจับตาดูมาตรการ กํากับดูแลเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพิ่ม เติม ธปท. อาจมีการใชมาตรการ Macro rudential เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ รั ก ษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจในภาวะทีอ่ ตั รา ดอกเบี้ยอยูในระดับตํ่า และสินเชื่อภาค ครัวเรือนขยายตัวสูง โดยเฉพาะอยางยิง่ มาตรการกํากับดูแลการปลอยสินเชื่อ ในภาคอสังหาริมทรัพย เชน การลด อั ต ราส ว นวงเงิ น กู ต อ มู ล ค า หลั ก ประกัน ( oan to Value TV) ลง สําหรับผูที่ซื้อบานหลังที่ 2 ขึ้นไป เพื่อ ชะลอความรอนแรงในการเก็งกําไรที่อยู อาศั ย และลดความเสี่ ย งในการเกิ ด ฟองสบู
องทน ย บต ตอ า หนา... และกองทุน จึงไมมนี โยบายทีจ่ ะยายฐาน การผลิตโดยเฉพาะโรงงานในนิคมอุตสาห กรรมไฮเท็ค ที่ไดรับความเสียหายจาก นํ้าทวมปลายป 2554 เนื่องจากบริษัท ประกั น ภั ย เข า มารั บ ผิ ด ชอบดู แ ลจาก ประกั น ภั ย ที่ ไ ด ทํ า เอาไว นั บ จากนี้ ตั ว บริ ษั ท เองยั ง สร า งแนวป อ งกั น นํ้ า รอบ โรงงานและมีมาตรการรองรับตางๆ หาก เกิดภัยธรรมชาติขึ้น สวนการทําประกัน ภัยในขณะนี้ยังคงมีการซื้อความคุมครอง ไวเชนเดิม ซึง่ ก็เปนบริษทั ประกันวินาศภัย สัญชาติญี่ปุน ณ วั น ที่ 2 มี น าคม 25557 พฤษภาคม 2556 มี ย อดจํ า หน า ย กรมธรรม ป ระกั น ภั ย พิ บั ติ รวมทั้ ง สิ้ น 3,521 ฉบับ โดยมีกรมธรรมประกันภัย พิบัติที่ยังมีความคุมครอง 7 ,625 ฉบับ ซึ่ ง เป น ทุ น ประกั น ภั ย ต อ ตามสั ด ส ว น กองทุน ทีย่ งั มีความคุม ครอง 54, 45 ลาน บาท และเบี้ยประกันภัยตอตามสัดสวน กองทุน 464 ลานบาท ขณะเดียวกันพบ วากลุมบานอยูอาศัยมีการซื้อกรมธรรม ประกันภัยพิบตั สิ งู สุดคิดเปนสัดสวน 2% ของกรมธรรม ทั้ ง หมด หรื อ จํ า นวน 06,622 ฉบับ รองลงมา คือ กลุม ธุรกิจ SMEs สัดสวน 7% หรือ 6 ,013 ฉบับ และ กลุม อุตสาหกรรม 1% หรือ 4, 0 ฉบับ นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิ การสํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (คปภ.) กลาวถึงการปรับเบี้ยวา ขณะนี้ คณะอนุกรรมการของกองทุนกําลังศึกษา แนวโน ม ในการปรั บ เบี้ ย ประกั น ภั ย ภั ย พิบัติภาคครัวเรือนใหลดลง แมจะยังสรุป อัตราเบีย้ ไมได แตแนวโนมทีจ่ ะผลักดันให ภาคครัวเรือนเขาถึงความคุมครองไดมาก มี 2 แนวทาง คือ ขายคูไปกับประกัน อั ค คี ภั ย หรื อ แยกประกั น อั ค คี ภั ย กั บ ประกันภัยพิบัติออกจากกัน ซึ่งทั้งหมดนี้ คาดวาจะเริม่ เห็นทิศทางในชวงไตรมาส 3 และสรุปไดในชวงไตรมาส 4 ปนี้ นายจักรกฤศฏิ พาราพันธกุล รอง ปลั ด กระทรวงการคลั ง และกรรมการ บริ ห ารกองทุ น ส ง เสริ ม ประกั น ภั ย พิ บั ติ กลาวถึงการบูรณาการระบบบริหารความ
มี ทั้ ง หมดอยู ที่ 14 ล า นบั ต ร และใน จํานวนนี้มีสัดสวนเพียง 6% เทานั้นที่นํา บัตรเดบิตไปใชจายในการซื้อสินคาตางๆ สวนหนึ่งมาจากการที่ธนาคารยังไมการ จั ด การประชาสั ม พั น ธ ใ นเรื่ อ งนี้ อ ย า ง ชัดเจน แตกไ็ ดมกี ารนําเสนอในเรือ่ งการใช บั ต รเดบิ ต ในการชํ า ระสิ น ค า ผ า นทาง แคมเปญตางๆ บางแลว แตผลทีไ่ ดรบั ก็ยงั ไมเปนนิยมมากนัก ซึง่ ธนาคารมัน่ ใจวาการ ออกบัตร บีเฟสต สมารท แรบบิท จะชวย เพิม่ การใชบตั รเดบิตชําระเงินมากขึน้ อยาง แนนอน ทั้งนี้ ธนาคารไดเริ่มเขาไปเจาะ กลุม ลูกคาคนรุน ใหมเปนอันดับแรกเพราะ เชือ่ วามีการเรียนรูใ นเรือ่ งนีไ้ ดอยางรวดเร็ว โดยในป 2555 ยอดการใชบัตรเดบิตของ ธนาคารในการชําระสินคาเติบโต 10% แต ในปนี้กลับเติบโตไปถึง 30% แสดงใหเห็น ถึงการเติบโตอยางตอเนื่อง อย า งไรก็ ต าม ทางธนาคารแห ง
ประเทศไทยก็ไดมีการสนับสนุนในเรื่อง การใชบัตรเดบิตชําระคาสินคา เพราะจะ ทํา ใหตนทุนในการผลิตพันธบัตรลดลง และทําใหมีความปลอดภัยมากขึ้นเพราะ การใชเงินสดมีความเสี่ยง ดังนั้น ระบบ ocal S itching ที่ จ ะออกมาเป น กฎหมายบั ง คั บ ใช ใ นเดื อ นกั น ยายน 2556 นี้นาจะชวยใหบัตรเดบิตเปนที่นิยม มากขึน้ ในการนําไปชําระสินคาแทนเงินสด นอกจากนี้ ภาครัฐบาลเองก็ควรใหการ สนั บ สนุ น ในเรื่ อ งนี้ ด ว ยเช น กั น เพื่ อ ที่ ประชาชนจะไดมคี วามรูค วามเขาใจในการ ใชบัตรเดบิตดีขึ้น ทัง้ นี้ ขอดีของการใชบตั รเดบิตชําระ สินคายังมีอกี มากมาย ไมวา จะเปนการลด ภาระของตูเ อทีเอ็ม ทําใหในอนาคตอาจจะ ไมจาํ เปนตองพึง่ ตูเ อทีเอ็มกันมากนัก และ ยั ง ช ว ยลดต น ทุ น ในเรื่ อ งพนั ก งานของ ธนาคารลงไดอีกดวย
เสี่ยงภัยพิบัติของประเทศไทย วา การที่ เศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวไดตอเนื่อง เปนผลจากนักลงทุนทั้งชาวไทยและตาง ชาติ มีความเชือ่ มัน่ ตอนโยบายรัฐบาลและ การดําเนินการของภาครัฐ ในการบริการ จัดการภัยพิบตั ิ ไมวา จะเปนการจัดตัง้ คณะ กรรมการยุทธศาสตรเพื่อการฟนฟู และ สรางอนาคตประเทศ (กยอ.) และโครงการ บริหารจัดการนํา้ ทีจ่ ะชวยปองกันและแกไข ปญหาอุทกภัย รวมทัง้ การจัดตัง้ กองทุนสง เสริมการประกันภัยพิบัติ ขึ้นภายในระยะ เพียง 4 เดือนเทานัน้ ขณะทีต่ า งประเทศ ตองใชเวลาการจัดตัง้ ถึง 2 ป ดังนัน้ การตัง้ กองทุน ถือเปนการสรางความมัน่ ใจใหแก ประชาชน ผูป ระกอบการ และนักลงทุนตาง ชาติ ใหดาํ เนินกิจการและขยายการลงทุน ในไทยตอไป ซึ่งเปนปจจัยสําคัญตอการ ขยายตัวของเศรษฐกิจของไทยในอนาคต
กลายเปนบุคคลทุพพลภาพถาวรสิน้ เชิง ไม สามารถประกอบอาชีพได และทุพพลภาพ ตอเนื่องมาไมนอยกวา 1 0 วัน ผูเอา ประกั น จะได รั บ สิ ท ธิ ไ ม ต อ งชํ า ระเบี้ ย ประกั น อี ก ต อ ไป นั บ ตั้ ง แต เ ดื อ นที่ เริ่ ม ทุ พ พลภาพ อย า งไรก็ ดี กรณี นี้ ค วาม คุมครองการเสียชีวิตหรือสูญเสียอวัยวะ จากอุ บั ติ เ หตุ และเงิ น ชดเชยค า รั ก ษา พยาบาลรายวันจะหมดลง แตยังคงไดรับ ความคุมครองประกันชีวิตอยูเชนเดียวกัน นายสวัสดิ กลาวเพิ่มเติมวา แบบ ประกั น ดั ง กล า วเหมาะกั บ ผู ที่ ต อ งการ สวัสดิการดานอุบัติเหตุ และเงินชดเชย ค า รั ก ษาพยาบาลรายวั น เช น กลุ ม เกษตรกร พนักงานโรงงาน ประกอบกับคา รักษาพยาบาลในปจจุบันมีแนวโนมปรับ ตัวสูงขึน้ แบบประกันจะชวยแบงเบาภาระ คาใชจายในยามฉุกเฉินใหแกตนเองและ ครอบครัว นอกจากนั้น ผูเอาประกันที่ซื้อ แบบประกันทรัพยทวี 150 พลัส ยังไดรับ บริการในสวนของไทยประกันชีวิตฮอต ไลน บริ ก ารช ว ยเหลื อ ฉุ ก เฉิ น ทางการ แพทย และการเดินทางฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง ทุกที่ ทั่วโลก, ไทยประกันชีวิตแคร เซ็นเตอร ศูนยดูแลสิทธิประโยชนผูเอา ประกัน และใหบริการขอมูลตามเงื่อนไข กรมธรรมที่สมบูรณแหงแรกในธุรกิจ “การพัฒนาแบบประกันนี้ นอกจาก จะสงเสริมใหผูมีรายไดนอยไดรับสวัสดิ การทีค่ รอบคลุม อันเปนการลดภาระคาใช จ า ยทั้ ง ของตนเองและภาครั ฐ แล ว ยั ง เป น การสอดรั บ กั บ นโยบายบริ ษั ท ที่ ตองการมอบการดูแลอยางครบรอบดาน เพื่อเปนทุกคําตอบของการประกันชีวิต หรือ Total ife Solutions”
ม ลว ตอ า หนา... คารักษาพยาบาลรายวัน แตเบีย้ ประกันถูก เริ่มตนเพียงเดือนละ 500 บาท และสูงสุด เดือนละ 1,000 บาท โดยมีระยะเวลา คุม ครอง 20 ป ระยะเวลาชําระเบีย้ ประกัน 20 ป อายุรับประกันตั้งแต 5-55 ป ขณะเดียวกันยังมีสิทธิประโยชน ระหวางสัญญา โดยมีเงินคืน 10% ของ จํานวนเงินเอาประกันภัย ทุกรอบ 4 ป ครบกําหนดสัญญารับเงินคืน 100% ของ จํานวนเงินเอาประกันภัย กรณีเสียชีวติ รับ 100% ของจํานวนเงินเอาประกันภัย เสีย ชีวิตจากอุบัติเหตุรับเพิ่มเปน 200% ของ จํ า นวนเงิ น เอาประกั น ภั ย สํ า หรั บ เงิ น ชดเชยคารักษาพยาบาลรายวัน ชดเชย วันละ 500 บาท สูงสุดไมเกิน 365 วัน “กรณีผเู อาประกันเคลมสินไหมจาก ประกั น อุ บั ติ เ หตุ หรื อ ชดเชยค า รั ก ษา พยาบาลรายวั น แล ว ความคุ ม ครอง ดั ง กล า วจะหมดไป แต ยั ง คงมี ค วาม คุมครองประกันชีวิตอยู ซึ่งเราจะหักเบี้ย ประกันในสวนประกันอุบัติเหตุ หรือเงิน ชดเชยคารักษาพยาบาลรายวันออก” แบบประกั น ดั ง กล า วยั ง มี สิ ท ธิ ประโยชน ย กเว น การชํ า ระเบี้ ย ประกั น กรณี ทุ พ พลภาพถาวรสิ้ น เชิ ง ขณะที่ กรมธรรมมีผลบังคับ หากผูเอาประกัน
ไทยซมซง ตอ า หนา... (Samsung ife Insurance) เปนลําดับที่ 330 ซึ่งป 2555 “ซัมซุง ไลฟ” มียอดขาย สูงถึง 1 ,0 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ (ประมาณ 573 แสนลานบาท) มีมูลคาหุน ในตลาดหลักทรัพยของบริษัท 17,740 ลานเหรียญดอลลารสหรัฐ (ประมาณ 532 แสนล า นบาท) มี สิ น ทรั พ ย โ ดยรวม 142,200 ล า นเหรี ย ญดอลลาร ส หรั ฐ (ประมาณ 4 ลานลานบาท)
านะ ศร กิ จ อ ระ ทศ นกลุ มยู ร น ทม น าธาร ะ น ั มา
วน ู
านั าน ะ รรม ารพัฒนา ารเ ร
ะั ม
ชา
ประเทศ
สัดสวนหนี้ตอ GDP
ดุลงบประมาณ (% GDP)
หนี้ครบกําหนดในป 2554 (bn eur)
อัตราการวางงาน Q1/2554 (%)
กรีซ ไอรแลนด ปรตุเกส สเปน อิตาลี เบลเยียม
142.8 96.2 93.0 60.1 119.0 96.8
-7.4 -10.3 -4.9 -6.4 -4.2 -4.7
40.1 11.9 23.2 128.9 332.9 70.1
10.5 14.8 11.1 20.6 8.3 7.7
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
ไทย บง ล เท
บมอเ ร
รค
B5
าน ยายการ ทน ปน 2 ทา
รมว พา ิชยไทย ตอนรับ รมว พา ิชยบังกลาเทศ เพอรวม ประชมและเ ร าการคาการลงทนของทัง้ สองประเทศ หลัง ากทหาง เหินการพูดคยกันมากวา 2 ป บ ทรง หวังการประชมครั้งน้เปน แรงผลักดันใหนักลงทนไทยเขาไปสราง านการผลิตในเอเชยใต เพราะคาแรงตํา ทรัพยากรอดมสมบูร นาย ร เ รยา รมย รมว. พาณิ ช ย เป ด เผยว า ไทยเป น เจ า ภาพ จัดการประชุมคณะกรรมการรวมดานการ คา ( oint Trade Committee TC) ระหวางไทยและบังกลาเทศ ครั้งที่ 3 เมื่อ วันที่ 15 พ.ค. 56 ที่ผานมา โดยฝาย บั ง กลาเทศมี นายกู แ ลม มู ฮั ม เมด เควเดอร รมว.พาณิชยบังกลาเทศ เปน หัวหนาคณะ หลังจากที่ทั้งสองฝายไมได
ประชุมรวมกันเปนเวลาเกือบ 24 ป นายบุญทรง กลาววา การประชุม ครั้งนี้ไทยและบังกลาเทศจะกระชับความ สัมพันธทางดานการคาและการลงทุนให ขยายตัวมากขึ้นเปนสองเทา (1,700 ลาน เหรียญสหรัฐ) ภายในป 255 และเพื่อให บรรลุเปาหมายในการขยายการลงทุน ทั้ง สองฝายจะรวมมือกันแกปญหาการคาที่มี อยูในปจจุบัน เชน
- ไทยขอใหบังกลาเทศยกเลิกขอ กําหนดใบรับรองการปลอดรังสี (Radiation Certi cate) ที่ ผู นํ า เข า ของ บั ง กลาเทศจะต อ งแสดงต อ ศุ ล กากร บังกลาเทศกอนนําสินคาเขาไทย - ไทยขอให บั ง กลาเทศเร ง รั ด ธนาคารพาณิชยบังกลาเทศใหจายเงินคา สินคาแกผูสงออกไทย ทันทีที่ไดรับสินคา - บังกลาเทศขอใหไทยยกเวนภาษี สินคาสงออกของบังกลาเทศ 22 รายการ เชน ปอกระเจา ปลา และปาน เปนตน นอกจากนี้ ทัง้ สองฝายยังไดรว มกัน กําหนดแผนงานทีจ่ ะทํากิจกรรมเพือ่ ขยาย มูลคาการคา และลดความไมสมดุลทางการ คา เชน บังกลาเทศจะชวยอํานวยความ สะดวกแก นั ก ลงทุ น ไทยในบั ง กลาเทศ
สราง ลนลูก ห ู าออนไลนไทย
ยหลกสูตร
กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวง พาณิชย เปดโครงการ “ e Wave eCommerce สรางคลื่นลูกใหมผูประกอบ ธุ ร กิ จ ไทย” โดยจั ด หลั ก สู ต รอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ การ 36 ชั่ ว โมง ส ง เสริม การใช พาณิชยอิเล็กทรอนิกส หรือ e-Commerce ในการเริ่มตนประกอบธุรกิจและ ใชเปนเครื่องมือขยายตลาด พรอมสราง ประสบการณ ใ ห นั ก ศึ ก ษาด ว ยการฝก ปฏิบัติจริงในการสรางรานคาออนไลน ตั้ ง เป า ผลั ก ดั น ผู ป ระกอบการ ทายาทธุรกิจ สหกรณ ธุรกิจที่อยูในความ ส ง เสริ ม ของกรมพั ฒ นาธุ ร กิ จ การค า นักศึกษา และผูประกอบธุรกิจทั่วไปให สรางรานคาออนไลนจํานวน 200 รานคา กอนตอยอดโครงการใหแพรหลายยิ่งขึ้น นาย รรย มประยร อธิบดี กรมพัฒนาธุรกิจการคา เปดเผยวา ปจจุบนั อิ น เทอร เ น็ ต เป น ช อ งทางในการติ ด ต อ สื่อสารที่สําคัญและมีแนวโนมเพิ่มขึ้นตาม สภาวการณของโลกและบริบทใหมของโลก ในทศวรรษหนา เทคโนโลยีจะมีบทบาท สําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและตอบ สนองการดํารงชีวติ ของประชาชนมากขึน้ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง พาณิ ช ย อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ ก ลายเป น เครื่ อ งมื อ ทางการคาที่สําคัญและมีบทบาทตอการ เพิ่ ม ศั ก ยภาพในการทํ า ธุ ร กิ จ ช ว ยลด ตนทุนและสรางโอกาสในการขยายกลุม ลู ก ค า ขยายเวลา และสถานที่สําหรับ ทําการคาใหมากขึน้ รวมถึงขยายการคาไป สูสากลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ แขงขันและสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ
ใหกับประเทศ “กรมพัฒนาธุรกิจการคา มีบทบาท ในการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจใหมีการ บริหารจัดการสมัยใหม สรางโอกาสในการ ขยายตลาดใหภาคธุรกิจ ไดมีการพัฒนา ผูประกอบธุรกิจทั่วไปและธุรกิจรายสาขา อาทิ ธุรกิจบริการ ธุรกิจแฟรนไชส ธุรกิจ คาสง-คาปลีก รวมทัง้ สงเสริมการใชพาณิชย อิเล็กทรอนิกสเปนเครื่องมือในการเริ่มตน ธุรกิจ หรือขยายตลาด เพิ่มประสิทธิภาพ และขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจ ใหแกภาคธุรกิจไทยมาอยางตอเนือ่ ง” “ในการสรางผู ประกอบธุ ร กิ จ รุ น ใหม จํ า เป น ต อ งสร า งพื้ น ฐานที่ แข็ ง แรง ตั้งแตในระดับการศึกษาและสรางทายาท ธุรกิจใหเปนกําลังสําคัญสรางความเติบโต ทางธุรกิจของผูประกอบการ กรมพัฒนา ธุรกิจการคามีแนวทางในการดําเนินงาน ดานสงเสริมพัฒนาธุรกิจ โดยมุงเนนการ สร า งความร ว มมื อ ระหว า งสถาบั น การ ศึกษา ผูใหบริการเกี่ยวกับการประกอบ ธุรกิจ e-Commerce สถาบันการเงิน หนวยงานภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ ในการสนับสนุนการดําเนินงานเพือ่ ใหเกิด ผลการพัฒนาอยางครบวงจร และเปนรูป ธรรม สงผลตอการขยายตัวทางธุรกิจอยาง แทจริง” นายบรรยงค กลาว สําหรับการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ (Wor sho ) โครงการ e Wave eCommerce สรางคลื่นลูกใหมผูประกอบ ธุรกิจไทย เปนหลักสูตรการสรางรานคา ออนไลน การบริหารจัดการ และเทคนิค การตลาดออนไลน (e-Mar eting) รวมไม
ไอทีพลา าทมงบเปดสา า หมทีอยธยา นาย มชาย ัน นะประ า พร กรรมการผูจัดการ บริษัท ไอที พลาซา จํากัด กลาววา สําหรับในป 2556 นี้ ศูนยการคาไอทีพลาซา ยังคงเนนการขยาย พืน้ ใหครอบคลุมมากขึน้ ซึง่ เราเลือกพืน้ ที่ ที่สามารถพัฒนาใหเจริญเติบโตได อยาง เชน จ.พระนครศรีอยุธยา ที่ไอทีพลาซา เลือกใหเปนสาขาใหมสาขาที่ บนชัน้ 3 ของศูนยการคา “เดอะสกาย ชอปป ง
เซ็นเตอร” มีเนือ้ ทีก่ วา 6,000 ตารางเมตร ซึง่ จะเปดใหบริการเดือนพฤศจิกายน 2556 นี้ โดยไอทีพลาซาสาขานี้ บริษทั ทุม งบ การลงทุนกวา 10 ลานบาท มัน่ ใจหลังจาก เปดศูนยไปแลวไมนาเกิน 2 ป ไดกําไร เนื่องดวยคอนเซ็ปตใหมในรูปแบบไลฟ สไตลไอทีครบวงจร ที่เราเนนการตกแตง ให ดู ทั น สมั ย เหมาะกั บ รู ป แบบของ ศูนยการคาเดอะสกาย
นอยกวา 36 ชั่วโมง/รุน โครงการนี้จะ จัดหาโดเมนเนมและพืน้ ทีเ่ ว็บไซตเปนเวลา 1 ป จํานวนไมนอยกวา 200 เว็บไซต เพื่อ การฝกปฏิ บั ติ จ ริ ง โดยจะติ ด ตามการ ดําเนินงานของผูเขารวมโครงการและให คําปรึกษาตลอดระยะเวลาโครงการ 1 ป จากนั้นจะทําการคัดเลือกรานคา ออนไลนดีเดน โดยพิจารณาจาก Business Model และผลการเขารวมการ พัฒนาจํานวนไมนอยกวา 4 เว็บไซต เพื่อ เผยแพรเปนตนแบบการประกอบธุรกิจ e-Commerce นายชาญชัย อัครเวทวัฒนา ผูบ ริหาร และหนึ่งในผูรวมกอตั้งเว็บไซตลาซาดา ( a ada) ในประเทศไทย ได ม าเป น วิ ท ยากรบรรยายลั ก ษณะธุ ร กิ จ การค า ออนไลนของเว็บไซตตนเองวา ปจจุบัน ผูคนเขาถึงขอมูลทางโลกออนไลนกันมาก คนหันมาใชสมารทโฟน แท็บเล็ต กันเยอะ มาก ทํ า ให ล าซาด า จั บ กลุ ม เป า หมาย เหลานีใ้ นการอํานวยความสะดวกจําหนาย สินคาออนไลนสง ใหถงึ ทีบ่ า น โดยผูบ ริโภค ไมตองขับรถออกมาหาซื้อขางนอก ที่อาจ จะรถติดและเสียเวลาได ดังนัน้ จึงขอเชิญชวนผูส นใจเขารวม โครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการทํา ธุรกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการ แข ง ขั น ให ธุ ร กิ จ ไทยก า วไกลด ว ยตลาด ออนไลน ผูสนใจสามารถเขาชมรายละเอียด และสมัครเขารวมโครงการไดที่เว็บไซต .DBDne ave.com หรือสอบถาม เพิ่มเติมไดที่สายดวน 1570 ซึ่งนอกจากจะมีศูนยบริการและ สินคาไอที ทั้งคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟตแวร มือถือ แท็บเล็ต และแอคเซส เซอรี่ตางๆ แลว เรายังอาจจะนําเสื้อผา รองเทา สินคาแฟชั่นอื่นๆ ที่เหมาะสม เข า มาอยู ใ นศู น ย เพื่ อ เติ ม เต็ ม ความ แปลกใหมเขาไปอีกดวย และคาดหวังวา ก็นาจะทําลูกคาของศูนยการคาเดอะ สกาย ประทับใจไมมากก็นอย และถา ศูนยการคาไอทีพลาซารูปแบบใหมนี้ ประสบผลสําเร็จ เราก็นาํ ไปเปนตนแบบ สําหรับเปดในสาขาอื่นๆ ตอไป
และไทยจะให ค วามช ว ยเหลื อ แก บังกลาเทศในการจัดงานแสดงสินคาในไทย ทั้ ง นี้ บั ง กลาเทศยั ง ขอให ไ ทยให ความชวยเหลือดานวิชาการในการทําสวน ยางพาราและการผลิตยางในบังกลาเทศ รวมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณในการ เพื่อเปนการสงเสริมใหผูประกอบ การไทย เห็นโอกาสในการลงทุนและ ทํ า การค า กั บ ประเทศพม า และกลุ ม ประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ ได เปดศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทยใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในไทยและ ในตางประเทศอีก แหง นา รรั น รั ปานะ รม เ รม าร าระ า ประเ เผยวา การเขารวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ถือเปนโอกาสสําคัญสําหรับภาคธุรกิจ ไทยทั้ ง ในด า นการค า และการลงทุ น เนือ่ งจากอาเซียนจะกลายเปนตลาดและ ฐานการผลิตเดียวกันทําใหการเคลื่อน ยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝมือจะเปดกวางมากขึ้น เนื่ อ งจากขนาดของตลาดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนมีประชากรรวมกันกวา 600 ลานคน สําหรับตลาดพมาที่เพิ่งมีการเปด ประเทศใหม ถือวาเปนตลาดที่นาสนใจ มากสําหรับผูป ระกอบการไทย เนือ่ งจาก มีขอไดเปรียบหลายเรื่อง นอกจากนี้ คน พมายังคุนเคยกับสินคาไทยเปนอยางดี และเชือ่ มัน่ ตอคุณภาพสินคาไทยทําใหมี โอกาสในการเป ด ตลาดได ง า ย โดย เฉพาะสิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภคในชี วิ ต ประจํ า วั น ผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม ความงาม เครื่ อ งสํ า อาง ก็ เ ป น สิ น ค า ที่ มี โ อกาส ขยายตัวสูง นายประ น าน ย าร านั าน เ รม าร าระ า ประเ ร ยา ประเ พมา กลาวถึงตลาดพมาในขณะนี้ วา เปน ตลาดที่ มี โ อกาสและความเหมาะสม สํ า หรั บ นั ก ลงทุ น ไทย เนื่ อ งจากมี ศักยภาพเหมือนไทยเมื่อ 30 ปที่แลว ทําใหนักธุรกิจรูกระบวนการธุรกิจเปน อยางดี วาจะดําเนินธุรกิจอยางไร พมา ถือวาเปนประเทศที่รวยที่สุดในภูมิภาค นี้ เพราะมีทรัพยากรธรรมชาติทสี่ มบูรณ ทัง้ แรธาตุ และแกส สังเกตไดวา ทีผ่ า นมา
ใหสําเร็จโดยเร็ว เพื่อใหเกิดประโยชนแก สมาชิก BIMSTEC สําหรับภาพรวมการคา และการลงทุนไทย-บังกลาเทศ ในป 2555 บังกลาเทศถือเปนคูคาลําดับที่ 51 ของ ไทย มี มู ล ค า การค า ระหว า งกั น รวม 51.36 ลานเหรียญสหรัฐ และมีสัดสวน ของการคารอยละ 0.1 ของการคาไทย ทั้งหมด” “ ส ว น ไ ท ย เร า เ อ ง ส ง อ อ ก ไ ป บังกลาเทศรวม 764.47 ลานเหรียญสหรัฐ อยู ใ นอั น ดั บ ที่ 3 ของแหล ง ส ง ออก ทั้ ง หมดของไทย ส ว นการนํ า เข า จาก บังกลาเทศรวม 6. ลานเหรียญสหรัฐ อยูในอันดับที่ 67 ของไทย” นานบุญทรง เปดเผย ทั้งนี้ บังกลาเทศเปนแหลงลงทุนที่ รวมมือมือระหวางภาครัฐและเอกชน และ นาสนใจ เนื่องจากคาแรงตํ่า มีทรัพยากร ขอใหไทยพิจารณาจัดตั้งคณะผูเชี่ยวชาญ อุดมสมบูรณ และไดรับการยกเวนภาษี เรื่องการขายสินคาที่จําเปนในรูปรัฐตอรัฐ จากสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกา ดังนัน้ แกบังกลาเทศ นักลงทุนไทยจึงสนใจที่จะใชบังกลาเทศ “ทั้งสองฝายจะรวมมือกันผลักดัน เปนฐานการผลิตเพือ่ สงออกไปยังประเทศ การเจรจาการคาภายใต BIMSTEC FTA เหลานี้
ชี้ชองทางลงทุน พมา ตลาดใหมที่นาจับตามอง
เ ดิ น ท า ง ไ ป สํ า ร ว จ ต ล า ด จ ริ ง ๆ ข อ ง ประเทศพมา 2. ตอง ทําใจเพราะโครงสราง พื้นฐานของพมายังลา หลัง แตคิดวาสามารถ พัฒนาทัดเทียมไทยได ภายใน 10-15 ป 3. ระจวบ ินี เมือ่ คิดจะลงทุนในพมา รีรัตน รั านะ ูอานวยการ านักงาน งเ ริมการคา อธิบดีกรม งเ ริมการคาระ วาง ระเท ระ วาง ระเท กรงยางกง ระเท มา จํ า เป น ต อ งปรั บ ตั ว การสงออกจากไทยไปพมามีแตขยายตัว ยอมรับกับสิ่งที่เขาเปน และ 4. ตองมี ทั้งนี้ พมาเปนประเทศที่มีกําลังซื้อสูง มี พันธมิตรที่เปนคนทองถิ่น ประชากรทั้งหมด 60 ลานคน แตเปน คุ ณ ประจวบกล า วทิ้ ง ท า ยว า คนรวยถึง 10% เทากับ 6 ลานคน ถา ความตองการสินคาของตลาดพมา ยัง กระจายสินคาไปยังกลุมนี้ได ถือวาเปน คงเป น สิ น ค า ในหมวดที่ ต อ งการใน โอกาสอยางยิ่ง ป จ จุ บั น เช น สิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภค อยางไรก็ตาม จากทีต่ นไดคลุกคลีกบั อะไหลเครื่องจักร เพราะเปนสินคาที่ คนพมา จะเห็นไดวานักลงทุนไทยจะได จํ า เป น ในการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม เปรียบเมื่อเทียบกับชาติอื่น คือโดยลึกๆ การเกษตรและโครงสรางพื้นฐานของ คนพมาจะชอบคนไทย ชอบวิถีความเปน ประเทศ สินคาประเภททุน ยังเปนที่ ไทย ความเปนศาสนาเดียวกัน และสินคา ต อ งการอย า งมากของตลาดพม า ไทยที่เขาคุนเคยกวาชาติอื่น เรื่องเหลานี้ เนื่องจากประเทศพมายังตองการการ ถื อ ว า เป น ตั ว ช ว ยสํ า หรั บ นั ก ลงทุ น ไทย พัฒนาดานสาธารณูปโภคพื้นฐานของ สําหรับพมา ซึ่งขณะนี้ถือวามีทุกอยางไม ประเทศอยู ห ลายโครงการ ทั้ ง ด า น วาจะเปนเงิน แรงงาน จะขาดก็แตการ คมนาคมขนส ง และการก อ สร า ง บริหารจัดการที่ดีเทานั้น สิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อรองรับการ “ตลาดพมาถือวามีโอกาสเปนอยาง ขยายตัวดานการคาจากประเทศเอเชีย ยิ่ง เพราะไมเพียงแตเปนวงแหวนของ สินคาอุปโภคบริโภคยังมีแนวโนม อาเซียนเทานั้น แตยังเปนวงแหวนของจีน ตองการเพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากอุตสาหกรรมผลิต และอินเดีย ซึง่ บงบอกไดวา สินคาทีผ่ ลิตได สิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภคในพม า ยั ง เป น ไม ไ ด ข ายเฉพาะพม า และอาเซี ย น แต อุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง สามารถขายไดทั้งจีนและอินเดีย ซึ่งสอง ทํ า ให ป ริ ม าณการผลิ ต ที่ ไ ด ใ นประเทศ ประเทศนีม้ พี รมแดนติดกับพมา ซึง่ รวมกัน ไมเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ แลวมีมลู คามหาศาล พมาจึงเปนศูนยกลาง า รั ประ าร น ของตลาดที่คอนขางใหญ” าน าร า าร น น า พมา เรื่ อ งที่ อ ยากฝากแก นั ก ลงทุ น ามาร ม เพม ไทยถาจะไปพมา เรือ่ งทีต่ อ งทําคือ 1. ตอง ร ร าย ร
กรมส เสริมการคาระหวา ระเ กระ รว า ิช ( า กระสอ) กรมส เสริมการคาระหวา ระเ กระ รว า ิช ( นนรัช า ิเ ก) นนทบุรี ต บางกระสอ อ เมือง จ นนทบุรี รัชดา ิเษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ทรศัพท ทรศัพท ทรสาร ทรสาร
www.ditp.go.th
าย ร
ู ออก
ชื่อหนวยงาน สินคา/บริการ สถานที่ตั้ง โทรศัพท โทรสาร
B 6 วันจันทรที่
กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย (บางกระสอ) ใหบริการดานขอมูลขาวสาร และการคาการลงทุนระหวางประเทศ 44/100 ถ.นนทบุรี 1 ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 0-2507-7999 0-2547-5657-8
3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
การ
จั ด งานเป ด ศู น ย พั ฒ นาการค า และธุ ร กิ จ ไทยในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC Business Support Center เพือ่ รองรับการขยายตัวดานการคาของประเทศไทย และเตรียม เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปนอีกชองทางหนึ่งเพื่อใหผูประกอบการ บุกตลาดอาเซียน ซึ่งงานนี้ไดรับความสําเร็จเปนอยางดี นา ัมพ ัน พชา ัย รองอธิบดี กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ เผยถึงความสําเร็จวา กิจกรรมในวันนัน้ ไดรับความสนใจจากผูประกอบการ อยางมาก โดยมีผูเขารวมกิจกรรมรวม แลวกวา 700 ราย (ผูประกอบการกวา 600 ราย และเจาหนาที่ภาครัฐกวา 100 ราย) และจากการประเมินผลการ จัดสัมมนานั้น 100% ของผูเขารวม สัมมนาเห็นวาการสัมมนานี้คุมคามาก 6% ของผูเขารวมสัมมนามีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ AEC มากขึ้นหลัง
ตองการทําธุรกิจการคา การลงทุน การ จั ด หาแหล ง วั ต ถุ ดิ บ ในอาเซี ย น และ สนับสนุนผลักดันใหผปู ระกอบการไทยเขา สู ภ าคการค า ระหว า งประเทศในตลาด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในเชิงรุกอยาง มีประสิทธิภาพ สําหรับ บริ ก ารของ “ศู น ย พั ฒ นา การค า และธุ ร กิ จ ไทยในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน” ประกอบดวย - บริการขอมูลการคา การลงทุน กฎ ระเบียบการคา การจัดตั้งธุรกิจ รายงาน ตลาดเชิงลึกในตลาดประชาคมเศรษฐกิจ
- ให บ ริ ก ารสถานที่ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ ห อ งประชุ ม และเอกสารสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ต า งๆ เพื่ อ อํานวยความสะดวกดานการคาการลงทุน แก ผู ป ระกอบการไทยที่ ต อ งการติ ด ต อ ธุ ร กิ จ การค า ระหว า งประเทศในตลาด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Business Su ort and Facilitation) ณ ประเทศ ที่ สํ า นั ก งานส ง เสริ ม การค า ระหว า ง ประเทศตั้งอยู นางอัมพวัน กลาวอีกวา ในสวนของ งานสัมมนา “AEC Business Consulta-
ชองทางการกระจายสินคาและการจัดตั้ง คลังสินคา ปญหาคาเงินบาทที่มีแนวโนม แข็งคาขึน้ เรือ่ ยๆ เปนอุปสรรคตอตลาดสง ออกอยางไรบาง ประเภทของตัวอยาง สินคาที่ตองใชการตรวจสอบทางหอง ปฏิบัติการ และหากตองการหาคูคา หรือตัวแทนในตลาดจะมีวิธีอยางไร หรือติดตอหนวยงานใด เปนตน ทั้งนี้ กรมสงเสริมการคาระหวาง ประเทศ จะจัดงานสัมมนาใหคาํ ปรึกษา แกผูประกอบการเกี่ยวกับการทําธุรกิจ ในตลาดต า งๆ อี ก ครั้ ง ประมาณเดื อ น กันยายนนี้ โดยจะมีผอู าํ นวยการสํานักงาน ส ง เสริ ม การค า ระหว า งประเทศจาก ภูมภิ าคตางๆ ทัว่ โลกมาเปนผูใ หคาํ ปรึกษา
และเชิ ญ นั ก ธุ ร กิ จ การค า ที่ มี ป ระสบ การณการคาในภูมิภาคนั้นๆ มาถาย ทอดเทคนิค และประสบการณให ผูป ระกอบการทีส่ นใจฟงอีกเชนกัน แตสําหรับทานผูประกอบการใด ที่สนใจขอมูลดานการคาระหวาง ประเทศในตลาดหรือสินคาอื่นๆ (ชวงกอนเดือนกันยายน) สามารถ ติดตอสอบถามไดที่สถาบันองค ความรู ด า นการค า ระหว า ง ประเทศ โทร. 0-2513-1 0 ตอ 326, 32 หรื อ เข า ดู หั ว ข อ การ สัมมนาในเว็บไซตของ กรม . dit .go.th ภายใตหัวขอการอบรม สัมมนา
ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย
ส ม ี้ จากการสัมมนา 6% ไดรับความรูตรง ตามความตองการของผูประกอบการ คอนขางมากถึงมาก และ 4% เห็น วาการจัดหลักสูตรและการดําเนินการ ฝกอบรม/สั ม มนาที่ ผ า นมานั้ น อยู ใ น เกณฑที่ดีถึงดีมาก ศูนยพัฒนาการคาและธุรกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่จัดตั้ง ขึ้นในสวนกลาง อยูภายใตการกํากับ ดูแลของสํานักพัฒนาตลาดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนและเอเชีย และในตาง ประเทศ แหง อยูภ ายใตการกํากับดูแล ของสํ า นั ก งานส ง เสริ ม การค า ในต า ง ประเทศ ณ ภูมิภาคอาเซียน ประเทศ ไดแก สํานักงานสงเสริมการคาในตาง ประเทศ ณ กรุ ง จาการ ต า ประเทศ อินโดนีเซีย กรุงยางกุง ประเทศพมา กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย กรุ ง มะนิ ล า ประเทศฟ ลิ ป ป น ส กรุ ง ฮานอย ประเทศเวียดนาม นครโฮจิมนิ ห ประเทศเวี ย ดนาม กรุ ง พนมเปญ ประเทศกั ม พู ช า นครเวี ย งจั น ทน ประเทศลาว และประเทศสิงคโปร ทํา หนาทีเ่ ปนศูนยกลางการใหบริการขอมูล และคําปรึกษาแกผูประกอบการไทย ที่
อัมพวัน พิชาลัย
ู
อาเซียน - ใหคําปรึกษาเชิงลึกดานการคา การลงทุน และการจัดหาแหลงวัตถุดิบใน ตลาดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (โดย ผานการนัดหมายลวงหนา) - ประสานงาน/จัดทํานัดหมายใน การพบหารือหนวยงานตางๆ ในตลาด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน - จัดกิจกรรมภายใตชมรมนักธุรกิจ ไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (DITP AEC Clu ) เพื่อสรางเครือขายพันธมิตร ทางธุรกิจที่เขมแข็ง และเปนรูปธรรม เกิด การสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลดานการคา การลงทุน ในตลาดประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียนอยางใกลชดิ อาทิ กิจกรรมสัมพันธ (Clu Meeting) กิจกรรม Business Mentors y Successful Businessmen in AEC กิจกรรม AEC Business Matching and et or ing เปนตน - ประชาสั ม พั น ธ ข อ มู ล ข า วสาร กิ จ กรรมต า ง ๆ ที่ ก รมส ง เสริ ม การค า ระหวางประเทศและหนวยงานพันธมิตร จัดขึ้นใหแกสมาชิกชมรมนักธุรกิจไทยใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (DITP AEC Clu ) รับทราบอยางตอเนื่อง
า
า ีน
tion” จั ด โดยสถาบั น องค ค วามรู ด า น การคาระหวางประเทศ กรมสงเสริมการ คาระหวางประเทศ โดยเชิญวิทยากรจาก บริษัทที่มีประสบการณดานธุรกิจการคา ระหวางประเทศ มาใหคาํ ปรึกษาดานธุรกิจ การคาระหวางประเทศรวมกับผูอํานวย การสํ า นั ก งานส ง เสริ ม การค า ระหว า ง ประเทศ แบงออกเปน 6 หอง แยกตาม ตลาดตางๆ ในอาเซียน และ1 หองสําหรับ เจาะลึก AEC 360 กับหนวยงานภาครัฐ สํ า หรั บ ตลาดที่ ผู ป ระกอบการให ความสนใจเรียงตามลําดับ 3 อันดับแรก ไดแก ตลาดพมา ตลาดลาวและกัมพูชา ตลาดฟลปิ ปนสและตลาดอินโดนีเซีย สวน คําถามทีถ่ ามกันมากเกีย่ วกับขอมูลการทํา ธุรกิจที่ผูประกอบการตองการทราบ เชน ลูทางการคาการลงทุนในตลาดนั้นๆ การ จัดตั้งบริษัทและคาใชจาย Transaction ตางๆ ผลกระทบ/ผลประโยชนจาก AEC ที่ มีต อ กฎระเบี ย บข อ บั ง คั บต า งๆ ด า น การค า กฎระเบี ย บเกี่ ย วกั บ สิ น ค า ด า น อาหาร เชน on-tariff Barrier สินคา อาหารฮาลาล สิ่ ง ที่ ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง หรื อ ระมัดระวังในการทําตลาดในภูมิภาคนั้น สินคาตองหามนําเขาของตลาด ขอมูลหรือ
เคที ี ัดกิ กรรม เคที ีสง อคอม ากพีสูนองทีบานเกิด
นาย รัช เ ร นัน รองประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร สายงานทรัพยากรบุคคล “เคทีซี” หรือบริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เปนตัวแทนผูบริหาร พนักงาน และ นักศึกษาฝกงานในโครงการ earn Earn KTC จัดกิจกรรม“เคทีซสี ง ตอคอม จาก พี่สูนองที่บานเกิด” มอบเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะ สภาพดีพรอมใชงาน ใหแกโรงเรียน ในชนบททัง้ 6 ภาคของประเทศไทย โดยมีนายทรงวุฒิ สุขาวี ผูอ าํ นวยการโรงเรียนชุมชน วัดพิชิตปตยาราม หนึ่งในโรงเรียนที่ไดรับ คัดเลือกจากภาคกลาง เปนผูร บั มอบ ทัง้ นี้ บริ ษั ท ได เ ป ด ให พ นั ก งานร ว มเสนอชื่ อ โรงเรียนในภูมิลําเนาบานเกิดเขาทําการ คัดเลือก เพื่อจัดสงคอมพิวเตอรใหกับ อาจารยและนักเรียนไดใชในการเรียนการ สอนตอไป
สัม า พิเ หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
B7
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
SCB ชี้ SMEs หวงเก็งกําไรไมทําประกันคาเงิน
แนะทุกธนาคารตองเรงทําความเขาใจลูกคา นาคารไทยพา ิชย เผยลูกคา S E ทําประกันคาเงินบาท นอย เหตหวงเกงกําไร แนะทก นาคารตองเรงทําความเขาใ ให ลูกคา มันใ สิ้นปพอรตสินเชอคงคางลูกคา S E นําเขา-สงออก แตะ 0,000 ลานบาท นาย รชั ย ม ั ร ร ั าร นา าร ยพา ชย า ั ม าชน เปดเผยวา จากปญหา ความผั น ผวนของค า เงิ น บาทส ง ผล กระทบตอผูป ระกอบการทีท่ าํ ธุรกิจนําเขา และสงออกของไทยจํานวนมาก แตใน สวนของกลุมลูกคา SMEs ทางธนาคาร ไทยพาณิชย ทีท่ าํ ธุรกิจนําเขาและสงออก มีจํานวนไมมาก ปจจุบันมีพอรตสินเชื่อ ทัง้ หมดอยูท ี่ 40,000 ลานบาท จากพอรต สินเชือ่ ลูกคา SMEs ทัง้ หมดของธนาคาร ที่ 340,000 ลานบาท ซึ่งสัดสวนการ เติบโตของลูกคา SMEs นําเขาและสงออก ตั้ ง แต ต น ป ถึ ง ป จ จุ บั น ยั ง ไม ม ากนั ก ประมาณ 1-2% เทานัน้ ซึง่ ภายในสิน้ ปนี้ คาดวาจะเพิ่มพอรตสินเชื่อคงคางลูกคา SMEs ทีท่ าํ ธุรกิจนําเขาและสงออกใหได ประมาณ 50,000 ลานบาท อยางไรก็ตาม การที่ลูกคา SMEs
สวนใหญไมคอ ยมีการทําประกันคาเงินลวง หนา สวนหนึ่งอาจจะตองการเก็งกําไร ดังนั้น ในทุกธนาคารตองมีการทําความ เขาใจกับลูกคาและใหลูกคามีการปรับตัว และเขาใจถึงความสําคัญในการทําประกัน คาเงินลวงหนา (For ard) นอกจากนี้ ถึงแมตัวเลขการบริโภค ในชวงไตรมาส 2/2556 จะมีแนวโนมทีล่ ด ลง แตก็มีสาเหตุมาจากการอุดหนุนจาก ภาครัฐบาลที่ลดลง และถึงแมตัวเลขการ บริโภคภายในประเทศจะมีแนวโนมที่ลด ลง แตทางธนาคารไทยพาณิชย ก็จะไมมี การปรับเปาสินเชื่อ SMEs ในปนี้ใหลดลง แนนอน ซึง่ ทางธนาคารก็เติบโตในดานสิน เชื่อ SMEs สูงกวาเปาที่ตั้งไวในทุกๆ ป ดัง นัน้ พอรตสินเชือ่ คงคางลูกคา SMEs ในสิน้ ปจะเพิ่มขึ้นไปอยูที่ 360,000-370,000 ลานบาท ตามที่คาดการณไว อยางไรก็ตาม ในชวงที่เหลือของป
กองทน ย
นยายหนไทย
ประมาณไตรมาส 3/2556 ทางธนาคารจะ มีการออกผลิตภัณฑทเี่ กีย่ วกับลูกคา SMEs ที่ทําธุรกิจนําเขาและสงออก เพื่อเปนการ กระตุนตลาดในสวนนี้ใหเติบโตขึ้น แตจะ ไมมีการแขงขันดวยราคาอยางแนนอน รวมถึงดอกเบี้ยดวยเชนกัน แตจะเปนการ แขงขันทีโ่ ปรโมชัน่ ในตัวผลิตภัณฑมากกวา ลาสุด ดวยบทบาทของธนาคารไทย พาณิชยในการเปนพันธมิตรทางธุรกิจกับ ลูกคาผูประกอบการ SMEs ไทยอยางตอ เนื่อง ยาวนาน ซึ่งครอบคลุมในทุกๆ ดาน ไมใชเพียงแคการสนับสนุนทางการเงินใน การทําธุรกิจเทานั้น แตหากเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถของผูป ระกอบการไทยให เติบโตอยางยั่งยืน ดวยการเสริมความรูให ผู ป ระกอบการผ า นงานสั ม มนาและ โครงการฝ กอบรมต า งๆ รวมถึ ง การ สนั บ สนุ น ทางด า นการตลาดและช อ ง ทางการจัดจําหนาย ผานรูปแบบการจัด งานมหกรรมสินคา “SCB-FTI Factory Outlet” จัดขึ้นเปนครั้งที่ 7 ซึ่งไดรับการ ตอบรับจากผูประกอบการที่สนใจอยาง ลนหลามในทุกๆ ป ซึ่งในปนี้มีผูสนใจเขา รวมกวา 200 รานคา คาดวาการจัดงานใน ครั้งนี้จะสามารถกระตุนรายไดและอัดฉีด เม็ดเงินเขาสูภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
ต ทํา อน า น
้ย งยน าย
ไทย กลาวในฐานะประธานคณะกรรมการ บริหารกองทุนสงเสริมการประกันภัยพิบตั ิ วา เปาหมายสําคัญของการจัดตั้งกองทุน สงเสริมการประกันภัยพิบัติ คือ 1. ให ประชาชนเขาถึงความคุมครอง 2. ปรับ กลไกราคาตลาดใหตํ่าลง บริษัทมีความ สามารถในการรับประกันภัยได 3. สราง ความเชือ่ มัน่ สําหรับความคืบหนาของการ ทําประกันภัยพิบตั เิ ริม่ สูงขึน้ ขณะเดียวกัน บริษทั ประกันวินาศภัยมีความสามารถเขา ยง ักดิ ชาติ ทธิ ล มารับความเสีย่ งภัยไดเอง นัน่ แสดงใหเห็น น เ รม ารประ ัน ัย วาเกิดความเชื่อมั่นการดําเนินงานของ กองทุน ดังนั้น จึงมีการหารือรวมกันกับ พ ั า นา ายร น า มัน ั น มา ร าร คณะทํางานเพื่อปรับเบี้ยประกันภัยพิบัติ ลง จากเดิมภาครัวเรือนบานทีอ่ ยูอ าศัยคิด ร าร ั ารนา า รั ยัน ม ที่ 0.5% ภาคธุรกิจ SME คิดที่ 1% และ าน าร น ย ม ชา ยเ ภาคอุตสาหกรรมทุนประกัน 50 ลานบาท นา มป ขึ้นไป คิดที่ 1.25%. นายพย ั ชา “ถ า ไม มี ก ารฟ นฟู เราทุ ก คนก็ ไ ม ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ
สามารถมายืนอยางแข็งแกรงได การที่ ประชาชนและภาคอุตสาหกรรมตื่นตัว ใหความสําคัญทําประกันภัยพิบัติเพิ่ม ขึน้ สะทอนวามีความเขาใจและตระหนัก ถึ ง ความสํ า คั ญของการทํ า ประกั น ภั ย พิบัติ ซึ่งทําใหภาคธุรกิจมีความมั่นใจวา หากเกิดภัยพิบตั กิ จ็ ะมีกองทุน ใหความ คุมครองทรัพยสินที่จะชวยเสริมสราง ความเข ม แข็ ง มั่ น คงให กั บ ระบบ อุตสาหกรรม และสามารถเปนฐานการ ผลิตอุตสาหกรรมของโลกตอไป ทั้งนี้ บางโรงงานนิ ค มอุ ต สาหกรรมต า ง ยอมรับอัตราเบี้ยที่กําหนด บางรายแม จะถูกปรับขึ้นถึง 6 เทา ก็รับได” นายพิ ทั ก ษ พฤทธิ ส าริ ก ร รอง ประธานอาวุโส บริษัท ฮอนดา ออโต โมบิล (ประเทศไทย) จํากัด ยอมรับวา บริษัทมั่นใจมาตรการบริหารจัดการนํ้า ของภาครัฐ อานตอหนา...B4
มาแลวประกันราคาถูก 500 บ./ด.
คนเงินนอยมีสิทธิไมแพคนรวย
“ไทยประกันชีวติ ” เห็นใจคนรายได นอย เปาหมายดึงรากหญามีสวัสดิการ ได ฤกษรุกไมโครอินชัวรันสเจาะตลาดราย ยอย ผุดแบบประกันทรัพยทวี 150 พลัส จายเบี้ยแค 500 บาท/เดือน คุมครองทั้ง ชีวติ อุบตั เิ หตุ เงินชดเชยคารักษาพยาบาล รายวัน นาย ั น ร ผู ช ว ย กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ไทยประกัน ชีวิต จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา จาก นโยบายของสํ า นั ก งานคณะกรรมการ
วั ดิ น วรวง
โ
Insuranceว ว ก
กัน
หลังจากทีข่ า วการปลดกลางอากาศ ของ ร น น เยน ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร เ เ ประเ ย ฮอตอยาบอกใคร เอไอเอก็ไมรรี อ ประกาศ แตงตัง้ า น ม เขาดํารงตําแหนง ประธานเจาหนาที่บริหารเรียบรอยแลว โดยจะมีผลทันทีเมือ่ ไดรบั การอนุมตั อิ ยาง
เปนทางการ จากประสบการณในวงการ ประกันชีวติ มากวา 25 ป และยังการันตีดว ย การเป น สมาชิ ก สมาคมนั ก คณิ ต ศาสตร ประกันภัยแหงสหรัฐอเมริกา บวกความ มุง มัน่ ทีเ่ ขาตองการพัฒนาตอยอดโอกาสทาง ธุรกิจของบริษัทใหเติบโตตอเนื่องอยางไม หยุดยัง้ จากการเฝารอทีจ่ ะไดรว มงานกับทีม ทีเ่ อไอเอ ประเทศไทย สิง่ นีน้ า จะยืนยันไดวา เขามาแบบเต็มใจจริงๆ เชือ่ วาเหตุการณครัง้ นีเ้ อไอเอจะรีบกูช อื่ กลับ มาโดยเร็ว วาว รยะประ นั ยั
กํ า กั บ และส ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกันภัย (คปภ.) ที่ตองการสงเสริมให ประชาชนผู มี ร ายได น อ ย ได รั บ ความ คุมครองจากการประกันชีวิต ดวยการ พัฒนาแบบประกันสําหรับรายยอย หรือ ไมโครอินชัวรันส เพื่อตอบสนองแนวคิด ดังกลาว บริษัทจึงไดพัฒนาแบบประกัน “ทรัพ ยท วี 150 พลั ส” แพ็ก เกจแบบ ประกั น รายเดื อ น ที่ ใ ห ค วามคุ ม ครอง ครอบคลุมทัง้ ประกันชีวติ ประกันอุบตั เิ หตุ และเงินชดเชย อานตอหนา...B4
ก ตวิทย รี ธา
าลูน ธม
เขาใจปามอบกรมธรรมประกันอุบัติเหตุ กลุม ใหตาํ รวจปฏิบตั กิ ารพิเศษการจราจร กองบัญชาการตํารวจจราจร บก.จร.02 ใน
ธุรกิจ SMEs ไดกวา 15 ลานบาท จากการ ขายสินคาตลอด 5 วัน ด า น นายพยุ ง ศั ก ดิ ชาติ สุ ท ธิ ผ ล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทย (ส.อ.ท.) กลาววา ดวยวิสัยทัศนของ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ทีจ่ ะมุง เสริ ม สร า งการพั ฒ นาศั ก ยภาพภาค อุตสาหกรรม และ SMEs ทั้งในสวนกลาง และสวนภูมิภาคอยางบูรณาการ เพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถการแขงขันในระดับสากล เตรียมความพรอมรับ การเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอยางยั่งยืน ผนวกกับที่สภา อุตสาหกรรม ไดรบั ความรวมมือเปนอยาง ดีจากพันธมิตรที่เขามารวมดูแล สงเสริม และสนั บ สนุ น ผู ป ระกอบการภาค อุตสาหกรรม อยางธนาคารไทยพาณิชย ทําใหงานมหกรรมสินคา “SCB-FTI Factory Outlet” จัดขึน้ อยางตอเนือ่ งมาเปน ครั้งที่ 7 แลว ซึ่งตลอดชวงระยะเวลาของ การจัดมหกรรมสินคาครั้งที่ผานมาพบวา ได รั บ ผลตอบรั บ เป น อย า งดี ทั้ ง จาก ผูประกอบการที่เขามารวมจําหนายสินคา ในงาน รวมถึงผูบริโภคที่เขามาจับจายซื้อ ของภายในงานดวย ซึ่งคาดวาในปนี้จะมี ผู เข า ร ว มชมและจั บ จ า ยซื้ อ ของในงาน ประมาณ 10,000 คน
ลน น ลงทน ตอ า หนา... ผลจากลูกคาไมมีการถอนกรมธรรมความ คุมครองทิ้ง และเชื่อวาจํานวนลูกคาจะ คงที่ระดับนี้” หากดูจากขอมูลฐานะทางการเงินและ ผลการดําเนินของบริษัทที่ประกาศไวผาน เว็บไซต ณ เดือนตุลาคม 2555 จะพบวาฟนนั ซามีสินทรัพย 6,133.4 ลานบาท หนี้สิน 6, 6.2 ลานบาท เงินกองทุนติดลบ 57.2 ล า นบาท เงิ น กองทุ น ที่ ต อ งดํ า รงตาม กฎหมายอยูท ี่ 126% อัตราสวนเงินกองทุน ตอ เงินกองทุน ที่ ตอ งดํารงตามกฎหมาย
ิริชัย มบัติ ิริ รอง ูจัดการ ธนาคาร ทย า ิชย จากัด ม าชน
ติดลบ 6 2.3% แตยงั คงมีรายได 52. ลาน บาท รายจาย 27.5 ลานบาท สงผลใหฟน นั ซามีกาํ ไร (สุทธิ) 125.4 ลานบาท เงินสดคง เหลือ 11 ลานบาท คาดวาสิน้ ป 2555 ฟนนั ซานาจะมีกาํ ไรไมตาํ่ กวา 100 ลานบาท “ป 55 ที่ผานมา ฟนันซามีกําไรมา จากการลงทุนจากพอรตการลงทุนเดิมที่ สวนใหญลงทุนในหุน กลุม อสังหาริมทรัพย มูลคาประมาณ 600 ลานบาท ซึง่ ตามปกติ แล ว นั ก ลงทุ น ที่ เข า มาดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ประเทศไทยคือหวังในเรือ่ งของผลตอบแทน หรือกําไรเปนอันดับแรกแนนอน และเมื่อ เห็นวาฟนันซามีกําไรแลวจึงกลาที่จะยื่น ขอเสนอเขามา และมีความประสงคอยาง แทจริงทีจ่ ะดําเนินธุรกิจประกันชีวติ ดังนัน้
การที่มีผูสนใจครั้งนี้จึงนาจะเปนผลบวก กับฟนันซาและเปนขาวดี” นายประเวช องอาจสิทธิกุล เลขาธิ การสํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกั น ภั ย (คปภ.) กลาวเพิ่มเติมวา “ไมวาจะมีผูรวม ทุนสนใจฟนันซาเพียงรายเดียว เราก็ตอง ทําตามขั้นตอน คือ เปดซอง และเขาไปดู สถานะตางๆ ของบริษัทนั้น หากถึงขั้นที่ เงื่อนไข นโยบายตางๆ ไมเขาหลักเกณฑ จริงๆ เราอาจตองหยุดทุกอยางเพราะที่ ผานมาเราพยายามหาทางออกที่ดีที่สุด แลวตลอด 3 ปทนี่ บั วานานมากแตทงั้ หมด ก็ขึ้นอยูกับคณะกรรมการควบคุมที่เปน ผูรับผิดชอบ วาจะทําอยางไรตอไป”
ไทยซมซง ไมเ นอวดเบีย ล บล น เดอน ย น ล ล ต รวด
ผลงานฉลุย “ไทยซัมซุง ประกัน ชีวิต” อดใจไมไหวอวดเบี้ยชองทางขาย ทางโทรศัพทแมจะนอยแคหลักสิบลานแต โตพรวดเดียว 4 4% กลยุทธสรางแบรนด ยังเปาหมายหลัก นาย ั เ ยม น รอง ประธานบริหารและประธานเจาหนาที่ บริหารการจัดจําหนายทุกชองทาง บริษทั ไทยซัมซุง ประกันชีวติ จํากัด (มหาชน) เปด เผยถึ ง ผลประกอบการของบริ ษั ท ช ว ง มกราคม-เมษายน 2556 วา ตลอด 4 เดือน ทีผ่ า นมา ทุกชองทางบริษทั สามารถเติบโต โดยเฉพาะชองทางเทเลมารเก็ตติ้ง หรือ การขายทางโทรศั พ ท โดยมี อั ต ราเบี้ ย ประกันภัยปแรกแบบคํานวณรายป 47 ลานบาท เติบโตถึง 4 4% เมือ่ คํานวณจาก อัตราการเติบโตของปนี้เทียบกับป 2555 เบี้ยจะอยูที่ประมาณ 7. ลานบาท ขณะที่ชองทางจัดจําหนายหลักคือ ชองทางตัวแทนนั้นมีอัตราเบี้ยประกันภัย ปแรกแบบคํานวณรายปที่ 17 ลานบาท เติบโต 33% ในขณะทีอ่ ตั ราการเติบโตของ
ตลาดอยูที่ % และประกันกลุมมีอัตรา เบี้ยประกันภัยปแรกแบบคํานวณรายป 12 ลานบาท เติบโต 63% “เราถื อ ได ว า ประสบความสํ า เร็ จ อยางสูง และรักษาการเติบโตไดอยางตอ เนื่อง เพราะในทุกชองทางจัดจําหนายนั้น เรามีรายไดจากเบี้ยประกันภัยปแรกแบบ คํานวณรายปสูงถึง 361 ลานบาท หรือ เติบโตเพิ่มขึ้น 57% จากปที่ผานมา” อยางไรก็ตาม ในปนี้ “ซัมซุง ไลฟ” ซึ่งเปนบริษัทแมที่ประเทศเกาหลีและตัว บริษัทเอง ไดวางกลยุทธการสรางแบรนด เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นและเปนที่รูจักใน ประเทศไทยอยางตอเนือ่ ง ผานสือ่ โ ษณา ตางๆ อาทิ สือ่ ปายบิลบอรดขนาดใหญ สือ่ โ ษณาบนขบวนรถไฟฟาบีทีเอส ลาสุด ได เ พิ่ ม ในส ว นของสื่ อ โ ษณาบนประตู อัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลารถไฟฟา บี ที เ อส (BTS) ที่ ส ร า งขึ้ น เพื่ อ ความ ปลอดภั ย แก ผู ใช บ ริ ก ารรถบี ที เ อส นั บ เปนการตอกยํ้าภาพลักษณของการเปน บริษัทประกันชีวิตที่หวงใยในสุขภาพและ
ชีวิตของคนไทย สําหรับเปาหมายป 2556 บริษัท ตั้ ง เป า เบี้ ย ป แรกแบบคํ า นวณรายป ที่ 1,275 ลานบาท เติบโต 42% แบงเปนชอง ทางตัวแทน 12 ลานบาท เติบโต 5 % ชองทางเทเลมารเก็ตติ้ง 105 ลานบาท เติบโต 51% ชองทางประกันกลุม 220 ลานบาท ไมเติบโต และชองทางอื่นๆ 3 ลานบาท เติบโต 41% ล า สุ ด นิ ต ยสารฟอร บ ส ข อง สหรั ฐ ได จั ด อั น ดั บ บริ ษั ท มหาชนราย ใหญที่สุดของโลก 2,000 แหง ประจําป 2012 โดยจัดอันดับใหซมั ซุงไลฟ ประเทศ เกาหลี อานตอหนา...B4
โครงการพระราชดําริ จํานวน 121 นาย กรณีเสียชีวติ สูญเสียอวัยวะ สายตา หรือ ทุพพลภาพถาวรสิน้ เชิง ทุนประกันกวา 36 ลานบาท และเมือ่ ไมนานมานีบ้ ริษทั ยังได มอบประกาศเกี ย รติ คุ ณ ให ศู น ย ซ อ ม มาตรฐานวิรยิ ะประกันภัย ทีม่ กี ารบริหาร จัดการดีเดนป 55 พยายามทําเพื่อสังคม และลูกคาขนาดนี้ อับดับ 1 จะไปไหนเสีย จริงไหมคะ ย รพ า ทาน กรรมการและทีป่ รึกษา งานสัมมนา า ะ ามเช มัน น
เ รมประ ัน ัยพ ั ที่จัดรายงาน ความคืบหนาการดําเนินงานหลังจัดตั้ง กองทุน มากวา 1 ป งานนีใ้ ครไมเคยรูจ กั กองทุน บอกไดเลยวาการนําเสนอเนือ้ หา ดีทีเดียว แถมยังมีฝง “ฮอนดา” ออกมา คอนเฟรมวาไมคิดที่จะถอนการลงทุนใน ไทยแมโรงงานจะถูกนํา้ ทวมหนักเมือ่ ป 54 ก็ตาม ไมรจู ะเรียกวาชวงนาทีทอง รึเปลา เพราะตามทีค่ ณะกรรมการควบคุม นัน าประ ันช โดยมี านา พน ร ม ผูชวยเลขาธิการ สาย
พัฒนาและวิเคราะหระบบการตรวจสอบ ป เปนกรรมการอยู ไดขอเชิญ ผูสนใจรวมทุนบริษัทยื่นขอเสนอกอน หมดเขต ยํา้ วาตองยืน่ ขอเสนอพรอมหลัก ประกันจํานวน 15 ลานบาท และตองระบุ ในขอเสนอวาจะยืน่ เงือ่ นไขตามขอเสนอไว ภายใน 60 วัน นับจากวันทีค่ ณะกรรมการ เปดซองขอเสนอ และหามถอนไมวา กรณี ใด ซึง่ จะเปดซองขอเสนอทัง้ หมดเมือ่ พน 30 วัน นับจากวันทีม่ กี ารยืน่ ขอเสนอราย แรก...พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ
บั
ิต เจียมอนกูลกิจ
á¼¹¡ÒþѲ¹Ò¸ØáԨ»ÃСѹÀÑ »‚ 55 ¢Í§ ¤»À. คปภ. จะเดินหนาภายใต 4 แนวทางหลักๆ ไดแก 1. สรางความเชื่อมั่นในธุรกิจประกันภัย 2. สงเสริมธุรกิจประภันภัยใหเกิดความเขมแข็ง 3. เรงพัฒนากฎหมายที่จะมีผลระหวางประชาชนผูทำประกันกับบริษัทประกัน 4. เสริมโครงสรางพื้นฐานใหธุรกิจประภันไทยขยายตัว ที่มา : คปภ.
B8
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
บรนด
G ล
ว วยทีน
าด อน รตปร กน น น ตม
นิวแ มพเชอร ใน านะผูร บั ประกันบัตรชมการแสดงท อ้ ผาน ไทยทิคเกตเมเ อร ภายใตแบรนด AI ร้อสินคาเกาเพิมความ คมครองเอาใ วัยรนหากพลาดคอนเสิรตเพราะติดสอบ เรตเบ้ย เทาเดิม ประเดิมรแบรนดสรางการรับรูดวยคอนเสิรตแรก S I A กอนทําตลาดผานรายการ นาย ร ั เ รั น รอง ประธานกลุมธุรกิจประกันภัยลูกคาราย ยอย บริษัท นิวแฮมพเชอรอินชัวรันส ใน กลุม บริษทั เอไอจี ประเทศไทย (AIG) กลาว ถึงประกันภัยสําหรับผูที่ซื้อบัตรชมการ แสดงทุกประเภทผานทางเคานเตอร ไทย ทิคเก็ตเมเจอร วา บริษัทนําแบบประกัน เดิมมาปรับใหม โดยเพิม่ ความคุม ครองแต อัตราเบีย้ เทาเดิม ซึง่ รูปแบบความคุม ครอง ภายใตโปรเจกต “ทิคเก็ต โพรเท็ค” นี้จะ ครอบคลุมการแสดงทุกประเภทที่ไทยทิค เก็ตเมเจอรจาํ หนาย อาทิ คอนเสิรต ละคร เวที รวมถึงบัตรโดยสาร เงื่ิอนไขความคุมครองนั้น เมื่อผูซื้อ บัตรชมการแสดงแลวไมสามารถไปชมการ แสดงได บริษัทจะคืนเงินเต็มจํานวนตาม มูลคาตัว 100% แตจะตองเกิดขึ้นจาก 4 กรณีเทานั้น ไดแก อุบัติเหตุ บาดเจ็บ/เจ็บ ป ว ย ติ ด งานด ว น ติ ด สอบกะทั น หั น เนื่องจากบริษัทจะใหความคุมครองกรณี ดังกลาวแลวยังขยายความคุมครองสวน ของคารักษาพยาบาล กรณีผูซื้อบัตรบาด เจ็บหรือเจ็บปวยสูงสุด 3,000 บาท คา บริการรถลากจูงหากพบวารถยนตเกิด อุบัติเหตุหรือเครื่องยนตขัดของระหวาง
เท็ จ จริ ง ที่ ส ามารถยื น ยั น ได ว า อยู ใ น เงือ่ นไขความคุม ครอง บริษทั ทําการ จายเคลมทันที “ที่เรามองวาไมเสี่ยงเพราะ คนที่ ซื้ อ บั ต รชมคอนเสิ ร ต เป า หมายหลักคือการไปดูคอนเสิรต ดังนั้น จึงไมคิดวาจะมีใครยอม เคลมเพื่ อ เอาเงิ น และไม ไ ปดู คอนเสิรตแนนอน เงื่อนไขเราจึง กวางและครอบคลุม”
การเดินทางไปชมการแสดง “เรามี ข อ มู ล จากทางไทยทิ ค เก็ ต เมเจอรวา คอนเสิรต นักรองเกาหลีทจี่ ดั ขึน้ ในประเทศไทยมีมากขึน้ และกลุม ทีช่ มคือ วัยรุนอยูในชวงของวัยเรียนและศึกษาทั้ง นั้ น เพื่ อ ตอบสนองตามไลฟสไตล ข อง ลูกคา เราจึงเพิ่มความคุมครองกรณีติด สอบเขามา และจากการทําตลาดทีผ่ า นมา ประมาณ 3 ป เรามีเบี้ยประมาณ 10 ลาน บาทตอป แมจะมีสดั สวนเพียงแค 1% จาก ภาพรวมยอดการซื้อบัตรผานไทยทิคเก็ต เมเจอร แตเราก็เปนเพียงเจาเดียวทีม่ แี บบ ประกันนี้ขาย” สําหรับอัตราเบี้ยประกันภัยจะอยูที่ 7% ของราคาบัตร (ไมรวม VAT) ซึ่งอัตรา ดังกลาวถูกคํานวณมาจากสถิติของตาง ประเทศที่ใชเทียบเคียง เนื่องจากสถิติใน ประเทศไทยไม มี ทั้ ง นี้ โมเดลความ อิ ร ักดิ เท รัตนวง คุมครองนี้ไมไดลอกเลียนแบบมาจากใคร แตดวยนิวแฮมพเชอรคือผูรับประกันเปน บริษัทลูกของเอไอจี ซึ่งเอไอจีเองมีความรู และทักษะนีอ้ ยูแ ลว จึงไมแปลกทีจ่ ะนํามา ประยุกตและพัฒนาใหตรงกับไลฟสไตล ขณะเดี ย วกั น ทางไทยทิ ค เก็ ต คนไทย กรณี ก ารพิ สู จ น เ มื่ อ เกิ ด เคลม เมเจอรมีใบอนุญาตโบรกเกอรอยูแลวทุก ลูกคาเพียงแสดงเอกสารหรือขอมูลตามขอ สาขา ดังนั้น จึงสามารถขายแบบประกัน
เมองไทยประกัน ัย ูงมอลูกคาคนพิเ
ชมละครเพลงดังกอง ลก
นี้ไดตามระเบียบ และในโปรเจกต “ทิค เก็ต โพรเท็ค” ที่ทํารวมกับไทยทิคเก็ต เมเจอรนจี้ ะขายผานทางเคานเตอรเทานัน้ โดยจะใชคอนเสิรต ทีท่ างบีอซี -ี เทโร เตรียม จัดเทศกาลดนตรีนานาชาติ Singha Cororation Presents SO IC BA G ใน วันที่ 24 สิงหาคม 2556 นี้ ซึง่ เริม่ จําหนาย บัตรไปเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน ที่ผานมา แต บริ ษั ท ไม ไ ด ค าดหวั ง ถึ ง เบี้ ย ที่ จ ะได รั บ
เพราะเปาหมายหลักคือการทําตลาดใหคน รับรู “เดิมการทําตลาดเราก็จะเนนขาย ผานออนไลน รองลงมาเบีย้ จะมาจาก Call Center และเคาน เ ตอร ที่ ม าจาก เคานเตอรนอ ยเพราะชวงเวลาของการซือ้ ขายบัตรนั้นเร็ว บางครั้งจึงไมมีการเสนอ ขายได ทั น และผู ซื้ อ บั ต รเองไม รู ว า มี ประกันแบบนี้ขาย จากสถิติเรายังพบวา ชาวตางชาติที่ซื้อบัตรผานออนไลนมีการ ซื้ อ ประกั น นี้ ไ ว สั ด ส ว นสู ง กว า คนไทย เพราะโอกาสทีจี่ ะพลาดการชมการแสดงมี สูงจากความเสี่ยงของการเดินทาง ดังนั้น สิ่งที่เราตองทํา คือ อีกประมาณ 1 เดือน นั บ จากนี้ เราจะใช สื่ อ โทรทั ศ น อ ย า ง รายการ VR O ที่ไดรับความนิยมในกลุม วัยรุนจํานวนมาก เพื่อสรางการรับรู” นอกจากแบบประกันคุมครองบัตร ชมการแสดงแลวนั้น บริษัทยังขายแบบ ประกันอืน่ กับทางไทยทิคเก็ตเมเจอร โดย คุมครองลักษณะคลายประกันภัยการเดิน ทาง (TA) เนือ่ งจากไทยทิคเก็ตเมเจอรขาย บัตรรถโดยสารของ บริษัท ขนสง จํากัด (บขส.) ดวย ซึ่งจะคุมครองการเดินทาง ภายในประเทศ กรณีไมสามารถเดินทาง ไปกับเที่ยวรถที่ซื้อบัตรไวได สํ า หรั บ โอกาสที่ จ ะขยายแบบ ประกันภัยอืน่ ๆ กับทางไทยทิคเก็ตเมเจอร นั้นจะดูจากไลฟสไตลของกลุมลูกคาเปน หลัก ซึ่งบริษัทเองพยายามพัฒนาและหา ผลิตภัณฑใหมๆ ที่ตรงกับไลฟสไตล ตอบ สนองตลาด ความไดเปรียบของบริษัทคือ การอยูในกลุมของแบรนด AIG ดังนั้น ความรูและทักษะตางๆ จะถูกสนับสนุน ดวยดีมาตลอด ล า สุ ด บริ ษั ท อเมริ กั น อิ น เตอร เนชั่นแนล กรุป อิงค (AIG) บริษัทแม เปด เผยผลประกอบการไตรมาส 1 ป 2556
วา กลุมธุรกิจประกันวินาศภัยทั่วโลก ที่ ดําเนินการรับประกันภัยภายใตแบรนด เอไอจี (AIG) มีผลกําไรสุทธิกอนภาษีที่ 1,600 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ (ประมาณ 4 ,000 ลานบาท) เพิ่มขึ้น 600 ลาน เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1 ,000 ลานบาท) จากในป 2555 ทีท่ าํ ได 1,000 ลานเหรียญ สหรัฐ (ประมาณ 30,000 ลานบาท) สวน กลุมธุรกิจประกันชีวิตและการเตรียมเพื่อ การเกษียณอายุ มีผลกําไรสุทธิกอนภาษี อยูที่ 1,400 ลานเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 42,000 ลานบาท) เพิ่มขึ้นจากปกอนที่ ทําได 1,300 ลานเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3 ,000 ลานบาท) และกลุมธุรกิจเชาซื้อ อสังหาริมทรัพยมีผลกําไรสุทธิกอนภาษีที่ 41 ลานเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,230 ลานบาท) เพิ่มขึ้นจากในปกอนที่ทําได ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ (ประมาณ 240 ลานบาท) สําหรับผลประกอบการของกลุม บริษัท เอไอจี ประเทศไทย ไตรมาสแรกมี รายรับสุทธิที่ 674 ลานบาท โดยบริษทั นิว แฮมพเชอร อินชัวรันส มีกําไรสุทธิกอน ภาษีที่ 22 ลานบาท มีอตั ราสวนความเพียง พอของเงินกองทุน (CAR Ratio) 6 1% และ บริษัท เอไอจี ประกันภัย (ประเทศ ไทย) จํากัด (มหาชน) มีกาํ ไรสุทธิกอ นภาษี อยูที่ ลานบาท มีอัตราสวนความเพียง พอของเงินกองทุน (CAR Ratio) 42% นายโรเบิ ร ต เบนมอเช ประธาน บริษัทและหัวหนาคณะผูบริหารเอไอจี กลาววา “ทั้งหมดนี้แสดงใหเห็นถึงความ แข็ ง แกร ง ของเอไอจี ทั่ ว โลก จากการ บริหารจัดการที่ดี รวมถึงการตอบรับการ กลับมาของแบรนดเอไอจีจากตลาดทัว่ โลก ซึ่งยังคงมีความตองการผลิตภัณฑประกัน ภัยและบริการที่เรานําเสนอ รวมถึงความ แข็งแกรงในพอรตการลงทุนของเรา”
าส าง ลายอ ง นน า ลน นกลงทน อง ทตอล หาย
เพื่อมอบเปนของขวัญสุดพิเศษแกลูกคาคนพิเศษ น พรร า า กรรมการผูจัดการ บริษัท เมืองไทยประกันภัย จํากัด (มหาชน) จัดใหคนพิเศษชม ละครเพลงเรื่องเยี่ยม “เดอะ แฟนธอม ออฟ ดิ โอเปรา (The PHA TOM of the OPERA) เพื่อแทนคําขอบคุณจากใจ ณ เมืองไทยรัชดาลัย เธียเตอร บรรยากาศใน งานสุดหรูหราตระการตา ระยิบระยับดวยแสงไฟที่กระทบเครื่องประดับชิ้นงามที่ ลูกคาคนพิเศษใหเกียรติแตงกายอยางสวยสงาสําหรับงานนี้โดยเฉพาะ ทั้งนี้ ไดรับ เกียรติจากลูกคาแวดวงตางๆ มากมาย ทั้งบุคคลผูมีชื่อเสียงซึ่งเปนที่รูจักในสังคม
วงกวางจํานวนมาก และที่ไดรับความ สนใจคือบริเวณถายภาพใหชางภาพได กดชัตเตอรกันระรัว เพื่อรวมเก็บภาพ ความประทับใจนี้ไว
ร นัน าประ ัน ช นั น ร ั ย เ น เพม น ั เ น านป ม า ร านา น านะ รรม าร ม มเ า มเ ร ร เ ยนั น ั า ร ประ ันช ม ั ราย มั น ม ั น ป าย นน น นาย านา พ น ร ม ผูช ว ย เลขาธิการ สายพัฒนาและวิเคราะหระบบ การตรวจสอบสํานักงานคณะกรรมการ กํ า กั บ และส ง เสริ ม การประกอบธุ ร กิ จ ประกันภัย (คปภ.) กลาวในฐานะกรรมการ ควบคุม บริษัท ฟนันซาประกันชีวิต จํากัด วา ขณะนี้ (30 พฤษภาคม 2556) ไดครบ กํ า หนดการยื่ น เสนอร ว มทุ น แล ว ซึ่ ง มี ผู เ สนอขอเพิ่ ม ทุ น พร อ มวางเงิ น หลั ก ประกันแลว 15 ลานบาท จํานวนทั้งสิ้น 3 บริษัท โดยเปนบริษัทในประเทศไทย 2 บริ ษั ท และบริ ษั ท จากต า งประเทศ 1 บริษัท ซึ่งตามกระบวนการนับจากนี้คณะ
กรรมการจะกําหนดวันเปดซอง เพราะ ตามหลักเกณฑในการรับขอเสนอจากผู สนใจลงทุนนั้น กรรมการควบคุมจะเปด ซองขอเสนอทั้งหมดเมื่อพน 30 วัน นับ จากวันที่มีการยื่นขอเสนอรายแรก “ตอนนี้ครบกําหนดการยื่นขอเสนอ แลวเรารอเพียงเวลาที่จะทําการเปดซอง ตอนนัน้ จะรูว า 3 นักลงทุนคือใคร จากนัน้ จะ เขาสูกระบวนการพิจารณาถึงขอเสนอตาม เงือ่ นไขตางๆ ทีต่ อ งสามารถตกลงกันได” อยางไรก็ตาม หากผูเ สนอขอเพิม่ ทุน ทั้ง 3 ราย ไมเปนไปตามที่ตองการ หรือ ตรวจสอบแลวพบวามีฐานะการเงินที่ไม มั่นคง นโยบายการดําเนินธุรกิจไมเหมาะ สม หรือกรณีอื่นๆ คณะกรรมการควบคุม จะใช วิ ธี ก ารเรี ย กคุ ย เพื่ อ ตกลงให ป รั บ เงื่อนไขที่พึงพอใจและดีที่สุดรวมกัน “เรายอมรับวาไมไดเผื่อใจในเรื่อง ของผูรวมทุน หากไมมีใครเขาเกณฑที่เรา ตองการ เพราะเราคิดวาใน 3 บริษัทนี้จะ ตองมีบริษทั ใดบริษทั หนึง่ ทีด่ ี และสามารถ
อานาจ วง ินิจวโรดม
ฟนฟนนั ซาเพือ่ กลับมาดําเนินธุรกิจไดตาม เดิ ม ซึ่ ง ป จ จุ บั น ฟ นั น ซ า ยั ง คงมี ลู ก ค า ประมาณ 0,000 ราย มูลคาประมาณ 1,000 ลานบาท ซึ่งกรมธรรมที่ยังมีผล บังคับใชยังมีมากและมีอัตราการตออายุ สูงกวา 0% อานตอหนา...B7
เจาของ ริ ัท หนังสือพิมพทรานสปอรต จา ั สานักงาน เล ที่ 3 ถนนเทอ าริ วง าง ื่อ เ ต าง ื่อ รุงเทพ โทรศัพท 662 556- 62 - ทรสาร 662 556- 629 พิมพที่ ริ ัท ส พิจิตร ารพิมพ จา ั โทรศัพท 662 9 -29 -2 ูกอตั้ง สมพง สร วี ประ านกรรมการ สุ ี รีเ จ ติ ที่ปรก า สุวั น สุ สัม ท ิ บรรณา ิการบริหาร ร สุ ีรา รีเ จ ติ รองบรรณา ิการบริหาร สุ าลัย รีเ จ ติ พันทิพา จุลเพ ร กองบรรณา ิการ น า จน พ ติ ุล วรั ยอ พรหม นพล สุวรร ี ยั วั น เ สม นิ พง เรือง ุ มา บรรณา ิการ ูพิมพ ูโ ณา พิเ จเที่ยง รรม จัดจาหนาย ริ ัท เวิล ออ ิสทริ ิว ั่น จา ั
สถิติ เว็บไ ต Sanook.com MThai.com Kapook.com ผูจัดการออนไลน Dek-D.com
ต
ยย
จานวนผูเยี่ยมชม 1,142,690 827,892 819,583 42 1 397,937
าก ส 10 น เว็บไ ต yengo.com BlogGang.com teenee.com Weloveshopping.com www.thairath.co.th
ที่มา : truehits.net
จานวนผูเยี่ยมชม 356,745 319,134 299,378 294,534 288,378
C1
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล ปที่ 6 ั ที่ 6 วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
ลงทะเบียนมอเตอรไซคดวยระบบ GPS
ไอซีทีรวมแกปญหาชายแดนใต กระทรวงไอ ท ต ัดขอรวมแกป หาปวนใต เตรยมแนวทาง การลงทะเบยนร ักรยานยนตโดยใชระบบ lo l o o S S สําหรับ ังหวัดชายแดนภาคใต หวังปองกันการ กอการรายและลด าํ นวน กั รยานยนตบอมบ โดยใชระบบตรว สอบ เขาแกะรอยผานอปกร ติดตามร นาย ชยยัน พ เ ยร พ ร น ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร (ไอซีท)ี เปดเผยถึงการประชุม ห า รื อ แ น ว ท า ง ก า ร ล ง ท ะ เ บี ย น ร ถ จั ก รยานยนต โ ดยใช ร ะบบ Glo al Positioning Systems (GPS) สําหรับ 5 จังหวัดชายแดนภาคใตวา “จากสถานการณการกอความไม สงบของผูก อ การรายใน 5 จังหวัดชายแดน ภาคใต ไดแก ปตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล กอใหเกิดผลกระทบตอ การใช ชี วิ ต ประจํ า วั น ของประชาชนที่ อาศัยอยูในจังหวัดดังกลาวเปนอยางมาก คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารติ ด ตามบริ ห ารงบ ประมาณกลุม ภารกิจดานความมัน่ คง และ
กลุ ม ภารกิ จ ด า นบริ ห าร ดั ง นั้ น คณะ กรรมาธิ ก ารบริ ห ารงบประมาณ สภา ผูแทนราษฎร และกระทรวงไอซีที จึงเห็น พองกันวา ควรดําเนินการศึกษาแนวทาง การลงทะเบี ย นรถจั ก รยานยนต โ ดยใช ระบบ Glo al Positioning Systems (GPS) สําหรับ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต เพื่ อ ป อ งกั น การก อ การร า ยโดยใช จักรยานยนตในการกอเหตุ” กระทรวงไอซีทีไดเชิญหนวยงานที่ เกี่ยวของเขารวมประชุมหารือถึงแนวทาง ในการลงทะเบียนรถจักรยานยนตดงั กลาว ไดแก กรมการขนสงทางบก ศูนยอํานวย การบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต กองทัพ บก สํานักงานตํารวจแหงชาติ และสมาคม
ผูประกอบการรถจักรยานยนตไทย ซึ่ง เบื้องตนไดนําเอากฎหมายที่เกี่ยวของกับ เรื่องดังกลาว 3 ฉบับ ไดแก รัฐธรรมนูญ
แห ง ราชอาณาจั ก รไทย พ.ศ. 2550 สวนที่ 3 มาตรา 35 พระราชบัญญัติ ขอมูลขาวสารราชการ พ.ศ. 2540 และ
ไอ อ หนน รก ไทยร อ ก าตา ล ลา ส ารท ตอร อ ต้ง ตอ ทย รก อนา ต การสร า งรู ป แบบการประมวลผลใหม เทานั้น แตยังไดกอใหเกิดการปฏิรูปการ ทําธุรกิจรูปแบบใหมขึ้นอีกดวย ยุคสมัย ใหมนี้เปดโอกาสใหกับองคกรตางๆ เพิ่ม มูลคาใหกบั สิง่ ทีอ่ งคกรนําเสนอ แตปจ จัย ดานคาใชจาย ความยุงยากซับซอน และ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นยังเปนสิ่งทาทายที่ ธุรกิจตองเผชิญ ไอบีเอ็มนําเสนอแนวคิด Smarter Com uting โครงสรางพื้นฐานไอทีที่ รองรับโอกาสมากมายที่เกิดขึ้นจากการ สรางสรรคโลกที่ชาญฉลาด ดวยการใช
ประโยชนจากเทคโนโลยีคลาวดเพื่อเรง ความเร็วในการนําผลิตภัณฑและบริการ ใหม ๆ ออกสู ต ลาด และปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพในการดําเนินงาน โดยอาศัย การกลั่นกรองขอมูลเชิงลึกที่สามารถนํา ไปใช ใ นการปฏิ บั ติ ง านจริ ง พร อ มทั้ ง ปกปองขอมูลสําคัญๆ เพื่อลดความเสี่ยง และปรับปรุงการปฏิบัติตามกฎระเบียบ นาย ั ชาน รอง กรรมการผูจ ดั การใหญ ธุรกิจคอมพิวเตอร บริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จํากัด ธุรกิจ คอมพิวเตอร กลาววา “ไอบีเอ็มยังคงเรง พัฒนากลยุทธในดานการจัดการขอมูล จํานวนมหาศาล หรือบิก๊ ดาตา (Big Data), ระบบวิเคราะหขอมูล (Analytic) และ คลาวด โดยเห็นไดจากผลประกอบการ ไตรมาสแรก อานตอหนา...C2
โดยมี ก ารลงทุ น ในธุ ร กิ จ หลายประเภท ดวยกัน ขณะอายุ 26 ปเทานั้น เขามี สินทรัพยถึง 1,200 ลานบาทเขาไปแลว (เมื่อ 46 ปมาแลว มูลคาเงินขนาดนี้ก็ ถือวายิง่ ใหญมาก) แตในชวงตอมา คารลอส คนพบตนเองวาเขาไมชอบที่จะคาหุนแต ก็อยากจะเปนนักธุรกิจมากกวา ความสามารถพิ เ ศษของคาร ล อส สลิม ที่นับวาเปนตํานาน คือ เกงเรื่อง ตัวเลข ในชวงประมาณหลังป 1 60 เขาได เรียนรูวิชาโปรแกรมเชิงเสน หรือ inear Programming ซึ่งเปนวิชาเกี่ยวกับการ หาจุดสมดุลที่สุด ที่เกิดจากกราฟเสนตรง หลายๆ เสนดวยตัวแปรตางๆ มากําหนด เงื่อนไขเพื่อใหเกิดจุดสูงสุดหรือตํ่าสุดตาม ทีต่ อ งการ เขาสามารถใชวชิ าโปรแกรมเชิง เสนเพื่อหาจุดคุมทุนที่สุดเพื่อการเขาซื้อ โรงงานยาสู บ ที่ มี ข นาดใหญ ที่ ส องของ ประเทศเม็กซิโก ที่ชื่อ ซิกาแทม ซึ่งเปน บริษัทที่ผลิตบุหรี่ยี่หอมารลโบโรที่คนไทย รูจักกันแพรหลายนั่นเอง เนื่องจากเขาประสบความสําเร็จใน การทําบริษัทยาสูบ เขาจึงริเริ่มที่จะซื้อ กิจ การจากบริ ษัท ตา งๆ มาทํ าธุ รกิจ ใน อาณาจักรของเขา ในช ว งวิ ก ฤติ ก ารณ นํ้ า มั น ของ เม็กซิโก ป 1 1 ซึ่งราคานํ้ามันตกตํ่ามาก
และเศรษฐกิ จ ของประเทศเม็ ก ซิ โ ก กําลังจะดิ่งลงเหวนั้น คารลอสไดลงทุน ทีซ่ กิ า แทมซึง่ ไดรบั ผลกําไรมาก และนํา กําไรนั้นมาลงทุนกับธุรกิจอเมริกันใน ประเทศเม็กซิโก เชน บริษทั อาลูมเิ นียม เรโนลด และบริษทั เฮอรชยี (รูจ กั กันดี เรื่องช็อกโกแลต) และสถาบันการเงิน ของเม็กซิโกหลายแหงจึงทําใหคารลอส รํ่ารวย มีโชคและมีอิทธิพลอยางสูงใน การที่ส ามารถผูกขาดกิจการหลายๆ อยางเขาดวยกัน โดยเฉพาะอยางยิ่งใน ธุรกิจการสื่อสารโทรคมนาคม คาร ล อสนั บ ว า เป น นั ก ธุ ร กิ จ ที่ ไรความปราณี ไมมีรอมชอม สิ่งที่ถนัด นัก คือ ซื้อกิจการดวยราคาถูกสุดแลว นํ า มารวบรวมจั ด ตั้ ง องค ก รใหม ด ว ย การอั ด ฉี ด เงิ น เข า ไปเพื่ อ ให เข ม แข็ ง อยางรวดเร็ว และสามารถเอาชนะคู แขงเพื่อครอบครองการเปนเจา ของ ธุรกิจนั้นๆ โดยทันที ธุรกิจที่เขาสนใจมี หลายประเภท เชน กอสราง เหมืองแร การพิมพ ยาสูบ อาหาร และคาปลีก และเขาก็ นํ า มารวบรวมเป น บริ ษั ท ขนาดยักษใหญของโลก าน าน ย าม าน น ัน ร นานะ รั เพราะมา ร เร รั
เ ม ประเ ย เ น ร รา พน าน เ รยมพร ม า รั ร รั าม าร น นา ย านร มระ มพ เ ร ร ะ ร าร า เ า ย ัน เพ า รั ประ ยชน า าม ามาร ะพ ั า าย เพ าร ั าร นรป า าร ชประ ยชน า ม เช เพ รา าม เปรย น าร ัน า ร ะป ป ม า ั
ร ะ ามเ ย า ามเ ย าย ะ าร ร รรม ม พร ม ั เป ั ระ มพ เ ร า รั า ะ ร นา เพม มา น ความพยายามในการสร า งสรรค โลกที่ ช าญฉลาดขึ้ น หรื อ Smarter Planet ผลักดันใหเกิดความกาวหนาและ นวั ต กรรมใหม ๆ อย า งเป น รู ป ธรรม เทคโนโลยีคลาวด ระบบวิเคราะหขอมูล หรือ Analytic โซเชียลบิสซิเนส และ โมบายลคอมพิวติ้ง ไมเพียงแตทําใหเกิด
รศ.ดร.บุญมาก ศิริเนาวกุล
อธิการบดี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอรด/boonmark@stamford.edu
ทําไมเขารวยที่สุดในโลก (1) าร ม เปน นร ย น มา ายป ัน ะ เ า ยั ร ามเปนเ า ร ร มนา ม ป เมร า า มเ า ร ย ยา ะร ยเ ม น เ า ร ม มา าช เ า ัน า เพราะ ม ยั มเ ยเ ยนมา น คาร ล อส เริ่ ม หั ด เป น นัก ลงทุ น ตัง้ แตอายุ 12 ป ครัง้ แรกโดยการซือ้ หุน ธนาคารเม็กซิกัน ปจจุบันอายุ 72 ป และมีความรวยเทากับ 2.265 ลานลาน บาท ก็ ป ระมาณเท า กั บ เงิ น กู ข อง รั ฐ บาลไทยป จ จุ บั น ที่ ต อ งการจะมา ลงทุนในหลายโครงการขางหนา โดย ปนี้เงินหรือสินทรัพยของเขาเพิ่มขึ้นทิ้ง บิล เกตต อดีตแชมปเกาหางมากขึ้น คารลอส สลิม เฮลู มีคุณพอชื่อ จูเลียน เปนชาวเลบานอน โดยอพยพ
มาอยู ป ระเทศเม็ ก ซิ โ กและทํ า ร า นขาย ของชํา ของแหง และตอมาก็เริ่มทําธุรกิจ อสังหาริมทรัพยที่นครเม็กซิโก ซึ่งก็ทําให คุณพอจูเลียนรํ่ารวยขึ้นมา คุณพอจูเลียนก็รับรูไดวาคารลอส นาจะเกงดานการคาขายเชิงพาณิชย ก็เลย พรํ่าสอนลูกใหรูจักวิธีการทําธุรกิจตั้งแต เด็ก โชคไมดีสําหรับคารลอส เมื่อคุณพอ จูเลียนเสียชีวิตขณะคารลอสอายุเพียง 12 ป ซึ่งเปนชวงที่เขาตัดสินใจซื้อหุนธนาคาร เม็กซิกัน และจริงๆ แลวคารลอสที่เกง ฉกาจเชิงธุรกิจจนรวยที่สุดในโลกนั้นก็นา จะมาจากสายเลือดคุณพอจูเลียนดวย คารลอสเริ่มรับชวงธุรกิจครอบครัว หลั ง จากนั้ น ก็ หั น ไปเรี ย นทางวิ ศ วกรรม โยธา และตอมาก็เปนนายหนาคาหุน และ ก็มาเปนเจาของบริษัทนายหนาคาหุน คารลอสเปนนักลงทุนที่ฉลาดมาก
ชยยันต งเกียรติ โรจน
พระราชบั ญ ญั ติ ร ถยนต พ.ศ. 2522 มาใชในการศึกษาขอมูลเพื่อหาแนวทาง ดําเนินการ นอกจากนี้ ยังไดพิจารณาถึงขอดีขอเสียของเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ 3 วิธี คือ วิ ธี แรกการใช อุ ป กรณ ติ ด ตามรถแบบ Of ine ซึ่งจะเก็บขอมูลตําแหนงพิกัดเอา ไวในตัวเครื่อง GPS Trac ing เวลา จะเรี ย กดู ข อ มู ล จะต อ งนํ า ตั ว เครื่อง GPS Trac ing มาตอเขา เครือ่ งคอมพิวเตอรเพือ่ ถายโอน ขอมูล วิธีนี้จะมีราคาถูกแตจะ ไมสามารถตรวจสอบตําแหนง ป จ จุ บั น ได ตรวจสอบได เฉพาะประวัติการเดินทางที่ ผานมาเทานัน้ สวนวิธกี ารใช อุป กรณติดตามรถแบบกึ่ง Of ine จะเปนการทํางาน รวมกับผูใหบริการโทรศัพท มือถือ โดยที่ตัวเครื่องจะมีชอง ไวสําหรับใส Sim-Card และสง ขอมูลพิกัด อานตอหนา...C2
เลอโนโวรกตลาดสมารทโ น แบงเคกหลัง 3 เปดใชงาน
เลอโนโว เผยโฉมสมารทโฟนใหม ล า สุ ด หลายรุ น เป ด ตั ว ครั้ ง แรกใน ประเทศไทยอยางเปนทางการ ตอบโจทย การใชงานสมารทโฟนตั้งแตสําหรับมือ ใหมเพิ่งเริ่มใชไปจนถึงสมารทโฟนระดับ ท็อป พรอมดีไซนรองรับการออกแบบได รับแรงบันดาลใจจากผูบริโภคในตลาด เกิดใหมโดยเฉพาะ นับเปนกาวสําคัญ ของเลอโนโวในการขยายตลาดเขามาใน ประเทศไทยอยางเต็มรูปแบบ นาย ร ฒ พ ม พร กรรมการ ผู จั ด การประจํ า ประเทศไทย บริ ษั ท เลอโนโว (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “เรารู สึ ก ยิ น ดี ที่ จ ะได นํ า เสนอสมาร ท โฟนเลอโนโวเปนครัง้ แรกในประเทศไทย ขณะนี้เรากําลังเขาสูยุค PC ซึ่งจะได เห็ น ผู ค นก า วไปไกลกว า การใช แ ค คอมพิ ว เตอร แ ละจะใช อุ ป กรณ ห ลาย อยางในเวลาเดียวกัน ซึ่งผูบริโภคชาว ไทยไดแสดงใหเห็นถึงความตองการใช สมารทโฟนสูงมาก ทัง้ นี้ ไอดีซคี าดการณ วาการโยกยายไปใชสมารทโฟนจะเปน หนึ่งในแนวโนมสําคัญในแวดวงไอซีที ของไทยในป 2013 ที่ผานมา เราการทํา ตลาดโทรศั พ ท ข องเราประสบความ สําเร็จอยางมากในประเทศจีน ที่ซึ่งเรา เปนเจาตลาดอันดับ 2 สําหรับการเปด ตั ว ในครั้ ง นี้ เราจะนํ า เสนอสุ ด ยอด
ผลิตภัณฑสตู ลาดในประเทศไทย เพือ่ ให ผูบริโภคเกิดความเชื่อมั่นในการใชสมา ร ท โฟนเช น เดี ย วกั น กั บ ที่ พ วกเขาใช คอมพิวเตอรเลอโนโวในชีวิตประจําวัน” นอกจากนี้ เลอโนโว นํ า โคบี ไบรอั น ท (Ko e Bryant) นั ก บาสเกตบอลระดั บ ซู เ ปอร ส ตาร จ าก เอ็ น บี เ อ ( BA) มาเป น พรี เซนเตอร สมาร ท โฟนรุ น ใหม ใ นโทรทั ศ น แ ละ สื่อโ ษณาสิ่งพิมพ รวมถึงบนเว็บไซต สื่อสังคมออนไลน ทั้งในประเทศจีนและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึง่ สะทอนสไตล อั น เป น เอกลั ก ษณ ข องนั ก กี าผู นี้ ที่ ได รั บ การยอมรั บ อย า งกว า งขวางทั่ ว ทั้งภูมิภาค และคาดวาจะชวยเพิ่มการ รับรูเกี่ยวกับสมารทโฟนของเลอโนโว ในหมูผูบริโภคในตลาดหลายประเทศ เชน ประเทศไทย โดยในชวงซัมเมอรนี้ ไบรอันทจะเดินสายรวมในงานเปดตัว ผลิตภัณฑเลอโนโวทั่วเอเชีย ดาน Mr.Chen Wenhui Partner รองประธานและผู อํ า นวยการฝ า ย Mo ile Business nit ของเลอโนโว กลาวถึงสมารทโฟนรุนใหมดังกลาวและ การเลือก โคบี ไบรอันท เปนพรีเซ็นเตอร ในครั้งนี้วา “โคบี ไบรอันท รูวาการ ทํางานเปนทีมเปนสิ่งสําคัญสําหรับการ กาวสูความสําเร็จ อานตอหนา...C2
C2
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
ไอซีที
ตอ า หนา...
กลับไปใหผูใชผานระบบ SMS เมื่อผูใช รองขอไปทีต่ วั เครือ่ ง GPS Trac ing วิธกี าร นี้จะจายเพียงคาใชบริการสง SMS ของ เครือขายโทรศัพทมือถือ แตจะไมคอย สะดวกเพราะผูใชจะไดรับขอมูลพิกัดใน แบบตัวเลข ซึง่ จะตองนําพิกดั ตัวเลขนัน้ ไป หาตํ า แหน ง ป จ จุ บั น ผ า นการเชื่ อ มต อ อินเทอรเน็ต โดยไมสามารถตรวจสอบ ข อ มู ล การเดิ น ทางย อ นหลั ง ได วิ ธี ก าร สุดทายการใชอุปกรณติดตามรถแบบกึ่ง Online ซึ่ ง อุ ป กรณ จ ะรั บ ข อ มู ล พิ กั ด ตําแหนงปจจุบันจากดาวเทียม และสงไป เก็บทีเ่ ครือ่ ง Server ผานระบบ 3G/EDGE/ GPRS ผู ใ ช ส ามารถเรี ย กดู ตํ า แหน ง ป จ จุ บั น หรื อ ประวั ติ ก ารเดิ น ทางแบบ Online ไดทั้งจากเครื่องคอมพิวเตอรและ
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
ขณะที่รายไดจากเทคโนโลยีคลาวดเติบโต อยางแข็งแกรงทั่วโลกกวา 70 เปอรเซ็นต ทั้งนี้ ในชวงป 2555 ธุรกิจของไอบีเอ็ม เติ บ โตในอั ต ราเลขสองหลั ก ในประเทศ ที่กําลังเติบโตกวา 30 ประเทศทั่วโลก” เพื่อรองรับการขยายตัวของตลาด ไอบี เ อ็ ม จึ ง นํ า เสนอเทคโนโลยี บิ๊ ก ดาต า และคลาวด แ ก ผู ใช ด ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ออกแบบเปนพิเศษสําหรับองคกรธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) รวมถึง ระบบคอมพิวเตอรสําหรับองคกร (enterrise systems) รุนใหมๆ ที่ชวยใหการ วิเคราะห จัดสรร และจัดเก็บขอมูลจํานวน มหาศาลทําไดงายๆ บนคลาวด ไอบีเอ็มจึงไดนําเสนอโครงสรางพื้น ฐานไอที ที่ เ ตรี ย มพร อ มสํ า หรั บ รองรั บ ความตองการในอนาคต (ready no for ตอ า หนา... hat s ne t) โดยผสานรวมระบบ ของป 2556 รายได ใ นส ว นของระบบ คอมพิวเตอร ซอฟตแวร และบริการตางๆ วิเคราะหขอมูลธุรกิจเพิ่มขึ้น 7 เปอรเซ็นต เขาดวยกันเพื่อใหลูกคาไดรับประโยชน
โทรศัพทมือถือ อีกทั้งยังสามารถสงคําสั่ง ตางๆ กลับไปยังเครื่อง GPS Trac ing ได อีกดวย แตจะตองเสียคาใชจายเปนราย เดือนหรือตามเงื่อนไขที่ผูใหบริการแตละ รายกําหนด “ทั้ ง นี้ ที่ ป ระชุ ม จะนํ า ข อ มู ล ที่ กระทรวงไอซี ที ไ ด ศึ ก ษามาข า งต น ไป พิจารณา วิเคราะห เพื่อหาแนวทางการ ลงทะเบียนรถจักรยานยนตโดยใชระบบ GPS ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และจะนํา เสนอผลการพิจารณา รวมถึงขอมูลเพิม่ เติม ในทีป่ ระชุมครัง้ ตอไป” นายไชยยันต กลาว ทิ้งทาย
สูงสุดจากความสามารถและพลังของไอที ที่ ห ลากหลาย โครงสร า งพื้ น ฐานไอที ที่ ไอบี เ อ็ ม เสนอวั น นี้ เพี ย บพร อ มด ว ย คุณสมบัติสําคัญ 3 ดาน คือ รองรั บ คลาวด (Cloud Ready) การจั ด การไอที ใ นรู ป แบบคลาว ด เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและความเร็ ว ใน การนําผลิตภัณฑและบริการใหมๆ ออก สูตลาด รองรับขอมูล (Data Ready) การใช ประโยชนจากขอมูลเชิงลึกเพื่อสรางความ ไดเปรียบในการแขงขันทางธุรกิจ รองรับความปลอดภัย (Security
ไอบีเอม นน
ลคเ อรร จั มอ อิน กรม ม คร ข า ชอ า จั จาหนา านรานคา ลก
IT SOCIETY
แบล็คเบอรรี่ และอินแกรม ไมโคร ประเทศไทย ประกาศต อ ยอดการเป น พั นธมิ ต รระดั บ โลก ด ว ยการขยายชอง ทางการจัดจําหนายผลิตภัณฑแบล็คเบอรรี่ พรอมดวยบริการลูกคาสัมพันธหลังการ ขายในประเทศไทย นายเ นั นา น ผูอํานวยการ ประจําประเทศไทย แบล็คเบอรรี่ กลาว วา “อินแกรม ไมโคร โมบิลิตี้ หรือกลุม ธุ ร กิ จ อุ ป กรณ สื่ อ สารเคลื่ อ นที่ ถื อ เป น พันธมิตรชั้นยอดที่ทํางานรวมกับเรามา แลวในหลายๆ ประเทศทั่วโลก ซึ่งเรามี ความยินดีเปนอยางยิ่งที่ไดตอยอดการ เปนพันธมิตรในครั้งนี้ ดวยการขยายชอง ทางการจัดจําหนายผลิตภัณฑแบล็คเบอรรี่ ผานตัวแทนจําหนายของอินแกรม ไมโคร ในประเทศไทย ทั้งนี้ เปาหมายของเรา คื อ การสร า งความสะดวกให แ ก ลู ก ค า ชาวไทย ให ส ามารถเข า ถึ ง และเป น เจ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ ข องแบล็ ค เบอร รี่ ไ ด
อยางงายดาย” เครือขายกลุมผูใหบริการโทรศัพท และผู ค า ปลี ก ของอิ น แกรม ไมโคร ใน ประเทศไทย ผสานกับบริการดานการจัด จํ า หน า ยชั้ น เลิ ศ จะช ว ยส ง เสริ ม ช อ ง ทางการทําตลาดของแบล็คเบอรรี่ใหดียิ่ง ขึ้น โดยลูกคาทั่วประเทศจะสามารถหา ซื้อแบล็คเบอรรี่สมารทโฟน อุปกรณเสริม และซอฟตแวรของแบล็คเบอรรี่ไดงายยิ่ง ขึ้น ทั้งนี้ แบล็คเบอรรี่สมารทโฟนที่จะมี การวางจําหนายผานตัวแทนจําหนายของ อินแกรม ไมโคร ประกอบดวยรุนดังตอไป นี้ แบล็คเบอรรี่ 10 แบล็คเบอรรี่ โบลด 00 แบล็คเบอรรี่ โบลด 7 0 แบล็ค เบอรรี่ เคิรฟ 320 และแบล็คเบอรรี่ เคิรฟ 220 สมารทโฟน ภายใตความรวมมือกันของแบล็ค เบอรรี่ และอินแกรม ไมโคร ประกอบ ด ว ยการนํ า เสนอคอร ส ฝ กอบรมด า น ผลิตภัณฑแบบครบวงจร การจัดกิจกรรรม
3 เอ็ม จับมือ เดลล : 3 เอ็ม ประเทศไทย โดยแผนก Specialty Display & Projection (SDP) รวมกับบริษัท เดลล ประเทศไทย จัดงาน Dell Solutions Tour 2013 (DST2013) ขนทัพโปรโมชั่นพิเศษกับผลิตภัณฑจอกรองแสงปองกันการ แอบมอง โดยมีกลุมลูกคาระดับ VIP และตัวแทนจําหนายของ Dell และผูสนใจเขารวมงานกวา 1,000 คน
สนับสนุนการตลาดภายในราน และการ ทํ า เอกสารประกอบการขายให กั บ พันธมิตรตัวแทนจําหนายของอินแกรม ไมโครในประเทศไทย เพื่อใหสามารถ มอบสุดยอดประสบการณการชอปปงให กับลูกคาทั่วทั้งประเทศ ดาน นายเคลเม็นท มัค กรรมการ ผู จั ด การ บริ ษั ท อิ น แกรม ไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “เรามี ความยินดีเปนอยางยิ่งที่ไดตอยอดการ เป น พั น ธมิ ต รของเรากั บ แบล็ ค เบอร รี่ มายั ง ประเทศที่ ต ลาดสมาร ท โฟนมี การเติบโตอยางตอเนื่องอยางประเทศ ไทย ทั้ ง นี้ บริ ษั ท มี ก ารดํ า เนิ น งาน ร ว มกั บ เครื อ ข า ยพั น ธมิ ต รภายใน ประเทศอยางใกลชิด ภายใตการควบคุม ดู แ ลของกลุ ม ธุ ร กิ จ อุ ป กรณ สื่ อ สาร เคลื่ อ นที่ ข องเรา เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการ เติบโตของตลาดผลิตภัณฑแบล็คเบอรรี่ ไปยังทั่วประเทศ”
โชวเทคโนโลยี : ดร.ชวพล จริยาวิโรจน ผูจัดการประจํา ประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน บริษัท วีเอ็มแวร เขารวมเปน วิ ท ยากรพิ เ ศษในงานสั ม มนาเพื่ อ เผยแพร ค วามรู ใ นหั ว ข อ “แนวคิ ด หลั ก การ และการใช ป ระโยชน จ ากเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารแบบระบบเมฆ (Cloud Computing)” ซึ่งจัดโดย สวทช.
Ready) ปกปองขอมูลสําคัญขององคกร และลดความเสี่ยงจากความเสียหายและ การถูกโจรกรรมขอมูล พรอมกันนี้ ไอบีเอ็มไดประกาศเปด ตั ว ระบบคอมพิ ว เตอร สํ า หรั บ ลู ก ค า SMEs และองคกรขนาดใหญเพิ่มมากขึ้น ประกอบด ว ย คอมพิ ว เตอร Po er Systems รุนใหม รุน, PureSystems รุนใหม 3 รุน และระบบจัดเก็บขอมูล Storage Systems รุนใหม เพื่อชวยให องคกรธุรกิจสามารถรับมือกับบิ๊กดาตา และคลาวดคอมพิวติ้งไดอยางรวดเร็วและ มีประสิทธิภาพ
เลอ น ว
ตอ า หนา...
ที่เลอโนโวก็เชนเดียวกัน การทํางานเปน ทีมเปนหลักชี้นํากระบวนการทั้งหมดใน การพัฒนาสมารทโฟนใหมๆ ออกสูตลาด นับตั้งแตการวิจัยและพัฒนาและการผลิต ไปจนถึงการตลาดและการขาย เราไดออก แบบสมาร ท โฟนเลอโนโวรุ น ใหม ๆ ให เป น ที ม ของผู ช นะ ด ว ยโทรศั พ ท ที่ มี คุณสมบัติแตกตางกันและเลนกันคนละ บทบาท”
AIS àÅ×Í¡ NEC »ÃÐà·Èä·Â ãËŒºÃÔ¡ÒÃà¤Ã×Í¢‹Ò Mobile Backhaul 3G AIS เลือกบริษัท เอ็นอีซี คอร ป อเรชั่ น (ประเทศไทย) จํ า กั ด ผนวกกั บ เทคโนโลยี ชั้ น นํ า จากซิ ส โก สํ า หรั บ การ จัดการเครือขายและ Internet Protocol (IP) สําหรับ Radio Access et or (RA ) เขา ดวยกัน เพื่อใหบริการ Mo ile Bac haul ที่ไดรับการปรับปรุง ใ ห ดี ขึ้ น แ ล ะ มี คุ ณ ภ า พ สู ง รองรับการใหบริการ 3G คลื่น ความถี่ 2.1GH นายวิเชียร เม ตระการ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท แอดวานซ อิ น โฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ AIS เป ด เผยว า “3G เป น โ ค ร ง ส ร า ง พื้ น ฐ า น ด า น โทรคมนาคมที่ จ ะยกระดั บ อุตสาหกรรมนี้ในประเทศไทย ดังนั้น AIS จึงเรงพัฒนาเครือ ข า ย 3G บนคลื่ น ความถี่ 2.1GH เพื่อใหเปนผูนําดานการมอบ บริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพและมี ขี ด ความ สามารถมากขึ้นในทุกแงมุมสําหรับคน ไทย เรามีความมั่นใจอยางยิ่งวาการ ทํางานรวมกันกับคูคาระดับโลกอยาง เอ็ น อี ซี ประเทศไทย และซิ ส โก จะส ง ผลให ก ารพั ฒ นาเครื อ ข า ย อันเปนภารกิจสําคัญที่สุดเสร็จลุลวง
วิเชียร เมฆตระการ
ไปไดดวยดี” ดาน นายฮิโรชิ ซาโต ประธานบริษัท เอ็นอีซี คอรปอเรชั่น (ประเทศไทย) กลาว วา “เอ็นอีซี ประเทศไทย ในฐานะ Gold Certi ed Partner ของซิสโก ไดใหบริการ Bac haul สําหรับโทรศัพทมอื ถือ และชวย ให AIS สามารถสนับสนุนการใหบริการ ขอมูลอันเปนที่ตองการอยางมากสําหรับ
ลู ก ค า และกลุ ม ธุ ร กิ จ ได ดี ขึ้ น เราเขาใจดีวา AIS ตองการที่จะ มอบบริ ก ารใหม ล า สุ ด และ เครือขายคุณภาพระดับสูงสุด ให แ ก ลู ก ค า ของตนอยู เ สมอ นับตั้งแตป 253 เปนตนมา เอ็นอีซี ประเทศไทย ไดบริการ จัดหาผลิตภัณฑทางดานการ สื่อสารหลากหลายชนิดใหแก AIS รวมทั้ ง ระบบสื่ อ สาร ไมโครเวฟและไฟเบอรออพติก เรามองขอตกลงนี้วาเปนการ ยอมรั บ ในเทคโนโลยี ชั้ น เลิ ศ และโครงสร า งการให บ ริ ก าร ชั้นเยี่ยมของเรา” ขณะที่ บริษัท ซิสโก ซีส เต็ ม ส (ประเทศไทย) จํ า กั ด ชี้แจงวา “โครงการนี้ของ AIS เปนอีกหนึ่งตัวอยางของความ สัมพันธระหวางซิสโก กับเอ็นอีซี ประเทศไทย ซึ่งตั้งอยูบนพันธ สัญญารวมกันที่จะเสริมสราง ประสบการณการใชงานระบบมือถือ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ แกลกู คา ทางซิสโกมคี วามยินดี ที่ AIS ไดเลือกเทคโนโลยีและระบบจาก Cisco เปนรากฐานสําหรับเครือขาย มือถือ 3G ของตน ซึ่งมีความสามารถ ที่จะรองรับการใหบริการ Bac haul สําหรับระบบโทรศัพทมือถือชั้นนําที่ เชื่อถือได”
First Touch
Galaxy Note 8.0 สีชมพู-นํ้าตาล ภาพหลุ ด ล า สุ ด ของ Gala y ote .0 ทั้ง 2 สีใหมนั่นคือสีชมพู และสีนาํ้ ตาล จากบัญชีทวิตเตอรจอม ปลอยภาพหลุด evlea s และอีก คนทีใ่ ชชอื่ da i คาดวา Samsung จะทํ า ตลอดต อ เนื่ อ งพร อ มๆ กั บ Gala y S4 อีก 4 ใหมที่กําลังทยอย วางตลาดในเร็วๆ นี้
จัดบูธ : บริษัท โซนี่ ไทย จํากัด ขนเอ็กซพีเรียโซนี่สมารทโฟน กวา 10 รุน เพื่อสนองความตองการที่หลากหลายของลูกคา พรอมวางจําหนาย Xperia™ SP อยางเปนทางการเปนครั้งแรก ภายในงาน Thailand Mobile Expo 2013 เมื่อวันที่ 23-26 พฤษภาคม 2556 ที่ผานมา ณ บูธโซนี่ ศูนยการประชุมแหง ชาติสิริกิติ์
มอบ 10 รางวัล : เอสเอพี จัดงาน SAP Kickoff & Recognition Night 2012 มอบ10 รางวัลเกียรติยศสําหรับพารทเนอร เอสเอพี ที่มีความสําเร็จโดดเดน โดยมี ฟรองซัว เลนคอน กก.ผจก. ประจําเอสเอพีภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตคนใหม และชยาม ประเสต บัดเดปุดิ รองประธานฝายแอพพลิเคชั่น เอสเอพีประจําภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต และ รก.กก.ผจก. เอสเอพี ประเทศไทย รวมแสดงความยินดี
เกษตร Agriculture
BHMR (ขาวหอมมะลิ 100% ชั้น 2 Both Options) Contract Month
JUL 12 AUG 12 SEP 12 OCT 12 NOV 12 DEC 12 JAN 13 FEB 13
Settle. Price Volume Open Interest
Prev.
New Chg. Total* EFP/NLT Prev. Curr. Chg.
30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40 30.40
30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20 30.20
-0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20 -0.20
Total
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 0 0 0
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
C3
ตอกยํ้าไทยศูนยกลางสงออกอาหาร
ก ยท ช รกดน รวไทย รว ก THAIFEX-World of food ASIA 2013 งานแสดงอาหารระดับ นานาชาติ ระดมผูประกอบการชั้นนําทั้งในและตางประเทศรวมโชว ศักยภาพสินคาและบริการกวา 3,100 คูหา ตอกยํา้ ความพรอมของ ประเทศไทยในการเปนศูนยกลางการผลิตและการสงออกอาหารของ ภูมภิ าค โดยในป นี้ ก รมส ง เสริ ม การค า ระหวางประเทศ ไดดําเนินยุทธศาสตร ดานการเพิ่มศักยภาพทางการแขงขันใน ตลาด เพื่อสงเสริมและพัฒนาการสงออก สินคาอาหารไทย ภายใตนโยบายผลักดัน ครัวไทยสูครัวโลกของกระทรวงพาณิชย อยางตอเนื่อง โดยจัดกิจกรรมสงเสริม ตลาดอาหารในหลายแนวทาง ทัง้ ดานการ พัฒนาสินคาและผูประกอบการ การนํา คณะผู แ ทนการค า เดิ น ทางไปเจรจา การค า และร ว มงานแสดงสิ น ค า ในต า ง ประเทศ ตลอดจนการจัดงานแสดงสินคา อาหารไทยในตางประเทศเพื่อแสวงหา ตลาดใหม แ ละพบปะกั บ ผู ซื้ อ โดยตรง นอกจากนี้ ยังมีการมอบเครื่องหมายไทย ซีเล็คทใหแกผูประกอบการรานอาหาร ไทยและผลิตภัณฑอาหารไทยที่ผานการ รั บ รองคุ ณ ภาพ ทั้ ง ในด า นรสชาติ แ ละ รูปลักษณที่มีความเปนไทย รวมถึงการใช วัตถุดิบของไทย สํ า หรั บ การจั ด งาน THAIFEXWorld of food ASIA 2013 ในครั้งนี้ ถือเปนอีกหนึง่ กลยุทธเชิงรุกในการผลักดัน ครัวไทยสูครัวโลก ซึ่งกรมสงเสริมการคา
ระหวางประเทศ ไดรวมกับ 2 หนวยงาน หลัก ไดแก หอการคาไทย และโคโลญ เมสเซ ประเทศเยอรมนี จัดขึ้นอยางยิ่ง ใหญ ภายใตแนวคิด “Savor the Best in Asia” โดยมีวัตถุประสงคใหเปนเวทีใน การแสดงสินคาอาหารระดับนานาชาติ เ พื่ อ เ ผ ย แ พ ร ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ภ า ค อุตสาหกรรมอาหารไทย ทั้งในดานการ เปนแหลงวัตถุดิบและแหลงผลิตอาหารสู ตลาดโลก ตอกยํ้าใหผูซื้อ ผูบริโภคทั่วโลก รับรูและยอมรับประเทศไทยในฐานะครัว ของโลกอยางแทจริง ขณะเดียวกัน บริษทั เจริญโภคภัณฑ อาหาร จํากัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ นํา ครัวโลกรวมงานแสดงสินคาอาหาร 2556 หรือ THAIFEX-World of Food ASIA 2013 ภายใตแนวคิด “Savor the Best in Asia” นายวิทวัส ตันติเวสส รองกรรมการ ผูจัดการบริหาร ดานการตลาด บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา งานแสดงสินคาอาหาร หรือ THAIFEX นับเปนงานสําคัญประจําป ที่ จะชวยผลักดันการสงออกสินคาอาหาร
ของไทยให บ รรลุ เ ป า หมายอย า งมี ประสิทธิภาพ โดยเปนเวทีที่เปดโอกาส ใหผูประกอบการทั้งใน และตางประเทศ ได ร ว มแสดงศั ก ยภาพด า นการผลิ ต โดยเฉพาะดานเทคโนโลยี และบริการ ที่ เ กี่ ย วข อ งสู เวที ก ารค า ในระดั บ สากล ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ วิ สั ย ทั ศ น ข องซี พี เ อฟ ที่มุงสูการเปน “ครัวของโลก” (Kitchen
of The World) โดยไดเขารวมปที่ 10 แลว และในปนี้ ซีพีเอฟไดจัดขึ้นภายใต แนวคิด “เติมชีวิตที่ดี” เกี๊ยวกุง ตราซีพี เปนสินคาที่ไดรับ การตอบรับอยางดีทั้งตลาดในประเทศ และต า งประเทศ โดยซี พี เ อฟสามารถ ครองอันดับ 1 ในการเปนผูสงออกกุงไป ยัง 17 ประเทศทั่วโลก โดยตลาดสงออก
นิสสันเชิญลูกคารวมกิจกรรม ‘ขับสนุก ขับปลอดภัยกับนิสสัน’
บริษัท นิสสัน มอเตอร (ประเทศ ไทย) จํ า กั ด เชิ ญ ลู ก ค า นิ ส สั น เข า ร ว ม กิ จ กรรม “ขั บ สนุ ก ขั บ ปลอดภั ย กั บ นิสสัน” (Drive Fun Drive Safe) ที่จัด ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค เพื่อเปนการให ความรู ทักษะ และความเขาใจหลักการ ขับขี่อยางปลอดภัยผานเทคโนโลยีของ นิสสัน ทั้งในรูปแบบทางทฤษฎีและการ ปฏิบัติทดลองขับขี่ดวยตัวเอง ซึ่งไดรับ ความสนใจจากลูกคาทั้งที่เพิ่งเริ่มขับรถ
ระ ั น เชยชม
เปนครั้งแรกหรือมีประสบการณขับรถมา แลวหลายป ไดเขารวมกิจกรรมจํานวน กวา 100 คน ณ ลานมอเตอร สปอรต แลนด แดนเนรมิต นายประพัฒน เชยชม รองกรรมการ ผูจัดการใหญอาวุโสการตลาดและขาย บริษัท นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “นอกจากความมุงมั่นใน การผลิตรถยนตที่มีคุณภาพและเปน มิตรตอสิ่งแวดลอมแลว นิสสันยังมี ความมุงมั่นที่จะสนับสนุนใหผูขับขี่ มีทักษะ ความรู และเทคนิคใน การขับขี่ใหปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ซึ่งกิจกรรมนี้นับเปนสวนหนึ่ง ในนิ ส สั น กรี น โปรแกรม ที่ มี เปาหมายในการสรางความยั่งยืน ใหกับอุตสาหกรรมธุรกิจยานยนต
และปลู ก ฝ ง ด า นความปลอดภั ย ให แ ก ผูขับขี่ เพราะความปลอดภัยถือเปนหลัก พื้นฐานที่สําคัญ และนิสสัน ไดใหความ สําคัญกับเรื่องนี้เปนอยางมาก ถือเปน หนึ่ ง ในเสาหลั ก ของนโยบายเพื่ อ คื น สู
สั ง คมภายใต นิ ส สั น กรี น โปรแกรม ดวย” กิจกรรมในครั้งนี้ ผูเขาอบรมจะได รั บ ฟ ง ข อ มู ล การขั บ ขี่ แ บบอี โ ค ไดร ฟ และทําความเขาใจการทํางานของระบบ เกียรอัจฉริยะ Xtronic CVT ทําใหผูเขา อบรมสามารถขับขี่ไดอยางสนุกพรอม ประหยัดนํ้ามันไดมากขึ้นดวย จากนั้น เปนการอบรมเรื่องการขับขี่อยางไรให ปลอดภัยจากภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ ที่ ใ ห ผู อ บรมทุ ก ท า นได ล องขั บ รถใน สถานการณทแี่ ตกตางกันไป เชน การเขา โคง การเปลี่ยนเลน การหยุดเบรก และ การขับในแบบสลาลอม พรอมกันนี้ ยังได รับเกร็ดความรูเพิ่มเติมในเรื่องเทคนิค การดูแลรถเบื้องตนดวยเชนกัน
B2C ในอนาคตจะเพิ่มขึ้นเปน 20-30% โดยมีแผนการตลาดในการดันแบรนดที่ เปนสินคา ระดับ มาตรฐาน เขา สูตลาด ผูบริโภค ผานชองทางในโมเดิรนเทรด ซูเปอรมารเกต และขายแบบปลีก (Retail) มากยิ่งขึ้น การเปลี่ยนชื่อและรวมแบรนด สินคาอาหารมาเปน BETAGRO สําหรับ กลุมผูบริโภคในตลาดระดับมาตรฐานนี้ จะชวยใหผูบริโภครูจักและจดจําแบรนด ไดงายขึ้น โดย Positioning ของแบรนด BETAGRO จะเปนแบรนดสินคาคุณภาพ นาเชื่อถือสูง เขาถึงไดงาย จริงใจ และให ความรูกับผูบริโภค” นายวสิษฐ กลาว ด ว ยเหตุ นี้ เครื อ เบทาโกร จะมี แบรนดสินคาอาหารสดประเภทเนื้อสัตว และไขไกคุณภาพ แบงออกเปน 2 แบรนด หลัก ไดแก S-Pure ซึ่งเปนสินคาอาหาร ระดั บ พรี เ มี ย มแบรนด และแบรนด BETAGRO จะเปนแบรนดสินคาอาหาร คุณภาพระดับมาตรฐาน โดยผูบริโภคจะ เริ่มเห็นผลิตภัณฑเนื้อหมู เนื้อไก และ ไขไกในบรรจุภณ ั ฑใหมแบรนด BETAGRO ตั้งแตเดือนมิถุนายนเปนตนไป สําหรับ หลักที่สําคัญ ไดแก อเมริกา ยุโรป เกาหลี ผลิตภัณฑอาหารแปรรูป/อาหารปรุงสุก คุณภาพแบรนด “เบทเทอรฟูด” (Better ญี่ปุน และประเทศในเขตเอเชีย นายวสิษฐ แตไพสิฐพงษ กรรมการ Food) มี แ ผนจะเปลี่ ย นมาใช แ บรนด ผูจัดการใหญ เครือเบทาโกร กลาววา BETAGRO ในลําดับตอไปในอนาคต นายปุ ณ วงศ คงสุ น ทรกิ จ กุ ล เครือเบทาโกรเริ่มดําเนินธุรกิจจากตนนํ้า จนถึงปลายนํ้าของอุตสาหกรรมเกษตร ผูจัดการทั่วไป บริษัท ซี.พี.อินเตอรเทรด และอาหาร ซึ่งไดรับความมั่นใจจากลูกคา จํากัด เปดเผยวา บริษัทใหความสําคัญ ในกลุมตางๆ โดยเฉพาะกลุมเกษตรกร ใน กั บ สิ น ค า เกษตรของประเทศ ซึ่ ง ก็ คื อ ความจริงใจที่เบทาโกรมีตอคูคาสืบทอด “ขาว” มาโดยตลอด และยังคงมุงมั่นที่จะ มาจากรุนสูรุน ปจจุบัน เครือเบทาโกร ได พัฒนาผลิตภัณฑ และแสวงหากลยุทธ รั บ การยอมรั บ ในฐานะผู ผ ลิ ต อาหาร ใหม ๆ ออกมา เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค า ให กั บ คุณภาพสูง จากทั้งกลุมผูใหบริการอาหาร ผลิตภัณฑ “ขาว” อีกทั้งเปนการเพิ่มชอง ภัตตาคาร รานคา ทั้งในประเทศ และจาก ทางเลือกในการรับประทานขาวหอมมะลิ บริษัทชั้นนําในตางประเทศ อาทิ ญี่ปุน ไทยไดงายขึ้นสําหรับคนรุนใหม ใหคนรุน ฮ อ งกง มาเลเซี ย สิ ง คโปร ตลอดจน ใหมไดใกลชิดขาวหอมมะลิมากยิ่งขึ้น จึง ประเทศในแถบยุโรป ซึง่ การเปนพันธมิตร เปนที่มาของการนําวัตถุดิบขาวหอมมะลิ ทางการคากับประเทศชัน้ นําเหลานี้ ทําให ไทย มาทําการแปรรูป แตยังคงคุณคาทาง เกิดการรวมลงทุนในการผลิตและพัฒนา โภชนาการครบถวน โดยการออกผลิตภัณฑใหม “ริ-โอ” ผลิตภัณฑตา งๆ รวมทัง้ ศักยภาพในการนํา สินคาสงออกไปจําหนายในหลายประเทศ ขนมขาวหอมมะลิอบกรอบ ซึ่งพัฒนาขึ้น จนได รั บ การยอมรั บ ในระดั บ สากล เพือ่ ตอบสนองความพึงพอใจของผูบ ริโภค ผลิตภัณฑอาหารของเครือเบทาโกร ไดรบั รุ น ใหม ส ง เสริ ม ให เ กิ ด การสร า งแรง การยอมรับและเชื่อมั่นจากผูบริโภคโดย บั น ดาลใจใหม ๆ เหมาะสํ า หรั บ คนรั ก เฉพาะในมาตรฐานการผลิต คุณภาพ และ สุขภาพ รักเพื่อน และชอบปารตี้ โดยตั้ง ความปลอดภัย ดังนั้น ในวันนี้ เบทาโกร เปาหมายการขาย ไตรมาส 3 และ 4 ของ พรอมสําหรับการเปลี่ยนชื่อแบรนดสินคา ป 2556 ภายในประเทศ และสงออก เนื้อหมู เนื้อไก และไขไกคุณภาพระดับ มูลคารวม 50 ลานบาท โดยแบงสัดสวน มาตรฐาน จากเดิมชื่อ แบรนด “ไฮมีท” การขายเปนสงออก 60% และในประเทศ (HyMEAT) และแบรนด "ไฮเอก" (HyEGG) 40% อย า งไรก็ ต าม งาน THAIFEXมาใช แ บรนด เ ดี ย ว คื อ “เบทาโกร” (BETAGRO) เพื่อชวยตอกยํ้าถึงความมี World of food ASIA 2013 เปนการจัด คุ ณ ภาพและทํ า ให เ กิ ด ความเชื่ อ มั่ น ต อ แสดงและจําหนายสินคาอาหาร เครือ่ งดืม่ ผูบ ริโภคยิง่ ขึน้ เมือ่ เห็นตราสินคา BETAGRO เทคโนโลยีการผลิตอาหาร ธุรกิจคาปลีก และแฟรนไชส รวมทั้ ง ธุ ร กิ จ บริ ก ารที่ บนผลิตภัณฑ “จากผลการวิจัย พบวา ผูบริโภค เกี่ยวของมาจัดแสดงอยางครบวงจรกวา ลูกคา คูคา ตางยอมรับและคุนเคยชื่อ 3,100 คูหา จากจํานวน 1,100 บริษัท เบทาโกร ในฐานะองคกรที่ดําเนินธุรกิจ ชั้ น นํ า ทั้ ง ในและต า งประเทศรวม 35 ดวยความจริงใจ โปรงใส และนาเชื่อถือ ประเทศ อาทิ จีน เวียดนาม ฟลิปปนส หลายปที่ผานมาเราเนนการสื่อสารแบบ อิตาลี ญี่ปุน ไตหวัน มาเลเซีย สิงคโปร ธุรกิจกับธุรกิจ หรือ B2B (Business to เกาหลี บรู ไ น บราซิ ล ตุ ร กี และไทย Business) ณ วันนี้ เบทาโกรพรอมที่จะ เป น ต น จึ ง เป น การเชื่ อ มโยงตลาดให สื่ อ สารแบบ B2C (Business to ผูป ระกอบการในภาคอุตสาหกรรมอาหาร Consumer) เพื่อเขาถึงผูบริโภคมากยิ่ง ทัง้ ในประเทศและตางประเทศไดมา สราง ขึ้น และทําใหผูบริโภคเขาถึงเรามากขึ้น โอกาสทางการค า กั บ ผู ซื้ อ ที่ มี ศั ก ยภาพ จากสัดสวนเดิมประมาณ 10% ที่เปน จากทั่วโลก
กาวทันโลก
CSR กับ CSV
ทาน ง ุนเ ย ั วา ‘CSR’ เพื่อ หเ า ทัน ร ส ล นยพั นาป า มจง สื น อมล นว ิ หม อง ล มาเสนอเปน มา า ทาน เพื่อ หทุ ทาน มต เทรน จง ันเอามา ตเนือ มาเลาส ัน ง จน ท วามที่มี วามยาว ลังพอ ี เหมา ั นมีเวลานอยอยางเรา มอาน ม เลย อ อ เพรา ถา มรจั 2 นีจ เปน นตาม มทัน ร ส พอ น ต นี่เพิ่งตามมาติ
CSR (Corporate Social Responsibility) ือ ารรั CSV (Creating Shared Value) ือ ารสรางสรร ุ
ิ อ อง ุร ิจตอสัง ม าเพิ่มรวม ัน ห ั สัง ม ที่มา
C4
วันจันทรที่ 3 มิถุนายน - วันอาทิตยที่ 9 มิถุนายน 2556
หนังสือพิมพ ทรานสปอรต เจอรนัล
เอสซีจี เคมิคอลส ชูกลยุทธ Eco Innovation สรางตนแบบโรงงานเชิงนิเวศ กาวสู่ ปที่ 100 อยางมั่นคงกับเอสซีจี ซัพพลายเออร ไดมีสวนรวมในการรักษา สิ่ ง แวดล อ มเพื่ อ สร า งมู ล ค า เพิ่ ม ทั้ ง นี้ เอสซีจี เคมิคอลส ไดมีการบริหารจัดการ โรงงานเชิ ง นิ เ วศอย า งเป น รู ป ธรรม เชน การนําความรอนเหลือทิ้งแปลงเปน พลังงานไอนํ้าสงใหโรงงานอื่น เพื่อใหเกิด การใช ท รั พ ยากรอย า งคุ ม ค า และเกิ ด ประโยชน สู ง สุ ด การนํ า สารไฮโดร คารบอนที่เผาทิ้งในหอเผากลับมาใชใหม เปน วั ต ถุดิ บ (Flare Gas Recovery)
นายช ั า าร พ กรรมการ ผูจัดการใหญ เอสซีจี เคมิคอลส กลาววา ในโอกาสครบรอบเอสซีจี 100 ป เอสซีจี เคมิคอลส ไดเปดบานใหผมู สี ว นเกีย่ วของ เขาเยี่ยมชมในกิจกรรม “เปดบานเอสซีจี เคมิคอลส เสนทางแหงนวัตกรรมเพื่อสิ่ง แวดลอมที่ยั่งยืน” หรือ “Eco Innovation for Sustaina le Environment” ตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน โดย แสดง “นวัตกรรมดานสิ่งแวดลอม ที่บูรณาการในทุกมิติ” ไดแก การ จัดการโรงงานเชิงนิเวศ (Eco Factory) การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม สิ น ค า ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (Eco Product) และการพั ฒ นา คุณภาพชีวิตของชุมชนโดยมุงเนน ให ชุ ม ชนดู แ ลและพึ่ ง พาตนเอง (Beyond CSR) พร อ มเชื่ อ มั่ น อุตสาหกรรมและชุมชนอยูรวมกัน ไดอยางยั่งยืน หากจริงใจตอกัน
และเห็นประโยชนสวนรวมเปนหลัก “เอสซี จี เคมิ ค อลส มุ ง เน น การ เป น ต น แบบโรงงานเชิ ง นิ เ วศ (Eco Factory) โดยเนนการบริหารจัดการใน ดานอากาศ นํ้า การจัดการกากของเสีย พลั ง งานและคุ ณ ภาพชี วิ ต ของชุ ม ชน พรอมทั้งพัฒนาเครือขายสีเขียวโดยมุงให ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เชน คูคา ลูกคา
‘¡Ãا෾»ÃСѹÀÑÂ’ ᵌÁ½˜¹ »˜¹ÂÔéÁ à¾×è͹ŒÍ§
3 องคกรใหญ กรุงเทพประกันภัย โรงพยาบาลบํารุงราษฎร และกรุงเทพ ประกั น ชี วิ ต ผนึ ก กํ า ลั ง ร ว มกั น จั ด กิจกรรม “รวมแรง รวมใจ กับ Bha y3” ครัง้ ที่ 4 ตอน แตมฝน ปนยิม้ เพือ่ นอง ณ โรงเรียนวัดประชาโ สิตาราม จ.สมุทรสงคราม โดย “ชัย โสภณพนิช” ประธานกรรมการและประธานคณะ ผูบริหาร บมจ.กรุงเทพประกันภัย เปน ประธานในพิธีเปดกิจกรรมพรอมดวย “แมค แบนเนอร” ผูอํานวยการดาน บริหาร บมจ. โรงพยาบาลบํารุงราษฎร และ “โชน โสภณพนิ ช ” กรรมการ ผูจัดการใหญ บมจ.กรุงเทพประกันชีวิต นําทัพผูบริหารและพนักงานจิต อาสาของทั้ง 3 บริษัท กวา 250 คน ลงพื้ น ที่ ร ว มกั น ปรั บ ปรุ ง ห อ งสมุ ด
การจั ด การกากของเสี ย โดยการนํ า กากตะกอนจุ ลิ น ทรี ย จ ากระบบบํ า บั ด นํ้าเสียชีวภาพเปลี่ยนเปนปุยอินทรียดวย ไส เ ดื อ นดิ น และการแปลงสภาพนํ้ า กอนบําบัดใหเปนสารฟอกเยื่อกระดาษ เปนตน นอกจากนี้ เอสซีจี เคมิคอลส ยัง ไดกอ สร า งระบบหอเผาไร ค วันดวยงบ ลงทุนกวา 300 ลานบาท นับเปนหอเผา ไรค วันหอแรกของประเทศไทย” นาย ชลณัฐ กลาว
โรงอาหาร ปรับภูมิทัศน สภาพแวดล อ มของ โรงเรียน แตงแตมสีสัน ให ส ดใสด ว ยการวาด ภาพการตนู พรอมระบาย สี กํ า แพงบริ เ วณอ า ง ลางหนา/แปรงฟนของ เด็ ก ๆ ปรั บ ปรุ ง สนาม เด็ ก เล น พร อ มมอบ
โดยสอนวิ ธี ก ารแปรงฟ น ที่ ถู ก ต อ ง เพื่ อ ฟ น สวย และรอยยิ้ ม ที่ ส ดใสของ เด็ ก ๆ พร อ มกั บกิ จ กรรม สั น ทนาการที่ ใ ห เ ด็ ก ๆ ได ส นุ ก สนานก อ นวั น เปดเทอม
เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร อุ ป กรณ ก ารศึ ก ษาและ กี าให แ ก โรงเรี ย นเพื่ อ เปนแหลงเรียนรูสําหรับ นั ก เรี ย นและชุ ม ชน ไม เพี ย งเท า นี้ พนั ก งานจิ ต อาสายั ง ร ว มกั น สร า งสุ ข อนามั ย ที่ ดี ใ ห แ ก เ ด็ ก ๆ
ไทยซัมซุง จับมือกระทรวงศึกษาธิการ จัดกิจกรรมเพื่อนองไดเรียน นาย น าร น กรรมการผูจัดการและประธาน บริหาร บริษัท ไทยซัมซุง ประกันชีวิต จํากัด (มหาชน) รวมกับ กระทรวงศึกษาธิการ จัดพิธีมอบคอมพิวเตอรใน “โครงการไทย ซัมซุง ประกันชีวติ เพือ่ นองไดเรียน” จํานวน 30 ชุด พรอมอุปกรณ การเรียน โดยมี “จันทนา ทองศรีงาม” ผูอํานวยการโรงเรียนวัด อุทยั ธาราม กลาวตอนรับและขอบคุณ พรอมเปดกิจกรรมโดยการ แสดงจากพีๆ่ นักศึกษาฝกงาน นอกจากนี้ ภายในกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ พนักงานจิตอาสาไดเนรมิต et earn English หรือสอนภาษา อังกฤษนองๆ ผานการเลนเกม เพือ่ สรางบรรยากาศและการเรียน รูร ว มกัน จากนัน้ ผูบ ริหารและพนักงานเยีย่ มชมหองคอมพิวเตอร ทัง้ นี้ “ดร.บัณฑิตย ศรีพทุ ธางกูร” เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริม การศึกษาเอกชน สํานักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการ และ “ดร. พยงค ชิน” Re resentative Korea Food For The Hungry International Foundation Thailand ใหเกียรติรวมในพิธี มอบคอมพิวเตอรอีกดวย