เคล็ดไม่ลับ กับการใช้ข้อมูล 43 แฟ้ม สาหรับทันตกรรม ทพ.ธนัฏฐนนท์ อัศววัฒฑกี รพ.พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช Rdentdata แหล่งข้อมูลจากฐานข้อมูลในระดับ รพ.สต. และโรงพยาบาลมีข้อมูลทีล่ ะเอียดมากกว่า HDC ที่หลายคนมองข้ามที่จะใช้ ข้อมูลเหล่านี้ ประเด็นคือไม่ทราบว่ามันจะนามาใช้อย่างไร หรือไม่ทราบว่ามีข้อมูลอะไรอยู่ที่ไหน ทันตบุคลากรเราก็สักแต่คีย์ และส่งทาให้เกิดปัญหา การคีย์เป็นภาระงานและไม่สามารถนาสิ่งต่างๆที่บนั ทึกไปมาใช้งานได้ วันนี้ผมจึงนาตัวอย่างการใช้ข้อมูล ใน ระบบ JHCIS และ Hosxp มาเป็นแนวทางในการทดลองใช้ประโยชน์ท่านไม่จาเป็นต้องเขียนรายงานเป็นแต่ท่านต้องทราบว่า สิ่ ง ที่ ต้ อ งการอยู่ ที่ ไ หน ขั้ น ตอนของการพั ฒ นางานจะวางแผนได้ ดี ถ้ า เรามี ข้ อ มู ล ที่ ดี Information system เป็ น หนึ่ ง ใน องค์ประกอบที่สาคัญในการสร้างระบบสุขภาพ Six building block วันนี้เราลองมาเล่นข้อมูลที่เรามีกันดีกว่าเพื่อจะได้เ ป็น ไอเดียในการนาไปใช้ key word ง่ายในวันนี้คือบันทึกอะไรไป ได้อย่างนั้น คานี้คือถ้าต้องการข้อมูลที่ถูกต้องก็ต้องเริ่มจากการมี มาตรฐานในการบันทึกที่ดี ในหน่วยงานต้องมีการตกลงและนิยามกันชัดเจน
Input
Process
Output
Outcome
Impact
รูปที่ 1 กระบวนการทาโครงการ ข้อมูลที่ดีมีความสาคัญมาในการดาเนินโครงการแก้ปัญหาให้ตรงกับปัญหาที่เรามีจริงๆ ไมได้ทาเพียงแค่ตัวชี้วัดผมว่ามัน เป็นความท้าทายและข้อมูลก็เป็นเสมือนแผนที่ GPS ในการกาหนดทิศทางการทางานของเราให้เราได้มีแรงบันดาลใจในการ ขับเคลื่อนงาน และงานที่ทาได้แก้ปัญหาของประชาชนจริง วันนี้ผมก็นาเสนอวิธีการนาข้อมูลมาใช้จากโปรแกรมต่างๆ ที่เราใช้ กัน ตัวอย่างง่ายๆ ใครที่ใช้ Hosxp เราสามารถที่จะหากลุ่มเป้าหมายของเราได้จาก Menu >งานเชิงรุก > บัญชี 1 และค้นหา เป้าหมาย กาหนดกลุ่มอายุหรือหมู่บ้านที่เราสนใจ เลือกว่าจะเอาคน Type ไหนแล้วก็กดค้นหา ได้รายชื่อมาเป็นสามารถที่จะ Export ออกมาเป็น excel แล้วนาไปออกแบบในการเก็บ ข้อมูลที่ส าคัญข้อมูลที่ ได้มี ที่อยู่ และ CID สามารถที่จะนากลับ มา วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
บันทึกในระบบได้อีกครับ เช่นถ้าเราจะหาเด็กอายุ 3 ปี ณ เวลานี้ก็กาหนดกลุ่มอายุ 3 ปี – 3 ปี รายชื่อเด็กก็จะแสดงมาใน ด้านล่างครับ
รูปที่ 2 ตัวอย่างการค้ นหากลุม่ เป้าหมายใน Hosxp ใน JHCIS ก็หาได้เช่นกันเข้าไปในเมนูรายงานและค้นหากลุ่มเป้าหมาย ก็จะได้รายชื่อประชากรตามกลุ่มวัยในพื้นที่ รับผิดชอบสามารถออกเป็น Excel นาไปทาต่อได้เช่นกันครับ ใน Hosxp และใน JHCIS ยังสามารถที่จะหากลุ่มโรคที่เราสนใจ เช่นต้องการหาโรคที่เป็นกันเยอะ 10 อันดับ หรือหาจากรหัส ICD10 ก็สามารถทาได้เช่นกันครับ เพื่อทราบขนาดของโรค แต่จะ ถูกต้องหรือไม่ต้องขึ้นกับต้นทุนที่ลงข้อมูลมาถูกหรือไม่ครับ หรือคนสงสัยว่าตัวรายงาน HDC ลงรหัสอะไร ยกตัวอย่างมาให้ดูกัน ครับว่าเขาจับรหัสอะไรกันตัวอย่างรหัสที่ลงกันครับ เมื่อเราลงไปแล้วบ้างครั้งเราก็ไม่แน่ใจว่าถูกหรือไม่ครับ หรือลงไปแล้วมัน ออก 43 แฟ้มหรือไม่ รหัสที่เราลงไปคือ ICD10TM ออกในแฟ้มที่ชื่อว่า Procedure OPD คู่กับชื่อคนทาหัตถการ ผมหมายถึง รหัสนะครับลองดูตัวอย่างข้อมูลในแฟ้มนี้กันครับ
รูปที่ 3 ตัวอย่างข้ อมูลในแฟ้ม PROCEDURE_OPD ใครเคยดูแฟ้มมาตรฐานก็จะเห็นรหัสเหล่านี้นะครับ ใครที่ไม่เคยเห็นว่าส่งข้อมูลก็หน้าตาเป็นอย่างนี้แหละครับ สิ่งที่คุณ คีย์หน้าโปรแกรมว่าอุดฟัน ถอนฟัน มันก็จะแปลเป็นรหัส ICD10TM และ ผู้ให้บริการก็จะไม่ขึ้นชื่อครับก็จะมีรหัสดังทีเ่ ห็นบริการ กับใครก็ไปเชื่อมกับ PID เอาครับกับแฟ้ม Person ดูแล้วดูยุ่งยากนะครับ แต่ชีวิตก็มีทางออกเสมอ เพื่อให้ง่ายต่อการนาข้อมูลไป ใช้และการท ารายงาน ที ม พั ฒ นานาโดยคุณหมอนิติโ ชติ ก็ ได้ท าโปรแกรม Dental Report helper มาช่วยในการออกและ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ตรวจสอบรายงานครับ มี Version portable ที่สามารถใช้ตรวจได้ในโน้ตบุคทุกเครื่อง ก่อนอื่นต้องมีก้อนข้อมูล 43 แฟ้มของ หน่วยงานท่านก่อนเป็นรูปแบบ Zip file ดังที่เห็นในรูป นาเข้าไป > กดประมวลผล > แล้วดูรายงานได้เลยครับ Version ใช้ใน ปัจจุบันคือ 052016 ครับ สามารถดาวโหลดมาใช้ได้ขอบคุณทีมพัฒนาคุณสุวิทย์ ที่ช่วยแก้ไขโค้ดและนามาใช้ได้ครับ
รูปที่ 4 ตรวจสอบ Version ใหม่ก่อนใช้
รูปที่ 5 กาหนดรหัสสถานบริการก่อนนาข้ อมูลเข้ ามาตรวจสอบ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
หลังจากที่ดูผลงานแล้วรู้สึกผิดปกติน้อยไปมากไปเราก็สามารถคลิกที่ตัวเลขด้านหลังก็จะเห็นข้อมูลราย Record นาไป ตรวจสอบกับหน้าจอและแก้ไขได้ตัวอย่างของหญิงมีครรภ์ที่ได้รับการตรวจฟัน เราก็เข้าไปคลิกที่ตัวเลขรายชื่อก็จะขึ้นมาให้ ตรวจสอบ
รูปที่ 6 รูปการตรวจสอบรายชื่อที่ข้อมูลนับรายงานและสามารถส่งออกเป็ น Excel ได้ ตรวจแล้วพบความไม่ถูกต้องกลับไปแก้ในโปรแกรม HIS ไม่ว่าจะเป็น Hosxp หรือ JHCIS หรือ HosOS แล้วก็ส่งออก มาใหม่ครับ ตรวจสอบจนมั่นใจว่าถูกแล้ว ก็นาข้อมูลที่แก้แล้วส่งเข้า HDC เท่านี้ข้อมูลของท่านก็จะงดงามตามความจริง รหัสที่ ใช้ลงอ้างอิงสามารถค้นหาได้ในเว็บไซด์นะครับผมนามาให้ดูเป็นตัวอย่างครับ ย้านะครับเรารู้ว่าลงรหัสอะไรแล้วรายงานจะขึ้นก็ ควรทาจริงๆ แล้วค่อยลงนะครับ ไม่ใช่ไม่ทางานแล้วมานั่งลงข้อมูล ไม่ได้ประโยชน์กับใครเลยนะครับทั้งกับตัวท่านเอง และ ประชาชนก็ไม่ได้รับบริการ แค่ได้ดูดีผ่านตัวชี้วัด แล้ว ข้ อ มู ล ที่ เ รานั่ ง เที ย นไปก็ จ ะกลั บ มาท าร้ า ยเราใน รูปแบบของเป้าหมายที่เพิ่มขึ้น ลงตามที่เป็นจริงทาได้ เท่าไหร่ก็ลงเท่านั้น ครับแล้วหาเหตุผลมาอธิบายให้ได้ ว่าทาไม่ได้ผ่านตัวชี้วัดเพราะอะไรขาดคน เงิน หรือ ขาดของ สร้างวัฒนธรรมที่ดีในการบันทึกข้อ มู ล ท า จริง คีย์จ ริง ถูก ต้อง ถูก ที่ ถูก เวลา เพื่ อ พั ฒ นางาน ทันตสาธารณสุขให้ก้าวไกล แล้วเราจะมีความสุขใน การท างานกั บ ข้ อมู ล ครับ ตอนนี้ ร ายงานข้อ มู ล ใน HDC ก็มี 2 ส่วนนะครับ ส่วนที่เป็นการเข้าถึงบริการ รูปที่ 7 แสดงรายงานใน HDC ตามหน่วยบริการ จาทารายงานตามหน่วยบริการครับใครทามากตัวเลขขึ้นมากครับ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
และอีกส่วนคือรายงานตาม Service plan ซึ่งเป็นรายงานแบบความครอบคลุม และผลการตรวจฟัน อันนี้สาคัญมากเพราะต้อง จัดประชากร Person type area ให้ถูกก่อนนะครับคน ที่นับเป็นตัวหารคือประชากร Type 1 และ 3 ครับถ้าไม่มีการเคลียร์ ข้อมูลตรวนี้ก็จะดูรายงานแบบ ขัดใจ ข้องใจ สงสัย
รูปที่ 8 รายงานแบบคตวามครอบคลุม
รายงาน HDC กลุ่ม งานทั นตกรรมจะเห็นว่ามี ม ารองรับ เยอะมากอยากให้เข้าไปตรวจดูครับว่าตรงถูกต้องหรือไม่เพราะคนที่ เขียนสคริปก็ไม่ทราบครับว่าข้อมูลตรงหรือไม่ คนที่ใช้ข้อมูลจะเป็น คนดูและทราบว่าข้อมูลตนเองผิดพลาดประการใด เมื่ อพบเจอก็ สามารถสะท้อนกลับมาได้ทีมงานพร้อมแก้ไขครับด้วยระบบ Cloud ทาให้สามารถแก้จากด้านบนแล้วเปลี่ยนทั้งประเทศ HDC ชีวิตกับ ข้อมูลดี๊ดี ขึ้นนะครับ คุณสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที จะพัฒนาได้ดี ทีมทันตบุคลากรต้องร่วมใจกัน ผมไปหลายที่ประทับใจ ทีมทันตะที่ตั้งใจเรียนรู้และพัฒนา ไปพร้ อ มกั น ครั บ www.facebook.com/Rdentdata ยิ น ดี รั บ ใช้ ด้านข้อมูลครับ รูปที่ 9 ตัวอย่างรหัสที่ใช้ นบั รายงาน วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559