เรื่องเล่าจาก The 8th Asian Conference of Oral Health Promotion for School Children Taipei Conventio

Page 1

The 8th Asian Conference of Oral Health Promotion for School Children Taipei Convention Center โดย ทพญ.จินดา พรหมทา โรงพยาบาลจอมพระ จังหวัดสุรินทร์

หลังจากได้รบั การชักชวนให้ไปร่วมเสนอผลงานวิชาการที่ประเทศไต้หวันในวันที่ 18-21 กันยายน 58 เป็ นการ เดินทางไปประชุมและนาเสนอผลงานที่ต่างประเทศ (โดยได้ทุนค่าเครื่องบินค่าโรงแรมที่พกั ค่าลงทะเบียน จากโครงการ เด็กไทยไม่กินหวาน) ชีวติ ทัน ตแพทย์บ้านนอกๆที่ไม่ค่อยชอบเดินทาง ไม่ช อบการประกวดแข่งขัน เลย แต่เรื่องมัน บังเอิญ ๊ บังเอิญ ครัง้ นี้ไปได้รางวัลโปสเตอร์น าเสนอยอดเยี่ยม (รางวัลที่ 3) ขอเขียนเล่าเรื่องที่เป็ น เรื่องวิชาการจาก ประเทศต่างๆ ทีเ่ ก็บตกจากห้องประชุม และอาจเล่าเรื่องบังเอิญ ๊ บังเอิญทีไ่ ด้รางวัล เมื่อมีเสียงเรียกร้องจากผูอ้ ่านค่ะ วันแรก เป็ นการนาเสนอของ Dr. Mark Wolff จาก New York University ประเด็นที่เด่นๆ ต่างจากบ้าน เราคือ มีการดาเนินการทาฟลูออไรด์วานิชโดย ครูประจาชัน้ มีการใช้น้ายาบ้านปากฟลูออไรด์ มีโปรแกรมสุขศึกษาสาหรับเด็กและผู้ปกครอง ที่น่ า สนใจมีก ารประเมิน ผลที่ละเอียดโดยนับ tooth demineralization เพื่อ จะนับ ว่า สามารถ Prevent decay ได้ก่ี cavity และยังเปรียบเทียบ จานวนฟั นที่ได้รบั การรักษา และฟั นทีไม่ผุ ดว้ ย ดังนี้

วารสารทันตภูธร

ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559


Dr. Mark Wolff นาเสนอโปรแกรมส่งเสริมป้ องกัน ทัน ตสุ ข ภาพชื่ อ โครงการ SMILE GRADANA พื้ น ที่ ดาเนิ น การโรงเรียนประถมศึกษา ในเขต GRADANA เป็ นเขตพื้นทีย่ ากจน ก่อนเริม่ โครงการเด็กๆ ที่น่ีจะไม่ได้ รับบริการทันตกรรมอะไรเลย โครงการเริ่ม ในช่วงปี 2010-2013 เริ่ม จากการ ปรับ มาตรฐานการตรวจช่ อ งปากเด็ก 1,078 คน การ ประเมิน จะแยกเด็ก เป็ น 3 กลุ่ ม คือ 6 ปี , 7-8 ปี และ 14-15 ปี เกณฑ์รายละเอียดตรวจฟั น เน้น ตรวจฟั น ระยะ เริ่มผุ (tooth demineralization) ตรวจละเอียดเริ่มตัง้ แต่ ระดับ White line / Spot ตรวจรายด้าน DMFS ใ ช้ ก า ร ต ร ว จ แ บ บ ICCTM จึ ง เ ห็ น ผ ล ก าร เปลี่ยนแปลงชัดเจนเพราะเกณฑ์การตรวจที่รายละเอียด ชัด เจน ในโปรแกรมเขาเน้ น จัด กิจ กรรมให้ ค รู และ ผูป้ กครองเรื่อง Healthy Diet and Good Hygiene  ให้ครูเป็ นผู้ทาฟลูออไรด์วานิชฟั นแท้ในเด็กประถม (ให้ครูทาเพราะมีทนั ตบุคลากรไม่เพียงพอ) และมีการ กากับติดตามอย่างเข้ม ข้น ตรงตามdirection จะต้องทาฟลูออไรด์วานิ ช ปี ละ 3-4 ครัง้ /ปี ตามระดับของความเสี่ย ง รายบุคคล (ผูส้ นับสนุน วัสดุคอื Colgate Duraphat) ตามงานวิจยั บอกว่าการทาต้องครบ 3 ครัง้ จึงจะมี effective  ดาเนินการเรื่องการทา Sealant ในประถมศึกษา  ดาเนินการเรื่อง Fluoride Rinse  ดาเนินกิจกรรม Bright smile Bright future ให้กบั เด็กในโรงเรียนสร้างทัศนะคติให้กบั เด็กนักเรียน ผลการดาเนินโครงการมีประเด็นทีน่ ่าสนใจหลายอย่างเช่น  การประเมินผล มีการเข้าถึงบริการที่แตกต่างกัน (จากผลการเปรียบเทียบฟั น Untreated decay ก่อนและ หลังโครงการ) พื้นที่วจิ ยั เป็ นพื้นที่ยากจนเด็กทีน่ ่ีไม่เคยได้รบั บริการทันตกรรมในช่วงก่อนเข้าร่วมโครงการดังนัน้ การ ดาเนินโครงการนี้น้ีจงึ ทาให้เด็กๆได้รบั บริการเพิม่ ขึน้  ประเมินการลดการเกิด tooth demineralization ก่อนและหลังโครงการ (การวัดละเอียดเป็ น รายด้านทาให้ เห็นผลการเปลีย่ นแปลงชัดเจน  การสรุปภาพรวมของโครงการว่าโครงการนี้ สามารถป้ องกันฟั นผุได้จานวนเท่ าไร (Prevent decay ได้ก่ี cavity) โดยการนับ จานวนทีร่ กั ษาได้และไม่ผุ เป็ นอย่างไรบ้างค่ะเรื่องแรกทีเ่ ล่าให้ฟัง วิธกี ารดาเนินการดูน่าสนใจ มีการวางแผนและการวัดผลทีช่ ดั เจนในวัน แรกของการประชุม และเป็ นที่น่าสนใจว่าประเทศอเมริกาเองมีพ้นื ทีท่ ่ปี ระชาชนเข้าไม่ถงึ บริการทันตกรรมไม่น้อย และ การให้ครูทาฟลูออไรด์กเ็ ป็ นมาตรการทีใ่ นประเทศเจริญแล้วเขาก็ยงั ทากันอยู่ วารสารทันตภูธร

ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559


วันที่ 2 เรื่องที่ร้สู ึกประทับใจมากที่สดุ คื อ เ รื่ อง Effective Health Education by Application of a Visual Oral Health Literacy Instrumentข อ ง Prof. Yoko Kawaguchi จ า ก Department of Oral Health Promotion, Tokyo Medical and Dental University จากประเทศญี่ป่ นุ คาว่า “Health Literacy” ที่พวกเราไม่ค่อยคุน้ เคย เดี่ยว อ่านคานิยาม ของคาแล้ว จะเข้าใจมากขึ้น เรื่องนี้ เป็ น เรื่องใหม่ๆ ของพวกเราค่ะ รับรองว่าถ้าอ่านเรื่องนี้ จบ จะ มีไอเดียในการทางานต่อกับเด็กๆนักเรียนของเราแน่ๆเลยค่ะ Prof. Yoko Kawaguchi เกริน่ นาว่าปั ญหาของการทาให้เกิดความร่วมมือระหว่างประเทศคือความแตกต่ างทาง ภาษา เชือ้ ชาติวฒั นธรรมระบบสาธารณสุข แต่การแลกเปลี่ยนอภิปรายกิจกรรม “สร้างเสริมทันตสุขภาพ” จะทาให้เกิด School oral health programที่ดีเกิดขึ้น และสิ่ง ทีทุ กประเทศพู ดถึง คือ “การแปรงฟั น ในโรงเรียน” ประเทศญี่ป่ ุนก็ เช่นเดียวกันให้ความสาคัญกับเรื่องนี้เพราะการ Promotion คือการ enabling ดังนัน้ health education จึงสาคัญ ซึง่ ปกติ การดาเนินการมักทาโดย Dentist , Dental hygienists , หรือ ครู แต่ปัญหาทีพ่ บคือ Gap ระหว่างบุคลากรและเด็กๆ คือ ปัญหาการสื่อสาร (Children’s perception ≠ Dentist’s viewpoint )

Health Literacy คือ Cognitive social skill, ดังนัน้ Health Literacy จึงไม่ไช่เฉพาะการมีความรู้ หรือความเข้าใจ แต่หมายถึง skill ต่างๆทีบ่ ุคคลควรจะมีเพื่อการมีสุขภาพทีด่ ี (Literacy= ความสามารถในการอ่าน, เขียน, พูด, เรียบเรียง แก้ปัญหาได้) (ผู้เรียบเรียงขออนุ ญาติอธิบายเพิม่ เติม *** Health Literacy มีคนแปลเป็ นภาษาไทยว่า “ความแตกฉานด้าน สุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความฉลาดทางสุขภาวะ” ให้ความหมาย ว่า Health Literacy หมายถึง การที่บุคคลมีความสามารถในการเข้าถึงข่าวสารความรู้ด้านสุขภาพจากแหล่ง ความรู้ท่ี ห ลากหลาย มีความเข้าใจใน เนื้อหาต่างๆสามารถประเมินความน่าเชื่อถือและความเหมาะสมของเนื้อหากับตนเองใช้ความคิดอย่างเป็ นเหตุเป็ นผลใน การให้ความสาคัญกับข่าวสารความรูน้ นั ้ ๆตลอดจนนาไปสู่การตัดสินใจนามาลองปฏิบตั แิ ละประเมิน) วารสารทันตภูธร

ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559


Prof. Yoko Kawaguchi ได้พฒ ั นาเครื่องมือเพื่อทาให้เด็กๆสามารถเข้าใจ Oral health และออกแบบการประเมิน Oral health literacy ระดับบุคคลว่ามีความรู้ความเข้าใจในขันพื ้ น้ ฐานและการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองได้ ในแต่ละคน มีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เพราะเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญที่ Dental professional จะต้องทราบก่อนทีจ่ ะออกแบบการ ท างานโปรแกรมทัน ตสุขศึกษาได้ต รงกับกลุ่ม เป้ า หมายต่ า งๆได้ ดัง นัน้ โครงการนี้ จึง มีก ารประเมิน เพื่อ เข้า ใจว่า กลุ่มเป้ าหมายแต่ละคนมีความเข้าใจ basic oral health information แตกต่างกันอย่างไรก่อนเริม่ โครงการ

การประเมิน Oral health literacy instrument โดยการวาดภาพ ให้เด็กๆได้วาดภาพ เหงือกและฟั นของตนเอง โดยใช้กระจกเล็กๆ โดยผู้ประเมินจะมีเกณฑ์การให้คะแนนว่า เด็กๆมีความเข้าใจเรื่อง เหงือกและฟั นหรือไม่ มีระดับ คะแนน 0-3 แยกเป็ นคะแนน ฟั น (บน =3 , ล่าง 3) และ คะแนนเหงือก(บน =3 , ล่าง 3) ดูรปู ร่าง และการเรียงตัว ของ ฟั น,เหงือก Prof. Yoko Kawaguchi บอกว่า การวาดรูปเป็ นเครื่องมือสากลที่สามารถนาไปใช้ได้ การประเมิน จะประเมิน ก่อนและหลัง การให้ ทันตสุขศึกษา (Health education) นอกจากวาดภาพ ก็จะมีการทาแบบสอบถาม ก่อนและหลัง วิเคราะห์แยกเด็กหญิง เด็กชาย พบว่า คะแนนการวาดรูปช่องปากตนเอง หลังการอบรมสามารถวาดภาพได้รายละเอียด ดีขน้ึ คะแนนเพิม่ ขึน้ คะแนนรูปเหงือกดีมากขึน้ มากกว่าคะแนนรูปฟั น และคะแนนของเด็กผูห้ ญิงจะมีรายละเอียดของรูปมี คะแนนได้มากกว่ารูปของเด็กผูช้ าย วารสารทันตภูธร

ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559


กรอบแนวคิ ดในการทางานเรื่องนี้ คือ

ผลการศึกษาพบว่าหลังจากทีเ่ ด็กผ่านกระบวนการเรียนรูก้ ารเปลี่ยนแปลงในช่องปากตนเอง โดยการวาดรูปใน ช่องปาก โดยเด็กๆจะฝึกแปรงฟั นมากขึน้ และสุขภาพช่องปากจะดีขน้ึ // มีขอ้ แนะนา การให้คะแนนต้องไม่เกี่ยวกับทักษะการวาด และการให้เป็ นการบ้านเด็ก ไม่ได้ผลดีนักพบว่า บางครัง้ ผู้ปกครองวาดรูปให้ หรือเพื่อนวาดรูปให้ // เด็กวัยประถมศึกษาจะไม่ค่อยเข้าใจ เรื่องการสะสมแผ่นคราบ จุลนิ ทรียท์ ฟ่ี ั น ดังนัน้ ทันตบุคลากร หรือครูควรเตรียมเครื่องมือการสอนหรือสื่อการสอนให้ดี ยังมีเรื่องราวของประเทศต่างๆที่ยงั ไม่ได้เล่าอีกหลายเรื่อง และยังไม่ ได้เล่าเรื่องบัง เอิญ ๊ บังเอิญ รับรางวัลที่ ไต้หวันเลยค่ะ สงสัยต้องเก็บไปเล่า เมื่อมีเสียงเรียกร้องมามากๆค่ะ ฉบับนี้ฝาก link ภาพโปสเตอร์ไปดูกนั ก่อนนะคะ ก่อนจบต้องขอขอบคุณ ทพญ.ปิ ยะดา ประเสริฐสม จากสานักทันตสาธารณสุข ผู้จดั การโครงการรณรงค์เด็กไทยไม่กนิ หวาน ผู้ให้งบประมาณสนับสนุนการเดินทางไปประชุมในครัง้ นี้ และผู้ดูแลช่วยแปลช่วยอธิบายสิง่ ที่ไม่เข้าใจให้เข้าใจ มากยิง่ ขึน้ พีๆ่ น้องๆชาวทันตสาธารณสุข สามารถดูสไลด์และบรรยากาศในการประชุม ใน link ทีใ่ ห้ไว้ในนี้นะคะ   Photographs: http://www.acohpsc8.tw/Conference%20Album.html • Speech Materials: http://www.acohpsc8.tw/program.html • Poster Abstracts: http://www.acohpsc8.tw/abstract1.html วารสารทันตภูธร

ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.