แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง ของสถานบริการสุขภาพ ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ทพ. ยุทธนา คานิล รพ. พระสมุทรเจดียส์ วาทยานนท์ จ.สมุทรปราการ ประธานชมรมทันตแพทย์โรงพยายาบาลชุมชน กระทรวงสาธารณสุข จากนโยบายและแนวทางการวางระบบการศึกษา ต่อของทันตแพทย์ ในส่วนภูมิภาคของกระทรวงสาธารณสุข ที่กาลังส่งผลกระทบต่อพวกเราในพื้นที่อยู่ขณะนี้นั้น ทาให้ หลายท่านอาจจะสงสัย ถึงที่มาที่ไป ของความพยายามใน การตีกรอบครั้งนี้ จากส่วนกลาง ผมจึงอยากจะนามาเล่าสู่ กั น ฟั ง เพื่ อ ให้ ท ราบถึง เหตุผ ลความจ าเป็นและปัญ หาที่ เกิดขึ้น จนเป็นที่มาของนโยบายนี้ครับ ที่ผ่านๆ มา โดยทั่วไป เมื่อพวกเราที่ทางานอยู่ใน โรงพยาบาลระดับต่างๆในส่วนภูมิภาค มีความต้องการจะ ศึกษาต่อ เราก็จะค้นหาข้อมูล สถาบันที่เปิดสอนในสาขาที่ เราสนใจ แล้วจึง ทาการขออนุญาติ มาสอบคัดเลือ ก เมื่อ สอบได้ จึ ง ท าเรื่อ งลาศึ ก ษา และกลั บ มาท างานที่ ๆ เรา ทางานอยู่เดิม ซึ่งขั้นตอนเหล่านี้จะต้องผ่านความเห็นชอบ ของคณะกรรมการโรงพยาบาล ผอ.รพ. และ ส่ ง มายัง คณะกรรมการศึกษาต่อที่สสจ. หรือ ที่รพศ./รพท. แล้วแต่ ว่าสังกัดอยู่ที่ใด ซึ่งในกระบวนการพิจารณา ก็จะคานึงถึง ความจาเป็นของพื้นที่ และความขาดแคลนบุคลากรในการ ปฏิบัติงาน ในระหว่างที่ลาศึกษาหรือไม่ รวมทั้งพิจารณาที่
วารสารทันตภูธร
ศัก ยภาพของทันตแพทย์ท่านนั้นๆ เอง โดยการพิจารณา สาขาเฉพาะทางที่ขอลาไปสอบและลาศึกษาต่อนั้น อาจยัง ไม่มีการให้น้าหนัก เพื่อนามาคานึงถึงมากนักเนื่องจาก ช่วง การสมัครสอบจะยังไม่สามารถทราบได้แน่นอนว่าจะมี ทันต แพทย์คนไหนจะสอบได้หรือไม่ในสาขาที่สมัคร เมื่อเป็นเช่นนี้จึงมีปรากฎการณ์ ที่ว่าพบทันตแพทย์ เฉพาะทางในสาขาที่ขาดแคลนบางสาขา เช่น ทันตแพทย์ จัดฟัน ทางานอยู่ในโรงพยาบาลห่างไกล ทาให้เกิดการส่ง ต่อที่กลับทิศทาง กับแนวทางของระบบ Service Plan คือ ส่ ง ต่ อ จากโรงพยาบาลจัง หวั ด ไปโรงพยาบาลชุ ม ชน ซึ่ ง โดยทั่ วไปควรจะต้องส่ง ต่อจากโรงพยาบาลชุม ชนไปยั ง โรงพยาบาลจังหวัดหรือโรงพยาบาลศูนย์ตามแนวทางที่วาง ไว้ ทั้ ง ๆที่ ในโรงพยาบาลจังหวัดบางแห่ง ไม่ มี ทั นตแพทย์ เฉพาะทางในระดับวุฒิบัตรเลยแม้สักสาขาเดียว และพบว่า ในระยะหลัง นี้เริ่ม มีปรากฎการณ์เหล่านี้ม ากขึ้น เมื่ อเกิด ปัญหาเช่นนี้ ทางคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก จึงได้จัดตั้งคณะทางานขั้นมา เพื่อมา ศึกษาถึงปัญหา วางแนวทางแก้ไข และจัดทาเป็นแนวทาง แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางของสถาน บริการสุขภาพ ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (ณ วันที่ ๓๑ เดือนมีนาคม ๒๕๕๙) ที่พวกเราได้รับทราบ กัน ซึ่งผมเองก็ได้เป็นคณะทางานในชุดนี้ด้วย จึงจะขอนามา เล่าดังรายละเดียดดังนี้ครับ ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ตารางที่ ๑ แสดงจานวนทันตแพทย์เฉพาะทางแยกระดับสถานพยาบาลในสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขปี ๒๕๕๗ โรงพยาบาลตาม ประเภท Service Plan A S M1 M2 F1 F2 F3 รวม
จานวน (แห่ง) ๓๓ ๔๘ ๓๕ ๘๗ ๗๗ ๕๑๗ ๙๙ ๘๙๖
จานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง (คน) ผู้เชี่ยวชาญ (Residency สายวิชาการ (Academic Training) Training) ๑๖๑ ๗๒ ๑๒๑ ๔๙ ๔๙ ๓๒ ๗๐ ๕๒ ๕๓ ๒๒ ๑๓๕ ๑๒๔ ๙ ๗ ๕๙๘ ๓๕๘
แนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง ของสถานบริการในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ กาหนด นิยาม “ทันตแพทย์เฉพาะทาง” หมายถึง ทันตแพทย์ที่ศึกษาต่อจนจบหลักสูตรการฝึกอบรม ในสาขาหลักสูตรทางวิชาชีพทันตแพทย์ที่ทันตแพทยสภารับรองอย่างน้อย ๑ สาขา จาก ๑๐ สาขา ต่อไปนี้ ๑. สาขาทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) ๒. สาขาวิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics) ๓. สาขาทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics) ๔. สาขาทันตกรรมสาหรับเด็ก (Pediatric Dentistry) ๕. สาขาปริทนั ตวิทยา (Periodontology) ๖. สาขาศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล (Oral and Maxillofacial Surgery) ๗. สาขาทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry) ๘. สาขาทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics) ๙. สาขาวิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก (Oral Diagnostic Sciences) ๑๐. สาขาทันตสาธารณสุข (Dental Public Health)
วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
โดยแบ่งกลุ่มทันตแพทย์เฉพาะทางเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หรือ กลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ (Residency Training) คือ ทันตแพทย์ ที่ศึกษาอบรมใน ๑๐ สาขา ในหลักสูตรการฝึกอบรมทันตแพทย์ประจาบ้านเพื่อวุฒิบัตรหรือได้รับอนุมัติบัตรที่แสดงความรู้ความ ชานาญในการประกอบวิชาชีพทันตกรรม กลุ่มที่ ๒ การศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) ได้แก่ ทันตแพทย์ที่ศึกษาอบรมใน ๑๐ สาขา ในหลักสูตรระดับปริญญาโท หรือ ปริญญาเอก หรือ คุณวุฒิอื่นซึ่งมีกาหนดเวลาศึกษาอบรมตั้งแต่ ๒ ปีขึ้นไป หลักเกณฑ์การจัดสรรโควตาทันตแพทย์เฉพาะทางให้สถานบริการ ๑.การคานวณจานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง เพื่อวางแผนการจัดการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางของสถาน บริการในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้คานวณเป็นสัดส่วนจากกรอบอัตรากาลังตามแนวทางของแต่ละระดับสถาน บริ การซึ่งการวางแผนการจัดการศึ กษาฝึกอบรมแบ่งเป็น ๒ กลุ่ ม คื อ กลุ่ มผู้ เชี่ ยวชาญ หรื อ กลุ่ ม การศึ ก ษาต่ อ สายวิ ชาชีพ (Residency Training) และ กลุ่ม การศึก ษาต่อ สายวิชาการ (Academic Training) ดัง รายละเอียดในตารางที่ ๑ กรณีก าร คานวณมีเศษสูงกว่า ๐.๕ ให้คงเศษไว้เพื่อรวมในภาพจังหวัด ตารางที่ ๒ วิธีการคานวณจานวนทันตแพทย์เฉพาะทาง ตามระดับศักยภาพของโรงพยาบาล (ระดับA-F3) ค่าเฉลี่ย ระดับ จานวน รพ. ทพ. ตาม FTE (คน)*
A S M1 M2 F1 F2 F3
๒๖ ๑๙ ๑๓ ๑๑ ๙ ๖ ๓
ทันตแพทย์ทั้งหมด
ทันตแพทย์เฉพาะทาง กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ กลุ่มการศึกษาต่อสาย (Residency วิชาการ (Academic Training) Training)
ทันตแพทย์ทั่วไป
ทันตแพทย์เฉพาะทาง
ร้อยละ ของ ทั้งหมด
จานวน (คน)
ร้อยละ ของ ทั้งหมด
จานวน (คน)
ร้อยละ
จานวน (คน)
ร้อยละ
จานวน (คน)
๑๐% ๒๐% ๒๕% ๒๕% ๔๐% ๕๐% ๕๐%
๓ ๔ ๓ ๓ ๔ ๓ ๒
๙๐% ๘๐% ๗๕% ๗๕% ๖๐% ๕๐% ๕๐%
๒๓ ๑๕ ๑๐ ๘ ๕ ๓ ๑
๗๐% ๖๐% ๕๐% ๔๐% ๔๐% ๓๐% ๐
๑๖ ๙ ๕ ๓ ๒ ๑ ๐
๓๐% ๔๐% ๕๐% ๖๐% ๖๐% ๗๐% ๑๐๐%
๗ ๖ ๕ ๕ ๓ ๒ ๑
หมายเหตุ *จานวนทันตแพทย์ตาม FTE ในตาราง เป็นการหาค่าเฉลี่ยจาก FTE ของสถานบริการแต่ละระดับเท่านั้น ส่วนกรอบอัตรากาลัง ของทันตแพทย์ของแต่ละสถานบริการ ให้คานวณจากกรอบอัตรากาลัง FTE ของสถานบริการนัน้ ๆ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
๒. ทั นตแพทย์ เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ ยวชาญ หรื อ กลุ่ ม การศึ กษาต่ อสายวิ ชาชี พ (Residency Training) ให้ มี เฉพาะ โรงพยาบาลระดับ A - F1 โดยจัดทากรอบสาขาทันตแพทย์เฉพาะทาง ๙ สาขา (รายละเอียดในตารางที่ ๒) ซึ่งมีการจัดทาแผนความ ต้องทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ยวชาญระยะ ๕ ปี (ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔) เพื่อพัฒนา ในการจัดระบบโควตาการศึกษาฝึกอบรม กับราชวิทยาลัยทันตแพทย์ ตารางที่ ๓ กรอบสาขาทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชีย่ วชาญ หรือกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ (Residency training) ราย สาขา ตามระดับศักยภาพของโรงพยาบาล (ระดับ A–F3) ระดับสถานบริการ ลาดับ สาขา F๓ F๒ F1 M2 M1 S A ๑ ทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) / / / / / / ๒
วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics)
/
/
/
//
//
๓
ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
/
/
/
//
//
๔
ทันตกรรมสาหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
/
/
//
//
๕
ปริทันตวิทยา (Periodontology)
/
/
//
//
๖
ศัลยศาสตร์ช่องปากและแม็กซิลโลเฟเชียล (Oral and Maxillofacial Surgery)
/
/
//
//
๗
ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
/
/
/
/
๘
ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
/
/
//
๙
วิทยาการวินิจฉัยโรคช่องปาก (Oral Diagnostic Sciences)
/
/
๑๐
ทันตสาธารณสุข
*
*
*
*
*
*
*
หมายเหตุ
- ให้สถานบริการแต่ละแห่งเลือกสาขาของทันตแพทย์เฉพาะทางในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ (Residency Training) โดยอิง ตามกรอบสาขานี้ ทั้งนี้เมือ่ รวมจานวนแล้วต้องไม่เกินตัวเลขที่คานวณได้จากวิธีในตารางที่ ๑ - “//” หมายความว่า สถานบริการสามารถเลือกให้มที ันตแพทย์เฉพาะทางกลุม่ ผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขานั้นได้ มากกว่า ๑ คน ในกรณีที่มีทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ยวชาญครบทุกสาขาแล้ว - * การศึกษาฝึกอบรมในสาขาทันตสาธารณสุข (Dental Public Health) ทุกระดับหลักสูตร สนับสนุนให้ทันตแพทย์ใน โรงพยาบาลทุกระดับ (ระดับ A-F3) สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมได้ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
๓. ทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) ให้มีในโรงพยาบาลระดับ A - F3 โดย จัดทากรอบทันตแพทย์เฉพาะทาง 9 สาขา (รายละเอียดในตารางที่ ๓) โดยระยะต้นให้แต่ละจังหวัดดาเนินการจัดทาแผนพัฒนา การศึกษาฝึกอบรมให้ตอบสนองความต้องการพัฒนาระบบบริการ ทั้งนี้ส่วนกลางไม่ได้กาหนดหลักเกณฑ์จัดสรรโควตา ให้เป็น หน้าที่ของจังหวัดในการบริหารจัดการเพื่อไม่ให้มีการลาศึกษาฝึกอบรมในสาขาที่ซ้าซ้อนกัน ตารางที่ ๔ กรอบแนวทางทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) รายสาขา ตามระดับ ศักยภาพของโรงพยาบาล (ระดับ A–F3) ระดับสถานบริการ สาขา ลาดับ F3 F2 F1 M2 M1 S A ๑ ทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) / / / / / / / ๒
วิทยาเอ็นโดดอนต์ (Endodontics)
/
/
/
/
/
/
/
๓
ทันตกรรมประดิษฐ์ (Prosthodontics)
/
/
/
/
/
/
/
๔
ทันตกรรมสาหรับเด็ก (Pediatric Dentistry)
/
/
/
/
/
/
/
๕
ปริทันตวิทยา (Periodontology)
/
/
/
/
/
/
/
๖
ศั ล ยศาสตร์ ช่ อ งปากและแม็ ก ซิ ล โลเฟเชี ย ล (Oral and / Maxillofacial Surgery)
/
/
/
/
/
/
๗
ทันตกรรมหัตถการ (Operative Dentistry)
/
/
/
/
๘
ทันตกรรมจัดฟัน (Orthodontics)
/
/
/
๙
วิ ท ย า ก า ร วิ นิ จ ฉั ย โ ร คช่ อ ง ป า ก (Oral Diagnostic Sciences)
/
/
๑๐
ทันตสาธารณสุข
*
*
*
*
*
*
*
หมายเหตุ - ให้สถานบริการแต่ละแห่งเลือกสาขาของทันตแพทย์เฉพาะทางในกลุม่ ศึกษาต่อสายวิชาการ (Academic Training) โดย อิงตามกรอบนี้ ทั้งนี้เมื่อรวมจานวนแล้วต้องไม่เกินกรอบที่คานวณได้ในตารางที่ ๑ - * การศึกษาฝึกอบรมในสาขาทันตสาธารณสุข (Dental Public Health) ทุกระดับหลักสูตร สนับสนุนให้ทันตแพทย์ใน โรงพยาบาลทุกระดับ (ระดับ A-F3) สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมได้
วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
๔. การศึกษาฝึกอบรมในหลักสูตรทางวิชาชีพทันตแพทย์ ที่มีกาหนดระยะเวลาการอบรมไม่เกิน ๑ ปี เช่น หลักสูตร ๔ เดือน หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงนั้น สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมได้ ๕. การศึกษาฝึกอบรมของทันตแพทย์ในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด และวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร ให้เป็นไป ตามความต้องการของหน่วยงาน เช่น ทันตสาธารณสุข (Dental Public Health) ทันตกรรมทั่วไป (General Dentistry) เป็น ต้น ๖. การศึกษาฝึกอบรมในสาขาอื่น ที่นอกเหนือจากสาขาทางวิชาชีพทันตแพทย์ เช่นสาธารณสุขศาสตร์ ระบาดวิทยา บริหารการสาธารณสุข ฯลฯ สามารถขอลาศึกษาฝึกอบรมเพิ่มเติมได้เช่นกัน ทั้งนี้การศึกษาฝึกอบรมในข้อ ๔ - ข้อ๖ ไม่นับเป็นหลักสูตรการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง และถือเป็นการ เพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงาน จึงสนับสนุนให้ทันตแพทย์ในสถานบริการทุกระดับเข้าศึกษาฝึกอบรมได้ ทั้ งนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจ การพิจารณาอนุมัติของคณะกรรมการกาลังคนของจังหวัด แนวทางการวางแผนพัฒนาการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง ๑. ในระยะ ๕ ปีแรก (ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ให้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์ เฉพาะทาง ในกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ หรือกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ (Residency Training) ตามลาดับความสาคัญ ดังนี้ โรงพยาบาลเป้าหมายการพัฒ นาเป็น สถานที่ ฝึก อบรมทันตแพทย์เฉพาะทาง หรือ ศูนย์เ ชี่ยวชาญ ระดับสูง สาขาสุขภาพช่องปาก โรงพยาบาลระดับ A S M1 M2 โรงพยาบาลอื่นๆตามแนวทางการศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางฯ ๒. แต่งตั้งคณะกรรมการจัดสรรโควต้าการฝึกอบรมทันตแพทย์ประจาบ้าน และจัดทาประกาศสานักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข เรื่องการรับสมัครทันตแพทย์เข้าศึกษาฝึกอบรมทันตแพทย์ประจาบ้าน ๓. พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาล ที่มีความพร้อม ให้เป็น สถาบันฝึกอบรมทันตแพทย์เฉพาะทางกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ หรือกลุ่มการศึกษาต่อสายวิชาชีพ อย่างน้อยเขต สุขภาพละ ๑ แห่ง ศูนย์เชี่ยวชาญระดับสูง สาขาสุขภาพช่องปาก ด้านรักษามะเร็งช่องปาก อย่างน้อยภาคละ ๑ แห่ง ด้านรักษาเด็กปากแหว่ง เพดานโหว่ อย่างน้อยเขตสุขภาพละ ๑ แห่ง ด้านรักษาเด็กที่มีความยุ่งยากซับซ้อน อย่างน้อยภาคละ ๑ แห่ง ด้านรักษาผู้สูงอายุที่มีความยุ่งยากซับซ้อน อย่างเขตสุขภาพละ ๑ แห่ง วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
จากแนวทางที่คณะทางานได้จัดทาขึ้น ผมเองจะ ขออนุญาตแสดงองค์ประกอบของคณะทางานชุดนี้ ให้ทราบ ครั บ ประธาน คื อ ท่ า นผู้ ตรวจราชการ และคณะท างาน ประกอบด้วย ทันตแพทย์ทั้งจากส่วนกลาง สานักบริหารการ สาธารณสุข สานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย สสจ.จาก หลายจั ง หวั ด รพศ./รพท.ผ่ า นทางชมรมทั น ตแพทย์ โรงพยาบาลศูนย์/รพ.ทั่วไป และรพช.ผ่านทางชมรมทันต แพทย์โ รงพยาบาลชุมชน และชมรมทันตสาธารณสุขภูธร นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการสาธารณสุข และนักวิชาการด้าน การศึก ษาจากสถาบันบรมราชชนก และวสส.ร่วมทางาน โดยมีสถาบันพระบรมราชชนก เป็นทีมเลขาดาเนินงาน มีการอภิปรายกันอย่างกว้างขวางมาก เนื่องจาก ต้องมีการคานึงถึงผลได้ผลเสีย ความก้าวหน้า การพัฒนา ศั ก ยภาพของตั ว ทั น ตแพทย์ เ อง รวมทั้ ง การพั ฒ นาขี ด วารสารทันตภูธร
ความสามารถและศักยภาพของหน่วยบริการในพื้นที่ต่างๆ ด้วย เหตุผลบางประการที่มีการเสนอกัน เช่น มีการมองว่ามี ความจ าเป็นต้องให้ทั นตแพทย์ทุ ก ระดับ มี ความเข้าใจใน ระบบสุขภาพ และงานทันตสาธารณสุข จึงมีการสนับสนุน ให้มีการเรียนหรือสอบอนุมัติบัตรในสาขาทันตสาธารณสุข ได้ในทุกคนทุกระดับ ไม่มีการกาหนดแนวทางการเรียนต่อ ระดับประกาศนียบัตร หลักสูตร ๑ ปี เนื่องจากมองว่าเป็น การพัฒนาศักยภาพของแต่ละบุคคลให้เรียนต่อได้ทุกคนตาม การพิจารณาของผู้บังคับบัญชาในพื้นที่ การให้มีวุฒิบัตรสาขา endo และ prosth ได้ถึง ระดับ F1 เนื่องจากมองว่าเป็นสาขาที่จาเป็นต่อการรัก ษา ฟั น คนไข้ ไ ว้ และเมื่ อ รั ก ษาไว้ ก็ ย่ อ มต้ อ งมี ก ารบู ร ณะที่ เหมาะสม จึงมี ๒ สาขานี้คู่กัน การไม่ควรมีสาขาทันตกรรม เด็กในระดับ F1 ลงไป เพราะมีการพิจารณาถึงว่าวุฒิบัตร ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
สาขาทันตกรรมสาหรับเด็กนั้น ควรจะต้องมีศักยภาพด้าน เครื่องมือและอุปกรณ์สูงขึ้นในเรื่องการดมยา จึงให้มีได้ใน ระดับ M2 ขึ้นไป เป็นต้น โดยส่วนตัวแล้วผม ในฐานะประธานชมรมทันตแพทย์โ รงพยาบาลชุม ชน ผมเองท างานเองท างานอยู่ ใน โรงพยาบาลชุมชน ขนาดเล็ก และขนาดกลาง รวมกันมาก ว่า ๒๐ ปี ในจังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดสมุทรปราการ และ ได้มีโอกาสทางานในสสจ. ราวๆ ๓ ปี มีความเห็นในเรื่องนี้ ในหลายประเด็นครับ
ให้บริการเป็นอย่างมาก เพราะได้ทาน้อย ฝึกน้อย แย่งเคส กันก็มี ต้องการที่จะมาศึกษาต่อเพื่อเพิ่มพูนทักษะ
๑.หลักคิดในการพัฒนาเรื่องกาลังคน เราจะมองแต่ เพียงแผน service plan ในเชิงการส่งต่อเพียงอย่างเดี ยว
วางไว้นี้ ในความเป็นจริงก็จะสามารถ ย้ายเข้ามารพ.ท./รพ ศ.ได้ห รือไม่ ทั้ ง ๆที่ มี คนนั่ง อยู่แล้ว ๑๐-๒๖คน ในรพ.ศ/
ไม่ ได้ จ าเป็นที่จะต้องดู ถึง การพั ฒนาศัก ยภาพของทันต แพทย์ ในโรงพยาบาลระดับต่างๆด้วย น้องๆ ก็ย่อมมีความ
รพ.ท จะรับเพิ่มได้หรือไม่ FTE เกินมั้ย
ต้องการพัฒนาตนเอง จะเสียขวัญและกาลังใจอย่างมาก ใน ร่างแนวทางที่ออกมาก่อนหน้านี้ในช่วงตุลาคม ๒๕๕๘ นั้น ได้ไปกาหนดว่า ในระดับ F2 ไม่สามารถมีวุฒิบัตรเลย ซึ่งผม
กาหนดกันขึ้นนี้ สุดท้าย จะเหลือแต่แพทย์อาวุโสและเป็น ผอ. นั่ง ดูน้องๆ แพทย์ห มุ นเวียน ไปเรื่อยๆ ไม่ ส ามารถมี
เห็นว่าการฝึกทักษะที่สูงขึ้น อาจไม่จาเป็นต้องทาหัตถการที่ ต้องการเครื่องมือที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้นหรือมากขึ้นเสมอไป
มีข้อมูลวิจัยอีกว่า น้องที่จบมาใช้ทุนปี ๒๕๕๗ มี ความต้องการศึกษาต่อ ถึง กว่าร้อยละ๗๐ และบอกด้วยว่า อยากเรียนสาขาอะไร นี่แสดงให้เห็นว่า แม้เราไปกาหนด กรอบ น้องๆตามรพช.ไว้ แล้วสุดท้ ายเค้าก็ต้องหาทางไป เรียน ถ้าไม่สามารถไปเรียนได้ตามแหล่งทุนตามหลักเกณฑ์ นี้ สุดท้ายก็อาจลาออก หรือแม้กระทั่งได้เรียนตามแผนที่
เรามี บ ทเรียนจาก แพทย์แล้วหรือไม่ ระบบที่
แพทย์อย่างเพียงพอสักที ไม่มีแพทย์ที่อยู่กับพื้นที่ได้ใกล้ชิด พื้นที่ สาหรับแพทย์การเรียนเฉพาะทางจาเป็นต้องแวดล้อม
แต่การได้ฝึกทักษะเพิ่มเติม ๓ ปี ทาให้มีความสามารถ มี ความมั่นใจ ในหลายๆสาขาๆ เช่น เด็ก endo ศัลย์ และ
ด้ ว ย แพทย์ เ ฉพาะทางสาขาอื่ น ๆ ด้ ว ย และเครื่ อ งมื อ อุปกรณ์ที่จาเป็นก็อยู่ในรพ.ขนาดใหญ่ แต่ ก ารบริ ก ารทั น ตกรรม ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งมี ก าร
perio รวมทั้ ง เพื่ อ นร่ ว มงานเองก็ มี ค วามมั่ นใจในการมี สาขาต่างๆ ให้ปรึกษาหรือส่งต่อได้
พั ฒ นาเป็ น ไปตามแบบแผนของแพทย์ เนื่ อ งจาก เรา ต้องการให้ประชาชน มีโอกาสได้เข้าถึงบริการได้อย่างทั่วถึง
๒. ขณะที่ น้ อ งๆ ที่ จ บมา ทบ. มี ป ระสบการณ์ ทักษะการบริการที่จากัดพอสมควร มีข้อมูล ว่า
งานทั นตกรรม สามารถให้บ ริก ารจบได้ในจุดเดียว และ สาขาเฉพาะทางบางสาขาที่จาเป็นให้มีการเข้าถึงได้มากขึ้น
ในหลักสูตร ทบ. จากคณะต่างๆมหาวิท ยาลัย ขอปรับแก้หลักสูตร โดยขอลด requirement ลงน้อยมาก นั่นแสดงว่ า น้องๆ ย่อ มขาดความมั่ นใจ ด้านทั ก ษะการ วารสารทันตภูธร
นั้ น ไม่ จ าเป็ น จะต้ อ งมี ก ารเพิ่ ม เครื่ อ งมื อ มากมายนั ก สามารถเกิ ดบริก ารได้ในระดับ รพช F1-2 ฉะนั้น ควรมี พิจารณาทบทวน ให้มีทพ.เฉพาะทางได้เ พิ่มขึ้นในสาขาที่ จาเป็น ในระดับต่างๆ โดยเฉพาะ F2,F1 ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
โดยส่วนตัวจึงขอเสนอว่า การกาหนดสาขา ในระดับวุฒิบัตร นั้น ให้เปิดกรอบให้มีสาขาได้มากขึ้น แต่เวลาจัดสรรโควตาจากจังหวัด และเขต ตามลาดับนั้นให้จัด priority ตามหลักเกณฑ์เดิมได้ จะทาให้น้องๆ ใน พื้นที่เกิดการยอมรับ หลักเกณฑ์ที่ประกาศออกไป ไม่บีบ รัดเกินไป โดยเสนอว่าให้มีวุฒิบัตร ๑. F1 เพิ่มวุฒิบัตรสาขา ทันตกรรมเด็ก และ maxillo-facial หรือตามความจาเป็นของพื้นที่ ๒. F2 มีวุฒิบัตรได้ ใน ๓ สาขา ทันตกรรมทั่วไป (Super GP), prosthetic, endo ๓. ความต้องการที่กระทรวงรวบรวมจากโรงพยาบาลต่างๆ ในภูมิภาค และเสนอเข้าไปยังทันตแพทยสภา และราช วิทยาลัยทันตแพทย์ ในปีการศึกษานี้ ๒๕๕๙ -๒๕๖๐ จะเห็นได้เลยว่ามีความต้องการจานวนมาก ทั้งนี้ยังไม่รวมถึง ความ ต้องการจากทันตแพทย์ภาคเอกชน จึงไม่มีทางเป็นไปได้เลยที่ คณะฯ หรือสถาบัน และมหาวิทยาลัยต่างๆ จะรองรับความ ต้องการได้ทัน ผมจึงเสนอว่าให้ผลักดันและเพิ่มศักยภาพให้โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป ที่มีความพร้อมสามารถ เป็นสถาบันหลัก หรือสมทบ ในการร่วมผลิตทันตแพทย์เฉพาะทาง ทั้งหลักสูตร ๑ ปี และหลักสูตร ๓ ปี ในสาขาที่มีความพร้อม ควบคู่ไปด้วย ซึ่ง ได้มีความพยายามทาตามแนวทางที่มีการเสนอไว้ นั้น ผมเองขอเชิญชวนให้พี่น้องทันตแพทย์ในโรงพยาบาลที่มีความพร้อมหรือเป็นไปได้ มาร่วมกันพัฒนาเปิดเป็นสถาบัน อบรมวุฒิบัตร เพื่อการผลิตทันตแพทย์เฉพาะทางให้เพียงพอต่อความต้องการในส่วนภูมิภาคต่อไปครับ ทั้งหมดนี้เป็นความเห็นส่วนตัว แม้จะยังไม่สามารถเป็นได้ในระยะอันสั้นนี้ แต่หวังว่าในอนาคตจะสามารถเสนอแนวทาง เพื่อร่วมกันพัฒนา วงการทันตแพทย์ในส่วนภูมิภาค และของประเทศให้เจริญก้าวหน้าต่อไปครับ
วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559