ปากแหว่งเพดานโหว่…ปัญหาที่ไม่ได้มีเพียงแต่ในช่องปากเท่านั้น นพ.ศรัณย์ วรศักดิ์วุฒิพงษ์ ศัลยศาสตร์ตกแต่ง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร รักษาการผู้อานวยการ สถานรักษาแก้ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะและใบหน้า คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ เป็ น ความผิดปกติตงั ้ แต่ ก าเนิ ดที่ พบได้ บ่อยที่สุด แม้ ใ นปั จ จุบันจะพบน้ อยลง แต่ยังมี ผู้ป่วยอีกมากที่ยังไม่ได้ รับการรักษาที่ครอบคลุมทุกด้ าน หาก ไม่ได้ รับการรักษาที่ครบถ้ วนสมบูรณ์แล้ วก็จะส่งผลทาให้ ผ้ ปู ่ วย ไม่ ส ามารถด ารงชี วิ ต ได้ อย่ า งปกติ ไ ด้ ทั ง้ ยั ง ส่ ง ผลกระทบ มากมายทั ง้ ร่ า งกายและจิ ต ใจ รวมถึ ง การเข้ าสัง คม เช่ น การเสีย โอกาสได้ รับหน้ าที่ก ารงานที่ดี หรื อการมีครอบครัวที่ สมบูรณ์ หลายครัง้ ที่พบผู้ป่วยสูงอายุที่ยังไม่ได้ รับการเย็บซ่อม เพดานโหว่เ ลย และผู้ป่ วยเกื อบจะทัง้ หมดมีปั ญหาฟั นผุหรื อ ปั ญ หาสุขภาพในช่องปาก มัก ขาดการดูแลสุขภาพฟั น และมี รูปหน้ าที่ผิดปกติไปเมื่อเจริญเติบโต ดังนันทั ้ นตแพทย์จึงเป็ นคน สาคัญอย่างมากในการเข้ ามามีบทบาทในการดูแลรักษาภาวะนี ้ การดูแลรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ที่สถานรักษา แก้ ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะ และใบหน้ า มหาวิท ยาลัย นเรศวร ในปั จ จุบัน เริ่ มทากันตังแต่ ้ อยู่ในครรภ์ เพราะการตรวจอัลตราซาวด์โดย สูติแพทย์ได้ พฒ ั นามากขึ ้น ทาให้ สามารถวินิจฉัยได้ ตงแต่ ั ้ ทารกอยูใ่ นครรภ์ และ ส่ง ตรวจสุขภาพมารดาและทารกในครรภ์อย่ างละเอี ย ดต่อ ไป หากพร้ อมที่ จ ะสามารถตัง้ ครรภ์ต่อ ไปได้ ก็ จ ะส่งเพื่ อ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ให้ คาแนะนาการดูแลรักษาเพื่อเป็ นการเตรียมพร้ อม และปรับสภาพจิตใจให้ พร้ อมยอมรับทารกที่กาลังจะคลอดมา พบว่า สามารถทาให้ ลดความกังวลพ่อแม่และญาติ ๆ ได้ เมื่อทารกคลอดออกมาก็จะได้ รับการดูแลจากกุมารแพทย์ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ วมักไม่มีปัญหาโรคอื่นๆ ร่วมด้ วย จึง จะสามารถให้ ก ารดูแลรักษาแบบเด็กทารกปกติได้ คือ ส่งเสริ มให้ กิน นมจากเต้ านมแม่ได้ แต่อาจจะมีความลาบาก เล็กน้ อย ซึ่งจะได้ รับคาแนะนาการให้ นมแม่ด้วยเทคนิคพิเศษจากพยาบาลผู้เชี่ยวชาญของคลินิกนมแม่ น้ อยรายที่จะต้ องใช้ ขวดนมพิเศษซึ่งมีราคาแพง หรือต้ องใส่สายให้ อาหาร ในระยะแรกคลอดนี ้
บทบาทของทันตแพทย์สามารถเข้ ามาร่ วมรักษาได้ เลยหากทารกพร้ อมสาหรับ การใส่เครื่ องมือทางทันตกรรม ในอดีตทันตแพทย์จัดฟั นจะทาเพดานเทียมเพื่อช่วยในการดูดนมให้ ดีขึ ้น แต่ปัจจจุบันได้ มีการพัฒนาเป็ น Nasoalveolar molding หรื อ NAM และปิ ดเทปซึ่งนอกจากการช่วยให้ ช่องว่างของปากแหว่งและเพดานโหว่ลดขนาดลงแล้ ว ยังช่วยจัด สันเหงือกและจมูกให้ กลับมาเป็ นปกติมากขึ ้นด้ วย ทารกแรกคลอดทุกรายจะต้ องได้ รับการตรวจหูและคัดกรองการได้ ยิน หากมี ค วามผิ ด ปกติ ก็ จ ะผ่ า ตัด เจาะระบายน า้ ในหู พ ร้ อมกับ การผ่ า ตัด เย็ บ ซ่ อ ม ริ ม ฝี ปากเมื่ อ อายุ 3 เดื อ นขึ น้ ไป ซึ่งพร้ อมสาหรับการผ่าตัดด้ วยการดมยาสลบ วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
การใส่เครื่องมือเพื่อจัดสันเหงือกและจมูก
ก่อนใส่เครื่องมือ
วารสารทันตภูธร
หลังใส่เครื่องมือ 3 เดือน
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
หลังจากนัน้ ก่อนที่เด็กจะเริ่ มพูดคือก่อน 1 ขวบนัน้ จะต้ องเข้ ารับการผ่าตัดเสริ มสร้ างเพดาน เพื่อทาให้ โครงสร้ าง ต่างของกล้ ามเนือ้ ต่างๆ ของเพดานกลับมาสู่ภาวะปกติก่อนที่เด็กจะเริ่ มพูด ซึ่งก็ จ ะได้ รับ การฝึ กพูดเป็ น ระยะๆ ต่อไป หลังจากช่วงนีก้ ็จะเป็ นช่วงที่ทันตแพทย์เข้ ามามีบทบาทสาคัญอีกครัง้ หนึ่งในการดูแลสุขภาพช่องปากและฟั นซึ่งต้ องเริ่ม ตัง้ แต่ฟัน น า้ นมซี่ แรกที่ ขึน้ ไม่ใ ห้ เกิ ดปั ญหาฟั นผุ ดูแลให้ ฟัน น า้ นมหลุดตามเวลาสมควรและฟั นแท้ ขึน้ อย่ างเหมาะสม หลังจากนันก็ ้ จะถึงเวลาของการจัดฟันและการทาผ่าตัดปลูกถ่ายกระดูกสันเหงือก การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันในระยะ นี ้จะมีเวลายาวนานถึงประมาณ 10 ปี
ดังนัน้ ทันตแพทย์จึงมีความสาคัญมากๆ จนถึ งช่วงอายุวัยรุ่ นที่ กระดูก ใบหน้ าเจริ ญเติบ โตเต็มที่ แล้ วจะทาการ ประเมินอีกครัง้ ว่าจาเป็ นต้ องผ่าตัดขากรรไกร (Orthognathic surgery) ร่วมด้ วยหรือไม่ และปิ ดท้ ายการรักษาด้ วยการผ่าตัด ตกแต่งริ มฝี ปากและจมูก นอกเหนือไปจากการรักษาทางกายที่กล่าวมาข้ างต้ นแล้ วต้ องให้ ความสาคัญทางด้ านจิตใจด้ วย ซึ่งก็ต้องประเมินเป็ นระยะๆ จากจิตแพทย์หรื อนักจิตวิทยา เพื่อให้ การดูแลรักษาประสบความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ คือ การมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ที่สดุ ของผู้ป่วย จะเห็นได้ ว่าการดูแลรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่นี ้ มีรายละเอียดซับซ้ อนและต้ องใช้ บุคลากรทางการแพทย์ หลากหลายสาขา ดังนัน้ จึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องให้ การดูแลรักษาโดยบุคลากรทางการแพทย์หลากหลายสาขา วิชาชีพที่ทางานร่วมกันทีมที่เรี ยกว่า “ทีมสหวิทยาการ (Interdisciplinary)” มีการร่วมประชุมกันเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและ ดาเนินการรักษาผู้ป่วยแต่ละรายเป็ นขันตอนโดยอาศั ้ ยแนวทางการรักษาเดียวกัน วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
ในโอกาสนี ้ทางสถานรักษาแก้ ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะและใบหน้ า มหาวิทยาลัย นเรศวร จึงใคร่ อยากจะขอเชิญชวนท่านทันตแพทย์ที่ ได้ พบเจอผู้ป่วยเหล่านี ไ้ ด้ ใ ห้ ความช่วยเหลือในการรักษาสุขภาพ ช่องปาก และส่งตัวต่อเพื่อทาการรักษาต่อตามขันตอนต่ ้ างๆ ตามช่วงอายุให้ ครบถ้ วนสมบูรณ์
วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
โดยท่านสามารถส่งตัวไปยังสถานพยาบาลใกล้ เคียงที่สามารถรักษาโรคนี ไ้ ด้ อย่างครบวงจร หรื อโรงพยาบาลที่ รักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่นี ้ได้ ซึ่งภาวะนีส้ ามารถใช้ สิทธิการรักษาตามบัตรประกันสุขภาพถ้ วนหน้ าแห่งชาติได้ ทกุ ขันตอนการรั ้ กษาตามโครงการ “ยิ ้มสวย เสียงใส” ของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) หากท่านมีข้อสงสัย ในการรักษาสามารถสอบถามได้ ที่ สถานรักษาแก้ ไขภาวะปากแหว่งเพดานโหว่และความผิดปกติของศีรษะและใบหน้ า มหาวิทยาลัยนเรศวร อ.เมือง จ.พิษณุโลก หรือศูนย์อื่นๆ ที่กระจายอยู่ทวั่ ประเทศ การดูแลรักษาที่สาคัญ ของภาวะปากแหว่งเพดานโหว่นี ้ ควรมีการดูแลรักษาที่เป็ นที มสหวิทยาการ โดยเน้ นทัง้ ทางด้ านส่งเสริมป้องกัน แก้ ไขรักษาและฟื ้นฟูสมรรถภาพรวมไปถึงด้ านจิตใจเพื่อทาให้ ผ้ ปู ่ วยกลับมามีสภาวะที่ปกติได้ มาก ที่สดุ สามารถอยู่ร่วมอยู่ในสังคมอย่างมีคณ ุ ภาพชีวิตสูงสุด
วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559
วารสารทันตภูธร
ฉบับที่ 2: เดือนกรกฎาคม 2559