น้้ำผึ้ง...คุณค่ำเพื่อสุขภำพ
น้้ำผึ้งได้ชื่อว่ำเป็นอำหำรที่ประกอบไป ด้วยสำรอำหำรที่ครบถ้วน มำกที่สุดชนิดหนึ่ง เพรำะฉะนั้น เมื่อบริโภคน้้ำผึ้งจึงเท่ำกับว่ำ เรำ ได้รับสำรอำหำรที่ครบถ้วนเช่นกัน น้้ำผึ้งมี ส่วนประกอบที่มีประโยชน์ดังนี้…
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง ควำมชื้น หรือน้้ำ เป็นควำมชื้นตำมธรรมชำติของน้้ำผึ้งที่ เหลืออยู่ภำยหลังจำกผึ้งได้เปลี่ยนน้้ำหวำนจำกดอกไม้ให้ เป็นน้้ำผึ้งแล้ว ควำมเข้มข้นของน้้ำผึ้งขึ้นอยู่กับปัจจัยต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรเปลี่ยนน้้ำหวำนให้เป็นน้้ำผึ้ง เช่น อุณหภูมิ ควำมชื้นของน้้ำหวำนจำกดอกไม้ ฯลฯ น้้ำผึ้งที่มีควำมชื้นเหมำะสมคือ โดยประมำณ 17-18% ซึ่งจะสำมำรถเก็บไว้ได้นำน โดยเปลียนแปลงสภำพเพียง เล็กน้อย เมื่อมีควำมชื้นที่เหมำะสม น้้ำผึ้งก็จะมีแรงดูดซึม สูงจึงสำมำรถดูดซึมน้้ำจำกเซลล์จุลินทรีย์ตำง ๆ ท้ำให้ เชื้อโรคตำยได้
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง น้้ำตำล น้้ำผึ้งเป็นสำรอำหำรประเภทคำร์โบไฮเดรตที่ดี เพรำะ หำกหักปริมำณน้้ำออกแล้ว ส่วนประกอบประมำณ 9599% ของน้้ำผึ้งจะเป็นน้้ำตำลชนิดต่ำง ๆแบ่งได้เป็น...
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง น้้ำตำลโมเลกุลเดี่ยว เช่น กลูโคส ฟรุคโตส เป็น ส่วนประกอบที่เด่นที่สุด ของน้้ำผึ้งเป็นส่วนส้ำคัญที่ท้ำให้ น้้ำผึ้งมีรสหวำน ซึ่งสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะใช้น้ำกลุ่มนี้สร้ำง พลังงำน น้้ำตำลโมเลกุลคู่ เช่น มอลโทส ซูโครส แล็กโทส น้้ำตำลที่มีโมเลกุลซับซ้อน เช่น เด็กทริน ฯลฯ น้้ำตำล เหล่ำนี้ท้ำให้น้ำผึ้งมีคุณสมบัติทำงกำยภำพอื่น ๆ อีกหลำย อย่ำง เช่น ดูดซึมควำมชื้นจำกบรรยำกำศได้
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง น้้ำตำลทั้งหมดนี้ เป็นน้้ำตำลที่เป็นส่วนผสมขององค์ประกอบ โดยธรรมชำติของน้้ำผึ้งที่ผลิตจำกต่อมน้้ำหวำนของพืช หรือ เป็นส่วนผสมของน้้ำหวำนที่แมลงจ้ำพวกเพลี้ยปล่อยออกมำ หลังจำกที่ดูดกินน้้ำเลี้ยงจำกพืช ส่วนน้้ำหวำนหรือน้้ำเชื่อมที่ได้ จำกกำรเอำน้้ำตำลทรำย น้้ำตำลปี๊บ น้้ำตำลปึก หรือน้้ำตำล สังเครำะห์อื่น ๆ ไปละลำยน้้ำแล้วให้ผึ้งกิน ไม่เป็นที่ยอมรับว่ำ เป็นส่วนผสมของน้้ำผึ้งโดยธรรมชำติ ดังนั้น ในน้้ำผึ้งแท้ บริสุทธิ์จึงต้องมีข้อก้ำหนดว่ำจะมีน้ำตำลซูโครสได้เพียงไม่เกิน ร้อยละ 5-8 โดยน้้ำหนัก น้้ำผึ้งที่มีปริมำณน้้ำตำลซูโครสสูง กว่ำนี้ ถือว่ำเป็นน้้ำผึ้งผสมน้้ำเชื่อมซึ่งไม่ใช่น้ำผึ้งบริสุทธิ์…
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง กรด เนื่องจำกน้้ำผึ้งมีรสหวำนน้ำ รสเปรี้ยวของสภำพควำม เป็นกรดจึงถูกบดบังไว้ กรดในน้้ำผึ้งมีหลำยชนิด แต่ที่ ส้ำคัญคือกรดกลูโคนิก ซึ่งเป็นส่วนประกอบของน้้ำตำล กลูโคส อันเป็นน้้ำตำลที่เป็นส่วนประกอบที่ส้ำคัญของ น้้ำผึ้ง และมีกรดฟอร์มิกมำลิกเล็กน้อย รวมทั้งกรดอะมิ โนซึ่งเป็นส่วนประกอบที่ส้ำคัญของโปรตีน พบในเกสร ดอกไม้ที่ผึ้งได้ไปดูดน้้ำหวำนมำนั่นเอง
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง กรดอะมิโนที่ส้ำคัญในน้้ำผึ้ง มีดังนี้.. ไอโซลูซีน ลูซีน ไลซีน โพรลีน เมไทโอนีน ฯลฯ
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง
แร่ธำตุ ในน้้ำผึ้งมีอยู่หลำยชนิด เช่น แคลเซียม โซเดียม ฟอสฟอรัส ฯลฯ ปริมำณแร่ธำตุเหล่ำนี้จะมีไม่มำกนัก แต่ ก็อยู่ในสัดส่วนที่เหมำะสม กำรเติมน้้ำผึ้งลงไปแทนน้้ำตำล ในอำหำรชนิดต่ำง ๆ ก็เป็นกำรเพิ่มปริมำณแร่ธำตุที่จ้ำเป็น แก่ร่ำงกำยด้วย ไม่ใช่จะได้ควำมหวำนเพียงอย่ำงเดียว
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง เอนไซม์ คือสำรอินทรีย์ประเภทโปรตีน ที่มีอยู่ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ที่ท้ำหน้ำที่เร่งปฏิกริยำต่ำง ๆ ภำยในเซลนั้น ๆ เช่นกำรย่อย อำหำร เอนไซม์ที่ส้ำคัญที่สุดในน้้ำผึ้ง คือ อินเวอร์เทรส ที่ท้ำ หน้ำที่เปลี่ยนน้้ำตำลซูโครสในน้้ำหวำนของดอกไม้ให้เป็น กลูโคสและฟรุคโตส และเอนไซม์กลูโคสออกซิเดส ซึ่งท้ำ หน้ำที่เปลี่ยนน้้ำตำลกลูโคสให้เป็นกรดกลูโคนิก อันเป็น ส่วนประกอบส้ำคัญของกลูโคส
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง วิตำมิน ในน้้ำผึ้ง มีอยู่หลำยชนิด ได้แก่ วิตำมิน เอ ซี ดี บีสอง ฯลฯ แม้ว่ำ แต่ละ ชนิดจะมีอยู่ในปริมำณไม่มำกนัก แต่ก็อยู่ใน สัดส่วนที่เหมำะสม พอที่จะท้ำให้น้ำผึ้งไม่ขำด สำรอำหำรตัวนี้ ปริมำณวิตำมินในน้้ำผึ้ง แตกต่ำงกันขึ้นอยู่กับที่มำของน้้ำผึ้ง อันเป็น เกสรดอกไม้ ในน้้ำผึ้งนั่นเอง
ส่วนประกอบของน้้ำผึ้ง เดกซ์ทริน คือสำรประกอบที่มีโมเลกุลของกลูโคสต่อกันเป็น โซ่ยำว สำรตัวนี้เป็นส่วนหนึ่งที่ท้ำให้ชุ่มคอและควำมชุ่มชื้นแก่เยื่อ บุผิวต่ำง ๆ อินฮีบิน คือสำรที่มีคุณสมบัติในกำรต่อต้ำนเชื้อโรค คนใน สมัยโบรำณนิยมใช้น้ำผึงในกำรรักษำบำดแผลและแก้อำกำร อักเสบ ซึ่งได้ผลเพรำะน้้ำผึ้งมีสำรตัวนี้นั่นเอง
สำรกระตุ้นปฏิกิริยำทำงชีวภำพอื่น ๆ วิตำมินและแร่ธำตุต่ำง ๆในน้้ำผึ้ง นับว่ำเป็นส่วนหนึ่งของสำรที่กระตุ้นปฏิกิริยำทำง ชีวภำพด้วย แต่ในน้้ำผึ้งยังมีสำรอีกหลำยอย่ำง ที่วิทยำศำสตร์ปัจจุบันไม่สำมำรถค้นพบได้ มีกำร ทดลองหลำยอย่ำงที่พิสูจน์ได้ว่ำ น้้ำผึ้งมีส่วนในกำร กระตุ้นปฏิกิริยำ ทำงชีวภำพ เช่น ช่วยในกำร เจริญเติบโตของยีน เร่งน้้ำย่อย ช่วยให้เจริญอำหำร และช่วยในกำรเจริญตำมภำวะหรือยำม เจ็บป่วย เป็นต้น
คุณค่ำทำงอำหำร จำกน้้ำผึ้ง น้้ำผึ้งมีคุณค่ำทำงอำหำรสูงมำก เพรำะมีสำรอำหำรครบถ้วน สำรอำหำรที่ส้ำคัญๆ มีดังนี้ 1. คำร์โบไฮเดรต กล่ำวได้ว่ำน้้ำผึ้งเป็นอำหำรประเภทคำร์โบไฮเดรตที่ ดีที่สุด เพรำะถ้ำเรำระเหยน้้ำออกจำกน้้ำผึ้งให้หมด สิ่งทีเหลือก็คือ น้้ำตำล ซึ่งเมื่อถูกเผำผลำญในร่ำงกำยคนเรำ ก็จะให้พลังงำน ออกมำ ดังนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับอำหำรคำร์โบไฮเดรตชนิดอื่น ๆ ในปริมำณน้้ำหนักแห้งเท่ำกัน เมื่อย่อยสลำยในร่ำงกำยมนุษย์แล้ว น้้ำผึ้งจะให้พลังงำนและควำมอบอุ่นมำกกว่ำ 2. โปรตีนและไขมัน แม้ว่ำน้้ำผึ้งจะมีโปรตีนและไขมันจ้ำนวนน้อย แต่ก็ มีคุณค่ำทำงอำหำรสูงสุด เพรำะอยู่ในรูปโมเลกุลที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโนและกรดไขมัน ซึ่งร่ำงกำยสำมำรถน้ำไปใช้ได้ทันที
คุณค่ำทำงอำหำร จำกน้้ำผึ้ง . ให้พลังงำนที่เหมำะกับผู้ที่มีปัญหำในระบบย่อยอำหำร น้้ำตำลที่ได้จำกแป้งและอำหำรทั่ว ๆ ไป ถ้ำเป็นน้้ำตำลซูโครส เมื่อเข้ำสู่ร่ำงกำยจะต้องผ่ำนกำรแปรรูปด้วยน้้ำย่อยเสียก่อน จึงจะกลำยเป็นน้้ำตำลำที่ร่ำงำกยจะน้ำไปใช้ประดยชน์ได้ แต่ ส้ำหรับน้้ำผึ้งนั้น ผึ้งได้ช่วยย่อยมก่อนแล้วในขั้นแรก โดยอำศัย เอนไซม์ของผึ้งมำช่วยเปลี่ยนแปลงน้้ำตำลในน้้ำหวำน ให้มี โมเลกุลเล็กลง และดูดซึมเข้ำสู่ร่ำงกำยได้โดยตรง โดยไม่ต้อง ผ่ำนกระบวนกำรย่อยอีก ร่ำงกำยจึงน้ำสำรอำหำรไป เสริมสร้ำงพลังงำนได้อย่ำงรวดเร็ว ผู้ที่มีปัญหำเกี่ยวกับกำร ย่อยอำหำร หรือเด็กที่ก้ำลังเติบโต ซึงต้องใช้พลังงำนอยู่เสมอ จึงควรรับประทำนน้้ำผึ้งเป็นประจ้ำ 3
คุณค่ำทำงอำหำร จำกน้้ำผึ้ง ให้ควำมหวำนที่ไม่เป็นอันตรำยต่อร่ำงกำย นอกจ่ำกนี้ ในน้้ำผึ้งจ่ะมีน้ำตำลซูโครส อยู่น้อย ซูโครสเป็นสำเหตุของ ฟันผุ ฉะนั้น น้้ำผึ้งเป็นสำรให้ควำมหวำนที่จะท้ำให้เกิด ปัญหำฟันผุกับเด็กๆ ได้น้อยทีส่ ุด 5.ช่วยควบคุมกำรท้ำงำนของระบบประสำทในร่ำงกำย เนื่องจำกในน้้ำผึ้งมีสำรกระตุ้นปฏิกิริยำ ทำงชีวภำพหลำย ชนิด ไม่ว่ำจะเป็นเอนไซม์ วิตำมิน แร่ธำตุ ฯลฯ ซึ่งต่ำงมี หน้ำที่ส้ำคัญในกำรควบคุมกำรท้ำงำนของระบบประสำทใน ร่ำงกำยให้เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ดังนั้น ผู้บริโภคน้้ำ ผึงจึงได้รับสำรอำหำรเหล่ำนี้ด้วย 4.
คุณค่ำทำงยำรักษำโรค จำกน้้ำผึ้ง คุณค่ำทำงด้ำนนี้ ของน้้ำผึ้งเป็นที่ประจักษ์มำตั้งแต่โบรำณ โดยในสมัยอิยิปต์ได้มีบันทึกในกระดำษปำปิรัสอ้ำงถึงว่ำ น้้ำผึ้งเป็นยำรักษำโรคและเป็นองค์ประกอบของยำรักษำโรค ที่ส้ำคัญ ๆ หลำยชนิดในพระไตรปิฏกของพุทธศำสนำ กล่ำวถึงตอนที่พระพุทธเจ้ำประทับในป่ำนอกเมือง และมีลิง มำถวำยน้้ำผึ้ง และในยุโรปเชื่อว่ำ น้้ำผึ้งเป็น โอสถสำร ขนำนวิเศษที่รักษำโรคภัยไข้เจ็บได้ทุกชนิด และจำก กำรศึกษำวิเครำะห์น้ำผึ้งอย่ำงละเอียดด้วยควำมก้ำวหน้ำ ทำงวิทยำศำสตร์ ในปัจจุบันพบว่ำน้้ำผึ้งเป็นยำรักษำโรค บำงอย่ำงได้อย่ำงดีเยี่ยม
คุณค่ำทำงยำรักษำโรค จำกน้้ำผึ้ง สำเหตุที่ค้นพบ มีดังนี้ - เพรำะน้้ำผึ้งมีควำมชื้นน้อย จึงมีแรงดูดซึม (Osmotic pressure) สูง สำมำรถดูดซึมน้้ำจำกเซลล์จุลินทรีย์ท้ำให้ยับยั้งกำรเจริญเติบโตของเชื้อ โรคและท้ำให้เชื้อโรคตำยได้ - เพรำะน้้ำผึ้งสำมำรถระบำยน้้ำได้ง่ำย จึงน้ำมำใช้เป็นยำสมำนแผลได้ อย่ำงดี โดยหำกเป็นแผลไฟไหม้ น้้ำร้อนลวก ให้ใช้น้ำผึ้งที่ผำนกำรฆ่ำ เชื้อแล้ว ทำที่แผลจะลดกำรหลั่งของน้้ำเหลืองจำกแผล ลดอำกำรปวด ลดกำรติดเชื้ออักเสบ ท้ำให้สมำนแผลได้ หำกเป็นแผลเปื่อยเรื้อรัง ใช้ น้้ำผึ้งล้ำงแผลให้สะอำดแล้วใช้ส้ำลีชุบน้้ำผึงแปะบริเวณแผล จะท้ำให้ แผลมีเนื้อใหม่ เจริญขึ้นมำเร็ว ในที่สุดแผลก็จะหำ - เพรำะน้้ำผึ้ง มีสำรอินฮิบิน หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ จึ่งสำมำรถ ยับยั้งกำรเจริญเติบโตและท้ำลำยเชื้อโรคได้
คุณค่ำทำงยำรักษำโรค จำกน้้ำผึ้ง น้้ำผึ้งใช้เป็นส่วนผสมรักษำโรคต่ำง ๆ ได้ เช่น - ท้องอืด ท้องเฟ้อ ใช้น้ำขิงต้มให้เข้มข้น พอประมำณครึ่งถ้วย แก้ว ใส่เกลือเล็กน้อยผสมน้้ำผึ้ง ½ -1 ช้อนโต๊ะ ดื่มวันละ 3 เวลำหลังอำหำร - ริดสีดวงทวำร มักจะเป็นมำกในผู้สูงอำยุ หรือสตรีมีครรภ์ ใช้กระเทียมโทนผ่ำสี่ส่วนตำมแนวตั้ง ตำกแดด 3 วัน ใส่ขวด ครึ่งขวดเติมน้้ำผึ้งจนเต็มขวดแช่หมักไว้ประมำณ 7 วันแล้วตัก กระเทียมสี่กลีบ น้้ำผึ้งผสม 4 ช้อนโต๊ะรับประทำนเช้ำเย็นจน อำกำรทุเลำหรือหำย
คุณค่ำทำงยำรักษำโรค จำกน้้ำผึ้ง - ยำระบำยอ่อน ๆ น้้ำผึ้งแท้ใหม่ไม่ค้ำงปี มีฤทธิ์เป็น ยำระบำย อ่อน ๆ จะแก้อำกำรท้องผูกในเด็ก และ คนชรำได้ดี ขนำดที่ใช้ 1 ช้อนโต๊ะ ก่อนนอน เด็ก ลดลงตำมส่วน - อำกำรอ่อนเพลีย จำกกำรถ่ำยท้องอย่ำงแรง อำเจียน เป็นลม เหงื่อออกมำก ใช้น้ำผึ้ง 1-2 ช้อน โต๊ะ เกลือ ½ ช้อนชำ น้้ำอุ่น 1 ถ้วยแก้ว ดื่มแก้ อ่อนเพลียได้
น้้ำผึ้ง จึงอุดมไปด้วยสำรอำหำรที่มีประโยชน์ ต่อร่ำงกำย แทบทุกชนิด เหมำะแก่กำรบริโภค ของคนทุกเพศ ทุกวัย โดยเฉพำะเด็กที่ต้องกำร สำรอำหำรเพื่อเสริมสร้ำงร่ำงกำยและยังให้ รสชำดที่อร่อย ถูกใจเด็กอีกด้วย
แหล่งที่มำ: ข่ำวสำรห้องสมุดประชำชน กรุงเทพมหำนคร ปีที่ 11 ฉบับที่ 16 ก.ค.–ธ.ค. 2537 หน้ำ 54-57