... รู้หรือไม่ การใช้ชีวิตแบบเดิม ท้ากิจกรรมซ้าแบบเดิมอยูท ่ ุกวัน ท้าให้ใช้เพียงแค่ ประสาทส่วนเดิม ส่งผลให้ลดทอนประสิทธิภาพของเซลล์ประสาทส่วนอืน ่ จนเป็นเหตุให้ เกิดภาวะสมองเสือ่ มในวัยชราได้ เรามีเทคนิคจาก ศาสตราจารย์ ลอเรนซ์ ซีแคทซ์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านประสาทวิทยา ชาวอเมริกัน ที่มีแนวคิดการบริหารสมองแบบ “นิวโรบิกส์ เอ็กเซอร์ไซส์” โดยใช้ประสาทสัมผัสทัง 5 ไปกระตุ้นกล้ามเนือสมองหลาย ๆ ส่วน ให้ขยับ และตื่นตัวจากการท้ากิจกรรมใหม่ ๆ อยู่เสมอ ไปดูกันเลยว่าเทคนิคที่ ศ.ลอเรนซ์ แนะน้า มีอะไรบ้าง...
1. รับรสสัมผัสใหม่ๆ หลับตาอาบน้าเปิดฝักบัว ตามแรงหรืออุณหภูมิของน้า โดยใช้ประสาท สัมผัสความรู้สึก หลับตาเลือกชุดที่จะใส่ การฝึก ใช้มือและนิวในการแยกความแตกต่างของ ผิวสัมผัสของสิ่งของ วิธีเหล่านีจะช่วยให้สมอง สร้างและขยายเครือข่ายของเซลล์ประสาที่ เกี่ยวข้องกับการสัมผัสได้ดี
2. เปลี่ยนชนิดของอาหารในแต่ละวันและแต่ละ มือ กลิ่นและรสชาติของอาหารที่แปลกจากเดิม เช่น อาหารอินเดีย ญี่ปุ่น เวียดนาม ฝรั่งเศส จะท้าให้ สมองรู้สึกเหมือนไปท่องเที่ยวในสถานที่แปลกใหม่นัน ด้วย หรือเปลี่ยนเมนูอาหารที่ทานเป็นประจ้าทุกวัน หรือลงมือท้าอาหารเอง ก็จะช่วยประสาทสัมผัสรับรู้ สิ่งหลากหลาย ไม่จ้าเจ
3.เปลี่ยนความถนัดส่วนตัว ฝึกใช้มือข้างที่ไม่ถนัดมา กิจกรรมต่าง ๆ ดูบ้าง เช่น ปกติเขียนหนังสือมือขวา ก็ เปลี่ยนเป็นมือซ้ายบ้าง เพื่อเป็นการกระตุ้น สมอง อีกด้านให้ท้างานมากขึน
4. ท้ากิจกรรมใหม่ ๆ ทุกวันไม่ให้ซ้าแบบเดิม เช่น เปลี่ยนล้าดับการท้ากิจกรรมใน แต่ละวัน เช่น ถ้าปกติอาบน้าก่อนกินข้าวเช้า ก็ให้ เปลี่ยนเป็นกินข้าวก่อน แล้วค่อยไปอาบน้า เปลี่ยนเสียง เรียกเข้าโทรศัพท์ ฟังรายการวิทยุ ดูทีวี หรืออ่านหนังสือที่ ปกติไม่อ่าน จะช่วยให้สมองสามารถท้างานได้อย่าง สร้างสรรค์ จุดประกายความคิดใหม่ ๆ
5. เปลี่ยนเส้นทางใหม่ ๆ เช่น เดินไปในที่ ไม่เคยเดิน หรือเดินทางที่ ๆ ไม่ เคยไป อาจเปลี่ยนเส้นทางกลับบ้านจะช่วยให้ สมองของคุณได้คิดและมีโอกาสพบกับสิ่งใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา
6.ช่วยเสริมความจ้าด้วยกลิ่น ขณะอ่านหนังสือหรือพูดโทรศัพท์ ให้สูดดมน้ามันหอมระเหย เช่น กลิ่นมินต์ หรือกลิ่นมะนาว จะช่วย กระตุ้นสมองให้จดจ้ารายละเอียด ได้ดียิ่งขึน
7.เพลินกับเสียงสุนทรีย์ อ่านหนังสือแบบออกเสียงให้เพื่อนหรือคนใกล้ชิดฟังแล้วสลับ บทบาทกัน ลองเป็นผู้ฟังบ้าง เพราะขณะอ่านออกเสียง ร่างกาย จะใช้วงจรในสมองคนละส่วนกับวงจรทีใ่ ช้ขณะที่อ่านในใจ นั่นคือ การอ่านออกเสียง สมองทังซ้ายและขวา จะกระตุ้นสมอง ชันนอกดซีรีเบลลัมจะท้างานไปพร้อมกัน ขณะที่อ่านในใจ จะ กระตุ้นสมองชันนอกซีกซ้ายเพียงส่วนเดียว เท่านัน ส่วนการฟัง สมองชันนอกจะได้รับการกระตุ้นทังซีกซ้ายและขวา
8.ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม เช่น จัดบ้าน จัดสวน เปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์ พบปะผู้คนใหม่ ๆ สมองซีกซ้ายจะพัฒนาด้าน ความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมากขึนกว่าเดิม
นอกจากนี้ ในแต่ละวัน เรายังสามารถออกกาลังสมอง ได้ด้วยการคิดเลขคานวณแบบง่าย ๆ คะเนระยะทาง เล่น หมากรุก หมากล้อม สแคร็บเบิลต่าง ๆ เกมส์ซูโดกุ ต่อจิ๊กซอว์ เกมส์เสริมทักะความคิดเหล่านี้ จะกระตุ้นสมองให้ทางานและ มีการพัฒนาตลอดเวลา ลดภาวะการเกิดอัลไซเมอร์หรือโรค ความจาเสื่อมในวัยสูงอายุ ได้ แค่นี้ ไม่ว่าจะคิดอะไร ก็จะ มีไอเดียใหม่ ๆ เกิดขึ้นเสมอ
แหล่งที่มา.. จดหมายข่าวศาลปกครอง , ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 มี.ค.-เม.ย. 2556 คอลัมน์ เกร็ดความรู้ หน้า 16