การประชุมสามัญประจาปี 2559และการสัมมนาทางวิชาการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพของบรรณารักษ์ ในยุคห้องสมุดดิจิทัล (WORK LIFE OF BALANCE OF LIBRARIANS IN DIGITAL ERA)
เมื่ อ วั น ที่ 29 สิ ง หาคม 2559
เริ่มลงทะเบียน เวลา 8.30 – 9.30 น. ที่บริเวณหน้าห้องประชุมชั้น 3 ชื่อ ศุกรีย์ แก้วเจริญ โดยมีพิธกี รดาเนินรายการ 2 ท่าน ได้แก่ นางสาวดาวรัตน์ แท่นรัตน์ จากสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต และนางสาวกรัณฑ์รัตน์ ประเสริฐธนากุล จากสานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์ (นิด้า) จากนั้น ประธาน (ดร.กฤษฎา เสกตระกูล หัวหน้าสายงานพัฒนา ความรู้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย) ได้กล่าวเปิดการประชุมอย่าง เป็นทางการ ในเวลา 9.30 น. และตามด้วย ดร.นฤมล รื่นไวย์ ประธานชมรม ห้องสมุดเฉพาะ ได้กล่าวรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2559 การกล่าวรายงาน ได้รายงานถึงการจัดประชุมทางวิชาการครั้งนี้มีหลักการและวัตถุประสงค์ เพื่อการ ให้บรรณารักษ์มีตระหนักรูใ้ นการพัฒนาสมรรถนะ (Competency) ทางด้านการสื่อสาร ทักษะ ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งการสร้างบรรยากาศการทางานที่มีความสุข เพื่อให้สามารถ ปรับตัวเข้ากับการทางานในโลกสมัยใหม่
ในช่วงเวลาประมาณ 10.00-10.40 น เป็นการแนะนา Set Corner และความรู้เสริมสร้างการเรียนรูท้ าง การเงิน ผู้บรรยาย คือนายภาวัช ทองเนื้อแปด ผู้ช่วยผู้ บริหารงาน ฝ่ายพัฒนาความรู้ผู้ประกอบการวิชาชีพ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนางสาววัชราวลี ดาโต๊ะ ผู้บริหารงาน ฝ่ายพัฒนาความรู้การเงินพื้นฐาน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กล่าวบรรยาย เรื่อง ความรู้ทางการเงินขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีเนือ้ หาหลักๆ ที่ น่าสนใจดังนี้ คนเรา จะมีช่วงระยะเวลา อายุ ที่เริ่มตั้งแต่ 1-12 ปี เป็นวัยเด็ก 13-21 ปี เป็นวัยเรียน 22-40 ปี (ระยะสะสม) เข้าสู่วัยทางาน วางแผนใช้เงินก้อนแรกให้คุ้มค่า โดยกาหนดเป้าหมายชีวิต และวางแผนการออมเงิน การใช้จ่ายเงิน และวางแผนหนี้สนิ 41-60 ปี (ระยะมั่นคง) ควรปกป้องความมั่นคงด้วยการ... - การวางแผนประกัน - วางแผนเกษียณ 60 ปีขึ้นไป วัยเกษียณ (ระยะใช้จ่าย) วางแผนเกษียณอย่างไรให้มีเงินใช้ไปทัง้ ชาติ
สิ่งที่ท้าทายและจะเกิดขึ้นในอนาคต อีกประเด็นหนึ่งทีต่ ้องตระหนักรู้ คือ 1. สังคมผู้สูงอายุ : ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็น “สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์” ใน ปี 2568 โดยจะมีคนอายุเกิน 60 ปี มากกว่า 20% ของประชากรในประเทศ โดย ขณะที่สวัสดิการเพื่อวัยเกษียณยังไม่มีเพียงพอ 2. ภาวะเงินเฟ้อ : ค่าครองชีพสูงขึ้น ทาให้เงินออม มูลค่า “ลดลง” สิ่งที่ทาให้เกิด เนื่องจากค่าใช้จ่ายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี 3. หนี้สนิ : ความต้องการในชีวติ เพิ่มขึ้น ก็ย่งิ ต้องใช้เงินเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีหลุมพราง การเงินรออยู่ทุกย่างก้าว ปัจจัยที่ทาให้เกิดปัญหาทางการเงิน ได้แก่ การใช้จ่ายไม่ยั้งคิด ขาดการวางแผนในการใช้จ่าย ไม่มเี งินสารอง รวมทั้งไม่มีความรู้ทางการเงิน
วิทยากรได้บรรยายถึงวิธีการร่วมกันปลูกฝังวินยั ทางการเงิน เพื่ออนาคนทีม่ ั่นคงของประเทศไทย
กล่าวถึงคนส่วนใหญ่ใฝ่ฝันทีจ่ ะรวย / มั่งคัง แต่เราต้องคิดว่า เท่าไร จึงจะเรียกว่า “รวย” ต้องมีเงินเท่าไร ถึงจะเรียกว่า “มั่งคั่ง” วิทยากร ได้แนะนาวิธกี ารนาไปสู่อิสระภาพทางการเงิน โดยคานวณดังนี้ อัตราส่วนความอยู่รอด (Survival Ratio) ผลลัพธ์>1 อยู่รอดได้ด้วยตนเอง
อัตราส่วนความมั่งคั่ง (Wealth Ratio) ผลลัพธ์>1 มีอสิ ระภาพทางการเงิน
รายได้จากการทางาน + รายได้จากสินทรัพย์
รายจ่าย
รายได้จากสินทรัพย์
รายจ่าย
อิสระภาพ ทางการเงิน สามารถสร้างได้ ด้วยเคล็บลับ 4 รู้ สู่มั่งคั่ง
รู้หา หาเงินเพิ่ม เสริมรายได้ รู้เก็บ เก็บออมก่อนใช้จ่าย (เงินได้-เงินออม = เงินใช้ รู้ใช้ ใช้เงินอย่างฉลาด สร้างโอกาสเพิ่มเงินออม ด้วยกฎเหล็ก 5 ข้อก่อนใช้จ่าย ตั้งงบก่อนใช้ เปรียบเทียบก่อนซื้อ สรุปใช้อย่างสม่าเสมอ ใช้น้อยกว่าหาได้ ไม่ใช้ก็ไม่ซื้อ รู้ขยายดอกผล ลงทุนถูกที่ ความมั่งมีงอกงาม รู้จัก ตนเอง รู้จักเครื่องมือ รู้จังหวะลงทุน
รู้หา (How to Earn)
คือการรู้จักหารายได้จากช่องทางต่าง ๆ ทั้งการทางานและการลงทุน
1. รายได้จาการทางาน เป็นลูกจ้างทางานในบริษัท องค์กร สิงที่ต้องพิจารณา ก่อนเลือกเข้า
ทางาน ได้แก่ ระดับรายได้ ความมั่นคงหน้าที่การงาน สวัสดิการที่มใี ห้ สถานที่ทางาน โอกาส เติบโต วัฒนธรรมองค์กร รายได้จงึ มาจากเงินเดือนและค่าคอมมิชชั่น รวมทั้งโบนัส 2. รายได้จากการค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว เป็นผู้ประกอบการด้วยตนเอง จึงมีรายได้เพิ่มจากกาไร จากการค้าขายหรือให้บริการ ในธุรกิจต่าง ๆ 3. การลงทุน เช่น ตราสารหนี้ หุ้น พันธบัตร กองทุนรวมสินทรัพย์ต่าง ๆ มีรายได้จากเงินปันผล ดอกเบี้ยและกาไรจากการขาย
รู้เก็บ (How to Save)
คือ รู้วิธกี ารเก็บออมเงินและสร้างวินยั ทางการเงิน เพื่อให้ฐานเงินออมขยายตัวสาหรับรองรับ การขยายดอกผลและเพิ่มความมั่งคั่งต่อไปในอนาคต
กลยุทธ์ออมเงินแบบลบ 10 หาเงินมาได้เท่าไร ให้หักไว้เป็นเงินออม ก่อนที่จะไปใช้จ่ายทันที 10%
กลยุทธ์การออมเงินแบบบวก 10 ใช้เงินไปเท่าไร ต้องเก็บเงินเพิ่มให้ได้ 10% ของเงินที่ใช้ไป
รู้ใช้ (How to Spend) คือ รู้วิธีการใช้จ่ายในสิ่งจาเป็น ไม่ฟุ่มเฟือย เพื่อสร้างเงินออมให้เพิ่มขึ้น ฉลาดซื้อ
ซื้อตามความจาเป็น ซื้อของที่มีต้นทุนต่อหน่วยถูก
ฉลาดใช้
ดูแลรักษาของ , ประหยัดรายจ่ายแบบต่าง ๆ
ฉลาดใช้ชีวิต
คุณค่าไม่ได้อยู่ที่ราคาเท่านั้น คุณภาพไม่ใช่จะมีแต่ราคาแพง
รู้ขยายดอกผล (How to Invest) คือรู้วิธนี าเงินออมไปลงทุนในทางเลือกต่าง ๆ เพื่อกระจายความเสี่ยงและแสวงหาผลตอบแทนทีส่ ูงขึ้น อย่างเหมาะสมกับตนเอง โดยมีการจัดพอร์ตการลงทุนดังนี้ ช่วงอายุ
โอกาสในการลงทุน
การลงทุน
21-30 ปี
วัยเริ่มทางาน ได้รับความเสี่ยงมากที่สุด เพราะหากพลาด พลั้งไปยังมีโอกาสสร้างเนื้อสร้างตัวใหม่
หุ้น 90% เงินฝาก และตราสารหนี้10%
31-40 ปี
หน้าที่การงานและรายได้เริ่มมั่นคง รับความเสี่ยงได้ปาน กลาง ถึงค่อนข้างสูง ควรเน้นการลงทุนที่ได้รับผลต่อเนือ่ ง
หุ้น 50% เงินฝาก และตราสารหนี้50%
41-55 ปี
วัยชีวติ ลงตัว ควรเน้นการลงทุนระยะยาวทีม่ ั่นคงและรักษา หุ้น 30% เงินต้น เงินฝาก และตราสารหนี้70%
55 ปี ขึ้นไป
วัยเกษียณรับความเสี่ยงได้น้อย ควรลงทุนที่รกั ษาเงินต้น และรับผลตอบแทนสม่าเสมอ
หุ้น 10% เงินฝาก และตราสารหนี้90%
การเสวนาเวลา 10.45-12.00 น. เรื่อง สมดุลแห่งชีวิต ในโลกเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ ประสิทธิผลในการทางาน ดาเนินการเสวนา โดย 1. ดร.นฤมล รื่นไวย์ ผู้อานวยการศูนย์ความรู้ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) 2. นายเมฆินทร์ ลิขติ บุญฤทธิ์ รองผู้อานวยการ ฝ่ายพัฒนาความรู้การเงินขั้นพื้นฐาน ตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย สถานภาพทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลทีบ่ รรณรักษ์ต้องเผชิญในโลกการทางานปัจจุบัน เพราะ การสื่อสารและการทางานของคนยุคใหม่ มีไลฟ์สไตล์ท่เี ป็น Social Media และอินเทอร์เน็ตเข้ามา มีบทบาทในโลกการทางานและการสื่อสาร ของทุกวงการ บรรณรักษ์ยุคนี้จ ที่มีบุคลากรยุคเก่า และยุคใหม่ ซึ่งอยู่ร่วมกัน ทาให้ต้องมีปัจจัยมาเสริมสร้างให้การทางานอย่างมีความสุขเกิดขึ้น โดยการปรับตัวให้มีชวี ิตที่สมดุล ในการทางานและการใช้ชีวิตในปัจจุบัน ที่เรียกว่า Work Life Balance
ดังนั้น ปัจจัยที่ทาให้การทางานในห้องสมุดอย่างไร ให้มี ความสุข (Happy in Your Library) จึงเกิดขึ้นได้ดังนี้ 1. รักในสิ่งที่ทา เนื่องจากการทางานที่มี พอใจในสิ่งทา ไม่เกิดความย่อท้อหรือเบื่อหน่าย จะ ก่อให้เกิดความสุข และประสิทธิผลของงาน 2. ดับไฟลนก้น โดยการบริหารเวลา จัดลาดับความสาคัญ ในการทาสิ่งต่าง ๆ และการมี วิจารณญาณที่ดี จะช่วยให้ทาชีวติ เกิดความสมดุล 3. จัดโต๊ะทางานให้น่ามอง น่านั่ง เป็น ระเบียบ หยิบใช้สิ่งของได้ง่าย โดยจัดหมวดหมู่ของ สิ่งของเครื่องใช้บนโต๊ะ เพื่อการทางานที่มีความสุข 4. เปิดมุมมองชีวิต ให้มีความคิด สร้างสรรค์ใหม่ ๆ ออกจากมุมเดิมๆ ที่น่าเบื่อ เช่น ถ้ามี เวลาว่าง จากงานประจาที่ทา อาจเดินไปสารวจความ ต้องการของลูกค้า ที่เข้ามาใช้บริการในห้องสมุด อาจ ทาให้เกิดความคิดสร้างสรรค์การบริการใหม่ ๆ ที่ตรง ใจผู้ใช้บริการ
5. หาแรงบันดาลใจ ในการทางาน เช่น สารวจ พฤติกรรมการใช้ห้องสมุดของลูกค้า หรือสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า เป็นต้น หรือหาคาคมที่ เป็นไอดอลในการทางาน เพื่อให้เกิดการสร้างแรงบันดาลใจ เช่น การทางานให้สาเร็จ ง่ายกว่าอธิบายว่าทาไมคุณจึงทาไม่ได้ 6. การสร้างสมดุลชีวิต ไม่คดิ แต่เรื่องงานอย่าง เดียว ให้ความสาคัญกับงาน และให้ความสาคัญกับครอบครัว ด้วย เช่นการปล่อยวางเรื่องงาน ไม่นางานกลับไปทาบ้าน เมื่อ อยู่นอกเวลางาน 7. การสร้างกิจกรรมให้ Balance กับชีวติ เช่น เมื่อ ไปกินข้าวกับเพื่อน ไม่ควรคุยเรื่องงาน หรือมีกิจกรรม Special Day กับครอบครัวหรือเพื่อนๆ ควรมีความคิดเพลิดเพลินกับ กิจกรรมที่ไปร่วม หรือในการทางาน ทั้งวัน สมองของมนุษย์ จะ มีความอ่อนล้าในช่วงบ่าย ดังนั้น การจัดประชุมในหน่วยงาน ควรจัดในช่วงเช้า มากกว่าช่วงบ่าย
8. การออกกาลังกาย เป็นที่รู้กันดีวา่ เมื่อมีสุขภาพดี จะทาให้จติ ใจสดชื่น สมองปลอดโปร่ง การออกกาลังกายจะทาให้สมรรถภาพในการทางานเกิด ประสิทธิภาพ 9 . การเลือกกินของดี มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่นอาหารคลีน ในยุค ปัจจุบัน มีทั้งประโยชน์และมีรสชาดถูกปาก เน้นผักผลไม้ที่มีตามฤดูกาล
สถานการณ์ที่บรรณรักษ์ต้องเผชิญในยุคดิจิทัลมีอะไรบ้าง ?(World Change to Digital) ผู้บรรยาย ได้ยกตัวอย่างของสถานการณ์ที่บรรณรักษ์ต้องพบในปัจจุบันได้แก่ อินเทอรเน็ต ทาให้ธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป (จากบทความหนังสือชื่อ The Digital Economy : Promise and Peril in the Age of Networked Intelligence. ผู้ที่กล่าวถึง Digital Economy เป็นคนแรก คือ Don Tapscott ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ จากสถานการณ์ในปัจจุบันจะพบว่า ระบบ อินเทอร์เน็ตและระบบดิจิทัลมีบทบาทต่อ งานในระบบธุรกิจ เช่น การใช้รถอัจฉริยะ ไร้คนขับ ในประเทศสิงคโปร์ เป็นต้น ห้องสมุดในหลายประเทศ พัฒนาบทบาท เป็นห้องสมุดดิจิทัล ที่มีระบบสืบค้นเป็น ระบบออนไลน์ ไม่ต้องเดินมาที่ห้องสมุด (กายภาพ) สามารถหาข้อมูลของห้องสมุด จากทุกสถานที่ มีระบบ Network เชื่อมต่อ กับระบบออนไลน์ได้ โดยมีเครื่องมือช่วย ค้น เช่น สมาร์ทโฟน หรือ แล็ปท้อป เป็นต้น
แม้รูปลักษณะของโลกกลม แต่มนุษย์เราได้ใช้ชีวิต เหมือน “โลกแบน” (จากบทความหนังสือชื่อ The World is Flat : A Brief History of the Twenty-First Century . By Thomas L. Friedman ผู้เขียนหนังสือเล่มที่มยี อดจาหน่ายสูงสุดเล่ม หนึ่งของโลก จากวลีประโยคดังกล่าวนี้ จะเห็นว่า เป็นอีกหนึ่ง สถานการณ์ที่บอกให้รู้ว่า ในการสื่อสาร เทคโนโลยี จึงเกิดการใช้ชีวิตเหมือน ”โลกแบน” เข้าถึงสนเทศมากมาย ในระบบอินเทอร์เนต ยุค ออนไลน์ที่ใคร ๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูลที่ มากมายได้ง่าย สะดวกสบาย โดยใช้เครื่องมือ สื่อสังคมออนไลน์ ดังนั้น บรรณรักษ์ จึงมีหน้าที่ ปรับบทบาท โดยช่วย”จัดกลุ่มความรู”้ ที่มีในคลัง ห้องสมุดให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้อย่างมี เกิดประสิทธิผล
นอกจากนี้ ผู้บรรยาย ได้ยกตัวอย่าง ของร้าน B2S ที่มีบริการ Thing Space ในร้าน เป็น บริการรูปแบบใหม่ เพื่อตอบสนองลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ ในยุคดิจิทัล มีให้บริการนอกเหนือจากโซน Book Store ที่กว้างขวาง ดังนี้ - โซน Free Wifi ใช้ Log-in ด้วยหมายเลขบัตรประชาชนและบัตร The one card - โซน บริการเก้าอี้สตู พร้อมปลั๊กไฟ แต่ยังมีที่นั่งน้อยประมาณ 10 ตัว - โซน Reasturant บริการร้านกาแฟ Coffe world จากตัวอย่างที่ ผู้บรรยาย ได้กล่าวถึงนี้ ทาให้ทราบได้ว่า ในยุคที่ที่สื่อสังคมออนไลน์ มีอิทธิพล ต่อชีวติ ของมนุษย์ในยุคนี้ ทาให้ธุรกิจหรือบริการในห้องสมุด ต้องตระหนักถึงการให้บริการที่ดึงดูดใจ ผู้ใช้ให้เข้ามาใช้สถานที่ หรือเพื่อธุรกิจอย่างอื่นกันอย่างแพร่หลายในโลกปัจจุบัน
ผู้บรรยายยกตัวอย่างของการใช้ส่อื สังคมออนไลน์ (Facebook) เพือ่ การบอกเล่าเรื่องที่เกิดกับผู้ใช้ส่อื นี้ จาก ตัวอย่างนี้ บอกให้รู้ว่า ข้อมูลใดที่ มีผู้ใช้ส่อื Social Media และเป็นเรื่องราวที่มีผู้ใช้สนใจ ในโลก Social ข่าวสารจะ แพร่ออกไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งดูได้จากจานวนครั้ง ของการกดไลท์ คอมเมนต์ และการแชร์
บทสรุป สมดุลแห่งชีวิตในโลกดิจทิ ัล เพื่อประสิทธิผลที่ดีในการทางาน
Free
Time
Find
Love
Read Book Learn by Youtube Follow Website/FB Page Talk with Guru
สิ่งที่บรรณารักษ์ยุคดิจิทัลควรมี : หาความรู้จากการอ่านตลอดเวลา เรียนรู้จากอินเตอร์เน็ต (ยูทูป) เรียนรู้จากความผิดพลาด (ติดตามโซเชี่ยลเน็ตเวิค) รู้จักผูกมิตรและมีมนุษยสัมพันธ์ มีใจรักในกิจกรรมที่ทา
สรุปความรู้ที่ได้รับจากการสัมมนาครั้งนี้
จากการเข้าร่วมสัมมนาเชิงวิชาการครัง้ นี้ ได้ตระหนักรู้ถึงสถานการณ์ยุคดิจิทัล ปัจจุบัน มีสถานการณ์เทคโนโลยี ระบบอินเทอร์เน็ตส่งผลให้ การใช้ Social Media Network เป็น ที่นิยมอย่างกว้างขวางในสังคมไทยเป็นอย่างมากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา และมีจานวนไม่ต่ากว่า 18 ล้านคน ดังนั้น การพัฒนาห้องสมุดในยุคดิจิทัล ที่ปรับให้ทันกับยุคปัจจุบันที่ลูกค้าของ ห้องสมุดมีการค้นคว้า ติดต่อสื่อสารกับห้องสมุดอย่างรวดเร็ว ด้วยการเชื่อมต่อของอินเทอร์เน็ต และบุคลากรที่ปฏิบัตงิ านในห้องสมุดยุคใหม่ จึงต้องปรับตัวด้วยการปรับทัศนคติ และการทางาน ให้มี Work Life Balance คือการปรับชีวิตให้สมดุลในการทางานยุคดิจิทัล เพื่อให้สามารถปรับตัว ให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิผลในการทางานอย่างต่อเนื่อง
บรรณารักษ์ยุคใหม่ ไม่ได้ หมายถึงบรรณารักษ์หนุ่มสาว ไม่ได้หมายถึง อายุอ่อนกว่า แต่หมายถึง บรรณารักษ์ที่สามารถทางานและปรับการทางานให้เข้ายุคสมัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ