สารบัญ วิวัฒนาการ (Evolution of Computing) Cloud Computing คืออะไร กรอบการทางาน (Cloud Computing Framework) การตัดสินใจไปสู่การใช้งาน Cloud หรือไม่ Cloud Storage และการบริการฝากข้อมูลฟรี ผู้ให้บริการ Cloud Storage ฟรี เอกสารอ้างอิง
หน้า 1 2 3 6 10 11 15
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
วิวัฒนาการ (Evolution of Computing)
รูปที่ 1 วิวัฒนาการ (Evolution of Computing) วิวัฒนาการ1 ของการ computing แบ่งออกได้เป็น 5 ยุค ดังนี้ ยุคที่ 1 MainFrame Technologies (1970 – 80s) : เป็นการประมวลผล ณ จุดเดียว (Centralized) ด้วย เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ ยุคที่ 2 Client Server Distributed Technologies (1990S) : เป็นการประมวลผลที่กระจายการทางาน (Distributed) จากเครื่องแม่ข่ายสู่ลูกข่าย ยุคที่ 3 World Wide Web (WWW) Technologies (2000s) : เป็นการเชื่อมโยงข้อมูลถึงกันโดยใช้ โปรโตคอลTCP/IP หรือเรียกว่ายุค Internet ยุคที่ 4 Transported Technologies (2010s) : เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการติดต่อสื่อสารซึ่งสามารถ ทาได้ทุกที่ ทุกเวลา หรือเป็นยุคของ Mobile ยุคที่ 5 Pervasive/Ubiquitous Computing (2020s) : เป็นการประมวลผลที่ให้ความสาคัญกับความ ต้องการของผู้ใช้งานโดยที่ผู้ใช้ งานไม่จาเป็นต้องมีแหล่งจัดเก็บข้อมูล (Storage) หรือโปรแกรมประยุกต์ (Application) ของตัวเอง แต่มีการดาเนินการอยู่ ณ ที่ใดทีห่ นึ่ง หรือเรียกว่ายุคของ cloud computing
1
เอกสารฝึกอบรม fundamental of Cloud Computing and Architecture กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
Cloud Computing คืออะไร2
รูปที่ 2 Cloud Computing คืออะไร Cloud Computing3 คือ รูปแบบของการเข้าถึงระบบเพื่อใช้งานที่สะดวกและหลากหลายตามความ ต้องการของผู้ ใช้งาน ในรูป แบบของการแชร์ทรัพยากร เช่น ส่ว นประมวลผล, พื้นที่ส าหรับเก็บข้อมูล , เครือข่าย เป็นต้น รวมทั้งเซอร์วิสอื่นๆ ที่สามารถจัดเตรียมเพื่อให้บริการได้อย่างรวดเร็ว และลดภาระการ บริหารจัดการของผู้ดูแลระบบให้น้อยที่สุด
2 3
ภาพจาก เอกสารฝึกอบรม fundamental of Cloud Computing and Architecture กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร http://www.ega.or.th/Content.aspx?m_id=94
2
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
กรอบการทางาน (Cloud Computing Framework)
รูปที่ 3 กรอบการทางาน (Cloud Computing Framework) จากภาพกรอบการทางานประกอบด้วย 4 ส่วนคือ 1. Deployment Model , 2. Service Model , 3. Essential characteristics และ 4. Common Characteristics ในแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังนี้
1. Deployment Model ประกอบไปด้วย 4 Models ได้แก่4
รูปที่ 4 Deployment Model 4
http://patpongb.blogspot.com/2013/07/cloud-computing.html
3
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
>> Hybrid cloud คือ รูปแบบการนา Internal Cloud ของเราเชื่อมต่อกับ Cloud Provider และใช้ทรัพยากรที่ Cloud Provider จัดสรรให้ ซึ่งทรัพยากรที่ได้รับนั้นจะมี Performance และ Capacity ที่ แตกต่างกันขึ้นอยู่กับราคา และ Package ที่เลือกนั่นเอง >> Private cloud คือ ระบบ Infrastructure ของ Cloud ที่ถูกจัดสรรไว้ให้สาหรับองค์กรใด องค์กรหนึ่งเท่านั้นไม่แบ่งให้องค์กรอื่นๆ มาใช้งานร่วมกัน โดยการบริหารงานอาจจะบริหารงานโดยตัวองค์กร เอง หรือโดยผู้ให้บริการ และจะวางระบบทั้งระบบไว้ภายในองค์กร (On-Premise) หรือภายนอกองค์กรก็ได้ (Off-Premise) >> Community Cloud คือ ระบบ Infrastructure ของ Cloud ที่ใช้ร่วมกันหลายองค์กรที่ รวมกลุ่มกันเป็นชุมชนเพื่อทางานเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่ง โดยการบริหารงาน ระบบ Infrastructure อาจจะบริหารงานโดยตัวองค์กรใดองค์กรหนึ่ง หรือโดยผู้ให้บริการ และจะวางระบบ ทั้งระบบไว้ภายในองค์กร (On-Premise) หรือภายนอกองค์กรก็ได้ (Off-Premise) >> Public Cloud คือ ระบบ Infrastructure ของ Cloud นั้นเป็นของสาธารณะที่ใครๆ ที่ต้องการ ใช้งานสามารถเข้าถึงได้ และดูแลโดยผู้ให้บริการ Cloud Provider 2. Service Model ประกอบไปด้วย 3 Model5 ได้แก่
รูปที่ 5 Service Model >> Saas เป็นคาย่อมาจาก Software as a service เป็นวิธีหนึ่งที่ผู้ใช้งานสามารถเรียกใช้งาน ซอฟแวร์ (Software) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต (Internet) โดยไม่ต้องทาการลงซอฟแวร์ (Install) และดูแล รักษา (Maintenance) อย่างเช่น การต้องมาคอยแบคอัพ (Backup) ข้อมูลป้องกันข้อมูลหาย เป็นต้นจะเห็น ว่าแนวคิดบริการ Saas นั้นจะทาให้ผู้ใช้เพียงแค่เชื่อมต่อเครือข่ายก็สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องสนใจความ ซับซ้อนภายในของซอฟแวร์ และยังไม่ต้องสนใจการดูแลรักษาฮาร์ดแวร์อีกด้วย 5
http://blog.bossturteam.com/tag/cloud-computing/
4
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
>> PaaS ย่อมาจาก Platform as a Service เป็นการเช่าฮาร์ดแวร์ operating systems, storage และ network capacity บน Internet ซึ่งเป็นรูปแบบการให้บริการโดยให้ลูกค้าเช่าเซิฟเวอร์เสมือน (virtualize servers) PaaS เป็นผลที่เกิดขึ้นจากแนวคิดของ Saas ที่กล่าวไว้ข้างต้น โดย Paas มีข้อดี อยู่หลายอย่างสาหรับ Developers เช่น การปรับเปลี่ยน system features สามารถเปลี่ยนและอัพเกรดได้ อย่างรวดเร็ว ทีมงานที่ทางานกระจายกันออกไปก็สามารถทางานร่วมกันบน software development projects เดียวกันได้อย่างสะดวกเพราะสามารถรับข้อมูลจากทั่วโลกได้อย่างไร้ พรมแดน และช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการดูแลระบบด้วย >> IaaS ย่อมาจาก Infrastructure as a Service เป็นรูปแบบที่องค์กรใช้อุปกรณ์จาก outsource ที่คอยซัพพอร์ตการดาเนินการ รวมทั้ง Storage, Hardware, Servers และเครือข่าย ผู้ให้บริการจะเป็น เจ้าของอุปกรณ์และรับผิดชอบการทางาน การบารุงรักษา โดยผู้ใช้บริการสามารถเลือกจ่ายตามการใช้งานจริง
3. Essential characteristics6- ประกอบด้วย 5 คุณสมบัติที่สาคัญ ได้แก่ >> On-demand Self-service คือ การบริการที่สั่งการได้เอง ผู้ใช้งานสามารถกาหนดได้เอง >> Broad Network Access คือ การเข้าถึงระบบเครือข่ายแบบวงกว้าง สามารถเข้าถึงได้จากทุก อุปกรณ์มาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตได้ >> Resource Pooling คือ การรวมทรัพยากรไว้ด้วยกัน ทรัพยากรและการประมวลผลถูกรวบรวม ไว้ที่ศูนย์กลาง ซึ่งได้แก่ Storage, Processing, Memory, Network Bandwidth และ Virtual Machines >> Rapid Elasticity คือ ความยืดหยุ่นและรวดเร็ว สามารถปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็วยืดหยุ่น อัตโนมัติ ไม่มีข้อจากัด และซื้อได้ง่ายไม่จากัดเวลาหรือจานวน >> Measure service คือ สามารถวัด และควบคุม รายจ่าย ได้ตามการใช้งาน เป็นลักษณะของการ pay– per- use
4. Common Characteristics คุณสมบัติที่สาคัญ ได้แก่ >> Massive Scale : มีคุณสมบัติของการจัดเก็บได้จานวนมาก >> Homogeneity : มีคุณสมบัติของการรวมอยู่ด้วยกันข้อมูล >> Virtualization : มีคุณสมบัติของการทางานแบบเสมือน >> Low cost software : มีคุณสมบัติของการทาให้ใช้งาน software ได้ในราคาถูก >> Resilient computing : มีคุณสมบัติของการทางานที่มีความยืดหยุ่น >> Geographic distribute : มีคุณสมบัติของการจัดเก็บตามภูมิศาสตร์ >> Service Orientation : มีคุณสมบัติที่ทาให้เข้าถึงการบริการได้ง่าย >> Advanced security : มีคุณสมบัติของการรักษาความปลอดภัยสูง
6
http://www.totcloud.com/faq-cloud.html
5
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
การตัดสินใจไปสู่การใช้งาน Cloud หรือไม่7
รูปที่ 6 การตัดสินใจไปสู่การใช้งาน Cloud หรือไม่ หลายองค์กรเริ่มสนใจในเรื่อง Cloud Computing ว่าจะเป็นประโยชน์กับองค์กรมากน้อยแค่ไหน อีกทั้ง Cloud Service ต่างๆ เช่น SaaS, PaaS และ IaaS น่าจะสร้างประโยชน์ให้กับองค์กรในด้านของ Cost Saving, On-Demand และ Economy of Scale ซึ่งลักษณะการใช้งานแบบ Pay-per-use นั้นเป็นที่สนใจ ของใครต่อใครหลายคน หมายความว่าองค์กรเองสามารถวางแผนสาหรับอนาคตได้โดยไม่จาเป็นต้องลงทุน มหาศาลในตอนแรก โดยเริ่มจากเล็กๆแล้วค่อยๆ ขยายความสามารถออกไปเรื่อยๆ ตามความต้องการหรือการ เติบโตของธุรกิจ แต่อย่างไรก็ตามองค์กรใหญ่ๆ ก็ยังลังเลในเรื่องการย้ายข้อมูลไปอยู่บน Cloud ผลจากการ สารวจบริษัทใน Fortune 1000 ส่วนใหญ่ระบุว่าในช่วงเวลา 2-3 ปีข้างหน้าจะยังไม่เปลี่ยนไปใช้ Public Cloud Storage เพื่อเก็บข้อมูลขององค์กร ผลสารวจระบุว่าองค์กร 75% ยังมีปัญหาเรื่องความเชื่อมั่นในด้าน Reliability, Security, Availability และ การควบคุมข้อมูลต่างๆ ขององค์กร ตัวอย่างเช่น องค์กรกังวลเรื่อง การเก็บข้อมูลของบริษัทตัวเองภายใน Storage ของ Cloud อาจจะไปปะปนกับข้อมูลขององค์กรอื่นๆ รวมถึง ปัญหาความมั่นใจในการเข้าถึงข้อมูลว่าจะให้มั่นใจได้อย่างไรว่าข้อมูลนั้น เราสามารถเข้าได้เพียงผู้เดียว บาง รายอาจจะคานึงถึงเรื่องการย้ายข้อมูลจาก Cloud Service Provider กลับมาที่องค์กร ในกรณีที่เลิกใช้บริการ หรือการย้ายไป Service Provider เจ้าอื่น ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนผู้ให้บริการว่าทาได้หรือไม่ สิ่งต่างๆ เหล่านี้อาจจะไม่เกิดขึ้น ถ้าทางผู้ให้บริการหรือ Service Provider ได้ให้ความมั่นใจกับผู้ใช้บริการ ว่าการ บริการของตนเองนั้นรับรองถึงความมั่นคงปลอดภัย มีความสามารถที่ทาได้ในด้านต่างๆ หรือจาเป็นต้องมี มาตรฐานสากลรั บ รองเพื่ อ ความมั่ น ใจของผู้ ใ ช้ ง านมากขึ้ น เพราะเพี ย งแต่ ค าบอกกล่ า วของ Service 7
http://patpongb.blogspot.com/2013/07/cloud-computing.html
6
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
Provider เองคงจะไม่มีน้าหนักพอ ก็คงต้องให้คนกลางเข้ามาช่วยการตัดสินใจ ในแง่ขององค์กรจึงจาเป็นต้อง ทาการศึกษาข้อมูลของ Service Provider ว่ารายไหนสามารถตอบสนองความต้องการขององค์กรได้ อย่าง ครบถ้วน แต่ก่อนจะไปถึงจุดนั้นตัวองค์กรต้องตัดสินใจก่อนว่าจะเปลี่ยนไปใช้ Cloud หรือจะใช้งานแบบเดิม ขอนาเสนอเป็นกรอบการคิดแสดงตามรูปที่ 7 ดังนี้
รูปที่ 7 กรอบการคิดวิเคราะห์ของหน่วยงานในการตัดสินใจไปสู่ cloud หรือไม่ ขั้นแรกต้องมองให้ออกว่าสินทรัพย์ขององค์กรที่จะย้ายไปอยู่บน Cloud มีอะไรบ้าง จากนั้นก็ต้องทา การประเมินความสาคัญของ Asset จากนั้นก็ต้องไปศึกษาว่า Cloud Service ที่ให้บริการอยู่นั้นตัวไหนมี ความสามารถตรงตามที่ต้องการ และประเมินความเหมาะสมในการให้บริการของผู้ให้บริการรายนั้น และต้อง อย่าลืมเรื่องการไหลของข้อมูลว่าข้อมูลขององค์กรเราจะมี flow การทางานอย่างไร Identify Asset เรื่องแรกคือการที่แต่ละองค์กรต้องแยกให้ออกว่า Asset ที่จะย้ายไปอยู่บน Cloud นั้นมีอะไรบ้าง ซึ่ง ในความเป็นจริงแล้ว Asset ก็สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ >> Data >> Applications/Functions/Processes เพราะสิ่ ง ที่ ท าในการย้ า ยไปท างานบน Cloud ก็ คื อการย้ า ยข้ อ มู ล เดิ ม ที่ มีใ นองค์ ก รไปรั น อยู่ บ น Application สาเร็ จ รู ป ที่มีอยู่ แล้ ว บน Cloud หรือการย้ายกระบวนการบางอย่างที่ทางานอยู่เดิมขึ้นไปไว้ บน Cloud หรือแม้กระทั้งย้ายทั้งหมดก็คือย้ายทั้ง Application ขึ้นไปไว้บน Cloud เลย ซึ่งตาม Concept ของ Cloud แล้ว ทั้งตัว Application และข้อมูลไม่จาเป็นต้องอยู่ในที่ๆเดียวกัน สามารถ เลื อกที่จ ะย้ ายบางส่ ว นของการทางานไปอยู่ บน Cloud ได้ เช่ น เรายั งเก็บ ทั้ง Applicationและ Data ไว้ ภายใน Data Center ขององค์ ก รแต่ เ ลื อ กที่ จ ะ Outsource บางส่ ว นของฟั ง ก์ ชั่ น การท างาน ใน Application ไปอยู่ที่บน Cloud ผ่านทาง Platform as a Service สิ่งแรกที่จะต้องทาก็คือการหาให้ได้ ว่า Data ส่วนไหน หรือ Function ส่วนใด หรือแม้แต่ Application ตัวไหนที่สามารถย้ายไปอยู่บน Cloud ได้ Evaluate Asset ขั้นตอนต่อไปก็คือการประเมินความสาคัญของ Data หรือ Function ที่จะย้ายไป Cloud ต่อองค์กร ถ้าองค์กรของท่านมีวิธีการประเมินความเสี่ยงของ Asset อยู่แล้วก็สามารถใช้วิธีการขององค์กรท่านได้ แต่ถ้า หากยังไม่มีก็สามารถใช้คาถามเหล่านี้ในการประเมินความเสี่ยงของ Asset แต่ละตัวที่จะย้ายไปทางานอยู่ บน Cloud ได้ คาถามที่กล่าวมีทั้งหมด 6 ข้อ ซึ่งแต่ละคาถามก็จะเริ่มด้วย “จะเกิดความเสียหายกับองค์กร อย่างไรถ้า...”
7
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
>> จะเกิดความเสียหายกับองค์กรอย่างไรถ้า “Asset เกิดถูกเปิดเผยออกสู่สาธารณะและถูกแจกจ่าย ไปทั่ว” >> จะเกิดความเสียหายกับองค์กรอย่างไรถ้า “พนักงานของผู้ให้บริการ Cloud เข้าถึง Asset นั้น” >> จะเกิดความเสียหายกับองค์กรอย่างไรถ้า “Process หรือ Function ดังกล่าวถูกควบคุมโดยคน นอกองค์กร” >> จะเกิดความเสียหายกับองค์กรอย่างไรถ้า “Process หรือ Function มีการทางานที่ไม่ตรงตามที่ ต้องการ” >> จะเกิดความเสียหายกับองค์กรอย่างไรถ้า “ข้อมูลถูกทาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงโดยไม่ได้คาดหวัง” >> จะเกิดความเสียหายกับองค์กรอย่างไรถ้า “Asset ไม่สามารถให้บริการได้ช่วงเวลาหนึ่ง” สิ่งที่เราทาการประเมินความต้องการของแต่ละ Asset ก็คือ Confidentiality, Integrity และ Availability นั่นเอง รวมไปถึงความเสี่ยงของการให้นาบางส่วนหรือทั้งหมดของ Asset ออกไปอยู่ใน Cloud Select Cloud Model เมื่อผ่านมาถึงจุดนี้องค์กรควรจะตระหนักถึงความสาคัญของ Asset ขององค์กรเอง ขั้นต่อไปก็คือการ เลือกว่า Cloud Service Model ไหนถึงจะเหมาะกับความต้องการ ซึ่งองค์กรก็ควรจะศึกษาลงลึกลงไปในแต่ ละ Model ว่ า มี ลั ก ษณะอย่ า งไร และแต่ ล ะแบบมี ค วามเสี่ ย งหรื อ จะมี ผ ลกระทบอย่ า งไรกั บ องค์ ก ร Model ที่ว่าก็คือ Software as a Service (SaaS), Platform as a Service (PaaS) และInfrastructure as a Service (IaaS) นั่นเอง Evaluate Cloud Model & Provider วิธีการหนึ่งที่จะทาให้มั่นใจได้ว่าข้อมูลหรือระบบที่ไปใช้บริการอยู่บน Cloud Service นั้นมีความ ปลอดภั ย เพี ย งพอกับ ความต้อ งการหรื อ ไม่ ก็ คือ การสอบถามจากทางผู้ ให้ บ ริก าร Cloud Service ว่ า กระบวนการทางานต่าง ๆ หรือระบบที่ให้บริการ Cloud Service นั้นมีการวางแผนไว้อย่างไร มีกระบวนการ ทางานอย่ างไร และมีการป้ องกัน อย่ างไรบ้าง ซึ่งเกณฑ์ในการตัดสินที่ดีที่สุ ดในตอนนี้ก็คงหนีไม่พ้นเกณฑ์ ของ ISO 27001 ที่ว่าด้วยเรื่องของ Information Security การดึงเอา ISO 27001 มาเป็นหลักในการ ตั้ ง ค าถามจะท าให้ ส ามารถตรวจสอบได้ ว่ า ผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร Cloud ที่ ก าลั ง สนใจอยู่ นี้ เ ขาใส่ ใ จในเรื่ อ ง ของ Information Security มากน้อยเพียงใด กลุ่มของคาถามสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายเรื่องด้วยกันคือ Personal Security, Supply-Chain Assurance, Operational Security, Identity and Access Management, Asset Management, Data and Service Portability, Business Continuity management, Physical Security, Environment Controls และ Legal Requirements
8
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
สรุปภาพรวมขององค์ประกอบของ Cloud ด้วยภาพอนุกรมวิธานของ cloud8 ดังนี้
รูปที่ 8 Cloud Taxonomy
8
ภาพจาก http://www.opencrowd.com/assets/images/views/views_cloud-tax-lrg.png
9
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
Cloud Storage กับการบริการฝากข้อมูลฟรี Cloud Storage9 คือ ที่เก็บข้อมูลไว้บนอินเทอร์เน็ต สามารถฝากไฟล์และดึงไฟล์ออกได้ อย่างสะดวก โดยต้องใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลาง ทาให้บริการของ Cloud Storage ได้รับความนิยมเป็นอย่าง มาก อีกทั้งยังมีปัจจัยที่สนับสนุนอย่างการเติบโตของอุปกรณ์โมบายต่างๆ ทั้ง Smart Phone และ Tablet ทา ให้สามารถเข้าถึงได้อย่างง่าย ทาให้สามารถรับส่งข้อมูลได้สบายมากขึ้น
รูปที่ 9 Cloud Storage ประโยชน์ของการใช้งาน Cloud Storage • สามารถเข้าถึงไฟล์ต่างๆ ได้ทุกที่ทุกเวลา • สามารถเพิ่มขนาดจัดเก็บไฟล์ได้ • คุ้มค่ามากกว่าการซื้ออุปกรณ์จัดเก็บไฟล์อย่างพวกฮาร์ดดิสก์ • ไม่มีความเสี่ยงกับในเรื่องของอุปกรณ์จัดเก็บไฟล์เสีย • ได้รับบริการเสริมต่างๆ เช่น การสารองข้อมูล การรับประกันในกรณีข้อมูลสูญหาย เป็นต้น ข้อเสียของการใช้งาน Cloud Storage • จาเป็นต้องใช้งานผ่านการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตเท่านั้น • ความปลอดภัยของข้อมูลซึ่งอาจถูกแฮ็กข้อมูลได้ • เสียค่าบริการ ในกรณีที่มีการฝากไฟล์เกินขนาดที่ผู้ให้บริการแต่ละรายการที่กาหนด
9
http://www.jib.co.th/web/index.php/news/readNews/17984/index.html
10
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
ผู้ให้บริการ Cloud Storage ฟรี ผู้ให้บริการ Cloud Storage ฟรี10 ในปัจจุบันที่เป็นที่รู้จักมี 6 รายที่ขอนาเสนอดังนี้ 1. SkyDrive จาก Microsoft
รูปที่ 10 SkyDrive SkyDrive เป็นหนึ่งในการบริการของ Windows Live (ที่มีการเปลี่ยนจาก Hotmail) ใครที่มี Hotmail , msn.com , windows live.com , live.com ก็สามารถใช้บริการ skydrive ได้ทันที ทั้งผ่านทาง เว็บ skydrive.live.com ผ่านทางโปรแกรมบน PC โดยเฉพาะ Windows สามารถจัดการไฟล์ได้ทันทีผ่าน Windows Explorer ได้เลย รวมทั้งสามารถ sync กับ App บน WindowsPhone , iPhone , iPad ได้ด้วย รองรับแชร์ทั้งรูปภาพได้ สามารถแก้ไขเอกสารจากไฟล์พวก Microsoft Office ทางออนไลน์ได้ด้วย รวมทั้งจะ รองรับทางานร่วมกับ Windows8 ในอนาคตอันใกล้ SkyDrive ทาหน้าที่ Cloud Storage เริ่มให้บริการมานานแล้วแต่ไม่เป็นที่รู้จัก เหตุผลที่ SkyDrive ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก ก็คือ “มาเร็วเกินไป” ในสมัยก่อนยังไม่มีคาว่า Cloud Computing ด้วยซ้า อีกทั้งรูปแบบ นั้นยังใช้งานยาก แล้วยังจาเป็นที่จะต้องต่อกับอินเทอร์เน็ตทาให้ความสะดวกในการใช้ไม่ค่อยมีมากนัก ซึ่งตอน หลัง Microsoft ได้ปรับปรุงให้ใช้งานได้ง่ายขึ้น โดยมีพื้นที่เก็บข้อมูลแบบฟรีๆ ถึง 7GB ถือว่าเยอะมากและ สามารถเพิ่มพื้นที่เก็บข้อมูลฟรีได้มากถึง 25GB นอกจากนี้ยังความสะดวกสบายด้วยการ Sync ข้อมูลบน เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยรองรับการทางานได้ทั้งบน PC และ MAC ส่วน APP ในกลุ่มโมบาย แน่นอนว่าจะ รองรับ Window Phone เป็นอันดับแรก อีกแพลตฟอร์มคือ iOS ส่วนผู้ใช้งาน Android ไม่ต้องน้อยใจไป เชื่อ ว่าตอนนี้ กาลังมีการพัฒนาออกมาให้อยู่ 2. Google Drive จาก Google
รูปที่ 11 Google Drive 10
http://www.jib.co.th/web/index.php/news/readNews/17984/index.html
11
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
มีพื้นที่ 5GB สาหรับขา Google docs ก็สามารถแก้ไขเอกสารผ่านทางออนไลน์ได้ด้วย รองรับการ อัพโหลดและแชร์ไฟล์พวกรูปภาพ คลิปวีดีโอ และการ sync ไฟล์ ผ่าน App ทั้งบน PC ระบบปฏิบัติการ windows , mac OSX และ มือถือ Android ส่วน iOS ก็จะมาด้วยเร็วๆนี้ ส่วนผ่านทางเว็บบราวเซอร์ ก็สามารถใช้บริการได้ผ่านทาง drive.google.com 3. iCloud จาก Apple
รูปที่ 12 iCloud เป็นบริการ SYNC และฝากไฟล์ บนอุปกรณ์ ทั้ง MAC และ iOS โดยเฉพาะ มีพื้นที่ให้ฟรี 5GB หาก อยากได้เพิ่มก็ซื้อพื้นที่เอา ส่วนใหญ่จะฝากไฟล์พวกไฟล์งานสาหรับ iWork การ SYNC แชร์ภาพเข้ากับ อุปกรณ์ iOS เช่น iPhone , iPad , iPod Touch และคอมแบบ MAC OSX ด้วย บริการนี้จะมาพร้อมอยู่ แล้วเมื่อคุณสมัคร Apple ID ผ่านทางหน้าเว็บหรือสมัครผ่านอุปกรณ์ของค่าย Apple ต่างๆ 4. Dropbox
รูปที่ 13 Dropbox ถ้าสมัครผ่านทางเว็บไซต์ Dropbox จะได้เนื้อที่ฟรี 2GB หากคุณทาภารกิจตาม GET START สามารถได้พื้นที่เพิ่มอีก 250MB ไปเรื่อยๆได้ และถ้าชวนเพื่อนสมัคร Dropbox ผ่านลิงค์ของคุณก็ได้พื้นที่ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สูงสุดถึง 16 GB ทีเดียว จุดเด่นก็คือรองรับการ SYNC ไฟล์ ผ่านหลายแพลตฟอร์มได้แก่
12
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
iOS, Android , Windows , Mac และ Linux แต่ถ้าหากคุณถอยพวก HTC One Series ได้พื้นที่เพิ่มทันที 25GB เป็นเวลา 2 ปี และ Samsung Galaxy SIII ที่ใกล้จาหน่ายบ้านเรา ก็มีแถม Dropbox ให้ 50 GB จุใจ กันไป เป็นระยะเวลา 2 ปี
5. box
11
รูปที่ 14 box ให้พื้นที่ฟรีออนไลน์ถึง 5GB แต่ถ้าสมัครผ่านอุปกรณ์ต่างๆดังนี้ เช่น โทรศัพท์มือถือ LG ทั้งสมาร์ท โฟน และTablet ที่ลง box ได้ , HP Touch Pad , Blackberry Playbook , SONY XPERIA Phone , SONY Tablet จะได้พื้นที่ 50GB ไปเลยจนถึงสิ้นปี หลังจากนั้นก็จะลดเหลือแค่ 5GB ข้อเสียของ box คือยัง ไม่ มี Appส าหรั บ บนคอมพิ ว เตอร์ ใ นการ sync เวลาอั พ โหลดดาวน์ โ หลด จึ ง ต้ อ งท ากั บ ผ่ า นทางหน้ า เว็บไซต์ box.com บน web browser อย่างเดียว 6. Amazon Cloud Drive
รูปที่ 15 Amazon cloud drive Amazon Cloud Drive รองรับทั้ง Sync ผ่าน App บน Windows และ MAC หรือจะอัพโหลดไฟล์ ผ่านทางเว็บบราวเซอร์ก็ได้ มีฟรีพื้นที่คนละ 5GB สมัครและลองใช้ได้ที่ http://www.amazon.com/clouddrive 11
http://www.ict.rmutt.ac.th/?p=1177
13
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
ข้อควรระวังของการฝากข้อมูลบน cloud 1. สาหรับทุกระบบ Cloud ควรเปลี่ยนรหัสผ่านอีกครั้ง โดยมีตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร สลับกัน 2. หลีกเลี่ยงการใช้รหัสผ่านซ้าๆ กันในแต่ละล็อกอิน 3. หลีกเลี่ยงการถ่ายรูปวาบหวิว หรือรูปส่วนตัว เก็บไว้ใน Cloud เพราะมักเป็นเป้าหมายแรกๆ ใน การเผยแพร่ 4. หลีกเลี่ยงการเก็บเอกสารสาคัญต่างๆ เช่น สาเนาทะเบียนบ้าน สาเนาบัตรประชาชน
14
Cloud computing กับการให้บริการฝากข้อมูลฟรี
เอกสารอ้างอิง 1 . เอกสารฝึกอบรม fundamental of Cloud Computing and Architecture กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร 2. http://www.ega.or.th/Content.aspx?m_id=94 3. http://www.ict.rmutt.ac.th/?p=1177 4. http://www.jib.co.th/web/index.php/news/readNews/17984/index.html 5. http://patpongb.blogspot.com/2013/07/cloud-computing.html 6. http://blog.bossturteam.com/tag/cloud-computing/ 7. http://www.totcloud.com/faq-cloud.html 8. http://www.opencrowd.com/assets/images/views/views_cloud-tax-lrg.png
15
จัดทำโดย นางสาวอุมาภรณ์ ก๋งเม่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ชานาญการ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ยุติธรรม