Iso29110มาตรฐานจากคนไทย

Page 1


สารบัญ รูจัก ISO/IEC 29110 มาตรฐานจากคนไทย Implementation ISO/IEC29110 ประโยชนกับหนวยงานภาครัฐ เอกสารอางอิง

หนา 2 4 12 13


ISO/IEC 29110

2

รูจัก ISO/IEC 29110 มาตรฐานจากคนไทย

1 0

ในระยะเวลาชวงทศวรรษที่ผานมาภาครัฐ และหนวยงานตางๆ ไดนํามาตรฐานการพัฒนา ซอฟตแวรในระดับสากล เชน CMM และ ISO มาประยุกตในไทย เพื่อทําการยกระดับคุณภาพและมาตรฐาน ของอุตสาหกรรม ซึ่งจากการศึกษาของคณะกรรมการวิชาการคณะที่ 967 มาตรฐานวิศวกรรมซอฟตแวรและ ระบบ(กว 967) สํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม พบวามาตรฐานดังที่กลาวเหมาะสมสําหรับองคกร ขนาดใหญที่มีกําลังบุคลากรคอนขางมาก ซึ่งองคกรที่เหมาะสมกับมาตรฐานดังกลาวในประเทศไทยยังมีอยู จํานวนนอย จึงไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนามาตรฐานซอฟตแวรสําหรับองคกรขนาดเล็กโดยเฉพาะ ซึ่งมีจํานวนนักพัฒนาซอฟตแวรประมาณ 25 คน ดังนั้นสํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมจึงไดกําหนด มาตรฐาน Thai Quality Software (TQS) ขึ้นซึ่งตอมาไดประยุกตและไดยกระดับเปนมาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 สําหรับ Very Small Entities (VSE) ภายใตสถาบันมาตรฐานสากล (International Organization for Standardization : ISO) โดยมาตรฐาน ISO/IEC 29110 นี้จะกอใหเกิดความเชื่อมั่นใน อุตสาหกรรมซอฟตแวรเชนเดียวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ ของประเทศไทย อีกทั้งผลักดันให ประเทศไทยเปนแกนกลางในการพัฒนามาตรฐานวิศวกรรมซอฟตแวรสําหรับองคกรขนาดเล็ก ซึ่งจะเปน จุดเดนของประเทศที่สามารถทําใหซอฟตแวรไทยเปนที่รูจักในระดับนานาชาติ 2 มาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 Software Engineering Profiles for VSE (Very Small Entities) ภาครัฐไดใหการสนับสนุนมาตรฐานในฐานะผลงานของประเทศและมุงผลักดันใหเปนมาตรฐาน เบื้องตนของอุตสาหกรรมไทย ผลประโยชนที่จะไดรับเมื่อเขารวมโครงการและไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 29110 ดังรายละเอียด ดังนี้ 1

1. มาตรฐาน ISO/IEC 29110 เปนมาตรฐานของประเทศไทยในการพัฒนาซอฟตแวร ประเทศ ไทยเปนประเทศผูพัฒนาและผลักดันมาตรฐานจนนําไปสูมาตรฐานสากลในระดับ ISO และไดนํามาประกาศใช ไวในราชกิจจานุเบกษา ใหเปนมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมของประเทศไทย หรือ มอก.29110 2. กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร และ สํ า นั ก งานส ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม ซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) ไดรวมกันสงเสริมมาตรฐานในฐานะเกณฑในการจัดซื้อจัดจางการ พัฒนาซอฟตแวรสําหรับหนวยงานภาครัฐในอนาคต 3. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ไดกําหนดใหมาตรฐาน ISO/IEC 29110 เปนมาตรฐาน mandatory สําหรับองคกรที่ตองการไดรับการสงเสริมดานการลงทุนในโครงการมูลคาตั้งแต 10 ลานบาทขึ้นไป และหากองคกรตองการไดรับการสนับสนุนจาก BOI จะตองไดรับมาตรฐานสากลที่ สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) ใหการรับรอง ซึ่งสิทธิประโยชนของผูที่ ไดรับการสนับสนุนจาก BOI คือ ไดรับการยกเวนภาษีและสิทธิประโยชนอื่นๆ

1 2

http://www.iso29110certification.com/about-us-2/

http://www.iso29110certification.com/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3 %E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C/


ISO/IEC 29110

3

4. ผู ผ า นการรั บ รองมาตรฐาน ISO/IEC 29110 จะได รั บ การคั ด เลื อ กให อ อกบู ท ใน งาน Software Expo Asia ซึ่งจัดโดยสํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) โดยมีสวนของ ISO Certificated Pavilion สําหรับบริษัทที่มีผลงานดีเดน 5. มาตรฐาน ISO/IEC 29110 ไดรับการสนับสนุนและดําเนินการสงเสริมโดย สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย หากบริษัทไดรับการรับรองมาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 จะไดรับการพิจารณาคัดเลือก เข า เป น สมาชิ ก ของกลุ ม อุ ต สาหกรรมซอฟต แ วร สภาอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทย และได รั บ สิ ท ธิ ประโยชนตางๆในฐานะสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 6. มาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 เปนมาตรฐานที่ภาครัฐใหการสนับสนุนในดานตางๆ เมื่อ ได รั บ การรั บ รองจะมี กิ จ กรรมการสนั บ สนุ น ในด า นต า งๆ อั น ได แ ก กิ จ กรรมด า นการตลาดและการ ประชาสัมพัน ธองคกร กิจ กรรมการจัดอบรมสัมมนา กิจกรรมการสนับสนุนดานการจับคูการคาทางธุรกิ จ กิจกรรมการสงเสริมการตลาดในตางประเทศ และกิจกรรมอื่นๆ


ISO/IEC 29110

Implementation ISO/IEC29110

3

มาตรฐานของ ISO/IEC 29110 ในปจจุบันบันมีอยูดว ยกัน 4 ระดับ ไดแก Entry Profile , Basic Profile , Intermediate Profile และ Advanced Profile ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 มาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 Profiles ระดับที่นํามาใชกับองคกรหรือหนวยงานขนาดเล็ก VSEs (Very Small Entities) หมายรวมถึง โครงการที่มีจํานวนบุคลากรไมเกิน 25 คน คือ ระดับ Basic Profile ซึ่งมุงเนนไปที่ 2 กระบวนการทํางาน หลักๆ ไดแก Project Management (PM ) process และ Software Implementation (SI) process ดัง ภาพที่ 2

ภาพที่ 2 Basic Profile guide Processes 3

http://www.mict.go.th/assets/portals/1/files/download/580820_eBook_ISO29110_MICT.pdf

4


ISO/IEC 29110

5

1. Project Management (PM) process เปนกระบวนการที่ใชในการวางแผนการ ดําเนินโครงการ การจัดการทรัพยากรที่จําเปนตองใชในโครงการการควบคุมภาพรวมของโครงการ การติดตาม ความคืบหนาของการเมื่อเปรียบเทียบกับแผนที่ไดวางไว รวมถึงการปรับเปลี่ยนแผนการตางๆเพื่อใหเหมาะสม กับการดําเนินโครงการ โดยตองคํานึงถึงเรื่องการสงงานตามขอกําหนดใหไดภายในระยะเวลาดําเนินโครงการ แสดงกระบวนการไดตามแผนภาพที่ 3

ภาพที่ 3 Project Management Process Diagram 1. Project Planning เปนเรื่องเกี่ยวกับการวางแผนในการดําเนินโครงการ ซึ่งจะมี รายละเอียดเกี่ยวกับแผนการทํางานตางๆในการบริหารโครงการ เชน ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ , Resource ที่ตองใชในโครงการ,ชิ้นงานยอยๆที่แจกแจงได รวมถึงผูรับผิดชอบ ระยะเวลาของงานแตละ กิจกรรมนั้นๆ,ความเสี่ยงที่ไดประเมินไว รวมถึงเรื่อง Version Control และ Baseline Strategy เปนตน 2. Project Plan Execution เปนการนําแผนงานที่ไดวางไว ไปปฏิบัติ เพื่อใหโครงการไดรับ การดําเนินการไปตามแผนงานมากที่สุด ซึ่งจะตองมีการติดตารมโครงการและมี Progress Status Report


ISO/IEC 29110

6

เพื่อใหเห็นความคืบหนาของโครงการ ทั้งนี้ การวิเคราะหความตองการเพิ่มเติมที่เกิดขึ้นระหวางดําเนิน โครงการ ไมวาจะเปนการปรับเปลี่ยนหรือขอแกไข อาจมีผลตอระยะเวลาในการดําเนินโครงการ เปนผลใหตอง มีการปรับแกผลงาน ซึ่งจะตองไดรับการเห็นชอบจากทีมงาน และบางสวนจากลูกคาเสียกอน 3. Project Assessment and Control เปนการประเมินประสิทธิภาพของแผนงานที่ไดวางไว เชน การนํา Progress Status Report เทียบกับ Project Plan ที่ไดวางไว วาทุกอยางเปนไปตามแผนมากนอยเพียงใด งานเปนไปตามแผน หรือไม Resource ที่ไดเตรียมไวคาใชจาย ระยะเวลาตางๆ รวมถึงความเสี่ยงตางๆที่ไดระบุไวในแผนงานและ ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นที่นอกเหนือไปจากความเสี่ยงดังกลาวนี้ จะตองถูกเก็บไวในเอกสาร Correction Register 4. Project Closure เปนการจัดเตรียมเอกสารรวมถึงระบบงานและอุปกรณตางๆเพื่อใหสามารถสงมอบงานได ตามความตองการของสัญญา เชนมีการสงมอบงานตาม Delivery Instruction ที่ไดระบุไวใน Project Plan และไดมาซึ่ง Acceptance Record ที่ลงรับโดยลูกคา ตารางที่ 1 ตารางหลักฐานที่เกี่ยวของกับรายละเอียดของกิจกรรมของ Project Management Process


ISO/IEC 29110

7


ISO/IEC 29110

8

2. Software Implementation (SI) Process เปนกระบวนการที่ใชในการดําเนินงาน โดยอางอิงตามแผนที่ไดจาก Project Management Process ซึ่งจะเปนแนวทางในการดําเนินงาน ทั้งในสวน ของการวิเคราะหความตองการของระบบการออกแบบระบบ การพัฒนาระบบงานตามที่ไดออกแบบไว รวมถึง การทดสอบการใชงานและการสงมอบงานใหลูกคา ไมวาจะเปนกระบวนการ PM หรือ SI ตางก็ตองมี Input Products และ Output Products ของแตละกิจกรรมที่ตองดําเนินการในที่นี้จะเรียกรวมๆวา Work products ของแตละกิจกรรมถา หากมองภาพงายๆ กวางๆ Work Products ก็คือเอกสารที่เกี่ยวของของการดําเนินการในแตละกิจกรรม นั่นเอง

ภาพที่ 4 Software Implement Process Diagram


ISO/IEC 29110

9

1. Software Implementation Initiation เปนการเริ่มตนกระบวนการของ Software Implementation โดยนํากิจกรรมตางๆที่ถูก วางแผนไวใน Project Plan ใหผูที่เกี่ยวของไดรับทราบโดยทั่วถึง 2. Software Requirements Analysis เปนกระบวนการวิเคราะหความตองการของระบบที่จะไดจากลูกคาอันจะไดมาซึ่ง Requirement Specification ที่จะตองใหลูกคาตรวจสอบและยืนยันความถูกตองของความตองการนั้นๆ กอนที่จะนํา Requirement Specification ที่ไดรับการยืนยันจากลูกคาไปเปนตัวตั้งในกิจกรรมตอไป 3. Software Architectural and Detailed Design เปนกระบวนการแปลงความตองการของลูกคา ไปเปนระบบงานโดยเปนการวิเคราะหและ ออกแบบระบบเพื่อใหตองโจทยตาม Requirement Specification ที่ไดรับการยืนยันจากลูกคาแลว 4. Software Construction เปนกระบวนการในการลงมือพัฒนาระบบ เปนชวงของการเขียนโปรแกรม โดยอางอิงตาม Software Design ที่ไดมาจากกิจกรรมกอนหนา 5. Software Integration and Test เปนกระบวนการในการทดสอบ หลังจากที่ไดพัฒนาแลวเสร็จเพื่อใหแนใจวา เปนไปตาม ความตองการของลูกคา กอนที่จะนําไปสงมอบและติดตั้งใหลูกคาใชงาน 6. Product Delivery เปนกระบวนการสงมองงานใหกับลูกคา โดยอางอิงตามสิ่งที่ตองสงตามที่ไดระบุไวใน Project Plan ซึ่งรวมถึงระบบงานที่ไดพัฒนาและผานการทดสอบแลว ตารางที่ 2 ตารางหลักฐานที่เกี่ยวของกับแตละกิจกรรมของ Software Implementation Process


ISO/IEC 29110

10


ISO/IEC 29110

11


ISO/IEC 29110

12

ประโยชนกับหนวยงานภาครัฐ

4 3

ประโยชนของมาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 ตอผูพัฒนาระบบงาน เพื่อสราง/ปรับปรุงกระบวนการพัฒนาระบบงานสารสนเทศและเอกสารที่เกี่ยวของ ที่เปน แนวทางเดียวกันทั้งองคกร บุคลากรในองคกรเขาใจบทบาทแลเหนาที่ความรับผิดชอบชองตนเอง การสงตองานในแตละขั้นตอน สามารถติดตามและตรวจสอบได มีเอกสารอางอิงตามสมควร งานแตละสวนไมขึ้นกับใครคนใดคนหนึ่ง ประโยชนของมาตรฐานสากล ISO/IEC 29110 ตอหนวยงานภาครัฐ (ผูวาจาง) ไดทีมงานที่ไดมาตรฐานในการดําเนินโครงการ มาเปนผูรับงาน สามารถติดตามความคืบหนาของโครงการ และตรวจสอบความถูกตองเหมาะสม ของ กระบวนการไดอยางมีหลักการ เปนขั้นตอน จบโครงการแลว มีเอกสารอางอิง เพียงพอที่ดูแลรักษาระบบรวมถึงสามารถพัฒนาตอยอดได ทีมงานมีความรูความเขาใจในกระบวนการพัฒนาระบบไปในทิศทางเดียวกัน เขาใจการทํางาน ในแตละขั้นตอน ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินการ รวมถึงการทดแทนกันไดในบางหนาที่ แนวทางในการนํามาตรฐาน ISO/IEC 29110 มาใชกับหนวยงานภาครัฐ ขั้นตอนการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ เพื่อกําหนดเปาหมาย ขอบเขต แนวทางและ ระยะเวลาในการดําเนินการ ใน SOW หรือ TOR ของโครงการระบุประเภทเอกสารที่ตองการใหผูพัฒนาระบบสงมอบซึ่ง อาจกําหนดรูปแบบของเอกสารที่ตองการได ติดตามความกาวหนาของโครงการ และมีสวนรวมในการแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดอยาง ทันทวงที เมื่อรับมอบงานแลว สามารถดูแลรักษาระบบได โดยมีเอกสารอางอิงที่เพียงพอ

4

เอกสารประกอบการบรรยายของ ดร.อนุกูล แตมประเสิรฐ


ISO/IEC 29110

13

เอกสารอางอิง 1. http://www.iso29110certification.com/about-us-2/ 2.http://www.iso29110certification.com/%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B8%A3 %E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C/ 3. http://www.mict.go.th/assets/portals/1/files/download/580820_eBook_ISO29110_MICT.pdf 4. เอกสารประกอบการบรรยายของ ดร.อนุกูล แตมประเสิรฐ



ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.