จุลสารโพธิยาลัยฉบับที่ ๕

Page 1




4

ค�ำน�ำ

เจริญพรศรัทธาญาติโยมสาธุชนทุกท่าน ฉบับนี้เป็ นจุลสารฯฉบับที่ ๕ ประจ�ำเดือนพฤษภาคม เผลอเพียงครู่เดียว ก็ล่วงมาเกือบจะครึ่งปี ของ พ.ศ.๒๕๕๕ แล้ ว วันคืนล่วงไปๆอย่างรวดเร็ว ฉะนั้นสาธุชนทุกท่านอย่าได้ ประมาท เร่งสั่งสมคุณงามความดี เร่งขวนขวายท�ำบุญไว้ ให้ มากๆ ในเดือนเมษายนที่ผ่านมาวัดจากแดงมีกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ ต่อพระพุทธศาสนาและสังคมมากมาย เช่นพิธบี รรพชาอุปสมบท ซึ่งมี พระภิกษุบวช ณ วัดจากแดง มากถึงเกือบ ๒๐๐ รูป อีกทั้งยังมีประเพณี มหาสงกรานต์ การสรงน�ำ้ พระพุทธรูป พระเถรานุเถระ พระภิกษุ สามเณร ตลอดจนผู้เฒ่าผู้แก่ เป็ นการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยให้ ย่ังยืน ต่อไป หากใครได้ มาร่วมงาน ก็คงจะได้ รับความประทับใจ ได้ ทราบซึ้ง ถึงขนบธรรมเนียมประเพณีอนั งดงามของชาวไทย ที่หาได้ ยากในโลก ส่วนในเดือนมิถุนายนนี้ จะเป็ นเดือนที่มวี ันส�ำคัญในทางพระพุทธ ศาสนา และเป็ นวันส�ำคัญของชาวพุทธทั่วโลกอีกวันหนึ่งคือวันวิสาขบูชา ทางวัดจากแดง ได้ จัดให้ มโี ครงการปฏิบตั ธิ รรมเนื่องในวันวิสาขบูชาขึ้น ระหว่างวันที่ ๑-๕ มิถุนายน ๒๕๕๕ หากพุทธศาสนิกชนท่านใดสนใจ สามารถอ่านรายละเอียดและตารางการปฏิบตั ธิ รรมจากภายในฉบับนี้ได้ หากท่านผู้อ่านมีข้อคิดเห็น ข้ อเสนอแนะ สามารถส่งมาแจ้ งได้ ท่ี Email:bodhiyalai.magazine@gmail.com เพื่อเป็ นก�ำลังใจให้ กบั คณะผู้ จัดท�ำจุลสารโพธิยาลัยในโอกาสต่อๆไป ก็จักเป็ นพระคุณอย่างสูง คณะผูจ้ ดั ท�ำ

bodhiyalai.magazine@gmail.com


5

ตายเพราะโลภมากเกินไป ประณีต ก้ องสมุทร ในสมัยเมื่อพระบรมศาสดาทรงประทับอยู่ท่พี ระวิหารเชตวัน ทรง ปรารภพวกพ่อค้ าชาวเมืองสาวัตถี จึงตรัสมหาวาณิชชาดก ด้ วยเรื่องราว ต่อไปนี้ พวกพ่อค้ าเหล่านั้น เมื่อจะเดินทางไปค้ าขาย ได้ ถวายมหาทาน แก่พระบรมศาสดาก่อน ตั้งมั่นในสรณคมน์และศีล กราบทูลว่า ถ้ าพวก ข้ าพระองค์กลับมาด้ วยความสวัสดี ก็จักถวายบังคมพระบาทของพระองค์ อีกพระเจ้ าข้ า ดังนี้แล้ วจึงออกเดินทางไปกับเกวียน ๕๐๐ เล่ม ถึงแดน กันดาร หาทางไปไม่ถูก พากันหลงทางอยูในป่ า ขาดน�ำ้ และอาหาร พวกเขาได้ เห็นต้ นไทรใหญ่ต้นหนึ่ง ซึ่งพวกนาคยึดครองอยู่ โดยที่พวก เขามิทราบ จึงชวนกันปลดเกวียน นั่งพักที่โคนไม้ พวกพ่อค้ าพวกนั้น สังเกตเห็นต้ นไทรมีใบเขียวชอุ่ม ประหนึ่งตะไคร้ นำ�้ กิ่งไทรเล่าดูเหมือน อิ่มด้ วยน�ำ้ จึงคิดกันว่า ต้ นไทรนี้ปรากฏเหมือนมีนำ�้ เอิบอาบ พวกเราตัด กิ่งด้ านตะวันออกของต้ นไทรนี้ดูเถิด อาจจะได้ นำ�้ ดื่ม ดังนี้แล้ วพ่อค้ าคน หนึ่งก็ข้ นึ ต้ นไทร ตัดกิ่งไทรด้ านตะวันออกขาด ท่อน�ำ้ ขนาดล�ำตาลไหลพรู พ่อค้ าได้ นำ�้ ดื่ม และน�ำ้ อาบ ณ ที่น้ัน ต่อมา พวกพ่อค้ าได้ ตดั กิ่งไทรด้ านใต้ โภชนะมีรสเลิศต่างๆ ก็พรั่งพรูออกจากที่น้ัน พวกเขาก็ได้ บริโภคโภชนะเหล่านั้น ครั้นพวก เขาตัดกิ่งไทรด้ านตะวันตก เหล่าสตรีแต่งกายงดงาม พากันออกมาจาก ที่ก่งิ นั้นพวกพ่อค้ าก็ได้ ร่วมอภิรมย์กบั สตรีเหล่านั้น ครั้งสุดท้ ายเขาตัด กิ่งไทรด้ านเหนือ แก้ ว ๗ ประการหลั่งไหลออกมาจากกิ่งนั้น พวก พ่อค้ าพากันเก็บแก้ วเหล่านั้นบรรทุกเต็มเกวียน ๕๐๐ เล่ม แล้ วเดินทาง


6

กลับไปเมืองสาวัตถี เก็บทรัพย์เรียบร้ อยแล้ ว ชวนกันถือดอกไม้ และของ หอมเป็ นต้ น ไปเฝ้ าพระบรมศาสดาที่พระวิหารเชตวัน ฟังพระธรรมกถา แล้ วกราบทูลนิมนต์ถวายมหาทานในวันรุ่งขึ้น ครั้นถวายทานเสร็จแล้ ว กราบทูลว่า ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ พวกข้ าพระองค์ขอให้ ส่วนบุญในทาน ครั้งนี้แก่รกุ ขเทวดาผู้ให้ ทรัพย์แก่พวกข้ าพระองค์พระเจ้ าข้ า พระศาสดา ตรัสถามว่า พวกเธอให้ ส่วนบุญแก่รกุ ขเทวดาองค์ไหน พวกพ่อค้ า กราบทูลว่า พวกข้ าพระองค์ได้ ทรัพย์จากรุกขเทวดาที่ต้นไทร พระเจ้ าข้ า พระศาสดาตรัสยกย่องว่า พวกเธอมิได้ ลุแก่อำ� นาจตัณหา เพราะเป็ นผู้ รู้จักประมาณไม่โลภมากจึงได้ ทรัพย์ แต่ในครั้งก่อน พวกที่ลุแก่อำ� นาจ ตัณหา เพราะไม่ร้ จู ักประมาณ จึงเสียทั้งทรัพย์และชีวิต พวกพ่อค้ าเหล่า นั้นจึงกราบทูลขอให้ ทรงเล่าเรื่องนั้น พระศาสดาจึงทรงน�ำอดีตนิทานมา ตรัสเล่าดังต่อไปนี้ ในอดีตกาล พ่อค้ าชาวเมืองพาราณสีจากรัฐต่าง ๆ ประชุมกันใน เมืองพาราณสี ตั้งพ่อค้ าคนหนึ่งให้ เป็ นหัวหน้ า เดินทางไปค้ าขาย แต่ เมื่อมาถึงทางกันดารก็ต้องหลงทาง ขาดอาหารและน�ำ้ ดื่ม ได้ พบต้ นไทร ใหญ่ต้นเดิมนั้นแหละ มีร่มเงาเย็นสบาย จึงพากันนั่งพัก แต่พ่อค้ าพวก นี้เป็ นคนโง่เขลาถูกโมหะครอบง�ำ คิดร่วมกันว่า ต้ นไม้ น้ ีบางทีจะมีนำ�้ ไหล ซึมออกมา เรามาช่วยกันตัดกิ่งด้ านตะวันออกดูเถิด พอกิ่งถูกตัดออกน�ำ้ ใสไม่ข่นุ มัวก็ไหลออกมา พวกพ่อค้ าก็ได้ ด่มื น�ำ้ และอาบน�ำ้ สมปรารถนา พวกพ่อค้ าผู้โง่เขลาเหล่านั้นถูกโมหะครอบง�ำ ร่วมคิดกันเป็ น ครั้งที่ ๒ ตัดกิ่งไม้ ทางด้ านใต้ ก็ได้ ข้าวสาลี เนื้อสุก ขนมถั่ว แกงและ กับข้ าวไหลออกมามากมาย พ่อค้ าเหล่านั้นก็ได้ บริโภคข้ าวและอาหาร เหล่านั้นจนอิ่มหน�ำส�ำราญ แล้ วคิดร่วมกันเป็ นครั้งที่ ๓ ตัดกิ่งไม้ ด้าน ทิศตะวันตก ก็มเี หล่านารีแต่งกายงดงาม ประดับด้ วยแก้ วมณีออก


7

มาแวดล้ อมบ�ำเรอพวกพ่อค้ าเหล่านั้น จากนั้นพวกพ่อค้ าเหล่านั้นผู้โง่ เขลาถูกโมหะครอบง�ำ พากันคิดเป็ นครั้งที่ ๔ ตัดกิ่งไม้ ด้านเหนือออก แก้ วมุกดาเป็ นต้ น ตลอดจนเงินทอง ผ้ ากาสาวพัสตร์และผ้ ากัมพล ก็พรั่งพรูไหลออกมา พ่อค้ าเหล่านั้นพากันขนบรรทุกเกวียนจนเต็ม แต่ พ่อค้ าเหล่านั้นยังไม่พอใจ คิดกันเป็ นครั้งที่ ๕ ว่า พวกเราช่วยกันโค่น ต้ นไทรดีกว่า อาจจะได้ ทรัพย์มากกว่านี้ นายกองเกวียนผู้เป็ นหัวหน้ า ลุกขึ้นยกมือไหว้ ขอร้ องว่า ต้ นไทรท�ำอะไรผิดหรือ พวกท่านจึงจะท�ำกับ ต้ นไทร ในเมื่อต้ นไทรได้ ให้ นำ�้ ให้ อาหาร ให้ นารี ให้ ทรัพย์สนิ เงินทอง ทุกอย่าง ท่านทั้งหลายอย่าได้ ตดั ต้ นไทรเลย ขอพวกท่านจงมีความเจริญ เถิด บุคคลพึงนั่งหรือนอนที่ร่มเงาของต้ นไม้ ใด ไม่ควรหักรานกิ่งของ ต้ นไม้ น้ัน เพราะผู้ประทุษร้ ายมิตรเป็ นผู้เลวทราม แต่พ่อค้ าเหล่านั้นมิได้ เชื่อฟัง ถือเอาขวานที่ลับจนคมแล้ ว เข้ าไปหมายจะตัดต้ นไม้ ครั้งนั้นพญานาคที่อยู่ท่ตี ้ นไทรนั้น เห็นพ่อค้ าเหล่านั้นจะตัด ต้ นไทร ก็คิดว่าเราให้ พวกเขาได้ นำ�้ ดื่ม อาหาร นางบ�ำเรอ และรัตนะเต็ม ๕๐๐ เล่มเกวียน ก็ยังไม่พอใจ จะตัดโค่นต้ นไม้ เสียทีเดียว ช่างละโมบ โลภมากเสียเหลือเกิน ควรที่พวกเราจะฆ่าเสียให้ หมด เว้ นแต่นายกอง เกวียนผู้เป็ นหัวหน้ า พญานาคคิดแล้ วก็ให้ พวกนาคที่เป็ นบริวาร จับพวก พ่อค้ ามัดไว้ แล้ วฆ่าเสีย เว้ นแต่นายกองเกวียน แล้ วพวกนาคก็ขบั เกวียน บรรทุกสิ่งของและรัตนะมีค่าด้ วยตนเอง พานายกองเกวียนไปส่งยังเมือง พาราณสี มอบทรัพย์ท้งั ปวงให้ แล้ วก็ลากลับไปนาคพิภพของตน ด้ วยเหตุน้ ีพระบรมศาสดาจึงตรัสพระคาถาว่า “เพราะเหตุน้ันนั่น แล บุรษุ ผู้เป็ นบัณฑิตเมื่อพิจารณาถึงประโยชน์ของตน ไม่ควรลุแก่ อ�ำนาจความโลภ พึงก�ำจัดใจอันประกอบด้ วยความโลภเสีย ภิกษุร้ โู ทษ อย่างนี้และรู้ตณ ั หาว่าเป็ นแดนเกิดแห่งความทุกข์ พึงเป็ นผู้ปราศจาก


8

ตัณหา ไม่มคี วามถือมั่น พึงเป็ นผู้มสี ติเว้ นรอบ” ดังนี้แล้ วทรงประกาศ อริยสัจ เมื่อจบอริยสัจ พวกพ่อค้ าเหล่านั้นพากันด�ำรงอยู่ในโสดาปัตติผล เป็ นพระโสดาบัน แล้ วทรงประชุมชาดกว่า พญานาค ในครั้งนั้นได้ มาเป็ น สารีบุตร ส่วนนายกองเกวียน ได้ มาเป็ นเราตถาคต ดั้งนี้แล (เก็บความจากชาดก มหาวาณิชชาดก ปกิณณกนิบาตชาดก ข้ อ ๑๙๙๐-๑๙๙๓)


9

การประเคน หนังสือวินัยพระน่ารู้คู่มอื โยม การประเคนเป็ นเรื่องใกล้ ตวั มาก และเป็ นเรื่องจ�ำเป็ นส�ำหรับ พระภิกษุสามเณรและพุทธศาสนิกชนทุกคนควรทราบ เพราะพระรับ ประเคนทุกวัน ฉันทุกวัน โยมก็ประเคนพระอยู่ทุกวัน ไม่ควรถือว่าเป็ น เรื่องเล็กน้ อยท�ำอย่างไรก็ได้ ควรศึกษาเรื่องการประเคนนี้ให้ เข้ าใจอย่าง ถ่องแท้ ท้งั พระและโยม เพราะพระและโยมมีความเกี่ยวข้ องกัน ถ้ าพระ เข้ าใจเรื่องการประเคนดี จะได้ เอาไปแนะน�ำสั่งสอนญาติโยมชี้ผดิ ชี้ถูก และป้ องกันอาบัตใิ ห้ พระได้ ด้วย ส่วนโยมนั้น ถ้ าเข้ าใจเรื่องการประเคนดีแล้ ว จะประเคนได้ อย่าง ถูกต้ อง ช่วยป้ องกันพระไม่ให้ เป็ นอาบัติ และช่วยเผยแพร่คำ� สอนที่ถูก ต้ องนี้ไปยังญาติสนิทมิตรสหายของตนให้ เข้ าใจสืบต่อไป การรักษาพระพุทธศาสนาให้ ดำ� รงคงอยู่น้ัน จะต้ องศึกษาเรียนรู้ เรื่องที่จำ� เป็ นและเกี่ยวข้ องให้ เข้ าใจดีร่วมกัน อย่าปล่อยให้ เป็ นหน้ าที่ของ พระหรือโยมแต่เพียงฝ่ ายเดียว พระพุทธศาสนาล่วงกาลผ่านเวลามานาน พอมาถึงยุคนี้มอี ะไรแปลกๆต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย

การประเคนทีไ่ ม่ถูกต้องตามพระวินยั

เรื่องการประเคนก็เช่นเดียวกัน มีความเห็นที่แตกต่างกันออกไป มีการประพฤติปฏิบตั ติ ่างกันออกไป บางอาจารย์บางส�ำนักสอนว่า การที่ ญาติโยมน�ำอาหารหวานคาวมาวางไว้ บนโต๊ะที่หอฉัน แล้ วพูดว่า ผมเอา อาหารมาถวายนะครับ แต่บางคนก็ไม่พูดอะไร การท�ำอย่างนี้ช่ ือว่า เขา ให้ แล้ ว หรือประเคนแล้ ว ไม่ต้องประเคนซ�ำ้ อีก อาจารย์บางท่านสอนว่าการประเคนนั้น ผู้ประเคนต้ องยกของขึ้น


10

สูงจากพื้นพอแมวรอดได้ หรือสูงจากพื้นประมาณ ๑ ก�ำมือ อาจารย์บาง ท่านสอนว่า ให้ นำ� เอาอาหารหวานคาวทั้งหมดที่จะประเคนมาต่อๆกัน พระจับข้ างนี้โยมจับข้ างโน้ น ก็ถอื ว่าประเคนแล้ ว เรียกว่าการประเคน แบบจับชนกัน การประเคนแบบนี้ได้ รับความนิยมอย่างมาก และท�ำกัน ทั่วไปทั้งในเมืองและชนบท เพราะท�ำง่ายไม่ยุ่งยาก ไม่เสียเวลา อาจารย์บางท่านสอนว่า ถ้ าไม่มโี ยมมาประเคน ให้ ใช้ มือจับของ นั้นแล้ วพูดว่า “อิมงั ปังสุกูลัง อัสสามิกงั มัยหัง ปาปุณาติ. แปลว่า ของบังสกูลนี้ไม่มเี จ้ าของ ย่อมถึงแก่เรา” น�ำมาฉันได้ โดยไม่เป็ นอาบัติ เรียกวิธนี ้ ีว่าบังสกูลฉัน บางอาจารย์บางท่านสอนว่า ประเคนครั้งเดียว ฉันได้ จนหมด ถ้ าไม่หมดก็เก็บไว้ ฉันวันต่อๆไป แม้ หลายวันก็ได้ กม็ ี อาจารย์บางท่านสอนว่าถ้ าหาคนประเคนยาก เมื่อมีโยมมาวัด ถ้ าพระ อยากฉันมะม่วง มะขาม มะพร้ าวเป็ นต้ น ก็ให้ โยมประเคนทั้งต้ นเลย พระต้ องการฉันเมื่อไร ก็ใช้ ไม้ สอยเอามาฉันได้ วิธปี ระเคนให้ โยมจับต้ น มะม่วงข้ างหนึ่ง พระจับข้ างหนึ่ง ก็ช่ ือว่าประเคนแล้ ว เรียกว่าประเคนทั้ง ต้ นฉันได้ จนหมดลูก มะม่วงออกใหม่กป็ ระเคนใหม่เป็ นต้ น ที่ก ล่ า วมานี้ เป็ นเพี ย งมติ ค วามเห็น ของบางอาจารย์ บ างส�ำ นั ก ที่สอนกันและประพฤติกนั ท่านเหล่านั้นบางองค์เป็ นพระเกจิช่ ือดัง บาง องค์เป็ นนักปฏิบตั ิ บางองค์เป็ นพระผู้ใหญ่มคี นนับถือมาก บางองค์เป็ น พระหลวงปู่ หลวงตาธรรมดาทั่วๆไป แต่จะเป็ นพระอะไรก็ตาม หากไม่ ศึกษาเล่าเรียน เรื่องพระวินัยให้ ดแี ล้ วก็จะไม่ร้ วู ่าอะไรผิดอะไรถูก ได้ แต่ทำ� ๆตามกันมา อาจารย์พาท�ำ ก็ทำ� ตามอาจารย์ ก็คิดว่าถูกต้ องแล้ ว ถ้ าหากผิด อาจารย์คงไม่พาท�ำ การท�ำอะไรตามกันเป็ นเวลานานๆ ไม่ใช่ จะถูกต้ องเสมอไป บางครั้งเรื่องที่ผดิ คิดว่าถูก เรื่องที่ถูกคิดว่าผิด หรือบางองค์กศ็ กึ ษาเล่าเรียนมา รู้ผดิ รู้ถูก แต่เพราะความเห็นแก่ปาก


11

แก่ท้อง อดทนต่อความหิวไม่ได้ หรืออาจเป็ นเพราะมักง่ายจึงท�ำอะไรง่ายๆ จนละเลยและมองข้ ามการประเคนที่ถูกต้ อง หรือจะมีข้ออ้ างอื่น ๆ ที่ไม่ถูก ไม่ควร การเป็ นพระจะท�ำอะไร พูดอะไร คิดอะไร ควรค�ำนึงถึงศีลของตัว เองให้ มาก อย่าเอาความคิดความเห็นของตัวเองเป็ นใหญ่ ต้ องค�ำนึงถึง ความถูกต้ องตามพระธรรมวินัย ไม่ใช่เอาแต่ความถูกใจเพียงอย่างเดียว ต้ องมีหลักฐานอ้ างอิงโดยเฉพาะพระบาลี อรรถกถา และฎีกาที่ทา่ นวางไว้ เป็ นแบบอย่าง

การประเคนทีถ่ ูกต้องประกอบด้วยองค์ ๕ คือ

๑. สิ่งของนั้นไม่ใหญ่จนเกินไป บุรษุ มีกำ� ลังปานกลางพอยกได้ ๒. เข้ ามาในหัตถบาส ๓. น้ อมเข้ ามาถวาย ๔. ผู้ประเคนเป็ นเทวดา มนุษย์ หรือสัตว์เดรัจฉานก็ได้ ๕. ภิกษุรับประเคนสิ่งของนั้นด้ วยกาย หรือ ของเนื่องด้ วยกาย (อรรถกถา มหาวิภังค์ ๑/๕๖๒)

องค์ของการประเคน

๑.โยมจัดอาหารหวานคาวจ�ำนวนมากไว้ บนโต๊ะที่ไม่ใหญ่และไม่ ยาวนัก อาหารรวมทั้งโต๊ะนั้น บุรษุ ผู้มกี ำ� ลังปานกลางสามารถยกขึ้นได้ ล�ำพังคนเดียว เวลาประเคน โยมหลายๆคนพร้ อมกันยกประเคนใช้ ได้ แต่ถ้าโต๊ะใหญ่และยาวอาหารก็มาก จนบุรษุ ผู้มกี ำ� ลังปานกลางยกขึ้นไม่ ไหว ถึงแม้ โยมหลายคนช่วยกันยกประเคน การประเคนนั้นก็ใช้ ไม่ได้ (อรรถกถา มหาวิภังค์ ๒/๕๖๔)


12

๒. หัตถบาส ๑ เท่ากับ ๒ ศอกคืบ ดังที่ทา่ นกล่าวไว้ ว่า ๒ ศอก คืบพึงทราบว่า หัตถบาส ถ้ าภิกษุน่ังก�ำหนดตั้งแต่ริมสุดด้ านหลังของ อาสนะไป (จากเข่าไป ๑ ศอกคืบ) ถ้ ายืน ก�ำหนดตั้งแต่ท่สี ดุ ส้ นเท้ าไป ถ้ านอน ก�ำหนดตั้งแต่ท่สี ดุ ด้ านนอกแห่งสีข้างที่นอนไป ด้ วยที่สดุ ด้ านใน แห่งอวัยวะที่ใกล้ กว่าของทายกผู้น่ังอยู่กต็ าม ยืนอยู่กต็ าม นอนอยู่กต็ าม ยกเว้ นมือที่เหยียดออก (อรรถกถา มหาวิภังค์ ๒/๕๑๑) หัตถบาสทางอากาศ พึงก�ำหนดเอาศีรษะของผู้ยืนอยู่เป็ นเกณฑ์ ท่านกล่าวไว้ ว่า “บรรดาผู้ให้ และผู้รับประเคน ฝ่ ายหนึ่งอยู่บนอากาศ อีกฝ่ ายหนึ่งอยู่บนพื้นดิน” พึงก�ำหนดเอาประมาณหัตถบาสทางศีรษะ ของผู้ยืนอยู่บนพื้นดิน และริมด้ านในแห่งอวัยวะที่ใกล้ กว่าของผู้ยืนอยู่บน อากาศ ยกเว้ นมือที่เหยียดออก เพื่อให้ หรือเพื่อรับ “ถ้ าฝ่ ายหนึ่งอยู่ใน บ่อ อีกฝ่ ายหนึ่งอยู่ปากบ่อ” “หรืออีกฝ่ ายหนึ่งอยู่บนต้ นไม้ อีกฝ่ าย หนึ่งอยู่บนแผ่นดิน” ก็พึงก�ำหนดหัตถบาส โดยนัยดังกล่าว” (อรรถกถา มหาวิภังค์ ๒/๕๖๒) นกเอาปากคาบดอกไม้ หรือผลไม้ ถวาย ช้ างเอางวงจับดอกไม้ หรือ ผลไม้ อยู่ในหัตถบาสพระรับประเคน การรับประเคนนั้นใช้ ได้ พระนั่งอยู่ บนคอช้ างสูง ๗ ศอกคืบ จะรับของที่ช้างนั้นถวายด้ วยงวงก็ควรเหมือน กัน (อรรถกถา มหาวิภังค์ ๒/๕๖๒ ) ๓. การน้ อมถวายเป็ นการให้ ด้วยความเคารพ และอ่อนน้ อม เวลาโยมมาถวายอาหาร ถ้ าการน้ อมถวายยังไม่ปรากฏ ไม่สมควรรับ ถ้ า โยมน้ อมกายหรือศีรษะลงมาเพียงเล็กน้ อย ก็รับประเคนได้ ท่านกล่าวไว้ ว่า “ทายกคนหนึ่งทูนภาชนะข้ าวสวยและกับข้ าวเป็ นอันมากไว้ บนศีรษะมาที่ วัด ยืนพูดว่านิมนต์ทา่ นรับเถิด การน้ อมถวายยังไม่ปรากฏ เพราะฉะนั้น จึงไม่ควรรับ แต่ถ้าเขาน้ อมมาแม้ เพียงเล็กน้ อย ภิกษุเหยียดแขนออกรับ ภาชนะ ด้ วยอาการเพียงเท่านี้ ภาชนะทั้งหมดเป็ นอันประเคนแล้ ว”


เหตุไรต้องมีการสร้างค�ำศัพท์บาฬี

13

ร่งุ อรุณ จันทร์สงคราม ในการศึกษาภาษาบาฬี โดยเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยวกับไวยากรณ์ จะมีกระบวนวิธที ่เี รียกว่า “การสร้ างค�ำ” ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า “ท�ำตัว” หรือ “ท�ำรูป” เป็ นที่สงสัยว่า เหตุไรต้ องมีกระบวนวิธดี งั กล่าวด้ วยเพราะเมื่อ เทียบกับภาษาไทยตามที่ค้ ุนเคยกันอยู่ ไม่เห็นว่าต้ องมีกระบวนวิธดี งั กล่าว ก็สามารถเข้ าใจความหมายในภาษาไทยได้ เป็ นความจริงที่ภาษาไทยของเราสามารถสื่อเข้ าใจได้ แม้ ไม่ต้องมี กระบวนวิธสี ร้ างค�ำแบบภาษาบาฬี นั่นเพราะถ้ อยค�ำในภาษาไทยของเรา คงรูปค�ำอยู่ตามเดิม ไม่ว่าจะสื่อความหมายในลักษณะใดๆก็ตาม รูปค�ำ ไม่ได้ เปลี่ยนแปลงผิดไปจากเดิม ยกเว้ นที่เกิดการกลมกลืนเสียงขึ้นบ้ าง เหมือนอย่างสนธิในภาษาบาฬี แต่สำ� หรับภาษาบาฬีแล้ ว สภาพของถ้ อยค�ำต่างๆนั้น มีการ เปลี่ยนแปลงไปตามความหมายที่ส่อื รูปค�ำจึงมีหลากหลายแบบแม้ มาจาก ค�ำตั้งต้ นค�ำเดียวกัน ยกตัวอย่างเช่น ในเรื่องของค�ำนาม มีการแจกถ้ อยค�ำที่เรียกว่า “ปทมาลา” จากค�ำต้ นแบบเพียงค�ำเดียว สามารถแจกค�ำออกได้ ประมาณ ๒๐ ค�ำ นั่นคือความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับรูปค�ำเพราะความหมายที่ แตกต่างกัน เมื่อภาษาบาฬีมสี ภาพเช่นนี้ การฝึ กให้ ผ้ ูศกึ ษาคุ้นเคยกับความ เปลี่ยนแปลงหลากหลายในรูปแบบของถ้ อยค�ำ ด้ วยกระบวนวิธที ่เี รียกว่า “การสร้ างค�ำ” นั้นจึงเป็ นเรื่องส�ำคัญในการศึกษาเนื้อหาไวยากรณ์


14

ครูบาอาจารย์ร่นุ ก่อนได้ กล่าวไว้ ว่า “ท�ำตัวรูปมาก ช�ำนาญหนังสือมาก ท�ำตัวรูปน้ อย ช�ำนาญหนังสือน้ อย” ที่ทา่ นกล่าวเช่นนี้ เพื่อหวังกระตุ้นให้ ผ้ ูศกึ ษาได้ ตระหนักและฝึ กฝน ในกระบวนวิธกี ารสร้ างค�ำ การสร้ างหรือการท�ำอะไรก็ตาม ที่มสี ่วนประกอบต่างๆรวมกันอยู่ ให้ เข้ าเป็ นรูปส�ำเร็จตามที่ประสงค์ ผู้สร้ างสรรค์ท่ที ำ� เช่นนั้นอยู่บ่อยๆ จะเกิดความช�ำนาญ แคล่วคล่อง และมองได้ ทะลุถงึ กระบวนวิธหี รือขั้นตอน ต่างๆ ในการท�ำสิ่งนั้น เมื่อผู้ศกึ ษาภาษาบาฬี มีความช�ำนิชำ� นาญเชี่ยวชาญในการสร้ าง ค�ำต่างๆ อย่างทะลุปรุโปร่ง การเข้ าใจความหมายก็เกิดขึ้นได้ ง่าย เพราะ รู้ถงึ ความแตกต่างหลากหลายของรูปค�ำที่มคี วามหมายแตกต่างกัน กระบวนวิธกี ารสร้ างค�ำนี้ มีปรากฏสืบทอดมานานแล้ ว เช่นใน คัมภีร์มุขมัตตทีปนีหรือที่เรียกกันว่า “นยาสะ” ได้ แสดงวิธกี ารสร้ างค�ำ ไว้ อย่างชัดเจนโดยตลอด และใช้ คำ� ว่า “รูปสิทธิ” สรุปปิ ดท้ ายเสมอ ต่อมาท่านอาจารย์พระพุทธัปปิ ยเถระได้ นำ� ค�ำนี้มาใช้ เรียกคัมภีร์ท่ี ท่านเรียบเรียงขึ้นว่า “รูปสิทธิ” หรือ “ปทรูปสิทธิ” ค�ำว่า “รูปสิทธิ” หรือ “ปทรูปสิทธิ”นี้ แม้ แปลโดยศัพท์จะ แปลได้ ว่า “การส�ำเร็จรูปค�ำ” แต่กส็ ามารถแปลได้ ว่า “การสร้ างรูปค�ำ” เพราะการสร้ างมีจุดหมายปลายทางคือให้ สำ� เร็จ อย่าลืมนะว่า " ฝึ กฝนสร้ างค�ำมากๆ ท�ำให้ ชำ� นาญหนังสือ "


15

ธรรมทีค่ วรพิจารณาเนืองๆ ตถตา พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสเตือนแก่ภิกษุท้งั หลายว่า ภิกษุท้งั หลาย ธรรม ๕ ประการนี้ เป็ นธรรมที่ท้งั บรรพชิตและคฤหัสถ์ควรพิจารณา เนืองๆ ว่า - เรามีความแก่เป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้ นจากความแก่ไปได้ ๑ - เรามีความเจ็บไข้ เป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้ นจากความเจ็บไข้ ไปได้ ๑ - เรามีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้ นจากความตายไปได้ ๑ - เราจักต้ องพลัดพรากจากของรัก ของชอบใจทั้งสิ้น ๑ - เรามีกรรมเป็ นของตน เป็ นทายาทของกรรม มีกรรมเป็ นก�ำเนิด มีกรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็ นที่พ่ึง ผู้ใดท�ำกรรมอันใดไว้ ดีกต็ าม ชั่วก็ตาม จักเป็ นผู้รับผลของกรรมนั้น ๑ ภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุใด คฤหัสถ์และบรรพชิตจึงควรพิจารณา ถึงความแก่ ภิกษุท้งั หลาย ความมัวเมาในความเป็ นหนุ่มสาวมีอยู่แก่สตั ว์ท้งั หลาย เป็ นเหตุให้ สตั ว์ท้งั หลายประพฤติทุจริตด้ วยกาย วาจา ใจ เมื่อพิจารณา ฐานะนั้นอยู่เนืองๆ ย่อมละความมัวเมาในความเป็ นหนุ่มสาว นั้นได้ โดย สิ้นเชิง หรือท�ำให้ เบาบางลง ภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุใด คฤหัสถ์และบรรพชิตจึงควรพิจารณา ถึงความเจ็บไข้ ภิกษุท้งั หลาย ความมัวเมาในความไม่มโี รคมีอยู่แก่สตั ว์ท้งั หลาย ซึ่งเป็ นเหตุให้ สตั ว์ท้งั หลายประพฤติทุจริตด้ วยกาย วาจา ใจ เมื่อพิจารณา ฐานะนั้นอยู่เนืองๆ ย่อมละความมัวเมาในความไม่มโี รค นั้นได้ โดยสิ้นเชิง หรือท�ำให้ เบาบางลง


16

ภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุใด คฤหัสถ์และบรรพชิตจึงควรพิจารณา ถึงความตาย ภิกษุท้งั หลาย ความมัวเมาในชีวิตมีอยู่แก่สตั ว์ท้งั หลาย ซึ่งเป็ นเหตุ ให้ สตั ว์ท้งั หลายประพฤติทุจริตด้ วยกาย วาจา ใจ เมื่อพิจารณาฐานะนั้นอยู่ เนืองๆ ย่อมละความมัวเมาในชีวิต นั้นได้ โดยสิ้นเชิง หรือท�ำให้ เบาบางลง ภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุใด คฤหัสถ์และบรรพชิตจึงควรพิจารณา ถึงความพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ภิกษุท้งั หลาย ความพอใจความรักใคร่ในของรักมีอยู่แก่สตั ว์ท้งั หลาย ซึ่งเป็ นเหตุให้ สตั ว์ท้งั หลายประพฤติทุจริตด้ วยกาย วาจา ใจ เมื่อพิจารณาฐานะนั้นอยู่เนืองๆ ย่อมละความพลัดพรากจากของรักของ ชอบใจ นั้นได้ โดยสิ้นเชิง หรือท�ำให้ เบาบางลง ภิกษุท้งั หลาย เพราะเหตุใด คฤหัสถ์และบรรพชิตจึงควรพิจารณา ถึงเรื่องกรรม ภิกษุท้งั หลาย กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตมีอยู่แก่สตั ว์ท้งั หลาย เมื่อพิจารณาฐานะนั้นอยู่เนืองๆ ย่อมละกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต นั้นได้ โดยสิ้นเชิง หรือท�ำให้ เบาบางลง ภิกษุท้งั หลาย เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้อยู่ว่า มิใช่แต่เราผู้เดียวที่มี ความแก่ ความเจ็บไข้ ความตาย ความพลัดพรากจากของรักของชอบใจ และมีกรรมเป็ นของตน ความจริงสัตว์ท้งั ปวงมีการไปการมา คือตายและเกิด ล้ วนมีความ แก่ ความเจ็บไข้ ความตาย ความพลัดพรากจากของรักของชอบใจ และมี กรรมเป็ นของตนด้ วยกันทั้งสิ้น เมื่อภิกษุพิจารณาอย่างนี้อยู่เนืองๆ มรรคมีองค์ ๘ ย่อมเกิด มรรค คือหนทางที่จะน�ำไปสู่ความพ้ นจากทุกข์ ทุกข์ในวัฏฏะ หรือเรียกกันว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือข้ อปฏิบตั ใิ นทางสายกลางมี ๘ ทาง ได้ แก่


17

๑.สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ได้ แก่ความรู้อริยสัจ ๔ หรือเห็น ไตรลักษณ์ หรือรู้ว่าสิ่งไรเป็ นกุศล สิ่งไรเป็ นอกุศล อะไรเป็ นเหตุให้ เกิด กุศลและอกุศล หรือเห็นปฏิจจสมุปบาท ๒.สัมมาสังกัปปะ ความด�ำริชอบ ได้ แก่ดำ� ริออกจากกาม ไม่ มัวเมา หมกมุ่นพัวพัน ติดข้ องในสิ่งที่ตอบสนอมความอยากต่างๆ ความ คิดที่ปราศจากความเห็นแก่ตวั ความคิดที่เสียสละ ความคิดที่เป็ นกุศลทุก อย่าง เป็ นด�ำริท่ปี ราศจากราคะหรือโลภะ ด�ำริท่จี ะไม่พยาบาท ไม่เคียดแค้ นชิงชัง ขัดเคือง หรือเพ่งมองผู้ อื่นในแง่ร้าย แต่กลับมีความเมตตาปรารถนาดีต้องการให้ ผ้ ูอ่นื มีความสุข เป็ นความด�ำริท่ปี ราศจากโทสะ ด�ำริท่จี ะไม่เบียดเบียน ไม่คิดร้ าย ท�ำร้ ายให้ ผ้ ูอ่นื ได้ รับความทุกข์ ด�ำริช่วยเหลือให้ ผ้ ูอ่นื พ้ นจากความทุกข์ เป็ นความด�ำริท่ปี ราศจากโทสะ เช่นเดียวกัน ๓.สัมมาวาจา เจรจาชอบ ได้ แก่ วจีสจุ ริต ๔ คือ เว้ นจากการ กล่าวเท็จ พูดตามความเป็ นจริง เมื่อรู้ส่งิ ใดก็พูดสิ่งนั้น ไม่เป็ นผู้กล่าวเท็จ ทั้งที่ร้ ู ไม่ว่าจะเพราะประโยชน์แห่งตน หรือผู้อ่นื หรือเพราะเห็นแก่อามิส สินจ้ าง เว้ นจากการกล่าววาจาส่อเสียด ไม่เอาความข้ างนี้ไปบอกข้ างโน้ น เอาความข้ างโน้ นมาบอกข้ างนี้ ด้ วยข้ อความที่ไม่ตรงกัน อันเป็ นเหตุให้ เกิดความเข้ าใจผิด เว้ นจากการกล่าวค�ำหยาบคาย กล่าวแต่ถ้อยค�ำที่น่ารัก สุภาพ ต่อคนทั้งหลาย เว้ นจากการกล่าวค�ำเพ้ อเจ้ อ เหลวไหล ไร้ สาระ พูดแต่เรื่องที่เป็ น อรรถ เป็ นธรรม เป็ นวินัย


18

๔.สัมมากัมมันตะ การกระท�ำชอบ ได้ แก่ กายสุจริต ๓ คือ เว้ นจากการฆ่าสัตว์ วางอาวุธ ละอายต่อการกระท�ำบาป มีใจ ประกอบด้ วยความเมตตา ใฝ่ ใจช่วยเหลือเกื้อกูลแก่ปวงสัตว์โลก เว้ นจากการลักทรัพย์ ไม่ถอื เอาทรัพย์ส่งิ ของที่เจ้ าของหวงแหน มิได้ ให้ ด้วยการขโมย ไม่ว่าของนั้นจะอยู่ในป่ า หรือในบ้ าน เว้ นจากการประพฤติผดิ ในกาม กับภรรยาสามีของผู้อ่นื ไม่ล่วง ละเมิดในหญิงที่มบี ดิ ามารดา หรือมีผ้ ูรักษา หญิงที่หมั้นหมายแล้ ว ๕.สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ ได้ แก่ อาชีพนั้นเว้ นจากกายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ ดังกล่าว และเว้ นจากการค้ าขาย ๕ ประการ คือ ค้ ามนุษย์ ขายศัสตราวุธ ขายสิ่งที่มชี ีวิต ขายสุราเมรัย และค้ ายาพิษ ๖.สัมมาวายามะ พยายามชอบ ได้ แก่ พยายาม ระวังบาปอกุศล ที่ยังไม่เกิดไม่ให้ เกิดขึ้น ๑ พยายาม ก�ำจัดอกุศล ที่เกิดแล้ วให้ หมดไป ๑ พยายาม เจริญกุศล ที่ยังไม่เกิดให้ เกิดขึ้น ๑ พยายาม รักษากุศล ที่เกิดขึ้นแล้ วให้ เจริญยิ่งขึ้น ๑ ๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ ได้ แก่ ระลึกด้ วยความถูกต้ อง ตามความ เป็ นจริง คือ สติ ที่เป็ นไปในกาย ชื่อว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน สติ ที่เป็ นไปในเวทนา ชื่อว่า เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน สติ ที่เป็ นไปในจิต ชื่อว่า จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน สติ ที่เป็ นไปในธรรม ชื่อว่า ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน


19

๘.สัมมาสมาธิ ตั้งจิตมั่นชอบ ความสงบแห่งจิต มีอารมณ์ ไม่ฟุ้งซ่าน ได้ แก่สมาธิในฌาน ๔ คือ ปฐมฌาน ทุตยิ ฌาน ตติยฌาน และ จตุตถฌาน ภิกษุท้งั หลาย เธอทั้งหลายพึงศึกษาและอบรมมรรคมีองค์ ๘ นี้ให้ มาก ย่อมท�ำกิเลสให้ ส้ นิ ไป เป็ นอิสสระ บรรลุถงึ จุดหมายคือพระนิพพาน พ้ นจากทุกข์ได้ ในที่สดุ (อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต เล่ม ๓ หน้ า ๑๓๘ – ๑๔๔ ฐานะสูตร)


20

ตายแล้วเกิด หรือตายแล้วไม่เกิด คณะสหายธรรม ถาม ได้ ยินโต้ เถียงกันเรื่องตายแล้ วเกิด ตายแล้ วไม่เกิด ต่างคน ต่างก็หาหลักฐานมาอ้ างอิง ผมจึงอยากฟังความเห็นของคณะสหายธรรม บ้ าง เพราะเชื่อว่าคงมีท่ไี ปที่มาจากพระไตรปิ ฎกมาให้ ฟัง ตอบ ความจริงการพูดว่าตายแล้ วเกิดก็ดี ตายแล้ วไม่เกิดก็ดี ถ้ าพูดลอยๆอย่างนี้ถอื ว่าพูดผิด ต้ องพูดว่าถ้ ามีเหตุปัจจัยให้ เกิดก็เกิด ถ้ าไม่มเี หตุปัจจัยให้ เกิดก็ไม่เกิด เพราะถ้ าหากพูดลอยๆว่าตายแล้ วเกิด จะเป็ นสัสสตทิฏฐิ หากพูดว่าตายแล้ วไม่เกิดหรือตายสูญเป็ นอุจเฉททิฏฐิ ทั้งนี้เพราะธรรมทั้งหลายมีเหตุเป็ นแดนเกิด การเกิด การตายก็เช่นกัน ต้ องมีเหตุปัจจัยให้ เกิดจึงเกิด ไม่มเี หตุปัจจัยให้ เกิดก็ไม่เกิด หรือหมดเหตุ ปัจจัยก็ไม่เกิด ในเรื่องนี้พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสไว้ ในที่หลายแห่ง และ ที่พิสจู น์การตาย การเกิดอย่างชัดเจนก็คือ เรื่องราวของพระองค์เองใน ขุททกนิกายชาดก ตั้งแต่สมัยที่ยังบ�ำเพ็ญบารมี คือยังเป็ นพระโพธิสตั ว์อยู่ ต้ องเกิด ต้ องตาย วนเวียนอยู่ในสุคติบ้าง ทุคติบ้าง ตลอดมาจนชาติ สุดท้ ายเป็ นเจ้ าชายสิทธัตถะ แล้ วจึงตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ า สิ้นกิเลสอันเป็ นเหตุให้ ต้องเกิดอีก ดังนั้นเมื่อดับขันธปรินิพพานแล้ ว จึงไม่ต้องเกิดอีกเลย ทั้งนี้เพราะเหตุ ปัจจัยที่จะให้ เกิดก็คือกิเลส พูดให้ ส้นั เข้ าอีกคือตัณหา พระผู้มพี ระภาค ตรัสไว้ ว่า ตัณหาเป็ นเหตุให้ เกิด เพราะฉะนั้น เมื่อดับตัณหาสิ้นแล้ วด้ วย อรหัตมรรคก็ไม่ต้องเกิดอีก ในตอนที่พระองค์ตรัสรู้ใหม่ๆ พระองค์ทรงเปล่งอุทานว่า เมื่อเรา แสวงหานายช่าง คือตัณหาผู้สร้ างเรือนยังไม่พบ จึงต้ องท่องเที่ยวไปสู่


21

สงสารนับชาติไม่ถ้วน การเกิดบ่อยๆเป็ นทุกข์ ดูก่อนนายช่างคือตัณหา ผู้สร้ างเรือน เราได้ พบท่านแล้ ว ท่านจักสร้ างเรือนไม่ได้ อกี แล้ ว ซี่โครง คือกิเลสทั้งมวลของท่านเราก็หักเสียแล้ ว ยอดเรือนคืออวิชชาเราก็ร้ ือ เสียแล้ ว จิตของเราถึงวิสงั ขารคือนิพพานแล้ ว ได้ ถงึ ความสิ้นไปแห่ง ตัณหาแล้ ว จากพระอุทานนี้กแ็ สดงว่า คนเราไม่ได้ เกิดหนเดียว แล้ วก็ไม่ เกิดอีก หากแต่ยังมีอวิชชาและตัณหาอยู่ตราบใดก็ยังต้ องเกิดอยู่ตราบนั้น เพราะฉะนั้นการเกิดบ่อยๆ จึงเป็ นทุกข์ การดับเสียได้ กส็ ้ นิ ทุกข์ ในวิมานวัตถุ พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสถึงบุคคลที่ทำ� บุญ มีทาน เป็ นต้ น แล้ วได้ เกิดในวิมาน คือในสวรรค์ไว้ เป็ นอันมาก ซึ่งก็แสดงว่าคนที่ ท�ำบุญนั้นยังท�ำบุญไม่ถงึ ที่สดุ คือยังไม่บรรลุอรหัตมรรค จึงได้ รับผลของ บุญนั้นด้ วยการเกิดในโลกสวรรค์ กับในเปตวัตถุ ได้ รับทุกข์ทรมานมาก ด้ วยผลของบาปกรรมที่ทำ� ไว้ ยังมีอกี มากมายหลายพระสูตรที่กล่าวถึง เรื่องเหล่านี้ อีกประการหนึ่ง ถ้ าท่านที่เชื่อว่าคนเราตายแล้ วสูญ คือเกิดกันหน เดียวตายหนเดียว ไม่มชี าติอดีตชาติอนาคตมีแต่ชาติปัจจุบนั อย่างเดียว ได้ โปรดพิจารณาถึงการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ าของเราแล้ ว ก็จะพบว่าใน วันตรัสรู้น้ัน ในปฐมยาม (ยามต้ น) พระองค์ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือญาณที่ระลึกชาติในหนหลังได้ ว่า ในอดีตท่านได้ เกิดเป็ นใคร อยู่ท่ไี หน มีผวิ พรรณอย่างไร เป็ นต้ น ครั้นถึงมัชฌิมยาม (ยามกลาง) พระองค์ ทรงบรรลุจุตปู ปาตญาณ คือญาณที่ร้ ถู งึ การตายและการเกิดของสัตว์ท้งั หลายว่า สัตว์ท้งั หลายตายแล้ วไปเกิดที่ไหน ด้ วยกรรมอะไร นี่กแ็ สดงว่า ในยามต้ นนั้น ทรงรู้ชาติก่อน ยามกลางทรงรู้ชาติหน้ า ครั้นถึงปัจฉิมยาม (ยามปลาย) จึงทรงบรรลุอาสวักขยญาณ ญาณที่ร้ ถู งึ ความสิ้นอาสวะกิเลส


22

แล้ วบรรลุเป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ า ผู้ทรงคุณประกอบด้ วย พระสัพพัญญุตญาณ คือญาณที่ทรงรอบรู้ธรรมทั้งปวง โดยไม่มีตดิ ขัด ไม่มอี ะไรมาขวางกั้น ถ้ าท่านยอมรับพระญาณทั้ง ๓ ในวันตรัสรู้แล้ ว ก็ เท่ากับท่านยอมรับว่านอกจากชาติปัจจุบนั แล้ ว ชาติอดีตก็มี ชาติอนาคตมี หากยังมีเชื้อคือกิเลสอันเป็ นเหตุให้ เกิด แต่ถ้าท่านเหล่านั้นยังปฏิเสธการ ตายแล้ วเกิด เมื่อยังมีเหตุปัจจัยให้ เกิด ก็เท่ากับว่าท่านได้ ปฏิเสธญาณคือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ และจุตปู ปาตญาณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าด้ วย เมื่ อ เป็ นเช่ น นั้ น ท่ า นเหล่ า นั้ น จะชื่ อ ว่ า นั บ ถือ พระพุ ท ธเจ้ า เป็ นสรณะได้ อย่างไร ในเมื่อปฏิเสธพระปัญญาตรัสรู้ของพระองค์ ในอนมตัคคสังยุตแห่งสังยุตตนิกาย นิทานวรรค ข้ อ ๔๒๑ เป็ นต้ น พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสถึงสงสาร คือความสืบต่อของขันธ์ ของอายตนะ เป็ นต้ น ที่สบื ต่อกันเป็ นล�ำดับชาติแล้ วชาติเล่าว่า ไม่สามารถจะก�ำหนด เบื้องต้ นและเบื้องปลายได้ แม้ จะตามก�ำหนดด้ วยญาณตลอดร้ อยปี พันปี หรือนานกว่านั้น ก็ไม่อาจทราบถึงที่สดุ ของเบื้องต้ นและเบื้องปลายของ สงสารได้ เพราะความที่สตั ว์เกิดกันมานานมากจนไม่อาจจะสืบสาวเข้ าไป หาเบื้องต้ นของการเกิดได้ โดยพระองค์ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย สงสารนี้กำ� หนดที่สดุ เบื้องต้ นเบื้องปลายไม่ ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผ้ ูมอี วิชชาเป็ นที่กางกั้น มีตณ ั หาเป็ นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สดุ เบื้องต้ นย่อมไม่ปรากฏ แล้ วทรงอุปมาให้ ฟังว่า เหมือนอย่างว่า บุรษุ ตัดทอนหญ้ า ไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ ในชมพูทวีปนี้ แล้ วจึง รวมกันไว้ ครั้นแล้ วพึงกระท�ำให้ เป็ นมัดๆ มัดละ ๔ นิ้ว วางไว้ สมมติว่า นี้ เป็ นมารดาของเรา นี้เป็ นมารดาของมารดาของเรา โดยล�ำดับ มารดาของ มารดาของบุรษุ นั้นไม่พึงสิ้นสุด ส่วนว่าหญ้ า ไม้ กิ่งไม้ ใบไม้ ในชมพูทวีป พึงถึงความหมดสิ้นไปเสียก่อน ข้ อนั้นเพราะเหตุไร เพราะว่าสงสารนี้ ก�ำหนดที่สดุ เบื้องต้ น ท่ามกลาง และเบื้องปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผ้ ูมี


23

อวิชชาเป็ นที่กางกั้น มีตณ ั หาเป็ นเครื่องประกอบไว้ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ที่สดุ เบื้องต้ นย่อมไม่ปรากฏ พวกเธอได้ เสวยความทุกข์ ความเผ็ดร้ อน ความพินาศ ได้ เพิ่มพูนปฐพีท่เี ป็ นป่ าช้ าตลอดกาลนาน เหมือนฉะนั้น ดูก่อนภิกษุท้งั หลาย ก็เหตุเพียงเท่านั้น พอทีเดียวที่จะเบื่อหน่ายในสังขาร ทั้งปวง พอเพื่อจะคลายก�ำหนัด พอเพื่อจะหลุดพ้ น ดังนี้ จากพระด�ำรัสของพระผู้มพี ระภาคเจ้ านี้จะเห็นได้ ว่า สัตว์โลกทั้ง หลายล้ วนได้ เกิดกันมานานมาก จนไม่อาจก�ำหนดที่สดุ ของเบื้องต้ นได้ ทั้งไม่อาจจะก�ำหนดที่สดุ ของเบื้องปลายได้ ว่า เมื่อไรจะสิ้นสุด ในเมื่อสัตว์ ทั้งหลาย ยังมีอวิชชาและตัณหาครอบง�ำอยู่ ในที่น้ ีพระผู้มพี ระภาคเจ้ า ตรัสให้ ทราบว่า สัตว์ท้งั หลายต้ องเกิดเพราะมีเหตุปัจจัยให้ เกิด เหตุปัจจัย นั้นคืออวิชชาและตัณหา สิ้นอวิชชาและตัณหาอันเป็ นเหตุปัจจัยเมื่อใด สัตว์ท้งั หลายก็ไม่ต้องเกิด สัตว์ท่ไี ม่ต้องเกิดอีกนั้นชื่อว่าได้ ทำ� สงสารให้ ส้ นิ สุดลงแล้ ว ที่สดุ เบื้องปลายของสงสารปรากฏแล้ ว ก็ในอนมตัคคสังยุตนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงแสดงถึงความยาวนานของสงสารด้ วยอุปมามาก หลาย แต่เพียงที่นำ� มาอ้ างแล้ วนี้ ก็พอเป็ นเครื่องชี้ชัดว่า สัตว์ท้งั หลายรวม ทั้งคนเราด้ วย ได้ ตายแล้ วเกิด ตายแล้ วเกิด กันมานานจนนับไม่ได้ ได้ ทอด ทิ้งซากศพทับถมป่ าช้ ามานมนาน คือนมนานมากพอที่จะเกิดความเบื่อ หน่ายในสังขาร คือขันธ์ห้าอันประกอบกันเป็ นคนเป็ นสัตว์น้ ีเสีย ท่านที่ยังไม่เชื่อเรื่องตายแล้ วเกิด เมื่อมีเหตุปัจจัยให้ เกิด เมื่อได้ ฟังที่มาที่ไป ที่คณะยกมาจากพระไตรปิ ฎกแล้ ว ไม่ทราบว่าจะยังยืนยัน ความคิดเดิมอยู่หรือไม่ ถ้ ากระไรลองฟังข้ อความที่พระผู้มพี ระภาคเจ้ า ตรัสไว้ ในอังคุตตรนิกายเอกนิบาต เอกธัมมาทิบาลี อีกสักนิด ตอนหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคเจ้ าตรัสว่า


24

สัตว์ท่จี ุตจิ ากมนุษย์กลับมาเกิดเป็ นมนุษย์มเี ป็ นส่วนน้ อย สัตว์ท่ี จุตจิ ากมนุษย์ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากมนุษย์ไปเกิดในเทพยดามีเป็ นส่วนน้ อย สัตว์ท่จี ุตจิ าก มนุษย์ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่า โดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากเทพยดา กลับมาเกิดในเทพยดา มีเป็ นส่วนน้ อย สัตว์ ที่จุตจิ ากเทพยดาไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากนรก กลับมาเกิดเป็ นมนุษย์ มีเป็ นส่วนน้ อย สัตว์ ที่จุตจิ ากนรก ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากก�ำเนิดเดียรัจฉาน ไปเกิดในมนุษย์ มีเป็ นส่วนน้ อย สัตว์ท่จี ุตจิ ากก�ำเนิดเดียรัจฉาน ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากก�ำเนิดเดียรัจฉาน ไปเกิดในเทพยดา มีเป็ นส่วนน้ อย สัตว์ท่จี ุตจิ ากก�ำเนิดเดียรัจฉาน ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากปิ ตติวิสยั กลับมาเกิดเป็ นมนุษย์มเี ป็ นส่วนน้ อย สัตว์ท่ี จุตจิ ากปิ ตติวิสยั ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้ สัตว์ท่จี ุตจิ ากปิ ตติวิสยั ไปเกิดใน เทพยดามีเป็ นส่วนน้ อย สัตว์ท่จี ุตจิ าก ปิ ตติวิสยั ไปเกิดในนรก เกิดในก�ำเนิดเดียรัจฉาน เกิดในปิ ตติวิสยั มากกว่าโดยแท้


25

เปรียบเหมือนในชมพูทวีปนี้มสี ่วนที่น่ารื่นรมย์ มีป่าที่น่ารื่นรมย์ มี ภูมิประเทศที่น่ารื่นรมย์ มีสระโบกขรณีท่นี ่ารื่นรมย์ เพียงเล็กน้ อย มีท่ี ดอน ที่ลุ่ม เป็ นล�ำน�ำ้ เป็ นที่ต้งั แห่งตอและหนาม มีภเู ขาระเกะระกะ โดย แท้ ฉะนั้น ทั้งหมดนี้คือ พระด�ำรัสของพระผู้มพี ระภาคเจ้ าที่ตรัสแก่ภิกษุ ทั้งหลาย ซึ่งแสดงให้ เห็นว่า สัตว์ท่เี กิดอยู่ในสุคติเป็ นมนุษย์และเทวดา แล้ ว ตายไปที่จะได้ กลับไปเกิดในสุคติเป็ นมนุษย์และเทวดาอีกนั้น มีน้อย คือเป็ นไปได้ ยากนั่นเอง แต่ตายแล้ วไปเกิดในอบาย คือในนรก เปรต เดรัจฉานนั้นมากกว่า นี่กเ็ ป็ นการแสดงถึงสัตว์ท่จี ุติ คือ ตายแล้ วว่ายังต้ อง เกิดอีก เมื่อมีเหตุปัจจัยให้ เกิด แต่ยากนักที่จะได้ ไปเกิดในภพภูมทิ ่ดี ี ส่วน มากนั้นมักจะไปเกิดในภูมติ ่ำ� เป็ นทุคติภมู เิ สียเป็ นส่วนมาก เพราะฉะนั้น สัตว์ตายแล้ วไม่สญ ู แน่ หากยังท�ำลายอวิชชาและตัณหาให้ ส้ นิ ไปไม่ได้ อีกประการหนึ่ง พระผู้มพี ระภาคตรัสถึงบุคคลที่บรรลุมรรคผล ขั้นต้ น เป็ นพระโสดาบันว่า จะเกิดในมนุษย์และเทวดาอีกไม่เกิน ๗ ชาติ แล้ วจักปรินิพพาน พระสกทาคามีจะกลับมาเกิดในโลกนี้อกี ครั้งเดียวแล้ ว จักปรินิพพาน พระอนาคามีไม่กลับมาเกิดในโลกนี้อกี แต่เกิดในพรหม โลก แล้ วปรินิพพานในพรหมโลกนั้นเอง ส่วนพระอรหันต์ปรินิพพานแล้ ว ไม่เกิดอีกเลย เพราะฉะนั้น ท่านใดที่อ้างว่าตายแล้ วไม่เกิด ก็แสดงว่า ท่านเป็ น พระอรหันต์แล้ ว เพราะถ้ าเป็ นพระโสดาบัน พระสกทาคามีและพระ อนาคามีกย็ ังต้ องเกิด ยิ่งถ้ าเป็ นปุถุชนแล้ ว ตายแล้ วจะไม่เกิดอีกนั้นเป็ น ไปไม่ได้ เลย เพราะยังบริบูรณ์ท้งั กรรมและกิเลสอันเป็ นเหตุปัจจัยให้ เกิด


26

อยากเกิดทีไ่ หน คุณเลือกได้ ตอนที่ ๑

พระวรฤทธิ์ โอภาโส

เจริญพรผู้อ่าน อาตมาขอเป็ นก�ำลังใจให้ ทุกคนท�ำชีวิตตนให้ มี ความสุขที่แท้ จริง คือความสุขใจด้ วยบุญนั่นเอง เพราะความสุขที่องิ ด้ วย วัตถุส่งิ ของเป็ นความสุขที่ไม่จีรังยั่งยืน แต่ความสุขทางใจที่เป็ นบุญกุศล คือความสุขที่ย่ังยืน ฉบับนี้จะเป็ นธรรมะเรื่องการเลือกหนทางที่จะไปเกิด ในที่ต่างๆทั้ง ๓๑ ภูมิ และการไปพระนิพพาน ไม่มกี ารเกิดอีกต่อไป เส้นทางที่ ๑ การไปเกิดในนรก ถึงคุณไม่ต้องการไป แต่ถ้าคุณท�ำ สิ่งนี้ คุณก็มสี ทิ ธิไป เท่ากับว่าคุณก�ำลังเลือกที่จะไปเกิดที่ภมู ินรก กล่าว คือ การที่คุณกระท�ำบาปด้ วยอ�ำนาจโทสะ คือ ความโกรธ ความอาฆาต พยาบาท ความไม่พอใจ ความหงุดหงิด ความกลัว ความระแวง ความ กระวนกระวายทั้งทางกาย วาจา ใจ ก็ตาม ถ้ าการกระท�ำนั้นมีอำ� นาจพอที่ จะน�ำไปสู่อบาย คุณก็ต้องไปเกิดในนรก และถ้ าบุคคลในสมัยใด ได้ ส่งั สม อกุศลด้ วยอ�ำนาจโทสะมามากในอดีต เมื่อมาเกิดในปัจจุบนั คนในยุค นั้นจะมากไปด้ วยการรบราฆ่าฟันประหัตประหาร ก่อสงครามต่อกัน มี แต่ความไม่สงบสุข ซึ่งบุคคลในยุคของเราในปัจจุบนั นี้กด็ ูว่าจะเป็ นเช่น นั้น และยังไม่มคี วามรู้ความเข้ าใจที่แท้ จริง จึงยังคงท�ำบาปเพิ่มเติมด้ วย อ�ำนาจโทสะอีก ซึ่งจะพาบุคคลนั้นไปสู่นรก แล้ วเมื่อได้ มาเกิดเป็ นมนุษย์ อีกครั้ง ก็จะมาเกิดในยุคที่มสี งครามอีก เส้ นทางที่ ๒ การไปเกิดเป็ นเปรตและอสุรกาย คือการที่คุณสั่งสม การกระท�ำบาปด้ วยอ�ำนาจโลภะ คือ ความโลภ ความอยากได้ ความติดใจ ในสิ่งต่างๆ ความพอใจในกามคุณอารมณ์ต่างๆ กามคุณอารมณ์ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส มิใช่หมายถึงเฉพาะการมีเพศสัมพันธ์เท่านั้น ทาง กาย วาจา ใจ ถ้ ามีความไม่ชอบธรรม มีพลังอ�ำนาจของบาปพอ


27

จะสามารถน�ำคุณไปสู่อบายภูมิ คุณก็ไปเกิดเป็ นเปรต หรือ อสุรกายได้ และถ้ าบุคคลในสมัยใด ได้ ส่งั สมอกุศลด้ วยอ�ำนาจโลภะมามากในอดีต เมื่อมาเกิดในปัจจุบนั คนในยุคนั้นจะมากไปด้ วยความอดอยาก ข้ าวยาก หมากแพง หิวโหย เศรษฐกิจฝื ดเคือง เกิดการแก่งแย่งการอยู่การกินซึ่ง กันและกัน ยุคปัจจุบนั มีมาก เพราะคนมักไม่ร้ จู ักพอ ถึงมีสมบัตมิ าก ก็ยัง คงอยากได้ มากขึ้นไปอีก รวยแล้ วอยากรวยให้ มากกว่าเดิมอีก ท�ำให้ ความ เป็ นอยู่ของคนในปัจจุบนั ยิ่งมีแต่ความล�ำบาก เป็ นหนี้เป็ นสินกันมากขึ้น เพราะความฟุ่ มเฟื อย ไม่ร้ จู ักพอ มีน้อยแต่ใช้ จ่ายมาก อยู่แบบพออยู่พอ กินไม่เป็ น พยายามหลอกล่อให้ เกิดโลภะกันมากขึ้น ทั้งการโฆษณา การ ลดแลกแจกแถม ล้ วนเป็ นกลยุทธที่ต้องการให้ คนเกิดความอยากมากขึ้น สุดท้ ายก็แย่ด้วยกันหมดทุกคน สั่งสมความโลภมากๆ ชาติหน้ าก็มโี อกาส ไปเกิดเป็ นเปรต หรืออสุรกาย เมื่อพ้ นจากความเป็ นเปรต หรืออสุรกาย แล้ ว กลับมาเกิดเป็ นมนุษย์ ก็จะมาอยู่ในยุคที่ข้าวยากหมากแพง มีแต่ ความหิวโหย อดอยากอีกครั้ง เส้ นทางที่ ๓ การไปเกิดเป็ นสัตว์เดรัจฉาน คือการที่คุณสั่งสมการ กระท�ำบาปด้ วยอ�ำนาจโมหะ คือ ความหลง ความโง่ ความไม่ร้ ตู ามความ เป็ นจริง (ไม่ใช่ความโมโห เพราะ โมโห คือ โทสะ) โมหะเป็ นความสงสัย ความไม่เข้ าใจว่าที่จริงแล้ ว สัตว์ บุคคลต่างๆ ล้ วนแต่เป็ นเพียงรูปนาม ที่ เกิดดับติดต่อกันอยู่ตลอดเวลานั่นเอง มิใช่ส่งิ ที่เราควรยึดว่าเป็ นตัวตน ของเราที่แท้ จริง การที่คุณท�ำบาปทางกาย วาจา ใจ ด้ วยความสงสัย ไม่ร้ ู ตามความเป็ นจริง ก็มสี ทิ ธิไปเกิดเป็ นสัตว์เดรัจฉานได้ ถ้ าบาปนั้นมีอำ� นาจ พอที่จะน�ำเกิด เช่นในสมัยก่อน ที่มชี ายหนุ่มผู้หนึ่ง ในเวลาใกล้ ตาย เกิด เห็นสุนัขได้ รับการดูแลเอาใจใส่จากเจ้ าของอย่างดี เกิดความรู้สกึ ว่าเป็ น สุนัขนี้ได้ กนิ ดีอยู่ดี จิตใจชอบในความเป็ นอยู่ท่ดี ขี องสุนัข เมื่อตายแล้ วจึง


28

ไปเกิดเป็ นสุนัข เขาหารู้ไม่ว่า การที่สนุ ัขนั้นได้ รับการดูแลเอาใจใส่อย่างดี เกิดจากอ�ำนาจบุญเก่าในอดีตที่สนุ ัขได้ กระท�ำไว้ ส่วนการเกิดเป็ นสุนัขเป็ นอ�ำนาจบาปเก่าในอดีตประเภทโมหะนี้เอง เพราะ ความไม่ร้ ขู องเขาแท้ ๆ เขาจึงไปเกิดเป็ นสุนัขในชาติต่อมา ส่วนบุคคลในสมัยใด ได้ ส่งั สมอกุศลด้ วยอ�ำนาจโมหะมามาก ในอดีต เมื่อมาเกิดในปัจจุบนั คนในยุคนั้นจะมากไปด้ วยโรคภัยไข้ เจ็บ ประเภทต่างๆ มากมาย และเกิดภัยธรรมชาติต่างๆอยู่เสมอ ซึ่งดูในยุค ปัจจุบนั ก็จะเห็นว่าคนในยุคนี้ คงเกิดจากเมื่อในอดีตได้ ส่งั สมโมหะมา มากเช่นกัน เพราะยุคนี้โรคภัยไข้ เจ็บประเภทต่างๆ เพิ่มเติมมากขึ้น ทั้ง โรคเอดส์ โรคซาร์ โรคไข้ หวัดนก โรคมะเร็ง โรคต่างๆพัฒนากันมากขึ้น ทุกที คนต้ องมาคอยวิจัยหายารักษาโรคตลอดเวลา ซึ่งที่จริงแล้ ว ศีลธรรม ในจิตใจเรานี่แหละรักษาโรคได้ และในปัจจุบนั เมื่อบุคคลสั่งสมอ�ำนาจ โมหะมากขึ้น ก็มสี ทิ ธิไปเกิดเป็ นสัตว์เดรัจฉาน และเมื่อกลับมาเกิดเป็ น มนุษย์อกี ย่อมมาเกิดในยุคที่มโี รคภัยไข้ เจ็บมากมาย และมีความหลงกัน มากอยู่เสมอ ดังนั้นการไปเกิดในภูมิต่างๆเป็ นไปด้ วยการเลือกของตัวเราเอง ที่เลือกไปเกิดโดยการกระท�ำบุญบาปของเราเอง ด้ วยอ�ำนาจของอกุศลที่ เราท�ำจะน�ำให้ เราต้ องไปเกิดในอบายภูมิและยังต้ องท�ำให้ เรามีชีวิตอยู่ใน ยุคที่ประสบชะตากรรมที่ไม่ดี อยู่ด้วยความยากล�ำบาก เหตุน้ ีคุณยังคิดจะ เลือกเส้ นทางเหล่านี้อกี หรือ ดังนั้นจึงควรสั่งสมบุญบ่อยๆ ลดละความโลภ ความโกรธ ความหลง เสียบ้ างก็จะดี เจริญพร


29


30

ขอเชิญร่วมบริจาคสมทบทุนสร้างศาลาการเปรียญ ณ วัดจากแดง

ติดต่อขอร่วมบริจาคได้ที่ ฝ่ ายประชาสัมพันธ์วดั จากแดง 02-464-1122, 02-462-5928 หรือโอนเข้าบัญชีชื่อพระมหาประนอม, พระธิติพงศ์, นายอัคเดช เลขทีบ่ ญ ั ชี 037-1-47659-4 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาพระประแดง

ขอเรียนเชิญท่านสาธุชน ร่วมท�ำบุญทอดผ้าป่ าสามัคคี

จ� ำนวน ๘๔,๐๐๐ กองๆละ ๕๐๐ บาท

เพือ่ จัดซื้ อทีด่ ินส�ำหรับสร้างศูนย์ปฏิบตั ิธรรมและโรงเรียนพระปริยตั ิธรรม

ติดต่อขอร่วมบริจาคได้ที่ ฝ่ ายประชาสัมพันธ์วดั จากแดง 02-464-1122, 02-462-5928 หรือโอนเข้าบัญชีกองทุนจัดซื้ อทีด่ ิน ชื่อบัญชีพระมหาประนอม, อ.อิศริยา, คุณสรณา เลขทีบ่ ญ ั ชี 742-2-25200-7 ธนาคารกสิกรไทย สาขาย่อยบิ๊กซี


ข่าวประชาสัมพันธ์

- ขอเชิญสาธุชนร่วมสวดมนต์ทำ� วัตรแปล สาธยายพระปริตร เจริญจิตภาวนา แผ่เมตตา ฟังธรรมบรรยาย ร่วมกับคณะสงฆ์วัดจากแดง ณ ศาลาท�ำบุญ ทุกวันอาทิตย์ และวันพระ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๐.๔๕ น. ๑๒.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ณ วิหารหลวงพ่อหิน ทุกวัน เวลา ๐๗.๓๐ - ๑๙.๐๐ น. - ขอเชิญร่วมบูชาพระเจดีย์ ทุกวันอาทิตย์ และวันพระ เพื่อร่วมสืบสานประเพณีอนั ดีงามของ บัณฑิตทั้งหลาย เวลา ๑๙.๐๐ - ๐๙.๔๐ น. ถือศีล ๘ ในวันพระ - ขอเชิญรับฟังรายการธรรมะทางวิทยุชุมชนเพื่อพระพุทธศาสนาและสังคม วัดจากแดง คลื่นเอฟเอ็ม 96.75 MHz ได้ ทุกวันตั้งแต่เวลา ๐๔.๐๐ - ๒๓.๐๐ น. และรับฟังรายการธรรมะผ่านระบบอินเตอร์เน็ทได้ ท่ี www.bodhiyalai.org


32

รายนามเจ้าภาพน�้ำปานะและอื่นๆ เดือนเมษายน ๒๕๕๕ ๏ พระมหาไพบูลย์ พุทธฺ วิริโย ๏ หม่อมหลวงสุพิชาน์ ทองใหญ่ ๏ พลโทนรวีร์ - คุณเสริมสุข ปัทมสถาน ๏ พล.ต.ต. สพรั่ง - คุณณัทภรณ์ อุณปาทร ๏ คุณชวลิต - คุณลลิญตา ปรีตะนนท์ ๏ คุณทวีชัย - กัณยาณี คงเจริญสุขยิ่ง ๏ คุณยาใจ จารุวัฒนะ ๏ คุณสุรเสฏฐ์ จารุวัฒนะ ๏ คุณนิคม - คุณปิ ยะจิต ทาแดง ๏ คุณกุลชลี พจน์ชัยดี ๏ คุณชานัท ธรรมพรหมกุล ๏ คุณไอรินทร์ ลีน่า ๏ คุณนิจิตกร ทิพรัตน์

๏ ชมรมพุทธธรรมรามค�ำแหง ๏ คุณแม่เสงี่ยม ศรีอนันต์ และครอบครัว ๏ คุณกิ่งกาญจน์ อารักษ์พุทธนันท์ ๏ คุณณรงค์ศกั ดิ์ เตชะไกรศรี ๏ คุณประภาศรี วู ๏ คุณทิพพา วันวิเวก ๏ คุณวิชัย อัจฉริยเสถียร ๏ คุณอิษณี อุลปาธรณ์ ๏ คุณผกาศรี เล็กสกุลชัย ๏ คุณศิริอร วัดล้ อม ๏ คุณเพ็ญศรี บุญญรัตน์ และคณะ ๏ คุณต่อพงษ์ - รัทธิญา ๏ คุณสรณา จิรารัตน์สกุล

และผูท้ ่ มี ิได้เอ่ ยนำมทุกท่ำน


33

รายนามเจ้าภาพภัตตาหาร เดือนเมษายน ๒๕๕๕ ๏ หม่อมหลวงสุพิชาน์ ทองใหญ่ และครอบครัว ๏ อาจารย์อศิ ริยา นุตสาระ และคณะ ๏ แพทย์หญิงสดใส เวชชาชีวะ ๏ คุณแม่เสงี่ยม ศรีอนันต์ และครอบครัว ๏ คุณกิ่งกาญจน์ อารักษ์พุทธนันท์ ๏ คณะอาจารย์ธรรม นิยมกิจสัมฤทธิ์ ๏ คุณประภาศรี วู ๏ คุณปนัดดา แซ่โล้ ว ๏ คุณธราดล โตศุกลวรรณ์ และครอบครัว ๏ คุณยายตุ๊ สร้ อยทอง ๏ คุณกาญจนา เอี่ยมทับทิม ๏ คุณสกนธ์รัตน์ จารุเจตรังสรรค์ ๏ V.T. (GARMENT) CO.,LTD. ๏ ครอบครัววิไลเลิศวัฒนา ๏ คุณมะลิวัลย์ สหัสสุขมั่นคง ๏ คุณศรีสวุ ัฒน์ เอี่ยมเจริญ ๏ คุณศักดิ์ศรี ปาณะกุลอุทศิ - คุณวิภา คูตระกูล คุณซิม - คุณอยู่จงสือ ปาณะกุล ๏ คุณธิดารัตน์ ศรีวัฒน์ธนรัตน์ ๏ คุณนิพนธ์ เตือนในยา ๏ คุณพรพิมล อัมพรโกศลกิจ และครอบครัว ๏ คุณต่อพงศ์ - คุณรักธิญา และครอบครัว ๏ คุณวิชญา ซาโต ๏ คุณศรัณย์ธร วัฒนาพร (วันเกิด) ๏ คุณชวนชื่น ชีวะกานนท์ ๏ คุณอภิลักษณ์ ณ นคร ๏ คุณสุภาพร ตั้งสุขสว่างพร ๏ คุณสุธี - คุณสมศักดิ์ ธัญคุณากร และครอบครัว อุทศิ ให้ คุณหมุยฮั้ง ธัญคุณากร ๏ คุณชัญญาพร เขจรดวง - คุณสุภาภรณ์ เชาวกิจ คุณสุดาภรณ์ ต่วนชะเอม คุณฉัฐกนก วาณิชกรพิพัฒน์

๏ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ๏ ชุมนุมพุทธธรรมศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล กลุ่มผู้เรียนทศบารมี และผู้มกี ุศลจิต ๏ ครอบครัวเผือกประเสริฐ - ฟูทองรอด ๏ คุณสุรศักดิ์ จินาพันธ์ ๏ ครอบครัวงามสันติสขุ , ครอบครัวฉวีวาณิชยกุล ครอบครัวมุมทอง, ครอบครัวเฟื่ องจินดาวงศ์, ครอบครัวสรสรรเสริญ ๏ คุณสรณา จิรารัตน์สกุล ๏ คุณวรภาส มหัทธโนบล อุทศิ ให้ นายปอ แซ่ต้งั ๏ คุณประเวศ - คุณศิริกาญจน์ คหัฏฐา, คุณอ�ำไพ - ร.ต.สวาท มั่งเจริญ ๏ คุณกัญญา บุญมาก อุปสมบทพระอาคมมงคลชัย พันหอม ๏ คุณกฤษณะ บุญเกิด อุทศิ ให้ คุณแม่กานต์ระวี อ่อนแรง ๏ คุณช่อลัดดา จันทรดิลกรัตน์ - คุณชวลี แซ่อ้งั อุทศิ ให้ คุณแม่เมี่ยวลั้ง แซ่จัง, คุณพ่อเกียงหยวย และบรรพบุรษุ ผู้ล่วงลับ ๏ คุณเยาวลักษณ์ วรรธนะพิศษิ ฐ์ อุทศิ ให้ คุณพ่อบุญเจ้ า แซ่ฮ้อ ๏ พ.ต.อ. ศุภรกฤษฏิ์ ประชากิตติกุล และคณะข้ าราชการต�ำรวจ สภอ.พระประแดง ๏ คุณพรไพเราะ ตันติกุลสุนทร(วันเกิด) และครอบครัว ๏ คุณสายชล สุกาญจนกุล (อุปสมบท) และครอบครัว ๏ คุณศรัณย์ธร วัฒนาพร บังสุกุลอุทศิ ให้ แด่ คุณพ่อสุข, คุณศิริวัฒน์, คุณภิญโญ, ดร.สมใจ ๏ คุณอณิชา ไพศาลอุทยั กุล - คุณณัฐศักย์ ตันตยานุพนธ์ ๏ คุณเอกชัย - คุณอรชร - คุณกมล - คุณสงวนศรี ด.ญ. อมรา - ด.ช. จรัญพัฒน์ โควาวิสารัช และครอบครัว ๏ คุณมนูญ - รศ.นงนารถ - คุณจันทิภา เดชณรงค์ คุณอภิชาติ - คุณจิรยุทธ์ - คุณโสภา สุขมุ าลจันทร์ และครอบครัว

และผูท้ ่ มี ิได้เอ่ ยนำมทุกท่ำน





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.