เน
เน
เน
๔
บทนา สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน เรามาพบกันอีกครั้งในจุลสารโพธิยาลัย ฉบับที่ ๓ ในฉบับนี้ ตรงกับเดือน ๓ หรือที่อดีตสมัยพุทธกาลท่านเรียกว่า มาฆมาส ซึ่งเป็ นเดือนที่มีความสําคัญต่อพระพุทธศาสนาของเรามากส่วน จะมีความสําคัญ และมีประวัติความเป็ นมาอย่างไรนั้นสามารถติดตามอ่าน ได้ ในฉบับนี้ ส่วนเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นแง่มุมเกี่ยวกับภาษาบาฬี ชาดก หรือปกิณกธรรมต่างๆ ก็ยังมีอยู่เช่นเดิม ในการจัดทําจุลสารฯแต่ละฉบับนั้น ทางคณะผู้จัดทําใคร่ขอคําชี้แนะ หรือข้ อติชมจากท่านผู้อ่านบ้ าง เพื่อเป็ นกําลังใจ และเป็ นแรงผลักดันให้ สามารถผลิตจุลสารฯที่มีคุณภาพมากขึ้น ท่านผู้อ่านสามารถติชม หรือส่ง ข้ อคิดเห็นได้ ท่ี Email: bodhiyalai.magazine@gmail.com ทางคณะ ผู้จัดทําขอน้ อมรับข้ อคิดเห็นทุกประการ ในฉบับหน้ า ทางคณะผู้จัดทํามีโอกาสได้ ไปนมัสการสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล ณ ประเทศอินเดีย - เนปาล จะมีเรื่องราวอะไรมาเล่าสู่กนั ฟัง ก็ ขอให้ ท่านผู้อ่านได้ ติดตามในฉบับหน้ า ท่านผู้อ่านท่านใด ประสงค์จะร่วมสมทบทุนสร้ างศาลาการเปรียญ ขอเชิญร่วมบริจาคได้ ฝ่ายประชาสัมพันธ์วดั จากแดง 02-464 1122 หรือ โอนผ่านธนาคารได้ ท่ี ชื่อบัญชี พระมหาประนอม, พระธิติพงศ์, อัคเดช เลขที่บัญชี 037-1-47659-4 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาพระประแดง คณะผู้จัดทํา bodhiyalai.magazine@gmail.com
มาฆบูชา
๕
คําว่า มาฆบูชา เป็ นชื่อของพิธบี ูชาและการ ทําบุญในพระพุทธศาสนาอย่างหนึ่ง ซึ่งปรารภการ ประชุมของพระสาวก ที่เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต มาฆบูชา ย่อมาจาก มาฆปุณณมีบูชา แปลว่า การบูชาในวันเพ็ญเดือนมาฆะ (เดือน ๓) วันเพ็ญเดือน ๓ นี้ เป็ นวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนาเป็ นวันที่พระพุทธองค์ทรงประทาน โอวาทปาติโมกข์ โดยมีองค์ประกอบ ๔ อย่าง ที่เรียกว่าจาตุรงสันนิบาต คือ ๑. พระสาวกทั้งหลายที่ประชุม ในวันนั้นล้ วนเป็ นเอหิภิกขุอปุ สัมปทา ๒. พระสาวกเหล่านั้นล้ วนเป็ นพระอรหันต์ ผู้ได้ อภิญญา ๖ ทั้งสิ้น ๓. พระสาวกที่ประชุมกันวันนั้นมี จํานวนถึง ๑,๒๕๐ องค์ โดยมิได้ นัดหมาย ๔. เป็ นวันอุโบสถ ๑๕ คํ่า วันเพ็ญ เดือนมาฆะ พระจันทร์เต็มดวงบริบูรณ์ การประชุมเช่นนี้ การประชุมครั้งสําคัญที่สดุ ใน มีครั้งเดียวในศาสนานี้ สมัยพุทธกาลที่เรียกว่า เป็นการประชุมครั้งสาคัญ “จาตุรงคสันนิบาต”นี้ ได้ มีข้ นึ ณ พระ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง โอวาทปาติโมกข์ เวฬุวันมหาวิหาร ใกล้ กรุงราชคฤห์ ซึ่งเป็ นเมืองหลวงของแคว้ นมคธ เริ่มแต่ตะวันบ่ายก่อนคํ่า ของวันเพ็ญ เดือน ๓ ในปี แรกที่พระพุทธเจ้ าตรัสรู้ คือหลังจากตรัสรู้ ๙ เดือน
๖ คําว่า โอวาทปาติโมกข์ แปลว่า โอวาทที่เป็ นประธาน หรือคําสอนที่เป็ นหลักใหญ่ หมายถึงธรรมที่เป็ นหลัก สําคัญของพระพุทธศาสนา สาธุชนนิยมเรียก โอวาทปาติโมกข์น้ วี ่า “เป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา”
ความในโอวาทปาติโมกข์แบ่งเป็ น ๓ ตอน พระ พุทธองค์ตรัสเรียงลําดับกันเป็ น ๓ คาถา พระคาถาแรกความว่า ความอดทน คือความอดกลั้น เป็ นตบะอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้ าทั้งหลาย ตรัสนิพพานว่ายอดเยี่ยม ผู้ทาํ ร้ ายผู้อนื่ หาได้ เป็ นบรรพชิตไม่ ผู้เบียดเบียนผู้อื่น หาได้ เป็ นสมณะไม่ พระคาถาทีส่ องความว่า การไม่ทาํ บาปทั้งปวง ๑ การยังกุศลให้ ถงึ พร้ อม ๑ การทําจิตของตนให้ ผ่องใส ๑ นี่คือคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้ าทั้งหลาย พระคาถาทีส่ ามความว่า การไม่กล่าวร้ าย ๑ การไม่ทาํ ร้ าย ๑ การสํารวมในพระปาติโมกข์ ๑ ความเป็ นผู้ร้ ูจักประมาณในอาหาร ๑ ที่นอน ที่น่งั อันสงัด ๑ การประกอบความเพียรในอธิจิต ๑ นี่คือคําสั่งสอนของพระพุทธเจ้ าทั้งหลาย
๗ ความในพระคาถาแรก พระพุทธเจ้ าตรัสเพื่อแสดงหลักการและแนวทาง ที่เป็ นลักษณะเฉพาะของพระพุทธศาสนา ซึ่งทําให้ สามารถแยกจากลัทธิศาสนาที่ พระพุทธศาสนาไม่ยอมรับ ตอนแรกที่ตรัสว่า“ความอดทน” คือพระองค์ตรัสเพื่อแสดงให้ เห็นว่า การบําเพ็ญตบะของนักบวชทั้งหลายที่นิยมทรมานตนเองด้ วยวิธกี ารต่างๆนั้น มิใช่เป็ นวิธกี ารเผาผลาญบาปชนิดที่พระพุทธศาสนายอมรับ สาระสําคัญของตบะ ที่พระพุทธเจ้ าทรงยอมรับคือตบะที่ถูกต้ อง ก็คือ ขันติธรรม ความอดทนที่จะดําเนิน ตามมรรคาที่ถูกต้ องไปจนถึงที่สดุ ดํารงอยู่ในหลักปฏิบัติท่ถี ูกต้ องนั้น ไม่ท้อถอย สิ่งที่พึงอดทนที่สาํ คัญคือ ๑. ความเหนื่อยยากลําบากตรากตรําในการปฏิบัติกจิ หน้ าที่ การงาน รวมถึงความหนาวร้ อน หิวกระหาย และสิ่งรบกวนก่อความไม่สบายต่างๆ ๒. ทุกขเวทนา เช่น ความเจ็บปวด เมื่อยล้ า อาการบาดเจ็บที่เกิดแก่ร่างกาย ๓. อาการกิริยา ท่าทีวาจาของผู้อนื่ ที่กระทบกระทั่ง หรือไม่น่าพอใจ เช่น คําพูดที่ไม่ดี ถ้ อยคําที่เสียดแทงต่างๆ ในหลายถิ่นและหลายยุคสมัย มนุษย์ท้งั หลายอดไม่ได้ ทนไม่ได้ แม้ ต่อการที่มนุษย์กลุ่มอื่น พวกอืน่ มีความเชื่อถือ สั่งสอน และปฏิบัติกจิ พิธตี ามประเพณีนิยม และลัทธิศาสนา รวมทั้งอุดมการณ์ท่แี ตกต่างจากตน มนุษย์เหล่านั้น ไม่สามารถสัมพันธ์กนั ด้ วยวิธแี ห่งปัญญา เช่น พูดจากันด้ วยเหตุผล จึงทําให้ เกิดการขัดแย้ ง ทะเลาะวิวาท ตลอดจนก่อให้ เกิดสงครามมากมาย ครั้งแล้ วครั้งเล่า การขาดขันติธรรม ได้ กลายเป็ น ปัญหาใหญ่ของมนุษยชาติ หากมนุษย์ ปฏิบัติตามหลักโอวาทปาติโมกข์ ข้ อแรกนี้ ก็จะช่วยให้ โลกดํารงอยู่ ได้ อย่างสันติ และมนุษย์แต่ละพวก นั้น ก็จะมีโอกาสพัฒนาชีวิตและสังคม ของตน ไปสู่ความดีงามที่สงู ยิ่งๆขึ้นไป
๘ ตอนที่สอง ที่ตรัสว่า พระพุทธเจ้ าทั้งหลาย ตรัสพระ นิพพานว่ายอดเยี่ยมนั้น ตรัสเพื่อชี้ชัดลงไปว่า จุดหมายของ พระพุทธศาสนา คือพระนิพพาน อันได้ แก่ความดับกิเลส และกองทุกข์ท้งั ปวงได้ หรือความเป็ นอิสระหลุดพ้ นจาก อํานาจครอบงําของกิเลสคือ โลภะ โทสะ และ โมหะ ไม่ใช่สวรรค์ ไม่ใช่การเข้ ารวมกับพระพรหม เป็ นต้ น ตอนที่สาม ที่ตรัสว่า ผู้ทาํ ร้ ายเบียดเบียนผู้อนื่ หาเป็ น บรรพชิตหรือสมณะไม่ นี้ตรัสเพื่อแสดงลักษณะของนักบวช ในพระพุทธศาสนา คือชี้ให้ เห็นว่า ความเป็ นสมณะหรือ นักบวช มิใช่อยู่ท่กี ารประกอบพิธกี รรม หรืออยู่ท่คี วาม ศักดิ์สทิ ธิ์ มีอทิ ธิฤทธิ์ปาฏิหาริย์สามารถบันดาลผลให้ แก่ ผู้อนื่ ที่อ้อนวอน มิใช่อยู่ท่กี ารบําเพ็ญตบะอย่างเข้ มงวด มิใช่ อยู่ท่กี ารทําหน้ าที่เป็ นสือ่ กลาง คอยบอกแจ้ งข่าวสารและ ความต้ องการระหว่างสวรรค์กบั หมู่มนุษย์ แต่อยู่ท่คี วามเป็ น ผู้ไม่เบียดเบียน ไม่ก่อความทุกข์ยากเดือดร้ อนแก่ผ้ อู นื่ เป็ นผู้มีเมตตากรุณา บําเพ็ญตนเพื่อประโยชน์สขุ ของคนทั้ง ปวง พูดสั้นๆว่า นักบวชหรือพระภิกษุสงฆ์ในความหมาย ของพระพุทธศาสนา คือเครื่องหมายของความไม่มีภัย เป็ นสัญลักษณ์แห่งความร่มเย็น ปลอดภัย และการชี้นาํ มรรคาแห่งสันติสขุ แก่หมู่มวลมนุษย์
ขนฺตี ปรม ตโป ติติกฺขา นิพฺพาน ปรม วทนฺติ พุทฺธา น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปร วิเหฐยนฺโต
๙ ความในพระคาถาทีส่ อง พระพุทธองค์ตรัสสรุป ข้ อปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนาทั้งหมดลงเป็ นหลักการ สําคัญ ๓ ประการ คือ ๑. ไม่ทาํ บาปทั้งปวง ได้ แก่การละเว้ นความชั่วทุกชนิด ทุกระดับ ตั้งต้ นประพฤติตามหลักศีล ๕ คือ ไม่ทาํ ลายชีวิต ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผดิ ในกาม สพฺพปาปสฺส อกรณ ไม่กล่าวเท็จ ไม่ดื่มสุรา กุสลสฺส อุปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปน ๒. ยังกุศลให้ ถงึ พร้ อม ได้ แก่ บําเพ็ญความดีให้ บริบูรณ์ เช่น มีศรัทธา มีเมตตากรุณา ฝึ กจิตให้ เข้ มแข็งมี เอต พุทฺธาน สาสน สมาธิ มีความเพียร มีสติรอบคอบ ซื่อสัตย์สจุ ริต มีความเสียสละ เป็ นต้ น ๓. ทําจิตของตนให้ ผ่องใส ได้ แก่ ชําระจิตให้ บริสทุ ธิ์ สะอาด ให้ หลุดพ้ นจากกิเลส เช่นความโลภ ความโกรธ ความหลง ความฟุ้ งซ่าน ความหดหู่ ซึมเศร้ า เป็ นต้ น ด้ วยการฝึ กอบรมเจริญ ปัญญาให้ เกิดความรู้ความเข้ าใจสิ่ง ทั้งหลายตามความเป็ นจริง จนกิเลส และความทุกข์ครอบงําจิตใจไม่ได้ จําง่ายๆ สั้นๆ ว่า เว้ นชั่ว ทําดี ทําใจให้ บริสทุ ธิ์ หลักการนี้ เป็ นหลักในการสอนตนและสอนผู้อนื่
๑๐ ความในพระคาถาทีส่ าม พระพุทธองค์ตรัสเพื่อเป็ น หลักความประพฤติและการปฏิบัติตน หรือหลักปฏิบัติใน การทํางาน สําหรับผู้ท่จี ะไปประกาศพระศาสนา หมายความว่า ทรงวางระเบียบในการไปสั่งสอนธรรม แก่ประชาชน ว่าผู้สอนต้ องเป็ นผู้ไม่กล่าวร้ าย ต้ องเป็ นผู้ไม่ทาํ ร้ าย คือ ไม่ก่อความเดือดร้ อนแก่ผ้ อู นื่ ไม่ว่าด้ วยกายหรือวาจา มีวจีกรรมและกายกรรมบริสทุ ธิ์ สะอาด พูดและทําด้ วยเมตตากรุณา มีความสํารวมในพระ ปาติโมกข์ รู้จักประมาณในภัตตาหาร ที่นอนที่น่งั ก็ให้ สงัด เหมาะแก่สมณะ รวมความว่า ไปทํางานก็ให้ ไปทํางานจริงๆ ทํางาน เพื่องาน มุ่งประโยชน์สขุ ของประชาชนเป็ นสําคัญ ไม่ใช่ไปหาความสุข สนุก สบาย เนื้อความ ๓ คาถาของโอวาทปาติโมกข์ แสดงให้ เห็นวิธสี ่งั งานหรือมอบภารกิจของ พระพุทธเจ้ าการที่พระองค์ทรงส่งสาวกไป ประกาศพระศาสนา ก็คือพระองค์ส่งพระสาวก ให้ ไปทํางาน โดยตรัสว่า “จงจาริกไปประกาศพระศาสนา เพื่อประโยชน์ และความสุขของพหูชน” และลงท้ ายว่า “เพื่อ เมตตาการุณย์แก่ชาวโลก” อนูปวาโท อนูปฆาโต โอวาทปาติโมกข์ท่พี ระพุทธเจ้ าตรัสนี้ ปาติโมกฺเข จ สวโร จึงเป็ นตัวอย่างที่ดีของการสั่งงาน เพราะใน มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺตญฺจ สยนาสน การสั่งงานนั้น ถ้ าผู้ส่งั สั่งให้ ชัดลงไปว่า อธิจิตฺเต จ อาโยโค ทําอะไร เพื่ออะไร ทําอย่างไร ดังนี้แล้ ว เอต พุทฺธาน สาสน ผู้ปฏิบัติย่อมปฏิบัติสะดวก และงานก็จะสําเร็จ เป็ นผลดีตามความมุ่งหมายเสมอ
๑๑ โดยเหตุท่พี ระพุทธเจ้ าประทานโอวาทปาติโมกข์ในวัน เพ็ญเดือน ๓ ฉะนั้น วันเพ็ญเดือน ๓ จึงเป็ นวันสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา เป็ นวันที่พุทธศาสนิกชนจัดทําพิธสี กั การบูชา เป็ นพิเศษ ที่เรียกว่า “มาฆบูชา” นี้แต่ก่อนก็มิได้ ทาํ กัน เพิ่งมาทําในรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ แห่งพระราชวงศ์ จักรีน่เี อง พิธมี าฆบูชานี้ มีท้งั พระราชพิธแี ละพิธขี องพุทธศาสนิกชนทั่วไป ในที่น้ จี ะกล่าวเฉพาะพิธขี องพุทธศาสนิกชนทั่วไป เมื่อถึงวันมาฆบูชา ในตอนเช้ านอกจากจะมีการทําบุญตักบาตรตามปรกติ สาธุชนอาจรับอุโบสถศีล และฟังเทศน์ตามวัดที่ใกล้ เคียงหรือคุ้นเคยอีก ในตอน คํ่า นําธูป เทียน ดอกไม้ ไปประชุมพร้ อมกันที่โบสถ์ หรือเจติยสถานแห่งใด แห่งหนึ่งที่ทางวัดจัดไว้ เมื่อพระสงฆ์ประชุมพร้ อมแล้ ว ยืนหันหน้ าเข้ าหาสิ่งที่เคารพ คือ พระประธานหรือสถูปเจดีย์อย่างใดอย่างหนึ่ง คฤหัสถ์ท้งั หลาย ยืนถือธูป เทียน ดอกไม้ ประนมมืออยู่ถดั พระสงฆ์ออกไป เมื่อพระภิกษุท่เี ป็ นประธานกล่าวนําคํา บูชา ที่ประชุมทั้งหมดว่าตามพร้ อมกัน เมื่อกล่าวคําบูชาเสร็จแล้ ว พระสงฆ์เดิน นําหน้ าเวียนขวารอบพระอุโบสถหรือพระสถูปเจดีย์ ๓ รอบ ซึ่งเรียกว่า เวียนเทียน ขณะเวียนรอบแรกให้ ระลึกถึงพระพุทธคุณ รอบที่ ๒ ระลึกถึงพระธรรมคุณ รอบที่ ๓ ระลึกถึงพระสังฆคุณ ไม่เดินคุยกัน ไม่หยอกล้ อกัน หรือแสดงอาการไม่ สุภาพอืน่ ๆในขณะเวียนเทียน เพราะจะเป็ นการขาดความเคารพในพระรัตนตรัย เมื่อเวียนเทียนครบ ๓ รอบแล้ วเข้ าในพระอุโบสถ สวดมนต์ ฟังเทศน์ กัณฑ์ แรกจะได้ ฟังเรื่องจาตุรงคสันนิบาต กัณฑ์ต่อ ๆ ไป อาจเป็ นเรื่องโพธิปักขิยธรรม หรือเรื่องอืน่ ๆ ที่ทางวัดเห็นสมควร บางวัดมีเทศน์จนตลอดรุ่ง ข้ อที่ควรทําเป็ นพิเศษก็คือ ควรพิจารณาความหมายของการเว้ นชั่ว ทําดี ทํา จิตใจให้ บริสทุ ธิ์ ให้ เข้ าใจชัดเจนลึกซึ้ง แล้ วปฏิบัติให้ ได้ ตามนั้น เนื้อความจากหนังสือ วันสําคัญของชาวพุทธไทย โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต) ภาพวาดโดย กฤษณะ สุริยกานต์ © เอื้อเฟื้อข้อมูลโดย พระชัยยศ พุทฺธวิ โร วัดญาณเวศกวัน
๑๒
เสริมปั ญญา พระวรฤทธิ์ โอภาโส เจริญพรผู้อ่านทุกท่าน คอลัมน์น้ ีมีจุดประสงค์เพื่อต้ องการเสริมความรู้ ความเข้ าใจในธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าให้ แก่ผ้ ูอ่านทุกท่าน แก้ ไข ความเข้ าใจในธรรมะที่ผดิ ๆ ให้ ลดน้ อยลงไป เข้ าใจหลักพระพุทธศาสนา และต้ องการให้ ทุกคนมีความสุขในชีวิตที่ตนเองกําลังเป็ นอยู่ อาตมาได้ ต้ัง ชื่อคอลัมน์น้ ีว่า “เสริมปัญญา” เพื่อต้ องการสื่อความหมายว่า คอลัมน์น้ ีขอ เป็ นส่วนหนึ่งในการเสริมสร้ างความเข้ าใจที่ถูกต้ องตามความเป็ นจริงใน ธรรมะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าให้ แก่ท่านผู้อ่าน เก็บสะสมความรู้ทีละนิด เหมือนหยดนํา้ ใส่ในตุ่ม นํา้ นี้เปรียบเหมือนปัญญาที่เราเติมใส่ในใจของเรา เป็ นปัญญาที่แท้ จริง คือ ปัญญาจากการรู้ตามความเป็ นจริงในธรรมะที่ พระพุทธเจ้ าได้ ทรงแสดงไว้ โดยเฉพาะธรรมะในส่วนพระอภิธรรม ซึ่งชาว พุทธบางส่วนไม่เข้ าใจ ไม่ร้ จู ักพระอภิธรรมว่าเป็ นประโยชน์อย่างไรมี ความสําคัญ ในการเรียนรู้หรือไม่ ใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้ อย่างไร เข้ าใจเพียงว่าพระอภิธรรมเป็ นบทสวดที่ใช้ ในงานศพ นอกจากนี้แล้ ว อาตมาจะเขียนเกร็ดความรู้ธรรมะต่างๆเพิ่มเติมด้ วย สําหรับวันนี้จะได้ กล่าวถึงวันมาฆบูชา ซึ่งปี นี้ตรงกับวันพุธที่ ๗ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ไม่ทราบว่าผู้อ่านจะได้ มีโอกาสเข้ าวัดสร้ างกุศลเพิ่มเติมหรือไม่ ซึ่งอาตมาเสียดายแทนหลายๆท่านที่ไม่ได้ มีโอกาสในการสร้ างกุศลในวัน สําคัญเช่นนี้ ซึ่งมีปีละหนเท่านั้น และการทําบุญในวันนี้กม็ ีอานิสงส์มาก เพราะเป็ นทั้งวันพระขึ้น ๑๕ คํ่า และเป็ นวันที่มีเหตุการณ์สาํ คัญเกิดขึ้น หลายอย่างในอดีต แต่น่าเสียดาย ด้ วยความไม่เข้ าใจในพระพุทธศาสนา จึงไม่เห็นความสําคัญ และวันมาฆบูชามักจะใกล้ กบั วันวาเลนไทน์ ซึ่งเป็ น ประเพณีของชาวคริสต์ แต่ชาวพุทธไทยกลับให้ ความสําคัญมากกว่า
๑๓
เพราะความไม่ ร้ ูและไม่ สนใจ โดยวันมาฆบูชานี้ มีเหตุ การณ์สาํ คั ญหลาย อย่ าง คื อ ๑.เป็ นวันแสดงโอวาทปาติ โมกข์(หลังตรั สรู้) ๒.เป็ นวันที่ทรง ปลงพระชนมายุ สัง ขาร(ก่ อนปริ นิ พ พาน) สำหรับข้อแรกคื อ วั น แสดง โอวาทปาติโมกข์น้ ีเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือน ๓ หลังจากพระพุทธองค์ตรัสรู้ แล้ ว ๙ เดือน ที่เรียกว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" ถือเป็ นวันที่พระสัมมาสัม พุทธเจ้ าได้ ทรงวางรากฐานการเผยแผ่พระธรรมคําสั่งสอนด้ วยหลักธรรมที่ เป็ นหัวใจของพระพุ ทธศาสนา คื อ "โอวาทปาติ โมกข์" ซึ่งเป็ นหั วใจหลัก ของคําสอนของพระสัม มาสัม พุ ท ธเจ้ า เลยที เ ดี ยว พระพุ ท ธองค์ ได้ ท รง แสดงแก่พระภิกษุ สงฆ์ท่ีสาํ เร็จเป็ นพระอรหันต์ท้ังสิ้นจํานวน ๑,๒๕๐ รูป ที่มาประชุ ม กันโดยไม่ ไ ด้ นัดหมายที่ วัดเวฬุวัน กรุงราชคฤห์ แคว้ นมคธ และยังได้ ทรงแต่ งตั้งพระอัครสาวกทั้งสอง คือ พระสารีบุตรและพระโมค คัลลานะ เป็ นพระอัครสาวกเบื้องขวาและเบื้องซ้ ายตามลําดับ สมดังเจตนา ที่ท่านทั้งสองได้ ต้ังความปรารถนาไว้ ต้ังแต่ในอดีตและบําเพ็ญบารมีมาเพื่อ ความเป็ น พระอัค รสาวกในครั้ งนี้ ส่วนข้อที ่สองคื อวั นปลงพระชนมายุ สัง ขารนั้ นเป็ น วัน ที่พ ระพุ ท ธองค์ ทรงปลงพระชนมายุ สังขารว่ า ในอีก ๓ เดือนข้ างหน้ านี้ พระพุทธองค์จักทรงปรินิพพานเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือน ๓ ก่อนปริ นิพพาน ๓ เดื อน ดั งนั้ น เมื่ อวันมาฆบูชามาถึงแล้ ว ชาวพุ ทธทุ ก ท่านจึงสมควรที่จะปฏิบัติตามคําสอนที่พระพุทธเจ้ าทรงให้ ไว้ ในวันนั้น คือ การไม่กระทาบาปทั้งปวง การกระทากุศลให้ถึงพร้อม และการกระทา จิ ตให้ผ่องใส เข้ าวัดทําจิตเป็ นกุศล ระลึกถึงพระคุณของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้ า เวียนประทักษิณบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้ ารอบเจดีย์ต่างๆ ทั้งบริโภค เจดี ย์ อุท เทสิกเจดี ย์ หรื อธาตุ เ จดี ย์ ต ามสถานที่ ต่ า งๆ ตั้ ง จิ ตอธิ ษ ฐาน เริ่มต้ นทําความดีท้ังทางกาย วาจา ใจ ตั้งแต่ วันนี้เป็ นต้ นไป อย่ าได้ ปล่อย ให้ เวลาผ่ านไปโดยเปล่ าประโยชน์ เหตุ น้ ี จึงขอฝากท่ านผู้ อ่านว่ า เราได้ เริ่มต้ นกระทําตามคําที่พระพุทธเจ้ าทรงสอนแล้ วหรือยัง เจริญพร
๑๔
เหตุไรคาว่า “บาฬี” จึ งใช้ ฬ จุฬา รุ่งอรุณ จันทร์สงคราม ก่อนจะดูรายละเอียดของภาษาบาฬี ขอพูดถึงในภาษาไทยสักเล็กน้ อย เป็ นที่ร้ กู นั ว่าการเรียกอักษรไทยแต่ละตัวนั้น จะใช้ คาํ ที่มีอกั ษรตัวนั้นๆ ประกอบอยู่ด้วยเป็ นคําเรียก เช่น ก ไก่ ข ไข่ จนกระทั่งสุดท้ ายคือ ฮ นกฮูก แต่ก่อนนั้น ตัว ฬ จุฬา ที่เราเรียกกันในปัจจุบันนี้ ท่านจะเรียกว่า ฬ บาฬี นั่นแสดงว่าคําว่า “บาฬี” นั้นเราเคยใช้ เป็ นตัว ฬ จุฬา (หรือ ฬ บาฬี) ท่านจึงนําคําว่า “บาฬี” มาเรียกตัว ฬ นี้ ผู้ท่เี คยใช้ แบบเรียนสมัยก่อนคงพอคุ้นเคย หากต้ องการจะดูใน หนังสือ สามารถดูได้ ในหนังสือรุ่นก่อน เช่น หนังสืออักขราภิธานศรับท์ ของหมอปรัดเล พ.ศ. ๒๔๑๖ หรือไม่กด็ ูในหนังสือ “แกะรอย ก ไก่” ของ คุณเอนก นาวิกมูล สําหรับในภาษาบาฬีเองนั้น แม้ ปัจจุบันจะพบใช้ ท้งั สองแบบ แต่เมื่อ ไล่เรียงไป จะพบข้ อมูลว่าที่ใช้ เป็ น “ปาฬิ” (ฬ จุฬา) จะมีความหมาย อย่างใดอย่างหนึ่งในสามความหมายนี้คือ ๑. ขอบคัน, เขื่อน (เสตุ) ๒. พระพุทธพจน์ (ตนฺติ) ๓. ระเบียบ, แถว, แนว, ลําดับ (ปนฺติ) ส่วนที่ใช้ เป็ น “ปาลิ” (ล ลิง) นั้นจะใช้ ในความหมายว่า “ระเบียบ, แถว, แนว, ลําดับ (ปนฺติ)” คราวนี้มาดูรายละเอียดของข้ อมูลกัน ในรูปสิทธิ ตอนที่ว่าด้ วยกลุ่มศัพท์อกิ ารันต์ อิตถีลิงค์ซ่งึ แจกรูปคํา ตาม “รตฺติ” นั้น มีคาํ ว่า “ปาฬิ” อยู่ในคาถาท้ ายข้ อ ๑๘๖ ในรูปสิทธิฎีกา ข้ อเดียวกัน บอกคําแปลไว้ ว่า “ปาโฐ” (แม่บท, หมายถึงพระพุทธพจน์)
๑๕
ในอภิธานัปปทีปิกา คาถา ๕๓๙ แสดงคําว่า “ปาฬิ” ในความหมายว่า แถว, แนว (ปนฺติ) และ คาถา ๙๙๖ ซึ่งอยู่ในอเนกัตถวรรค แสดงคําว่า “ปาฬิ” ในความหมาย ๓ อย่าง ดังนี้ ๑.ขอบคัน, เขื่อน (เสตุ) ๒.พระ พุทธพจน์ (ตนฺติ) ๓.ระเบียบ, แถว, แนว, ลําดับ (ปนฺติ) แต่เพราะมีคาํ ว่า “ปาลิ” ในความหมายว่า “ปนฺติ” (ระเบียบ แถว แนว ลําดับ) ใช้ ด้วย อภิธานัปปทีปิกาสูจิ จึงแสดงคําว่า “ปาฬิ” ที่ใช้ ในความหมาย “ปนฺติ” ว่า มีรูปเป็ น”ปาลิ”ด้ วย สัททนีติ ธาตุมาลา แสดงรูปเป็ น “ปาฬิ” แยกเป็ น ปาล ธาตุ (ปาลเน ในการรักษา) + อิ ปัจจัย โดยอธิบายว่า ตัว ล ของ ปาล ธาตุ แปลงเป็ น ฬ การแสดงเช่นนี้เป็ นการแสดงกระบวนวิธีทางภาษาที่จะต้ องให้ รูปคําสําเร็จ นั้นสอดคล้ องกับคําที่ใช้ จริง เพราะธาตุซ่งึ เป็ นตัวตั้งต้ นมีรูปต่างจากคําที่ใช้ จริง ในณวาทิโมคคัลลานะ มีข้อมูลปรากฏเป็ นสองอย่าง อย่างแรก ปรากฏในข้ อ ๑๙๘ ใช้ เป็ น “ปาลิ” (ล ลิง) ในความหมายว่า “ปนฺติ” (ระเบียบ แถว แนว ลําดับ) โดยตั้งตัวธาตุว่า ปาล + ลิ ปัจจัย (มีการเปลี่ยน ปาล เป็ น ปา) พร้ อมแสดงรูปคําที่เป็ น “ปาลี” ไว้ ด้วย อย่างทีส่ อง ปรากฏในข้ อ ๒๒๘ ใช้ เป็ น “ปาฬิ” (ฬ จุฬา) ใน ความหมายว่า “ตนฺติ” (พระพุทธพจน์) โดยวางตัวธาตุเป็ น ปา (ปาลเน ในการรักษา) + ฬิ ปัจจัย ใช้ เป็ น ฬิ ปัจจัยเพื่อให้ ตรงกับคําที่ใช้ (โดยตัดประเด็นการแปลง ล เป็ น ฬ ออกไป) แม้ ฬิ ปัจจัยนี้ อาจมีข้อ สงสัยว่า เป็ น ลิ (ล ลิง) ได้ หรือไม่ ก็ตอบว่าต้ องเป็ น ฬิ (ฬ จุฬา) เพราะ บังคับไว้ ด้วยลําดับอักษร ในกรณีท่สี ทั ทนีติแสดงไว้ ว่าแปลง ล เป็ น ฬ อาจมีคาํ ถามเกิดขึ้นว่า แบบนี้สามารถใช้ เป็ น ล ตามตัวธาตุได้ หรือไม่
๑๖
ต้ องเข้ าใจว่าวิธีการที่ท่านแสดงไว้ ในกระบวนวิธีทางภาษานั้น ก็เพื่อ ให้ ผลสําเร็จของรูปคําตรงตามรูปคําที่ใช้ จริง เพราะในกรณีน้ ีท่านวางตัวตั้ง ต้ นในวิธีการของไวยากรณ์ไว้ ต่างจากคําที่ใช้ จริง ดังนั้น เมื่อวางตัวตั้งต้ นไว้ ว่า ปาล + อิ แต่คาํ ที่ใช้ จริงเป็ น “ปาฬิ” การกล่าวว่าตัว ล เป็ น ฬ จึงต้ องมี เพื่อให้ รูปคํานั้นสําเร็จตรงกับคําที่ปรากฏใช้ จริง แต่หากกล่าวตามคัมภีร์ ณวาทิโมคคัลลานะที่ว่า ปา + ฬิ (ในความหมายว่าพระพุทธพจน์) ก็ไม่ จําเป็ นต้ องกล่าวว่า ตัว ล เป็ น ฬ เพราะรูปคําลงตัวแต่แรกแล้ ว ไม่ควรเข้ าใจว่าเมื่อกล่าวว่าแปลงมาจากตัวไหน สามารถกลับไปใช้ เป็ นตัวเดิมนั้นได้ เพราะถ้ าเป็ นอย่างนั้น อาจกล่าวว่าแทนที่จะใช้ เป็ น “ปุริโส” ขอใช้ เป็ น “ปุริสสิ” ตามตัวเดิมแล้ วกัน แทนที่จะใช้ เป็ น “โน” ขอใช้ เป็ น “อมฺหโย” ตามตัวเดิมก็แล้ วกัน นี่เป็ นหลักการใช้ คาํ ตามวิธีอาเทส ที่จะกลับไปใช้ ตามตัวตั้งต้ นไม่ เหมาะ นอกจากมีการใช้ สองแบบอยู่ก่อนแล้ ว แต่กต็ ้ องพิจารณาด้ วยว่า กรณีท่มี ีการใช้ เป็ นสองแบบนั้น มีความต่างกันในด้ านความหมายหรือไม่ เพราะพบได้ ว่าคําที่มีการใช้ เป็ นสองแบบนั้น บางคําอาจมีการใช้ ใน ความหมายที่กว้ างแคบต่างกัน เช่น คําว่า “ทุกกฺ ต” ที่ตัว ต ท้ ายคํา มีการ เปลี่ยนเป็ นตัว ฏ โดยได้ เป็ น “ทุกกฺ ฏ” แต่ความหมายก็ใช้ ต่างกัน เพราะ คําว่า “ทุกกฺ ต” หมายถึงการกระทําที่ไม่ดีท่วั ไป แต่คาํ ว่า “ทุกกฺ ฏ” หมายถึงอาบัติท่เี กิดจากการกระทําที่ไม่ดีไม่เหมาะสม อาจมีคาํ ถามเกิดขึ้นว่าใช้ หลักของ “ลฬานมวิเสโส” (ตัว ล และ ฬ ไม่ต่างกัน)ได้ หรือไม่ หลัก “ลฬานมวิเสโส” นั้น เต็มๆ คือ “ลฬานมวิเสโส กฺวจิ” หมายถึง ตัว ล และ ฬ ที่ไม่ต่างกันนั้น เป็ นได้ ในบางที่ จึงต้ องระมัดระวังสังเกต
๑๗
(ตอนที่ท่านพูดเพียง “ลฬานมวิเสโส” ในสนธิกณ ั ฑ์ของคัมภีร์รูปสิทธิน้ัน เพราะตัวอย่างตรงนั้น ปรากฏเป็ นตัว ฬ แต่สตู รที่กล่าวใช้ เป็ นตัว ล ท่านจึง กล่าวเพียงสั้นๆ แต่พอถึงเรื่องตัทธิต ท่านกล่าวคําให้ ครบเพื่อไม่ให้ ลืม ประเด็นของ“กฺวจิ”ซึ่งหมายถึงบางที่เท่านั้นที่ไม่ต่างกัน) ในบาฬีถอื ว่าพบหลักฐานการแสดงรูปคําเป็ นสองแบบ แต่ต้องไม่ลืม เรื่องความหมายด้ วย เพราะหากใช้ เป็ น “ปาฬิ” จะมีความหมาย ๓ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ถ้าใช้ เป็ น “ปาลิ” จะมีความหมายว่า “ปนฺติ” อย่าง เดียว ในภาษาไทยแต่ก่อนก็คล้ อยตามภาษาบาฬีเพราะเราใช้ ในความหมาย ที่หมายถึงพระพุทธพจน์ซ่งึ รวมถึงภาษาที่ใช้ บันทึกพระพุทธพจน์ด้วย จึงใช้ เป็ น “บาฬี” อย่างที่ปรากฏในการเรียกตัวอักษรว่า “ฬ บาฬี” ปัจจุบัน นิยมใช้ เป็ น “บาลี” ตามที่พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานแสดงไว้ แต่ ต้ องไม่ลืมว่าคําที่พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไม่ได้ แสดงไว้ น้ันจะใช้ ไม่ได้ กห็ าไม่ เพราะมีคาํ มากมายที่พจนานุกรมฉบับดังกล่าวไม่ได้ แสดงไว้ แต่มีใช้ ในภาษาไทยดังนั้นจึงเกิดมีพจนานุกรมฉบับอื่นๆขึ้นด้ วย จะอย่างไรก็ตาม เวลานี้ถอื ได้ ว่าในภาษาไทย คําว่า “บาฬี” พบใช้ เป็ นสองแบบ เพราะแต่ก่อนเคยใช้ เป็ น “บาฬี” แล้ วมาเปลี่ยนใช้ เป็ น “บาลี” จึงอยู่ท่กี ารพิจารณาเลือกใช้ ถ้ าต้ องการให้ คล้ อยตามความหมาย ในภาษาบาฬีท่หี มายถึงพระพุทธพจน์รวมทั้งภาษาก็ควรที่จะใช้ เป็ น“บาฬี” มีข้อควรระวังอยู่นิดหนึ่งว่า อย่าไปคิดว่าใช้ เป็ นแบบเดียวกันคือเป็ น “บาลี” ตามที่ใช้ ลงตัวมาแล้ วไม่ดีหรือ ตัว ฬ ใช้ เป็ น ล น่ะดีแล้ ว เขียนง่าย ดีด้วย เพราะหากคิดทํานองนี้ ต่อไปอาจพบการเปลี่ยนตัว ฬ ไปใช้ เป็ นตัว ล ในคําอื่นๆ อีก เช่นคําว่า “สนามกีฬา” อาจเป็ น “สนามกีลา”
๑๘
สุวชาดก ผู้ไม่ท้ งิ เพื่อน ตถตา ภิกษุรูปหนึ่ง บวชอยู่ท่วี ัดพระเชตวัน ศึกษาเล่าเรียนพระกัมมัฏฐาน จากพระพุทธเจ้ าแล้ วออกไปอาศัยอยู่ในป่ าใกล้ หมู่บ้านแห่งหนึ่ง ซึ่งตั้งอยู่ ชายแดนแคว้ นโกศล ชาวบ้ านในหมู่บ้านนั้นจึงช่วยกันสร้ างเสนาสนะในที่ ไปมาได้ สะดวก พร้ อมทั้งที่พักกลางวันและกลางคืนถวาย แล้ วช่วยกัน อุปถัมภ์โดยเคารพ พระภิกษุรูปนั้นจําพรรษาอยู่ในที่น้ัน เดือนแรกผ่านไป ไม่นาน ได้ เกิดไฟไหม้ เสียหายไปทั้งหมู่บ้าน ไม่เหลือแม้ แต่ข้าวปลูก และ พืชผัก ชาวบ้ านจึงไม่สามารถจะจัดอาหารที่ประณีตถวายได้ เหมือนแต่ก่อน ภิกษุน้ันแม้ จะมีเสานาสนะที่สขุ สบาย แต่กล็ าํ บากด้ วยอาหาร จึงไม่สามารถ จะบรรลุมรรคผลอะไรได้ ครั้นออกพรรษาแล้ ว ภิกษุน้ันก็กลับไปยังวัดพระเชตวัน แล้ วเข้ าเฝ้ า พระพุทธองค์ เมื่อพระพุทธองค์ตรัสปฏิสนั ถารถามถึงความเป็ นอยู่ในป่ า ภิกษุกก็ ราบทูลเล่าความเป็ นไปทั้งหมด พระบรมศาสดาทรงทราบว่าภิกษุน้ันมีเสนาสนะที่ดีๆอยู่ แต่ลาํ บาก ด้ วยอาหาร จึงกลับมา พระศาสดาทรงสั่งสอนเชิงตําหนิภิกษุน้ันว่า “ดูก่อนภิกษุ ธรรมดาสมณะ เมื่อมีเสนาสนะเป็ นที่สบายแล้ ว ก็ควร ละความละโมบในอาหารเสีย ได้ อะไรมาก็ควรยินดีฉันอันนั้นแหละ แล้ ว บําเพ็ญสมณธรรมต่อไปเนืองๆ โบราณบัณฑิตทั้งหลายแม้ เกิดเป็ นสัตว์ เดรัจฉาน กินผงแห้ งๆในตอไม้ ท่ตี นอยู่อาศัย ยังละความโลภในอาหาร มี ความสันโดษ ไม่ยอมทําลายมิตรธรรมไปยังที่อ่นื เหตุไร เธอจึงมาคิดว่า บิณฑบาตมีน้อย และไม่มีรสอร่อย แล้ วทิ้งเสนาสนะมาเสียเล่า ”
๑๙
เมื่อทรงตรัสดังนี้ จึงทรงเล่าเรื่องในอดีตให้ ภิกษุน้ันฟังว่า “ในอดีตกาลนานมาแล้ ว ที่ป่ามะเดื่อแห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ริมแม่นาํ้ คงคา บริเวณนั้นมีนกแขกเต้ าอาศัยอยู่ ต่อมาเกิดภัยพิบัติ แห้ งแล้ ง ขาดแคลน อาหาร ผลมะเดื่อหมดต้ นแล้ ว นกแขกเต้ าทั้งหลายก็พากันบินไปหากินที่ อื่น แต่พญานกแขกเต้ าไม่ยอมทิ้งต้ นมะเดื่อที่ตนเคยอาศัยจิกกินผลมะเดื่อ มาตั้งแต่แรก สิ่งใดที่เหลืออยู่ ไม่ว่าจะเป็ นหน่อ ใบ เปลือก กระพี้ ก็กนิ สิ่ง นั้นเพื่อประทังชีวิต มีความมักน้ อยสันโดษเป็ นอย่างยิ่ง ไม่ยอมทิ้งต้ น มะเดื่อไปไหน ด้ วยอานุภาพของความเป็ นผู้มักน้ อยสันโดษของพญานกแขกเต้ า ถึงกับทําให้ ท่ปี ระทับของท้ าวสักกะ ผู้เป็ นจอมเทพ เกิดอาการสั่นสะเทือน ท้ าวสักกะทรงเกิดความสงสัย จึงพิจารณาถึงสาเหตุท่เี ป็ นไป ก็เข้ าพระทัย ถึงสาเหตุ และเพื่อจะทรงทดลองใจพญานกแขกเต้ าดู จึงทรงบันดาลให้ ต้น มะเดื่อนั้นแห้ งแล้ วร่วงหล่นลงเหลือแต่ตอที่แตกพรุนเป็ นช่องเล็กช่องน้ อย เมื่อถูกลมพัด ก็ส่งเสียงดังเหมือนกับคนเคาะ มีผงละเอียดไหลออกมาตาม ช่องที่แตกนั้น ฝ่ ายพญานกแขกเต้ า ก็จิกกินผงนั้นแล้ วบินไปดื่มนํา้ ที่แม่นาํ้ คงคา เช่นเดิม เมื่ออิ่มนํา้ แล้ วก็บินกลับมาจับอยู่ ท่ตี อไม้ มะเดื่อเช่นเดิม โดยไม่ย่อ ท้ อต่อลมและแดดที่แผดเผา เพราะปราศจากที่มุงบัง ไม่ยอมหนีไปอาศัยที่ อื่น ท้ าวสักกะผู้เป็ นจอมแห่งเทวดาทั้งหลาย ทรงทราบว่าพญานกแขกเต้ า ตัวนี้มีความมักน้ อยสันโดษอย่างยิ่ง ทรงต้ องการจะฟังธรรมจากพญานก แขกเต้ า พระองค์จึงทรงแปลงเป็ นพญาหงส์ บินมาจับอยู่ท่กี ่งิ มะเดื่อ ต้ นที่ อยู่ใกล้ ๆ ตอมะเดื่อที่พญานกแขกต้ าอาศัยอยู่ แล้ วตรัสปราศรัยว่า
๒๐
สนฺติ รุกขฺ า หริตปตฺตา กสฺมา นุ สุกเฺ ข โกฬาเป
ทุมาเนกผลา พหู สุวสฺส นิรโต มโน.
ต้ นไม้ ท้งั หลาย ที่มีใบสีเขียวสด มีผลดกก็มีอยู่เป็ นอันมาก แต่เหตุ ไฉนนกแขกเต้ าจึงมีใจยินดีในไม้ แห้ งผุๆเล่า พญานกแขกเมื่อได้ ยินดังนั้นแล้ วจึงตอบว่า “เราได้ กนิ ผลแห่งต้ นไม้ น้ ีนับได้ หลายปี มาแล้ ว ถึงเราจะรู้ว่าต้ นไม้ น้ ี ไม่มีผลแล้ ว ก็ต้องรักษาไมตรีไว้ ให้ เหมือนแต่ก่อน” พญาหงส์ผ้ ูเป็ นท้ าวสักกะแปลงกายมาถามว่า “นกทั้งหลายย่อมละทิ้งต้ นไม้ แห้ งผุๆ ที่ไร้ ใบ ไร้ ผลไป นี่แน่ะ นก แขกเต้ า เจ้ าเห็นโทษอะไรในการไปสู่ท่อี ่นื เล่า” พญานกแขกเต้ าได้ แสดงข้ อธรรมให้ ฟังว่า เย ผลตฺถา สมฺภชนฺติ อผโลติ ชหนฺติ นํ อตฺตทตฺถปญฺญา ทุมฺเมธา เต โหนฺติ ปกฺขปาติโน . (ขุททกนิกาย ชาดก นวกนิบาต ๒๗/๑๒๖๘)
นกเหล่าใดต้ องการผล จึงเข้ าไปหาต้ นไม้ ครั้นรู้ว่าต้ นไม้ น้นั หมดผล แล้ วก็ท้ งิ ไป นกเหล่านั้นจัดว่าเป็ นผู้เห็นแก่ตัว ไร้ ความคิดและปัญญา มัก ทําให้ ไมตรีตกไป ท้ าวสักกะผู้เป็ นพระราชาแห่งเทพ ทรงสดับดังนั้นแล้ ว ก็ทรงยินดีย่ิง นัก ตรัสสรรเสริญพระโพธิสตั ว์ว่าเป็ นผู้ท่วี ิญญูชนพึงยกย่องสรรเสริญใน ความเป็ นผู้รักษาไมตรีจิต ไม่ท้ งิ กันแม้ ในยามยาก แล้ วพระราชทานพรแก่ พญานกแขกเต้ า ซึ่งพญานกแขกเต้ าก็ขอให้ ต้นไม้ ท่เี หลือแต่ตอ ฟื้ นขึ้นมา ใหม่และมีผลดกตามเดิม
๒๑
ท้ าวสักกะผู้เป็ นจอมเทพทรงวักนํา้ อมฤตมาประพรมที่ตอไม้ น้ัน พลันก็เกิดลําต้ น แตกกิ่งก้ านสาขาอย่างมากมาย มีร่มเงาเย็น บริบูรณ์ด้วย ผลมะเดื่อดังเดิม จากนั้นก็เสด็จกลับนันทวันทิพยสถานวิมานของพระองค์ พระบรมศาสดาครั้นทรงเล่าเรื่องนี้จบ จึงทรงสรุปว่า ท้ าวสักกเทวราช ในครั้งนั้น ได้ มาเป็ นพระอนุรุทธะในบัดนี้ พญานกแขกเต้ าในครั้งนั้น ก็ คือพระองค์เอง สาระจากชาดก มิตรธรรม คือไมตรีจิตที่คนเรามีให้ แก่กนั เป็ นเหตุ ให้ คิดถึง ไปมาหาสู่กนั อย่างสมํ่าเสมอและเป็ นเหตุให้ เกื้อกูลกันด้ วยนํา้ ใจ เมื่ออีกฝ่ ายได้ รับความลําบากเดือนร้ อน มิตรธรรมจึงเป็ นเหตุทาํ ให้ คนเรา อยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข เช่นเดียวกันกับในสังคมปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็ นสามีภรรยา ญาติพ่นี ้ อง เพื่อนสหายทั้งหลาย หากทุกคนอยู่ร่วมกัน ไม่ทอดทิ้งกันยามยาก แม้ จะ ลําบากกัดก้ อนเกลือกินก็จะไม่ตีจากแยกตัวออกจากกัน ก็เพราะต่างฝ่ าย ต่างประพฤติมิตรธรรมนี่เอง คนที่มีมิตร ไม่ท้ งิ พรรคพวกเพื่อนพ้ อง ไม่ท้ งิ ถิ่นที่เคยอยู่อาศัย ไม่ท้ งิ บรรพบุรุษ ไม่ท้ งิ วงศ์ตระกูล ไม่ลืมบุญคุณของผู้อ่นื ที่มีอปุ การะ ย่อมได้ รับความเจริญ ผลบุญจะคอยช่วยเหลือเกื้อหนุนในคราวตกทุกข์ได้ ยากอย่างแน่นนอน
๒๒
คนที่ขดั สนทาบุญได้ไม่สมใจ ทาอย่างไรจิ ตจึ งจะไม่หม่นหมอง จากหนังสือ “คุยกันวันพุธ เล่ม ๓” ความจริง เรื่องของการทําบุญ โดยเฉพาะทานที่ทาํ เพียงเล็กๆน้ อยๆ หรือ ทําเพียงครั้งเดียวแล้ วได้ เกิดในสุคติกม็ ีมาก แต่จะขอเล่าเรื่องที่อรรถ กถาท่านเล่าไว้ ในเขตตูปมาเปตวัตถุ ซึ่งเป็ นเรื่องค่อนข้ างยาว แต่ นอกจากจะแสดงให้ เห็นถึงการทําทานเล็กน้ อยแล้ วได้ เกิดเป็ นเทวดาแล้ ว ยังแสดงธรรมะอีกหลายอย่างที่เราสามารถจะนํามาใช้ ในชีวิตของเราได้ ด้วย เช่น การเลี้ยงลูกในทางที่ผิด การคบมิตรชั่ว เป็ นต้ น เรื่องนี้พระผู้มี พระภาคเจ้ าตรัสเล่าให้ ภิกษุท้งั หลายฟัง สมัยเมื่อประทับอยู่ท่วี ัดเวฬุวัน กรุงราชคฤห์ ในกรุงราชคฤห์น้ ี มีเศรษฐี มีทรัพย์มากหลายโกฏิคนหนึ่ง เขามีลูก ชายที่รักเพียงคนเดียว เมื่อลูกโตพอรู้ความได้ บิดามารดาก็คิดกันว่า ทรัพย์ของเรามีมากมาย ถ้ าลูกจะใช้ วันละพัน วันละพัน จนมีอายุได้ ร้อยปี แล้ วตาย ทรัพย์ท่เี ราสะสมไว้ กไ็ ม่หมด เพราะฉะนั้นจึงไม่จาํ เป็ นอะไรที่ จะต้ องส่งลูกให้ เล่าเรียนวิชาให้ ลาํ บาก ให้ ลูกอยู่เฉยๆ ไม่ต้องเล่าเรียนให้ ลําบากจะดีกว่า เศรษฐี บิดามารดาคิดอย่างนี้จึงไม่ให้ ลูกเรียนวิชาสัก อย่างเดียว นี่พ่อแม่คิดผิด เพราะรู้อะไรก็ไม่ส้ รู ้ วู ิชา พอลูกโตขึ้นก็หาภรรยา ที่งดงามให้ ลูกก็เพลิดเพลินอยู่กบั กามคุณทั้งหลาย เป็ นผู้เพียบพร้ อมไป ด้ วยโลภะ โทสะ และโมหะ คบหาแต่พวกนักเลง ไม่สนใจไยดีในการให้ ทานและบํารุงท่านผู้มีศีลเลย ครั้นบิดามารดาตายลง เขาก็ใช้ จ่ายทรัพย์ อย่างฟุ่ มเฟื อย ให้ รางวัลพวกนักร้ อง นักรํา เป็ นต้ น ผลาญทรัพย์ท่พี ่อ แม่สะสมไว้ ให้ วอดวายไปในเวลาไม่นานเลย คนที่ไม่มีวิชาความรู้ มี ทรัพย์กไ็ ม่ร้ จู ักใช้ ทรัพย์ ได้ แต่หลงระเริงมัวเมาไปในกามคุณอารมณ์ คบ หาแต่พวกนักเลง ไม่มีมิตรแท้ มีแต่มิตรเทียมคอยปอกลอกทรัพย์ท่วี ่ามาก
๒๓
ก็หมด ถึงสิ้นเนื้อประดาตัว จนต้ องเป็ นหนี้เป็ นสินแล้ วก็ไม่มีปัญญาใช้ หนี้ ที่ดินเรือกสวนไร่นาก็ถูกเจ้ าหนี้ยึดหมด แม้ แต่บ้านก็ไม่มีจะอยู่เที่ยว ขอทานเขาเลี้ยงชีวิต ลูกเศรษฐี กลายเป็ นยาจก ต้ องอาศัยนอนตาม ศาลา อยู่มาวันหนึ่ง พวกโจรมาประชุมกันที่ศาลานั้น เห็นเขายังหนุ่ม แน่นก็ชักชวนให้ ไปเป็ นโจรอย่างพวกเขา ลูกเศรษฐี กร็ ับคํา โจรก็สอน วิชาโจรให้ วันแรกที่โจรให้ เขาทํางานก็คือ เป็ นต้ นทาง คอยทําร้ ายคนที่ จะเข้ าในเรือนที่พวกโจรปล้ น พวกโจรปล้ นเอาทรัพย์แล้ วก็หนีไป ใน เมื่อเจ้ าทรัพย์ร้ ตู ัวออกติดตามโจร ก็เห็นเขายืนดูต้นทางอยู่โดยไม่ร้ วู ่า พรรคพวกหนีไปหมดแล้ ว เขาจึงถูกจับได้ ถูกทุบมือทุบเท้ าพาไปเฝ้ า พระราชา ถูกตัดสินให้ ประหารชีวิต ก่อนประหารให้ จับมัดมือไพล่หลัง เฆี่ยนด้ วยหวาย พาประจานไปตามท้ องถนน คนทั้งหลายก็พากันมาดู ใน จํานวนนั้นมีหญิงงามเมืองคนหนึ่งเห็นเขาทางหน้ าต่างเกิดความสงสาร เพราะอดีตนางเคยเป็ นนางบําเรอของเขา จึงเอาขนมต้ ม ๔ ลูก พร้ อมทั้ง นํา้ ไปให้ เขา โดยขอร้ องผู้คุมว่าขอให้ เขาได้ กนิ อาหารให้ อ่มิ ก่อนตาย ผู้คุม ก็ยอม ในขณะนั้นท่านพระมหาโมคคัลลานะเห็นความพินาศของชายนั้น ด้ วยทิพยจักษุ บังเกิดความกรุณา อยากให้ เขาได้ ทาํ บุญสักครั้งหนึ่งก่อน ตาย ทั้งนี้เพราะเขายังไม่ได้ เคยทําบุญเลยตั้งแต่เกิด ถ้ าเขาได้ ทาํ บุญแล้ ว เขาจะได้ ไปเกิดเป็ นภุมมเทวดาท่านคิดดังนี้แล้ วจึงได้ ไปปรากฏกายต่อหน้ า ชายนักโทษนั้น เขาเห็นพระเถระแล้ วก็เกิดเลื่อมใส คิดว่าหากเราก็จะถูก ฆ่าเดี๋ยวนี้แล้ ว อาหารนี้จะมีประโยชน์อะไรแก่เรา เราถวายพระคุณเจ้ าจะ ดีกว่า ผลของทานนี้จักเป็ นเสบียงสําหรับคนที่จะไปปรโลกเช่นเรา นี่เป็ นครั้งแรกที่เขาคิดถูก แต่กม็ าคิดเอาเมื่อใกล้ จะตาย ซึ่งก็ยังดีกว่า ที่ไม่คิดเสียเลย ดังนั้นเขาจึงถวายขนมต้ ม ๔ ก้ อน และนํา้ ดื่มแด่พระเถระ
๒๔
พระเถระรับแล้ วก็น่ังฉันอยู่ใกล้ ๆนั้น เพื่อให้ เขาเกิดเลื่อมใส ฉัน เสร็จแล้ วก็ลุกไป จากนั้นเขาก็ถูกตัดศีรษะ ด้ วยบุญแม้ เล็กน้ อยที่เขาได้ ทําไว้ ในบุญเขตอันยอดเยี่ยม เช่นท่านพระโมคคัลลานะผู้หมดจดจาก กิเลสเช่นนี้ เขาจึงได้ เกิดในหมู่เทพชั้นตํ่าเป็ นภุมมเทวดา คือเป็ นรุกข เทวดาอยู่ท่ตี ้ นไทรใหญ่ใกล้ ภเู ขาลูกหนึ่ง ความจริง เขาควรจะเกิดในภพที่สงู กว่านั้น เพราะเขาได้ เนื้อนา บุญชั้นเยี่ยมเป็ นถึงพระอรหันต์ แต่เพราะเหตุท่กี ่อนตายเขามัวนึกถึงหญิง งามเมืองนั้นด้ วยความรักว่า เราได้ ไทยธรรมนี้เพราะอาศัยนางนี้ เขาจึงได้ เกิดเป็ นเพียงรุกขเทวดา ต่อมารุกขเทวดานั้นเห็นนางนั้นเข้ าไปเที่ยวใน สวน ก็เนรมิตให้ เกิดความมืด แล้ วพานางไปอยู่ด้วยถึง ๗ วัน ทั้งแนะนํา ตนเองว่าเป็ นใคร ฝ่ ายมารดาของนางไม่เห็นนางก็ร้องห่มร้ องไห้ ตามหา คนทั้งหลายก็บอกให้ ไปถามท่านพระมหาโมคคัลลานะ เพราะท่านมีฤทธิ์ มารดาของนางก็ไปถาม พระเถระก็บอกว่า ในวันที่ ๗ นับแต่วันที่นาง หายไป นางจะไปปรากฏกายอยู่ท่ที ้ ายบริษัทที่มาฟังธรรมของพระพุทธ องค์ท่วี ัดเวฬุวัน ฝ่ ายนางนั้นก็ร่าํ ไห้ อ้อนวอนรุกขเทวดาให้ พามาส่ง เพราะ เกรงมารดาจะเป็ นห่วง เทวดาจึงพานางไปส่งไว้ ท้ายพุทธบริษัท ในขณะที่ พระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงแสดงธรรมอยู่ท่วี ัดเวฬุวัน แม้ เทวดาก็ยืนอยู่ด้วย แต่ไม่แสดงกายให้ ปรากฏ ฝ่ ายชนทั้งหลายเห็นนางแล้ วก็พากันถามนางว่า นางหายไปไหนมา แม่ของนางเที่ยวตามหาครํ่าครวญจะเป็ นบ้ าเมื่อไม่พบ นาง นางก็เล่าเรื่องให้ ฟังทั้งหมด ชนทั้งหลายฟังแล้ วก็สงสัยว่า ลูก เศรษฐี ผ้ ูน้ ีขวนขวายทําแต่บาป ไม่ได้ ทาํ บุญอะไรเลย ทําไมเกิดเป็ นเทวดา ได้ นางก็บอกว่า เขาได้ ถวายขนมต้ มกับนํา้ ดื่มที่นางให้ เขาแก่พระเถระ ด้ วยบุญนั้นเขาจึงได้ เกิดเป็ นรุกขเทวดา ชนทั้งหลายฟังแล้ วก็อศั จรรย์ใจ ว่า โอ บุญกรรม แม้ เพียงเล็กน้ อยเท่านั้น ที่หว่านลงในพระอรหันต์
๒๕
ผู้เป็ นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก ทําให้ เกิดเป็ นเทวดาได้ โสมนัสในผลบุญนั้น
จึงพากันปี ติ
เมื่อภิกษุท้งั หลายกราบทูลเรื่องนี้ให้ พระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงทราบ พระผู้มีพระภาคเจ้ าจึงตรัสว่า พระอรหันต์ท้งั หลายเปรียบด้ วยนา ทายก ทายิกาทั้งหลายเปรียบด้ วยชาวนา ไทยธรรมเปรียบด้ วยพืช ผลทานย่อม เกิดแต่การบริจาคไทยธรรมของทายกทายิกาผู้ให้ แก่ปฏิคาหกคือผู้รับนั้น พืช นา และการหว่านพืชนี้ ย่อมให้ เกิดผลแก่เปรตคือผู้ละโลกนี้ไปแล้ ว และแก่ทายกทายิกาผู้ให้ เปรตทั้งหลายย่อมพากันบริโภคผลนั้น ทายก ทายิกาย่อมเจริญด้ วยบุญ ทายกทายิกาครั้นทํากุศลในโลกนี้แล้ ว อุทิศให้ เปรตทั้งหลาย ครั้นทํากรรมดีแล้ วย่อมไปสวรรค์ นี่คือเรื่องของคนที่ ทําบุญแม้ เล็กน้ อยและเพียงครั้งเดียวก็ยังไปเกิดในสวรรค์ได้ ท่านอาจจะตั้งขอสงสัยว่า ก็บุญเล็กน้ อยที่เพื่อนของท่านทํานั้น ไม่มี พระอรหันต์มารับทานเลย จะได้ ไปสวรรค์ละหรือ ถ้ าเช่นนั้นก็ขอแนะนํา ว่า ในการทําทานกับผู้รับซึ่งแม้ จะเป็ นพระภิกษุธรรมดา คือไม่ใช่พระอริยะ ก็ขอให้ ต้ังจิตอุทิศถวายแด่สงฆ์คือพระอริยสงฆ์อนั ทรงพระคุณอันประเสริฐ เถิด ทานของท่านนั้นก็จะเป็ นสังฆทาน มีอานิสงส์นับประมาณไม่ได้ บุญ จะมากหรือน้ อยขึ้นอยู่กบั จิตใจที่เลื่อมใสของผู้ถวาย ขอให้ บอกเพื่อนของท่านด้ วยว่า การทําบุญนั้นมิใช่มีแต่ทานที่ต้อง อาศัยวัตถุมีข้าว นํา้ เป็ นต้ น ซึ่งมักจะต้ องใช้ ทรัพย์ซ้ อื หามาเท่านั้น ยังมี บุญอีกมากอย่างที่ไม่ต้องใช้ ทรัพย์เลย ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ อย่างนั้น มีเพียงทานเท่านั้นที่ต้องใช้ ทรัพย์ บุญกิริยาที่เหลือไม่ต้องใช้ ทรัพย์ใดๆ เลยก็สามารถทําได้ บุญกิริยาที่เหลือคือ ศีล การรักษาศีล ๕ ศีล ๘
๒๖
ภาวนา การเจริญสมถะและวิปัสสนา อปจายนะ การอ่อนน้ อมถ่อมตน เวยยาวัจจะ การขวนขวายช่วยกิจการงานที่เป็ นประโยชน์ ปั ตติทาน การ ให้ ส่วนบุญที่ทาํ แล้ วแก่ผ้ ูอ่นื ปั ตตานุ โมทนา การอนุโมทนาในส่วนบุญ ที่มีผ้ ูอทุ ิศให้ ธัมมัสสวนะ การฟังธรรม ธัมมเทศนา การแสดงธรรม และ ทิฏฐุ ชุกรรม การทําความเห็นให้ ตรง เมื่อเพื่อนของท่านขัดสนเงินทอง ก็โปรดได้ ทาํ บุญชนิดที่ไม่ต้องใช้ เงินทองดังกล่าวนี้เถิด ซึ่งบางอย่างมีอานิสงส์มากยิ่งกว่าทานเสียอีก เช่น การรักษาศีล การเจริญภาวนา เป็ นต้ น ขอเพียงให้ เข้ าใจว่า การ ทําบุญทุกอย่างนั้น เพื่อขัดเกลาจิตใจให้ เบาบางจากกิเลส มิใช่ทาํ เพื่อเพิ่ม กิเลส มีโลภะ เป็ นต้ น นี่เป็ นทิฏฐุ ชุกรรม การทําความเห็นให้ ถูกตรง อันเป็ นปัญญา เพราะฉะนั้นโปรดใช้ ปัญญาในการทําบุญทํากุศลทุกอย่าง แล้ วการ ทําบุญของท่านนั้นจะมีผลมากเองโดยที่ท่านไม่ต้องหวังจะได้ รับผลมากเลย ท่านก็ย่อมได้ รับแน่นอน
๒๗
ผูเ้ ว้นรอบโดยชอบในโลก สังคีตวรภิกขุ พระพุทธนิมิตตรัสถามด้ วยพระคาถาว่า เราขอถามมุนีผ้ มู ีปัญญามาก ผู้ข้ามถึงฝัง่ ปรินิพานแล้ วดํารงตนมั่น ภิกษุน้ันบรรเทากามทั้งหลายแล้ ว พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลกอย่างไร พระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสตอบว่า ภิกษุใด ถอนการถือความเกิด ความฝัน และลักษณะว่าเป็ นมงคล ขึ้นได้ แล้ ว ภิกษุน้ันละมงคลอันเป็ นโทษได้ แล้ วพึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุพึงนําออกเสียซึ่งความกําหนัดในกามทั้งหลาย ทั้งที่เป็ นของ มนุษย์ ทั้งที่เป็ นของทิพย์ ภิกษุน้นั ตรัสรู้ธัมม์แล้ ว ก้ าวล่วงภพได้ แล้ ว พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุกาํ จัดคําส่อเสียดได้ แล้ ว พึงละความโกรธ ความตระหนี่ ภิกษุ นั้นละความยินดีและความยินร้ ายได้ แล้ ว พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุละสัตว์และสังขารอันเป็ นที่รักและไม่เป็ นที่รักแล้ ว ไม่ถือมั่น อันตัณหาและทิฏฐิ ไม่อาศัยแล้ วในภพไหนๆ หลุดพ้ นแล้ วจากธัมม์อนั เป็ นที่ต้ังแห่งสังโยชน์ พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุน้ัน กําจัดเสียแล้ วซึ่งความกําหนัดด้ วยอํานาจแห่งความพอใจ ในความยึดถือทั้งหลาย ย่อมไม่เห็นความเป็ นสาระในอุปธิท้งั หลาย ภิกษุน้ันผู้อนั ตัณหาและทิฏฐิ ไม่อาศัยแล้ ว อันใครๆพึงนําไปไม่ได้ พึงเว้ น รอบโดยชอบในโลก ภิกษุน้ันไม่ผดิ พลาดด้ วยกายวาจาใจและการงานแล้ ว รู้แจ้ งแล้ ว ซึ่งธัมม์โดยชอบ ปรารถนาบทคือนิพพานอยู่ พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก
๒๘
ภิกษุใดประสบอยู่ ไม่พึงยึดถือว่าเรา แม้ ถูกด่าก็ไม่พึงผูกโกรธ ได้ โภชนะ ที่ผ้ ูอ่นื ให้ แล้ ว ไม่พึงประมาทมัวเมา ภิกษุน้นั พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุละความโลภและภพแล้ ว งดเว้ นจากการตัดและการจองจําสัตว์อ่นื ข้ ามพ้ นความสงสัย ไม่มีกเิ ลสดุจลูกศร พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุร้ แู จ้ งการปฏิบัติอนั สมควรแก่ตน และรู้แจ้ งธัมม์ตามความเป็ นจริง แล้ ว ไม่พึงเบียดเบียนสัตว์ไรๆในโลก พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุใดไม่มีอนุสยั ถอนอกุศลมูลอะไรๆขึ้นได้ แล้ ว ภิกษุน้ันไม่มี ความหวัง ไม่มีตัณหา พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุผ้ ูส้ นิ อาสวะ ละมานะได้ แล้ ว ก้ าวล่วงธรรมชาติอนั เป็ นทางแห่ง ราคะได้ หมด ฝึ กฝนตน ดับกิเลสได้ แล้ ว มีจิตตั้งมั่น พึงเว้ นรอบโดยชอบ ในโลก ภิกษุผ้ ูมีศรัทธาได้ สดับแล้ ว เห็นมัคค์ ไม่แล่นไปด้ วยอํานาจทิฏฐิ ใน สัตว์ท้งั หลายผู้ไปแล้ วด้ วยทิฏฐิ ภิกษุน้ันเป็ นปราชญ์ กําจัดเสียซึ่งโลภะ โทสะ และปฏิฆะ พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุน้ันชนะกิเลสด้ วยอรหัตมัคค์อนั หมดจดดี มีกเิ ลสดุจหลังคา เปิ ดแล้ ว มีความชํานาญในธัมม์ท้งั หลาย ถึงนิพพาน ไม่มีความหวั่นไหว ฉลาดในญาณอันเป็ นที่ดับสังขาร พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุล่วงความกําหนดว่าเรา ว่าของเรา ในปัญจขันธ์ท้งั ที่เป็ นอดีต ทั้งที่เป็ นอนาคต มีปัญญาบริสทุ ธิ์ก้าวล่วงทั้ง ๓ กาล หลุดพ้ นแล้ วจาก อายตนะทั้งปวง พึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ภิกษุผ้ ูร้ บู ทแห่งสัจจะทั้งหลาย ตรัสรู้ธมั ม์ เห็นการละอาสวะ ทั้งหลายเป็ นวิวัฏฏะ (นิพพาน) ไม่ข้องอยู่ในภพไหนๆ เพราะความหมด สิ้นไปแห่งอุปธิท้งั ปวงพึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก
๒๙
พระพุทธนิมิตตรัสพระคาถาว่า ข้ าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้ า ข้ อนี้เป็ นอย่างนั้นแน่แท้ ทีเดียว ภิกษุใดมี ปกติเป็ นอย่างนี้ ฝึ กฝนตนแล้ ว ล่วงธัมม์เป็ นที่ต้ังแห่งสังโยชน์ท้งั ปวง ภิกษุ นั้นพึงเว้ นรอบโดยชอบในโลก ครั้นพระพุทธนิมิตกล่าวชื่นชมเทศนาแล้ ว แห่งพระอรหัตด้ วยประการฉะนี้
เทศนาก็จบลงด้ วยยอด
มีจุดที่ต้องตีความอยู่หลายจุดด้ วยกัน แต่ในหลาย ๆ จุดนั้นก็มีบาง จุดที่ไม่อาจตีความได้ แต่ส่งิ ที่ต้องตีความให้ ได้ กค็ ือ ผู้เว้ นรอบโดยชอบใน โลกนั้นหมายความว่าอย่างไร คําว่าภิกษุน้นั กล่าวถึงใคร ข้ อปฏิบัติต่าง ๆ นี้ใครควรทํา ผู้ท่คี วรทําตามข้ อปฏิบัติน้ ีต้องเป็ นภิกษุแน่นอน แต่ผ้ ูท่ชี ่ือว่าภิกษุ นั่นไม่ได้ หมายความว่าต้ องเป็ นพระภิกษุเสมอไป คําว่า ภิกษุ แปลว่า ผู้ เห็นภัยในวัฏฏสงสาร ความเป็ นผู้เห็นภัยคือความเกิดนั้นไม่ได้ มีแต่พระ หรือว่าถ้ าเป็ นพระในยุคนี้จะเห็นภัยก็น้อยกว่าโยมหรือเปล่า อันนี้ลองไป คิดกันดู ประโยชน์ของคําพูดเหล่านี้เกิดขึ้นได้ ถ้าคนอ่านเห็นคุณค่า ที่น้ ี ประเด็นหลักของเรื่องนี้ “ผู้เว้ นรอบโดยชอบในโลก” พระพุทธนิมิตตรัสโดยให้ ความสําคัญกับคนที่หลุดพ้ นแล้ ว เขาจะอยู่ อย่างไรได้ จึงเกิดคําพูดที่ว่า ผู้เว้ นรอบ ผู้เว้ นรอบนั้นคือผู้มีสติ แต่สติกม็ ี ทั้งที่ผดิ และที่ถูก จึงต้ องกํากับว่าโดยชอบมาด้ วย โดยความหมายของเรื่อง ก็คือพระพุทธนิมิตทรงตั้งคําตอบในคําถามนั้นแล้ วถ้ าเราเข้ าใจความหมาย ว่าผู้มีสติท่ถี ูกเป็ นอย่างไร พระพุทธเจ้ าก็ทรงตอบอย่างนั้นจึงเป็ นที่มาและ ที่ไปของคําถามและคําตอบนี้โดยไล่ลาํ ดับไปจากง่ายไปหายาก คือพอทํา อย่างที่หนึ่งได้ กม็ ีอย่างที่สอง อย่างที่สามตามลําดับ โดยสุดท้ ายตรัสถึงการ บรรลุเป็ นพระอรหัตต์โดยความเป็ นอย่างนั้นคือคําตอบนั่นเอง
๓๐
ขอเชิญร่วมบริจาคสมทบทุนสร้างศาลาการเปรียญ ณ วัดจากแดง ติดต่อขอร่วมบริจาคได้ ท่ี ฝ่ ายประชาสัมพันธ์วัดจากแดง ๐๒ - ๔๖๔ ๑๑๒๒ หรือโอนเข้ าบัญชีชื่อ พระมหาประนอม, พระธิติพงศ์, นายอัครเดช เลขที่บญ ั ชี 037-1-47659-4 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาพระประแดง
ข่าวประชาสัมพันธ์ ขอเชิญสาธุชนสวดมนต์ทาํ วัตรแปล
สาธยายพระปริตร เจริญจิตภาวนา แผ่เมตตา ฟังธรรมบรรยาย ร่วมกับคณะสงฆ์วัดจากแดง ณ ศาลาทําบุญ ทุกวันอาทิตย์ และ วันพระ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๐.๔๕ น., ๑๒.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ณ วิหารหลวงพ่อหิน ทุกวัน เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๙.๐๐ น.
ขอเชิญร่วมบูชาพระเจดีย์ ทุกวันอาทิตย์ และ วันพระ เพื่อร่วมสืบสานประเพณีอนั ดีงาม ของบัณฑิตทั้งหลาย เวลา ๑๙.๐๐ - ๑๙.๔๐ น. ถือศีล ๘ ในวันพระ ขอเชิญฟั งรายการธรรมะทางวิทยุชุมชนวัดจากแดง คลื่น เอฟเอ็ม 96.75 MHZ ได้ ทุกวันตั้งแต่เวลา ๐๔.๐๐-๒๓.๐๐ น. และรายการธรรมะผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ ท่ี
www.bodhiyalai.org
ขอเชิ ญพุทธศาสนิ กชนเข้าศึกษาหลักสูตรต่างๆที่ทางวัดจัดขึ้น ดังนี้ หลักสูตรบาฬีวนั อาทิตย์ ทุกวันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. โดยพระมหาไพบูลย์ พุทฺธวิรโิ ย หลักสูตรอภิธรรม ทุกวันอาทิตย์ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. โดยพระมหาบุญชู อาสโภ หลักสูตรบาฬีพน ้ื ฐาน-การสนทนาภาษาบาฬี ทุกวันพุธ - พฤหัสบดี เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. โดย อาจารย์ประภาส ตะถา หลักสูตรคัมภีรไ์ วยากรณ์ปทรูปสิทธิ ทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. โดย อาจารย์รฐั การ ปิ่นแก้ว
๓๑
ขออนุ โมทนา คุณสุรศักดิ์ จิ นาพันธ์ และบริษทั โกลด์ซิตี้ ฟุตแวร์จากัด ผู้ถวายการอุปถัมภ์ ในการตัดแว่ นสายตา ถวายพระภิกษุสามเณร วัดจากแดง
ขออนุโมทนา ชมรมอนุรักษ์ธรรม นําโดยคนเดินทาง ที่ได้ จัดทําCD ทศชาติชาดก จํานวน ๑๐,๐๐๐ ชุดๆละ ๑๐ แผ่น รวมทั้งสิ้น ๑๐๐,๐๐๐ แผ่น เพื่อแจกจ่ายเป็ นธรรมทาน หากพุทธศาสนิกชนท่านใด มีความประสงค์จะขอรับ CD ชุด ทศชาติชาดก (เสียงอ่านโดยคนเดินทาง) สามารถติดต่อขอรับได้ ท่ี ฝ่ ายธุรการ 083-491 1440 หรือ Email: bodhiyalai.magazine@gmail.com
๓๒
รายนามเจ้าภาพภัตตาหาร เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ๏ พระครูสมุหท์ วี เกตุธมฺโม
๏ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
๏ หม่อมหลวงสุพชิ าน์ ทองใหญ่ และครอบครัว ๏ อาจารย์อศิ ริยา นุ ตสาระ และคณะ ๏ คุณหมอสดใส เวชชาชีวะ ๏ คุณแม่เสงี่ยม ศรีอนันต์ และครอบครัว ๏ คุณกิง่ กาญจน์ อารักษ์พุทธนันท์ ๏ คณะอาจารย์ธรรม นิยมกิจสัมฤทธิ ์ ๏ คุณประภาศรี วู ๏ คุณประเสริฐ - คุณเซาะลิม้ อึ้งอร่าม และครอบครัว ๏ คุณสิรชิ ยั อึ้งอร่าม และครอบครัว ๏ คุณสุพจน์ รัตนเสรีเกียรติ ๏ คุณปาริชาติ เชื่อมแก้ว ๏ คุณสลักจิต พันธ์มงิ่ ๏ คุณนิศาชล นิลเหลือง อุทศิ ให้คณ ุ รุ่งระวี นิลเหลือง ๏ คุณชลลดา คมพิทกั ษ์ชยั อุทศิ ให้นายอานวย ภาคยธนากุล ๏ คุณทัศนีย์ ชลิศราพงศ์ อุทศิ ให้คณ ุ พ่อเสก แซ่องั ้ , คุณแม่เง็ก แซ่กงั , คุณวิพุธ ชลิศราพงศ์ ๏ คุณดารง เหมือนขวัญ และครอบครัว ๏ คุณอรุณี วชิราพรทิพย์ ๏ คุณเป้งกิม, คุณแม่กมิ ท้อ แซ่จงึ และครอบครัว
๏ ชุมนุ มพุทธธรรมศิรริ าช คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล กลุม่ ผูเ้ รียนทศบารมี และผูม้ กี ุศลจิต ๏ คุณสุรศักดิ ์ จินาพันธ์ ๏ จ.ต.วิศษิ ฐ์ - คุณชัญญนุ ชย์ น้อยจุย้ ๏ คุณพิสมัย พรมสอน อุทศิ ให้คณ ุ ปราโมทย์ พรมสอน ๏ ครอบครัวเผือกประเสริฐ และ ฟูทองรอด ๏ ครอบครัวงานสันติสขุ , ครอบครัวฉวีวาณิชยกุล ครอบครัวมุมทอง , ครอบครัวเฟื่ องจินดาวงศ์ , ครอบครัวสรสรรเสริญ ๏ คุณปญั ญา ศรีมงคล - คุณเกสร ตันสุวรรณกุล ๏ คุณคฑาณัฐ เบรชนัน ๏ คุณเลิศพงษ์ - คุณศิวพร เกียรติไพบูลย์ และครอบครัว ๏ คุณอภิศกั ดิ ์ - คุณเรวดี โชวใจมีสขุ ๏ คุณมนู ญ, รศ.นงนารถ, คุณจันทิภา เดชณรงค์ ๏ คุณจิรยุทธ์ , คุณโสภา สุขมุ าลจันทร์ ๏ คุณสมชาย - คุณนิพทั ธา - ด.ช.คริษฐ์ หิรญ ั โรจน์ ๏ คุณชุลพี ร สุทธิวริ วิ รรณ - ด.ช.ขจรเกียรติ ชัยวัฒนกุลวานิช ๏ คุณภานุ - คุณจันทรา มหัทธโนบล ๏ คุณวัชรินทร์ เยี้ยเทศ และครอบครัว
๏ คุณแม่สมศรี รัตนชีวร และคุณแม่ยพุ า - คุณพ่อชาญ อยูค่ งศิลป์ ๏ คุณอณิชา ไพศาลอุทยั กุล, คุณณัฐศักดิ ์ ตันตยานุ พนธ์ ๏ คุณฉัฐกนก วาณิชกรพิพฒ ั น์ , คุณสุดาภรณ์ ต่วนชะเอม, คุณสุภาภรณ์ เชาวกิจ และคุณธัญญาพร เขจรดวง ๏ คุณวิมตุ ติ สุขวิทยาโรจน์ ๏ คุณปนัดดา แซ่โล้ว
๏ คุณดวงดาว วรมิศร์ ๏ คุณมนู ญ - คุณนงนารถ - คุณจันทิภา เดชณรงค์ คุณจิรยุทธ์ - คุณโสภา สุขมุ าลจันทร์ ๏ คุณวันดี - คุณปญั ญา เปลีย่ นรุ่ง และครอบครัว ๏ ศ.นพ.บัญญัติ - คุณกานดา ปริชญานนท์ และครอบครัว
และผูท้ ี่มิได้เอ่ยนามทุกท่าน
๓๓
รายนามเจ้าภาพน้ าปานะและอื่นๆ เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ๏ พระมหาไพบูลย์ พุทฺธวิรโิ ย ๏ หม่อมหลวงสุพชิ าน์ ทองใหญ่ ๏ พลโทนรวีร์ - คุณเสริมสุข ปัทมสถาน ๏ พล.ต.ต. สพรัง่ - คุณณัทภรณ์ อุณปาทร ๏ คุณชวลิตร - คุณลลิตา ปรีตะนนท์ ๏ คุณทวีชยั - กัณยาณี คงเจริญสุขยิง่ ๏ คุณสรณา จิรารัตน์ สกุล
๏ ชมรมพุทธธรรมรามคาแหง ๏ คุณแม่เสงี่ยม ศรีอนันต์ และครอบครัว ๏ คุณกิง่ กาญจน์ อารักษ์พุทธนันท์ ๏ คุณณรงค์ศกั ดิ ์ เตชะไกรศรี ๏ คุณประภาศรี วู ๏ คุณชัยวุฒ ิ - อรกรณ์ ธรรมภูมกิ ุล
และผูท้ ี่มิได้เอ่ยนามทุกท่าน
ติดต่อร่วมเป็ นเจ้ าภาพภัตตาหาร และนํา้ ปานะ ได้ ท่ฝี ่ ายประชาสัมพันธ์วัดจากแดง 02-464 1122 02 - 462 5928
๓๔
๓๕
๓๖