เน
เน
เน
๔
บทนา สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน จุลสารโพธิยาลัยฉบับที่ ๔ ซึ่งตรงกับเดือน เมษายน หรือภาษาบาฬีเรียกว่า จิตตฺ มาส ดังที่ได้ กล่าวไว้ ในฉบับที่แล้ ว ว่าฉบับนี้จะมีเรื่องราวเกี่ยวกับสังเวชนียสถานมาฝากท่านสาธุชนทุกท่าน เนื่องจากทางวัดจากแดง โดยพระอาจารย์มหาธิติพงศ์ อุตตฺ มปญฺโ ญ ได้ นาํ พาพระภิกษุ-สามเณร ที่กาํ ลังศึกษาอยู่ ณ วัดจากแดง เดินทางไปยัง ประเทศอินเดีย-เนปาล เพื่อนมัสการสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล อันเป็ น สถานที่ท่มี ีความสําคัญยิ่งต่อเราชาวพุทธ ในเบื้องแรกจะนําภาพกิจกรรม ต่างๆมาให้ ได้ ชมกัน แต่เนื่องจากจุลสารฯฉบับนี้ มีเนื้อที่จาํ กัดจึงไม่ สามารถนําลงให้ ชมได้ หมด จะขอยกยอดไปในจุลสารฉบับต่อๆไป ในเดือนเมษายนนี้ เป็ นเดือนที่ชาวไทยรอคอย เพราะมีประเพณี สงกรานต์ให้ ได้ เล่นนํา้ ดับความร้ อน และยังได้ มีโอกาสรดนํา้ ดําหัวผู้ใหญ่ เพื่อขอพร ซึ่งหลายๆท่านได้ เดินทางกลับสู่ภมู ิลาํ เนาของตน คณะผู้จัดทํา ขอให้ ทุกท่านเดินทางโดยสวัสดิภาพ หากพุทธศาสนิกชนท่านใดที่มิได้ เดินทางไปไหน ทางวัดจากแดงขอ เชิญชวนมาร่วมงานวันมหาสงกรานต์ ณ วัดจากแดง ที่จะจัดขึ้นในวันที่ ๑๓-๑๔ เมษายน ส่วนกิจกรรมจะมีอย่างไรบ้ างนั้น สามารถติดตามได้ ท่ี เว็บไซต์ของทางวัด www.bodhiyalai.org ส่วนท่านใดมีความประสงค์จะร่วมสมทบทุนสร้ างศาลาการเปรียญ ขอเชิญร่วมบริจาคได้ ท่ฝี ่ ายประชาสัมพันธ์วัดจากแดง 02-464 1122 หรือ โอนผ่านธนาคารได้ ท่ี ชื่อบัญชี พระมหาประนอม, พระธิติพงศ์, นายอัคเดช เลขที่บัญชี 037-1-47659-4 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาพระประแดง คณะผู้จัดทํา bodhiyalai.magazine@gmail.com
๕
นมัสการสังเวชนียสถาน ๔ ตาบล ตถตา “อิธ ตถาคโต ชาโตติ อานนฺท สทฺธสฺส กุลปุตฺตสฺส ทสฺสนียํ สํเวชนียํ ฐานํ ฯเปฯ สพฺเพ เต กายสฺส เภทา ปรมฺมรณา สุคตึ สคฺคํ โลกํ อุปปชฺชิสฺสนฺติ” (ที.มหา. เล่ม ๑๐ ข้ อ ๑๓๑) “ดูกรอานนท์ สังเวชนียสถาน เป็ นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ด้ วยมาตามระลึกว่า พระตถาคตเสด็จอุบัติในที่น้ ี ฯลฯ มีจติ เลื่อมใสแล้ ว จักทํากาละลง เบื้องหน้ าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้ าถึงสุคติโลกสวรรค์ ” คําว่าสังเวชนีย มาจาก สํ บทหน้ า + วิชี กมฺเป ในความหวั่นไหว + อนียปัจจัย รวมกับคําว่าสถาน ได้ เป็ นสังเวชนียสถาน แปลว่าสถานที่เป็ น ที่ต้ังแห่งความสังเวช เป็ นคําที่ใช้ เรียกสถานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้ า โดยเฉพาะ หมายถึงสถานที่ๆทําให้ เกิดความรู้สกึ ระลึกถึงพระพุทธเจ้ า เกิด ความแช่มชื่น เบิกบาน เกิดแรงบันดาลใจที่จะทําความดี เมื่อได้ ไปพบเห็น ในบทความนี้จะกล่าวถึงสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล พร้ อมภาพประกอบ พอสังเขป เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนได้ เข้ าใจในแต่ละสถานที่ ว่าแต่ละแห่ง เกี่ยวข้ องกับพระพุทธเจ้ าอย่างไรบ้ าง ในปัจจุบันอยู่ตาํ แหน่งใด มีลักษณะ อย่างไร ซึ่งจะไล่เรียงตามเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นในสมัยพุทธกาลอันได้ แก่ สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และเสด็จปรินิพพาน สังเวชนียสถานอาจแปลได้ อีกนัยหนึ่งว่า สถานที่ก่อให้ เกิดความ อัศจรรย์ เพราะเป็ นสถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนาและปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้ าผู้เป็ นอัครบุรุษของโลก (ดูใน อัฏฐสาลินีฯ หน้ า ๙๕-๙๖ แปลและอธิบายโดยพระคันธสาราภิวงศ์)
๖
ลุมพินีวนั พระโพธิสตั ว์ประสูติ ณ ลุมพินีวันแห่งนี้ เนื่องจาก พระราชชนนีเสด็จสู่กรุงเทวทหะ เพื่อทรงมีพระประสูติกาลที่เมืองของตน ตามประเพณีนิยม พอเสด็จถึงลุมพินีกป็ ระสูติพระโอรสที่น่ัน พระโพธิสตั ว์ประสูติด้วยพระวรกายที่สะอาดหมดจด ผุดผ่องดุจแก้ ว มณี ไม่แปดเปื้ อนด้ วยสิ่งปฏิกูลต่างๆ ทั้งประกอบด้ วยลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการ พอประสูติได้ ครู่หนึ่ง ก็ประทับยืนอย่างมั่นคงด้ วยพระบาท ๒ ข้ าง ทรงผินพระพักตร์ไปทางทิศเหนือแล้ วเสด็จย่างพระบาทไป ๗ ก้ าว แล้ วเปล่งอาสภิวาจาอย่างองอาจว่า “อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺส, เชฏฺโฐหมสฺมิ โลกสฺส, เสฏฺโฐหมสฺมิ โลกสฺส, อยมนฺติมา ชาติ, นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว” “เราเป็ นผู้เลิศที่สดุ ในโลก เราเป็ นผู้เจริญที่สดุ ในโลก เราเป็ นผู้ ประเสริฐที่สดุ ในโลก ชาติน้ ีเป็ นชาติสดุ ท้ าย การเกิดใหม่มิได้ มีอกี ”
๗
ลักษณะทัว่ ไป ลุมพินีวนั (อังกฤษ: Lumbini) เป็ นพุทธสังเวชนีย สถานที่สาํ คัญแห่งที่ 1 ใน 4 สังเวชนียสถานของชาวพุทธ เป็ นสถานที่ ประสูติของเจ้ าชายสิทธัตถะ ผู้ซ่งึ ต่อมาตรัสรู้เป็ นพระบรมศาสดาสัมมาสัม พุทธเจ้ า ตั้งอยู่ท่อี าํ เภอไภรวา แคว้ นอูธ ประเทศเนปาล เป็ นพุทธสังเวชนีย สถานเพียงแห่งเดียวที่อยู่นอกประเทศอินเดีย ลุมพินีวัน เดิมเป็ นสวนป่ าสาธารณะหรือวโนทยานที่ร่มรื่นเหมาะแก่ การพักผ่อนในสมัยพุทธกาลลุมพินีวันตั้งอยู่ก่งึ กลางระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์ กับเมืองเทวทหะ ในแคว้ นสักกะ บนฝั่งแม่นาํ้ โรหิณี หลังจากพระพุทธเจ้ า ปรินิพพานแล้ ว พระเจ้ าอโศกมหาราชได้ โปรดให้ สร้ างเสาหินขนาดใหญ่มา ประดิษฐานไว้ บริเวณที่ประสูติ เรียกว่า เสาอโศก ที่จารึกข้ อความเป็ น อักษรพราหมีว่าพระพุทธเจ้ าประสูติท่ตี รงนี้ ปัจจุบันลุมพินีวันอยู่ในเขตประเทศเนปาล ติดชายแดนประเทศ อินเดียทางเหนือเมืองโคราฆปุระ ห่างจากสิทธารถนคร(หรือนครเทวทหะ) ทางทิศตะวันตกประมาณ 22 กิโลเมตร และห่างจากเมืองติเลาราโกต (หรือนครกบิลพัสดุ์) ทางทิศตะวันออก 22 กิโลเมตร ซึ่งถูกต้ องตามตํารา ที่กล่าวว่าลุมพินีวันสถานที่ประสูติน้ัน ตั้งอยู่ระหว่างเมืองกบิลพัสดุ์และ เมืองเทวทหะ ปัจจุบันลุมพินีวันมีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่ ทางการเรียก สถานที่น้ ีว่า รุมมินเด มีสภาพเป็ นชนบท มีผ้ ูอาศัยอยู่ไม่มาก มีส่งิ ปลูก สร้ างเป็ นพุทธสถานเพียงเล็กน้ อย แต่มีวัดพุทธอยู่ในบริเวณนี้หลายวัด รวมทั้งวัดไทยลุมพินี ลุมพินีวันได้ รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโกให้ เป็ นมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540
๘
พุทธคยา สถานที่ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณของพระพุทธเจ้ า อยู่ในเขตตําบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้ นมคธ มีเมืองราชคฤห์เป็ นราชธานี พระโพธิสตั ว์เสด็จถึงเมืองราชคฤห์ ได้ ศึกษาในสํานักของอาฬารดาบส กาลามโคตร และอุททกดาบสรามบุตร บรรลุสมาบัติ ๘ เห็นว่ามิใช่ทาง บรรลุถงึ ความสิ้นทุกข์ จึงเสด็จไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคมเพื่อบําเพ็ญ ทุกรกิริยา หลังจากบําเพ็ญอยู่ ๖ ปี เมื่อทรงเห็นว่ามิใช่ทาง จึงละวิธีบาํ เพ็ญ ทุกรกิริยาและหันมาเสวยพระกระยาหารตามปกติ ต่อมาพระโพธิสตั ว์ เสด็จไปประทับอยู่ใต้ ต้นอชปาลนิโครธ ทรงรับข้ าวมธุปายาสพร้ อมทั้งถาด ทองจากนางสุชาดา ทรงเสวยแล้ วจึงทรงลอยถาดอธิษฐานที่ท่าสุปติฏฐิ ตะ และหลังจากทรงรับหญ้ าคาจากโสตถิยพราหมณ์แล้ ว ทรงปูลาดเป็ นอาสนะ พร้ อมทั้งตั้งสัจจะไว้ ในพระทัยอย่างแน่วแน่ว่า “เลือดและเนื้อในสรีระจะ เหือดแห้ งไป เหลือแต่หนัง เอ็น และกระดูกก็ตามที เมื่อยังไม่บรรลุสมั มา สัมโพธิญาณเราจักไม่ทาํ ลายบัลลังก์น้ ีอย่างเด็ดขาด”
๙
ลักษณะทัว่ ไป พุทธคยา (บาฬี: พุทธฺ คยา, อังกฤษ: Bodh Gaya, Mahabodhi Temple) คือคําเรียกกลุ่มพุทธสถานสําคัญในอําเภอคยา รัฐ พิหาร ประเทศอินเดีย ซึ่งเป็ นพุทธสถานที่มีความสําคัญที่สดุ 1 ใน 4 แห่ง ของชาวพุทธทั่วโลก เนื่องจากเป็ นที่ต้ังของสถานทีต่ รัสรูข้ องพระสัมมาสัม พุทธเจ้า ปัจจุบันบริเวณพุทธศาสนสถานอันเป็ นที่ต้ังของสถานที่ตรัสรู้ มีช่ือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดมหาโพธิ อยู่ในความดูแลของคณะกรรมการ ร่วมระหว่าง พุทธ-ฮินดู พุทธคยา ปัจจุบันตั้งอยู่ด้านตะวันตกของแม่นาํ้ เนรัญชรา ห่างจากฝั่ง แม่นาํ้ ประมาณ 350 เมตร (นับจากพระแท่นวัชรอาสน์) พุทธคยามี สัญลักษณ์ท่สี าํ คัญคือองค์เจดีย์ส่เี หลี่ยมที่สงู ใหญ่ โดยสูงถึง 51 เมตร ฐาน วัดโดยรอบได้ 121.29 เมตร ล้ อมรอบด้ วยโบราณวัตถุ โบราณสถาน สําคัญ เช่น ต้ นพระศรีมหาโพธิ์ พระแท่นวัชรอาสน์ ที่ประทับตรัสรู้ และอนิมิสสเจดีย์เป็ นต้ น ซึ่งนอกจากพุทธสถานโบราณแล้ ว บริเวณ โดยรอบพุทธคยายังเป็ นที่ต้ังของวัดพุทธนานาชาติ รวมทั้งวัดไทยคือวัด ไทยพุทธคยา สําหรับชาวพุทธ พุทธคยานับเป็ นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่สาํ คัญ ที่สดุ ของนักแสวงบุญชาวพุทธทั่วโลกที่ต้องการมาสักการะสังเวชนียสถาน สําคัญ 1 ใน 4 แห่งของพระพุทธศาสนา โดยในปี พ.ศ. 2545 วัดมหาโพธิ (พุทธคยา) สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ า ได้ รับการขึ้นทะเบียนเป็ นมรดก โลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม ขององค์การยูเนสโก
๑๐
สารนาถ หลังจากพระพุทธเจ้ าตรัสรู้ ๒ เดือน ได้ เสด็จไปที่ป่าอิสปิ ตน มฤคทายวัน ได้ พบปัญจวัคคีย์ท้งั ๕ (ปัจจุบันคือเจาคัณฑีสถูป) ปัญจ วัคคีย์เห็นพระพุทธเจ้ าเสด็จมาแต่ไกล ตกลงกันว่าจะไม่ทาํ การต้ อนรับ แต่ พอเสด็จมาถึงก็ลืมกติกากันหมด ต่างคนต่างต้ อนรับ พระพุทธองค์จึงตรัส กับปัญจวัคคีย์ว่า “ท่านทั้งหลาย บัดนี้เราได้ บรรลุอมตธรรมแล้ ว จะแสดง ให้ ท่านทั้งหลายฟัง เมื่อตั้งใจปฏิบัติตามที่เราสอน ก็จักถึงที่สดุ แห่ง พรหมจรรย์ได้ ” เมื่อได้ สถานที่อนั สมควร พระพุทธเจ้ าจึงทรงเริ่มแสดงปฐมเทศนา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โดยทรงแนะนําสิ่งที่ไม่ควรและสิ่งที่ควรทําว่า “ที่สดุ ๒ อย่าง อันบรรพชิตไม่ควรเสพ คือกามสุขัลลิกานุโยค การเสวยสุข ในกามคุณ และอัตตกิลมถานุโยค การบําเพ็ญตนให้ ลาํ บาก” ทรงแสดง อริยสัจ ๔ คือทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค อันรู้ด้วยญาณ ๓ คือสัจจญาณ รู้ ตามความเป็ นจริง กิจจญาณ รู้กจิ อันควรทํา และกตญาณ รู้ว่าทุกข์กาํ หนด รู้ได้ แล้ ว สมุทัยละได้ แล้ ว นิโรธทําให้ แจ้ งแล้ ว มรรคทําให้ เจริญแล้ ว
๑๑
สารนาถ (อังกฤษ: Sarnath) จัดเป็ นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่ 3 (1 ใน 4 แห่งของชาวพุทธ) ตั้งอยู่ 9 กิโลเมตรเศษ ทางเหนือของเมือง พาราณสี (เมืองศูนย์กลางของศาสนาฮินดู) ในรัฐอุตตรประเทศ ประเทศ อินเดียในปัจจุบัน (หรือ แคว้ นมคธชมพูทวีป ในสมัยพุทธกาล) เหตุท่ไี ด้ ช่ือว่าสารนาถ สืบเนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็ นสถานที่ พระพุทธเจ้ าทรงแสดงปฐมเทศนา เริ่มต้ นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อ เป็ นที่พ่ึงแก่มหาชนทั้งหลาย และบ้ างก็ว่ามาจากศัพท์ว่า สารงฺค + นารถ = ที่อยู่ของสัตว์จาํ พวกกวางสารนาถยังรู้จักกันดีในชื่อ“อิสิปตนมฤคทายวัน” หรือ “ฤๅษีปัตนมฤคทายวัน” (บาฬี: อิสปิ ตนมิคทาย) แปลว่า ป่ าอันยก ให้ แก่หมู่กวาง และเป็ นที่ชุมนุมของฤๅษี ภายในอาณาบริเวณสารนาถ มีธมั เมกขสถูป เป็ นพุทธสถานขนาดใหญ่ท่สี ดุ และสําคัญที่สดุ สันนิษฐาน ว่าบริเวณที่ต้ังของธัมเมกขสถูป เป็ นสถานที่ท่พี ระพุทธเจ้ าทรงแสดงปฐม เทศนาประกาศพระสัจจธรรมเป็ นครั้งแรก
๑๒
กุสินารา เป็ นเมืองหลวงแห่งที่ ๒ ของแคว้ นมัลละ ส่วนเมืองหลวง แห่งที่ ๑ คือกรุงปาวา เจ้ ามัลละเป็ นกษัตริย์ปกครองนคร หลังจากพระพุทธองค์ทรงปลงพระชนมายุสงั ขารที่เวฬุคาม ในกรุง เวสาลีแล้ ว ได้ เสด็จผ่านภัณฑคาม หัตถิคาม อัมพคาม ชัมพุคาม โภคนคร แคว้ นวัชชี ตลอดเรื่อยมาจนถึงกรุงกุสนิ ารา ได้ ตรัสกับพระอานนท์ว่า “อานนท์ ในปัจฉิมยามแห่งราตรี ตถาคตจักปรินิพพาน” หลังจากนั้น พระองค์ทรงตรัสแสดงอานิสงส์ของภัตตาหารที่นางสุชาดาถวายก่อนตรัสรู้ และที่นายจุนทะถวายก่อนปรินิพพานว่ามีผลเสมอกัน แล้ วเสด็จข้ ามแม่นาํ้ หิรัญญวดีไปสู่สาลวโนทยาน สําเร็จอนุฏฐานไสยา คือจะไม่ทรงลุกขึ้นอีก ทรงประทานปัจฉิมโอวาทว่า “ภิกษุท้งั หลาย เราขอเตือนเธอทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็ นธรรมดา เธอทั้งหลายจงถึงพร้ อมด้ วย ความไม่ประมาทเถิด”
๑๓
ลักษณะทัว่ ไป กุสินารา เป็ นที่ต้ังของสังเวชนียสถานแห่งที่ 4 ในสมัย พุทธกาลเป็ นเมืองเอกหนึ่งในสองของแคว้ นมัลละ อยู่ตรงข้ ามฝั่งแม่นาํ้ คู่ กับเมืองปาวา เป็ นที่ต้ังของสาลวโนทยาน หรือป่ าไม้ สาละที่พระพุทธเจ้ า เสด็จดับขันธปรินิพพานและเป็ นสถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ กุสนิ าราจัดเป็ นพุทธสังเวชนียสถานที่สาํ คัญแห่งที่ 4 ใน 4 สังเวชนีย สถานของชาวพุทธ เป็ นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพานขององค์สมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ตั้งอยู่ท่ตี าํ บลมถากัวร์ อําเภอกุสนิ คร หรือกาเซีย หรือกาสยา (Kushinaga; Kasia; Kasaya) ในเขตจังหวัดเทวริยา (Devria; Devriya) รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย สาลวโนทาย สถานที่เสด็จดับ ขันธปรินิพพาน มีช่ือเรียกในท้ องถิ่นว่า มาถากุนวะระกาโกฏ (MathaKunwara-Ka-Kot) ซึ่งแปลว่า ตําบลเจ้ าชายสิ้นชีพ ปรากฏตามคัมภีร์ว่า เมืองนี้เคยเป็ นที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้ าพระนามว่าผุสสะ เป็ นที่เกิด บําเพ็ญบารมีของพระโพธิสตั ว์หลายครั้ง เคยเป็ นราชธานีนามว่ากุสาวดี ของพระเจ้ ามหาสุทัสสนจักรพรรดิ์ ปัจจุบันกุสนิ ารา มีอนุสรณ์สถานที่สาํ คัญคือสถูปใหญ่ซ่งึ พระเจ้ าอโศก มหาราชทรงให้ สร้ างไว้ และบรรจุ พระบรมสารีริกธาตุ วิหารปรินิพพานซึ่ง เป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปางปรินิพพาน และมีซากศาสนสถานโบราณ โดยรอบมากมาย
๑๔
เหตุไรไวยากรณ์ใหญ่จึงมีสูตร รุ่งอรุณ จันทร์สงคราม ในการเรียนการสอนไวยากรณ์ใหญ่ ผู้เรียนต้ องนําสูตรมาใช้ ในการ สร้ างรูปคํา ทําให้ เกิดคําถามว่าเหตุไรจึงต้ องมีสตู รด้ วย เพราะการเรียน ไวยากรณ์เบื้องต้ น ไม่เห็นจะต้ องใช้ สตู รก็สามารถเข้ าใจในไวยากรณ์ได้ สูตรนั้นถือกันว่าเป็ นแนวทาง เป็ นบรรทัดฐานรวมทั้งใช้ เป็ นตัววัด มาตรฐานในเรื่องนั้นๆด้ วย ลองพิจารณาดู ไม่ว่าเรื่องใดๆก็ตาม จะต้ องมี “สูตร” เป็ นแนวทาง เป็ นบรรทัดฐาน แต่อาจเรียกด้ วยคําอื่นก็ได้ เช่น หลักการ, วิธีการ หรือ เคล็ดลับ เป็ นต้ น การทําอาหารก็มีสตู รทําอาหาร การคํานวณก็มีสตู รในการคํานวณ เช่น สูตรคูณ การเล่นกีฬาก็ต้องมีหลักและวิธีการเล่น การทํางานก็ต้องมีหลักและวิธีการทํางาน ในแต่ละเรื่องนั้น อาจมีสตู รที่เป็ น “วิธีพิเศษเฉพาะ” ที่เรียกว่า เคล็ดลับอีกด้ วย เท่าที่ยกมานี้เป็ นสิ่งที่ช้ ีให้ เห็นถึงความสําคัญของการมีสตู ร เมื่อมีผ้ ูสนใจเรื่องอาหาร อยากทําอาหารได้ เอง จึงไปถามไปเรียนรู้ และฝึ กทํากับผู้ท่ที าํ อาหารเป็ น คําตอบ คําชี้แจง และคําแนะนําต่างๆ ที่ ได้ รับจากผู้ท่ที าํ เป็ น รวมทั้งประสบการณ์ท่เี กิดจากการฝึ กทําและถ่ายทอด ออกมาเป็ นคําพูดนั่นแหละคือสิ่งที่เรียกว่า “สูตร” เพราะสูตรนั้น ไม่ใช่ อะไรอื่น แต่คือคําพูดที่ถ่ายทอดเนื้อหาสาระในเรื่องนั้น เมื่อมีการรวบรวม สูตรการทําอาหารต่างๆ เข้ าเป็ นหมวดหมู่ จัดรูปแบบการนําเสนอให้ ผ้ ูอ่นื ที่สนใจได้ เรียนรู้ด้วย ก็เกิดเป็ นตําราการทําอาหารขึ้นมา
๑๕
เช่นเดียวกัน ตําราหรือคัมภีร์ทางภาษาก็เป็ นการรวบรวมคําชี้แจง คําแนะนําที่เรียกกันว่า “สูตร” หรือกฎเกณฑ์ทางภาษาขึ้นมาเป็ นหมวดหมู่ แล้ วจัดรูปแบบการนําเสนอเพื่อให้ ผ้ ูท่สี นใจในเรื่องภาษาได้ เรียนรู้ด้วย เพราะสังคมของคนเรามีการเรียนรู้ส่งั สมและถ่ายทอดประสบการณ์ท่ี เรียกว่า “องค์ความรู้” ระหว่างกัน เมื่อข้ อความคําพูดที่ใช้ แสดงเนื้อหาสาระในเรื่องนั้น เป็ นสื่อสําคัญ ในการถ่ายทอดส่งต่อความรู้ จึงมีการคิดรูปแบบในการใช้ คาํ พูดที่เป็ น “สูตร” เหล่านั้นให้ ส้นั กระชับ และได้ ใจความ ยิ่งในสังคมสมัยก่อนที่มีการส่งต่อความรู้กนั ในแบบ “ปากต่อปาก” หรือที่เรียกว่า “มุขปาฐะ” นั้น การทําให้ ข้อความคําพูดดังกล่าวมีรูปแบบ เฉพาะเพื่อเหมาะแก่การทรงจําและถ่ายทอดจึงสําคัญยิ่ง เมื่อข้ อความคําพูดดังกล่าวได้ รับการทําให้ มีรูปแบบเฉพาะเช่นนั้น จึงมีคาํ เรียกเป็ นการเฉพาะว่า “สูตร” แต่กย็ ังสามารถใช้ คาํ เรียกตาม สภาพจริงได้ เช่นที่พบในสัททนีติ สุตตมาลา ว่าคําว่า “วจน (คําพูด)” เป็ นคําที่หมายถึงสูตรได้ เพราะสูตรก็เป็ นคําพูดอย่างหนึ่ง เมื่อเข้ าใจความหมายของสูตรและความเป็ นมาแล้ ว การมีสตู รจึง เป็ นเรื่องปกติ ในการเรียนไวยากรณ์เบื้องต้ นนั้น ไม่ใช่ว่าจะไม่มีสตู รเสีย ทีเดียว ความจริงมีสตู รแทรกอยู่เหมือนกัน แต่อาจดูไม่เด่นเช่นที่ปรากฏ ในไวยากรณ์ช้ันสูงหรือไวยากรณ์ใหญ่ ข้ อกําหนดต่างๆ ที่มีอยู่ในไวยากรณ์เบื้องต้ นนั้นถือว่าเป็ นสูตรได้ เช่นที่ว่า “อ กับ สิ เป็ น โอ” นั้นถือว่าเป็ นสูตรได้ และแปลเป็ นภาษา บาฬีกจ็ ะได้ ว่า “สวิภตฺติสสฺ าการสฺโส สิมฺหิ” หรืออะไรทํานองนี้ แม้ เนื้อหา อาจแตกต่างจากเนื้อหาของสูตรในไวยากรณ์ใหญ่บ้างก็ตาม ซึ่งเป็ นเรื่องที่ เกิดขึ้นได้ เหมือนอย่างสูตรในไวยากรณ์ใหญ่ท่ตี ่างกันบ้ าง เหมือนกันบ้ าง
๑๖
ในคัมภีร์ต่างกลุ่มกัน หรือแม้ ในคัมภีร์กลุ่มเดียวกัน หรือเล่มเดียวกันก็ พบความต่างได้ เช่นกัน อาจเกิดคําถามว่า ถ้ าอย่างนั้น เมื่อข้ อกําหนดต่างๆ ถือว่าเป็ นสูตร ได้ ไวยากรณ์บาฬีท่ใี ช้ เรียนเบื้องต้ นจะเป็ นไวยากรณ์ใหญ่ได้ ไหม การจําแนกเป็ นไวยากรณ์ใหญ่น้ัน แม้ จะมุ่งเน้ นที่การมีสตู รเป็ นหลัก เพื่อให้ เห็นจุดต่างระหว่างไวยากรณ์สองแบบก็ตาม แต่ยังมีคุณสมบัติอ่นื อีกที่ไวยากรณ์ใหญ่มีอยู่ คุณสมบัติอ่นื อะไรที่ไวยากรณ์ใหญ่มีอยู่ นอกจากมีตัวสูตรแล้ ว ยังมีวุตติเป็ นคําอธิบายสูตร และอุทาหรณ์ เป็ นตัวอย่างที่ตรงตามเนื้อหาของสูตร (มีอยู่บ้างเพียงไม่ก่สี ตู รที่ไม่มีวุตติ และตัวอย่าง) มีรูปแบบการนําเสนออย่างชัดเจน เป็ นระบบจัดหมวดหมู่เรื่องราว ได้ สอดคล้ องสัมพันธ์กนั และที่สาํ คัญอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็ นผลสืบเนื่องมาจากการที่ไวยากรณ์ ใหญ่มีคุณสมบัติต่างๆ ดังกล่าวมาข้ างต้ น นั่นก็คือไวยากรณ์ใหญ่มีวิสยั กว้ าง มีขอบข่ายกว้ าง มีการนําไปใช้ อ้างอิงอยู่ในคัมภีร์ต่างๆ (กรณีน้ ี ยกเว้ นคัมภีร์สทั ทสังคหะซึ่งยังไม่มีเผยแพร่ให้ ได้ ศึกษากัน) การมีสตู รวางไว้ อย่างสอดรับกัน จัดหมวดหมู่ของสูตรเป็ นกลุ่มเรื่อง ได้ อย่างลงตัว รวบรวมขึ้นเป็ นตํารา เป็ นคุณสมบัติเด่นของไวยากรณ์ใหญ่ จึงสามารถใช้ เป็ นที่อ้างอิงได้ และใช้ เป็ นตําราแบบเรียนที่สาํ คัญได้ ด้วย เมื่อตําราไวยากรณ์ใหญ่ถูกใช้ เป็ นแบบเรียนในการศึกษาหาความรู้ใน เรื่องภาษา การอ้ างอิงสูตรที่มีกล่าวอยู่ในตําราจึงเป็ นวิธีการหนึ่งของการฝึ ก ให้ ผ้ ูศึกษา ได้ ร้ จู ัก ได้ ค้ ุนเคย และได้ เข้ าใจในเนื้อหาสาระของสูตรข้ อนั้นๆ ดังนั้นการนําสูตรมาใช้ ในการสร้ างรูปคํา จึงเป็ นวิธีศึกษาเรียนรู้ท่เี หมาะกับ สภาพของไวยากรณ์ใหญ่ เพราะไวยากรณ์ใหญ่น้ันมีสตู ร
๑๗
นักบุญตัวอย่าง ตถตา การทําบุญถวายทานในพระพุทธศาสนา เป็ นกิจกรรมที่มีมาอย่าง ยาวนานอยู่คู่สงั คมไทย ซึ่งทุกๆคนก็ต้องเคยให้ ทานกันมาแล้ วทั้งสิ้น ไม่ มากก็น้อย แต่การถวายทานของแต่ละบุคคลย่อมมีขีดจํากัด หรือมีเหตุ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการถวายทานไม่โดยตรง ก็โดยอ้ อม แต่ในสมัยพุทธกาลมี เศรษฐี อยู่ท่านหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็ นต้ นแบบ หรือเป็ นแบบอย่างที่ดีของนักบุญ เลยก็ว่าได้ เรื่องมีอยู่ว่า อนาถบิณฑกเศรษฐี ได้ หว่านทรัพย์ในพระพุทธศาสนาครั้งแรก ถึง ๕๔ โกฏิ(๑ โกฏิ เท่ากับ ๑๐ ล้ าน) ใช้ ในการซื้อที่ดินและสร้ างวัดพระเช ตวันรวมถึงทําการฉลองวัด ท่านเป็ นโสดาบันบุคคลที่ศรัทธามั่นคงในพระ รัตนตรัย ไปวัดวันละ ๒ ครั้งทุกวัน เพื่อเข้ าเฝ้ าพระพุทธองค์ และถวาย ความอุปถัมภ์พระสงฆ์ คือไปตอนเช้ าหรือสายก็นาํ อาหารไปถวายพระ ไป ตอนเย็นก็นาํ ดอกไม้ ของหอมไปไหว้ พระ และที่บ้านก็มีการเลี้ยงพระวันละ ๕๐๐ รูปทุกวัน พร้ อมแจกจ่ายอาหารเลี้ยงคนยากจนอีกเป็ นอันมาก ทรัพย์ สินจึงหมดสิ้นไปมาก แต่ท่านก็มิได้ ย่อท้ อ หรือลดทอนกําลังในการทําบุญ ลงเลย ต่อมาทรัพย์สนิ ของท่านร่อยหรอลง พวกพ่อค้ าที่ทาํ สัญญากู้ยืมเงิน ไป ๑๘ โกฏิกไ็ ม่ยอมใช้ หนี้ ทรัพย์สนิ อีก ๑๘ โกฏิท่บี รรพบุรุษใส่ตุ่มฝังดิน ไว้ ใกล้ แม่นาํ้ ก็ถูกนํา้ เซาะดินพังไหลไปตามกระแสนํา้ จนถึงทะเล ถึงกระนั้น ท่านเศรษฐี กย็ ังปฏิบัติในทางบุญไปตามปกติ ที่เรือนของท่านมีเจ็ดชั้น มีซ้ มุ ประตูเจ็ดซุ้ม มีเทวดาสิงสถิตอยู่ทุกซุ้ม ในซุ้มที่ส่มี ีเทวดาที่เป็ นมิจฉาทิฏฐิ สถิตอยู่ เทวดาตนนั้นไม่เห็นด้ วยกับการ ให้ ทานของเศรษฐี อีกทั้งทุกคราวที่พระพุทธเจ้ าและพระสาวกมาที่บ้านของ เศรษฐี เทวดาตนนั้นต้ องลงมาอยู่ท่พี ้ ืนดินเสมอ จึงคิดว่าที่ตนต้ องลําบาก
๑๘
เช่นนี้ ก็เพราะพระสมณโคดมและพระสาวกพากันมาที่น่ี จึงหาวิธมี ิให้ มา เพื่อตนจะได้ อยู่สขุ สบายเหมือนก่อน เทวดานั้นคอยจังหวะที่เศรษฐี กาํ ลังตกระกําลําบากอย่างที่สดุ ด้ วยหวัง ว่าเศรษฐี จะฟังตน จึงได้ เข้ าไปหาเศรษฐี แสดงตนด้ วยอาการยืนอยู่ใน อากาศ เศรษฐี เห็นเข้ าจึงถามว่า “ท่านเป็ นใคร” เทวดาตอบว่า “เราเป็ น เทวดาผู้สถิตอยู่ท่ซี ้ มุ ประตูท่สี ่ขี องท่าน เรามาเพื่อจะกล่าวสอนท่าน” เศรษฐี จึงตอบว่า “ถ้ าอย่างนั้น ท่านจงกล่าวสอนเราเถิด” เทวดาจึงกล่าวว่า “ดูก่อนมหาเศรษฐี ทรัพย์อนั มากมายมหาศาลของท่าน ได้ หมดสิ้นไปในศาสนาของพระสมณะโคดม ท่านทําบุญโดยไม่คิดถึงวัน ข้ างหน้ าเลย บัดนี้ท่านกําลังตกยาก ท่านก็ยังไม่ยอมละการบริจาค หาก ท่านยังประพฤติตนอยู่เช่นนี้ ในอนาคตแม้ อาหารเพียงเล็กน้ อย เสื้อผ้ า หรือสิ่งของอื่นๆท่านก็จะไม่มีเหลือ พระสมณะโคดมมีประโยชน์อะไรกับ ท่านเล่า ท่านจงงดการบริจาคอันยิ่งนี้เถิด แล้ วประกอบการงาน ทรัพย์ของ ท่านก็จะเพิ่มพูนขึ้นมาได้ ” ฝ่ ายท่านเศรษฐี ได้ ฟังโอวาทนั้นแล้ ว ก็ถาม กลับไปว่า “นี้คือโอวาทที่ท่านสั่งสอนเราหรือ ถ้ าเช่นนั้นท่านจงไปเถิด ต่อ ให้ เทวดาที่เหมือนท่านตั้งร้ อย ตั้งพัน หรือตั้งแสน ก็ไม่สามารถทําให้ เรา หวั่นไหวในทานได้ ท่านพูดในสิ่งที่ไม่สมควร ท่านไม่มีประโยชน์อะไรต่อ เราอีก ท่านจงออกไปจากเรือนของเราเดี๋ยวนี้” เมื่อเทวดาได้ ยินดังนั้นแล้ ว ก็ไม่สามารถที่จะสิงสถิตที่ซ้ มุ ประตูของบ้ านเศรษฐี ได้ อกี ต่อไป ต้ องออก เที่ยวร่อนเร่ไปเรื่อย ได้ รับความลําบากอย่างสาหัส จึงคิดหาหนทางที่จะไป ขอขมาต่อท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี จึงได้ ไปขอความช่วยเหลือจากเทวดา น้ อยใหญ่ท่สี งิ สถิตอยู่ในเมืองนั้น บรรดาเหล่าเทวดาก็ได้ แต่พากันบอกว่า “การที่ท่านไปกล่าวกับเศรษฐี เช่นนั้น เป็ นกรรมหนัก ไม่สมควรอย่างยิ่ง”
๑๙
เหล่าเทวดาต่างไม่สามารถช่วยเหลือได้ แม้ กระทั่งท้ าวจตุโลกบาลก็ไม่ สามารถช่วยเหลือได้ จึงแนะนําให้ ไปขอความช่วยเหลือจากท้ าวสักกะ ผู้เป็ นจอมแห่งเทวดา เมื่อไปถึงหลังจากได้ กราบทูลให้ ท้าวสักกะทรงทราบ เรื่องราวความเป็ นมาทั้งหมดแล้ ว ท้ าวสักกะจึงตรัสว่า “ดูก่อนเธอ เรื่องที่ เธอทํานั้นเป็ นกรรมหนักยิ่งนัก เราเองก็ไม่สามารถที่จะช่วยเหลือเธอได้ แต่ เอาเถอะ เราจะบอกอุบายอย่างหนึ่งแก่เธอ” เทวดาตนนั้นเมื่อได้ ยินดังนั้น จึงกราบทูลขอให้ ท้าวสักกะทรงบอกอุบาย ท้ าวสักกะตรัสอุบายให้ ฟังว่า “เธอจงไป เธอจงแปลงกายเป็ นเสมียนของเศรษฐี แล้ วให้ คนนําบัญชีมา เธอจงไปทวงทรัพย์สนิ ที่บรรดาพ่อค้ ายืมท่านเศรษฐี ไปกลับคืนมาให้ หมด แล้ วจงไปรวบรวมทรัพย์อกี ๑๘ โกฏิ ที่ถูกนํา้ พัดไหลลงสู่ทะเลไปกลับมา อีกทั้งจงไปเก็บรวบรวมทรัพย์สนิ อีก ๑๘ โกฏิท่ตี กอยู่ตามถนนหนทาง ต่างๆ ที่หาเจ้ าของมิได้ มา ทําห้ องที่ว่างเปล่าของเศรษฐี ให้ เต็มด้ วยทรัพย์ท่ี นํามาทั้งสิ้น ๕๔ โกฏิ ทัณฑกรรมเช่นนี้ จึงจะสามารถทําให้ เศรษฐี ยกโทษ ให้ เธอได้ ” หลังจากเทวดาได้ ฟังอุบายดังนั้นแล้ วก็ปฏิบัติตามท้ าวสักกะ ด้ วยการแปลงกายเป็ นเสมียนตามทวงหนี้ต่างๆที่เหล่าพ่อค้ ายืมเศรษฐี ไป นําทรัพย์สนิ ที่ถูกนํา้ กัดเซาะไป กลับคืนมา และได้ ไปเก็บรวบรวมทรัพย์ สมบัติต่างๆ ที่ตกหล่น หาเจ้ าของมิได้ รวมทั้งสิ้น ๕๔ โกฏิ มอบให้ เศรษฐี พร้ อมทั้งกล่าวกับเศรษฐี ว่า “บัดนี้ ทัณฑกรรม ข้ าพเจ้ าได้ กระทําแล้ ว ด้ วย การรวบรวมทรัพย์สนิ ๕๔ โกฏิ ตามคําแนะนําของท้ าวสักกะ ท่านจงยก โทษให้ ข้าพเจ้ าเถิด” เมื่อท่านเศรษฐี ได้ ฟังแล้ ว ก็เข้ าใจว่าเทวดาตนนี้เป็ นผู้สาํ นึกผิดแล้ วจึง ยกโทษ พร้ อมทั้งได้ พาเทวดาไปเข้ าเฝ้ าพระพุทธเจ้ า กราบทูลเรื่องที่เกิดขึ้น ทั้งหมด
๒๐
เทวดาได้ หมอบกราบด้ วยเศียรเกล้ าใกล้ พระบาทขององค์พระศาสดา กราบทูลแด่พระศาสดาว่า “ข้ าแต่พระองค์ผ้ ูเจริญ กรรมชั่วอันใด ที่ข้าพเจ้ า ผู้ไม่ร้ ซู ่งึ คุณของพระองค์ กระทําลงไปประดุจคนโง่เขลา คนตาบอด บัดนี้ ข้ าพระองค์สาํ นึกผิดแล้ ว พระองค์ทรงโปรดยกโทษให้ ข้าพระองค์ด้วยเถิด ” เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงสดับดังนั้นแล้ ว จึงตรัสสั่งสอนทั้งเศรษฐี และเทวดาว่า “ปาโปปิ ปสฺสติ ภทฺรํ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ ภทฺโรปิ ปสฺสติ ปาปํ ยทา จ ปจฺจติ ภทฺรํ
ยาว ปาปํ น ปจฺจติ อถ ปาปานิ ปสฺสติ ยาว ภทฺรํ น ปจฺจติ อถ ภทฺรานิ ปสฺสติ”
“บาปยังไม่ให้ ผลอยู่เพียงใด คนบาปก็ยังเห็นเป็ นความดีอยู่เพียงนั้น แต่เมื่อใดที่บาปให้ ผล เมื่อนั้นจึงจะเห็นว่าเป็ นบาป กรรมดียังไม่ให้ ผลอยู่เพียงใด คนดีกย็ ังเห็นเป็ นบาปอยู่เพียงนั้น แต่เมื่อใดความดีให้ ผล เมื่อนั้นจึงจะเห็นว่าเป็ นความดี ” เมื่อจบเทศนาเทวดาตนนั้นก็ได้ บรรลุโสดาปัตติผล ๏ สาระจากเรื่อง ๏ คนพาลกับคนมิจฉาทิฏฐิ นอกจากจะปฏิเสธการให้ ทาน ไม่ชอบ ทําบุญด้ วยตนเองแล้ ว มักจะไม่เห็นด้ วยกับคนอื่นที่เขาทําบุญให้ ทานกัน ชอบขัดขวางทางบุญของคนอื่น ชอบพูดจาให้ คนอื่นไขว้ เขว คนที่หูเบาขาด การไตร่ตรองหลงไปเชื่อลมปากของคนประเภทนี้ ย่อมเสียโอกาสที่จะทํา บุญให้ ทานไปอย่างน่าเสียดาย ส่วนคนที่หนักแน่ในบุญ มีศรัทธามั่นคง ไม่หวั่นไหวไปตามลมปาก ของคนพาลย่อมไม่เสียโอกาสของตนที่จะได้ ทาํ บุญ
๒๑
อนึ่ง มีคนจํานวนไม่น้อยที่ยังไม่เข้ าใจ หรือเข้ าใจผิดๆเกี่ยวกับการ ทําบุญให้ ทาน คิดว่าเป็ นเรื่องงมงาย เป็ นเรื่องที่ทาํ ให้ ผ้ ูรับได้ ประโยชน์ฝ่าย เดียว ผู้ให้ จะไม่ได้ รับอะไรกลับคืนตอบแทน แต่สาํ หรับคนที่ทาํ บุญให้ ทานด้ วยจิตใจที่ผ่องใส ไม่ตระหนี่เสียดาย และทําเป็ นประจํา จะได้ สมั ผัสกับผลแห่งการทําบุญให้ ทานด้ วยตนเอง ซึ่ง คนที่ไม่เคยทําบุญหรือเคยทําแต่ทาํ ด้ วยจิตใจที่ข่นุ มัว หรือทําด้ วยความ จําเป็ นจําใจ จะไม่มีโอกาสได้ สมั ผัสผลเช่นนั้นเลย และน่ายกย่องคนที่เคยทํา พูด หรือคิดผิดพลาดมาแล้ ว ได้ สติสาํ นึก ตัวได้ และเลิกละเสียได้ หรือทําผิดพลาดต่อผู้ใดไว้ เมื่อสํานึกได้ แล้ วไปขอ โทษหรือทําสิ่งที่เป็ นประโยชน์ต่อผู้น้ันเป็ นการไถ่โทษที่ล่วงเกินไปด้ วยกาย วาจาหรือด้ วยใจ คนเช่นนี้ย่อมประเสริฐกว่าคนที่ทาํ พูด คิดผิดแล้ วไม่ ยอมรับว่าผิด
๒๒
ทิศ ๖ อภิรตภิกขุ ในสมัยพุทธกาล เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าเสด็จอยู่ในกรุงรา ชคฤห์ เช้ าวันหนึ่ง ขณะพระองค์กาํ ลังเสด็จรับบิณฑบาต ได้ ทอดพระเนตร เห็นมาณพคนหนึ่ง ชื่อว่าสิงคาละ กําลังประนมมือน้ อมนมัสการทิศทั้งหก (หมายถึง ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ฯลฯ เป็ นต้ น) เพื่อสกัดกั้นอันตราย อันจะมีมาแต่ทิศนั้นๆ เขาซึ่งเคารพเชื่อฟังคําพูดของพ่อ จึงทําเช่นนั้น พระ พุทธองค์จึงตรัสบอกว่า “ทิศทั้งหกนี้ ในพุทธศาสนาเขาไม่ได้ ไหว้ กนั เช่นนั้น” แล้ วทรงแสดงวิธีไหว้ ทิศทั้งหก ในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็ น บุคคลประเภทต่างๆที่เราต้ องเกี่ยวข้ องสัมพันธ์ทางสังคม ดุจทิศรอบตัวให้ เขาฟังดังนี้คือ ๑. ปุรัตถิมทิศ ทิศเบื้องหน้ า ได้ แก่ บิดา มารดา เพราะ ทําอุปการะแก่เรามาก่อน ๒. ทักษิณทิศ ทิศเบื้องขวา ได้ แก่ ครู อาจารย์ เพราะเป็ นทักขิไณยบุคคล ควรบูชาคุณ ๓. ปัจฉิมทิศ ทิศเบื้องหลัง ได้ แก่ บุตร ภรรยา เพราะติดตามเป็ นกําลัง สนับสนุน ๔. อุตตรทิศ ทิศเบื้องซ้ าย ได้ แก่ มิตร สหาย เพราะเป็ นผู้ช่วยข้ ามพ้ น อุปสรรคอันตราย และเป็ นกําลังสนับสนุนให้ บรรลุความสําเร็จ ๕. เหฏฐิ มทิศ ทิศเบื้องตํ่า ได้ แก่ บ่าว ไพร่ ผู้อยู่ใต้ บังคับบัญชา เพราะ เป็ นผู้ช่วยทําการงานต่างๆ ๖. อุปริมทิศ ทิศเบื้องบน ได้ แก่ พระสงฆ์ สมณะพราหมณ์ เพราะเป็ นผู้สงู ด้ วยคุณธรรม และเป็ นผู้นาํ ทางจิตใจ
๒๓
๑. ปุรตั ถิมทิศ คือทิศเบื้ องหน้า หมายถึง พ่อและแม่ วิธีไหว้คือปฏิบตั ิตน ดังนี้ - ท่านเลี้ยงเรามาแล้ ว เลี้ยงท่านตอบ - ช่วยท่านทํากิจการงาน - ดํารงวงศ์สกุลไว้ - ประพฤติตนให้ เหมาะสมกับความเป็ นทายาท - เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ ว ทําบุญอุทิศไปให้ ท่าน
ในทางกลับกัน ผูเ้ ป็ นพ่อ แม่ พึงอนุเคราะห์ต่อ ลูก ดังนี้ - ห้ ามไม่ให้ ทาํ ความชั่ว - สอนให้ ต้งั อยู่ในความดี - ให้ ศึกษาเล่าเรียนศิลปะวิทยา - หาภรรยาที่เหมาะสมให้ - มอบทรัพย์มรดกให้ ในโอกาสอันสมควร
๒.ทักษิณทิศ คือ ทิศเบื้ องขวา หมายถึง ครูอาจารย์ วิธีไหว้คือปฏิบตั ิตนดังนี้ - ลุกขึ้นยืนรับ - เข้ าไปคอยรับใช้ - เคารพเชื่อฟังคําสั่งสอนของท่าน - อุปัฏฐาก ปรนนิบัติท่าน - ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนด้ วยความเคารพ
ในทางกลับกัน ผูเ้ ป็ นครู อาจารย์ พึงอนุเคราะห์ต่อศิษย์ ดังนี้ - ฝึ กแนะนําให้ เป็ นคนดี - สอนให้ เข้ าใจแจ่มแจ้ ง - บอกวิชาความรู้แก่ศิษย์โดยไม่ปิดบัง - ยกย่องศิษย์ให้ ปรากฏแก่เพื่อนฝูง - ปกป้ องศิษย์จากอันตรายจากทุกทิศทาง
๓.ปัจฉิมทิศ คือ ทิศเบื้ องหลัง หมายถึง ภรรยา วิธีไหว้คือปฏิบตั ิตนดังนี้ - ยกย่องให้ เกียรติสมกับฐานะภรรยา - ไม่ดูหมิ่น - ไม่ประพฤตินอกใจ - มอบความเป็ นใหญ่ให้ - ให้ เครื่องประดับเป็ นของขวัญตามโอกาส
ในทางกลับกัน ผูเ้ ป็ นภรรยา พึงปฏิบตั ิต่อสามี ดังนี้ คือ - จัดการงานบ้ านให้ เรียบร้ อย - สงเคราะห์ญาติมิตรให้ ดี - ไม่ประพฤตินอกใจสามี - รักษาทรัพย์ท่ีสามีหามาได้ - ขยัน ไม่เกียจคร้ านในการงานทั้งปวง
๔. อุตตรทิศ คือ ทิศเบื้ องซ้าย หมายถึง เพือ่ น วิธีไหว้คือปฏิบตั ิตนดังนี้ - เผื่อแผ่แบ่งปัน - พูดจาไพเราะ มีนาํ้ ใจ - ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อกัน - ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้ วย - ซื่อสัตย์จริงใจต่อกัน
ในทางกลับกัน เพือ่ น มิตรสหาย พึงประพฤติ ต่อเพือ่ นดังนี้ - เมื่อเพื่อนประมาท ช่วยรักษาป้ องกัน - ช่วยรักษาสมบัติของเพื่อน - ในคราวมีภัย เป็ นที่พ่ึงได้ - ไม่ละทิ้งในยามทุกข์ยาก - นับถือตลอดถึงวงศ์ญาติของมิตร
๒๔
๕. เหฏฐิมทิศ ทิศเบื้ องล่าง หมายถึง คนงาน หรือ คนรับใช้ วิธีไหว้คือปฏิบตั ิตนดังนี้ - มอบงานให้ ตามสมควรแก่กาํ ลังความสามารถ - ให้ ค่าจ้ าง และให้ รางวัล - รักษาพยาบาลในเวลาที่เขาเจ็บไข้ - ได้ ของแปลกๆ พิเศษๆ มา ก็แบ่งปันให้ - ให้ มีวันหยุด และพักผ่อนตามโอกาสอันควร
ในทางกลับกัน บ่าวคนรับใช้ หรือ ลูกจ้าง พึง ปฏิบตั ิต่อเจ้านาย หรือ นายจ้าง ดังนี้ - เริ่มทํางานก่อนนาย - เลิกงานทีหลังนาย - ถือเอาแต่ส่งิ ของที่นายให้ เท่านั้น - ทํางานให้ ดีย่งิ ๆขึ้น - นําเกียรติคุณของนายไปเผยแพร่
๖. อุปริมทิศ คือทิศเบื้ องบน หมายถึง พระสงฆ์ นักบวช วิธีไหว้คือปฏิบตั ิตนดังนี้ - จะทําสิ่งใด ก็ทาํ ด้ วยความเมตตา - จะพูดอะไร ก็พูดด้ วยความเมตตา - จะคิดอะไร ก็คิดด้ วยความเมตตา - ต้ อนรับด้ วยความเต็มใจ (ไม่ปิดประตูเรือน) - อุปัฏฐากบํารุงท่านด้ วยปัจจัย ๔
ในทางกลับกัน พระสงฆ์ สมณะพราหมณ์ นักบวช พึงอนุเคราะห์ตอบ ดังนี้ คือ - ห้ ามไม่ให้ ทาํ ความชั่ว - สั่งสอนให้ ต้งั อยู่ในความดี - อนุเคราะห์ด้วยนํา้ ใจอันงาม - ให้ ได้ ฟังสิ่งที่ยงั ไม่เคยฟัง - ทําสิ่งที่เคยฟังแล้ วให้ แจ่มแจ้ ง - บอกหนทางสวรรค์ให้ (บอกวิธที าํ ความดี ต่างๆที่จะเป็ นหนทางไปสวรรค์ให้ )
๒๕
พระเทวทัตเริ่มจองเวรต่อพระพุทธเจ้าเมือ่ ใด เขมาภิรตภิกขุ พุทธศาสนิกชนทั่วไปมักจะทราบดีถงึ พุทธประวัติของสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้ า และอีกบุคคลหนึ่งซึ่งเป็ นคู่จองเวรต่อพระพุทธเจ้ า มา อย่างยาวนาน ก็คือพระเทวทัต ซึ่งในแต่ละภพชาติท่พี ระพุทธเจ้ าหรือพระ โพธิสตั ว์ประสูติ พระเทวทัตก็จะเกิดร่วมสมัยกับพระพุทธเจ้ าเสมอๆ ส่วน ชาติท่เี ป็ นสาเหตุท่พี ระเทวทัตผูกใจเจ็บ คิดอาฆาตพยาบาทพระโพธิสตั ว์ เรื่อยมานั้น ปรากฏในอรรถกถา เอกกนิบาตชาดก เสริววณิชชาดก ว่า ในอดีตกาล ในกัปที่ ๕ นับจากภัทรกัปนี้ พระโพธิสตั ว์คือ พระพุทธเจ้ าของเรา ในสมัยที่ยังมิได้ ตรัสรู้ ได้ เกิดในตระกูลพ่อค้ าเร่ ใน แคว้ นเสริวะ มีช่ือว่าเสริวะ ได้ เดินทางไปค้ าขายกับพ่อค้ าเร่ผ้ ูโลภมากคน หนึ่ง ซึ่งมีช่ือว่าเสริวะ เหมือนกัน ได้ เดินทางค้ าขายจนถึงเมืองอริฏฐบุรี โดยตกลงกันว่าจะเข้ าไปขายกันคนละทาง เพื่อไม่ไปค้ าขายแข่งกัน พระเทวทัตซึ่งเป็ นพ่อค้ าในสมัยนั้น ได้ ร้องเร่ขายของตามถนนใน เมืองไปเรื่อยๆ จนไปถึงบ้ านอดีตเศรษฐี ผ้ ูดีเก่าตกยากหลังหนึ่ง ที่เหลืออยู่ แต่เพียงยายกับหลานสาวในบ้ านซ่อมซ่อไม่มีฐานะ เมื่อหลานสาวได้ ยิน เสียงพ่อค้ าเร่ จึงได้ ว่งิ ออกมาดู และอยากได้ เครื่องประดับ จึงไปขอร้ องให้ ยายซื้อให้ ยายจึงเรียกพ่อค้ าเข้ ามานั่งในบ้ านและนําถาดเก่าๆที่กองอยู่ มี ฝุ่ นจับหนาจนไม่เห็นเนื้อทอง อีกทั้งยายและหลานก็ไม่ทราบว่าเป็ นถาดนั้น เป็ นถาดทอง ซึ่งเป็ นสมบัติของตระกูลใบหนึ่งมาให้ พ่อค้ าดูเพื่อแลกซื้อ เครื่องประดับให้ หลาน ปรากฏว่าพ่อค้ าจับดูจึงรู้ว่าเป็ นถาดโลหะ เมื่อแอบ เอาเข็มกรีดหลังถาด จึงเห็นว่าเป็ นถาดทองคํา มีราคาถึงแสนกหาปณะ แต่ ด้ วยความที่พ่อค้ าละโมบ อยากได้ ถาดทองคํา โดยจะกดราคาให้ ถงึ ที่สดุ
๒๖
จึงทําทีเป็ นไม่สนใจโวยวายว่าเป็ นถาดไม่มีราคา แล้ วก็โยนถาดทิ้งและลุก เดินออกจากบ้ านไป โดยหวังว่าสักพักจะเข้ ามาใหม่เพื่อให้ ยายแก่เปลี่ยนใจ ยอมแลกถาดกับของขายเล็ก ๆ น้ อย ๆ เพื่อคว้ าถาดทองใบงามถาดนั้น คล้ อยหลังไปได้ สกั พัก พ่อค้ าพระโพธิสตั ว์ผ่านมา เห็นพ่อค้ าคนแรก ออกจากถนนนั้นไปแล้ ว จึงแวะเข้ ามาขายเครื่องประดับอีก ซึ่งคราวนี้ หลานของยายอดีตตระกูลเศรษฐี ก็ร้องอยากได้ เครื่องประดับอีก ยายจึง เรียกพ่อค้ าเข้ ามาเพื่อขอแลกถาดเก่าๆสนิมเขรอะกับเครื่องประดับที่พ่อค้ า นํามาขาย เมื่อพ่อค้ าจับถาดเก่าก็ร้ ไู ด้ ทันทีว่าเป็ นถาดทองคํามีราคาตั้งแสน กหาปณะ พ่อค้ าพระโพธิสตั ว์จึงบอกยายแก่ว่า “ถาดนี้เป็ นถาดทองมีราคา มหาศาล ของที่ฉันนํามาเร่ขายทั้งหมดนี่กส็ ้ รู าคาถาดของยายไม่ได้ หรอก” ยายแก่เห็นความซื่อสัตย์ของพ่อค้ าจึงบอกว่า “ถาดนี้ เมื่อกี้พ่อค้ าอีกคน โยนลงพื้นดูถูกว่าของไม่มีราคา แต่คราวนี้พ่อมาบอกว่ามีราคาตั้งแสน พ่อ นี่ช่างตาถึงมีบุญเหลือเกิน เอาอย่างนี้ ฉันให้ ถาดนี้แก่ท่าน เอาไปเถิด ส่วน ท่านจะให้ ของขายอะไรแก่ฉันกะหลานก็ได้ ตามใจเถิด” พ่อค้ าพระโพธิสตั ว์ ได้ ฟังดังนั้นจึงบอกว่า “เอาอย่างนี้นะยาย ฉันยกของที่ฉันเอามาขายและ เงินที่ติดตัวมาให้ ยายหมดเลยก็แล้ วกัน ฉันขอแค่ตาชั่งเอาไว้ ทาํ มาหากิน และเงินสัก ๘ กหาปณะพอเป็ นค่าเดินทางก็พอ” เมื่อพ่อค้ าได้ ถาดทอง แล้ ว จึงเดินทางไปที่ท่าเรือเพื่อเดินทางกลับ หลังจากพ่อค้ าคนแรกเดินไปได้ สกั พักใหญ่ จึงย้ อนมาหายายแก่เพื่อ ขอซื้อถาดใบนั้น แต่เมื่อยายเห็นพ่อค้ าเข้ ามาก็ตะเพิดไปว่า “พ่อค้ าโลภ มาก เจ้ าทําให้ ถาดทองคําของเราเป็ นของไร้ ค่า มาตอนนี้จะมาขอซื้อ เจ้ า จงไปเถิด เมื้อกี้ฉันยกถาดที่เจ้ าอยากได้ ให้ เป็ นบุญแก่พ่อค้ าตาถึงไปแล้ ว แถมได้ เงินกับของมาตั้งพันกหาปณะ”
๒๗
เมื่อพ่อค้ าคนแรกได้ ฟังดังนั้นถึงกับตกใจแค้ นถึงสิ้นสติสลบฟุบไป พอฟื้ นขึ้นก็เกิดความเสียดายอย่างเป็ นกําลัง ถึงกับโปรยเงินและข้ าวของที่ นํามาเร่ขายทิ้งไว้ หน้ าบ้ านยาย แล้ วก็ถือคันชั่งวิ่งตามรอยเท้ าพระโพธิสตั ว์ หวังจะแย่งถาดทองคืน เมื่อไปถึงฝั่งแม่นาํ้ นั้น ได้ เห็นพระโพธิสตั ว์อยู่ใน เรือกลางแม่นาํ้ ก็ร้องบอกให้ กลับมารับตนด้ วย พระโพธิสตั ว์ส่งั คนเรือ ไม่ให้ กลับ เรือจึงแล่นห่างออกจากฝั่งไกลออกไปทุกที พ่อค้ าโลภมากไม่ สามาถติดตามไปได้ จึงได้ แต่เศร้ าโศกเสียใจมาก ความเสียดายอันมีกาํ ลัง ถึงกับกระอักออกมาเป็ นเลือด ทําให้ หัวใจแตกสลาย และตั้งอธิษฐานผูก อาฆาตพระโพธิสตั ว์ว่าจะจองเวรไปจนกว่าจะหาไม่ และสิ้นชีวิตลง ณ ที่น้ัน นั่นเอง นี้คือเรื่องราวอันเป็ นเหตุให้ พระเทวทัตอาฆาตจองเวรพระโพธิสตั ว์ เป็ นครั้งแรก และได้ อาฆาตจองเวรประทุษร้ ายตลอดมาทุกชาติท่พี บกัน ไม่เว้ นแม้ แต่ชาติสดุ ท้ ายของพระโพธิสตั ว์ คือในชาติท่เี ป็ นเจ้ าชายสิทธิตถะ และได้ ตรัสรู้เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ า การที่พระเทวทัตในชาติท่เี ป็ นพ่อค้ าผู้โลภมาก ผูกอาฆาตในพระ โพธิสตั ว์เป็ นครั้งแรกนี้เพราะอาศัยกิเลส คือความโลภมากจนเกินประมาณ ของตนนั่นเอง เมื่อไม่ได้ ดังปรารถนาก็เกิดโทสะ คือความเศร้ าโศกเสียใจ ติดตามมา เมื่อความเศร้ าโศกเสียใจนั้นรุนแรงขึ้น ก็เป็ นเหตุให้ ผูกโกรธ อาฆาตพยาบาทจองเวรในที่สดุ แม้ ในชาติท่เี ป็ นพระเทวทัตก็อาศัยความ โลภ คือความอยากเป็ นใหญ่ คิดที่จะเป็ นพระพุทธเจ้ าเสียเองนั้นแหละ เป็ นเหตุให้ ทาํ อนันตริยกรรม คือประทุษร้ ายพระพุทธเจ้ าจนถึงกับห้ อพระ โลหิต และทําสังฆเภท ต้ องถูกธรณีสูบ และตกนรกอเวจีในที่สดุ
๒๘
ตายแล้วไปไหน ผีและวิญญาณมีจริงหรือ พระวรฤทธิ์ โอภาโส เจริญพร ฉบับนี้จะกล่าวถึงเรื่องตายแล้ วไปไหน ฟังดูน่ากลัว แต่ ขอให้ ทาํ ใจสบายๆ คนเราทุกคนเกิดมาแล้ วก็ต้องตาย เป็ นความจริงที่ทุก ท่านทราบดีอยู่แล้ ว แต่ตายแล้ วไปไหน เป็ นเรื่องที่สาํ คัญ เพราะถ้ าไปเกิด ในสถานที่ท่ดี ีกส็ บาย แต่ถ้าเกิดในสถานที่ท่ไี ม่ดีกแ็ ย่เลย และทุกท่านคง อยากทราบบ้ างเหมือนกัน เมื่อทราบแล้ วบางท่านอาจไม่เชื่อ บางท่านอาจ ไม่แน่ใจ แต่เรื่องที่อาตมาเขียนนี้เป็ นคําสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า พระพุทธองค์ทรงกล่าวถึงภูมิท่สี ตั ว์คือบุคคลผู้เวียนว่ายตายเกิดต้ องอยู่ อาศัย มี ๓๑ ภูมิ คือ อบายภูมิ ๔ มนุสสภูมิ ๑ เทวภูมิ ๖ รูปภูมิ ๑๖ อรูป ภูมิ ๔ มีเท่านี้ แปลว่าเราทั้งหลายต้ องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในภูมิเหล่านี้ เท่านั้น ไม่มีท่อี ่นื อีก ดังนั้น เมื่อเราตายแล้ วก็ไปเกิดในภูมิเหล่านี้น่ันเอง เมือ่ ตายปุ๊ บ ก็เกิดปั๊ บ หมายความว่า เมื่อจิตดวงสุดท้ ายในภพนี้ (จุติจิต) ดับลง จิตดวงแรกในภพหน้ า (ปฏิสนธิจติ ) ก็เกิดขึ้นทันทีติดต่อกันไม่มี การรอเวลาใดๆแม้ เสี้ยววินาที เพราะบุคคลทั้งหลายย่อมมีจติ เกิด ติดต่อกันตลอดไม่ขาดสายแม้ ข้ามภพข้ ามชาติกต็ าม จะมีขาดช่วงเฉพาะ เมื่อไปเกิดเป็ นอสัญญสัตตพรหม (เป็ นภูมิหนึ่งในรูปภูมิ ๑๖) หรือ พระ อนาคามีกบั พระอรหันต์ ตอนเข้ านิโรธสมาบัติ เท่านั้นจริงๆ (นิโรธสมาบัติ เป็ นการเข้ าฌานทุกฌาน แล้ วดับจิตลง คล้ ายๆฝึ กนิพพานชั่วขณะ) ดังนั้น เมื่อเราตาย ต้ องไปเกิดในภูมิต่างๆในภูมิใดภูมิหนึ่งดังที่กล่าวมาแล้ วทันที โดยถ้ าอกุศลที่กระทํามาได้ โอกาสส่งนําเกิดเราจะเกิดในอบายภูมิ (โลภะนํา เกิดเป็ นเปรต,อสุรกาย โทสะนําเกิดเป็ นสัตว์นรก โมหะนําเกิดเป็ นสัตว์ เดรัจฉาน) แต่ถ้ากุศลที่กระทํามาเป็ นผู้ได้ โอกาสส่งนําเกิดจะนําพาไปเกิด เป็ นมนุษย์หรือเทวดา ถ้ าได้ ฌาน(เกิดจากการนั่งสมาธิ ปฏิบัติสมถกรรม ฐาน) จะได้ ไปเกิดเป็ นรูปพรหม หรือ อรูปพรหม แล้ วแต่ฌานที่เราได้ สุดท้ ายคือ ถ้ าสําเร็จเป็ นพระอรหันต์เมื่อสิ้นชีวิตก็จะปรินิพพานไม่มีการ เกิดอีกต่อไป
๒๙
ผู้อ่านเห็นหรือไม่ว่าจริงๆแล้ วเราเลือกเกิดได้ เลือกการเกิดโดยการ เลือกกระทํากุศลหรืออกุศลนั่นเอง กุศลขั้นต้ น ( ทาน ศีล ภาวนา ) พาไป เกิดเป็ นมนุษย์หรือเทวดา กุศลขั้นกลาง ( ฌาน ) พาไปเกิดเป็ นพรหม กุศลขั้นสูง ( มัคคจิต ) พาไปสู่พระนิพพาน (มัคคจิต เกิดจากการเจริญ วิปัสสนากรรมฐาน คือพิจารณารูปนามเกิดดับโดยความเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ทนอยู่ไม่ได้ ในสภาพเดิม ไม่ใช่ตัวตนของใคร ที่จะสามารถบังคับ บัญชาได้ เมื่อเห็นรูปนามเกิดดับอย่างชัดเจนจนวิปัสสนาญาณเกิด แล้ วใน ที่สดุ ก็มีมัคคจิตเกิด สําเร็จเป็ นพระอริยบุคคล) ส่วนที่หลายท่านอาจสงสัย ว่า ถ้ าตายแล้ วไปเกิดใหม่เลยทันที แล้ ววิญญาณหรือผี มีจริงหรือไม่ ทําไม เราเห็นคนที่ตายไปแล้ วมาเข้ าฝัน หรือมาปรากฏตัวให้ ใครเห็นได้ อกี อย่าง นี้ได้ ช่ือว่า ไปเกิดแล้ วหรือ ต้ องบอกก่อนว่า คําว่า “วิญญาณ” แปลว่า รู้ อารมณ์ ซึ่งก็คือจิต นั่นเอง จิตหรือวิญญาณในภาษาธรรมะเป็ นคําที่ หมายถึงสิ่งเดียวกัน เมื่อเราตายลง วิญญาณไม่ได้ ออกจากร่าง แต่วิญญาณ ดวงสุดท้ ายในภพนี้ดับลงแล้ ว เป็ นเหตุให้ วิญญาณดวงใหม่เกิดในภพใหม่ นั่นเอง ส่วนผีมีจริงหรือ ความจริงคําว่า ผี เป็ นคําที่เรามาใช้ เรียกผู้ท่ตี าย ไปแล้ ว ซึ่งในความจริง คือ คนที่ไปเกิดในภพใหม่แล้ ว ดังนั้น ที่เราเห็น หรือมาเข้ าฝัน แล้ วเรียกว่าผี คือ มาจากภพอื่น เมื่อคนตายไปเกิดในบาง ภูมิ ที่อาจมาติดต่อกับภูมิมนุษย์ได้ แต่ไม่ชัดเจน ทําให้ เราตกใจกลัวและ เรียกว่าผีหลอก ภูมิน้ันอาจเป็ นเปรตหรือเทวดาชั้นตํ่าบางพวก กลุ่มเหล่านี้ บางทีกม็ าติดต่อมนุษย์ได้ แต่ไม่สมบูรณ์ ทําให้ เราเกิดความกลัว ซึ่งที่เขามา นั้นมีสาเหตุ บ้ างมาเพราะความผูกพัน บ้ างมาเพราะต้ องการส่วนบุญ ต้ องการความช่วยเหลือ ดังนั้น เราไม่ควรกลัว แต่ถงึ รู้อย่างนี้ ก็คงไล่ความ กลัวผีออกจากใจไม่ได้ เพราะเป็ นสิ่งที่กลัวมาจนชิน เลิกกลัวไม่ได้ สรุปว่า ผีคือบุคคลที่ไปเกิดอยู่ในภูมิใดภูมิหนึ่งแล้ วนั่นเอง ถึงตรงนี้คิดว่าผู้อ่านคง เข้ าใจแล้ วว่าเราตายแล้ วไปไหน แต่ท่สี าํ คัญกว่า คือจะต้ องทําอย่างไรให้ ตายแล้ วได้ ไปเกิดในภูมิท่ดี ี พระพุทธเจ้ าทรงสอนไว้ ว่า จิตตอนใกล้ จะตาย รับอารมณ์ฝ่ายใดฝ่ ายหนึ่งที่เป็ นกุศลหรืออกุศล แล้ วก็เปิ ดทางให้ อารมณ์
๓๐
ฝ่ ายนั้นเป็ นฝ่ ายส่งผลนําเกิด หมายความว่า ถ้ าจิตตอนใกล้ ตาย เป็ นกุศล นึกถึงบุญกุศลต่ างๆ ที่เคยทํามา เมื่ อตายลง บุญกุศลเก่า (ทั้งชาติน้ ี หรื อ ชาติก่อนก็ได้ ) ก็จะนําส่งไปเกิดในภูมิท่ีดี มีความสุข เช่ น เป็ นมนุ ษย์ เป็ น เทวดา เป็ นต้ น แต่ ถ้า จิ ตตอนใกล้ ตายเป็ นอกุ ศ ล มี แต่ ค วามทุ ร นทุ ร าย กระวนกระวายใจ นึกถึงบาปเก่าที่เคยทําในอดีต เมื่อตายลง บาปอกุศลเก่า (ทั้งชาติน้ ีหรือชาติก่อนก็ได้ ) ก็จะนําไปเกิดในอบายภูมิ บางท่านเมื่อได้ อ่านตรงนี้ อาจคิดว่า ถ้ าเช่ นนั้น คนที่ทาํ ชั่วมามาก เมื่อใกล้ ตายจิตเป็ นกุศลก็ไปเกิดในภูมิท่ีดี เป็ นการเอาเปรียบ ถ้ าอย่ างนั้น เราหาความสุขใส่ตัว พอใกล้ ตายค่อยทําจิตให้ ดีมิดีกว่าหรือ คํา ตอบคื อไม่ ดี เพราะคนที่ไ ม่ เคยฝึ กฝนอบรมจิ ต มาจนชํานาญ เมื่อถึงเวลาคับขัน ยามเจ็บป่ วยใกล้ ตาย จะพยายามทําจิตให้ สงบ นึกถึงแต่ กุศลที่เคยสร้ างมาเป็ นสิ่งที่ทาํ ได้ ยากอย่ างยิ่ง ยิ่งเป็ นกุศลที่เราสักแต่ ว่าทํา โดยไม่ มีความตั้ งใจอันกล้ าแข็งด้ วยแล้ ว ยิ่ งทําได้ ยากเข้ าไปอีก บางท่ าน ตอนเจ็บป่ วยพยายามทําจิ ตให้ ดี แต่ ทาํ ไม่ ไ ด้ เพราะจิตมั กรั บอารมณ์ไ ม่ มั่นคง ทําให้ จิตของตน บางทีกเ็ ป็ นกุศล บางทีกเ็ ป็ นอกุศล สลับกันไปอยู่ อย่างนั้นเรื่อยไป นั่นแหละเป็ นความฟุ้ งซ่าน เป็ นอกุศล ดังนั้น การที่จะรอ ทํา จิต ให้ ดี ตอนใกล้ ต ายเป็ นเรื่ องที่จ ะทํา ได้ ไม่ สาํ เร็จ ถ้ า ไม่ ไ ด้ ฝึ กมาก่ อน ดังนั้นตอนที่เราสุขภาพยังแข็งแรง จึงควรหันมาฝึ กอบรมจิตอยู่ เสมอ เป็ น การเตรียมไว้ รับมือในยามคับขัน เมื่อถึงเวลานั้น เราก็จะมีโอกาสทําจิตตน ให้ เป็ นกุศลได้ ง่าย เหมือนบุคคลที่ฝึกหัดทํางานมาจนชํานาญย่อมทํางานได้ ดีกว่าบุคคลที่เพิ่งมาทํางานเป็ นครั้งแรก ฉันนั้น ฉบับนี้ จึงขอฝากผู้ อ่านไว้ ว่า ทรั พย์สินเงินทองมี ประโยชน์ เฉพาะ เมื่ อมี ชีวิต ลูกหลานใกล้ ชิดมี ประโยชน์ ยามเจ็บป่ วย บุญกุศลมี ประโยชน์ ตลอดไป เพราะบุ ญ ( และบาป ) เท่ านั้ น จะติ ด ตามไปทุ กภพทุ กชาติ ตราบจนกว่าจะถึงพระนิพพาน เจริญพร
๓๑
ขอเชิญร่วมบริจาคสมทบทุนสร้างศาลาการเปรียญ ณ วัดจากแดง ติดต่อขอร่วมบริจาคได้ ท่ี ฝ่ ายประชาสัมพันธ์วัดจากแดง 02 - 464-1122 หรือโอนเข้ าบัญชีชื่อ พระมหาประนอม, พระธิติพงศ์, นายอัคเดช เลขที่บญ ั ชี 037-1-47659-4 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาพระประแดง
ข่าวประชาสัมพันธ์ ขอเชิญสาธุชนสวดมนต์ทาํ วัตรแปล
สาธยายพระปริตร เจริญจิตภาวนา แผ่เมตตา ฟังธรรมบรรยาย ร่วมกับคณะสงฆ์วัดจากแดง ณ ศาลาทําบุญ ทุกวันอาทิตย์ และ วันพระ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๐.๔๕ น., ๑๒.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ณ วิหารหลวงพ่อหิน ทุกวัน เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๙.๐๐ น.
ขอเชิญร่วมบูชาพระเจดีย์ ทุกวันอาทิตย์ และ วันพระ เพื่อร่วมสืบสานประเพณีอนั ดีงาม ของบัณฑิตทั้งหลาย เวลา ๑๙.๐๐ - ๑๙.๔๐ น. ถือศีล ๘ ในวันพระ ขอเชิญฟั งรายการธรรมะทางวิทยุชุมชนวัดจากแดง คลื่น เอฟเอ็ม 96.75 MHZ ได้ ทุกวันตั้งแต่เวลา ๐๔.๐๐-๒๓.๐๐ น. และรายการธรรมะผ่านระบบอินเตอร์เน็ตได้ ท่ี
www.bodhiyalai.org
ตารางการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ทีว่ ดั จากแดงจัดขึ้ น วัน
เวลา
วิชา
อาจารย์ผู้สอน
๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. ภาษาบาฬี พื้นฐาน
พระมหาไพบูลย์ พุทธฺ วิริโย
,,
๑๓.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. พระอภิธรรม
พระมหาบุญชู อาสโภ
,,
๑๒.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. พระอภิธรรม
พระมหาต่อ ภูริวฑฺฒโก
,,
๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. พระอภิธรรม จูฬตรี
อาจารย์เบญจางค์ เตียงพิทักษ์
ทุกวันอาทิตย์
ทุกวันพุธ-พฤหัส ๐๘.๓๐ - ๑๕.๐๐ น. ภาษาบาฬี พื้นฐาน ทุกวันจันทร์-อังคาร ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น.
คัมภีร์ไวยากรณ์ ปทรูปสิทธิ
อาจารย์ประภาส ตะฐา อาจารย์รัฐการ ปิ่ นแก้ว
๓๒
รายนามเจ้าภาพภัตตาหาร เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ ๏ หม่อมหลวงสุพชิ าน์ ทองใหญ่ และครอบครัว ๏ อาจารย์อศิ ริยา นุ ตสาระ และคณะ ๏ คุณหมอสดใส เวชชาชีวะ ๏ คุณแม่เสงี่ยม ศรีอนันต์ และครอบครัว ๏ คุณกิง่ กาญจน์ อารักษ์พุทธนันท์ ๏ คณะอาจารย์ธรรม นิยมกิจสัมฤทธิ ์ ๏ คุณประภาศรี วู ๏ คุณอารี วงศ์ศรี ๏ คุณมนัสนันท์ เขมา ๏ คุณกรรณิกา - คุณกรพินธ์ สว่างวารีสกุล ๏ ครอบครัวฤทธิเสื ์ อ อุทศิ คุณย่าพวง เลือ่ นลับ ๏ คุณปาริชาติ เชื่อมแก้ว ๏ คุณมาลัย จุน่ วาที ๏ คุณรัชนี ตรีพพิ ฒ ั น์ กุล และครอบครัว ๏ คุณตรีวชิ เทียนทอง และครอบครัว ๏ คุณภูณิสา สมบัตพิ านิช ๏ คุณยุทธ ลิมปนะพงศ์พนั ธ์ และครอบครัว ๏ คุณอณิชา ไพศาลอุทยั กุล, คุณณัฐศักดิ ์ ตันตยานุ พนธ์ ๏ คุณธิดารัตน์ ศรีวฒ ั น์ ธนรัตน์ ๏ คุณอรวรรณ กุลมณีอารีรกั ษ์ ๏ คุณยุทธนา - คุณอุบล มณีแดง และครอบครัว ๏ คุณประสาทชัย - คุณบัญจางค์ สุขเจริญ ๏ รตอ.กิตติพงษ์ - คุณมณี สีหอมไชย และครอบครัว ๏ คุณวัฒนะ โรจนวิฑรู ๏ คุณสุดารัตน์ จันทร์เทียน และครอบครัว ๏ คุณอานนท์ - คุณศิรพิ ร ลิมปนะพงศ์พนั ธ์ ๏ คุณศศิพร - คุณอุมาพร จิตรชญา ๏ คุณมาลัย อุ่นวาที และครอบครัว ๏ คุณจันทรา มหัทธโนพล อุทศิ ให้พ่อปู่หลวงอุบล ราษฎร์บูรณะ ๏ คุณย่าไล่ตวง แซ่ล้ี และครอบครัว ๏ คุณจงเจริญ กฤษณามระ และครอบครัว ๏ คุณธิพาภร จันทร์กระจ่าง ๏ คุณบุญรวม - คุณสวัสดิ ์ พรายเพ็ชร , คุณประจวบ - สวง คหัฏฐา
๏ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ๏ ชุมนุ มพุทธธรรมศิรริ าช คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล กลุม่ ผูเ้ รียนทศบารมี และผูม้ กี ุศลจิต ๏ อาจารย์ประณีต ก้องสมุทร อุทศิ ให้คณ ุ ประนอม ก้องสมุทร ๏ คุณสุรศักดิ ์ จินาพันธ์ ๏ แพทย์หญิงเชาวรี อัชนันท์ ๏ คุณเดชา - คุณอาภาพันธ์ ศรีสรินทร์ ๏ คุณศศิพร อมรประยูร อุทศิ ให้ คุณสุวจั น์ จงใจวาณิชย์ และคุณพ่อ คุณแม่ ๏ คุณนภาพร อัจฉราฤทธิ ์ อุทศิ ให้ คุณศรี สิรชิ าตสิงห์ ๏ คุณหม่องเอ - นางสันเอ (ร่วมงานอุปสมบท) ชาวพม่า ๏ คุณพ่อสมชัย - คุณแม่วรรณี - คุณกัณต์กนิษฐ์ จงยิง่ ยศ ๏ ครอบครัวงานสันติสขุ , ครอบครัวฉวีวาณิชยกุล ครอบครัวมุมทอง, ครอบครัวเฟื่ องจินดาวงศ์, ครอบครัวสรสรรเสริญ ๏ คุณพรเพ็ญ พิศุธางกูร อุทศิ ให้ คุณบุญรอด ตระการวิจติ ร ๏ คุณมนู ญ-รศ.นงนารถ-คุณจันทิภา เดชณรงค์ และครอบครัว คุณอภิชาติ-คุณจิรยุทธ์-คุณโสภา สุขมุ าลจันทร์ และครอบครัว ๏ คุณพอน ธัมพิบูลย์, คุณดวงกมล พ่อค้า ๏ คุณฉัฐกนก วาณิชกรพิพฒ ั น์ , คุณสุภาภรณ์ เชาวกิจ, คุณสุดาภรณ์ ต่วนชะเอม และคุณธัญญาพร เขจรดวง ๏ คุณปญั ญา ศรีมงคล - คุณสุปราณี รังแก้ว อุทศิ ให้ ดญ.แพรว ศรีมงคล ๏ คุณศักดิศรี ์ ปาณะกุล อุทศิ ให้ คุณวิภา คูตระกูล ๏ คุณอุไร ปาณะกุล อุทศิ ให้ คุณพ่อ-แม่ และญาติผลู้ ว่ งลับ ๏ ดร.ธัญญรัตน์ ปาณะกุล อุทศิ ให้คณ ุ อนันต์, คุณพรรณี, คุณประพันธ์ ปาณะกุล ๏ คุณเยาวลักษณ์ วรรธนะพิศษิ ฏ์ อุทศิ ให้คณ ุ แม่เอี่ยว แซ่โง้ว ๏ คุณรัสรินทร์ - คุณวิเชียร สกุลเลิศผาสุก , คุณชุตกิ าญจน์ ตามไท และครอบครัว อุทศิ ให้คณ ุ แม่มยุ่ เง็ก แซ่โค้ว ๏ คุณม่วย พันธ์เถกิงอมร และครอบครัว ๏ คุณสายฝน ก่อเกียรติ และครอบครัว
และผูท้ ี่มิได้เอ่ยนามทุกท่าน
๓๓
รายนามเจ้าภาพน้ าปานะและอื่นๆ เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ ๏ พระมหาไพบูลย์ พุทฺธวิรโิ ย
๏ ชมรมพุทธธรรมรามคาแหง
๏ หม่อมหลวงสุพชิ าน์ ทองใหญ่ ๏ พลโทนรวีร์ - คุณเสริมสุข ปัทมสถาน ๏ พล.ต.ต. สพรัง่ - คุณณัทภรณ์ อุณปาทร ๏ คุณชวลิตร - คุณลลิญตา ปรีตะนนท์ ๏ คุณทวีชยั - กัณยาณี คงเจริญสุขยิง่ ๏ คุณยาใจ จารุวฒ ั นะ ๏ คุณสุรเสฏฐ์ จารุวฒ ั นะ ๏ คุณนิคม - คุณปิ ยะจิต ทาแดง ๏ คุณกุลชลี พจน์ ชยั ดี ๏ คุณอารียว์ รรณ ๏ คุณวิไล สีสรรพ์
๏ คุณแม่เสงี่ยม ศรีอนันต์ และครอบครัว ๏ คุณกิง่ กาญจน์ อารักษ์พุทธนันท์ ๏ คุณณรงค์ศกั ดิ ์ เตชะไกรศรี ๏ คุณประภาศรี วู ๏ คุณทิพพา วันวิเวก ๏ คุณวิชยั อัจฉริยเสถียร ๏ คุณอิษณี จุลปาธรณ์ ๏ คุณผกาศรี เล็กสกุลชัย ๏ คุณศิรอิ ร วัดล้อม ๏ คุณเพ็ญศรี บุญญรัตน์ ๏ คุณนวลมณี กาญจนพิบูลย์ ๏ คุณสรณา จิรารัตน์ สกุล
และผูท้ ี่มิได้เอ่ยนามทุกท่าน
ติดต่อร่วมเป็ นเจ้ าภาพภัตตาหาร และนํา้ ปานะ ได้ ท่ฝี ่ ายประชาสัมพันธ์วัดจากแดง 02-464-1122, 02 - 462-5928
๓๔
๓๕
๓๖