สนับสนุน ครก.112 // นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

Page 1

turnleftthai.blogspot.com

เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8

มีนาคม 55

ราคา 20 บาท

หนังสือ 1984 ของ จอร์ช ออร์เวล กับสังคมไทย โดย ใจ อึ๊งภากรณ์ หน้า 6

อันธพาล !

โดย สมุดบันทึกสีแดง หน้า 9

ภาพจาก thaireddenmark.blogspot.com

สนับสนุน

ครก. 112

“ปัญญาชนอนุรักษ์นิยมที่หลงเหลือมาจากยุคก่อนมักจะรวม ตัวกันผ่านสมาคมหรือองค์กรของเขาเพื่อเสนอว่าตนเองเป็น ปัญญาชน “อิสระ” ซึ่งความคิดแบบนี้มีผลกระทบในด้านความ คิดทางการเมืองไม่น้อย เราสามารถพูดได้ว่า “ปรัชญาแนวคิด จิตนิยม” มาจากพวกปัญญาชนที่เพ้อฝันว่าตนเองอิสระจาก กระบวนการของสังคมทั้งหมด...” Antonio Gramsci “Forgacs (1999)”

แถลงการณ์ สมานฉันท์ กับ ประชาชนกรีซ โดย สากล IST หน้า 2

รัฐสวัสดิการ สแกนดิเนเวีย กับ ขบวนการ แรงงาน โดย ลั่นทมขาว หน้า 10


2

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

พลวัต

แถลงการณ์สมานฉันท์กับประชาชนกรีซ 1. ขณะนี้ประเทศต่างๆ ในตะวันตกถูกครอบงำ�โดยนโยบาย ตัดงบประมาณรัฐของฝ่ายเสรีนยิ ม เพราะเมือ่ ชนชัน้ ปกครองเผชิญหน้า กับวิกฤตเศรษฐกิจโลกที่ถูกกระตุ้นจากการปั่นหุ้นโดยนายธนาคาร มี การโยนภาระในการจ่ายหนี้ให้กับกรรมาชีพและคนจน การตัดงบ ประมาณรัฐยิ่งทำ�ให้โลกถูกแช่แข็งในสภาพเศรษฐกิจที่หดตัวมากขึ้น แต่สำ�หรับชนชั้นปกครองมันเป็นโอกาสทองที่จะผลักดัน “การปฏิรูป” ต่างๆ เพื่อประโยชน์ของนายทุน 2. ประเทศกรีซโชคร้ายทีก่ ลายเป็นห้องทดลองสำ�หรับนโยบาย ดังกล่าว ประเทศในโซนสกุลเงินยูโรพึ่งตกลงมาตรการเพื่อ “กู้” สถานการณ์สำ�หรับกรีซ แต่มันเป็นมาตรการเพื่อปกป้องธนาคารใน ฝรัง่ เศสและเยอรมันทีเ่ คยปล่อยกูใ้ ห้กรีซ ดังนัน้ ก้อนเงินดังกล่าวจะจ่าย ให้ธนาคาร แทนที่ประเทศกรีสจะได้ 3. ประชาชนกรีซต้องประสบความโหดร้ายทารุณยากลำ�บาก ในการกูธ้ นาคารครัง้ นีแ้ ละครัง้ ก่อนๆ เศรษฐกิจหดตัวถึง 7% ซึง่ แย่พอๆ กับวิกฤตเศรษฐกิจในทศวรรษที่ 30 การตกงานและการฆ่าตัวตายตอน นี้พุ่งสูงขึ้น ประชาชนจำ�นวนมากต้องไปเข้าคิวรับอาหารฟรีจากผู้มี ใจบุญในขณะทีค่ นรวยปกป้องทรัพย์สนิ ของตนเอง พรรคการเมืองหลัก ทุกพรรคสนับสนุนการตัดฐานะชีวิตประชาชนแบบนี้ มีการตัดค่าจ้าง ขั้นต่ำ�ลง 22% บำ�เหน็จบำ�นาญถูกตัด 15% ข้าราชการโดนไล่ออก 15,000 คน และผู้ที่คุมสถานการณ์คือ “ไตรภาคี Troika” ที่ประกอบ ไปด้วย ธนาคารกลางยุโรป สหภาพยุโรป และไอเอ็มเอฟ 4. นโยบายการตัดงบประมาณนีอ้ าศัยการทำ�ลายกระบวนการ ประชาธิปไตยอย่างน่าใจหาย ตอนนี้กรีซกับอิตาลีมีรัฐบาลแต่งตั้งที่ ประกอบไปด้วยนายธนาคาร และนักการเมืองฝ่ายขวาในยุโรปเหนือ เช่นเยอรมัน ยังเรียกร้องอีกให้งดการเลือกตั้งที่ควรจะเกิดขึ้นในเดือน เมษายน อธิปไตยทางเศรษฐกิจของกรีซถูกยกเลิกจากการที่ Troika เข้ามาควบคุมกระทรวงต่างๆ และตำ�รวจปราบจลาจลใช้ความรุนแรง กับผูป้ ระท้วงและกรรมาชีพทีน่ ดั หยุดงาน นโยบายแบบนีอ้ าจถูกนำ�มา ใช้กับประเทศไอร์แลนด์ในอนาคตอันใกล้อีกด้วย 5. ประเทศกรีซถูกทำ�ให้เป็นตัวอย่าง เชือดไก่ให้ลงิ ดู เพือ่ ข่มขู่ ผู้คัดค้านการตัดสวัสดิการและการบริการของรัฐในประเทศอื่นๆ แต่ รายงานของนักเศรษฐศาสตร์ในยูโรโซนเอง ยอมรับว่านโยบายดังกล่าว คงจะล้มเหลว การตัดงบประมาณรัฐมีผลในการลดพลังซื้อและปริมาณ การจ้างงาน ซึ่งทำ�ให้เศรษฐกิจหดตัวเพิ่ม การลดหนี้ก็จะยากขึ้นตาม มา มันเหมือนงานของ “Sisyphus” ในนิยายโบราณกรีก ที่ต้องเข็น ก้อนหินขึ้นเขาเพื่อให้มันกลิ้งลงมาอีกซ้ำ�แล้วซ้ำ�อีก

6. เป็นเรื่องดีที่ประเทศกรีซมีขบวนการแรงงานที่เข้มแข็งกล้า สู้ที่สุดในยุโรป การตัดงานและสวัสดิการถูกรับมือด้วยการนัดหยุดงาน ทั่วไปหลายๆ ครั้ง พร้อมกับการประท้วงอย่างดุเดือด ตอนนี้คนงาน รากหญ้ากำ�ลังกดดันให้ผนู้ �ำ แรงงานระดับชาติประสานการต่อสูใ้ ห้หนัก ขึ้น พรรคการเมืองหลักสองพรรค พรรคสังคมนิยมประชาธิปไตย และ พรรคอนุรักษ์นิยม อยู่ในสภาพวิกฤตเพราะมีการแยกพรรคและการไล่ ออก สส. จำ�นวนมากทีไ่ ม่เห็นด้วยกับรัฐบาล และจากโพลล์ส�ำ รวจความ เห็นประชาชน พรรคกระแสรองที่มีจุดยืนซ้ายกว่าพรรคสังคมนิยม ประชาธิปไตย ตอนนี้เพิ่มคะแนนนิยมถึง 40% กระแสซ้ายปฏิวัติต้าน ทุนนิยมกำ�ลังเติบโตท่ามกลางการสนับสนุนการต่อสู้ 7. ถ้าการต่อสู้คัดค้านมาตรการโหดร้ายนี้แรงขึ้นและมีเป้า หมายชัดเจนขึน้ จะสามารถวางรากฐานนโยบายใหม่ทตี่ า้ นการตัดงาน และสวัสดิการ และต้านเสรีนยิ มกลไกตลาด ในรูปธรรมนโยบายดังกล่าว จะต้องหมายถึงการออกจากสกุลเงินยูโร การไม่ยอมจ่ายหนี้ และการ ปฏิเสธการกูร้ ะบบทุนนิยมในกรีซ มันจะต้องหมายถึงการสร้างโครงสร้าง ใหม่ เพื่อนำ�ธนาคารต่างๆ มาเป็นของรัฐ และเพื่อเพิ่มการลงทุนโดย รัฐในการสร้างงาน พัฒนาการบริการ และการเพิม่ ฐานะชีวติ สำ�หรับคน ส่วนใหญ่ มันจะต้องเป็นส่วนหนึ่งของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย และ ต้องไปไกลกว่านั้นอีก คือไปสู่การเพิ่มอำ�นาจของกรรมาชีพในการ ควบคุมเศรษฐกิจอีกด้วย ซึ่งจะเปิดทางให้มีการวางแผนในรูปแบบ ประชาธิปไตยสังคมนิยม แทนความวุ่นวายและความไม่เป็นธรรมของ ระบบทุนนิยม 8. การต่อสูข้ องกรรมาชีพ นักศึกษา และคนจนในประเทศกรีซ คือการต่อสู้ของเราด้วย ถ้าเขาชนะ การตัดสวัสดิการ ค่าแรง และงาน จะทำ�ได้ยากขึ้นที่อื่น ถ้าเขาแพ้ แผนของพวกชนชั้นปกครองยุโรปที่จะ ทำ�ให้นโยบายเสรีนิยมแบบนี้กลายเป็นนโยบายถาวร จะถูกนำ�มาใช้ ง่ายขึ้น เราขอประกาศว่าเราจะสมานฉันท์กับการต่อสู้ของชาวกรีซ ซึ่ง หมายถึงการต่อสู้คัดค้านการตัดงบประมาณรัฐและการใช้กลไกตลาด เสรีในแต่ละประเทศของเราเองด้วย ซึง่ จะหนุนช่วยพีน่ อ้ งของเราในกรีซ -TLN-

(อ่านต่อหน้า 3)


turnleftthai.blogspot.com

3

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

มุมประวัติศาสตร์

C.H.

การกดขี่สตรีไม่ใช่ธรรมชาติมนุษย์ ถึงแม้ว่าร่างกายชายและหญิงต่างกัน การใช้ค่านิยม ว่าเพศหญิงด้อยกว่าเพศชายไม่ใช่ธรรมชาติดงั้ เดิมของมนุษย์ สังคมมนุษย์ในยุคบุพกาล ก่อนสมัยทีม่ นุษย์คน้ พบวิธปี ลูกพืช หรือเลีย้ งสัตว์ เป็นสังคมของคนทีเ่ ก็บของป่าและล่าสัตว์ มนุษย์ อยู่ในกลุ่มเล็กๆ ในลักษณะเครือญาติ ในแต่ละกลุ่มอาจมี ประมาณ 30-40 คน ทรัพยากรทุกอย่างเป็นของกลางหมด มี การแบ่งกันอย่างเท่าเทียม มีการร่วมมือกันในกิจกรรมต่างๆ ถึงแม้ว่าผู้ชายมักเป็นผู้ที่ล่าสัตว์และนำ�เนื้อสัตว์กลับมาให้ทุก คนกิน การล่าสัตว์เป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ดังนั้นกลุ่มคนเหล่านี้ ต้องอาศัยการเก็บพืช ผัก ผลไม้และการขุดราก ซึ่งเป็นงาน หลักของผูห้ ญิง เพราะผูห้ ญิงต้องเลีย้ งลูกกับตัวเอง ไม่สามารถ เดินทางไกลไปล่าสัตว์ได้เราจะเห็นได้วา่ งานของผูห้ ญิงสำ�คัญ พอๆ กับ หรืออาจสำ�คัญกว่างานผู้ชาย และการทำ�งานนี้คือ สิ่งที่ทำ�ให้มนุษย์ดำ�รงชีพได้ พูดง่ายๆ ความสัมพันธ์ระหว่างคนกลุม่ ต่างๆ กับระบบ การผลิตทีเ่ ลีย้ งชีพเรา เป็นสิง่ สำ�คัญยิง่ และมีสว่ นสำ�คัญในการ กำ�หนดบทบาท ฐานะ และความเชื่อของคนเหล่านั้นในสังคม ในสังคมบุพกาล ไม่มกี ารแบ่งชนชัน้ และไม่มกี ารเลือก ปฏิบัติระหว่างชายกับหญิงอาจมีชายหรือหญิงที่ทุกคนนับถือ

แต่การนับถือเคารพเป็นเพราะคนเหล่านีเ้ ป็นผูม้ ปี ระสบการณ์ สูงสามารถแนะนำ�อะไรที่เป็นประโยชน์ได้ อย่างไรก็ตามเขา จะไม่เป็นอภิสทิ ธิช์ นทีไ่ ด้อะไรมากกว่าคนอืน่ ในบางชุมชนมีรปู ปัน้ เทพีซงึ่ ชวนให้เรามองว่าผูห้ ญิงเป็นทีเ่ คารพของสังคม เพราะ ผู้หญิงเป็นผู้ที่ผลิตผู้คนหรือกำ�ลังงานสำ�หรับอนาคต เมื่อกำ�เนิดสังคมชนชั้น ความสัมพันธ์ระหว่างเพศก็ เปลีย่ นไป เองเกิลส์อธิบายว่าก่อนยุคนีส้ ตรีมบี ทบาทสำ�คัญใน การหารากไม้และผลผลิตในป่า ต่อมาก็ยังมีบทบาทสำ�คัญใน การเกษตรพื้นฐานเพราะสตรีจะใช้จอบ แต่พอเริ่มมีการไถนา ด้วยสัตว์ งานสำ�คัญในการผลิตอาหารกลายเป็นงานหนักของ ผูช้ าย นอกจากนีผ้ หู้ ญิงเสียเปรียบในการเป็นทหารหรือแม่คา้ ทีค่ า้ ขายทางไกล เพราะร่างกายอ่อนแอกว่าผูช้ ายหรือเขาต้อง ดูแลให้นมกับลูกเล็ก นี่คือต้นกำ�เนิดของ “ความพ่ายแพ้ของ สตรี” และความคิดที่กดขี่ทางเพศ ซึ่งมีพื้นฐานจากระบบ เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม มนุษย์คิดเองได้ ไม่ใช่ทาสของระบบ เศรษฐกิจไปทัง้ หมด และในยุคปัจจุบนั ระบบเศรษฐกิจสามารถ เลี้ยงทุกคนได้ ถ้ามีการแบ่งทรัพยากรอย่างเป็นธรรม ดังนั้น ชายกับหญิงสมัยใหม่สามารถร่วมมือกันต่อสู้เพื่อความเท่า เทียมระหว่างเพศ และการกำ�จัดระบบชนชั้นได้ -TLN-

(ต่อจากหน้า 2) ลงชื่อ The Coordination of the International Socialist Tendency (คณะกรรมการประสานงาน ISTและองค์กรสังคมนิยมดังต่อไปนี้) All Together (เกาหลีใต้), En Lucha /En Lluita (สเปน), International Socialist Organisation (ซิมบาบวี), International Socialists (แคนาดา), International Socialists (ปากีสถาน), Internationale Socialisten (เนเธอร์แลนด์), Internationale Socialister /ISU (เด็นมาร์ค), Internationella Socialister (สวีเดน), Keep Left (อัฟริกาใต้), Linkswende (ออสเตรีย), Marks21 (เซอร์เบีย), Mlodzi Socjalisci (The Young Socialists, โปแลนด์), Mouvement pour le socialisme/Bewegung für sozialismus (สวิตเซอร์แลนด์), Pracownicza Demokracja (Workers Democracy, โปแลนด์), Revolutionary Socialist Workers Party (ตุรกี), Socialist Aotearoa (นิวซีแลนด์), Socialist Workers League (ไนจีเรีย), Socialist Workers Party (อังกฤษ), Socialist Workers Party (ไอร์แลนด์), Sosialistiko Ergatiko Komma (กรีซ), Solidarity (ออสเตรเลีย), Turn Left “เลี้ยวซ้าย”ประเทศไทย, Workers Democracy Group (Cyprus ไซปรัส) หมายเหตุโดยองค์กรเลี้ยวซ้าย - นักศึกษากรีซเคยติดตามการต่อสู้ของนักศึกษาไทยในช่วง ๑๔ ตุลา และออกมาประท้วงเผด็จการทหารของกรีซด้วยการตะโกนคำ�ว่า Thailand Thailand!! - ในประเทศไทยรัฐบาลยิ่งลักษณ์กำ�ลังตัดงบประมาณรัฐหลังน้ำ�ท่วม และชะลอการขึ้นค่าแรง


4

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

Speak Out

โคแบร์

โลกการศึกษาไทย ที่ยังไม่หมุนรอบตัวเอง เท่าทีผ่ มติดตามการศึกษาในประเทศไทยในปัจจุบนั พบว่า ยัง มีปัญหาอยู่มากโดยเฉพาะการปลูกฝังความคิดให้กับเยาวชนไปใน ทิศทางเดียวกัน ซึ่งหมายความว่า การเจริญเติบโตของเยาวชนผู้ซึ่ง กำ�หนดทิศทางอนาคตให้กบั ประเทศมีจดุ มุง่ หมายซึง่ คิดว่าเป็นคำ�ตอบ ทีถ่ กู ต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว จะเห็นได้จากการทีม่ รี ะบบการสอบคัดเลือก ที่เข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัยต่างๆ หรือที่เราเรียกว่า O-net และ ANet (ตอนนี้มีระบบแบบทดสอบที่เรียกว่า Gat-Pat เพิ่มเติมเข้ามา) ซึง่ ตัวแบบทดสอบทีอ่ อกมาให้กบั นักเรียน นักศึกษา จะเน้นให้นกั เรียน ท่องจำ�คำ�ตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว แน่นอนว่าคำ�ตอบที่นักเรียน นักศึกษาที่คิดว่าคำ�ตอบนั้น คำ� ตอบนีจ้ ะถูกต้องทีส่ ดุ เพียงข้อเดียว จะทำ�ให้นกั เรียน นักศึกษาได้คะแนน คำ�ตอบในข้อนั้นไป คะแนนแต่ละคะแนนนั้นจะส่งผลต่อการเข้า มหาวิทยาลัยต่างๆทัว่ ประเทศ ดังนัน้ พวกเขาและพวกเธอจะต้องหาคำ� ตอบทีค่ ดิ ว่าใช่ทสี่ ดุ แน่นอนทีส่ ดุ เพือ่ ทีจ่ ะได้เข้ามหาวิทยาลัยชัน้ นำ�ของ ประเทศได้ โดยไม่สนอกสนใจเลยว่าคำ�ตอบนั้นจะมีเหตุผลมากน้อย เพียงใด แต่ขอให้เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบทดสอบกำ�หนดคำ�ตอบที่ถูก ต้องที่สุดเพียงข้อเท่านั้นก็เพียงพอแล้ว ความจริงเรือ่ งนีเ้ ราคงต้องถกเถียงกันอีกนานแสนนาน ผมเชือ่ คงจะหลายสิบปีเลยทีเดียว อีกทั้งประเทศไทยมีการเปิดประตูเข้าหา อาเซียนมากยิ่งขึ้นทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม ทำ�ให้โลก ของการศึกษาของเราไม่สามารถที่จะปรับเข้ากับสมาชิกประเทศอื่นๆ ได้ราบรื่นนัก ผมไม่เสียเวลาที่จะวิพากษ์วิจารณ์ระบบการศึกษาของ ประเทศต่างๆหรอก เพราะผมเห็นว่ามันไม่มีประโยชน์อะไรสำ�หรับผู้ที่ มีโลกความคิดที่ยังไม่หมุนรอบตัวเองผู้ซึ่งกำ�หนดกรอบของระบบการ ศึกษา อีกอย่างก็คอื อนาคตของชาติทงั้ พวกเขาและพวกเธอได้วพิ ากษ์ วิจารณ์แทนผมในเรื่องระบบการศึกษามากเพียงพอแล้ว เราจะพบว่าปัญหาการสอบ O-Net และ A-Net มักจะมี ปัญหาในเรือ่ งการออกข้อสอบเป็นอย่างมาก ข้อสอบส่วนมากเป็นปัญหา ที่ไม่ทำ�ให้ตัวเราสามารถใช้ความคิดหรือจินตนาการได้มากมายตาม ศักยภาพของเรา ทั้งๆที่นักเรียน นักศึกษาในช่วงนี้จะต้องใช้ความคิด

และจินตนาการมากเป็นพิเศษ เพราะว่าเป็นช่วงหัวเลี้ยงหัวต่อในการ สร้างประเทศชาติให้มีความเติบโตและแข็งแกร่งในอนาคต ซึ่งเรื่องนี้ หากเราจะอ้างระบบการศึกษาในประเทศที่เราคิดว่าด้อยพัฒนาแล้วว่า อย่างน้อยพวกเราก็ยังดีกว่าบางประเทศที่ล้าหลัง หากเรายังมีทัศนคติ ที่ยังเป็นแบบนี้อยู่ รับรองได้ว่าประเทศคงไม่มีทางผงาดบนกระแส โลกาภิวัฒน์นี้ได้อย่างแน่นอน ผมวิเคราะห์ว่า ระบบการศึกษาในประเทศไทยที่ยังไม่หมุน รอบตัวเอง สาเหตุมาจากคนกลุ่มหนึ่งซึ่งรวมไปถึงบรรดาผู้ปกครอง และผู้ที่คิดว่าตนนั้นมีการศึกษา กำ�หนดทิศทางการศึกษาในประเทศ ให้เป็นแบบนี้ เนื่องจากพวกเขาได้พยายามเป่าหูกับพวกเราไม่ให้เน้น ความสำ�คัญกับการศึกษามากเกินไป โดยเน้นในเรื่องของปัญหาปาก ท้องตนเอง การทำ�มาหากินเป็นเรือ่ งทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ อันนีผ้ มก็คงไม่เถียง เพราะโลกของทุนนิยมเองกำ�หนดให้ประชาชนต้องดิ้นรนต่อสู้ในเรื่อง นี้อยู่แล้ว ทำ�ให้มีผู้ใช้แรงงานในภาคอุตสาหกรรมและตามบริษัทต่างๆ เป็นจำ�นวนมากกว่าที่จะเป็นนายทุน นักธุรกิจหรือจะเป็นอาชีพที่แตก ต่างกันออกไปจากที่อยู่ในกลุ่มแรงงาน สังเกตได้วา่ เดีย๋ วนีเ้ ยาวชนมีความคิดทีจ่ ะพาตัวเองเข้าสูร่ ะบบ ตลาดแรงงานมากยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากการผลักดันของคุณพ่อคุณแม่ทปี่ ลูก ฝังความคิด ความเชือ่ ให้กบั เยาวชนทีจ่ ะต้องเรียนให้จบไวๆและหาการ หางานทำ�ให้มีเงินเดือนดีๆ เอาไว้เลี้ยงครอบครัวในอนาคต สิ่งเหล่านี้ ทำ�ให้ปญ ั หาต่างๆได้สะสมก่อตัวมากยิง่ ขึน้ เพราะความมุง่ หวังทีท่ �ำ มา หากินอย่างเดียว โดยไม่สนใจปัญหารอบด้านอืน่ ๆ อีกทัง้ ยังทำ�ให้สงั คม มีความเห็นแก่ตัวเพิ่มขึ้นมากขึ้นทุกวัน โลกของการศึกษาบ้านเราได้ให้ความสำ�คัญกับการผลิตบัณฑิต โดยลืมการฝากความคิดในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาหลังจากที่ได้ จบการศึกษาแล้ว ส่วนใหญ่ผคู้ นก็จะคิดว่าเรียนจบแล้วก็เท่ากับว่าประสบ ความสำ�เร็จในชีวติ แล้ว จะเห็นได้จากการทีบ่ ณ ั ฑิตจะมีความบ้าคลัง่ ต่อ ใบปริญญาบัตรมากเป็นพิเศษ โดยเห็นใบปริญญาบัตรเป็นชีวติ ของเรา ไปเลย หายไม่ได้ ขาดไม่ได้ พอจบแล้วก็มกี ารเลีย้ งฉลองกันชนิดทีแ่ บบ ว่า กระชากวิญญาณหลุดลอยออกไปจากโลกไปเลยก็ว่าได้


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

5

10 เหตุผล ทำ�ไมประเทศไทยจึงห่วยแตก!! ที่มา www.facebook.com/TrollGodX

1. ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยไม่เต็มบาท :: แม่งฮาว่ะ เลือกตั้งรัฐบาลเข้าไป แต่รัฐบาลบริหารห่า อะไรไม่ได้ จะย้ายทหารสักตัวนึงยังย้ายไม่ได้ วันดีคืนดีทำ�กับข้าว ออกทีวีก็ถูกปลดออกจากตำ�แหน่ง

2. เก็บภาษีแล้วไม่ค่อยคืนผลประโยชน์สู่ประชาชน :: ไอ้สัตว์ โรงเรียน โรงพยาบาล ตามต่างจังหวัด แม่ง สร้างบ้างเหอะ กูสงสารชาวบ้าน

3. ทรัพยากรธรรมชาติมากมาย แต่ประชาชนไม่ได้ประโยชน์ ภาพจาก www.isnhotnews.com

การศึกษาในบ้านเราก็มักจะจมปลักอยู่กับใบปริญญาบัตรอยู่ เพียงไม่กใี่ บ ในขณะทีโ่ ลกของเราได้หมุนรอบตัวเองตลอดสำ�หรับผูค้ น ที่กระหายความรู้อยู่ตลอดเวลาทำ�ให้ช่องว่างการศึกษาบ้านเรากับโลก ของเรามันช่างผิดเพีย้ นผิดปกติแล้ว สาเหตุตา่ งๆเหล่านีไ้ ม่ใช่เป็นปัญหา ทัง้ หมดสำ�หรับระบบการศึกษาบ้านเรา หากมีปญ ั หาทัง้ ระบบการเมือง เศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งปัจจัยทั้งภายในและภายนอกไม่อาจทำ�ให้ เราได้รับข้อมูลข่าวสารที่ทั่วถึง ทำ�ให้สิทธิ เสรีภาพในการแสดงความ เห็นถูกลิดรอนจนถึงปัจจุบัน แน่นอนสาเหตุหลักก็คือระบบการศึกษาของเราที่ทำ�ให้เราไม่ การโต้เถียงครูบาอาจารย์โดยเห็นว่าเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ดี เป็นเด็กไม่ควรเถียง กับผู้ใหญ่ เด็กๆจึงกลัวผู้ใหญ่ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา เติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ ก็ไม่มโี อกาสแสดงความคิดเห็น ไม่มโี อกาสแสวงหาความรูเ้ พิม่ เติมภาย หลังจากที่จบการเรียนแล้ว มุ่งหน้าทำ�มาหากินอย่างเดียว สุดท้ายโลก ของการศึกษาก็ไม่หมุนรอบตัวเองเสียที ผมเองในฐานะทีเ่ ป็นคนกระจอกต่�ำ ต้อยคนหนึง่ ก็อยากจะบอก ว่า การศึกษานั้นมีความสำ�คัญเท่ากับชีวิตของเราเลยทีเดียว หากเรา ขาดการศึกษาก็เท่ากับว่า เราได้สูญเสียอวัยวะภายในร่างกายของเรา เองทีละชิ้น ทีละข้าง ไปเรื่อยๆ จนทำ�ให้เราไม่สามารถทำ�มาหากินเพื่อ ที่จะดูแลปากท้องตัวเองได้อีกต่อไป หากเรายังให้ความสำ�คัญปัญหา ปากท้องตัวเองมากกว่าการศึกษา ก็เท่ากับว่าเราเสียโอกาสในการทำ� มาหากินให้กับตัวเองเช่นเดียวกัน ดังนัน้ วิธที ดี่ ที สี่ ดุ ในการรับมือนีก้ ค็ อื เวลาของในการทำ�งานของ เราโดยทั่วไปจะตกอยู่ใน 8 ชั่วโมง อาจจะมากกว่าหรือน้อยกว่านั้นก็ แล้วแต่ตัวเรา หากผมแบ่งเวลาการทำ�งานโดยรวมไว้ทั้งหมด 8 ชั่วโมง ผมจะหาเวลาศึกษาขวนขวายในการความรู้ 6 ชั่วโมง เพื่อเป็นการลับ สมองให้มคี วามคมกริบ จากนัน้ เราจึงสามารถทุม่ เทกับการทำ�มาหากิน ที่เหลือโดยใช้การศึกษาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ในเวลาที่เหลืออย่างเต็มที่ ทำ�ให้ความคิดของเราสอดคล้องกับปัญหาปากท้องที่เรากำ�ลังประสบ อยู่ในขณะนี้เป็นอย่างดี และยังทำ�ให้เราเห็นโลกที่หมุนรอบตัวเองอยู่ ตลอดเวลาต่างกับบางคนที่หยุดอยู่กับที่เหมือนในตอนนี้ -TLN-

:: แม่งเข้ากระเป๋าใครหมดก็ไม่รู้

4. ไม่เคยเสียเอกราชให้ใคร แต่กชู้ าติกลับคืนมาจากพม่า :: หลอกตัวเองชิบหาย ไหนจะโดนญี่ปุ่นรุกรานจนต้อง ยอมจำ�นนอีก

5. มีแต่ฤดูร้อนตลอดปี :: ร้อนขนาดนี้มึงจะแบ่งเป็น 3 ฤดูกาลทำ�หอกอะไร?

6. เป็นเมืองพุทธแต่เปลือกนอก :: เซนซิทีฟทุกสิ่งทุกอย่าง ไอ้โน่นก็ไม่ได้ ไอ้นี่ก็ไม่เหมาะ สม เซนเซอร์กระทั่งหัวนมโกฮัง คาสิโนก็สร้างไม่ได้ทั้งที่บ่อน เถื่อนเต็มประเทศ แทนที่จะเอารายได้เข้ารัฐ ควายยยย คนไทยก็ งมงาย กราบไหว้สัตว์พิการ ดื่มน้ำ�ส้วมอมฤทธิ์ เจลลดไข้จาก สวรรค์ พุทธพ่อมึงเหรอ?

7. ธุรกิจผูกขาด :: ห่าเหวอะไรก็ True, CP ทำ�กิจการผูกขาดครบวงจร จนร่ำ�รวย ชาวบ้านจะทำ�ธุรกิจบ้างก็สู้ไม่ไหว เจ๊งไปตาม ๆ กัน เงินทองไหลไปกองอยู่กับคนไม่กี่ตระกูล

8. สกปรก ไม่เป็นระเบียบ :: พื้นถนนมีแต่ฝุ่น เศษขยะกระจัดกระจาย กองขยะ เหม็นเน่าเป็นจุด ๆ แม่น้ำ�ลำ�คลองก็เน่าเสีย อากาศก็มีแต่มลพิษ สายไฟระโยงระยาง ฝาท่อผุพัง ไม่เคยหาทางแก้ไขกันอย่าง จริงจัง

9. แบ่งชนชั้นวรรณะ :: แบ่งแยกชาติกำ�เนิด เกิดในตระกูลดังมีสิทธิพิเศษ ทำ� อะไรก็ไม่ผิด เงินซื้อได้ทุกอย่าง

10. คนไทย :: อันนี้คือเหตุผลสำ�คัญที่สุดที่ทำ�ให้ประเทศไทยห่วย แตก ถ้าจะสาธยายจริง ๆ คงต้องเริ่มหัวข้อใหม่ไปเลยว่า 10 เหตุผล ทำ�ไมคนไทยจึงห่วยแตก!!


6

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

วิวาทะ

ใจ อึ๊งภากรณ์

หนังสือ 1984 ของ จอร์ช ออร์เวล กับสังคมไทย จอร์ช ออร์เวล เป็นนักเขียนสังคมนิยมอังกฤษ ในปี 1937 เขาอาสาไปรบในประเทศสเปน เพือ่ ยับยัง้ การยึดอำ�นาจของทหาร ฟาสซิสต์ภายใต้นายพลฟรังโก ออร์เวลเข้าร่วมในกองทัพอาสา สมัครของพรรค POUM (พรรคแนวร่วมกรรมาชีพมาร์คซิสต์) พรรคนี้ร่วมกับองค์กรอนาธิปไตย CNT และ FAI ในการปฏิวัติ ลุกฮือของกรรมาชีพและเกษตรกรสเปน แต่ปรากฏว่าพรรค คอมมิวนิสต์สเปน ภายใต้อิทธิพลของ สตาลิน ในรัสเซีย พยายาม สลายกระแสปฏิวัติเพื่อเอาใจอังกฤษกับฝรั่งเศส เพราะตะวันตก ไม่ต้องการเห็นการปฏิวัติสังคมนิยมเกิดขึ้นในสเปน สตาลินมอง ว่าถ้าสามารถเอาใจมหาอำ�นาจตะวันตกได้ รัสเซียจะไม่ถูกโจมตี อย่างไรก็ตามการเอาใจตะวันตกแบบนีน้ �ำ ไปสูก่ ารเปลีย่ นสงคราม ปฏิวัติในสเปนไปสู่สงครามกระแสหลัก และนำ�ไปสู่การทำ�ลาย ความหวังของกรรมาชีพและเกษตรกรในการปลดแอกตนเอง ผล ในที่สุดคือความพ่ายแพ้ของฝ่ายซ้ายและฝ่ายประชาธิปไตยสเปน ประสบการณ์ของออร์เวลในสเปนถูกเขียนขึ้นหลังจากที่ เขาหนีออกมาจากประเทศนั้นได้ ในหนังสือสำ�คัญของเขาชื่อ Homage To Catalonia (แด่คาทาโลเนีย) และเมื่อไม่นานมานี้ Ken Loach อาศัยหนังสือเล่มนี้ในการสร้างหนังชื่อ Land and Freedom ออร์เวล เข้าใจดีเรือ่ งการหักหลังขบวนการปฏิวตั สิ ากลโดย สตาลินและพรรคคอมมิวนิสต์ต่างๆ ที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของสตา ลิน อีกกรณีสำ�คัญในยุคนั้นนอกจากสเปน คือการหักหลังคอมมิ วนิสต์และกรรมาชีพจีน โดยการสัง่ ให้เข้าไปร่วมพรรคกับพวกชาติ นิยมก๊กหมินตั๋ง ซึ่งทำ�ให้เชียงไกเช็คกวาดล้างฆ่าคอมมิวนิสต์ จำ�นวนมาก สองเหตุการณ์นี้ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก จาก ลีออน ตรอทสกี ผู้ที่พยายามปกป้องแนวมาร์คซิสต์ และแนว บอลเชวิคจากการบิดเบือนของสตาลิน ในหนังสือ Animal Farm (รัฐสัตว์) ออร์เวลประชดระบบ เผด็จการของสตาลิน ทีอ่ า้ งว่าเป็นสังคมนิยมแต่สร้างความเหลือ่ ม ล้ำ�และการกดขี่อย่างหนักในรัสเซีย ตัวละครที่เป็นสตาลินคือหมู ชื่อ นโปเลียน และหมูอีกตัวที่ชื่อ สโนบอล์คือตรอทสกี

หนังสือ 1984 ซึ่งเขียนในปี 1949 เป็นการวิพากษ์วิจารณ์ ระบบเผด็จการสตาลินอย่างหนัก แต่ผสมระบบนาซี-ฟาสซิสต์ เข้าไปในรัฐเผด็จการเดียวกัน 1984 เน้นเรื่องกระบวนการกล่อม เกลาล้างสมอง การตอแหลโกหก และการสร้างนิยายขึน้ มาครอบงำ� สังคมโดยเผด็จการ มันเป็นหนังสือทีว่ จิ ารณ์ทงั้ ฝ่ายรัสเซียและฝ่าย อเมริกาในยุคสงครามเย็น ในหนังสือ 1984 “พี่ใหญ่” ที่คอยจ้องมองประชาชนตลอด มีใบหน้าเหมือน สตาลิน และศัตรูหลักของระบบเผด็จการชื่อ โกล์ ดสตีน ซึ่งมีหน้าตาเหมือน ตรอทสกี บ่อยครั้งจะมีการบรรยายวิธี การที่เผด็จการทำ�ให้อดีตนักปฏิวัติสารภาพว่าตนเป็น “สายลับ ของศัตรู” ซึง่ เป็นสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับอดีตแกนนำ�พรรคบอลเชวิคในคดี การเมืองภายใต้ “ศาลเตี้ย” ของสตาลิน ในยุค 1930 ในการกล่าวถึงสภาพโลกในหนังสือ 1984 ออร์เวลประชด สิ่งที่เกิดขึ้นในยุคสงครามเย็นและภายหลัง โลกในหนังสือของอ อร์เวลแบ่งเป็นสามมหาอำ�นาจทีอ่ ยูใ่ นสภาวะสงครามอย่างต่อเนือ่ ง คือ Oceania (ศูนย์กลางทีส่ หรัฐ), Eastasia (ศูนย์กลางทีจ่ นี ) และ Eurasia (ศูนย์กลางที่รัสเซีย) ตัวละครเอกในเรื่องจะอาศัยอยู่ที่ อังกฤษซึง่ ตอนนีเ้ ปลีย่ นชือ่ ไปเป็น “สนามบิน 1” และเป็นส่วนของ อาณาจักร Oceania ของสหรัฐ ในสมัยประธานาธิบดีเรแกน หลัง ออร์เวลตายไปสามสิบกว่าปี คนอังกฤษที่คัดค้านจักรวรรดินิยม สหรัฐและการที่อังกฤษมีฐานทัพนิวเคลียร์ของสหรัฐบนเกาะ มัก จะพูดว่าอังกฤษกลายเป็นแค่ “สนามบินของสหรัฐ” ไปแล้ว ทั้งสามมหาอำ�นาจมีลัทธิการเมืองของตนเอง Oceania ใช้ลัทธิ Ingsoc(สังคมนิยมอังกฤษ) Eastasiaใช้ลัทธิ DeathWorship (บูชาความตาย) และ Eurasia ใช้ลัทธิ Neo-Bolshevism (บอลเชวิคใหม่) แต่ทั้งๆ ที่แต่ละฝ่ายอ้างว่าแนวคิดของ ตนเองแตกต่างโดยสิน้ เชิงกับของฝ่ายตรงข้าม ในความเป็นจริงไม่ ต่างกันเลยเพราะล้วนแต่เป็นเผด็จการของขุนศึกที่กดขีป่ ระชาชน ในโลกแห่งความเป็นจริงของสงครามเย็น ฝ่ายสหรัฐอ้างว่าเป็น “โลกเสรี” แต่ในโลกเสรีมีเผด็จการทหารไทย เผด็จการทหาร เกาหลีใต้ และเผด็จการทหารในลาตินอเมริกา ส่วนเผด็จการคอม


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

7

มิวนิสต์สายสตาลินในรัซเสียและทีอ่ นื่ ๆ โกหกว่าตนเป็น “ประชาธิปไตย ประชาชน” ในหนังสือ 1984 Oceania Eastasia และ Eurasia ฉวย โอกาสสับเปลี่ยนกันเป็น “แนวร่วม” เพื่อต่อต้านอีกฝ่าย โดยไม่มี เรื่องอดุมการณ์เข้ามาเกี่ยวข้องแต่อย่างใด ทั้งๆ ที่หนังสือทั้งสามเล่มนี้ของออร์เวล เป็นการวิจารณ์ ระบบสตาลินอย่างหนัก จากจุดยืนนักสังคมนิยมปฏิวัติ แต่ฝ่าย ขวาทั่วโลก โดยเฉพาะในสงครามเย็น และแม้แต่ฝ่ายขวาในไทย ก็บดิ เบือนความหมายให้ตรงข้ามกับความจริงอย่างน่าไม่อาย เพือ่ เสนอว่าเป็นหนังสือ “ต้านสังคมนิยม” ในหนังสือ Homage To Catalonia (แด่คาทาโลเนีย) ออร์เวล กล่าวถึงเมืองบาซาโลนาที่ถูกกรรมาชีพยึด เขาสนับสนุน การที่คนงานเป็นใหญ่ในสังคมโดยไม่มีเงื่อนไข ทั้งๆ ที่เขาไม่ สบายใจในฐานะที่ตัวเองเป็นคนชั้นกลาง ในหนังสือ 1984 ตัวเอก ประชาชนในสังคม Oceania แบ่งออกเป็นสองชนชั้นคือ เชื่อมั่นว่าชนชั้นกรรมาชีพจะต้องเป็นผู้ปลดแอกตนเองและสังคม กรรมาชีพ กับ สมาชิกพรรคซึ่งมีบทบาทคล้ายๆ ชนชั้นกลาง จากเผด็จการ Ingsoc แต่เล่มนี้เขียนภายหลัง Homage To สำ�หรับเผด็จการ Ingsoc แกนนำ�พรรคไม่สนใจกรรมาชีพ เพราะ Catalonia และสะท้อนว่าออร์เวลเริ่มหดหู่กับความเป็นไปได้ว่า คิดว่าโง่และไม่มีความสามารถในการลุกขึ้นสู้ แต่ในขณะเดียวกัน กรรมาชีพจะลุกฮือจริง มักอ้างว่าเขาปกครองเพือ่ กรรมาชีพ แกนนำ�พรรคจะให้ความสนใจ กับชนชั้นกลางผู้เป็นสมาชิกพรรคมากกว่า และจะกล่อมเกลาให้ 1984 กับสังคมไทย เผด็จการ Ingsoc ติดตั้ง “โทรทัศน์” ที่คอยป้อนข่าว ทุกคนใช้ “ระบบคิดซ้อน” (Doublethink) “ระบบคิดซ้อน” คือการทีค่ นเราจะเชือ่ อะไรสักอย่างอย่าง โฆษณาชวนเชือ่ และคอยจ้องมองดูวา่ คนในบ้านว่าทำ�อะไรและคิด อะไร มีหน่วย “ตำ�รวจความคิด” ที่คอยจับผิดคนที่คิดต่าง มีการ จริงใจเต็มใจ แต่รพู้ ร้อมๆ กันว่าความเชือ่ นัน้ เป็นเท็จด้วย เช่นการ ส่งเสริมให้ประชาชนไปฟ้องตำ�รวจเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนอื่น ที่คนชั้นกลางอาจเชื่อว่ามีเทวดา อาจเชื่อด้วยความศรัทธาเต็มเบี่ ซึ่งคงจะทำ�ให้เราคิดถึงหน่วยงานของรัฐไทย เช่นกระทรวงไอซีที ยม แต่ในขณะเดียวกันรู้ในใจว่าเทวดาไม่มีจริงคือมันเป็นการล้วง หรือศูนย์ประสานการปราบปรามภายใต้ทหาร ประชาธิปัตย์ และ เข้าไปในสมองของคนเพื่อไม่ให้มีความคิดเป็นอิสระเอง เพื่อไทย ที่คอยสอดส่องประชาชนและลงโทษด้วยกฏหมาย 112 “ระบบคิดซ้อน” กับการ “พูดซ้อน” (Doublespeak) ไป ในเผด็จการ Ingsoc ท่านผูน้ �ำ หรือ “พีใ่ หญ่” เป็นผูท้ คี่ ดิ ค้น ด้วยกัน และเผด็จการ Ingsoc มีคำ�ขวัญสำ�คัญคือ “สงครามคือ ทุกอย่าง เก่งทุกอย่าง จะมีอายุยืนตลอดกาล เขารักและดูแล สันติภาพ” “เสรีภาพคือการเป็นทาส” และ “ความโง่เขลาคือพลัง” ประชาชน แต่ในขณะเดียวกันก็คอยจ้องมองทุกคนเพื่อไม่ให้ก่อ การพูดซ้อนคงไม่ต่างจากคนที่เคยเรียกร้องให้เสื้อแดง “งด” ใช้ “อาชญากรรมทางความคิด” ประชาชนต้องทั้งรักและกลัวเขา (อ่านต่อหน้า 8)


8

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

ภาพ : George Orwell (ต่อจากหน้า 7)

ความรุนแรงในขณะที่ตนเองส่งทหารไปไล่ฆ่าประชาชน หรือไม่ ต่างจากนายพลทีอ่ า้ งว่าเขา “ทำ�รัฐประหารเพือ่ ปกป้องประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข” ไม่ต่างจากคนที่ทำ�รัฐประหาร ดังกล่าวเสร็จแล้ว และก็หันมากล่าวหาคนที่คัดค้านรัฐประหารว่า “ดึงสถาบันกษัตริย์ลงมาเกี่ยวกับการเมือง” ในระบบพูดซ้อน กระทรวงกลาโหมเรียกว่า “กระทรวง สันติภาพ” กระทรวงที่บิดเบือนประวัติศาสตร์คือ “กระทรวงแห่ง ความจริง” กระทรวงที่คุมการผลิต ซึงไม่เคยผลิตอะไรเพียงพอ สำ�หรับประชาชนเลย มีชื่อว่า “กระทวงแห่งความอุดมสมบูรณ์” และกระทรวงที่จับประชาชนที่คิดต่างมาทรมาณ คือ “กระทรวง แห่งความรัก” คนที่สารภาพ “อาชญากรรมทางความคิด” ในคุก ของกระทรวงแห่งความรัก ในที่สุดจะได้รับการอภัยโทษปล่อยตัว นับว่า Oceania คือตอแหลแลนด์ที่แท้จริง! เผด็จการ Ingsoc เข้าใจความสำ�คัญของประวัติศาสตร์ มาก มีหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่เปลี่ยนประวัติศาสตร์ในหนังสือ เก่า และสิ่งตีพิมพ์ทุกชนิด อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับ “แนว” ของรัฐบาลในขณะนั้น และเมื่อมีการเปลี่ยน “แนว” ก็ต้อง ปรับประวัติศาสตร์ตามเสมอ ในประเทศไทยอาจไม่ถึงระดับนี้ แต่ กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานอื่นๆ มีบทบาทอันยาวนานใน การเขียนประวัตศิ าสตร์ไทยให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของชนชัน้ ปกครอง จริงๆ แล้วระบบเผด็จการ Ingsoc กำ�ลังเปลีย่ นภาษาจาก ภาษาเดิม ไปเป็น “ภาษาใหม่” โดยที่ศัพท์ต่างๆ ที่อนุญาตให้ใช้ กลายเป็นแค่ศพั ท์ทเี่ ชิดชูระบบเผด็จการ หรือเป็นศัพท์ทใี่ ช้วจิ ารณ์ ระบบหรือคิดต่างไม่ได้เลย เป้าหมายหลักคือการทำ�ลายความ

สามารถของประชาชนที่จะคิด ยิ่งกว่านั้นในภาษาใหม่ ไม่มีคำ�ว่า วิทยาศาสตร์ เพราะวิทยาศาสตร์ถูกยกเลิกไปแล้ว สังคมไม่มีการ พัฒนา เพราะชนชัน้ ปกครอง Oceania กลัวว่าการพัฒนาจะทำ�ให้ กรรมาชีพเริ่มมีความมั่นใจในการตื่นตัวลุกขึ้นสู้ประเด็นนี้ทำ�ให้ นึกถึงประโยคหนึ่งในแถลงการณ์ฉบับที่หนึ่งของคณะราษฏร์ในปี ๒๔๗๕ คือ “ถ้าราษฎรโง่ เจ้าก็โง่ เพราะเป็นคนชาติเดียวกัน ที่ ราษฎรรู้ไม่ถึงเจ้านั้นไม่ใช่เพราะโง่ เป็นเพราะขาดการศึกษา ที่ พวกเจ้าปกปิดไว้ไม่ให้เรียนเต็มที่ เพราะเกรงว่าถ้าราษฎรได้มี การศึกษา ก็จะรู้ความชั่วร้ายที่ทำ�ไว้ และคงจะไม่ยอมให้ทำ�นา บนหลังตน” เผด็จการ Ingsoc คอยห้ามปรามเพศสัมพันธ์ กรณียกเว้น คือกรณีที่สมรสแล้วและมีเพศสัมพันธ์เพื่อผลิตลูก การชอบเซกซ์ เป็นสิ่งต้องห้ามโดยเฉพาะในสตรี และการสร้างความเก็บกดทาง เพศ ตามแนวจารีตนี้ มีวัตถุประสงค์ทจี่ ะนำ�ไปสู่การระเบิดออกมา ของความเกลียดชังต่อศัตรู และความจงรักภักดีรกั “พีใ่ หญ่” รัฐบาล มีการติดป้ายใบหน้า “พี่ใหญ่” ทั่วเมือง และจัด “สิบนาทีแห่งการ เกลียดชังศัตรู” ทุกอาทิตย์ ซึง่ เป็นภาคบังคับสำ�หรับประชาชนทุก คนตามสถานที่ทำ�งานต่างๆ ออร์เวลตายประมาณหนึ่งปีหลังจากที่เขาเขียนหนังสือ 1984 เขาเลยไม่มีโอกาสเห็นการลุกขึ้นสู้ของกรรมาชีพและผู้ถูก กดขีท่ วั่ โลก ซึง่ เกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งจนถึงทุกวันนี้ การปฏิวตั อิ ยี ปิ ต์ และการนัดหยุดงานต่อต้านแนวเสรีนยิ มท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจ ยุโรป ทำ�ให้ความเชื่อมั่นได้ว่า “ถ้ามีความหวัง... มันอยู่ที่ชนชั้น กรรมาชีพ”If there is hope, it lies with the Proles. -TLN-


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

จัดตั้ง

9

สมุดบันทึกสีแดง

อันธพาล ! เดือนมีนาคมเป็นเดือนที่มีความสำ�คัญกับผู้หญิง เพราะ มันเป็นเดือนที่ร่วมรำ�ลึกถึงการต่อสู้ของแรงงานหญิงอย่างดุเดือด เพื่อสร้างความเสมอภาคทางเพศอย่างก้าวหน้าในระดับสากล ผู้ เขียนเป็นผู้หญิงแน่นอน พอประเทศไทยมีนายกที่เป็นผู้หญิงก็อด ลุน้ ว่าต่อไปเวลาทีพ่ ดู อะไรเกีย่ วกับประเด็นผูห้ ญิงคงพูดได้งา่ ยขึน้ อย่างไรก็ตามผู้เขียนเป็นมาร์คซิสต์ซึ่งเน้นมุมมองทางด้านชนชั้น มากกว่าทางด้านเพศ ก็ได้เตือนตัวเองว่า “อย่าไปหวังอะไรมากมาย กับยิ่งลักษณ์ ว่าเธอจะเป็นฟันเฟืองสำ�คัญในเรื่องของการผลักดัน ประเด็นความไม่เสมอภาคทางเพศ” เพราะความเสมอภาคทาง เพศ อย่างเช่น ประเด็นสิทธิการทำ�แท้งของผู้หญิงเป็นเรื่องที่ท้า ท้ายโครงสร้างอันอนุรักษ์นิยมของไทย ในทางกลับกันเพื่อไทย กำ�ลังก้มหัวรับใช้ความอนุรักษ์นิยมอันนั้นอยู่ บทบาทของพรรคเพื่อไทยในการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพใน สังคมไทยนั้นถือว่า “ห่วยมาก” ทั้งๆที่พรรคนี้เข้ามาได้ เพราะคน เสื้อแดงต่อสู้กับเผด็จการอำ�มาตย์อย่างกล้าหาญ แต่ปัจจุบันคน ยังถูกคุกคามและถูกส่งเข้าคุกโดยการใช้กฎหมาย 112 อย่างไร้ศีล ธรรมและไร้จริยธรรม ในกรณีล่าสุด ซึ่ง อ.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ถูก ทำ�ร้ายโดยอันธพาลสองคนในรัว้ มหาวิทยาลัย เป็นเรือ่ งทีร่ บั ไม่ได้ และมันสะท้อนถึงสภาวะความไร้ประชาธิปไตยอย่างถึงทีส่ ดุ อำ�มาตย์ และคนมีอำ�นาจยังพร้อมและมีความสนุกที่จะใช้ความป่าเถื่อนใน รูปแบบต่างๆ เพื่อทำ�ลายขบวนการเรียกร้องที่ก้าวหน้า เรือ่ งมันพัฒนาไปในทิศทางทีแ่ ย่มากขึน้ คนของพรรคเพือ่ ไทยไม่กล้าออกมาให้ความเห็นเรื่องของ อ.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ ถูก ทำ�ร้าย จากนัน้ ก็ปล่อยให้นกั การเมืองมือเปือ้ นเลือดอย่าง อภิสทิ ธิ์ เวชชาชีวะ ออกมาชิงพูดเอาหน้าให้ความเห็นและประณามคนที่ ใช้ความรุนแรงกับ อ.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ พรรคเพื่อไทยพร้อมที่จะ สยบยอมก้มหัวหมอบคลานให้อำ�มาตย์ทุบเล่นได้ตามใจชอบ แต่ มีความขลาดเขลาเหลือเกินในการทีจ่ ะปกป้องสิทธิเสรีภาพขัน้ พืน้ ฐาน อ.วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัย เป็นคนที่มี ต้นทุนทางสังคม ถ้าคนแบบนี้ถูกทำ�ร้ายได้และชาวบ้านธรรมดาๆ

หละจะเป็นอย่างไร? แล้วประเด็นผู้หญิงจะเป็นอย่างไร? เรื่องนี้มันมองออกไปได้อีกว่า ถ้าคนเสื้อแดงที่อยากเห็น ประชาธิปไตยจริงๆ และไม่อยากให้วีรชนตายเปล่า ต้องแยกทาง เดินกับพรรคเพื่อไทย และเรียกร้องให้เสื้อแดงส่วนอื่นๆ ออกมา วิพากษ์วจิ ารณ์พรรคเพือ่ ไทย ทีส่ ง่ เสริมความล้าหลังและการปล่อย ให้ฝา่ ยอำ�มาตย์ใช้ก�ำ ลังได้อย่างตามใจชอบแบบนี้ ไม่เช่นนัน้ ต่อไป เราคงได้แต่มองตาปริบๆ เมื่อเพื่อไทยออกมาใช้ความรุนแรงกับ ฝ่ายประชาธิปไตยแท้อย่างเป็นระบบ เรื่องความเสมอภาคทางเพศและเรื่องประชาธิปไตยเป็น เรือ่ งเดียวกันเป็นเรือ่ งแยกออกจากกันไม่ได้ ถ้าสังคมมีเสรีภาพเรา จะสามารถดึงประเด็นทีม่ คี วามสำ�คัญขึน้ มาพูดได้ โดยเฉพาะเรือ่ ง ผูห้ ญิง เช่น ประเด็นเรือ่ งของการทำ�แท้ง และประเด็นทางเพศอืน่ ๆ ลักษณะของความอนุรกั ษ์นยิ มในเรือ่ งเพศและส่งเสริมความไม่เท่า เทียมกันระหว่างมนุษย์เป็นเรือ่ งทีม่ นั ไปด้วยกัน กับการทีอ่ �ำ มาตย์ ไทยไม่ยอมฟังเสียงของคนธรรมดาและพร้อมจะเปิดช่องให้มีการ ใช้ความรุนแรง มันเป็นเรื่องเดียวกันกับที่ฝ่ายอนุรักษ์นิยมออกมา พูดแทนผู้หญิงเรื่องการทำ�แท้งและยกอำ�นาจการตัดสินใจให้พระ แทนที่จะให้ผู้หญิง -TLN-


10

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

สังคมใหม่

ลั่นทมขาว

รัฐสวัสดิการสแกนดิเนเวีย กับ “ขบวนการแรงงาน” ประเทศในย่านสแกนดิเนเวีย หรือที่บางคนเรียกว่าประเทศ “นอร์ดิก” ประกอบไปด้วย สวีเดน เดนมาร์ค นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และ ฟินแลนด์ ถึงแม้วา่ รูปแบบรัฐสวัสดิการของสแกนดิเนเวียจะมีความแตก ต่างตามประเทศต่างๆ อยูบ่ า้ ง แต่จดุ ร่วมสำ�คัญคือบทบาทของขบวนการ แรงงานและแนวคิดสังคมนิยมประชาธิปไตย (Social Democrat) ใน การต่อสู้เพื่อก่อตั้งรัฐสวัสดิการหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เนือ่ งจากระบบรัฐสวัสดิการและบทบาทของขบวนการแรงงาน แยกออกจากกันไม่ได้ สิ่งที่เรามักจะเห็นในสังคมสแกนดิเนเวียคือ • สัดส่วนคนงานที่เป็นสมาชิกสหภาพแรงงานมักจะสูง (7080% โดยเฉลีย่ ) และ สภาแรงงานต่างๆไม่ได้แบ่งแยกตามแนวการเมือง หรือศาสนา อย่างที่เกิดขึ้นในฝรั่งเศษ หรือ อิตาลี่ • รัฐส่งเสริมระบบไตรภาคี ระหว่างสหภาพแรงงาน นายจ้าง และ รัฐ หรือระบบทวิภาคีระหว่างสหภาพแรงงานกับนายจ้าง ภายใต้ การกำ�กับของรัฐ เพื่อสร้างเสถียรภาพให้กับระบบเศรษฐกิจทุนนิยม และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ�ระหว่างพลเมือง • ข้อตกลงระหว่างนายทุนกับสหภาพแรงงาน นำ�ไปสู่ระดับ ค่าจ้างและสวัสดิการทีเ่ ป็นมาตราฐานระดับชาติหรือระดับอุตสาหกรรม • รัฐมีบทบาทสำ�คัญในการควบคุมตลาดแรงงานและปกป้อง สภาพการจ้าง โดยที่ความเหลื่อมล้ำ�ระหว่างผู้ที่ได้รับเงินเดือนสูงสุด กับผู้ที่ได้รับเงินเดือนต่ำ�สุดในสังคมน้อยกว่าในประเทศอังกฤษ สเปน เยอรมัน และ ฝรั่งเศษ • รัฐสวัสดิการเป็นระบบถ้วนหน้าทีใ่ ช้งบประมาณจากการเก็บ ภาษี ต่างจากระบบประกันสังคมที่อาศัยเงินสมทบจากคนงานและ นายจ้าง และในระบบรัฐสวัสดิการนี้ การบริการสาธารณะ อย่างเช่น การศึกษา หรือ ระบบสาธารณูปโภค ทั้งบริการพลเมืองและสร้างงาน ให้พลเมือง โดยที่ชายและหญิงมีส่วนร่วมในการทำ�งานค่อนข้างจะเท่า เทียมกัน เพราะมีระบบเลี้ยงเด็กและคนชราที่สนับสนุนโดยรัฐ และ นโยบายที่ช่วยครอบครัว • รัฐสวัสดิการแบบ “ถ้วนหน้า” นี้ ที่ครอบคลุมชนชั้นกลาง ด้วย สามารถหลีกเลี่ยงการตั้งบางกลุ่มให้เป็นเป้าหมายเฉพาะในการ รับสวัสดิการได้ เพราะการตั้งเป้าหมายแบบนั้นจะทำ�ลายศักดิ์ศรีของ

คนจน และทำ�ให้ระบบขาดประสิทธิภาพด้วย เนื่องจากอาจเกิดหลาย โครงการซ้อนกัน • นโยบายเศรษฐกิจมักจะเน้นค่าจ้างสูงเพื่อบังคับให้บริษัทที่ ไม่มปี ระสิทธิภาพล้มละลายไป และย้ายแรงงานกับการลงทุนไปสูบ่ ริษทั ที่มีประสิทธิภาพสูง • ไม่มกี ารออกกฎหมายเพื่อระบุอตั ราค่าจ้างขั้นต่ำ� เพราะค่า จ้างโดยทัว่ ไปถูกกำ�หนดโดยการเจรจาระหว่างสภาพแรงงานและนายทุน เป็นหลัก โดยที่รัฐคอยปกป้องคุณภาพการทำ�งาน • รัฐสวัสดิการพัฒนาพร้อมๆ กับการพัฒนาประชาธิปไตยและ การมีส่วนร่วมของพลเมือง ถ้าพิจารณาข้อแตกต่างระหว่างประเทศต่างๆ ของสแกนดิเนเวีย ในเรื่องนโยบายต่างประเทศ จะเห็นว่าในปี 1949 เมื่อสงครามเย็นเกิด ขึ้น เดนมาร์ค และนอร์เวย ตัดสินใจเข้าร่วมกับสหรัฐอเมริกาในแนว ร่วมทหาร NATO และเดนมาร์คก็ให้สหรัฐสร้างฐานทัพบนเกาะกรีนแลนด์ และล่าสุดส่งทหารไปช่วยสหรัฐรบในอัฟกานิสถาน แต่สวีเดนกับฟินแลนด์ รักษาความอิสระ เป็นกลาง ไม่เข้าข้างฝ่ายใดในยุคสงครามเย็น

ประวัติรัฐสวัสดิการสแกนดิเนเวีย รัฐสวัสดิการในสแกนดิเนเวียไม่ได้สร้างขึน้ จากศูนย์โดยการมี “พิมพ์เขียว” ที่ออกแบบโดยรัฐบาลหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เพราะ เป็นการค่อยๆ ต่อยอดจากระบบประกันสังคมก่อนหน้านั้น และรัฐ สวัสดิการได้รบั อิทธิพลจากลักษณะทีแ่ ตกต่างกันในการพัฒนาอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจของแต่ละประเทศของสแกนดิเนเวีย อย่างไรก็ตามเป้า หมายร่วมในการสร้างรัฐสวัสดิการของประเทศเหล่านี้ คือ การสร้าง บรรยากาศเพือ่ เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศอืน่ ในระบบโลก และการดึงดูดการลงทุนจากภายนอก ผ่านการร่วมมือกันระหว่างบริษทั ข้ามชาติกับรัฐและการสร้างขบวนการแรงงานที่เข้มแข็งในระบบ ประชาธิปไตย นักวิชาการหลายคนมองว่ารูปแบบนี้ สามารถใช้ “ทุน ทางสังคม” เพื่อพัฒนาพลเมืองทุกคน สร้างเสถียรภาพ และลดความ เสีย่ งทางเศรษฐกิจ โดยทีม่ คี วามยืดหยุน่ พอทีจ่ ะตอบสนองความต้องการ ของนายทุนด้วย


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

11

ภาพจาก wikimedia.org

นักวิชาการเสรีนิยม (Neo-Liberal) ในยุคนี้ ชอบเสนอว่ารูป แบบรัฐสวัสดิการ และตลาดแรงงานในสแกนดิเนเวียล้าสมัยและเป็น อุปสรรคต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัฒน์ แต่นัก เศรษฐศาสตร์สองคนชื่อ เจฟรี แซกส์ กับ พอล คลุคแมน อธิบายว่า ระบบสแกนดิเนเวียทีม่ กี ารควบคุมเศรษฐกิจเพือ่ พัฒนาระบบรัฐสวัสดิการ ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการแข่งขันในระบบโลกาภิวัฒน์แต่อย่างใด ตรง กันข้าม มันเป็นระบบทีใ่ ช้แรงงานฝีมอื อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถ ดึงดูดการลงทุนจากภายนอกทั้งๆ ที่มีค่าจ้างและอัตราภาษีสูง ระบบรัฐสวัสดิการและการบริหารการจ้างงานของสแกนดิเนเวีย ได้รับการชื่มชมจากพลเมืองเป็นอย่างยิ่ง จนแม้แต่พรรคการเมืองฝ่าย ขวาเข้าใจว่าการรือ้ ถอนระบบนีจ้ ะสร้างความโกรธแค้นในหมูป่ ระชาชน ดังนัน้ เราจะเห็นว่าพรรคฝ่ายขวาก็ยงั จำ�ใจยอมปกป้องระบบนีอ้ ยู่ อย่างไร ก็ตามท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจของระบบทุนนิยมที่เกิดขึ้นในช่วง ทศวรรษที่ 80 และ 90 พรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยมีการนำ�ระบบ กลไกตลาด และแนวเสรีนิยมเข้ามาผสมในนโยบายเศรษฐกิจมากขึ้น ในบางประเทศมีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แต่นั่นไม่ได้หมายความว่ามี การรื้อถอนรัฐสวัสดิการไปหมด ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศต่างๆของสแกน ดิเนเวีย มีผลต่อระบบการเมืองของทุกประเทศ การพัฒนาดัง กล่าวทำ�ให้ประชากรสองในสามในสแกนดิเนเวียทำ�งานนอกภาค เกษตรหลังสงครามโลกครั้งที่สอง

ในประเทศสวีเดนมีการพัฒนาอุตสาหกรรมหนักซึ่งกระตุ้นให เกิดสหภาพแรงงานขนาดใหญ่ที่สังกัดแต่ละแผนกของอุตสาหกรรม และพรรคการเมืองที่ใกล้ชิดกับสหภาพดังกล่าว คือพรรคสังคมนิยม ประชาธิปไตย มีความเข้มแข็งและสามารถผูกขาดการตั้งรัฐบาลเป็น เวลานาน ในประเทศเดนมาร์คมีการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดเล็กบวก กับการเกษตรซึ่งทำ�ให้สหภาพแรงงานเกิดขึ้นในหมู่คนงานที่มีฝีมือ เท่านัน้ และพรรคการเมืองทีม่ อี ทิ ธิพลมากทีส่ ดุ มักจะเป็นพรรคการเมือง ต่างๆ ของชนชั้นนายทุนน้อย โดยที่ไม่มีพรรคไหนสามารถครองเสียง ส่วนใหญ่ในสภาได้ รัฐบาลจึงเป็นรัฐบาลผสมโดยที่พรรคสังคมนิยม ประชาธิปไตยค่อนข้างจะอ่อนแอ ในฟินแลนท์เศรษฐกิจหลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ องเป็นเศรษฐกิจ เกษตรและป่าไม้ ในด้านการเมืองอิทธิพลของรัสเซียซึ่งเป็นประเทศ เพื่อนบ้านทำ�ให้พรรคคอมมิวนิสต์มีอิทธิพลมากกว่าพรรคสังคมนิยม ประชาธิปไตย และรัฐบาลต่างๆ ในปัจจุบันมักจะเป็นรัฐบาลผสมที่ ประกอบไปด้วยหลายพรรค ฟินแลนท์ในยุคหลังเริ่มพัฒนาอุตสาหกร รมอิเลกทรอนิคส์ เช่น โทรศัพย์มือถือเป็นต้น นอร์เวย์ เป็นประเทศที่มีพลเมืองน้อยและเศรษฐกิจในยุคนี้ เน้นไปในการผลิตน้�ำ มันและพลังงาน ก่อนหน้านัน้ พรรคแรงงานผูกขาด รัฐบาลมานาน แต่ในยุคหลังรัฐบาลเริ่มจะมีลักษณะคล้ายๆ กับรัฐบาล (อ่านต่อหน้า 12)


12

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

(ต่อจากหน้า 11)

แต่ในปี 1997 ภายใต้รัฐบาลพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยที่ เข้ามาอีกที ขณะที่เศรษฐกิจกำ�ลังฟื้นตัว รัฐ นายจ้าง และแกนนำ�สภา แรงงานก็หันกลับมาใช้รูปแบบการเจรจาทวิภาคีรวมศูนย์อีกครั้ง เพื่อ สร้างเสถียรภาพให้ระบบทุนนิยมสวีเดน ข้อตกลงในการปรับค่าจ้างถูก กำ�หนดให้เป็นสัญญา 3 ปี และถึงแม้ว่าสหภาพกับนายจ้างสามารถ แรงงานสัมพันธ์ ตกลงระดับค่าจ้างในแต่ละสถานประกอบการได้ แต่ถ้าตกลงกันไม่ได้ เราควรมองว่ารูปแบบรัฐสวัสดิการและการจ้างงานในสแกน จะมีการใช้ข้อตกลงพื้นฐานที่เจรจาและตกลงกันไว้ในระดับชาติแทน ดิเนเวีย ในแต่ละยุคเป็นผลของความขัดแย้งระหว่างแรงงานกับทุนและ ประเทศฟินแลนด์ ซึง่ มักจะมีรฐั บาลผสม “สายรุง้ ” ทีป่ ระกอบ ความพยายามของรัฐที่จะบริหารความขัดแย้งนี้ ไปด้วยพรรคฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา โดยเฉพาะหลังวิกฤตเศรษฐกิจทีม่ า ในกรณีเดนมาร์คมีการเปิดศึกโดยนายทุนเพือ่ พยายามทำ�ลาย จากการล่มสลายของรัฐบาลคอมมิวนิสต์ในรัสเซีย และการทีร่ สั เซียเลิก สภาพการจ้างในทศวรรษที่ 80 และความอ่อนแอของขบวนการแรงงาน ซือ้ สินค้าจากฟินแลนด์ มักจะมีการใช้ระบบแรงงานสัมพันธ์แบบไตรภาคี ทำ�ให้นายทุนได้เปรียบอยูร่ ะดับหนึง่ ดังนัน้ มีการสร้างความ “ยืดหยุน่ ” โดยที่รัฐมีบทบาทสำ�คัญในการควบคุมค่าแรง ซึ่งต่างจาก เดนมาร์ค ในกฎหมายจ้างงานโดยที่มีการเลิกจ้างง่ายขึ้น แต่ในขณะเดียวกันรัฐ กับสวีเดน เดนมาร์ค พยายามที่จะปกป้องเสถียรภาพของรายได้ประชาชนผ่าน นอร์เวย์ มีระบบแรงงานสัมพันธ์แบบไตรภาคี ที่รัฐเข้ามา สวัสดิการ ระบบนี้เลยเรียกว่าระบบ “Flexicurity” คือ “ยืดหยุ่นผสม ควบคุมเช่นกัน นอกจากนีส้ หภาพแรงงานในนอร์เวย์ไม่ได้ควบคุมระบบ ความมั่นคง” ประกันสังคมสำ�หรับคนตกงาน อย่างทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศอืน่ ของสแกน ระบบแรงงานสัมพันธ์ในสวีเดนมีรากฐานจากข้อตกลง Salt- ดิเนเวีย ตามระบบ “Ghent” ระบบการควบคุมการประกันการว่างงาน Sjöbaden ในปี 1938 ก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง และมีการพัฒนาใน นี้มักส่งเสริมให้คนเป็นสมาชิกสหภาพ ดังนั้นระดับการเป็นสมาชิก ทศวรรษที่ 50 ในลักษณะที่รวมศูนย์การเจรจาทวิภาคีระหว่างสภา สหภาพต่ำ�กว่าในสวีเดน เดนมาร์ค กับฟินแลนด์ แต่สูงกว่าประเทศ แรงงานกับสภานายจ้าง โดยที่รัฐออกกฏหมายคุ้มครองสิทธิแรงงาน ส่วนใหญ่ในยุโรป มันเป็นระบบที่ค่อนข้างจะถูกควบคุมจากแกนนำ�ของทั้งสองฝ่ายคือ ในสแกนดิเนเวียประมาณ 80% ของลูกจ้างเป็นสมาชิก นายทุนกับสภาแรงงาน โดยที่คนงานรากหญ้าลุกขึ้นสู้ไม่ได้ เป็นระบบ สหภาพแรงงาน แต่ในสหภาพยุโรปโดยเฉลี่ยสัดส่วนอยู่ที่ 26% ใน ที่ฝ่ายนายทุนและรัฐได้ประโยชน์เพราะสร้าง “เสถียรภาพ” แต่ในมุม อังกฤษประมาณ 30% ของคนงานเป็นสมาชิกสหภาพ กลับก็มีผลดีสำ�หรับคนงานด้วย เพราะค่าแรงและสวัสดิการก็จะดี สัดส่วนของคนงานทีม่ อี ตั ราค่าแรงและสวัสดิการ ทีถ่ กู กำ�หนด รูปแบบการควบคุมระบบแรงงานสัมพันธ์ให้มเี สถียรภาพแบบ ภายใต้ข้อตกลงระหว่างสหภาพแรงงานกับนายจ้าง ในประเทศสแกน สแกนดิเนเวีย มีเป้าหมายเพื่อลดการนัดหยุดงาน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นแค่ ดิเนเวีย อยูใ่ นระดับ 80-90% ซึง่ เทียบกับแค่ 14% สำ�หรับสหรัฐอเมริกา ทุกสองสามปีประกอบกับการเจรจาใหญ่ในระดับชาติเท่านั้น ไม่ได้มี และ 24% สำ�หรับญี่ปุ่น ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศที่แตกต่างจาก การลุกฮือนักหยุดงานอย่างที่เกิดที่ฝรั่งเศส อิตาลี่ หรือกรีซ หลายประเทศในยุโรปตรงที่ สัดส่วนของคนงานที่ได้อัตราค่าแรงและ ในปี 1990 ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจยุคนั้น นายกรัฐมนตรี สวัสดิการตามข้อตกลงที่เจรจาโดยสหภาพแรงงานสูงถึง 90% แต่คน Carlsson จากพรรคสังคมนิยมประชาธิปไตยสวีเดน เสนอให้แช่แข็ง งานทีเ่ ป็นสมาชิกสหภาพมีแค่ 8% ซึง่ แปลว่าลูกจ้างส่วนใหญ่ได้ประโยชน์ การขึ้นค่าแรง ซึ่งเป็นการแทรกแซงกระบวนการเจรจาระหว่างสภา จากสหภาพแรงงานโดยที่ไม่เป็นสมาชิก อย่างไรก็ตามเมื่อมีการนัด แรงงานกับนายจ้าง และเป็นการเปิดศึกกับแรงงาน ในไม่ชา้ รัฐบาลฝ่าย หยุดงานใหญ่คนงานที่ไม่ใช่สมาชิกสหภาพอาจร่วมนัดหยุดงานด้วย ขวาก็เข้ามาแทนที่พรรคสังคมนิยมประชาธิปไตย และฝ่ายนายจ้างหัน สำ�หรับระดับความเหลือ่ มล้�ำ ในสังคมสแกนดิเนเวีย ถ้าใช้ “ดัชนี หลังให้กับระบบแรงงานสัมพันธ์เดิม มีการตัดสวัสดิการ เพิ่มแรงงาน จีนี่” Gini Coefficient ในการวัด (ในดัชนีนี้ 1 คือเหลื่อมล้ำ�สมบูรณ์ เหมาช่วง (subcontract) มีการนำ�ฝ่ายเอกชนและกลไกตลาดเข้ามา และ 0 คือเท่าเทียมสมบูรณ์) จะพบว่าประเทศในสแกนดิเนเวียอยู่ใน มากขึ้น และระดับการว่างงานก็พุ่งสูงขึ้นอีกด้วย ผสมของเดนมาร์ค นอกจากนี้หลังวิกฤติเศรษฐกิจรอบล่าสุดในปี 2008 อิทธิพล ของพรรคฟาสซิสต์เพิ่มขึ้นบ้างในสแกนดิเนเวีย เพราะพวกนี้เสนอให้ โทษคนต่างชาติเพื่อให้เป็นแพะรับบาปกับสภาพเศรษฐกิจ


turnleftthai.blogspot.com

ระดับ 0.25 เทียบกับประเทศพัฒนา OECD ส่วนใหญ่ซึ่งมีอัตราเฉลี่ย 0.31 และประเทศไทยที่มีระดับสูงถึง 0.54

แนวเสรีนิยมเป็นภัยต่อรัฐสวัสดิการ การรับแนวเสรีนิยมกลไกตลาดเข้ามา เพื่อแปรเปลี่ยนรัฐ สวัสดิการดำ�เนินไปด้วยความต่อเนือ่ ง ในปี 2007 มีการเลือกพรรคฝ่าย ขวาเป็นรัฐบาลอีกครั้งในสวีเดน และมีมาตรการในการตัดสวัสดิการ เช่นสวัสดิการตกงานเป็นต้น ก่อนหน้านีใ้ นปี 2001 รัฐบาลผสมฝ่ายขวา ของเดนมาร์ค เริม่ นำ�บริษทั เอกชนเข้ามาแข่งกับระบบประกันสังคมการ ว่างงานที่สหภาพแรงงานควบคุมไว้อีกด้วย ในยุคปัจจุบนั มีการนำ�แนวเสรีนยิ มมาค่อยๆ ทำ�ลายอุดมการณ์ ของรัฐสวัสดิการในสแกนดิเนเวีย โดยการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ มีการลด ภาษีให้คนรวย (มีการรณรงค์โดยชนชัน้ กลางในเดนมาร์คตัง้ แต่ทศวรรษ ที่ 70) มีการนำ�ระบบเอกชนเข้ามาในโครงการบำ�เหน็จบำ�นาญ มีการนำ� เอ็นจีโอเข้ามาบริการบางส่วนของรัฐสวัสดิการแทนรัฐ เพราะประหยัด ค่าใช้จ่ายแต่ลดคุณภาพ มีการจำ�กัดงบประมาณท้องถิ่นโดยรัฐส่วน กลาง เพื่อบังคับให้ฝ่ายบริหารท้องถิ่นต้องเป็นผู้ตัดสวัสดิการและการ บริการ โดยทีร่ ฐั ส่วนกลางสามารถหลีกเลีย่ งการถูกวิจารณ์โดยประชาชน ได้ และที่สำ�คัญมีการทำ�ลายมาตรฐาน “ความถ้วนหน้า” และเพิ่ม เงื่อนไขกับผู้ที่จะได้รับสวัสดิการ เช่นในกรณีสวัสดิการลาป่วย หรือ สำ�หรับคนพิการ และทีแ่ ย่สดุ คือมีการยอมจำ�นนต่อแนวคิดเหยียดสีผวิ และจำ�กัดสวัสดิการที่ผู้อพยพจากประเทศอื่นจะได้รับ อย่างไรก็ตามประชาชนส่วนใหญ่ยังหวงแหนและชื่นชมกับ ระบบรัฐสวัสดิการถ้วนหน้าอยู่ และการเสนอว่า “รัฐสวัสดิการหมดยุค” เป็นเพียงความฝันของฝ่ายเสรีนิยมกลไกตลาด -TLNหนังสืออ้างอิง - Matti Alestalo, Sven E.O. Hort & Stein Kuhnle (2009) “The Nordic Model: Conditions, Origins, Outcomes, Lessons. Hertie School of Governance working paper 41. - Jon Erik Dølvik (2007) “The Nordic Regimes of Labour Market Governance: From Crisis to Success-Story?” Fafo paper 2007:07. Fafos Rådsprogram 2006-2008. - “รัฐสวัสดิการและประชาธิปไตย แนวทางของเสื้อแดง เพื่อขยาย ประชาธิปไตย สร้างความเป็นธรรม และศักดิ์ศรีของคนจน” องค์กร เลี้ยวซ้าย ๒๕๕๔

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

13

W O R K E R S


14

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

คน ค้น คิด

turnleftthai.blogspot.com

ธงชัย วินิจจะกูล

ที่มา : www.prachatai.com

ภาพลวงตาของ “ไฮเปอร์รอยัลลิสม์” “ธงชัย” ชีเ้ งือ่ นไขการเติบโตของ “ไฮเปอร์รอยัลลิสม์” มาจาก วาระทางการเมืองของระบอบประชาธิปไตยแบบกษัตริยน์ ยิ ม และความ หวัน่ กลัวต่ออนาคตของสถาบันฯ ประกอบกับกระบวนการ “แปรความ จงรักภักดีให้เป็นสินค้า” และวัฒนธรรมการจ้องมองก็ได้ยงิ่ ทำ�ให้สภาวะ ดังกล่าวกลายเป็น “ภาพลวงตา” เมือ่ วันศุกร์ที่ 9 มี.ค. ทีผ่ า่ นมา ศูนย์ตดิ ตามประชาธิปไตยไทย คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับมหาวิทยาลัยแมคกิลล์ ประเทศแคนาดา ร่วมจัดประชุมทางวิชาการในหัวข้อ "Democracy and Crisis" หรือ ประชาธิปไตยและวิกฤติการณ์ โดยหนึง่ ในหัวข้อการ อภิปรายมีหวั ข้อเรือ่ ง สถาบันกษัตริยก์ บั ประชาธิปไตยประชาไทขอนำ� เสนอในส่วนการนำ�เสนอของ ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้าน ประวัติศาสตร์ไทย มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เมดิสัน ดังนี้ ธงชัย วินิจจะกูล กล่าวถึงสภาวะไฮเปอร์รอยัลลิสม์ ซึ่งเป็น ปรากฏการณ์ทเี่ ห็นจากพิธกี รรม และการประกอบพิธตี า่ งๆ ของราชวงศ์ ที่มีอยู่ทุกทีและสามารถพบเห็นได้ทุกเวลา โดยเฉพาะตั้งแต่ปี 2519 เป็นต้นมาเขาชี้ว่าไฮเปอร์รอยัลลิสม์ไม่ใช่แค่สิ่งที่ถูกผลิตโดยรัฐเท่านั้น แต่เป็นเรื่องที่สาธารณชนและประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น เรื่อยๆ ในแง่หนึ่ง เมื่อเทียบกับเสรีภาพทางศาสนา คนไทยยังมีสิทธิ เลือกศาสนาและแสดงออกต่างกันได้ แต่ในแง่ของความจงรักภักดี หรือ ความเป็นกษัตริยน์ ยิ มนัน้ คนไทยกลับเลือกได้นอ้ ยกว่า และประชาสังคม ก็มีความอดทนต่อคนที่เห็นต่างไปน้อยเสียยิ่งกว่าการเห็นต่าง ทาง ศาสนา ธงชัยได้ตั้งคำ�ถามที่สำ�คัญสามข้อต่อไฮเปอร์รอยัลลิสม์คือ อะไรที่ทำ�ให้เกิดสภาวะไฮเปอร์รอยัลลิสม์? สภาวะดังกล่าวดำ�รงอยูไ่ ด้อย่างไรในภาวะสมัยใหม่/ประเทศไทย เองเป็นรัฐสมัยใหม่หรือยัง ? สภาวะดังกล่าวดำ�รงอยู่ได้อย่างไรในสภาพสังคมที่เปิด เป็น ฆราวาส และเข้าสู่การใช้เหตุผลสมัยใหม่แล้ว? ต่อคำ�ถามข้างต้น ธงชัยอธิบายว่า มีสิ่งที่ทำ�ให้เกิดสภาวะไฮ เปอร์รอยัลลิสม์อยู่สองอย่าง คือ วาระทางการเมืองของระบอบกษัตริย์

ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย และความกลัวต่ออนาคตของสถาบัน กษัตริย์ โดยทั้งหมดนี้ สามารถอธิบายได้ในเชิงประวัติศาสตร์และวาท กรรมเรื่ อ ง “ธรรมราชา” สมั ย ใหม่ ธ งชั ย กล่ า วถึ ง จุ ด เปลี่ ย นที่ สำ�คัญ(foundational moment) คือ พระราชดำ�รัสเมือ่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ขึน้ ครองราชย์เมือ่ วันที่ 5 พ.ค. 2493ว่า “เราจะครองแผ่น ดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” ซึ่งภายหลังถูก ยกมาอ้างบ่อยครัง้ ในฝ่ายไฮเปอร์รอยัลลิสม์ เช่นเดียวกันกับเพลง “ครอง แผ่นดินโดยธรรม” ที่ได้ถูกผลิตซ้ำ�หลายต่อหลายครั้งในเวลาต่อมา ธงชัยขยายความต่อถึงปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดสภาวะรอยัลลิ สม์ โดยชี้ว่ามาจากเหตุผลสองด้าน อย่างแรก มาจากการที่ฝ่ายนิยม เจ้าต้องการฟืน้ ฟูอ�ำ นาจของสถาบันกษัตริยใ์ นการเมืองไทย โดยเฉพาะ หลังการสิน้ สุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และภายหลังการสิน้ อำ�นาจ ของคณะราษฎร ซึ่งฝ่ายกษัตริย์นิยมต้องการสถาปนาอำ�นาจเหนือ ประชาธิปไตยซึ่งเขาเรียกว่า เป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบกษัตริย์นิยม (Royalist Democracy) ต่อมาการขึน้ สูอ่ �ำ นาจของสถาบันกษัตริยก์ ไ็ ด้รบั การสถาปนา ขึ้นเต็มที่ในสมัยของจอมพลสฤษดิ์ธนะรัตช์ ราวต้นทศวรรษที่ 2500 ซึง่ ตรงกับสมัยสงครามเย็น และด้วยนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา สมัยประธานาธิบดีเคนเนดี้ ที่มุ่ง ปราบปรามขบวนการคอมมิวนิสต์ ทำ�ให้สหรัฐหันมาสร้างพันธมิตรกับสถาบันกษัตริย์ไทย และถึงแม้ ประชาธิปไตยแบบกษัตริย์นิยมจะมีความไม่เสถียรทางอำ�นาจอยู่บ้าง ในช่วงนี้ โดยเฉพาะการที่ต้องเจรจาอำ�นาจกับกองทัพ แต่เหตุการณ์ ลุกฮือของประชาชนเมือ่ 14 ตุลา 2516 ก็แสดงให้เห็นว่าสถาบันฯ สามารถ เจรจาผลประโยชน์กับกองทัพได้อย่างสำ�เร็จและลงตัว ธงชัยชี้ว่า ในปี 2518 ซึ่งเป็นการปฏิวัติอินโดจีน เป็นช่วงที่ สภาวะไฮเปอร์รอยัลลิสม์เริ่มต้นขึ้นจนมาถึงในสมัยเหตุการณ์พฤษภา 2535 ภาพของสุจนิ ดา คราประยูร และจำ�ลอง ศรีเมือง เข้าเฝ้าพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เพือ่ ไกล่เกลีย่ เหตุการณ์ความวุน่ วาย ก็เป็นสัญลักษณ์ ที่ชี้ให้เห็นถึงการบรรลุอำ�นาจของสถาบันกษัตริย์ในทางการเมืองได้ อย่างสำ�เร็จ เรือ่ งทีน่ า่ สนใจคือว่า เมือ่ สถาบันฯ เริม่ กล่าวถึงแนวคิดเศรษฐกิจ


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

พอเพียงในช่วงทศวรรษ 1990 (ราวทศวรรษ 2530) กลับทำ�ให้คนที่คิด ต่างทางอุดมการณ์ในช่วงสงครามเย็นกลายมาเป็นพวกเดียวกัน จะ เห็นจากการที่ฝ่ายกษัตริย์นิยมและคนที่เคยสมาทานคอมมิวนิสต์ล้วน กลายมาเป็นคนเสือ้ เหลืองได้ ก็เพราะมีความหวาดกลัวต่อทุนนิยมและ นโยบายเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ อันเป็นผลมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ เอเชียปี 2540 ซึ่งแตกต่างจากก่อนหน้านี้ ที่ความกลัวในสังคมจะเกี่ยว กับขบวนการคอมมิวนิสต์ ธรรมราชาที่เปลี่ยนความหมาย ธงชัยกล่าวว่า เมื่อพูดถึงธรรมราชาในสมัยโบราณคือสมัย อยุธยาขึ้นไปนั้น เป็นการพูดภายใต้บริบทของ ฮินดู หรือเขมร ในขณะ ที่ธรรมราชาในปัจจุบันนี้เปลี่ยนความหมายไป พระองค์เจ้าธานีนิวัต (พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร) ปัญญาชนฝ่าย กษัตริยน์ ยิ ม ทรงพยายามอธิบายว่ากษัตริยไ์ ทยนัน้ ไม่ได้เป็นเทวราชา แบบเก่าแต่เป็น “ธรรมราชา” พยายามสร้างคำ�อธิบายและจัดการความ รับรู้ การเป็นธรรมราชาในแง่นี้คือ มีหลักจริยธรรมของราชา แต่ไอเดีย ทีว่ า่ กษัตริยต์ อ้ งรับใช้ประชาชน เริม่ เมือ่ ทศวรรษ1980 (ราว 2520) นีเ่ อง ไม่ได้มมี าก่อนหน้านัน้ กษัตริยส์ มัยโบราณนัน้ ไม่ได้มหี น้าทีด่ แู ลประชาชน แต่รักษาสถานภาพตัวเองและอยู่ในราชวัง ไม่จำ�เป็นต้องทำ�ทุกอย่าง แต่กษัตริย์ที่คิดว่าต้องรับใช้ประชาชนนั้นเป็นกษัตริย์สมัยใหม่ วาทกรรมของพวกไฮเปอร์รอยัลลิสม์นั้นเพิ่งเกิดขึ้นไม่เกิน สามสิบ-สี่สิบปีมานี้ โดยผลิตออกมาหลายเวอร์ชั่น เช่น พระองค์เจ้า ธานีนิวัติ และสำ�นักกษัตริย์นิยมผลิตคำ�อธิบายว่า สถาบันกษัตริย์ไทย นั้นไม่เหมือนที่อื่น มีความเป็นเอกลักษณ์ ในทางตรงกันข้าม หากเรา ฟังข้อเสนอจากนิติราษฎร์หรือผู้สังเกตการณ์บางส่วน ที่ยกเรื่องหลัก สิทธิมนุษยชน เสรีภาพในการแสดงออกมาโต้แย้ง ก็จะเห็นว่าสองฝ่าย นี้มีมุมมองที่สวนทางกันอย่างเห็นได้ชัด นี่แสดงว่าพวกเราไม่ได้พูด ภาษาเดียวกัน และในสองภาษาที่แตกต่างกันนี้ ถ้าเรามานั่งบนโต๊ะ เดียวกันเพื่ออภิปรายเราก็พบว่าเราพูดจากันคนละเรื่อง ธงชัยย้ำ�ถึงคำ�อธิบายเกี่ยวกับอำ�นาจอธิปัตย์โดยบวรศักดิ์ อุ วรรณโณ ซึ่งระบุว่ารัฐฐาธิปัตย์ เป็นการใช้ร่วมกันระหว่างกษัตริย์กับ ประชาชน และจริง ๆ แล้วอำ�นาจรัฐนั้นเป็นของกษัตริย์แล้วมอบให้

15

ประชาชน เป็นการใช้อำ�นาจร่วมกัน จากนั้นประชาชนก็ยกอำ�นาจให้ กษัตริย์ทำ�แทน แล้วอำ�นาจจะกลับมาสู่ประชาชนเมื่อมีการเลือกตั้ง ธงชัยอธิบายว่าเขาเรียกวาทกรรมเช่นนี้ว่า เวทมนตร์ หรือ “Spell” เพราะว่าวาทกรรมแบบนีไ้ ม่ใช่การใช้เหตุใช้ผลไม่ใช่เรือ่ งเกีย่ ว กับอุดมการณ์และเมื่อคิดได้เช่นนี้แล้ว เมื่อพื้นที่สาธารณะที่ปกครอง ด้วย “Magic” ก็สงสัยว่าเราตั้งคำ�ถามถูกหรือเปล่า เพราะเราจะเรียก ร้องให้คนมาอภิปรายกันเรื่องเวทมนตร์ได้หรือ เพราะการใช้เหตุผลยิ่ง เป็นการคุกคามและเป็นอันตรายต่อตัว “ศรัทธา” หรือ “เวทมนตร์” นั้นเอง คำ�อธิบายแบบนี้ แสดงให้เห็นว่าสภาวะไฮเปอร์รอยัลลิสม์ ก็ คือ “มายาภาพที่เป็นสมัยใหม่” ชนิดหนึ่ง (Modern Magic)รอยัลลิ สม์สมัยใหม่ของไทยนั้นแตกต่างจากรอยัลลิสม์ของฝรั่งที่มีเหตุผลเกิน ไป เพราะรอยัลลิสม์สมัยใหม่แบบไทยนั้น แท้จริงแล้วเป็นเวทมนตร์ที่ น่าลุ่มหลงขึ้นทุกเมื่อเชื่อวัน(increasingly enchanted Magic)โดย หากเปรียบเทียบกับ “ลัทธิเสด็จพ่อ ร.5” แล้ว พระมหากษัตริย์องค์ ปัจจุบันก็เสมือนกับเป็น “ลัทธิ” ที่ถูกมองว่ายึดเหนี่ยวเสถียรภาพของ สังคมเอาไว้ ทั้งนี้ สภาวะดังกล่าวถูกสร้างขึ้นด้วยกระบวนการหลายรูป แบบ ไม่วา่ จะเป็นการทำ�ความจงรักภักดีให้เป็นสินค้า (Commodification of Royalism) และการบริโภค การทำ�ให้สถาบันฯ เป็นวัฒนธรรม ทีส่ ามารถเสพได้ผา่ นการมอง (Visual Culture) ทัง้ โทรทัศน์ พิธกี รรม การผลิตซ้ำ�ในรูปแบบอื่นๆ และเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต โดยที่ไม่ ได้ฟังมากนักหากแต่ได้เห็นบ่อยๆ (Public Spectacle) สุดท้ายธงชัยย้ำ�ว่า ในภาษาอังกฤษความหมายของ “Magic” อาจจะแปลได้ว่าสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ แต่มันก็แปลได้อีกว่าเป็น “มายา ภาพ/มายากล” ซึ่งเป็นสิ่งที่หลอกความคิดของเราและในทางตรงกัน ข้าม “ภาวะตาสว่าง” ก็คงจะเป็นการใช้คำ�ได้อย่างถูกต้องแล้ว เพราะ มันหมายถึง คือการเปิดตาขึน้ การตืน่ รู้ และรูท้ นั ต่อสิง่ ทีห่ ลอกตาเพราะ ท้ายที่สุดแล้ว สภาวะไฮเปอร์รอยัลลิสม์ ก็เป็นเพียงมายาภาพเท่านั้น -TLN-


16

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

ว่าด้วยทุน

กองบรรณาธิการ : เรียบเรียง

เล่ม 1 ภาคที่ 5 การผลิตมูลค่าส่วนเกินสุทธิและเปรียบเทียบ

บทที่ 16: มูลค่าส่วนเกิน ในรูปแบบ “สุทธิ” กับ “เปรียบเทียบ”

บทที่ 17: ความสัมพันธ์ระหว่างค่าแรงทำ�งาน กับ มูลค่าส่วนเกิน

• กรรมาชีพในแง่ของผู้ผลิตในระบบทุนนิยม คือผู้ผลิต มูลค่าส่วนเกิน • ครูผลิตมูลค่าส่วนเกินให้เจ้าของโรงเรียนเอกชน เหมือน คนงานในโรงงานไส้กรอกผลิตมูลค่าส่วนเกิน • การขโมยมูลค่าส่วนเกินโดยคนคนหนึง่ จากอีกคน อาศัย เงื่อนไขว่าจะต้องมีการทำ�งานเป็นระบบแบบนี้ทั้งสังคม • สิ่งก่อสร้างมหัศจรรย์ในอดีต เช่นบิรามิดในอียิปต์ ต้อง อาศัยสังคมทีก่ ารทำ�งานเพือ่ ยังชีพใช้เวลาน้อย และคนสามารถถูก บังคับให้ก่อสร้างในเวลา “ส่วนเกิน” ได้ • ปัญหาของนักเศรษฐศาสตร์การเมืองกระแสหลักของ ฝ่ายทุน อย่าง David Ricardo หรือ John Stuart Mill คือเขา กลัวไม่กล้าและไม่เคยตั้งคำ�ถามเพื่อศึกษาเรื่อง “ต้นกำ�เนิดมูลค่า ส่วนเกิน” คนอย่าง Ricardo ดีกว่าพวก “พาณิชย์นิยม” ที่เน้น ว่ามูลค่ามาจากการแลกเปลี่ยน เพราะ Ricardo มองว่ามูลค่ามา จากการทำ�งาน แต่ปัญหาของเขาคือเขาเริ่มจากสมมุติฐานว่า ทุนนิยมคือ “ธรรมชาติ” Mill ยังมองอีกว่ากรรมาชีพคือ “นายทุน ชนิดหนึ่ง” เพราะ “ลงทุนแรงงาน”!!

ค่าแรงทำ�งาน = ปริมาณแรงงานจำ�เป็นที่คนงานต้องทำ� เพื่ออยู่รอดและผลิตซ้ำ�คนงานรุ่นต่อไป

“ในพื้นที่ราบ เนินเล็กๆ จะดูเหมือนเป็นภูเขาลูกใหญ่ พื้นที่ราบเรียบอันไร้ปัญญาของวิชาการฝ่ายทุน ทำ�ให้นักคิด สามัญดูยิ่งใหญ่”

1

ศึกษากรณีต่างๆ 1. กรณีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่ม -ถ้าวันทำ�งานไม่ เปลี่ยนแปลง จะผลิตมูลค่าเท่าเดิม แม้วา่ ประสิทธิภาพการผลิตจะ พัฒนาหรือไม่ -ถ้าความเข้มข้นของการทำ�งานยังไม่เปลี่ยน • เพียงแต่ปริมาณสินค้าทีผ่ ลิตจะเพิม่ ขึน้ และมูลค่าแรงงาน ในสินค้าจะกระจายไปในจำ�นวนสินค้ามากขึ้น สินค้าจึงมีราคาถูก ลง • การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต มีแนวโน้มทีจ่ ะทำ�ให้เพิม่ ปริมาณมูลค่าส่วนเกินที่นายทุนเอาไป เพราะมันจะลดปริมาณ แรงงานจำ�เป็นเพือ่ เลีย้ งชีพฯลฯ เนือ่ งจากสินค้าบริโภคของคนงาน ถูกลงในขณะที่ไม่เพิ่มค่าแรง • มูลค่าส่วนเกินที่นายทุนเอาไป เปลี่ยนไปในทิศทางตรง กันข้ามกับ ปริมาณแรงงานจำ�เป็นฯ (ถ้าค่าแรงลด มูลค่าส่วนเกิน เพิม่ ) แต่ในรูปธรรมเรือ่ งนีข้ นึ้ อยูก่ บั อำ�นาจต่อรองระหว่างกรรมาชีพ กับนายทุนด้วย • ถ้าเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต นายทุนสามารถเพิม่ มูลค่า ส่วนเกิน และกรรมาชีพอาจเพิ่มค่าแรงได้ พร้อมกัน แต่จะเป็น สัดส่วนที่ต่างกัน นายทุนมักได้เพิ่มในสัดส่วนสูงกว่าแรงงาน1 • อัตรากำ�ไร ไม่เหมือน อัตรามูลค่าส่วนเกิน-ริคาโด (David Ricardo) ไม่เข้าใจตรงนี้ เพราะอัตรากำ�ไรคือ กำ�ไรหรือ

ดังนั้นกรรมาชีพในประเทศพัฒนาจะมีค่าจ้างสูงกว่ากรรมาชีพในประเทศด้อยพัฒนา แต่ถูกขูดรีดมูลค่าส่วนเกินมากกว่า


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

17

ภาพจาก http://procureinsights.wordpress.com

มู ล ค่ า ส่ ว นเกิ น / ทุ น ที่ ใ ช้ ใ นการลงทุ น ทั้ ง หมด และ สังคมนิยม อัตรามูลค่าส่วนเกินคือ กำ�ไรหรือมูลค่าส่วนเกิน / ทุนแปรผัน 1. การยกเลิกทุนนิยมจะทำ�ให้ลดชัว่ โมงการทำ�งานให้ใกล้ (จ้างงาน) เคียงทีส่ ดุ กับปริมาณแรงงานจำ�เป็นในการเลีย้ งชีพฯ และส่วนเกิน ที่เราผลิต จะนำ�มาใช้โดยสังคมร่วมกันเพื่อลงทุนต่อและพัฒนา 2. กรณีการเพิ่มความเข้มข้นของการทำ�งาน จะไม่ได้ลด สังคม 2. จะมีการเพิ่มเวลาสำ�หรับกิจกรรมทางสังคมและการ ราคาสินค้า ทั้งๆ ที่ผลิตในปริมาณมากขึ้น เพราะปริมาณแรงงาน ทีใ่ ช้ในการผลิตสินค้าแต่ละชิน้ จะมากขึน้ (เพราะทำ�งานเข้มข้นขึน้ ) พัฒนาปัญญาของกรรมาชีพอย่างเสรี และมันไม่ลดปริมาณแรงงานจำ�เป็นในการเลี้ยงชีพฯอีกด้วย • ในกรณีนี้อาจมีการเพิ่มค่าจ้างให้กรรมาชีพ แต่อาจไม่ บทที่ 18: สูตรของอัตรามูลค่าส่วนเกิน คุม้ กับ “ค่าสึกหรอ” “ค่าเครียด” ทีเ่ กิดกับร่างกายคนงาน ซึง่ มีผล ในการผลิตซ้ำ�คนงานในอนาคต ดังนั้นพอบวกลบคูณหาญแล้ว อัตรามูลค่าส่วนเกิน = มูลค่าส่วนเกิน / ปริมาณแรงงาน อาจเป็นการจ่ายค่าจ้างต่ำ�กว่าปริมาณแรงงานจำ�เป็นในการเลี้ยง จำ�เป็นในการเลี้ยงชีพฯ ชีพฯ แต่นักเศรษฐศาสตร์การเมืองฝ่ายทุนพยายามปกปิดการ 3. กรณีขยายชั่วโมงการทำ�งาน จะมีผลให้ผลิตมูลค่ามาก ขูดรีดแรงงานที่เกิดในทุนนิยม โดยเสนอว่าแรงงานกับทุน “ร่วม ขึ้น อาจเพิ่มทั้งค่าจ้างและปริมาณมูลค่าส่วนเกิน แต่ในสัดส่วนที่ กันลงทุน” และ “ร่วมกันได้ค่าตอบแทน” ต่างกัน (แล้วแต่อำ�นาจต่อรองระหว่างกรรมาชีพและนายทุน) โดยเสนอสูตร อัตรามูลค่าส่วนเกิน = มูลค่าส่วนเกิน / • อาจทำ�ให้คา่ จ้างตกต่�ำ กว่าปริมาณแรงงานจำ�เป็นในการ มูลค่าสินค้า เลี้ยงชีพฯ ถ้าทำ�ให้ร่างกายกรรมาชีพสึกหรอ ทำ�ให้มองไม่เห็นว่า แรงงานฟรีของกรรมาชีพที่ถูกขโมย ไปอยู่ภายใต้การควบคุมของนายทุน 4. ถ้าลดชัว่ โมงการทำ�งาน นายทุนจะกดค่าแรงจนต่�ำ กว่า ปริมาณแรงงานจำ�เป็นในการเลี้ยงชีพฯ หรือ นายทุนอาจเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งอันหลัง เป็นกรณีส่วนใหญ่ในโลกจริง (อ่านต่อหน้า 18)


18

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

(ต่อจากหน้า 17)

ภาคที่ 6, บทที่ 19-22 : ค่าจ้าง ภาพผิวเผินของสภาพการจ้างทำ�ให้เราคิดว่า “ค่าจ้าง” คือ คือ “ค่าซือ้ ปริมาณแรงงาน” ในขณะเดียวกันมีการพูดโดยนักเศรษฐศาสตร์ 1. เพื่อเลี้ยงชีพตนเอง บางคนว่า ค่าจ้างในตลาดแรงงานถูกกำ�หนดจากความสัมพันธ์ระหว่าง 2. เพื่อทำ�งานฟรีให้นายทุน ความต้องการแรงงาน กับจำ�นวนคนงานที่กำ�ลังหางานทำ� และนัก • เวลาเพิม่ ชัว่ โมงการทำ�งานแบบจ่าย “โอที” อาจเพิม่ สัดส่วน เศรษฐศาสตร์การเมืองฝ่ายทุนเช่น David Ricardo และ Adam Smith ในการเลีย้ งชีพต่อสัดส่วนทีท่ �ำ ฟรี เพราะอัตราค่าจ้างต่อชัว่ โมงเพิม่ แต่ เสนอว่าเราไม่สามารถวิเคราะห์เรื่องค่าจ้างลึกกว่านี้ได้ เพราะเขาไม่ บ่อยครั้งนายทุนจะกดค่าจ้างปกติ เพื่อบังคับให้คนงานทำ�โอที ยอมตั้งคำ�ถามกับปรากฏการณ์ผิวเผิน • สถานที่ทำ�งานใดมีชั่วโมงการทำ�งานสูง อัตราค่าจ้างต่อ ชั่วโมงมีแนวโน้มว่าจะต่ำ� แต่ ในความเป็นจริง • กรรมาชีพขาย “พลังการทำ�งาน” และมันเป็นสินค้าพิเศษ • การแข่งขันระหว่างกรรมาชีพ นำ�ไปสู่การกดค่าจ้าง เพราะมันคือสิ่งที่สร้างมูลค่าได้ • การแข่งขันระหว่างนายทุน นำ�ไปสู่การกดราคาสินค้า (โดย • ตลาดแรงงานทำ�ให้ค่าจ้างขึ้นลงได้จากจุดเฉลี่ย แล้วแต่ว่า ขาดแรงงานหรือมีแรงงานเกิน แต่ตลาดแรงงานไม่ได้กำ�หนดจุดเฉลี่ย นายทุนเสียสละมูลค่าบางส่วนเพื่อลดราคา จากส่วนที่แรงงานทำ�งาน ให้ฟรี) ดังกล่าว • ผลคือค่าจ้างโดยทั่วไปถูกกดลง • จุดเฉลี่ยของระดับค่าจ้างคือ มูลค่าพื้นฐานในการดำ�รงชีพ และการผลิตซ้ำ�แรงงาน ค่าจ้างแบบเหมาจ่ายตามชิ้นส่วน • ค่าจ้างแบบนีไ้ ม่ตา่ งจากค่าจ้างรายวันในลักษณะพืน้ ฐานของ มาตรฐานความยุติธรรมทางเศรษฐกิจของทุนนิยม และภาพ มัน ทัง้ ๆทีด่ เู หมือนต่างกัน เพราะโดยพืน้ ฐานมันเป็นการจ้างกรรมาชีพ ของ “แรงงานเสรี” • อาศัยภาพลวงตาว่า ค่าจ้าง = ค่าพลังการทำ�งานทั้งหมด ที่ ให้ใช้พลังการทำ�งานเพือ่ เลีย้ งชีพส่วนหนึง่ และเพือ่ ทำ�งานฟรีให้นายทุน อีกส่วนหนึ่ง ถูกซื้อ • แต่ลักษณะพิเศษของการจ้างแบบเหมาจ่ายคือ มันกดดัน • หรือนิยายว่า คนงานได้ค่าตอบแทนสำ�หรับการทำ�งาน ให้คนงานเร่งการทำ�งานและเพิ่มคุณภาพผลผลิต โดยไม่ต้องมีหัวหน้า ทั้งหมดที่เขาทำ� งานคอยบังคับ มันเพิ่มการขูดรีด และเพิ่มการแข่งขันระหว่างคนงาน • ในขณะที่ความจริงคือ คนงานได้ค่าตอบแทนการทำ�งาน แต่ในขณะเดียวกันทำ�ให้คนงาน “รู้สึก” ว่ามี “อิสรภาพ” ที่จะใช้ฝีมือ ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนเขาทำ�งานฟรีให้นายทุน และแรงงานของตนเอง ฯลฯ • บ่อยครัง้ ถ้ามีการเพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�งาน ผ่านเครือ่ งจักร “ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สิน” ปกปิดความจริง สมัยใหม่ ซึ่งทำ�ให้ผลิตสินค้ามากขึ้นในเวลาจำ�กัด การกดค่าแรงเหมา • ในระบบทาส มีการสร้างภาพว่าทาสถูกบังคับให้ทำ�งานให้ จ่าย หรือการรักษาระดับค่าแรงเหมาจ่ายเหมือนเดิม ทำ�ยาก เพราะคน นายจ้าง 100% แต่ส่วนหนึ่งของงานทาสก็ต้องทำ�เพื่อเลี้ยงชีพ ถ้าทาส งานจะสู้ เพราะคนงานรู้สึกว่า “ถูกโกงชัดๆ” ซึ่งแตกต่างกับกรณีค่า จะไม่ตาย จ้างรายวัน ถ้าจ่ายตามเดิมในเวลาทำ�งานเดิม เพราะคนงานมองว่า • ในทุนนิยมมีการสร้างภาพว่ากรรมาชีพทำ�งานโดยได้ค่า “ยุติธรรม” ตอบแทน 100% ค่าจ้างรายวัน • คือค่าจ้าง/หน่วยชั่วโมง • ทุกวัน หรือทุกชั่วโมง กรรมาชีพถูกจ้างให้ทำ�งานสองส่วน

ในระบบโลกาภิวัตน์ ประเทศที่มีประสิทธิภาพการผลิตสูงจะจ่ายค่าจ้างสูง แต่เมื่อ เปรียบเทียบสัดส่วนค่าจ้าง กับ มูลค่าส่วนเกินที่ขูดรีดไป จะพบว่า ประเทศที่ด้อยพัฒนามีอัตราการขูดรีดต่ำ�กว่า ทั้งๆ ที่จ่ายค่าจ้างต่ำ� -TLN-


นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 มีนาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

19

ข้อเสนอ 4 ประการของนิติราษฎร์

1

2

ลบล้างผลพวก รปห.

- เหตุการณ์รัฐประหารระหว่างวันที่ 19-30 กันยายน ไม่ เคยเกิดขึ้น - รัฐธรรมนูญ 2549 มาตรา 36-37 ไ่ม่เคยเกิดขึ้น - คำ�วินิจฉัยของศาลที่มีผลจาก รปห. ไม่เคยมีผลในทาง กฎหมาย - คดีจาก คตส. ที่ค้างอยู่ในกระบวนการยุติธรรม ต้องยุติ ลง - ข้อเสนอนี้ไม่ใช่นิรโทษะรรม สามารถดำ�เนินคดีใหม่ ตามกระบวนการปกติได้

3

เยียวยาผู้เสียหาย

- ผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำ�ความผิดทางการเมือง ต้องได้ รับสิทธิการประกันตัวตามมาตรฐานสากล - เสนอคณะรัฐมนตรีออกมติจ่ายเงินเยียวยาให้ผู้เสียหาย จากความขัดแย้งหลังรัฐประหารอย่างไม่เลือกปฏิบัติ - คณะกรรมการสิทธิฯ เข้าตราวสอบการละเมิดสิทธิของ ผู้ต้องหา-จำ�เลย

รวบรวมจากข้อเสนอของคณะนิติราษฎร์ โดย SIU และ ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย

แก้ไขเพิ่มเติม ม.112

- ยกเลิกมาตรา 112 แต่เพิ่มกฎหมายใหม่ 4 มาตราแทน โทษ

ความผิดต่อ

หมิ่นประมาท พระมหากษัตริย์ ดูหมิ่น/อาฆาต พระมหากษัตริย์ หมิ่นประมาท ราชินี-รัชทายาทผู้สำ�เร็จราชการ ดูหมิ่น/อาฆาต ราชินี-รัชทายาทผู้สำ�เร็จราชการ

โทษจำ�คุก 2 ปี 1 ปี 1 ปี

โทษ ปรับ 50,000 20,000 30,000

6 เดือน

10,000

- ไม่มีอัตราโทษขั้นต่ำ�, เว้นโทษเมื่อแสดงความเห็นเชิง วิชาการ - สำ�นักราชเลขาธิการเป็นผู้กล่าวโทษเท่านั้น

4

จัดทำ�รัฐธรรมนูญฉบับใหม่

กระบวนการ - ตั้งคณะกรรมการจัดทำ�รัฐธรรมนูญ 25 คน เลือกโดย รัฐสภา - ให้ประชาชนออกเสียงประชามติ ใช้เวลา 9-10 เดือน เนื้อหา - ใช้ รธน. 2475, 2489, 2540, ประกาศคณะราษฎร เป็น พื้นฐาน - ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว มีกษัตริย์เป็นประมุข - รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด การแย่งชิงอำ�นาจสูงสุด มีความผิดอาญา ประชาชนมีหน้าที่ปกป้องรัฐธรรมนูญ - มีสภาเดียว หรือ วุฒิสภาจากการเลือกตั้ง - ยุบเลิกองค์กรตามรัฐธรรมนูญบางแห่ง - การตั้งผู้พิพากษาศาลสูง ต้องเสนอชื่อโดย ครม. และ ผ่านสภา - ตำ�แหน่งระดับสูงในกองทัพแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรี


ร่วมกันสร้างองค์กรสังคมนิยม

เพื่อ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และประชาธิปไตย - สังคมนิยมเป็นระบบที่ตอบสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ผ่านการวางแผนร่วมกัน ในรูปแบบประชาธิปไตย - สังคมนิยมต้องสร้างโดยมวลชนกรรมาชีพ จากล่างสู่บน สร้างโดยอภิสิทธิ์ชนไม่ได้ - เรางต้องมีพรรคการเมืองของกรรมาชีพและคนจน เพื่อเคลื่อนไหวทางการเมือง - สมาชิกทุกคนต้องจ่ายค่าบำ�รุง 1 % ของรายได้ (50 บาท / เดือนขั้นต่ำ�) - สมาชิกต้องอ่านและช่วยกันขายหนังสือพิมพ์ของพรรคเพื่อขยายสมาชิก และอิทธิพลทางความคิด รายละเอียดเพิ่มเติม : อีเมล : pcpthai@gmail.com ติดต่อกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ : turnleft2008@gmail.com เวปไซต์ www.turnleftthai.blogspot.com เฟซบุ๊ค www.facebook.com/turnleftthai ที่อยู่ไปรษณีย์ : ตู้ ป.ณ. 123 ไปรษณีย์คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.