ทหาร อุปสรรคของประชาธิปไตย // นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

Page 1

turnleftthai.blogspot.com

เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8

ฉบับที่ 3

สิงหาคม 55

ราคา 20 บาท

“กรรมาชีพ”

กองหน้า ในการสร้างสังคม ที่เท่าเทียม โดย วัฒนะ วรรณ หน้า 2

เอียน!

วันสำ�คัญ

เพราะมันคือเครื่อง มือทางการเมืองฮ่ะ! โดย สมุดบันทึกสีแดง หน้า 8

ความเท่าเทียม

ทางเพศ

เป็นเรื่องชนชั้น โดย ฮิปโปน้อย บรมสุขเกษม์

หน้า 6

ถ้ามองจากมุมมองของนายทุน บางครั้งเขาจะไม่ให้ความสำ�คัญ กับระบบประชาธิปไตย หรือเขาอาจรำ�คาญกับระบบนี้ด้วยซ้ำ� แต่ สำ�หรับชนชั้นกรรมาชีพ ระบบประชาธิปไตยเป็นสิ่งสำ�คัญยิ่ง สำ�คัญเพราะรูปแบบ ทางการเมืองที่เกิดขึ้นในระบบนี้ เช่นการ บริหารตนเองและสิทธิในการลงคะแนนเสียง ชนชั้นกรรมาชีพ สามารถใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการแปรรูปสังคมทุนนิยม // Rosa Luxemburg “Reform or Revolution”

โอลิมปิก

เปิดโปงธาตุแท้

ของทุนนิยม ตลาดเสรี โดย ลั่นทมขาว หน้า 10


2

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

กลับหัวเป็นหาง

turnleftthai.blogspot.com

วัฒนะ วรรณ

“กรรมาชีพ” กองหน้าในการสร้างสังคมที่เท่าเทียม กรรมาชีพคือกองหน้า หาใช่เป็นคนชายขอบดั่งคำ�กล่าวอ้าง ของนักกิจกรรมบางคน กรรมาชีพเกิดมาพร้อมๆ กับระบบทุนนิยม ผล ประโยชน์ของกรรมาชีพกับนายทุน ขัดแย้งกันโดยสิน้ เชิง ประนีประนอม กันไม่ได้ เมือ่ นายทุนได้มาก กรรมาชีพย่อมได้นอ้ ย เมือ่ นายทุนได้นอ้ ย กรรมาชีพย่อมได้มาก แต่มูลค่าแต่แรกที่เกิดขึ้นในระบบการผลิตเกิด ขึ้นจากลงแรงของกรรมาชีพ ที่เปลี่ยนทรัพยากรธรรมชาติเป็นสินค้า หาใช่เกิดขึน้ จากนายทุน ถ้านายทุนหยุดงานกรรมาชีพก็ยงั ดำ�เนินการ ผลิตไปได้ แต่ถา้ กรรมาชีพหยุด ระบบการผลิตทัง้ หมดก็จะหยุดไปด้วย กรรมาชีพจึงเปรียบเสมือนยืนอยู่ใจกลางการผลิตของระบบทุนนิยม ระบบการเมืองของทุนนิยมบริหารงานโดย “คณะกรรมการ บริหารผลประโยชน์ร่วมของชนชั้นนายทุน” ดังคำ�กล่าวของ มาร์ค ซ์และเองเกลส์ นัน่ เท่ากับว่าเมือ่ ระบบการผลิตของกรรมาชีพหยุดทำ�งาน ชนชั้นปกครองเหล่านี้ก็ไม่สามารถมีอำ�นาจบริหารการเมืองได้อย่าง ง่ายๆ และถ้ากรรมาชีพเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตจากทุนนิยม ที่เน้น ผลประโยชน์ของคนส่วนน้อย มาเป็นระบบการผลิตสังคมนิยม ที่เน้น ประโยชน์ของทุกคนในสังคมโดยเท่าเทียมกันแล้วละก็ ระบบชนชั้นที่ มีผู้ปกครองเป็นคนส่วนน้อยก็จะหายไป นี่คือพลังของกรรมาชีพใน ระบบทุนนิยม ภายใต้การเมืองประชาธิปไตยครึง่ ใบหรือน้อยกว่านัน้ ในสังคม ไทย กรรมาชีพจำ�เป็นจะต้องเป็นกองหน้าในการต่อสู้เพื่อให้ได้มาซึ่ง ประชาธิปไตยเต็มใบ โดยร่วมมือกับกลุ่มเสื้อแดงก้าวหน้า นักวิชาการ อย่างนิติราษฎร์ เพราะการมีประชาธิปไตยเต็มใบ ย่อมดีกว่าเผด็จการ ในต่อสู้เปลี่ยนสังคมไปสู่สังคมนิยมที่ปลดปล่อยกรรมาชีพอย่างถาวร ในระยะยาว แต่การต่อสู้ของกรรมาชีพจำ�เป็นต้องมีองค์กรนำ�ของตนเอง ในรูปแบบ “พรรคปฏิวัติกรรมาชีพ” ที่ใช้แนวทางสังคมนิยมมาร์ค ซิสต์ เพราะเป้าหมายของเราคือการปลดปล่อยกรรมาชีพอย่างถาวร การต่อสู้แบบ “ลัทธิสหภาพ” ที่มุ่งเน้นแต่เพียงเรื่องปากท้องในกรอบ ของทุนนิยม จะไม่สามารถปลดปล่อยกรรมาชีพได้อย่างแท้จริง เพราะ ตราบใดที่ทุนนิยมยังอยู่ ชนชั้นก็ยังดำ�รงอยู่ การกดขี่ก็ต้องดำ�รงอยู่ ควบคู่ไปด้วย แต่ในรูปธรรมปัจจุบันเรายังไม่มีพรรคปฏิวัติกรรมาชีพ มีแต่ องค์กรนำ�ในกรอบของรัฐทุนนิยม เช่น สหพันธ์แรงงาน สภาแรงงาน

ดังนัน้ เราต้องช่วยกันคบคิดว่า องค์กรนำ�เช่นว่านี้ จะพัฒนาไปเป็นพรรค ของกรรมาชีพได้หรือไม่ อย่างไร โดย ใจ อึ๊งภากรณ์ ได้ให้ความเห็น ในประเด็นนี้ไว้ว่า... “ปัญหาของการใช้สหภาพแรงงานเป็นองค์กรต่อสู้อย่างเดียว โดยไม่สร้างพรรค คือในประการแรกเขาไม่สามารถจัดตั้งกลุ่มอื่นๆ ที่ ไม่ใช่คนงาน เช่นนักศึกษา คนกลุ่มน้อย หรือคนที่อยากรณรงค์เรื่อง 112 เป็นต้น มันนำ�ไปสู่การเน้นประเด็นการเมืองปากท้องอย่างเดียว ด้วย ทั้งๆ ที่ในนามธรรมอาจกล่าวถึง “เลนิน” ในประการที่สององค์กรสหภาพแรงงานต้องการรับทุกคนใน สถานทีท่ �ำ งานเข้ามาเป็นสมาชิก ซึง่ แน่นอนรวมถึงคนทีม่ คี วามคิดฝ่าย ขวาตามชนชั้นปกครองและคนที่ยังขี้เกียจคิดอีกด้วย และแกนนำ�ของ สหภาพจะต้องปกป้องความสามัคคีภายในสหภาพระดับหนึ่ง เพราะ กลัวว่าจะแพ้การเลือกตัง้ และหลุดจากตำ�แหน่งในสหภาพ จึงไม่สามารถ ถกเถียงแนวคิดอย่างตรงไปตรงมาได้ ไม่เหมือนพรรคหรือกลุม่ การเมือง ที่ทำ�งานภายในสหภาพ ในประการทีส่ าม ถ้านักลัทธิสหภาพแบบนีแ้ พ้การเลือกตัง้ เขา จะไม่มอี งค์กรเหลือเลย ประเด็นนีเ้ ป็นปัญหาด้วยเวลาคนงานไม่มคี วาม มัน่ ใจในการต่อสู้ ไม่ยอมนัดหยุดงานในช่วงหนึง่ กิจกรรมทางการเมือง ก็ลดลง ไม่เหมือนพรรค ในประการสุดท้ายสหภาพแรงงานไม่สามารถยึดอำ�นาจรัฐได้ เพราะเป็นองค์กรที่สร้างขึ้นมาเพื่อต่อรองกับนายจ้างในระบบทุนนิยม ไม่สามารถประสารทุกซีกทุกส่วนของสังคมที่ก้าวหน้าเพื่อยึดอำ�นาจ รัฐ” ดังนั้นนักปฏิวัติที่ก้าวหน้าที่สุด เอาการเอางานมากที่สุด และ มีวินัยมากที่สุด ต้องร่วมมือกันกับกลุ่มอื่นๆ เช่นนักกิจกรรมที่รัก ประชาธิปไตย กลุ่มคนเสื้อแดง นักศึกษา ชาวนายากจน ฯลฯ สร้าง องค์กรใหม่ในรูปแบบพรรคการเมือง(จะเรียกซื่อว่าอย่างไรก็ได้) เพื่อ ใช้เป็นเครื่องมือทำ�งานการเมืองขยายแนวคิดปฏิวัติไปสู้กรรมมาชีพ และนักศึกษาให้ได้มากทีส่ ดุ โดยการแข่งแนวกับพวกฝ่ายขวาและพวก ปฏิรูป ในองค์การแรงงานต่างๆ รวมถึงในสังคมภาพกว้างไปพร้อมๆ กันด้วย โดยจะต้องมีนโยบายเฉพาะหน้าที่เป็นรูปธรรมดังนี้


turnleftthai.blogspot.com

ด้านการเมือง

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

3

2. ควบคุมอัตราค่าจ้างของผู้บริหารระดับสูงทั้งของรัฐและ เอกชนไม่ให้เกิน 100,000 บาท(สำ�หรับไทยต้องถกเถียงกันว่าควรเป็น 1. เร่งสร้างพรรคการเมืองของกรรมาชีพและชาวนายากจน 2. ปล่อยนักโทษการเมือง นักโทษ 112 ทุกคน ทันที เพราะ เท่าไร) เพือ่ ลดความเหลือ่ มล้�ำ ระหว่างคนธรรมดากับผูบ้ ริหาร(เป็นเรียก ร้องของการปฏิวัติที่อียิปต์) ระบอบประชาธิปไตย จะต้องไม่มีนักโทษการเมือง 3. สร้างความเสมอภาคทางเพศ สตรีสามารถทำ�แท้งได้เสรี มี 3. นำ�คนที่ฆ่าประชาชน ในเหตุการณ์เมษา-พฤษภา 53 มา ลงโทษทั้งหมด รวมถึงเหตุการณ์อื่นๆ ด้วย เช่น ตากใบ สงครามยา ศูนย์เลี้ยงเด็กใกล้สถานที่ทำ�งาน ฯลฯ 4. ปฏิรปู ทีด่ นิ โดยการกระจายการถือครองทีด่ นิ ให้กบั ชาวนา เสพติด พฤษภาคม 35 6 ตุลา 19 14 ตุลา 16 เพื่อเป็นหลักประกันว่า ยากจน ให้ทำ�กินตามความต้องการ จะไม่มีใครกล้าทำ�แบบนี้อีกในอนาคต หมายเหตุ นโยบายหลายเรือ่ งอาจเป็นเรือ่ งใหม่ส�ำ หรับสมาชิก 4. ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม นำ�ระบบลูกขุนมาใช้ เพื่อสร้าง บางท่าน ที่คุ้นเคยการต่อสู้ในกรอบ “ลัทธิสหภาพ” มานาน ซึ่งบาง ความโปร่งใส 5. ยกเลิกกฎหมายเผด็จการทั้งหมด เช่น มาตรา 112 พรบ. ข้อสมาชิกส่วนใหญ่อาจจะไม่สนับสนุน แต่ไม่ใช่ปัญหาใหญ่เพราะแค่ คอมพิวเตอร์ พรบ.สถานการณ์ฉุกเฉิน กฎหมายความมั่นคง ฯลฯ และ การนำ�นโยบายเหล่านี้เพื่อสร้างเป็นประเด็นถกเถียงใหม่ๆ ในองค์การ แรงงาน ก็ถือว่าเป็นความก้าวหน้าที่สำ�คัญ เพราะมันจะช่วยให้สมาชิก งบประมาณลับของทหาร ได้ฝึกฝนการคิดวิเคราะห์ถึงภาพรวมของสังคมไทย ที่ฝ่ายรัฐทุนนิยม 6. ผู้แทน(สส)ต้องได้รับค่าจ้างเท่ากับเงินเดือนเฉลี่ยของคน พยายามปิดบังผ่านกฎหมายแรงงานที่ห้ามไม่ให้สหภาพแรงงานยุ่ง ส่วนใหญ่ และยกเลิกสมาชิกวุฒิสภา(สว) โดยคนทำ�งานต้องสามารถ เกี่ยวกับการเมือง ทั้งๆ ที่การเมืองกับเศรษฐกิจเป็นเรื่องเดียวกัน เลือกผู้แทน ในพื้นที่ที่ตนเองทำ�งานอยู่ได้ 7. ต้องมีสภาประชาชนที่มีการพบปะกันเป็นประจำ� เพื่อทำ� แนวทางการดำ�เนินงาน หน้าที่ควบคุม ตรวจสอบ และถอดถอน ผู้แทนฯ ได้ตลอดเวลา ถ้าไม่ 1. เร่งสร้างและขยายกลุ่มศึกษาในหลายระดับ เป็นประจำ�ทุก ทำ�ตามมติเสียงส่วนใหญ่ของประชาชน สัปดาห์เพื่อศึกษานโยบายและเรื่องอื่นๆ ที่มากกว่า “ปัญหาปากท้อง” 8. ตำ�แหน่งสาธารณะทุกตำ�แหน่ง ต้องผ่านการเลือกตั้ง เช่น และมีเป้าหมายที่ชัดเจนในการสร้างผู้ปฏิบัติงานรุ่นใหม่ให้สามารถนำ� ศาล ตำ�รวจ ทหาร ผู้บริหารโรงเรียน โรงพยาบาล สื่อ และรัฐวิสาหกิจ ตนเองได้ เช่น สามารถดำ�เนินการประชุมได้ สามารถเป็นผู้นำ�เสนอ 9. ยกเลิกการปกครองภูมภิ าค ให้มกี ารเลือกตัง้ ผูบ้ ริหารจังหวัด หัวข้อศึกษาได้ และสามารถเขียนบทความเพื่อพัฒนากระบวนการคิด ได้ โดยตรงจากประชาชนในพื้นที่ 2. เร่งสร้าง นสพ.การเมือง ของตนเอง รวมถึงสื่ออื่นๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ อินเตอร์เน็ต เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือเผยแพร่นโยบายแนวคิดทางเศรษฐกิจ 1. นำ�ระบบรัฐสวัสดิการมาใช้ ภายใต้หลักการ “ครบวงจร และการเมือง ไปสูส่ มาชิก และคนใหม่ๆ นอกจากนีย้ งั ช่วยทำ�ให้สมาชิก ถ้วนหน้า มาตรฐานเดียว” สำ�หรับทุกคนที่พักอยู่ในประเทศ ผ่าน แสดงความ “รับผิดชอบต่อองค์กร” เพราะสมาชิกต้องช่วยนำ� นสพ. การเก็บภาษีกา้ วหน้าในอัตราสูงมากจากคนรวย เช่น ภาษีทรัพย์ ทีด่ นิ ไปขาย จึงจำ�เป็นต้องอ่านเนื้อหาและถกเถียงกับคนอื่นเพื่อปกป้อง หุ้น ฯลฯ เป็นต้น และยกเลิกการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่เป็นภาระของ นโยบายเหล่านี้ คนจน เพื่อสร้างระบบบริการสาธารณะฟรีและมีคุณภาพแก่ประชาชน 3. เร่งสร้างแผนเพื่อขยายฐานสมาชิกไปสู้กรรมาชีพหนุ่มสาว อาทิเช่น รูปแบบเงิน สุขภาพ การศึกษา ที่อยู่อาศัย คมนาคม นัก และนักศึกษา เพื่อสร้างความกระตือรือร้นความทันสมัยให้กับองค์กร สังคมสงเคราะห์ สันทนาการ ฯลฯ เป็นต้น


4

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

วิวาทะ

ใจ อึ๊งภากรณ์

ใน ซิเรีย นักสังคมนิยมต้องสนับสนุนกบฏ ต่อรัฐบาลเผด็จการ

กบฏของประชาชนต่อรัฐบาลเผด็จการของ บาชา อัลอะ สัด ในประเทศซิเรียได้กลายเป็นสงครามกลางเมือง และได้สร้าง ความสับสนเป็นอย่างมากในหมูผ่ รู้ กั ประชาธิปไตย นักเคลือ่ นไหว และฝ่ายซ้ายทั่วโลก

บางคนอย่าง ทาริก อาลี นักสังคมนิยมชื่อ ดังเชื้อสายปากีสถาน หลงเชื่อว่ารัฐบาลของ บา ชา อัลอะสัด เป็นรัฐบาลที่ “ต้านจักรวรรดินิยม” เพราะบ่อยครั้งในอดีตมีจุดยืนตรงข้ามกับ สหรัฐ และยุโรปตะวันตก และได้รับการสนับสนุนจาก รัสเซียกับจีน แต่นนั้ เป็นการมองข้ามธาตุแท้ของเผด็จการซิเรีย ซึง่ เข้าไป แทรกแซงการเมืองในประเทศรอบข้าง เช่น เลบานอน เพื่อระงับ การต่อสูข้ องชาวปาเลสไตน์และฝ่ายซ้าย และมันเป็นการมองข้าม การที่ประธานาธิบดีซิเรียมาจากการสืบทอดสายเลือดในระบบที่ ป่าเถื่อน การเข้าข้างมหาอำ�นาจฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในความขัดแย้ง ระดับโลก ไม่ใช่การต่อต้านจักรวรรดินยิ ม แต่เป็นการอ่อนน้อมต่อ จักรวรรดินิยมฝ่ายหนึ่งเท่านั้น สาเหตุหนึ่งที่หลายคนไม่ยอมสนับสนุนฝ่ายกบฏในซิเรีย ก็เพราะเขาอ้างว่าสหรัฐและนาโต้อยากฉวยโอกาสแทรกแซง และ ตอนนี้รัฐบาลล้าหลังสุดขั้วของซาอุก็กำ�ลังส่งอาวุธเพื่อช่วยเหลือ กบฏ แต่ประเด็นสำ�คัญที่เราต้องเข้าใจคือ กบฏส่วนใหญ่ในซิเรีย ทีต่ อ้ งการล้มล้างรัฐบาลของ บาชา อัลอะสัด ไม่ตอ้ งการให้มหาอำ�นาจ ตะวันตกเข้ามาช่วยเหลือหรือแทรกแซง เพราะเขาทราบดีว่าใน

กรณีประเทศลิเบียมีการแทรกแซงทางทหาร เช่นส่งเครื่องบินไป ทิ้งระเบิด ซึ่งแปลว่ายุโรปตะวันตกและสหรัฐสามารถช่วงชิงการ ปฏิวัติไป เพื่อสถาปนารัฐบาลใหม่ที่เป็นมิตรกับตะวันตก ซึ่งต่าง จากกรณีการปฏิวตั ใิ นอียปิ ต์และตูนเิ ซียทีเ่ ป็นการปฏิวตั ขิ องมวลชน ที่ยังไม่จบ กบฏส่วนใหญ่ในซิเรียไม่อยากเป็นขี้ข้าใคร เขาอยาก นำ�ตนเอง เอ็นจีโอสากลบางกลุม่ พยายามประณามความรุนแรงของ “ทั้งสองฝ่าย” ในซิเรีย แต่นั้นเป็นการมองข้ามการที่รัฐบาลซิเรีย เป็นผู้ปราบปรามประชาชนอย่างป่าเถื่อนแต่แรก คาดว่าพลเรือน ถูกฆ่าไปหลายหมื่น อาจถึงแสนด้วยซ้ำ� มันไม่ต่างจากพวกเอ็นจี โอสลิม่ ทีเ่ รียกร้องให้ “ทุกฝ่าย” ยุตคิ วามรุนแรงทีร่ าชประสงค์เมือ่ ปี ๒๕๕๓ ในขณะที่ผู้ใช้ความรุนแรงมีแต่ฝ่ายทหาร มันไม่ต่างจาก กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที่วิจารณ์กบฏในภาคใต้ การ ประณามแบบนี้เป็นการแอบเข้าข้างผู้กดขี่ที่ใช้ความรุนแรงต่อ ประชาชน เราชาวสังคมนิยมต้องฟันธงว่าผู้ถูกกดขี่ทั่วโลกมีสิทธิ์จับ อาวุธเพื่อป้องกันตัวจากการเข่นฆ่าของฝ่ายชนชั้นปกครอง และ ความรุนแรงที่อาจเกิดจากการลุกขึ้นป้องกันตัว แตกต่างโดยสิ้น เชิงกับความรุนแรงป่าเถื่อนของชนชั้นปกครอง เราเลือกข้างครับ เราเลือกข้างพลเมืองธรรมดาที่ถูกกดขี่ ในขณะที่เอ็นจีโอและกลุ่ม อื่นๆ ที่คล้ายกันเคยเลือกข้างรัฐประหาร มีนกั เคลือ่ นไหวอีกส่วนหนึง่ ทีม่ องว่ารัฐบาลซิเรียป่าเถือ่ น ที่สุด จนเราไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากต้องเรียกร้องให้มหาอำ�นาจ ตะวันตกเข้ามาแทรกแซง อันนีเ้ ป็นการโกหกตนเองมหาศาล เพราะ รัฐบาลตะวันตกไม่เคยสนใจเรื่องประชาธิปไตยหรือเสรีภาพ แต่ สนใจผลประโยชน์ของกลุ่มทุนต่างหาก และในขณะนี้แม้แต่สหรัฐ


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

5

ภาพ: Free Syrian Army

กับอังกฤษก็ไม่มีปัญญาจะแทรกแซงแบบลิเบียได้ เพราะผูกพัน กับสงครามอัฟกานิสถานและทีอ่ นื่ แต่ทแี่ ย่สดุ คือพวกนีด้ ถู กู ความ สามารถของชาวซิเรียที่จะปลดแอกตนเอง การที่นักสังคมนิยมมองว่า “ผู้ถูกกดขี่ทั่วโลกมีสิทธิ์จับ อาวุธเพือ่ ป้องกันตัวจากการเข่นฆ่าของฝ่ายชนชัน้ ปกครอง” ไม่ได้แปลว่าเราจะ “ส่งเสริม” การต่อสู้ด้วยอาวุธเป็นหลัก ถ้าจะเข้าใจการกบฏปฏิวัติที่กำ�ลังเกิดขึ้นท่ามกลางการ นองเลือดในซิเรีย เราต้องมองภาพรวมของการลุกฮือในตะวันออกกลาง ตั้งแต่ตูนิเซีย อียิปต์ ลิบเบีย เยเมน บาห์เรน ไปสู่ซิเรีย เพราะ สภาพสังคมซิเรียเต็มไปด้วยความขัดแย้งที่คล้ายๆ กับที่อื่น เช่น การหันมาใช้นโยบายเสรีนิยมกลไกตลาดที่เพิ่มความเหลื่อมล้ำ� ระหว่างคนส่วนใหญ่กับคนรวย การที่สังคมแช่แข็งเป็นเผด็จการ มานาน และการที่ผู้ที่ได้ประโยชน์เป็นพรรคพวกของผู้นำ�เป็นต้น และเมื่อมีการเริ่มลุกฮือรัฐบาลก็พยายามปลุกให้คนเชื้อ ชาติหรือศาสนาทีแ่ ตกต่างกันขัดแย้งกันเพือ่ แบ่งแยกและปกครอง ไม่ตา่ งจากอียปิ ต์ อย่างไรก็ตามฝ่ายกบฏมีเครือข่ายรากหญ้าทีแ่ ท้ จริง เขาเรียกตัวเองว่า “กรรมการประสานงานในพื้นที่” (Local Coordinating Committees) และเขามีความพยายามมา ตลอดในการสร้างความสามัคคีระหว่างชุมชนต่างศาสนาหรือเชื้อ ชาติ นอกจาก “กรรมการประสานงานในพื้นที่” ในระดับ รากหญ้าที่สามารถจัดการประท้วงของมวลชนผู้กล้าตายและการ นัดหยุดงานในเมืองใหญ่แล้ว ยังมีอีกองค์กรหนึง่ ที่เป็นองค์กรราก หญ้า นั้นคือ “กองทัพเสรีซิเรีย” (Free Syrian Army) ซึ่งกำ�ลัง ต่อสู้กับกองทัพของรัฐบาล ส่วน “กรรมการแห่งชาติซิเรีย” (Syrian National Council) นั้นเป็นเพียงกรรมการที่แต่งตั้งตัว

เองเป็นรัฐบาลพลัดถิน่ ซึง่ ประกอบไปด้วยนักการเมืองหุน่ เชิดของ ตะวันตก มันไม่มคี วามชอบธรรมใดๆ ในสายตาพลเมืองซิเรียส่วน ใหญ่

นักสังคมนิยมเสนอตลอดว่าการปฏิวัติที่จะ นำ�ไปสู่การที่ประชาชนเป็นใหญ่ได้นั้น ต้องอาศัย พลังมวลชนจำ�นวนมาก ไม่ใช่อาศัยกองทัพ ปลดแอกเป็นหลัก การที่กองทัพเสรีซิเรียมีความสำ�คัญมากขึ้นจนกลายเป็น สงครามกลางเมือง เป็นสิ่งที่เราเข้าใจได้ ใครจะไม่ลุกขึ้นจับอาวุธ เมื่อเห็นทหารของรัฐบาลถล่มพลเรือนอย่างไม่เลือกหน้าแบบที่รัฐ บาลซิเรียทำ� แต่มนั สร้างปัญหา เพราะอำ�นาจหลักไปอยูใ่ นมือทหาร ปลดแอกแทนมวลชน มันลดความสำ�คัญของการนัดหยุดงานและ ยึดเศรษฐกิจ และกองทัพเสรีซเิ รียต้องอาศัยอาวุธบางส่วนทีป่ ระเทศ อย่างซาอุส่งให้ และในโลกทุนนิยมไม่มีผู้มีอำ�นาจไหนที่ให้ความ ช่วยเหลือฟรีๆ ซาอุเป็นเผด็จการป่าเถื่อนล้าหลังที่กดขี่ประชาชน โดยเฉพาะสตรี และซาอุกเ็ คยส่งทหารไปปราบขบวนการประชาธิปไตย ในบาห์เรนอีกด้วย มวลชนซิเรียจะมีเสรีภาพและประชาธิปไตยได้กต็ อ่ เมือ่ เขา ลุกขึ้นสู้เอง นำ�ตนเอง และพึ่งตนเอง คนก้าวหน้าทุกคนหวังเป็น อย่างยิง่ ว่าเขาจะชนะและเผด็จการ บาชา อัลอะสัด จะถูกถีบลงถัง ขยะแห่งประวัติศาสตร์


6

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

Speak Out

ฮิปโปน้อย บรมสุขเกษม

ความเท่าเทียมทางเพศ เป็นเรื่องชนชั้น เป็นทีแ่ น่นอนว่านักมาร์คซิสต์ไม่เคยแยกประเด็น ในเรือ่ ง การต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีออกจากเรื่องชนชั้น หากมองอย่างผิวเผิน หรือมองในจุดยืนของนักสตรีนิยม (Feminists) เราอาจคิดว่าการ กดขีท่ างเพศ เกิดจากโครงสร้างระบบทีถ่ อื เพศชายเป็นใหญ่ทมี่ อง ว่า ตำ�แหน่งและหน้าที่ทำ�ให้สถานะทางสังคมของเพศหญิงและ เพศชาย มีความเหลือ่ มล้�ำ ไม่เท่าเทียมเกินไป เพศชายเป็นศูนย์กลาง ส่วนผู้หญิงมักไม่มีบทบาท ด้วยโครงสร้างชายเป็นใหญ่นี้เอง จึง เอื้ออำ�นวยให้เพศชายกดขี่ข่มเหงผู้หญิงได้ย่างเป็นระบบ ในแนวคิดกระแสหลักของเฟมินิสต์แล้ว จะมีแนวคิดอยู่ สองหลักคือแนวคิดแบบเสรีนยิ ม และแนวคิดทีต่ อ้ งการเปลีย่ นแปลง ระบอบรัฐ เพื่อลดบทบาทการนำ�ของเพศชาย ซึ่งทั้งสองแนวทาง นี้จะเน้นแต่การปฏิรูปกฎหมาย ปฏิรูปทางการเมือง ให้ผู้หญิงที่ เป็นชนชัน้ นำ�ได้มโี อกาสเข้าถึงตำ�แหน่งทางการเมือง พยายามลด ทอนอำ�นาจและอิทธิพลของเพศชาย และยังคงไว้ซงึ่ ระบบเศรษฐกิจ และการเมืองเอาไว้ ดังนั้นแล้วแนวคิดเฟมินิสต์จึงมองปัญหาการ กดขี่สตรี เป็นเรื่องของระบบชายเป็นใหญ่ โดยไม่ได้มองถึงระบบ โครงสร้างทางชนชั้นในระบบทุนนิยม เนื่องจากสถาบันครอบครัว ในระบบทุนนิยม ทำ�ให้ผู้หญิงต้องทำ�งานหนักและมีภาระเพิ่ม ทั้ง จากการทำ�งานหารายได้นอกบ้าน และต้องกลับมาดูแลงานในบ้าน ซึง่ เป็นงานทีไ่ ม่มมี ลู ค่า รวมถึงการเลีย้ งดูลกู ซึง่ เป็นหน้าทีห่ ลักของ ผู้เป็นแม่ สำ�หรับแนวคิดเฟมินสิ ต์ แม้จะมีจดุ มุง่ หมายเพือ่ ปลดแอก สตรี แต่นั้นเป็นเสมือนการเกาไม่ถูกที่คัน เนื่องจากแนวคิดเฟมิ นิสต์นี้ เรียกร้องให้สตรีทุกชนชั้น ร่วมตัวกันต่อสู้กับอิทธิพลเพศ ชาย ซึง่ หากเป็นอย่างนัน้ เท่ากับว่า กรรมาชีพหญิงและกรรมาชีพ ชายต่างเข้าสู่สังเวียนที่ฟาดฟันกันเอง และเหตุนี้จะเป็นตัวทำ�ลาย ความสามัคคีระหว่างกรรมาชีพหญิงและกรรมาชีพชาย ซึ่งอันที่

จริงแล้วปัญหาไม่อยูท่ รี่ ะบบชายเป็นใหญ่ แต่อยูท่ ตี่ วั ระบบทุนนิยม ที่ผูกขาดปัจจัยการผลิต กรรมาชีพไม่มีสิทธิในการใช้สอย ผลผลิต ที่ตัวเองลงมือทำ� ดังนั้นแล้วหากจะแก้ไขปัญหาการกดขี่สตรีคือ การสร้าง รัฐสวัสดิการให้ประชาชนอย่างเป็นระบบ แรงงานหญิงสามารถลา งานเพือ่ คลอดและเลีย้ งดูลกู ได้ โดยยังได้รบั เงินเดือนตามปกติ และ รัฐบาลเองจะต้องจัดสถานที่เลี้ยงเด็กที่มีคุณภาพ รวมถึงการเข้า โรงเรียนฟรีด้วย เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระเรื่องลูกให้เบาลง นอก เหนือจากนั้นรัฐเองต้องดูแลบุคคลที่ไม่พร้อมจะมีลูก หรือตั้งท้อง โดยไม่ได้ตงั้ ใจ ให้ผหู้ ญิงเหล่านัน้ ได้เลือกทีจ่ ะทำ�แท้งอย่างปลอดภัย ตามความสมัครใจอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพื่อไม่ให้เด็กที่เกิด มานั้นเป็นภาระของสังคม และพ่อแม่ที่ยังไม่มีความพร้อมในการ เลี้ยงดูลูก การต่อสู้ทางชนชั้นนั้น ไม่สามารถแยกออกจากการต่อสู้ เพือ่ สิทธิทางเพศ กรรมาชีพทัง้ ชายและหญิงต่างเป็นผูถ้ กู กดขีด่ ว้ ย กันทั้งสิ้น ดังนั้นจากต่อสู้จึงจำ�เป็นต้องต่อสู้เพื่อรัฐสวัสดิการก่อน ทั้งด้านการรักษาพยาบาล การดูแลคนชราหลังเกษียรจากการ ทำ�งาน ให้การบริการด้านอาหารและทีอ่ ยูอ่ าศัย แก่บคุ คลไม่มรี าย ได้ พิการ หรือตกงาน เพื่อเป็นการลดช่องว่างความเหลื่อล้ำ� และ สร้างความเป็นธรรมให้กับคนทุกเพศ เอกสารอ้างอิง ใจ อึ๊งภากรณ์ และคณะ. (2549). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในไทย. กรุงเทพฯ: ประชาธิปไตยแรงงาน.


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

7

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

วันสันติภาพไทย

วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ที่ใกล้จะถึงนี้เป็นวันหนึ่ง ในประวัติศาสตร์ที่สำ�คัญยิ่ง คือวันที่ นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำ�เร็จ ราชการแทนพระองค์ในพระปรมาภิไธยพระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดล(ร.๘)ประกาศสันติภาพ เป็นผลให้การที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ประกาศเป็นศัตรูกับฝ่ายสัมพันธมิตร โดยอยู่ข้าง ฝ่ายอักษะ และท้ายที่สุดฝ่ายอักษะได้พ่ายแพ้ ซึ่งจะมีผลให้ไทย เป็นประเทศผู้แพ้สงคราม ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม แต่การประกาศสันติภาพในครั้งนั้นมีผลทำ�ให้ไทยไม่เป็น ผู้แพ้สงครามในสงครามโลกครั้งที่๒ ไม่ต้องวางอาวุธ ไม่ต้องยอม จำ�นน เหตุการณ์นเี้ ป็นเหตุการณ์ส�ำ คัญอย่างยิง่ ในประวัตศิ าสตร์ สามารถเทียบกับการกู้ชาติไทยได้ทีเดียว (แต่ อ.ปรีดี ไม่เสนอให้ เรียกอย่างนี้ ท่านถือว่ารับใช้ชาติ แต่จะกล่าวดังนัน้ แล้วนับว่าสมควร โดยแท้) อันบุคคลทีท่ �ำ ให้ประเทศไทยมิพา่ ยแพ้นนั้ ก็คอื “ขบวนการ เสรีไทย” ซึง่ ได้อทุ ศิ ชีวติ ของตนเพือ่ ปกป้องเอกราชของประเทศไทย มิยอมจำ�นนต่อประเทศผู้รุกราน หากมิมีขบวนการนี้ ประเทศไทย ย่อมสูญสิ้นเอกราชแต่นั้นมา เหล่าขบวนการเสรีไทยได้เสียสละชีวิตของตนเพื่องานใน ครั้งนั้น เช่น นายจำ�กัด พลางกูร เป็นต้น รวมถึงเป็นวันแห่งความ “ปรองดอง” “สมานฉันท์” โดยแท้จริง คือ ขบวนการเสรีไทยนี้ มีทั้งฝ่ายคณะราษฎร์ และฝ่ายคณะเจ้า เข้าร่วมกัน เพื่อปกป้อง เอกราชอธิปไตยไว้มิให้ถูกย่ำ�ยี วันนี้จึงสมควรยิ่งที่จะมีการรำ�ลึกขึ้น ถึงสมาชิกขบวนการ เสรีไทย ผู้ได้ทำ�คุณานุประโยชน์ต่อประเทศไทย และทำ�ให้เรา ตระหนักถึงโทษภัยของสงคราม โดยตระหนักไว้วา่ โทษทัณฑ์ของ สงครามนั้นเลวร้ายยิ่ง ทำ�ลายล้างผลาญเพื่อนมนุษย์ ในเรื่องนี้ก็ อาจจะสามารถช่วยเตือนสติเพือ่ นมนุษย์จ�ำ นวนหนึง่ ทีโ่ ดนอุดมการณ์

ชาตินิยม “คลั่งชาติ” ที่สนับสนุนทำ�สงครามกับประเทศเพื่อน บ้านให้มีสติได้ และจำ�เป็นต้องตราพุทธศาสนสุภาษิตไว้คือ “ไม่มี สุขใดเสมอด้วยความสงบสันติ –นตถิ สนติปร สุข” ๑๖ สิงหาคม “วันสันติภาพไทย” ได้เวียนมาครบบรรจบ ๖๗ ปีในปีนี้ เป็นมหามงคลยิ่งที่ทางเราทั้งหลายควรน้อมระลึกถึง วันนั้น วันที่เราประกาศสันติภาพ อันสันติภาพจะเกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าไม่เรียนรูอ้ ดีตทีผ่ ดิ พลาดและปรับปรุงแก้ไข (ประเทศไทยไม่เคย รำ�ลึกถึงเรื่องนี้เลย แม้ในตำ�ราเรียนก็แทบมิเอ่ยถึง) ข้าพเจ้าขออ้างคำ�ของ รศ.ดร.วราภรณ์ สามโกเศศ ปิด ท้ายท่านกล่าวไว้อย่างน่าสำ�เหนียกว่า...

“เป็นโอกาสดีที่คนไทยรุ่นปัจจุบัน จะได้ ระลึกถึงเหตุการณ์สำ�คัญในอดีต(วันสันติภาพ ไทย) ที่คนรุ่นก่อนได้ใช้สติปัญญา ความสุขุม รอบคอบในการแก้ไขปัญหาของชาติ และจะได้ รำ�ลึกถึงความเสียสละของกลุ่มเสรีไทย ที่ได้ใช้ ความสามัคคี ความร่วมมือกันมุ่งมั่นรักษาผล ประโยชน์ของชาติและประชาชนในยามคับขัน อย่างกล้าหาญ ประวัติศาสตร์ย่อมซ้ำ�รอยเสมอ ถ้าเราไม่มีความสำ�นึกในประวัติศาสตร์แล้ว ถือ ได้ว่าเรากำ�ลังใช้ชีวิตอยู่บนความประมาทอย่าง ยิ่ง”


8

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

จัดตั้ง

สมุดบันทึกสีแดง

เอียน! วันสำ�คัญ เพราะมัน คือ เครื่องมือทางการเมืองฮ่ะ! วันสำ�คัญต่างๆ บ่อยครัง้ มักจะเป็นเครือ่ งมือทางการเมืองโดย เฉพาะวันนัน้ จัดขึน้ เพือ่ เชิดชูปจั เจกและเอาปัจเจกมาเป็นโลโก้เพือ่ เป็น ตัวแทนของคนทัง้ สังคม โดยละเลยบทบาทของคนส่วนใหญ่ คนธรรมดา เครื่องมือทางการเมืองชนิดนี้จะเปิดช่องให้มีการประณามคนที่ไม่เข้า กรอบไม่เข้ากติกาของสังคม ซึ่งกรอบและกติกาของสังคมที่ยึดถือนั้น ไม่ได้หมายความว่ามันดีแต่อย่างใด บ่อยครั้งค่อนข้างปฏิกิริยาและน่า รังเกียจ เพราะมันถูกกำ�หนดขึ้นมาโดยคนส่วนน้อย เพื่อผลประโยชน์ ของคนส่วนน้อย วันที่เป็นเครื่องมือทางการเมือง มันจะทำ�งานโดยการเบี่ยง เบนประเด็นไม่ให้เรามองเห็นรากเหง้าของปัญหาว่ามันมาจากที่ใดกัน แน่ เช่น ถ้าลูกเต้าเหล่าใคร เรียนไม่จบ ตกงาน ไม่มีอนาคต ติดยา เต้น โคโยตี้ เป็นหญิงขายบริการทางเพศ ก็จะถูกประณาม เท่านั้นยังไม่ พอการประณามจะลามไปด่าพ่อแม่ โครตเหง้าตระกูลด้วย โทษฐานที่ เลี้ยงดูอบรมสั่งสอนไม่ดี นี่แหละความเป็นไทยที่ถูกกำ�หนดโดยคนส่วนน้อย แทนที่จะ ตั้งคำ�ถามว่าสังคมประเภทไหนที่ปล่อยให้คนเป็นจำ�นวนมากตกงาน ไม่มีความมั่นคงในชีวิต สังคมแบบไหนที่ไม่จัดการศึกษาที่ดีให้กับ ประชาชนผู้เป็นเจ้าของประเทศและเสียภาษี สังคมประเภทไหนทีห่ น้า ชื่นตาบานกับการเข่นฆ่าประชาชน แต่หัวหงอกหัวดำ�ที่อยู่ในอำ�นาจ กรีด๊ สลบกับเด็กสาวเต้นโคโยตี้ เด็กสาวเต้นเปลือยในเทศกาลสงกรานต์ การมีวนั สำ�คัญไม่ได้ให้การศึกษาด้านบวกกับประชาแต่อย่าง ใด แต่ท�ำ ให้คนบางส่วนใช้เหตุผลไม่เป็น ลำ�ดับความสำ�คัญอะไรไม่คอ่ ย ถูก เช่น เต้นเปลือยเป็นเรือ่ งร้ายแรงกว่าการฆ่าเพือ่ มนุษย์ดว้ ยกัน โดยที่ เขาเหล่านั้นเรียกร้องความเป็นธรรม ความเป็นประชาธิปไตย... การมีวนั สำ�คัญทีเ่ กีย่ วข้องกับวันสำ�คัญของครอบครัวแก้ปญ ั หา หรือไม่...คำ�ตอบคือ... “ไม่เลย” แต่มันช่วยไม่ให้คนส่วนน้อยในสังคม ต้องมีภาระ สามารถชูหน้าชูตาลอยอยู่ในสังคมได้ ไม่ต้องเสียภาษีเพิ่ม

ขึ้น รัฐบาลก็ฉวยโอกาไม่ต้องจัดการอะไรเพื่อเพิ่มความมั่นคง การมี ศักดิศ์ รีของคนธรรมดาอย่างใดทัง้ สิน้ เกิดปัญหาอะไรขึน้ ก็อธิบายและ กล่าวโทษบุคคลเป็นรายๆ ไป ง่ายดี...จบ! โดยส่วนตัวของผู้เขียน รังเกียจวันสำ�คัญแบบนี้มาก อยากจะ เรียกร้องให้ยกเลิกไปเลย เห็นแล้วรำ�คาญ วันที่ไร้ประโยชน์แบบนี้ถูก ทำ�ให้เป็นเรือ่ งใหญ่มาก แต่เรือ่ งทีใ่ หญ่มากๆ เช่น 'ไทย'ฉาว-ติดอันดับ โลกทารุณเมีย1 กลับเป็นข่าวเพียงเล็กๆ แถมองค์กรที่ได้เงินเพื่อจัด ทำ�การรณรงค์ในเรือ่ งนี้ ก็มปี ระวัตอิ นั ยาวยืดในความมักง่าย เช่น อธิบาย ว่าความรุนแรงในครอบครัวมีสาเหตุหลักมาจากการดืม่ เหล้า ความเครียด หรือสภาวะความไม่เป็นธรรมในสังคม ภาระในครอบครัวทีเ่ กินขีดความ สามารถของคนๆ หนึ่ง ไม่ได้เกี่ยวข้องแต่อย่างใด ก็อย่างว่าหละนะ วันสำ�คัญแย่ๆ มันก็ทำ�ให้องค์กรแบบนี้ออก มาพูดอะไรชุ่ยๆ ก็ได้ ถ้าใช้สมองนิดหนึ่งโดยมองไปที่ประเทศที่ไม่ดื่ม เหล้าเช่น ประเทศมุสลิม ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัวสูงมาก โดยที่ชายในประเทศนั้นไม่ดื่มเหล้า ..อะฮ้าถ้าเราคิดสักหน่อยเราก็จะ พบว่าปัจจัยหลักมันไม่ได้อยู่ที่การดื่มเหล้านี่นะ.. ล่าสุดก็ออกสปอตโฆษณารณรงค์ให้คนงดดื่มเหล้า โดยอ้าง ว่าดื่มเหล้าแล้วทำ�ให้คนไม่มีความเป็นมนุษย์แต่กลายเป็นสุนัข ตอนนี้ คนส่วนหนึ่งในสังคมโดยเฉพาะพวกที่อยู่ในอำ�นาจก็เป็นสัตว์ไปแล้ว เพราะแยกแยะอะไรไม่ค่อยถูกแถมกระหายเลือด ฆ่าคนธรรมดาใน สังคมทีร่ กั ประชาธิปไตย รอบแล้วรอบเล่า จับคนบริสทุ ธิเ์ ข้าคุก คนแล้ว คนเล่า วันสำ�คัญทีไ่ ม่ได้เป็นวันสำ�คัญของคนส่วนใหญ่ เช่น วันกรรมกร สากล หรือ 24 มิถุนา การมีวันเหล่านี้มากไป มีแต่จะสร้างปัญหาสังคม ให้ขยายตัวไปเรื่อยๆ ฉะนั้นยกเลิกวันสำ�คัญเพื่อคนส่วนน้อยกันเถอะ แล้วหันมาเชิดชูบทบาทของวีรชน คนทีต่ อ่ สูเ้ พือ่ คนส่วนใหญ่ แต่ถกู คน ส่วนน้อยลบความสำ�คัญของพวกไปเขาไป

1 http://www.khaosod.co.th/view_news.php?newsid=TUROaVoyc3dNVEV5TURjMU5RPT0%3D&sectionid=TURNek1nPT0%3D&day=TWpBeE1p MHdOeTB4TWc9PQ%3D%3D (10/08/2012)


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

9


10

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

สังคมใหม่

turnleftthai.blogspot.com

ลั่นทมขาว

โอลิมปิกเปิดโปงธาตุแท้ของทุนนิยมตลาดเสรี

การแข่งกีฬาโอลิมปิกที่อังกฤษปีนี้เปิดโปงธาตุแท้ของ ทุนนิยมตลาดเสรีให้เราเห็นชัดมาก เพราะโอลิมปิกเป็นมหาเทศกาล ของกลุ่มทุน กีฬาแท้ๆ เป็นเพียงเรื่องข้างเคียงหรือของแถม ในประการแรกการแข่งโอลิมปิกครั้งนี้ และทุกครั้งที่ผ่าน มาในรอบยี่สิบปี เป็นการใช้เงินมหาศาลในการสร้างภาพประโคม ความ “ยิ่งใหญ่” ของประเทศเจ้าภาพ โดยที่ประชาชนคนจนต้อง เป็นผูจ้ า่ ยในทีส่ ดุ เพราะใช้งบประมาณรัฐในการจัดงานจนประเทศ เป็นหนี้เพิ่มขึ้น การใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือยนี้กระทำ�ไปในขณะที่เงิน แบบนี้ควรจะนำ�มาพัฒนามาตรฐานชีวิตของพลเมืองทั่วไป ในอังกฤษตอนนี้รัฐบาลผสมของพรรคนายทุนสองพรรค กำ�ลังตัดเงินเดือน สวัสดิการ และตำ�แหน่งงานมากมายเพราะอ้าง ว่า “ไม่มีเงิน” อ้างว่า “ต้องประหยัดเพื่อลดหนี้ภาครัฐ” โดย ไม่ไปเก็บหนี้จากธนาคารและกลุ่มทุนที่สร้างวิกฤตเศรษฐกิจทั่ว โลก ในพิธเี ปิดงานคนจัดยังหน้าด้านกล่าวถึงระบบสุขภาพอนามัย รัฐสวัสดิการ National Health Service ว่าเป็น “ความเป็น อังกฤษ” แต่รัฐบาลนี้กำ�ลังทำ�ลาย NHS เพื่อเพิ่มกำ�ไรสำ�หรับ กลุ่มทุน

การจัดงานโอลิมปิกที่ประเทศจีนสิ้นเปลือง งบประมาณมหาศาลในขณะที่พลเมืองจีนจำ�นวน มากยากจนและขาดรัฐสวัสดิการ การจัดงานที่ กรีสก่อนหน้านั้นยังเป็นสาเหตุหนึ่งที่รัฐบาลกรีส มีหนี้สูง

มันเป็นลักษณะทั่วไปของผู้ที่ควบคุมระบบทุนนิยม ที่จะ อ้างว่า “เราต้องประหยัด” หรือ “เราต้องมีวินัยทางการคลัง” (อย่างทีป่ ระชาธิปตั ย์พดู มาตลอด) เมือ่ กล่าวถึงงบประมาณสวัสดิการ หรืองบประมาณที่จะพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ของพลเมืองส่วน ใหญ่ แต่ในขณะเดียวกันพิธใี หญ่โตต่างๆ ของชนชัน้ ปกครองมีการ ใช้เงินรัฐมากมาย และพวกข้างบนมักแจกจ่ายโบนัสใหญ่โตให้ตัว เองเสมอ ลัทธิเสรีนิยมกลไกตลาดมันสองมาตรฐานแท้ๆ มันคือ เสรีภาพที่จะกดขี่คนจน และเสรีภาพสำ�หรับนายทุนในการกอบ โกย บางคนอาจสงสัยว่าทำ�ไมรัฐต้องจ่ายเงินมากมายในการ สร้างสนามกีฬา การจัดพิธีกรรม และการจ้างเจ้าหน้าที่ต่างๆ เพื่อ จัดงานโอลิมปิก ในเมื่อมีสปอนเซอร์จากธุรกิจเอกชนมากมาย คำ� ตอบคือการให้กลุม่ ทุนใหญ่อย่างโค้ก McDonald visa หรือ Dow เป็นสปอนเซอร์นั้นเป็นการรับเงินมาส่วนหนึ่งเพื่อจัดงาน แต่ที่ สำ�คัญกว่านัน้ คือเป็นโอกาสทองทีบ่ ริษทั เหล่านีจ้ ะได้โฆษณาตนเอง และสร้างภาพว่า “ช่วยสังคม” สำ�หรับบริษทั เคมี Dow นัน้ สำ�คัญ มากเพราะมันเป็นบริษัทที่ปล่อยก๊าซพิษออกมาจากโรงงานใน อินเดียจนประชาชนล้มตายและป่วยเป็นพัน และไม่ยอมจ่ายค่า ชดเชยเพียงพอแต่อย่างใด พร้อมกันนั้นบริษัทเหล่านี้สามารถลด หย่อนภาษีเพราะเป็นสปอนเซอร์ได้ การแข่งกิฬาโอลิมปิกอาจทำ�ให้หลายคนคิดถึงการแข่งขัน “เสรี” ในตลาด ที่พวกกลุ่มทุนและนักวิชาการสาย “เสรีนิยม ใหม่” ชืน่ ชมกันนัก และก็จริงอย่างทีค่ ดิ เพราะการแข่งขันเสรีไม่มี จริง ในบริเวณงานโอลิมปิกมีการห้ามขายสินค้าของคู่แข่งสปอน เซอร์ ห้ามขาย Pepsi เป็นต้น ห้ามคนใส่เสือ้ Pepsi เข้าสนามกีฬา


turnleftthai.blogspot.com

ด้วย ร้านค้าเล็กๆ ทีต่ งั้ อยูร่ อบๆบริเวณแข่งกีฬา และตัง้ อยูม่ านาน ถูกสั่งให้ปิด พูดง่ายๆ ไอ้ตลาดเสรีของพวกเสรีนิยมคือเสรีภาพที่ จะกอบโกยกำ�ไร แต่ในขณะเดียวกันมีการผูกขาดด้วยวิธกี ารต่างๆ นาๆ เช่นการยึดตลาด การทำ�ลายคูแ่ ข่ง การออกกฏหมายลิขสิทธิ์ เป็นต้น และสำ�รับคนทำ�งานในระบบเสรีนิยมมันไม่เสรีเลย มีกฏ หมายต่างๆ ที่กีดกันการรวมตัวกันเพื่อต่อรองกับนายทุน และกฏ หมายห้ามคนเข้าเมืองอีกด้วย เสรีนยิ มคือ “ผูกขาดนิยม” สำ�หรับ นายทุน

การแข่งขันกีฬาถูกอ้างว่าเป็นการแข่งขัน “เสรี” เหมือนกับตลาดเสรี แต่ในความเป็นจริง ประเทศที่ได้เหรียญทองมากที่สุดเป็นประเทศ มหาอำ�นาจหรือประเทศร่ำ�รวยที่ลงทุนฝึกนักกีฬา ได้ ซึ่งไม่เคยสะท้อนความสามารถของมนุษย์ทั่ว โลกเลย เพราะคนจนที่มีความสามารถไม่มี โอกาสฝึกหรือเข้าแข่งได้ ระบบทุนนิยมเป็นระบบทีก่ ดขีส่ ตรีและคนกลุม่ น้อย โอลิมปิก ก็ไม่ตา่ ง นักกีฬาผูห้ ญิงจำ�นวนมากต้องต่อสูม้ ายาวนานเพือ่ มีโอกาส แข่งในรูปแบบเท่าเทียมกับชายในกีฬาทุกประเภท ครัง้ นีท้ อี่ งั กฤษ กรรมการจัดงานพยายามขัดขวางนักกีฬาจูโดของประเทศซาอุที่ ต้องการใส่ผ้าคลุมหัวฮิญาบ และทีมชายจากออสเตรเลียได้นั่ง เครื่องบินชั้นธุรกิจในขณะที่ทีมหญิงต้องนั่งชั้นประหยัด

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

11

การจัดงานโอลิมปิกเป็นโอกาสทองของนายธนาคาร นายทุน บริษทั ต่างๆ และพวกอภิสทิ ธิช์ นทีแ่ ต่งตัง้ ตนเองเข้าไปในกรรมการ โอลิมปิก ทีจ่ ะกอบโกยกำ�ไรมหาศาล แต่ประชาชนต้องจ่าย ยิง่ กว่า นั้นจะมีการสงวนที่นั่งฟรีจำ�นวนมากให้พรรคพวกของตนเอง แต่ ประชาชนธรรมดาต้องซื้อตั๋ว ... มันแย่กว่านั้นอีก... ในการแข่งขันที่ลอนดอนปรากฏว่าที่ นั่งฟรีของพวกกลุ่มทุนว่างเป็นแถวๆ แต่ประชาชนที่อยากดูกีฬา เข้าไม่ได้ มันเป็นภาพที่สะท้อนความเหลื่อมล้ำ�ทั่วไปของระบบ ทุนนิยมในโลก พวกข้างบนมือยาวสาวได้สาวเอาทัง้ ๆ ทีไ่ ม่มคี วาม จำ�เป็น แต่ประชาชนอดอยาก บ่อยครัง้ มีการผลิตล้นเกินท่ามกลาง ความต้องการของคนจน มีการทำ�ลายอาหารเพื่อพยุงราคาด้วย แต่เกษตรกรเล็กๆ ไม่เคยได้ประโยชน์ ท่ามกลางการจัดโอลิมปิกที่ลอนดอน แม่น้ำ�แทมส์เต็มไป ด้วยเรือส่วนตัวราคาแพงของพวกเศรษฐี มันเป็นเทศกาลของนาย ทุนจริงๆ และเมื่องานสิ้นสุดลง สนามกีฬาต่างๆ ที่สร้างไว้ ก็ไม่ เหมาะสมกับการถูกนำ�มาใช้โดยชุมชนต่างๆ เพือ่ ส่งเสริมกีฬาของ คนธรรมดาโดยเฉพาะคนจน เราคงเห็นภาพชัดเจนจากสนามกีฬา ต่างๆ ที่ธรรมศาสตร์หรือรามคำ�แหงหลังกีฬาเอเชีย พวกทีค่ ลัง่ เสรีนยิ มตลาดเสรีมกั จะท่องสูตรเหมือนนกแก้ว ว่า “ภาคเอกชนมีประสิทธิภาพมากกว่าภาครัฐ” แต่ในโลกแห่ง ความเป็นจริง บริษทั G4S ทีถ่ กู จ้างมาเพือ่ จัดพนักงานรักษาความ ปลอดภัยสำ�หรับงานโอลิมปิค รับเงินจากรัฐแต่ไม่สามารถจัด พนักงานมาเพียงพอ รัฐบาลเลยต้องนำ�ทหารมาทำ�แทน มันเป็น ภาพทีส่ ะท้อนการโกหกของพวกเสรีนยิ มทีค่ ลัง่ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (อ่านต่อหน้า 12)


12

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

(ต่อจากหน้า 11)

ในยุคปัจจุบันพิธีเปิดงานโอลิมปิกมักจะ เป็นงานมโหฬารที่มีการ “สวนสนาม” ของ นักกีฬาในรูปแบบทหาร โดยทีมต่างๆ เดินตาม ธงชาติ รูปแบบนี้ และการถือโคมไฟโอลิมปิกวิ่ง ตามเมืองต่างๆ เป็นสิ่งที่ริเริ่มในสมัยที่ฮิตเลอร์ ครองเยอรมันและจัดงานโอลิมปิกในปี 1936 ภายใต้ระบบนาซีฟาสซิสต์ และแน่นอนฮิตเลอร์ต้องการจัดงานครั้งนั้นเพื่อพิสูจน์ “ความยิง่ ใหญ่” ของเยอรมัน และเชือ้ สายอารยันภายใต้เผด็จการ นาซี แต่ฮิตเลอร์ต้องผิดหวังเมื่อนักวิ่งผิวดำ�จากสหรัฐได้เหรียญ ทอง โอลิมปิกกับทุนนิยมตลาดเสรีมจี ดุ ร่วมตรงทีส่ ง่ เสริมระบบ เผด็จการถ้าจำ�เป็น และส่งเสริมการคลั่งชาติ ระบบฟาสซิสต์ หรือ นาซี เป็นระบบทีน่ ายทุนพร้อมจะสนับสนุนในยามวิกฤต เพือ่ ทำ�ลาย การต่อสู้ของชนชั้นกรรมาชีพผู้ทำ�งาน เหมือนกับที่นายทุนไทย หลายคนสนับสนุนรัฐประหารบ่อยๆ ในปี 1968 ที่เมกซิโก รัฐบาลเผด็จการเข่นฆ่านักศึกษา เป็นพันในขณะที่จัดงานโอลิมปิก นักศึกษาเหล่านั้นกำ�ลังประท้วง เรียกร้องประชาธิปไตยและความเป็นธรรมในระบบการศึกษา และ ท่ามกลางการสร้างสนามกีฬาใหม่มีการขับไล่คนจนในสลัมออก จากบ้านด้วยความรุนแรง เพือ่ “ขอคืนพืน้ ที”่ สำ�หรับการก่อสร้าง ที่อังกฤษมีการตั้งจรวดยิงเครื่องบินบนหลังคาตึกคอนโด ของประชาชน และรอบๆ บริเวณสนามกีฬาเหมือนกับว่ามีการ ประกาศกฎอัยการศึกห้ามประท้วงแน่นอนความกังวลของรัฐบาล อังกฤษเรือ่ งการก่อการร้าย มาจากการทีร่ ฐั บาลอังกฤษก่อสงคราม ก้าวร้าวทัว่ โลกร่วมกับสหรัฐ เพือ่ ปกป้องผลประโยชน์กลุม่ ทุน และ เพื่อพิสูจน์ความยิ่งใหญ่ของตนเอง ในงานโอลิมปิกทุกครัง้ มีการประโคมลัทธิชาตินยิ มโดยทุก ฝ่าย จนคนส่วนใหญ่เกือบจะไม่สนใจดูความสามารถของนักกีฬา ในฐานะที่เป็นเพื่อนมนุษย์ แต่จะมานั่งนับจำ�นวนเหรียญทองที่

“ทีมของเรา” ได้เป็นหลัก นักกีฬาหลายคนต้องโบกธงชาติหรือ ถือรูป ทั้งๆ ที่เขาเป็นคนออกแรงเองคนเดียว นักกีฬาผิวดำ�ในยุโรปทีไ่ ด้เหรียญจะถูกสือ่ กระแสหลักเรียก ว่า “พวกเรา” แต่พองานกีฬาจบไป สื่อเหล่านั้นก็จะมาด่าคนผิว ดำ�ว่า “ไม่ใช่พวกเรา” ลัทธิชาตินิยมเป็นความคิดสำ�คัญสำ�หรับ คนที่คุมระบบทุนนิยม เพราะมันกล่อมเกลาพลเมืองให้จงรักภักดี ต่อผู้ปกครอง โดยลืมความขัดแย้งทางชนชั้นและการกดขี่ขูดรีด ในสมัยนี้นักกีฬาที่แข่งขันในโอลิมปิก มีสภาพเหมือน กรรมาชีพที่ถูดกดขี่ขูดรีดในระบบทุนนิยม เพราะเขาถูดกดดันจน หลายคนไปใช้ยากระตุ้นต่างๆ นาๆ มันสะท้อนภาพว่าในระบบ ทุนนิยมกีฬาถูกทำ�ให้เป็นเรื่องเงิน และเมื่อเป็นเรื่องเงินการชนะ ด้วยวิธีต่างๆ ไม่ว่าจะโกงแค่ไหน และไม่ว่าจะมีผลเสียต่อสุขภาพ นักกีฬาแค่ไหน กลายเป็นเรือ่ งหลัก และแน่นอนมีการสร้าง “ตำ�รวจ กีฬา” มาจับผิดคนที่ใช้ยาเคมี แต่มันไม่ต่างจากนายจ้างในไทยที่ กดดันลูกจ้างให้ใช้ยา เพือ่ ทำ�งานหลายชัว่ โมงเกินกะ แล้วมีต�ำ รวจ ของรัฐมาจับผิดภายหลัง โอลิมปิกคือการแข่งกีฬาของระบบทุน ทีจ่ ดั เพือ่ กำ�ไร แต่ในขณะเดียวกันก็มีการต่อสู้ต่อต้าน ในยุคระหว่างสงครามโลกครัง้ ทีห่ นึง่ และสอง นักกีฬาฝ่าย ซ้ายในยุโรป โดยเฉพาะที่เยอรมัน มีการจัดกีฬา “โอลิมปิกของ กรรมกร” ที่ไม่เน้นชาตินิยมหรือการแข่งขันสุดขีด และนักกีฬา ชายกับหญิงมีฐานะเท่ากัน ในการแข่งกีฬาโอลิมปิกปี 1968 นักกีฬาผิวดำ�จากสหรัฐ และนักกีฬาผิวขาวจากออสเตรเลีย ที่ได้เหรียญทอง เงิน และ ทองแดง ได้ร่วมกันประท้วงเพื่อสิทธิเท่าเทียมของคนผิวดำ� ซึ่ง กลายเป็นข่าวทั่วโลก แต่แน่นอน พวกไดโนเสาร์ที่คุมกรรมการ โอลิมปิกไม่พอใจเป็นอย่างมาก กีฬา หรือ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ หรือ การศึกษา หรือเรื่อ งอื่นๆ ในสังคมปัจจุบัน เป็นดาบสองคม ถ้าผู้ที่คุมระบบทุนนิยม ครอบงำ�สิง่ เหล่านี้ มันก็จะกลายเป็นสิง่ ชัว่ ร้ายทีร่ องรับผลประโยชน์ ของพวก 1% ที่เป็นชนชั้นปกครอง แต่ถ้าพลเมืองทุกคนยึดมันมา เป็นของกลางด้วยการล้มทุนนิยม มันจะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ ได้ นั้นคือสาเหตุที่เราต้องกำ�จัดระบบเผด็จการของทุนนิยมและ สร้างประชาธิปไตยของสังคมนิยมแทน


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

มุมประวัติศาสตร์

13 C.H.

ระบบทาสกับการเหยียดสีผิว

ก่อนศตวรรษที่ 18 ทาสส่วนใหญ่ในโลกไม่ใช่คนผิวดำ� และคำ�ว่า slave (ทาส) ในภาษาอังกฤษมาจากคำ�ว่าเชื้อชาติ “สลาฟ” ในยุโรปกลาง ในขั้นตอนแรกของการบุกเบิกทวีป อเมริกามีการใช้แรงงานเกษตรพันธสัญญาจากยุโรป ที่ต้อง ทำ�งานฟรีหลายปี แต่ระบบนีส้ ร้างแรงงานน้อยเกินไป จึงมีการ หันมาใช้แรงงานทาสผิวดำ�ที่ถูกจับในทวีปอัฟริกาและนำ�ไป ขายโดยหัวหน้าเผ่าพื้นเมืองเอง ระบบทาสในทวีปอเมริกาและเกาะคาริเบีย้ น เชือ่ มโยง และเสริมเศรษฐกิจทุนนิยมที่กำ�ลังเติบโตในอังกฤษและที่อื่น ของยุโรปในลักษณะ “สามเหลีย่ มของการค้าขาย” คือ ผลผลิต จากอังกฤษ เช่นเครื่องมือเหล็ก อาวุธ และผ้า ถูกแลกกับทาส ที่อัฟริกา ทาสเหล่านั้นจะถูกขนส่งไปขายในอเมริกาและคาริ เบี้ยน และเงินจากการขายทาสจะนำ�ไปซื้อน้ำ�ตาล ยาสูบ และ ฝ้าย เพื่อขายในยุโรป ระบบทาสเป็นระบบที่ขัดแย้งโดยสิ้นเชิงกับความเท่า เทียมของมนุษย์

นักปรัชญา “ยุคแสงสว่าง” อาจนั่งดื่มกาแฟ และพูดคุยเรือ่ งเสรีภาพ แต่กาแฟ และน้ำ�ตาลทีเ่ ขา ดืม่ หรือบุหรีท่ เี่ ขาสูบ ล้วนแต่มาจากแรงงานบังคับ ของทาสทั้งสิ้น ข้อแก้ตัวที่นักคิดและนักธุรกิจใช้ เพื่อสร้างความชอบ ธรรมกับระบบทาสมีสองข้อคือ ข้อแก้ตวั อันแรกคือการมองว่าทาสเป็นแค่ทรัพย์สมบัติ

ปัจเจก ดังนั้นคนที่สนับสนุนสิทธิในทรัพย์สมบัติ อย่าง จอห์น ลอค ซึง่ ถือหุน้ ในบริษทั ไี่ ด้ประโยชน์จากการค้าทาส จะมองว่า ระบบทาส “ไม่ผิดศีลธรรม” ข้อแก้ตวั ทีส่ อง คือการเสนอว่าคนผิวดำ� “ไม่ใช่มนุษย์” ดังนัน้ อุดมการณ์ความเท่าเทียมของมนุษย์ หรือความคิดศาสนา คริสต์ “ไม่ขัดแย้ง” กับระบบทาส นี่คือรากฐานกำ�เนิดของ ความคิดที่เหยียดสีผิวหรือเกลียดชังคนผิวคล้ำ� และความคิด แบบนี้มีความสำ�คัญในการสร้างความแตกแยกระหว่างคน ธรรมดาผิวขาวกับคนผิวดำ� เพื่อไม่ให้คนชั้นล่างสามัคคีและ ร่วมต่อสู้กับคนชั้นบน เพราะในอดีตมนุษย์ไม่เคยให้ความ สำ�คัญกับสีผวิ ในอียปิ ต์หรือโรมคนสีผวิ แตกต่างกันมีทวั่ ไปใน ทุกระดับของสังคม ระบบทาสทำ�ลายเศรษฐกิจอัฟริกา เพราะการนำ�เข้า สินค้าอุตสาหกรรมจากอังกฤษ ทำ�ลายอุตสาหกรรมพื้นเมือง และการจับทาสทำ�ให้ประชากรผู้ผลิตในอัฟริกาลดลงด้วย ซึ่ง ทั้งหมดนี้เปิดทางให้ตะวันตกเข้ามายึดครองอัฟริกาเป็น อาณานิคมได้ง่ายขึ้น


14

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

คน ค้น คิด

turnleftthai.blogspot.com

สมยศ พฤกษาเกษมสุข

ที่มา www.prachatai.com

คุกตะราง กับบาดแผลและตราบาปของสังคมไทย(1) มนุษย์ไม่อาจดำ�รงอยู่ได้หากปราศจากเสรีภาพ ซึ่งเป็นหลัก ประกันศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ พัฒนาการของมนุษย์เป็นการต่อสูด้ นิ้ รน จากการถูกจำ�กัดมาสูอ่ สิ รเสรี การจำ�กัดเสรีภาพจึงต้องมีขอบเขตจำ�กัด และควบคุมมนุษย์ให้น้อยที่สุดเท่าที่จำ� เป็นเท่านั้น โดยคำ�นึงถึงสิทธิ มนุษยชน และสันติสุขของสังคม มนุษย์เกิดมาย่อมปรารถนาชีวติ ทีด่ ี มีเสรีภาพเต็มที่ การจองจำ� ติดคุกตะราง สูญเสียอิสรภาพย่อมหมายถึงการลดทอนความเป็นมนุษย์ ลงไป คนคุกหรือนักโทษคือ อาชญากรที่ฝ่าฝืนกฎหมายอันเป็นกติ การ่วมกันของสังคม นักโทษเหล่านีย้ อ่ มได้รบั ความทุกข์ทรมานทัง้ ทาง ร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรง แม้กระนั้นจำ�นวนนักโทษมิได้ลดลงแต่ อย่างใด กลับเพิม่ จำ�นวนมากขึน้ และถึงแม้จะมีการสร้างคุกตะรางมาก ขึน้ ก็ยงั ไม่พอรองรับการขยายตัวของนักโทษ จนแต่ละคุกแออัดยัดเยียด แน่นขนัด สภาพความเป็นอยูข่ องนักโทษจึงเลวร้ายไม่ตา่ งไปจากไก่ใน เข่งที่ส่งไปเชือด หรือหมาในกรงขังที่ส่งไปขายที่เวียดนาม

นักโทษส่วนใหญ่เป็นคนยากจน เป็นชนชั้น ล่างของสังคมถูกจับเข้าคุกด้วยข้อหาลัก-ชิงปล้นทรัพย์ หลอกลวง ฉ้อฉล ทำ�ร้ายร่างกายผู้ อื่น อาชญากรเหล่านี้สะท้อนปัญหาด้าน เศรษฐกิจและสังคม กล่าวคือ เป็นคนว่างงาน ยากจน จึงต้องทำ�ผิดกฎหมายเพื่อ ความอยู่รอดของตนเอง การจับคนเหล่านี้เข้าคุกตะพึดตะพือไม่ได้แก้ ปัญหาอาชญากรรมแต่อย่างใด กลับเพิม่ ความรุนแรง และความสามารถ ในการกระทำ�ความผิดได้ดีมากยิ่งขึ้นไปอีก นักโทษหลายคนเดินเข้า-ออกคุกเป็นว่าเล่น ไม่ได้เข็ดหลาบ หรือสะทกสะท้านสภาพการถูกจองจำ�อันเลวร้ายในคุกแม้แต่น้อย บาง คนปล่อยตัวได้เพียง 5 วันก็กลับเข้ามาอีก มาดี บุญช่วย ชาวศรีสะเกษ วัย 56 ปี เป็นนักโทษที่เข้า-ออก เรือนจำ�พิเศษกรุงเทพ ถึง 5 ครั้งด้วยกัน ครั้งหลังสุดเข้าไปในร้านเซเว่

นอีเลฟเว่น หยิบบะหมี่สำ�เร็จรูป 5 ซอง เดินออกจากร้านไปยืนรอให้ ตำ�รวจมาจับกุม เข้ามาขังอยู่ในคุกอย่างน้อยที่สุดก็มีที่ซุกหัวนอนและ มีข้าวกิน อีกจำ�นวนมากทีถ่ กู คุมขังเป็นนักโทษ ซึง่ ถือเป็นผูบ้ ริสทุ ธิต์ าม หลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญทีร่ ะบุไว้วา่ “ในคดีอาญาต้องสันนิษฐาน ไว้กอ่ นว่า ผูต้ อ้ งหาหรือจำ�เลย ไม่มคี วามผิดก่อนมีคำ�พิพากษาอันถึงที่ สุด แสดงว่าบุคคลใดได้กระทำ�ความผิดจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้น เสมือน เป็นผู้กระทำ�ความผิดไม่ได้” นัน่ เป็นถ้อยคำ�สวยหรู เป็นการยอมรับหลักการสิทธิมนุษยชน ทีป่ รากฏอยูใ่ นรัฐธรรมนูญ แต่ทว่าในความเป็นจริง ศาลมักจะไม่ให้สทิ ธิ การประกันตัว หรือการปล่อยตัวชั่วคราว ด้วยเหตุผลง่ายๆ คือ หนึ่ง คดีมโี ทษสูงกลัวการหลบหนี เป็นเหตุผลครอบจักรวาล เพราะเป็นเพียง การใช้ดลุ ยพินจิ ของผูพ้ พิ ากษา จึงมักปรากฏว่าหากจะได้รบั การประกัน ตัว ตามหลักสิทธิมนุษยชนต้องมีการ “วิ่งเต้น” จ่ายเงินใต้โต๊ะ ตาม ธรรมเนียมปฏิบตั ทิ มี่ มี าช้านาน สอง ผูถ้ กู กล่าวหาไม่มหี ลักทรัพย์ หรือ มีบุคคลน่าเชื่อถือค้ำ�ประกัน ดังนั้นคนยากจนย่อมต้องถูกคุมขัง ไม่ได้ รับสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ส่วนคนรวยมักจะได้รับสิทธิกันง่ายดาย 1. นายประสิทธิ์ วัชรบัณฑิตย์ เป็นวิทยากรบรรยายธุรกิจขาย ตรงให้กับบริษัทอีซี่เน็ตเวิร์คมาเก็ตติ้ง ถูกกล่าวหามีความผิดตามพ รบ.ขายตรง และพรก.กูย้ มื เงินทีเ่ ป็นการฉ้อโกงประชาชน ถูกจับกุมคุม ขังอยูท่ เี่ รือนจำ�พิเศษกรุงเทพกับพวกรวม 13 คน บริษทั ดังกล่าวชักชวน และจูงใจให้ประชาชนทั่วไปเข้าร่วมฟังการบรรยาย อบรม เพื่อลงทุน ซือ้ สินค้าอุปโภคบริโภคทัว่ ไป เช่น ข้าวสาร กาแฟ บะหมีส่ �ำ เร็จรูป ฯลฯ โดยคิดมูลค้าการลงทุนซื้อเป็นหุ้น และจ่ายผลตอบแทนเงินปันผลใน จำ�นวนที่สูงขึ้นภายในระยะเวลา 6 เดือน เขาเป็นนักโทษถูกขังอยูต่ งั้ แต่ปี 2550 เป็นต้นมา ปัจจุบนั อายุ 65 ปี ป่วยเป็นโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน เคยผ่าตัดบายพาสและบอลลูน 2 ครั้ง คดียังอยู่ในระหว่างการไต่สวนของศาลมา 4 ปีแล้ว ยังไต่สวน ไม่เสร็จ ได้ขอใช้สิทธิประกันตัว พร้อมหลักทรัพย์ตามเกณฑ์กำ�หนด มา 9 ครั้งแล้ว ศาลไม่อนุมัติ ช่วง 4 ปีในคุกบุตรสาวล้มป่วยจนเสียชีวิต โดยที่นายประสิทธิ์ไม่สามารถไปร่วมงานศพของลูกสาวได้ 2. นายมานพ เอีย่ มสะอาด ผูต้ อ้ งหาในความผิดตามพรบ.ขาย


turnleftthai.blogspot.com

ตรง และพรก.กู้ยืมที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน ในคดีเดียวกันกับนาย ประสิทธิ์และพวก 13 คน ตำ�รวจจับกุมตัวเขาได้ และส่งตัวขังคุก เมื่อ วันที่ 10 เมษายน 2555 ได้รับการประกันตัวปล่อยออกไป เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555 3. นายประภากร วรวรรณ ณ อยุธยา ผู้ต้องหาในความผิด ฐานลักทรัพย์บัตรเครดิตผู้อื่น นำ�ไปใช้ชำ�ระซื้อสินค้าลงชื่อในบันทึก การขาย เป็นการปลอมเอกสารสิทธิ ศาลตัดสินจำ�คุก 3 กระทง กระทง ละ 2 ปี มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษหนึ่งในสาม รวม 4 ปี 16 เดือน นายประภากรต่อสู้คดี นำ�สืบเป็นราชนิกูล ร่ำ�รวยมาก ไม่มี ความจำ�เป็นลักทรัพย์ แต่ทกี่ ระทำ�ลงไป เพราะมีจติ บกพร่อง หรือโรคจิต ที่เรียกว่า “Bipolar Disorder” มีหลักฐานเป็นเวชระเบียบ และนาย แพทย์โรงพยาบาลวิชัยยุทธ มาเบิกความว่านายประภากรป่วยทางจิต อารมณ์แปรปรวน หากอาการกำ�เริบไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมตนเอง ศาลวินจิ ฉัยว่านายประภากรประกอบอาชีพขายน้�ำ หอมทีห่ า้ ง มาบุญครอง สามารถอธิบายสินค้าและเจรจาต่อรองได้ ทำ�ความผิดด้วย การใช้อุบาย ระหว่างสอบสวนโต้ตอบได้ ข้อเท็จจริงฟังไม่ได้ว่ากระทำ� ความผิดเพราะจิตบกพร่อง ตามมาตรา 65 ประมวลกฎหมายอาญา ต่อมาเดือนกรกฎาคม 2555 นายประภากรยืน่ คำ�ร้องขอประกัน ตัว ศาลอุทธรณ์พิเคราะห์ว่าเป็นโรคจิตประเภทอารมณ์แปรปรวน ทำ�ความผิดหลายครั้ง สอดคล้องกับคำ�วินิจฉัยของแพทย์ หากปล่อย ตัวชัว่ คราวจะเป็นอันตรายต่อสังคม และกลัวการหลบหนี จึงไม่อนุญาต ประกันตัว นายประภากรถูกคุมขังมา 2 ปี ไม่มีญาติมาเยี่ยมเยือนปล่อย ให้เป็นนักโทษราชนิกลู อนาถา ทำ�ให้ขาดโอกาสการรับการรักษาพยาบาล ให้หายขาดเป็นปกติได้ 4. นายอริสมันต์ พงษ์เรืองรอง แกนนำ�แนวร่วมประชาธิปไตย ขับไล่เผด็จการ (นปช.) ถูกกล่าวหาก่อการร้าย ยุยงปลุกปั่นประชาชน ก่อความวุน่ วายหลายครัง้ ด้วยกัน หลบหนีการจับกุมเป็นเวลา 1 ปี กลับ เข้ามามอบตัวถูกจับขังคุกเมื่อ 7 ธันวาตม 54 ได้รับสิทธิการประกันตัว ออกไปเมื่อ 28 ธันวาคม 2554 5. นายสุรภักดิ์ อายุ 41 ปี สมาชิกแนวร่วมประชาธิปไตยขับ ไล่เผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ถูกกล่าวหาว่าโพสต์ขอ้ ความในเครือข่าย สังคมออนไลน์ Facebook จำ�นวน 5 ครั้ง ถูกจับเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2554 นายสุรภักดิป์ ฏิเสธทุกข้อกล่าวหา ยืน่ คำ�ร้องขอประกันตัว 5 ครัง้ ศาลไม่อนุญาตเกรงว่าจะหลบหนี 6. สนธิ ลิ้มทองกุล ถูกกล่าวหาร่วมกันทำ�รายงานการประชุม กรรมการบริษัทเป็นเท็จเกี่ยวกับการค้ำ�ประกันเงินกู้กับธนาคารกรุง ไทย 6 ครัง้ เป็นเงิน 1,078 ล้านบาท โดยไม่ท�ำ รายงานต่อตลาดหลักทรัพย์ เป็นการลวงนักลงทุน ศาลพิพากษาจำ�คุก 85 ปี นายสนธิรับสารภาพ ลดโทษเหลือ 42 ปี แต่กฎหมายลงโทษสูงสุด 20 ปี แต่นายสนธิได้รับ การประกันตัวด้วยหลักทรัพย์ 10 ล้านบาท ระยะเวลา 1 ปี ที่ผมถูกคุมขัง เป็นนักโทษการเมืองตั้งแต่วัน

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

15

ที่ 2 พฤษภาคม 2554 ที่เรือนจำ�พิเศษกรุงเทพ ได้เจอะเจอผู้ถูกกล่าว หาถูกคุมขัง ได้รับทราบจากการบอกเล่าโดยตรงว่า สำ�หรับคนร่ำ�รวย อยู่คุกไม่กี่วันได้รับสิทธิประกันตัวด้วยเงินที่ต้องจ่ายใต้โต๊ะกันรายละ 1-5 ล้านบาท ส่วนหลักทรัพย์เป็นไปตามกฎเกณฑ์กำ�หนดจากโทษที่ ระบุไว้ในกฎหมาย เช่น โทษ 1 ปี ต้องใช้หลักทรัพย์ไม่น้อยกว่า 1 แสน บาท โทษ 10 ปีก็ต้องใช้หลักทรัพย์ 1 ล้านบาท เป็นต้น ในส่วนของผู้พิพากษายังไม่มีการตรวจสอบอย่างโปร่งใส ไม่ ต้องแสดงทรัพย์สินก่อนและหลังรับตำ�แหน่ง ไม่มีการตรวจสอบความ ร่ำ�รวยผิดปกติ เหมือนกับฝ่ายนิติบัญญัติและบริหาร กระบวนการยุตธิ รรมจึงเต็มไปด้วยการทุจริตคอรัปชัน่ กินสิน บาทคาดสินบน ใช้อิทธิพล เส้นสายช่วยเหลือผู้กระทำ�ความผิด ตลอด จนใช้เป็นช่องทางกลั่นแกล้งทางการเมืองและการละเมิดสิทธิเสรีภาพ ของ ประชาชน “จริยธรรม” และ “ศีลธรรม” เป็นเพียงการแอบอ้าง และการโฆษณาชวนเชื่อ เพื่อให้ตนเองอยู่เหนือประชาชน เป็นพวก อภิสิทธิ์ชนในสังคม

อีกประเภทหนึ่งของคนไร้สิทธิเสรีภาพโดย สิ้นเชิง คือผู้ถูกกล่าวหาคดีหมิ่นพระบรม เดชานุภาพ ตามมาตรา 112 ประมวลกฎหมาย อาญา ที่จะไม่มีโอกาสได้รับสิทธิประกันตัว เว้น แต่บุคคลที่เป็นนักการเมือง หรือผู้มีอิทธิพลก็จะ เป็นข้อยกเว้นให้ได้รับการประกันตัวเช่นกัน การไม่ได้รบั สิทธิการประกันตัว เท่ากับเป็นการมัดมือชกผูถ้ กู กล่าวหา ไม่สามารถต่อสู้คดีอย่างเที่ยงธรรม ตามหลักนิติธรรม ผู้ถูก กล่าวหาคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพส่วนใหญ่จึงจำ�เป็นต้องยอมรับ สารภาพใน ภาวะการถูกบีบบังคับเพือ่ รับโทษกึง่ หนึง่ และขอพระราชทาน อภัยโทษต่อไป ทุกวันนี้เราจึงมีนักโทษทั้งที่เป็นผู้บริสุทธิ์ ผู้กระทำ�ความผิด จริง เป็นผู้ถูกกักขังอยู่ในคุกทั่วประเทศ 142 แห่ง เป็นจำ�นวน 2.8 แสน คน ในจำ�นวนนี้ 40% หรือราว 80,000 คน เป็นผู้ต้องขังอยู่ในระหว่าง การไต่สวนของศาล ซึ่งยังไม่มีความผิด แต่ถูกกระทำ�เสมือนผู้กระทำ� ผิดไปแล้ว คุกตะรางและเหล่านักโทษที่มีชีวิตเยี่ยงสัตว์เดรัจฉาน คือ บาดแผลอักเสบของสังคมไทย ตราบเท่าที่สังคมยังมีชนชั้นและความ เหลือ่ มล้�ำ ต่�ำ สูง ยังมีคนรวยล้นฟ้า และคนจนต่�ำ ติดดิน คนรวยมีอ�ำ นาจ อิทธิพลต่อกระบวนการยุติธรรม จึงได้รับสิทธิพิเศษเป็นอภิสิทธิ์ชน กฎหมายและศาลมีไว้เพื่อปกป้องทรัพย์สินคนรวย คุกตะรางนอกจาก มีไว้กักขังพวกที่ถูกตราหน้าว่าเป็นอาชญากรที่เป็นอันตรายต่อ สังคม แล้ว คุกตะรางยังมีไว้เพื่อกลั่นแกล้งผู้บริสุทธิ์ ใช้เป็นเครื่องมือปิดหูปิด ตาประชาชน เพื่อความมั่นคงของอำ�นาจรัฐเผด็จการอีกด้วย


16

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

คน ค้น คิด

turnleftthai.blogspot.com

ผาสุก พงษ์ไพจิตร

ที่มา www.prachatai.com

ภาพรวมความเหลื่อมล้ำ� กับสัญญาณการเปลี่ยนแปลง(จากชั้นล่าง) 15 ส.ค.55 ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการจัดสัมมนาทาง วิชาการเพื่อการเสนอผลงานวิจัย “สู่สังคมไทยเสมอหน้า การศึกษาโครงสร้างความมั่นคั่ง และโครงสร้างอำ�นาจเพื่อการปฏิรูป” ทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น สนับสนุนโดย สกว. สกอ.และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดยศูนย์ ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในช่วงแรกของรายการเป็นการกล่าวถึงภาพรวมโครงการโดย ศ.ดร. ผาสุก พงษ์ไพจิตร หัวหน้าโครงการวิจัย รายละเอียดมีดังนี้ เป็นที่ชัดเจนว่ารายได้ของครัวเรือนไทยมีความเหลื่อมล้ำ�สูง ความเหลือ่ มล้�ำ นีเ้ พิม่ อย่างรวดเร็วในช่วงทีเ่ ศรษฐกิจไทยเฟือ่ งฟูมากๆ ระหว่างปี 2533-2538 และมีแนวโน้มลดลงเพียงเล็กน้อยหลังจากวิกฤต เศรษฐกิจเมื่อปี 2540 ปัจจุบันระดับความเหลื่อมล้ำ�ของไทยเป็นรองก็ แต่เพียงลาตินอเมริกาและอาฟริกา เท่านั้น

ความเหลื่อมล้ำ�ด้านรายได้ ส่งผลต่อไปถึง ความเหลื่อมล้ำ�ด้านอื่นๆ ได้แก่ ความมั่งมี (ที่ดิน ทรัพย์สินอื่นๆ ) ความเหลื่อมล้ำ�ด้าน สังคม (การแบ่งช่วงชั้นทางสังคม การเข้าถึงการ ศึกษา การได้รับการยอมรับนับถือ ศักดิ์ศรี) ความเหลื่อมล้ำ�ด้านการเมือง (เข้าไม่ถึงอำ�นาจ ทางการเมืองและการกำ�หนดนโยบาย) ประเทศอื่นๆ ในโลกกำ�ลังเผชิญปัญหาความเหลื่อมล้ำ�สูงเช่น กัน ทั้งนี้เป็นผลพวงของการดำ�เนินนโยบายตามแนวทาง “เสรีนิยม ใหม่” (เชือ่ ว่าความเหลือ่ มล้�ำ เป็นผลดีกบั ความเติบโตทางเศรษฐกิจ ให้ ความสำ�คัญกับกลไกตลาดเป็นตัวกำ�หนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจเป็น หลัก พร้อมทั้งลดบทบาทรัฐในระบบเศรษฐกิจ การเปิดเสรีการค้า การ ลงทุน การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การลดบทบาทของสหภาพแรงงาน ฯลฯ)

ดังนัน้ ความเหลือ่ มล้�ำ ด้านรายได้จงึ เป็นปัญหาของโลก ทัง้ ภายในแต่ละ ประเทศและระหว่างประเทศ ถึงกระนั้น ข่าวดีก็พอมีอยู่ บางประเทศ ปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ และการเมือง จนสามารถลดความเหลื่อมล้ำ�ลงได้ เราน่าจะเรียนรู้ได้ บ้างจากประเทศเหล่านี้ ทีล่ าตินอเมริกา ซึง่ เป็นกลุม่ ประเทศรายได้ปานกลางพอๆ กับ ไทย และยังเป็นประเทศทีม่ คี วามเหลือ่ มล้�ำ สูงมากทีส่ ดุ ในโลกก็ยงั ดีขนึ้ บางประเทศดำ�เนินมาตรการใหม่ๆ ทีไ่ ม่มใี ครเคยทำ�มาก่อน เช่น อุดหนุน ให้เด็กๆ ของครัวเรือนมีฐานไม่ดีไปโรงเรียน และรับการตรวจรักษา อย่างทั่วถึง อาร์เจนจินาและบราซิล ปฏิรูประบบภาษีจนสามารถเก็บ ภาษีได้คิดเป็นร้อยละ 34 ของจีดพี ี (ของไทยเท่ากับร้อยละ 17) เท่ากับ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศโออีซีดี (เยอรมัน อังกฤษ ฝรั่งเศส สแกนดิเน วีย สหรัฐฯ) ทำ�ให้มีเงินรายได้พอจะใช้จ่ายด้านสังคม ประเทศที่มี ทรัพยากรธรรมชาติมาก เช่น อิควาดอร์และอาร์เจนตินา ต่อรองกับ บริษัทข้ามชาติ (น้ำ�มันและเหมืองแร่) ให้เพิ่มส่วนแบ่งรายได้จากกำ�ไร ให้รัฐบาล เอามาใช้จ่ายด้านประกันสังคม ประเทศเพือ่ นบ้านแถบอาเซียนของเรา ล้วนมีการกระจายราย ได้ดกี ว่าของไทยทัง้ สิน้ ซึง่ ก็นา่ แปลกใจเพราะว่าต่างก็มสี ภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง คล้ายๆ กับเราอยู่ อีกทั้งยุทธศาสตร์เศรษฐกิจก็ไปใน ทิศทางเดียวกัน ตัวอย่างเช่น มาเลเซีย เคยมีความเหลื่อมล้ำ�สูง แต่ได้ ลดลงจนขณะนี้ต่ำ�กว่าไทยมาก เพราะว่าทำ�โครงการสุขภาพถ้วนหน้า มาตั้งแต่ทศวรรษ 2513 รัฐบาลแบ่งที่ดินของรัฐให้กับเกษตรกรผู้เช่า และจงใจอุดหนุนเพิม่ โอกาสให้ ครัวเรือนระดับล่างได้รบั การศึกษาดีถงึ ขึ้นอุดมศึกษา ทำ�ไมมาเลเซียจึงทำ�ได้สำ�เร็จ เพราะว่ารัฐบาลและคน ส่วนใหญ่ของประเทศเชื่อว่า การลดความเหลื่อมล้ำ�จะลดความขัดแย้ง ด้านเชื้อชาติระหว่างคนจีนกับคนมาเลย์ลง ได้นั่นเอง ตรงนีม้ บี ทเรียนอีก คนฐานะดีมกั จะต่อต้านหรือไม่เห็นด้วยกับ มาตรการลดความเหลื่อมล้ำ�เพราะเชื่อ ว่าพวกเขาจะเสียประโยชน์ แต่ นั่นเป็นความคิดสั้น คือ คิดแบบ “ถ้าเธอได้ ฉันไม่ได้” (Zero-sum game) สังคมที่มีความเหลื่อมล้ำ�ไม่มาก และมีระบบประกันสังคมที่ดี


turnleftthai.blogspot.com

จะเป็นสังคมที่มีความราบรื่นและมีประสิทธิภาพทาง การผลิตมากกว่า ในช่วงห้าหกปีมานี้ การเรียกร้องด้านการเมืองได้กลายเป็น ประเด็นสำ�คัญของการเมืองไทยร่วมสมัย ขบวนการเสือ้ แดงได้ใช้ค�ำ ว่า “ไพร่” และ “อำ�มาตย์” เสียดสีถงึ ผูท้ ยี่ งั คิดแบบสังคมมีชว่ งชัน้ ในระบอบ การเมืองเดิมสมัยก่อน ซึง่ มีคนจำ�นวนน้อยอยูเ่ หนือคนจำ�นวนมาก และ คนจำ�นวนมากต้อง “เกรงใจ” คนมีอำ�นาจจำ�นวนน้อยนั้น ชาวเสื้อแดง คนหนึง่ บอกนักวิชาการว่า ในความเห็นของเขา ประชาธิปไตยคือความ ยุติธรรม ทั้งทางด้านกฎหมาย การเมือง และการศึกษา ข้อเรียกร้องนี้ ไม่ได้เกิดขึน้ เฉพาะทีเ่ มืองไทยเท่านัน้ เราพบเห็น ได้ทั่วไป เช่น ปรากฏการณ์ Arab Spring ในตะวันออกกลาง และ การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้งที่ลาตินอเมริกา ซึ่งได้นำ�รัฐบาลปฏิรูปสู่ อำ�นาจและแม้แต่ที่ยุโรปใต้ที่กำ�ลังมีวิกฤตเงินยูโร อยู่ขณะนี้ ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการเมืองใหม่ ในแต่ละประเทศมีลักษณะ คล้ายๆ กัน แต่ปัจจัยที่สำ�คัญที่สุด ได้แก่ คนระดับล่างของประเทศ ได้ มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างกว้างขวาง ขณะนี้ผู้คนต้องโยกย้าย ไปทำ�งานต่างถิน่ ทัง้ ภายในประเทศของตนเองและทำ�งานต่าง ประเทศ ก็มากขึ้นเรื่อยๆ พวกเขาได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ จากประสบการณ์และได้ เห็นความแตกต่าง ผู้คนใช้อินเทอร์เน็ต ฟังวิทยุชุมชน และดูเคเบิลทีวี หลายสถานี ทุกๆ คนได้รับการศึกษาแบบไม่เป็นทางการเหล่านี้เป็น ประจำ�ทุกวัน

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

17

ทีอ่ าศัยอยู่ในประเทศเดียวกัน แต่อยูใ่ นบริเวณทีเ่ รียกว่าชนบท หรือกึ่ง ชนบท หรือกึง่ เมือง ก็ตอ้ งการสิง่ เดียวกัน การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมในชัว่ หนึง่ อายุคนทีผ่ า่ นมานัน้ จึงได้สร้าง “วัฒนธรรมความเสมอ หน้า” ขึ้นมาด้วย หมายความว่าประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไม่ ยอมรับการเมืองแบบเก่า ซึ่งคนชั้นกลางมีการศึกษาสูง เป็นผู้กำ�หนด หรือพยายามกำ�กับอีกต่อไป ที่บ้านเราก็มีข่าวดีเหมือนกัน ความเหลื่อมล้ำ�ด้านรายได้ก็ได้ ลดลงหลังปี 2544 เพราะผลพวงจากการกระจายอำ�นาจสู่ท้องถิ่น นโยบายสุขภาพถ้วนหน้า นโยบายขยายสินเชื่อให้กับคนรายได้น้อย และนโยบายการศึกษาฟรี 12 ปี เมื่อเร็วๆ นี้ แต่การลดลงนี้ก็ไม่ได้ มากมายอะไรนัก เพราะเราก็ยังสูงกว่ามาเลเซีย และใกล้เคียงกับลาติ นอเมริกา รัฐบาลเรายังสามารถทำ�อะไรได้อกี มาก เพือ่ ให้ครัวเรือนราย ได้น้อยได้ส่งลูกเข้าโรงเรียนคุณภาพดี และได้เรียนถึงอุดมศึกษา เพื่อ ให้เกษตรกรรายได้น้อยได้เข้าถึงสินเชื่อราคาพอสมควร และปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิตให้สงู กว่าเดิม และเพือ่ ให้ประชาชนทีอ่ ยูห่ า่ งไกล ปืนเที่ยงได้เข้าถึงสินค้าและบริการ สาธารณะต่างๆ เสมือนผู้อยู่ใกล้ สินค้าและบริการสาธารณะของเรามีไม่เพียงพอและคุณภาพ ย่�ำ แย่ ส่วนหนึง่ เป็นเพราะว่ารัฐบาลมีงบประมาณจำ�กัด และงบประมาณ จำ�กัดนี้ ก็เพราะเก็บภาษีได้นอ้ ย (ร้อยละ 17 ของจีดพี )ี เพียงแต่ปรับปรุง การเก็บภาษีก็จะเพิ่มรายได้ได้อีกถึงมากกว่าหนึ่งในห้า และถ้าปฏิรูป ระบบภาษีเสียหน่อยก็จะได้อีกถึงหนึ่งในสาม ก็จะทำ�ได้มีรายได้เพิ่ม ขึ้นเพื่อมาใช้จ่ายสร้างสินค้าสาธารณะที่จำ�เป็นต่อ การเติบโตทาง อีกปัจจัยหนึ่งที่เกิดขึ้นทุกแห่ง ก็คือ การ เศรษฐกิจ และเพื่อลดทอนความเหลื่อมล้ำ�โดยไม่ต้องมีภาระหนี้สิน สาธารณะ สิ่งที่เสนอไม่ใช่การปฏิวัติ แต่เป็นเพียงทำ�ตามอย่างประเท ต่อต้าน เศรษฐกิจแนวเสรีนิยมใหม่ เพราะว่า ศอื่นๆ ที่กำ�ลังทำ�อยู่เช่นกันเท่านั้น ทำ�ให้ผลได้ทางเศรษฐกิจตกอยู่ในมือของคน ในด้านสังคมและการเมือง เป็นเรื่องต้องช่วยกันหลายฝ่ายทั้ง เพียงหยิบมือหนึ่งเท่านั้น นักเขียน นักวิชาการและสื่อ ในการปรับแปลงวัฒนธรรมที่ดูเหมือนจะ ส่งเสริมความเหลื่อมล้ำ�ให้ดีขึ้น เช่น การยอมรับว่าผู้คนอาจมีความคิด แต่ทุกแห่งก็มีปัจจัยอื่นๆ ที่เป็นลักษณะเฉพาะด้วย ที่เมือง ความพอใจในการเมืองทีต่ า่ งกันเป็นเรือ่ งปกติ เป็นการเริม่ ต้นทีด่ ี การก ไทยรายได้ต่อหัวประชากรเพิ่มขึ้นสามเท่าภายในเวลา 30 ปีหรือในชั่ว ระจายอำ�นาจและการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มสี ว่ นร่วมในกระบวนการ อายุคนเดียว เมื่อผู้คนมีรายได้สูงขึ้น ก็จะเปลี่ยนทัศนคติ ความคาด กำ�หนด นโยบายทุกรูปแบบต้องเดินหน้าต่อไป การสร้างความตื่นรู้ให้ หวังในชีวิตและความต้องการต่างๆ จะหลากหลายขึ้น รู้สึกว่าเขาควร กับสังคมถึงวิธกี ารอันแยบยลต่างๆ ทีผ่ อู้ ยูใ่ นอำ�นาจพยายามส่งอิทธิพล จะได้รับการปฏิบัติที่ดีกว่านี้ เขาควรจะมีสินค้าและบริการสาธารณะ ต่อทิศทางของการเมืองและนโยบาย โดยผลของความพยายามดังกล่าว เช่น การศึกษา ถนนลาดยาง รถไฟฟ้า เขาควรจะได้พูดคุยกับนักการ อาจจะปิดกัน้ หรือเป็นผลเสียกับคนจำ�นวนมาก เป็นทีส่ งิ่ ทีต่ อ้ งทำ� เพราะ เมืองเพื่อบอกว่าเขาอยากได้อะไร เขาเห็นกับตาว่า คนบางคนเข้าถึง จะนำ�ไปสู่การอภิปรายกันถึงแนวทางที่ตัดตอนแนวโน้มดังกล่าว และ สิ่งต่างๆ ที่เขาอยากได้ได้ดีกว่าตนเอง และเขาก็อยากอยู่ในสภาพเช่น สร้างความเสมอหน้า นั้นบ้าง เส้นแบ่งระหว่างเมือง-ชนบท จน-รวย ผู้ใหญ่-ผู้น้อย ได้ลาง นักเศรษฐศาสตร์บางคนเห็นว่า ความเหลื่อมล้ำ� เป็นสิ่งดีและ เลือนลงกระบวนการดังกล่าวนี้ คือกระบวนการสร้างความรู้สึกเป็น จำ�เป็นเพื่อจูงใจให้คนทำ�งาน แต่ขณะนี้นักเศรษฐศาสตร์หลายสำ�นัก “พลเมือง” (citizen) และมีศักยภาพที่จะนำ�ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย พูดถึง การลดความเหลื่อมล้ำ� เป็นวิธีสร้างกำ�ลังใจให้ทำ�งานหนัก และ ที่มั่นคงและก้าวหน้าได้ เพื่อให้เกิดสังคมสันติสุข จะเห็นได้ในกรณีประเทศแถบสแกนดิเนเวีย ที่สำ�คัญคือ คนชั้นกลางเมือง ไม่อาจผูกขาดความต้องการ เช่น เดนมาร์ค สวีเดน เป็นสังคมเสมอหน้าสูง มีความราบรื่น และยังมี เสรีภาพ การสร้างเส้นสายธรรมาภิบาล ความเติบโตทางเศรษฐกิจ และ เศรษฐกิจที่น่าพอใจกว่าประเทศอื่นๆ อีกด้วย การเมืองประชาธิปไตยได้อีกต่อไป ประชาชนคนอื่นๆ อีกจำ�นวนมาก


18

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

turnleftthai.blogspot.com

ว่าด้วยทุน

กองบรรณาธิการ

เล่ม 2

ภาคที่ 1 การเปลี่ยนรูปของทุนและวงจรของมัน(บทที่5-6)

บทที่ 5: เวลาในการหมุนเวียน

• ค่าใช้จ่ายในการซื้อขาย ต้องหักจากกำ�ไร (เช่นการจ้าง “เวลาทั้งหมดในการผลิตของทุน” ต้องรวมเวลาที่ทุน ตัวแทนเพือ่ จำ�หน่ายหรือซือ้ ) และสินค้าบางอย่าง โดยเฉพาะอาหาร ไม่มีส่วนในการผลิต เช่นการหยุดการผลิตตอนกลางคืน หรือช่วง อาจต้องรีบขายก่อนที่มันจะเสีย ดังนั้นนายทุนต้องพิจารณา (1) ทีก่ �ำ ลังเตรียมการผลิต หรือรอให้ผลผลิตสุกงอม(เช่นในภาคเกษตร) ระยะทางในการขนส่ง และ(2)ขนาดของตลาด โดยทีต่ ลาดในเมือง มักจะใหญ่กว่าตลาดในชนบทที่กระจัดกระจาย ซึ่งต่างจาก “เวลาที่ทุนมีบทบาทโดยตรงในการผลิต” ประเด็นสำ�คัญคือ มูลค่าถูกสร้างโดยกรรมาชีพในช่วง “เวลาที่ทุนมีบทบาทโดยตรงในการผลิต” เท่านั้น เพราะ เครื่องจักร ฯลฯ ทำ�งานเองไม่ได้ ต้องมีมนุษย์มาเริ่มกระบวนการ การ “ทำ�งาน” ของกรรมาชีพ อาจจะมีรูปแบบการลงมือ กระทำ�ต่อวัตถุหรือเครื่องจักรตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง หรืออาจ ลงมือเป็นระยะๆ ในขณะที่เครื่องจักรเดินอยู่ นั้นไม่สำ�คัญ เพราะ ทั้งสองกรณีถือว่าเป็นการทำ�งานอย่างต่อเนื่อง • การที่ “เวลาทั้งหมดในการผลิตของทุน” ต่างจาก “เวลาทีท่ ุนมีบทบาทโดยตรงในการผลิต” แปลว่ามนุษย์ที่เป็น กรรมาชีพเป็นผู้สร้างมูลค่า • และนายทุนจะพยายามตลอดเวลา ที่จะลดช่วงเวลาที่ ไม่ใช่ “เวลาที่ทุนมีบทบาทโดยตรงในการผลิต” • ระยะเวลาที่ใช้ในการหมุนเวียนของทุนสามชนิด(ในบท ที่ 4) มีผลกับเวลาในการผลิต ถ้าหมุนเวียนเร็ว การผลิตจะเพิม่ ขึน้ ได้ • หลังจากการผลิตเสร็จสิน้ ทุนสินค้าทีถ่ กู ผลิตขึน้ จะต้อง ถูกแปรรูปไปเป็นทุนเงิน(ขาย) แต่กระบวนการนีไ้ ม่สร้างมูลค่าเลย เป็นเพียง “การได้มาของมูลค่าทีอ่ ยูใ่ นสินค้า” แต่ นักเศรษฐศาสตร์ การเมืองกระแสหลักเชือ่ นิยายว่า การเกิดขึน้ ของมูลค่ามาจากการ ซื้อขาย ซึ่งเป็นวิธีปกปิดความจริงเกี่ยวกับการขูดรีดแรงงานใน กระบวนการผลิต

บทที่ 6: ค่าใช้จ่ายในการหมุนเวียน การซื้อขาย

คือการแปรเปลี่ยนระหว่างทุนสินค้ากับทุนเงิน • ค่าใช้จา่ ยในการซือ้ ขายนีไ้ ม่เพิม่ มูลค่าของสินค้าแต่อย่าง ใดทัง้ ๆ ทีก่ ระบวนการซือ้ ขายต้องใช้แรงงาน เพือ่ ให้มกี ารหมุนเวียน ของทุน และการ “ได้มาของมูลค่า” • การซื้อขายไม่ใช่การผลิต และค่าใช้จ่ายในการซื้อขาย ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายนอกการผลิต • ถ้ามีการจ้างงานในระบบซื้อขาย จะมีการขูดรีดมูลค่า ส่วนเกิน คือคนงานจะได้ค่าจ้างต่ำ�กว่า “ค่าใช้จ่ายในการซื้อ ขาย” นายทุนค้าขายก็จะได้กำ�ไรตรงนี้ มันคุ้มที่นายทุนภาคการ ผลิตจะจ่ายค่าใช้จา่ ยนี้ เพือ่ ให้สนิ ค้าขายออกไปและมีการหมุนเวียน ของทุน1

การทำ�บัญชี การทำ�บัญชีเกี่ยวกับรายรับ รายจ่าย ขั้นตอนการผลิต ราคาวัตถุดิบฯลฯ ถือว่าเหมือนค่าใช้จ่ายในการซื้อขาย ไม่มีการ เพิม่ มูลค่าให้สนิ ค้าเลย และมีความสำ�คัญมากขึน้ เมือ่ ทุนนิยมพัฒนา เราควรมองว่าค่าใช้จ่ายเหล่านี้เหมือนค่าซื้อเครื่องจักรใน แง่ที่มันเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน

ในระบบทุนนิยมสมัยใหม่ปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายนอกระบบการผลิตมีมากขึ้น เช่นการโฆษณา หรือการบริการของภาครัฐ(กอง บก.)

1


turnleftthai.blogspot.com

นสพ.เลี้ยวซ้าย ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 สิงหาคม 55

19

เงิน

ถ้ากระบวนการผลิตและการส่งวัตถุดิบเพิ่มความรวดเร็วและ เมื่อทุนนิยมพัฒนามากขึ้น ปริมาณสินค้าจะเพิ่ม และ ประสิทธิภาพตามการพัฒนาของทุนนิยมและตลาดโลก ปริมาณเงินในเศรษฐกิจก็เพิ่ม การสะสมผลผลิตในรูปแบบสินค้า เงินเอง ธนบัตร หรือเหรียญ เป็นผลของการทำ�งานเพื่อ สัดส่วนการสะสมผลผลิตในรูปแบบสินค้าจะเพิ่มขึ้น เมื่อ ผลิตเงิน แต่เราต้องมองว่าเป็น “ค่าใช้จา่ ยของสังคม” เพราะไม่ได้ ระบบทุนนิยมพัฒนา ในขณะที่สัดส่วนการสะสมผลผลิตเพื่อการ เป็นส่วนของกระบวนการผลิตสินค้า บริโภคโดยตรงของผู้ผลิตลดลง ค่าใช้จ่ายในการเก็บสินค้า แนวโน้มคือ ปริมาณการผลิตจะขึ้นอยู่กับความสามารถ มองจากแง่ของสังคม ค่าเก็บสินค้าในโกดังหรือคลัง หรือ ของนายทุนในการลงทุนและสะสมทุนเพิม่ ในขณะทีค่ วามต้องการ ในการบริโภคสินค้ากลายเป็นเรื่องรอง การจ้างงานในการเก็บสินค้า ดูเหมือนจะไม่เกี่ยวกับการผลิต • แต่มองจากมุมมองนายทุนแต่ละคน งานนี้มีส่วนในการ สร้างมูลค่าสำ�หรับสินค้า คือเป็นการทำ�งานเพือ่ ทดแทนความเสือ่ ม ของมูลค่าสินค้าซึ่งจะเกิดขึ้นถ้าไม่มีการเก็บรักษาไว้ • งานนี้มีส่วนในการสร้างมูลค่า แต่จะไม่เพิ่มมูลค่าแลก เปลีย่ น และนายทุนจะมีปญ ั หาในการเพิม่ ราคาสินค้านีโ้ ดยการอ้าง ว่าต้องเก็บไว้ในคลัง ถ้านายทุนอื่นไม่ต้องทำ� • ค่าใช้จ่ายตรงนี้ แบ่งกันจ่ายระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย หรือ เป็นการขาดทุนของนายทุน • คนงานในโกดังจะถูกขูดรีดแรงงานด้วย เหมือนพนักงาน ซื้อขาย • ในกรณีที่สินค้าอาจขาดตลาดในขณะที่ลูกค้าต้องการ ซื้ออย่างสม่ำ�เสมอ นายทุนอาจต้องมีคลังสะสมสินค้าเพื่อให้ส่ง ลูกค้าได้อย่างต่อเนื่อง • คลังสินค้าในรูปแบบทุนการผลิต (สินค้าวัตถุดบิ ทีร่ อเข้า สู่กระบวนการผลิต) อาจเพิ่มขึ้นในปริมาณสุทธิของมัน ในขณะที่ มีการลดลงถ้าเทียบกับปริมาณสินค้าทีป่ อ้ นเข้าสูก่ ระบวนการผลิต

“ค่าใช้จ่ายในการเก็บสินค้า” ประกอบไปด้วย 1. การลดลงของปริมาณสินค้าที่สูญเสียไป 2. การเสื่อมคุณภาพของสินค้า 3. การจ้างแรงงานเพื่อรักษาสินค้า

การขนส่ง การทำ�งานของกรรมาชีพในการขนส่งมีผลในการเพิม่ มูลค่า ของสินค้า เพราะถ้าไม่มีการขนส่ง สินค้าจะไม่พร้อมที่จะถูกขาย • ภาคขนส่งในแง่หนึ่ง “อิสระ” เป็นภาคการผลิตที่อิสระ จากการสร้างสินค้าแต่แรก แต่อยู่ในระบบหมุนเวียนของทุนอัน เดียวกัน2 • มีการขูดรีดแรงงานของกรรมาชีพขนส่ง และมีการ พยายามเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งานโดยนายทุน

ดังนั้นกรรมาชีพในระบบขนส่งทางบก ทางน้ำ�และทางอากาศ ซึ่งจัดอยู่ในภาคบริการในเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก ต้องถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของภาคการผลิต(กอง บก.)

2


ร่วมกันสร้างองค์กรสังคมนิยม

เพื่อ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และประชาธิปไตย - สังคมนิยมเป็นระบบที่ตอบสนองความต้องการของคนส่วนใหญ่ผ่านการวางแผนร่วมกัน ในรูปแบบประชาธิปไตย - สังคมนิยมต้องสร้างโดยมวลชนกรรมาชีพ จากล่างสู่บน สร้างโดยอภิสิทธิ์ชนไม่ได้ - เรางต้องมีพรรคการเมืองของกรรมาชีพและคนจน เพื่อเคลื่อนไหวทางการเมือง - สมาชิกทุกคนต้องจ่ายค่าบำ�รุง 1 % ของรายได้ (50 บาท / เดือนขั้นต่ำ�) - สมาชิกต้องอ่านและช่วยกันขายหนังสือพิมพ์ของพรรคเพื่อขยายสมาชิก และอิทธิพลทางความคิด - สมาชิกต้องเข้าร่วมกิจกรรม “กลุ่มศึกษา” อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง รายละเอียดเพิ่มเติม : อีเมล : pcpthai@gmail.com ติดต่อกองบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ : turnleft2008@gmail.com เวปไซต์ www.turnleftthai.blogspot.com เฟซบุ๊ค www.facebook.com/turnleftthai ที่อยู่ไปรษณีย์ : ตู้ ป.ณ. 123 ไปรษณีย์คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.